You are on page 1of 130

พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย

เด็กชายเปรมมินทร์ เบ้าคำ และคณะ


รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการเขียนรายงาน
เชิงวิชาการ (ท 20221)
โรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัด
ศรีสะเกษ
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
คณะผู้จัดทำ
เด็กชายเปรมมินทร์ เบ้าคำ เลขที่ 14 ชัน
้ มัยม
ศึกษาปี ที่ 2/15
เด็กหญิงปริยากร ภิรมย์พันธ์ เลขที่ 28
ชัน
้ มัยมศึกษาปี ที่ 2/15
เด็กหญิงวรัญญาภรณ์ กาไสย์ เลขที่ 36 ชัน

มัยมศึกษาปี ที่ 2/15

เสนอ
ครูเชิดศักดิ ์ บุญยัง
รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการเขียนรายงานเชิง
วิชาการ (ท 20221)
โรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัด
ศรีสะเกษ
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564

คำนำ

ป่ าไม้ตามพระราชบัญญัติป่าไม้หมายถึงที่ดินที่ไม่มีบุคคลใด
์ รอบครองตามกฎหมายที่ดิน โดยทั่วไป
บุคคลหนึ่งได้มาซึ่งกรรมสิทธิค
หมายถึงบริเวณที่มีความชุ่มชื้นและปกคลุมไปด้วยใบไม้สีเขียวขึน
้ อยู่
อย่างหนาแน่นและกว้างใหญ่ ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความ
สำคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นทัง้ มนุษย์และทัง้ สัตว์นานา
ชนิด เพราะป่ าไม้มีประโยชน์ทงั ้ การเป็ นแหล่งวัตถุดิบของปั จจัยสี่ คือ
อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรคสำหรับมนุษย์ พร้อม
ยังมีประโยชน์ในการรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม ถ้าป่ าไม้ถูกทำลายลง
ไปอย่างต่อเนื่องเช่นนี ้ ย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ที่
เกี่ยวข้องเช่น สัตว์ป่า ดิน น้ำ อากาศ เป็ นต้น แต่ที่น่าเสียดายเมื่อ
ทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่อย่างจำกัด แต่ความต้องการของมนุษย์เรานัน

มีอยู่อย่างไม่จำกัด เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ จึงทำให้
มีการลุกล้ำพื้นที่ป่าไม้และการลักลอกตัดไม้ เพิ่มจำนวนขึน
้ อย่าง
รวดเร็ว ส่งผลให้จำนวนป่ าไม้และพืชพันธุ์นานาชนิดในประเทศไทยลด
ลงไปอย่างน่าใจหาย ทางคณะผู้จัดทำจึงสนใจศึกษาค้นคว้า เรื่อง พันธุ์
ไม้ ยืนต้นหายากในประเทศไทย เล่มนี ้
รายงานเล่มนีจ
้ ัดทำขึน
้ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนใน
รายวิชาการเขียนรายงานเชิงวิชาการ (ท 20221) ทางคณะผู้จัด
ทำได้วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูล เรื่องพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย อันประกอบด้วย ประเภทและลักษณะพันธุ์ไม้
ตัวอย่างพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย ประโยชน์ ของพันธุ์ไม้

ยืนต้นหายากในประเทศไทย ปั ญหาการถูกรุกรานป่ าไม้และการ


อนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายาก ในประเทศไทย ไว้ในรายงานเล่มนี ้
แล้ว ทางคณะผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนีจ
้ ะเป็ น
ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับเรื่องพันธุ์ไม้หายากในประเทศไทย
ได้ไม่มากก็น้อย
ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนกันทรลักษ์
วิทยาที่เอื้อเฟื้ อข้อมูล ขอบพระคุณ ครูประจำวิชา ขอบคุณคณะ
ทำงานทุกคนที่มีส่วนทำให้รายงานนีส
้ ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ถ้ารายงาน
เล่มนี ้ มีความบกพร่องหรือผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัด
ทำขอน้อมรับไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป

คณะผู้จัดทำ
เด็กชายเปรมมินทร์ เบ้าคำ
และคณะ
4 มีนาคม 2565

สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คำนำ

สารบัญ

สารบัญ (ต่อ)

สารบัญตาราง

สารบัญภาพ

สารบัญภาพ (ต่อ)

บทที่ 1 บทนำ
1
1.1 หลักการและเหตุผล
1
1.2 จุดประสงค์ของการศึกษา
1

1.3 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1
1.4 วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า
1
บทที่ 2 ประเภทและลักษณะของพันธุ์ไม้
2
2.1 ไม้คลุมดิน
2
2.2 ไม้ล้มลุก
2
2.3 ไม้พุ่ม
3
2.4 ไม้ยืนต้น
3
2.5 ไม้เลื้อย
4
2.6 ไม้ประดับอื่นๆ
4
บทที่ 3 ตัวอย่างพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
8
3.1 กระดังงา
8

3.2 สาธร
8
3.3 กร่าง
9
3.4 กันเกรา
9
3.5 มณฑา
10
3.6 มะขวิด
10
3.7 จันทน์หอม
11
3.8 มะดูก
12
3.9 รวงผึง้
12
3.10 ทานาคา
13
3.11 ลูกปื นใหญ่
14
3.12 สุพรรณิการ์
14
3.13 องุ่นทะเล
15

3.14 อบเชย
15
3.15 อโศกอินเดีย
16

สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง
หน้า
3.16 เทพทาโร
16
3.17 ชมพูภูคา
17
3.18 กระเบา
17
3.19 กำยาน
18
3.20 จำปาทอง
18
3.21 รงทอง
19
3.22 พุงทะลาย
19
3.23 แสลงใจ
20
3.24 สักทอง
20

3.25 พะยูง
21
3.26 ชิงชัน
22
3.27 จันทน์ผา
23
3.28 ชมพูพาน
24
3.29 ขมิน
้ ต้น
25
3.30 ต้นสามพันปี
26
บทที่ 4 ประโยชน์ของพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
27
4.1 ด้านสรรพคุณทางยา
27
4.2 ด้านการนำมาทำเครื่องมือ/เครื่องใช้
29
4.3 ด้านการนำมาทำเครื่องหอมต่างๆ
30
4.4 ด้านการก่อสร้าง
31
บทที่ 5 ปั ญหาการถูกรุกรานป่ าไม้
32

5.1 ข้อมูลสถานการณ์ป่าไม้
32
5.2 ชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม
40
5.3 จากธรรมชาติ
41
5.4 จากมนุษย์
41
5.5 ผลกระทบ
42
บทที่ 6 วิธีการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
45
6.1 แนวทางการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
45
6.2 วิธีและนโยบายการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย 51
บทที่ 7 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
53
7.1 สรุปผลการศึกษา
53
7.2 ข้อเสนอแนะ
53

บรรณานุกรม

สารบัญตาราง
ตารางที่
หน้า
ตารางที่ 1 การขึน
้ -ลดของพื้นที่ป่าไม้ ระหว่างปี 2516 – 2536
33
ตารางที่ 2 การขึน
้ -ลดของพื้นที่ป่าไม้ ระหว่างปี 2538 – 2559
34
ตารางที่ 3 พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 – 2561
35
ตารางที่ 4 “5 อันดับจังหวัดที่มีพ้น
ื ที่ป่าไม้เพิ่มมากขึน
้ ”
36
ตารางที่ 5 “5 อันดับจังหวัดที่มีการบุกรุกมากที่สุด”
36
ตารางที่ 6 “4 จังหวัดที่ไม่พบพื้นที่ป่า”
36
ตารางที่ 7 พื้นที่เสี่ยงต่อการถูกบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์สำนัก
บริหารพื้นที่อนุรักษ์พ้น
ื ที่ 1 37
ตารางที่ 8 พื้นที่เสี่ยงต่อการถูกบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์สำนัก
บริหารพื้นที่อนุรักษ์พ้น
ื ที่ 13 38

ตารางที่ 9 การกระทำผิดกฎหมาย บุกรุกป่ าไม้ เขตพื้นที่ป่าสงวนแห่ง


ชาติปี 2557 – 2561 41

สารบัญภาพ
ภาพที่
หน้า
ภาพที่ 1 แพรเซี่ยงไฮ้
2
ภาพที่ 2 ว่านกาบหอย
2
ภาพที่ 3 พุดศุภโชค
3
ภาพที่ 4 ต้นกัลปพฤกษ์
3
ภาพที่ 5 พวงแสด
4
ภาพที่ 6 ปาล์มฤาษี
4
ภาพที่ 7 ปรงญี่ปุ่นและปรงทะเล
5
ภาพที่ 8 กุหลาบควีนสิริกิต์
6

ภาพที่ 9 ไผ่สีสุกและต้นพะยูง
6
ภาพที่ 10 ไทรย้อยใบแหลม
7
ภาพที่ 11 กระดังงา
8
ภาพที่ 12 กร่าง
9
ภาพที่ 13 กันเกรา
9
ภาพที่ 14 มณฑา
10
ภาพที่ 15 มะขวิด
10
ภาพที่ 16 จันทน์หอม
11
ภาพที่ 17 มะดูก
12
ภาพที่ 18 ทานาคา
13
ภาพที่ 19 ลูกปื นใหญ่
14

ภาพที่ 20 สุพรรณิการ์
14
ภาพที่ 21 องุ่นทะเล
15
ภาพที่ 22 อบเชย
15
ภาพที่ 23 กำยาน
18
ภาพที่ 24 รงทอง
19
ภาพที่ 25 สักทอง
20
ภาพที่ 26 พะยูง
21
ภาพที่ 27 ชิงชัน
22
ภาพที่ 28 จันทน์ผา
23
ภาพที่ 29 ชมพูพาน
24
ภาพที่ 30 ขมิน
้ ต้น
25

ภาพที่ 31 ต้นสามพันปี
26
ภาพที่ 32 พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2504 – 2559
32
ภาพที่ 33 สถิตพ
ิ ้น
ื ที่ป่าไม้ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2504 – 2562
37

สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่
หน้า
ภาพที่ 34 สภาวะโลกร้อน
42
ภาพที่ 35 ระบบนิเวศน์ของป่ าและสัตว์ป่า ได้รับความเสียหาย
43
ภาพที่ 36 วัฏจักรของน้ำ
44
ภาพที่ 37 ป่ าอนุรักษ์
45
ภาพที่ 38 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
46
ภาพที่ 39 วนอุทยาน
47
ภาพที่ 34 สวนพฤกษศาสตร์
47

ภาพที่ 41 สวนรุกขชาติ
48
ภาพที่ 42 ป่ าชายเลนอนุรักษ์
49
ภาพที่ 43 พื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติ
49

1

บทที่ 1
บทนำ
1. หลักการและเหตุผล
ป่ าไม้ตามพระราชบัญญัติป่าไม้หมายถึงที่ดินที่ไม่มีบุคคลใด
์ รอบครองตามกฎหมายที่ดินโดยทั่วไป
บุคคลหนึ่งได้มาซึ่งกรรมสิทธิค
หมายถึงบริเวณที่มีความชุ่มชื้นและปกคลุมไปด้วยใบไม้สีเขียวขึน
้ อยู่
อย่างหนาแน่นและกว้างใหญ่ ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความ
สำคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นทัง้ มนุษย์และทัง้ สัตว์นานา
ชนิด เพราะป่ าไม้มีประโยชน์ทงั ้ การเป็ นแหล่งวัตถุดิบของปั จจัยสี่ คือ
อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรคสำหรับมนุษย์ พร้อม
ยังมีประโยชน์ในการรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม ถ้าป่ าไม้ถูกทำลายลง
ไปอย่างต่อเนื่องเช่นนี ้ ย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ที่
เกี่ยวข้องเช่น สัตว์ป่า ดิน น้ำ อากาศ เป็ นต้น แต่ที่น่าเสียดายเมื่อ
ทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่อย่างจำกัด แต่ความต้องการของมนุษย์เรานัน

มีอยู่อย่างไม่จำกัด เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ จึงทำให้
มีการลุกล้ำพื้นที่ป่าไม้และการลักลอกตัดไม้เพิ่มจำนวนขึน
้ อย่าง
รวดเร็ว ส่งผลให้จำนวนป่ าไม้และพืชพันธุ์นานาชนิดในประเทศไทยลด
ลงไปอย่างน่าใจหาย
จากความสำคัญของพันธุ์ไม้หายากในประเทศไทยดังที่กล่าวมา
แล้วนัน
้ ข้าพเจ้าจึงสนใจศึกษาค้นคว้า เรื่อง พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทยเพื่อประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ (ท 20221) ต่อไป

2. จุดประสงค์ของการศึกษา
2

การศึกษาค้นคว้า เรื่อง พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย มี


จุดประสงค์ของการศึกษา คือ
1. เพื่อศึกษาตัวอย่างพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
2. เพื่อศึกษาประโยชน์ของพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย
3. เพื่ออนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย

3. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย มี
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า คือ
1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลของพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
เฉพาะที่อยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ
2. ศึกษาค้นคว้าจากข้อมูลที่ห้องสมุดโรงเรียนกันทรลักษ์
วิทยาและในอินเทอร์เน็ต

4. วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย มีวิธี
การดำเนินการศึกษาค้นคว้า ดังนี ้
1. เลือกเรื่อง
2. กำหนดขอบเขตของเรื่องและตัง้ ชื่อเรื่อง
3. กำหนดจุดประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
4. วางโครงเรื่อง
5. รวบรวมข้อมูล
6. เขียนเรียบเรียงข้อมูล
และ 7. จัดทำรูปเล่มรายงาน
3

บทที่ 2
ประเภทและลักษณะของพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย
ในการศึกษาพันธุ์ไม้ สิ่งที่เรา
ต้องทราบลำดับแรกคือ ประเภทและ
ลักษณะของพันธุ์ไม้ ซึ่งใน
บทที่ 2 นี ้ คณะผู้จัดทำได้นำประเภท
ของพันธุ์ไม้มาทัง้ หมด 6 ชนิด ดังนี ้

2.1 ไม้คลุมดิน
ไม้คลุมดิน คือพันธุ์ไม้ที่มี
ขนาดเตีย
้ เล็ก ขยายพันธุ์ง่าย โตเร็ว แผ่ขยายออกด้านข้างเร็ว มี
ลักษณะเป็ นพุ่มคลุมดิน มีความสูงประมาณ 0.50 เมตร ไม้คลุมดิน
หรือพืชคลุมดินนัน
้ หมายถึง พืชที่มีลักษณะการเจริญเติบโตโดยการแผ่
คลุมหน้าดิน โดยหวังประโยชน์จากการช่วยลดการชะล้างหรือ
กัดกร่อนจากธรรมชาติ อาทิเช่น ภาพที่ 1 แพรเซี่ยงไฮ้
ลม,ฝน,ความแห้งแล้งและยังช่วยในการตกแต่งสวนให้มี ความ
สวยงามได้อีกด้วย ไม้คลุมดิน มีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ บางสายพันธุ์
ก็เป็ นไม้ใบ บางสายพันธุ์ให้ดอกสวยสีสรรสดใส บางสายพันธุ์มีกลิ่น
หอมด้วย เป็ นต้น ซึ่งแต่ละสายพันธุ์นน
ั ้ ก็เหมาะสำหรับการปลูกใน
พื้นที่และ สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันไป

2.2 ไม้ล้มลุก
4

ไม้ล้มลุก (Herb) คือ พืชที่มีขนาดเล็ก ลำต้นอ่อนมี


เนื้อเยื่อที่ให้ความแข็งแรงแก่ลำต้นน้อย อายุการเจริญเติบโตสัน

ลำต้นอ่อนนุ่มไม้ล้มลุมกจะตายเมื่อหมดฤดูของการเจริญเติบโต ได้แก่
พืชอายุหนึ่งปี เช่น ดาวกระจาย ดาวเรือง บานชื่น พืชอายุสองปี เช่น
ผักกาด และพืชอายุหลายปี เช่น แพงพวยฝรั่ง พุทธรักษา โดยตัวไม้
ล้มลุกนัน
้ มีลำต้นเป็ นไม้เนื้ออ่อนไม่มีเนื้อไม้หรือมีเนื้อไม้เล็กน้อย
บริเวณ โคนต้น ไม้ล้มลุกเป็ นพืชที่ใบและก้านตายราบลงไปถึงดินเมื่อ
สิน
้ ฤดูการปลูก พืชโตชั่วฤดูอาจจะเป็ นพืชปี เดียวพืชสองปี หรือไม้
ล้มลุกหลายปี ก็ได้ ไม้ล้มลุกหลายปี
ภาพที่ 2 ว่านกาบหอย และพืชสองปี จะมีก้านที่ตายราบลง
เมื่อสิน
้ ฤดูการปลูกแต่บางส่วนที่ติดดินของยังคงมีเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ต่อ
ไปในฤดูที่จะมาถึง (ในกรณีพืชสองปี ก็จะมีชีวิตอยู่จนถึงฤดูการปลูกใน
ปี ต่อมาก่อนที่จะออกดอกและตาย) ส่วนที่จะโตขึน
้ ใหม่ในฤดูการปลูก
ในปี ถัดมาจะก่อตัวขึน
้ บนดินหรือใต้ดินที่รวมทัง้ ราก หัว ไรโซม หรือ
หน่อ หรือกิ่งใต้ดินแบบต่างๆ

2.3 ไม้พุ่ม
5

ไม้พุ่ม บางครัง้ เรียก ไม้กอ เป็ นคำเทคนิคที่ใช้ในสาขาวิชา


พืชสวนมากกว่าสาขาพฤกษศาสตร์ที่เข้มงวดที่หมายไปถึงประเภทของ
ไม้มีแก่นที่สัณฐานแตกต่างไปจากไม้ต้นเนื่องจากการ มีหลายลำต้น
แตกขยายเป็ นพุ่มและเตีย
้ ปกติจะ
เตีย
้ กว่า 5-6 เมตร มีต้นไม้หลายชนิด
ที่จะจำแนกเป็ นไม้พุ่มก็ได้หรือไม้ต้น
ก็ได้ ขึน
้ อยู่กับสภาพการขึน
้ ของมัน
รวมทัง้ การตัดแต่งโดยจงใจของ
ภาพที่ 3 พุดศุภโชค
มนุษย์ ต้นเฟื่ องฟ้ าที่จำแนกเป็ นไม้
พุ่ม บางครัง้ และบางพันธุ์ตามสัณฐานธรรมชาติอาจจำแนกเป็ นไม้เลื้อย
ได้เช่นกันและยังสามารถตัดแต่งได้ ไม้พุ่มเป็ นไม้ต้นขนาดเล็กเป็ นไม้
ประดับได้ด้วย บริเวณไม้พุ่มที่ปลูกรวมเป็ นที่เฉพาะไว้ในอุทยานหรือ
สวนเพื่อการจัดแสดงเรียกว่าสวนไม้พุ่ม เมื่อไม้พุ่มถูกตัดแต่งด้วยการ
ขริบเป็ น "ไม้ตัด" มันจะแตกกิง่ ก้านและ มีใบเล็กลงทำให้พุ่มใบแน่น
ขึน
้ ไม้พุ่มหลายชนิดตอบสนองได้
รวดเร็วต่อการตัดแต่งเพื่อให้เกิดการ
แตกกิ่งก้านและใบใหม่ "การตัดแต่ง
หนัก" คือตัดถึง ตอ จะทำให้ไม้พุ่ม
แตกกิ่งใหม่ที่ยาว

2.4 ไม้ยืนต้น
ไม้ต้น หรือ ไม้ยืนต้น คือ พืชนานปี ซึ่งมีลำต้นยาวและรับ
น้ำหนักกิ่งแขนงและใบได้ โดยมีเนื้อไม้ที่ช่วยทรงตัวได้โดยลำพัง การ
6

นิยามคำว่า "ไม้ต้น" ในความหมาย


แบบแคบ เฉพาะพืชที่มีเนื้อไม้แข็ง
(woody plant หรือ wood) และมี
เนื้อเยื่อเจริญในชัน
้ เปลือกนอก
(cambium) เจริญไปเป็ นกิ่งและราก
หรือใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้
(lumber) หรือพืชที่มีความสูงกว่าที่
กำหนด ในความหมายแบบกว้าง ไม้ต้น รวมไปถึง ปาล์ม เฟิ ร์น ต้น
กล้วยและไผ่ไม้ต้นมักมีอายุยืนบางต้นอยู่ได้หลายพันปี ต้นที่สูงที่สุดบน
โลกมีความสูง 115.6 เมตร และมีความสูงได้มากที่สุดตาทฤษฎี 130
เมตร ไม้ต้นมิใช่กลุ่มทางอนุกรมวิธานแต่เป็ นกลุ่มพืชไม่เกี่ยวข้องกันที่
วิวัฒนาลำต้นและกิ่งไม้เพื่อให้สูงเหนือพืชอื่นและใช้ประโยชน์จากแสง
อาทิตย์ให้ได้มากที่สุดไม้ประเภทนีม
้ ีลำต้นเป็ นไม้เนื้อแข็งขนาดใหญ่ มี
ลำต้นหลัก ตัง้ ตรง ต้นเดียวแล้วจึงแตกกิ่งก้านบริเวณยอด โตเต็มที่สูง
เกิน 5 เมตร เป็ นต้นไม้ที่มีลำต้นเดี่ยว ทอดสูง มีคุณสมบัติเด่นในการ
ให้ร่มเงาและความร่มรื่น ทัง้ นีก
้ ารแบ่งประเภทของไม้ยืนต้นขึน
้ อยู่กับ
ชนิดของต้นไม้นน
ั ้ ๆ หรือแบ่งตามความสูงได้ 3 ขนาดคือ สูง กลาง
และต่ำ ต้นไม้นน
ั ้ มีความสูงตัง้ แต่ 10 เมตรขึน
้ ไป ขนาดกลางมีตวามสูง
10 เมตรลงมา และขนาดต่ำคือ 5 เมตรลงมา

2.5 ไม้เลื้อย
ไม้เลื้อย หรือ ไม้เถา คือ พืชที่ไม่มีเนื้อไม้แข็ง ทำให้ไม่
สามารถทรงตัวได้โดยลำพัง ลำต้นเลื้อยไปตามดินหรือพันสิ่งที่อยู่ใกล้
เคียงเป็ นที่ยึดเกาะ เพื่อพยุงให้ลำต้นเจริญอยู่ได้ โดยอาจมีอวัยวะ
7

พิเศษช่วยในการเกี่ยวยึด เช่น ราก มือเกาะ ขอเกี่ยว ไม้เลื้อยเป็ นไม้


ประเภทหนึ่งในการจำแนกพืชตามโครงสร้างและทรงของลำต้น คือ ไม้
ยืนต้นหรือไม้ต้น, ไม้พุ่ม, ไม้ล้มลุกหรือพืชลำต้นอ่อนและ ไม้เถาหรือไม้
เลื้อย (vines หรือ climber)

2.6 ไม้ประดับอื่นๆ
ไม้ประดับ หมายถึงพืชที่ปลูกไว้เพื่อความสวยงามที่มากขึน

ใช้ประดับตกแต่งอาคารบ้านเรือนให้เกิดความเจริญตา ส่วนใหญ่ไม้
ประดับมักเป็ นพืชดอก จึงเรียกรวมกันว่า ไม้ดอกไม้ประดับ ซึ่งความ
เป็ นจริงแล้วไม้ประดับไม่จำเป็ นต้องมีดอกก็ได้ เพียงมีใบที่ดูดีหรือมี
สีสันสวยงามก็ใช้ได้ ไม้ประดับมีขนาดเล็กหรือขนาดย่อมพอเหมาะแก่
พื้นที่จัดตกแต่ง อาจปลูกไว้ในกระถาง ปลูกลงดิน หรือแขวนห้อยไว้
ก็ได้ แบ่งออกได้ 6 ชนิด ดังนี ้

2.6.1 ปาล์ม
ปาล์มเป็ นพืชที่มี
อยู่ในโลกมานานกว่า 80 ล้านปี
ส่วนใหญ่ขน
ึ ้ อยู่กระจัดกระจายใน
เขตร้อนของโลกรวมทัง้ ประเทศไทย
ปาล์มมีอยู่ทั่วโลกเกือบ 4,000 ชนิด
มีไม่กี่ชนิดขึน
้ อยู่ในเขตอบอุ่น ทุก ๆ
ปี จะพบปาล์มชนิดใหม่ ๆ 1-2 ชนิด
อยู่เสมอ และมีการกลายพันธุ์ตามธรรมชาติด้วยปาล์มเป็ นพืชที่มีวงศ์

ภาพที่ 6 ปาล์มฤาษี
8

ใหญ่ที่สุด (รองจากหญ้า) ทัง้ จำนวน ชนิด ละปริมาณ ปั จจุบันพบใน


หลายพื้นที่ทั่วโลก สามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพภูมิอากาศที่หลาก
หลาย จำแนกได้กว่า 210 สกุล ปาล์มจัดเป็ นพืชใบเลีย
้ งเดี่ยว ไม่แตก
กิ่งก้านสาขา ก้านใบยาวและใหญ่ ลักษณะใบแตกต่างกัน ลำต้นเป็ นข้อ
ดอกหรือจั่นขนาดเล็กและแข็งแรงไม่มีกลิ่นหอม ผลโดยมากมีเปลือก
แข็ง มีขนาดตัง้ แต่เล็กไปจนถึงใหญ่ ปั จจุบันคนไทยให้ความสนใจปลูก
ปาล์มเป็ นไม้ประดับมากขึน
้ รวมทัง้ มีการนำพันธุ์ปาล์มจากต่าง
ประเทศเข้ามาขยายพันธุ์มากขึน
้ ซึ่งปาล์มแต่ละชนิดมีลก
ั ษณะที่เด่น
และสวยงามแตกต่างกัน เช่น ปาล์มพันธุ์อ้ายหมี พันธุ์เชอรีและพันธุ์
คาร์พ็อกซีลอน ปาล์มเคราฤๅษี ปาล์มบังสูรย์ ปาล์มเจ้าเมืองถลาง
ปาล์มพระราหู ปาล์มเจ้าเมืองตรัง ปาล์มศรีสยาม เป็ นต้น
2.6.2 ปรง
ปรงถูกกล่าวถึงว่าเป็ นพืชโบราณที่ยังหลงเหลืออยู่ มี
เมล็ดแต่ไม่มีดอก ปรงส่วนใหญ่อยู่ในตระกูล Cycadaceae เป็ นพืช
เมล็ดเปลือย (gymnosperm) ตระกูลปรงจัดอยู่ในอันดับ Cycadales
ร่วมวงศ์กับ Zamiaceae ตระกูลปรงมีประมาณ 10 สกุล ใน
ประเทศไทยพบเฉพาะสกุล Cycas ซึ่งมีอยู่ประมาณ 100 ชนิด มีการก
ระจายพันธุ์ในเอเชีย ออสเตรเลีย และมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันตก
เฉียงใต้แถบหมู่เกาะนิวคาเลโดเนียและตองก้า ‘‘ลักษณะเด่น’’ มีใบ
ประกอบแบบขนนกเรียงหนาแน่นเป็ นเรือนยอด แยกเพศต่างต้น พืช
ตระกูลปรงมีลักษณะคล้ายพืชตระกูลปาล์ม มีลำต้นเหนือพื้นดิน ใบ
แฉกแบบขนนก เรียงเวียนสลับใบย่อยด้านล่าง มีกลดลูกเป็ นหนาม
แหลม ใบย่อยรูปแถบหนามีจำนวนมาก เส้นกลางใบนูนเด่นชัด ไม่มี
9

เส้นแขนงใบ มีเกล็ดหุ้มยอด ใบสร้างอับไมโครสปอร์โคนเพศผู้มีจำนวน


มาก รูปลิ่มปลายแหลมคล้ายหนาม เรียงเวียนเป็ นรูปโคน ตัง้ ขึน
้ ที่ยอด
ลำต้น เรียกว่า male cone หรือ pollen cone ใบสร้างอัเมกาสปอร์
โคนเพศเมียเรียงเป็ นกลุ่มคล้ายใบกระจุกแบบกุหลาบซ้อน แต่ละส
ปอร์โรฟิ ลล์มีก้านปลายเป็ นแฉกแบบขนน กรองรับโอวุล เมล็ดทรง
กลมหรือรี ผิวส่วนมากเรียบ ขนาดค่อนข้างใหญ่ มีเนื้อสดหนา ด้าน
นอกด้านในแข็งเป็ นเนื้อไม้ มีใบเลีย
้ ง 2 ใบ ปรงในประเทศไทยมีอยู่ 12
ชนิด ได้แก่ ปรงญี่ปุ่น ปรงป่ า ปรงเขา ปรงเขาชะเมา ปรงตากฟ้ า ปรง
ทะเล ปรงเท้าช้าง ปรงเหลี่ยม ปรงผา ปรงหิน ปรงปราณบุรี ปรงเด
อบาวเอนซิส

ภาพที่ 7 ปรงญีป
่ ุ ่นและปรงทะเล

2.6.3 ไม้ในร่ม
เป็ นพันธุ์ไม้ที่ปลูกในโรงเรือนหรือในร่ม มีทงั ้ ‘ไม้
ยืนต้น’ เช่น หมากแดง หนวดปลาหมึก ปาล์มหลายชนิด เป็ นต้น
10

ประเภท ‘ไม้พุ่ม’ เช่น กวนอิม ขิงแดง คล้า จั๋ง วาสนา สาวน้อยประ


แป้ ง หมากผู้หมากเมีย เอื้องหมายนา อโกลนีมา เป็ นต้น ประเภท ‘ไม้
คลุมดิน’ เช่น เฟิ ร์น กำแพงเงิน
สับปะรดประดับ เป็ นต้น และประเภท
‘ไม้เลื้อย’ เช่น พลูด่าง ฟิ โลเดนดรอน
โฮย่า เป็ นต้น โดยพันธุ์ไม้เหล่านี ้
สามารถอาศัยอยู่ในสภาพร่มเงาได้ดี

2.6.4 พันธุ์ไม้หอม
พันธุ์ไม้หอมมีความสำคัญทางศิลปวัฒนธรรมของไทย
ที่บ่งบอกถึงความเป็ นชาติที่มีอารยธรรมอันยาวนาน ซึ่งปรากฏใน
วรรณคดีไทยหลายยุคหลายสมัย มีการนำพรรณไม้หอมมาปลูกเลีย
้ ง
กันตัง้ แต่สมัยสุโขทัยเรื่อยมาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ แรกเริ่มสมัย
สุโขทัยส่วนใหญ่เป็ นไม้ต้นที่คัดเลือกมาจากป่ า เป็ นไม้ไทยพื้นเมือง
เช่น จำปี พุด ลำดวน สารภี บุนนาค มะลิ เมื่อนำมาปลูกเลีย
้ งก็
สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพถิ่นที่อยู่ใหม่ได้ดี ในช่วงปลายสมัยกรุง
ศรีอยุธยาเริ่มมีการนำพันธุ์ไม้หอมจากต่างประเทศเข้ามาปลูกใน
ประเทศไทย ดังปรากฏในหลักฐาน ภาพที่ 8 กุหลาบควีนสิริกิต์
ทางวรรณคดีที่กล่าวถึงไม้หอมต่าง ๆ ได้แก่ การเวก กระดังงา กุหลาบ
มอญ ส้มโอ พุทธชาด พุดซ้อน สายหยุด พิกล
ุ เป็ นต้น ต่อมาความนิยม
ได้เพิ่มมากขึน
้ จึงมีการนำเข้าพรรณไม้จากต่างประเทศโดยเฉพาะสมัย
รัตนโกสินทร์และจนถึงทุกวันนี ้ ทำให้ลักษณะของไม้หอมมีหลากหลาย
ชนิดและหลากหลายสกุล มีทงั ้ ที่เป็ นไม้พ้น
ื เมืองหรือกระจายพันธุ์มา
11

จากประเทศใกล้เคียง เช่น ไม้หอมวงศ์กระดังงา ไม้หอมวงศ์โมก วงศ์


จำปา วงศ์มะลิ วงศ์เข็ม พันธุ์ไม้หอมที่เกี่ยวกับพระนามของพระบรม
วงศานุวงศ์ของประเทศไทย ได้แก่ กุหลาบควีนสิริกิต์ โมกราชินี จำปี สิ
รินธร

2.6.5 ไม้มงคล
ต้นไม้บางชนิดจะให้ดอกที่มีสีสันสวยงามและให้คุณ
ประโยชน์ มีไม้บางชนิด ที่กำหนดให้เป็ นไม้มงคล จากความเชื่อที่
ว่าทำให้เกิดความเป็ นสิริมงคลแก่เจ้าของหรือผู้ปลูก และมีไม้มงคล 9
ชนิด ที่ใช้ในพิธีวางศิลาฤกษ์ ก่อนการสร้างอาคารบ้านเรือน โดยปั กไม้
มงคลลงพื้นและลงอักขระ ที่เรียกว่า หัวใจพระอิติปิโส ได้แก่
อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ ลงบนท่อนไม้ชนิดละอักขระ พร้อมทัง้ ปิ ด
ทองทัง้ 9 ท่อน โดยปั กวนจากซ้ายไปขวา(ทักษิณาวรรต) ไม้มงคลทัง้ 9
ชนิด ได้แก่ ราชพฤกษ์ ชัยพฤกษ์ กันเกรา สัก ทองหลาง พะยูง ขนุน
ทรงบาดาล และไผ่สีสุก

ภาพที่ 9 ไผ่สีสุกและต้นพะยูง
2.6.6 ไม้ดัด
12

ไม้ดัด คือ ไม้ที่นำมาปลูกลงในกระถางหรือปลูกลง


ดิน แล้วตัดกิ่ง ก้านและตัดแต่งใบให้เป็ นพุ่มหรือตัดแต่งให้เป็ นรูปทรง
ต่าง ๆ ตามต้องการ หรือตามแบบแผนที่เป็ นที่นิยมกันมาในหมู่ผู้ช่ น

ชอบไม้ดัดมาแต่โบราณ ไม้ดัดจัดได้เป็ น 2 ประเภท คือ ประเภทนำ
ต้นไม้ใหญ่มาทำให้เป็ นต้นไม้เล็ก เช่น ไม้เอนชาย ไม้ญี่ปุ่น และ
ประเภทนำไม้ใหญ่มาตัดให้เป็ นรูปทรงแบบต่าง ๆ การเลือกพันธุ์ไม้ดัด
มาปลูกเลีย
้ งนัน
้ จำเป็ นจะต้องคำนึงถึงคุณลักษณะที่สำคัญของพันธุ์ไม้
ชนิดนัน
้ ๆ คือ มีกิ่งเหนียวสามารถดัดให้โค้งงอได้ตามต้องการ ไม่
เปลี่ยนแปลงรูปทรงหลังจากดัดแล้ว ไม่เจริญเติบโตเร็วเกินไป ใบมี
ขนาดเล็กเพื่อเหมาะสมกับหุ่น เปลือกควรมีความสวยงาม เช่น ผิว
ขรุขระหรือมีรอยแยก เป็ นพันธุ์ไม้ที่มีอายุยืนนาน ทนทานต่อสภาพดิน
ฟ้ าอากาศ เป็ นพันธุ์ไม้ที่หาง่ายในท้องถิ่น ไม้ที่นิยมนำมาปลูกเป็ นไม้ดัด
ได้แก่ ตะโก ตะโกนา ตะโกสวน ตะโกพนม มะสัง ข่อย ไกร ไทรย้อย
ใบแหลม ไทรย้อยใบทู่ โพธิ ์ มะเดื่ออุทุมพร โมกบ้านโมกป่ า เฟื่ องฟ้ า
มะเกลือ มะขาม มะขามเทศ ชาปั ตตาเวีย มะนาวเทศ ทับทิม ทับทิม
หนู ฮกเกีย
้ น เป็ นต้น ในส่วนของการส่งเสริมวิชาชีพเกษตรของ
วิทยาลัยเกษตรกรรมทั่วทัง้ ประเทศไทยก็ได้มีการส่งเสริมให้ความรู้กับ
เกษตรกรในพื้นที่มีความสนใจในการปลูกเลีย
้ งไม้ประดับชนิดต่าง ๆ
เพื่อประดับบ้านเรือนหรือเพื่อเป็ นการหารายได้
13

ภาพที่ 10 ไทรย้อยใบแหลม

บทที่ 3
ตัวอย่างพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย
ตัวอย่างพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากในประเทศไทย ใช้ศก
ึ ษาและใช้เป็ น
ตัวอย่างในการอธิบายลักษณะทางกายภาพของพันธุ์ไม้ยืนต้นหายาก
14

ในประเทศไทย ซึ่งในบทที่ 3 นี ้ คณะผู้จัดทำได้นำตัวอย่างของพันธุ์ไม้


มาทัง้ หมด 30 ชนิด ดังนี ้

3.1 กระดังงา
เป็ นไม้ยืนต้น ความสูง 8-15 เมตร เป็ นพุ่มทรงโปร่ง
ออกดอกตลอดปี ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงรีหรือรูปใบหอก กว้าง 5-7
ซม. ยาว 13-20 ซม. ขอบใบเป็ น
คลื่น เปลือกต้นเกลีย
้ งสีเทา ดอกช่อ
ออกเป็ นกระจุก ที่ซอกใบ กระจุก
ละ 4-6 ดอก กลีบดอกสีเหลืองหรือ
เหลืองอมเขียว มีกลิ่นหอม ผล
เป็ นกลุ่มผล ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ
ภาพที่ 11 กระดังงา
โดยเริ่มออกดอกในตอนเช้าและ
ตอนเย็น ปลูกได้ประมาณ 3 ปี สูง 7 - 8 เมตร จึงจะออกดอก
กระดังงาไทยนิยมขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด เมล็ดกระดังงามีสีดำ
นำเมล็ดไปแช่น้ำ แล้วล้างเมล็ดให้สะอาดตากแดดให้แห้ง และนำไป
เพาะในถุงเพาะชำ โดยการผสมดินกับปุ๋ยคอกและมะพร้าวสับ จึงนำ
เมล็ดหยอดถุงละ 1 – 2 เมล็ดประมาณ 30 – 45 วัน กระดังงาไทยจะ
งอกขึน
้ เป็ นต้นกล้าเพื่อรอการปลูกต่อไป

3.2 สาธร
สาธรไม้ต้นขนาดกลางผลัดใบ สูง 18-20 เมตร เรือนยอด
กลมหรือทรงกระบอก เปลือกต้นสีเทาเรียบหรือแตกเป็ นสะเก็ดเล็กๆ
15

ตื้นๆ เนื้อไม้สีขาวอมน้ำตาล แก่นสีน้ำตาล อมดำ เรือนยอดเป็ นพุ่ม


ทึบ ใบอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาวอ่อนนิ่มคล้ายเส้นไหมปกคลุมอยู่ ใบ
เป็ นใบประกอบรูปขนนกเรียง ดอก
ออกเป็ นช่อกระจายแยกแขนงสีขาว
ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ออก
พร้อมใบอ่อน รูปดอกถั่ว กลีบดอก
5 กลีบ กลีบเลีย
้ ง 4 กลีบติดกันเป็ น
หลอดสัน
้ ออกรวมกันเป็ นช่อตาม
ง่ามใบและปลายกิง่ ออกดอกช่วง
เดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเป็ นฝั กแบน รูปขอบขนานคล้ายฝั กมีด มี
เปลือกแข็ง เมล็ดสีน้ำตาล รูปร่างแบนคล้ายโล่ เส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 1.3 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด สาธร เป็ น
พันธุ์ไม้ที่ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด และเพื่อให้เมล็ดสามารถงอกได้
ดี ก่อนเพาะจึงควรแช่เมล็ดเอาไว้ในน้ำก่อนประมาณ 1 คืน หลังจาก
เพาะเมล็ดไปได้ประมาณ 10-15 วัน ก็จะเริ่มงอกออกมาให้เห็น และ
ควรย้ายไปปลูกในถุงชำหรือกระถางเล็กๆ เพื่อบำรุงดูแลให้รากและ
ลำต้นมีความแข็งแรง โดยเฉลี่ยราวๆ 3-4 เดือน ก่อนที่จะ นำไปปลูก
ยังบริเวณที่ต้องการต่อไป โดยขุดหลุมปลูกประมาณ 30 x 30 ซม.
ปลูกให้ห่างจากบริเวณโดยรอบไม่น้อยกว่า 3-4 เมตร

3.3 กร่าง
ไทรทอง หรือ กร่าง หรือ ลุง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficus
altissima) เป็ นไม้ต้นขนาดใหญ่ ในวงศ์ Moraceae มีความสูง
ประมาณ 10 - 30 เมตร มีพพ
ู อน เปลือกต้นสีน้ำตาลอมเทาแตกกิ่ง
16

กระจายรอบต้น พุ่มทรงกลม ค่อนข้างหนาทึบ มีน้ำยางสีขาว ราก


อากาศเหนียว ใบเป็ นแบบเดี่ยวทรงรูปไข่ กว้าง 10 เซนติเมตร ยาว
18 เซนติเมตร สีเขียวเข้ม มีหูใบหุ้มยอด ใบอ่อนสีเขียวสดเป็ นมัน หูใบ
หุ้มยอดอ่อนไว้ ดอกช่อไม่มีก้านดอก โคนช่อดอกมีใบประดับขนาดเล็ก
3 ใบรองรับช่อดอก ผลเมื่อสุกแล้วอ่อนนุ่ม สีเหลือง แต่ละผลมีเนื้อบาง
ๆ และมีเมล็ด 1 เมล็ด กร่างเป็ นไม้ที่นิยมปลูกเป็ นไม้ประดับ เชื่อว่า
เป็ นไม้มงคล นอกจากนีแ
้ ล้ว ยังมีประโยชน์อย่างอื่น คือ รากอากาศ
ของต้นกร่างเหนียวใช้ทำเชือกได้ เปลือกชัน
้ ในใช้ทำกระดาษ ต้นใช้
เลีย
้ งครั่ง ต้นกร่างขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด หรือโดยวิธีทาง
ธรรมชาติที่นกหรือ ค้างคาวจะกินผลแล้วถ่ายมูลที่มีเมล็ดติดอยู่ไปยังที่
ต่าง ๆ หรือจะขยายพันธุ์ด้วยการปั กชำหรือการตอนกิ่งก็ทำได้เช่นกัน
โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินทุกชนิดที่ค่อนข้างมีความชุ่มชื้น

3.4 กันเกรา
ต้นกันเกรามีลักษณะต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15–
25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ใบเดี่ยวออกตรงกันข้าม แผ่นใบรูปมน
ขนาดกว้าง 2.5–3.5 เซนติเมตร ยาว
8–11 เซนติเมตร ปลายใบแหลม
หรือยาวเรียว ฐานใบแหลม โคนมน
ใบเขียวมันวาว มีทรงพุ่งเป็ นทรงฉัตร
แหลมสวยงาม ดอกเริ่มบานสีขาว
แล้วเปลี่ยนเป็ นสีเหลือง กลิ่นหอม
ผลกลมเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลาง
ภาพที่ 13 กันเกรา
17

ประมาณ 6 มิลลิเมตร สีส้มแล้วเปลี่ยนไปเป็ นสีแดงเลือดนกเมื่อแก่เต็ม


ที่ มีเมล็ดขนาดเล็กเป็ นจำนวนมาก นิเวศวิทยา ขึน
้ ทั่วไปในป่ า
เบญจพรรณชื้นและตามที่ต่ำที่ช้น
ื แฉะใกล้น้ำทั่วทุกภาคของ
ประเทศไทย ออกดอกช่วงเดือนเมษายนถึงมิถุนายน เป็ นผลช่วงเดือน
มิถุนายนถึงกรกฎาคม ขยายพันธุ์โดยเมล็ด ขยายพันธุ์โดยเมล็ดวิธี
เตรียมเมล็ดก่อนเพาะ นำเมล็ดแช่น้ำร้อน 80-90 องศาเซลเซียสแล้ว
ผึ่งให้เย็น 16 ชั่วโมง นำไปแช่น้ำเย็น ทิง้ ไว้ข้ามคืน เมล็ดจะดูดน้ำ
เข้าไปพร้อมที่จะงอก วิธีเพาะ นำเมล็ดไปหว่านลงในแปลงเพาะแล้ว
ย้ายชำกล้าในภายหลัง การหว่านเมล็ดควรให้อยู่ใต้ผิวดิน 3-5
มิลลิเมตร รดน้ำให้ชุ่ม เมล็ดจะงอกภายใน 1-2 สัปดาห์

3.5 มณฑา
มณฑา (ชื่อวิทยาศาสตร์:
Magnolia liliifera) เป็ นพืชในสกุล
แมกโนเลีย ลักษณะเป็ นไม้พุ่มสูง
ประมาณ 1-3 เมตร ใบเป็ นใบเดี่ยว
ออกสลับรูปรี ปลายใบแหลม ขอบใบ
หยักหรือเป็ นคลื่นเล็กน้อย ดอกออก
ตามซอกใบ มีกลีบเลีย
้ งหนาสีเขียว
ภาพที่ 14 มณฑา
อมเหลือง 3 กลีบ กลีบดอกสีเหลือง
อ่อน 6 กลีบ เรียงเป็ นชัน
้ ชัน
้ ละ 3 กลีบ กลีบดอกเป็ นรูปไข่กลับ ดอก
มีกลิ่นหอมแรงในตอนเช้า ออกดอกตลอดปี ผลเป็ นผลกลุ่ม รูปรี ยาว
ประมาณ 4 เซนติเมตรสามารถปลูกในที่แดดร่มรำไรได้ ปลูกลงดินได้
หรือปลูกในกระถางใบโตหน่อยก็ได้ ไม่ชอบน้ำท่วมขังหรือดินที่ช้น
ื แฉะ
18

ดินต้องระบายน้ำได้ดี ชอบดินร่วนซุย สามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยการ


เพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง แต่วิธีที่ได้ผลดีที่สุดก็คือ การตอนกิ่ง

3.6 มะขวิด
มะขวิด ภาคเหนือเรียกมะฟิ ด เป็ นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง
อยู่ในกลุ่มไม้ยืนต้นผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย สูงถึง 12
เมตร กิ่งแขนงมีหนามเรียวแหลมตรง ยาว 4 เซนติเมตร ใบประกอบ
แบบขนนกปลายคี่ ใบออกตรงข้าม มี 2-3 คู่ รูปไข่กลับ ยาวถึง 4 ซม.
ก้านใบและก้านใบย่อยมีปีกแคบ ๆ ยาวถึง 12 เซนติเมตร มีจุดต่อม
น้ำมัน มีกลิ่นอ่อน ๆ เมื่อขยี ้ ช่อดอกออกปลายยอดหรือซอกใบ มีทงั ้
ดอกเพศผู้และดอกสมบูรณ์เพศ มี 5 กลีบ สีขาวครีมแกมเขียว ชมพู
หรือแดงเรื่อๆ อยู่กันหลวมๆ ผลเปลือกแข็ง รูปกลม ขนาดเส้นผ่า
ศูนย์กลางถึง 10 เซนติเมตร ผิวเป็ นขุยสีออกขาวปนสีชมพู มีเนื้อมาก
กลิ่นหอม มีเมือกหุ้มเมล็ด เมล็ดยาว ภาพที่ 15 มะขวิด
0.5-0.6 เซนติเมตร เปลือกหนา มีขน
มะขวิดนิยมขยายพันธุ์ด้วยการเพาะ
เมล็ด และการตอนกิ่ง โดยเทคนิค
เพาะเมล็ดมะขวิดจะแตกต่างจากผล
ไม้อ่ น
ื กล่าวคือ เลือกผลมะขวิดแก่
จัดสมบูรณ์ไม่มีโรค สุกคาต้นแล้ว
หล่นเอง ผ่าเป็ น 2 ซีก ไม่ต้องแกะเนื้อหรือเมล็ดออกจากกะลา นำไป
คว่ำลงบน วัสดุเพาะในกระบะเพาะอยู่ในร่ม ให้น้ำพอชื้น หลังจากนัน

ทุก 5-7 วันหมั่นยกกะลาขึน
้ ตรวจ ถ้ายังไม่มีต้นกล้างอกขึน
้ มาให้คว่ำ
19

กะลาต่อไป แต่ถ้ามีต้นกล้างอกขึน
้ มาให้ยกกะลาออกแล้วบำรุงต้นกล้า
ต่อไปจนกว่าจะแข็งแรงจึงย้ายลงหลุมปลูกได้ทันที โดยระยะปลูกแบบ
ปกติควรอยู่ที่ประมาณ 6*6 ม. หรือ 6*8 ม. เพราะเป็ นไม้ยืนต้นขนาด
กลาง

3.7 จันทน์หอม
เป็ นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบสูง 10 - 20
เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือก สีเทาอมขาวเรียบ เรือนยอดเป็ นพุ่ม
กลมค่อนข้างโปร่ง กิง่ อ่อนมีขนประปราย เป็ นชนิดใบเดี่ยว ติดเรียง
สลับทรงใบรูปรีๆ แกมรูปขอบขนาน หรือรูปรีๆ แกมรูปไข่กลับ กว้าง
3 - 6 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบตัดหรือหยักเว้าเข้าเล็กน้อย ปลายใบ
สอบแหลมทู่ๆ เนื้อใบค่อนข้างหนา แรกๆ มีขนประปราย แต่พอใบแก่
จะเกลีย
้ ง ใบแห้งออกสีเขียวอ่อนๆ เส้นใบออกจากจุดโคนใบ 3 เส้น
เส้นแขนงใบมี 4 - 6 คู่ ขอบใบเป็ นคลื่นห่างๆ ทางส่วนที่ค่อนไปทาง
ปลายใบ ก้านใบยาว 5 - 10 มม. มีขนประปรายและจะออกสีคล้ำเมื่อ
ใบแห้ง ดอกเล็กสีขาว ออกรวมกันเป็ นช่อตามปลายกิ่งและตามง่ามใบ
ใกล้ๆ ปลายกิ่ง ช่อยาวประมาณ 15 ซม. โคนกลีบฐานดอกติดกันเป็ น
รูปเหยือกน้ำ ปลายแยกเป็ นแฉกแหลมๆ 5 แฉก ทัง้ หมดยาว 10 - 13
มม. มีขนแน่นทางด้านนอกส่วนด้านในเกลีย
้ ง กลีบดอกมี 5 กลีบ ไม่
ติดกัน ทรงกลีบรูปซ้อนเกลีย
้ ง ยาว 10 - 13 มม. เกสรผู้มี 10 อัน และ
ในจำนวนนีจ
้ ะเป็ นเกสรผู้เทียมเสีย 5 อัน รังไข่ มี 5 พู รวมเบียดกันอยู่
เป็ นรูปเหยือกน้ำ มีขนคลุมแน่นแต่ละพูเป็ นอิสระแก่กัน และต่างก็มี
หลอดท่อรังไข่หนึ่งหลอด ในแต่ละพูมีช่องเดียว และมีไข่อ่อนหนึ่ง
20

หน่วยผลเป็ นชนิดผลแห้ง มักติดเป็ นคู่ๆ แต่ไม่ติดเป็ นเนื้อเดียวกันทรง


ผลรูปกระสวยเล็กๆ กว้าง 5 - 7 มม. และยาว 10 - 15 ซม. แต่ละผล
มีปีกทรงรูปสามเหลี่ยมติดที่ปลายผลหนึ่งปี ก ปี กกว้าง 1 - 15 ซม.
ยาว 2.5 - 3 ซม. ก้านผลยาวประมาณ 5 มม. ระยะการออกดอกเป็ น
ผล ออกดอกระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ผลจะแก่ระหว่างเดือน
ธันวาคม – มกราคม ต้นจันทน์หอมเป็ นพันธุ์ไม้ที่ค่อนข้างแข็งแรง และ
เติบโตได้ในสภาพอากาศที่หลากหลาย ขอแค่เรามีต้นกล้าที่สมบูรณ์
ไม่มีโรคแมลงมาตัง้ แต่เริ่มต้นก็พอ จากนัน
้ หาตำแหน่งที่เหมาะๆ ขุดดิน
ให้ลึกลงไปประมาณ 1 ส่วนใน 3 ส่วนของความสูงต้นกล้า รองก้นหลุม
ด้วยขีเ้ ลื่อยหรือกาบมะพร้าวสับละเอียด แล้วนำต้นกล้าลงปลูก กลบ
หน้าดินให้เรียบร้อย ใส่ปุ๋ยคอกปิ ดท้ายอีกครัง้ หนึง่ ก่อนรดน้ำ ในช่วง
แรกควรมีไม้หลักให้ต้นจันทน์หอมได้ยึด

ภาพที่ 16 จันทน์หอม
21

3.8 มะดูก
มะดูก ชื่อวิทยาศาสตร์: Siphonodon celastrineus เป็ น
พืชในวงศ์ Celastraceae มีหูใบแต่ร่วงง่าย ใบเดี่ยว มักจักเป็ นซี่ฟัน
ตื้น ๆ ดอกช่อออกเป็ นกระจุกตามง่ามใบ ดอกสีขาวครีม มีจุดสีน้ำตาล
แดง มีกลีบเลีย
้ งและกลีบดอก เกสรตัวผู้ 5 อัน ก้านชูแบน ผลรูปรีหรือ
กลม สีเขียวหรือ เขียวอมเหลือง การขยายพันธุ์ทำได้ด้วยวิธี
การเพาะเมล็ด การตอนกิ่ง และการปั กชำกิ่ง เป็ นพืชที่เจริญเติบโตได้ดี
ในดินร่วนซุยที่อุดมสมบูรณ์ สามารถระบายน้ำและถ่ายเทอากาศได้ดี
ชอบแสงแดดแบบเต็มวัน ต้องการน้ำในปริมาณปานกลาง เหมาะ
สำหรับปลูกในพื้นที่กลางแจ้ง

ภาพที่ 17 มะดูก

3.9 รวงผึง้
รวงผึง้ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Schoutenia glomerata) เป็ น
พืชในวงศ์ชบา มีถิ่นกำเนิดในมาลายา ในประเทศไทยพบมากในป่ าทาง
ภาคเหนือ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,000–1,100 เมตรลักษณะ
22

เป็ นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 8 เมตร ใบรูปมนรีหรือขอบขนานปลายแหลม


ขอบใบเรียบ ขนาด 4–12 × 3.5–5 เซนติเมตร ฐานใบป้ านและมักไม่
สมมาตร ก้านใบยาว 0.2–0.9 เซนติเมตร ดอกเป็ นดอกสมบูรณ์เพศ
ออกเป็ นช่อสัน
้ ๆ ตามซอกใบ สีเหลืองสด ขนาด 1.3–1.5 เซนติเมตร
กลีบเลีย
้ งรูปสามเหลี่ยม 5 กลีบ เชื่อมกันใกล้ฐานเป็ นรูปถ้วย ไม่มีกลีบ
ดอก เกสรตัวผู้จำนวนมาก เกสรตัวเมียปลายแยก 5 พู รังไข่กลม ดอก
มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลกลมเป็ นแบบแห้งไม่แตก ขนาด 0.5–1
เซนติเมตร รวงผึง้ เป็ นต้นไม้ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระวชิร
เกล้าเจ้าอยู่หัว ปลูกเป็ นไม้ประดับบนดินร่วน ออกดอกช่วงเดือน
กรกฎาคมถึงสิงหาคม ต้นรวงผึง้ สามารถขยายพันธุ์ได้ทงั ้ การเพาะเมล็ด
ตอนกิ่ง และปั กชำกิง่ แต่วิธีปลูกต้นรวงผึง้ ที่นิยมมากที่สุดคือ การตอน
กิ่ง ด้วยการควั่นกิ่งและลอกเปลือกออก จากนัน
้ นำดินเหนียวและกาบ
มะพร้าวชุบน้ำมาหุ้มแผลเอาไว้ ห่อด้วยแผ่นพลาสติกและมัดเชือกปิ ด
มิด ดูแลรดน้ำตามปกติ อาจจะใช้ฮอร์โมนเร่งรากด้วยก็ได้ รอรากงอก
ออกมาภายใน 2-3 วัน จึงค่อยตัดไปปลูกลงในหลุมดินร่วน เพื่อให้ได้
ผลดีแนะนำให้ปลูกในที่กลางแจ้ง เนื่องจากเป็ นพืชที่ชอบแดดและทน
แล้งได้ดี รดน้ำปานกลาง และปลูกไว้บริเวณแสงแดดส่องถึงตลอดทัง้
วัน ต้นก็จะเจริญเติบโตให้ความร่นรื่น ออกดอกสวยงาม แถมใบไม่
ร่วงมากด้วย

3.10 ทานาคา
ทานาคาจัดเป็ นไม้พุ่มกึ่งไม้ต้น หรือไม้ยืนต้นขนาดกลาง ไม้
ผลัดใบ สูง 5-10 เมตร ลำต้นเปลาตรง แตกกิ่งในระดับและมักจะต่ำ
กิ่งก้านตัง้ ฉากกับลำต้น แต่เนื้อไม้สีขาว ส่วนเปลือกต้นเป็ นสีน้ำตาล
23

ผิวขรุขระ ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็ง และยาวตรง หนามออกเดี่ยวหรือ


เป็ นคู่ ยาวได้ถึง 2.5 เซนติเมตร แต่กิ่งอ่อนและยอดอ่อนเกลีย
้ ง ใบเป็ น
ใบประกอบแบบขนนกชัน
้ เดียว เรียงสลับกัน มีใบย่อยประมาณ 4-13
ใบ ลักษณะของใบย่อยเป็ นรูปวงรีแกมรูปไข่กลับ กว้างประมาณ 1.5-3
เซนติเมตรและยาวประมาณ 2-7 เซนติเมตร โคนและปลายใบมี
ลักษณะสอบแคบ ส่วนขอบใบเป็ นซี่ฟันเลื่อยแบบตื้น ๆ เนื้อใบ
บางคล้ายกระดาษจนถึงหนาคล้ายกับแผ่นหนัง ผิวใบเนียน เกลีย
้ ง เมื่อ
ส่องดูจะเห็นต่อมน้ำมันเป็ นจุดใส ๆ กระจายอยู่ทั่วไป และมีเส้นแขนง
ของใบมีอยู่ประมาณข้างละ 3-5 เส้น ส่วนก้านใบแผ่เป็ นปี ก มีลักษณะ
เป็ นครีบออกทัง้ สองข้างและเป็ นช่วง ๆ ระหว่างคู่ของใบย่อย และก้าน
ช่อใบสามารถยาวได้ถึง 3 เซนติเมตร ดอกออกเป็ นช่อแบบช่อกระจะ
โดยจะออกเป็ นกระจุกตามกิ่งเล็กๆหรือตามบริเวณซอกใบ ดอกสีขาว
หรือสีขาวอมเหลือง กลีบดอกมี 4 กลีบ เมื่อบานจะแผ่ออกหรือลู่ไป
ทางก้านเล็กน้อย กลีบเลีย
้ งมี 4 กลีบ รูปคล้ายสามเหลี่ยม กว้าง และ
ยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ปลายแหลม ผิวด้านนอกมีขนละเอียด
และมีต่อมน้ำมันด้านใน สำหรับลักษณะกลีบดอกเป็ นรูปไข่แกมรูปรี
กว้างประมาณ 3 มิลลิเมตร ยาว 7 มิลลิเมตร มีต่อมน้ำมันประปราย
เกสรตัวผู้มี 8 อัน ยาว 4-6 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
1 มิลลิเมตร มีต่อมน้ำมันใต้ยอดเกสรเพศเมีย จานฐานดอกเกลีย
้ ง
ส่วนก้านช่อดอกยาวได้ถึง 2 เซนติเมตร และก้านดอกย่อยยาว 8-10
มิลลิเมตร เกลีย
้ ง หรือมีขน ผลเป็ นแบบผลสด รูปทรงกลม มีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5-1 เซนติเมตร ผลอ่อนเป็ นสีเขียว เมื่อ
แก่จะเปลี่ยนเป็ นสีม่วงคล้ำ ในผลมีเมล็ดรูปทรงกลมสีน้ำตาลอมส้มอยู่
ประมาณ 1-4 เมล็ด โดยเมล็ดจะมีความกว้างประมาณ 5 มิลลิเมตร
ส่วนก้านผลยาวได้ถึง 2 เซนติเมตร การขยายพันธุ์ทำได้ด้วยวิธีการใช้
24

เมล็ด การปั กชำด้วยกิ่งอ่อนหรือรากการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ทำได้โดย


นำผลที่แก่และสุกจนกลายเป็ นสีดำแล้วมาแช่น้ำไว้ประมาณ 2-3 วัน
ต่อจากนัน
้ ให้นำขึน
้ มาล้างให้สะอาด แล้วตากแดดทิง้ ไว้อีก 2-3 ครัง้
เตรียมวัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน
ร่วนปนทรายและแกลบสุกในอัตรา
1:2 ใส่ลงไปในถุงเพาะชำ หยอด
เมล็ดลงไปให้ลึกประมาณ 2-3 ซม.
รำน้ำพอชุ่ม นำไปวางไว้ในที่มีแดด
รำไรให้การดูแลรักษาด้วยการรดน้ำ
พอชุ่มประมาณสัปดาห์ละ 1-2 ครัง้
อย่างสม่ำเสมอ เมล็ดจะเริ่มงอกหลังจากเพาะไปได้ประมาณ 45 วัน
เมื่อมีใบจริงประมาณ 3-5 ใบ ให้นำมาวางไว้ในที่โล่งแจ้งเพื่อให้ได้รับ
แสงแดดและมีความแข็งแรงขึน

ภาพที่ 18 ทานาคา

3.11 ลูกปื นใหญ่


ลูกปื นใหญ่เป็ นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ
เรือนยอดทรงกลมหรือรูปไข่ หนาทึบ เปลือกสีน้ำตาลแกมเทา แตก
25

เป็ นร่องและสะเก็ด ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ เป็ นกระจุกที่ปลายกิ่ง รูป


ขอบขนานถึงรูปใบหอกแกมรูปไข่ กว้าง 5-8 เซนติเมตร ยาว 12-25
เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบหรือมน ขอบใบจักตื้น ใบหนา
ดอกสีชมพูอมเหลืองหรือแดง ด้านในสีม่วงอ่อนอมชมพู มีกลิ่นหอม
มาก ออกดอกเป็ นช่อแบบช่อกระจะขนาดใหญ่ตามลำต้น ช่อดอกยาว
30-150 เซนติเมตร ปลายช่อโน้มลง กลีบดอกหนา 4-6 กลีบ กลาง
ดอกนูน สีขนสัน
้ สีเหลืองคล้ายแปรง เกสรเพศผู้เป็ นเส้นยาวสีชมพูแกม
เหลืองจำนวนมาก ทยอยบานจากโคนไปหาปลายช่อ นานเป็ นเดือน
ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-10 เซนติเมตร ผลแห้ง ทรงกลมใหญ่ ขนาด
10-20 เซนติเมตร เปลือกแข็ง สีน้ำตาลปนแดง ผลสุกมีกลิ่นเหม็นมี
เมล็ดจำนวนมาก รูปไข่ เพาะเมล็ดได้ผลดี ถ้าใช้ทาบกิ่ง ตอนกิง่
ติดตา จะได้ผลน้อยมาก

3.12 สุพรรณิการ์
เป็ นต้นไม้ผลัดใบสูง 7-15
เมตร แผ่นใบแยกเป็ น 5 แฉก ขอบใบ
เป็ นคลื่น ดอกเป็ นช่อออกกระจายที่
ปลายกิ่ง บานทีละดอก ดอกเหลืองมี
กลิ่น กลีบบาง เกสรสีเหลือง รังไข่มี
ขน ผลกลมเมื่อแก่แตก 3-5 พู
ภายในมีเมล็ดรูปไตสีน้ำตาล หุ้มด้วย
ปุยขาวคล้ายปุยฝ้ าย ออกดอกเกือบตลอดปี ดอกดกมาก ราวเดือน
กุมภาพันธ์-เมษายน มีถิ่นกำเนิดใน
ภาพที่ 20 สุพรรณิการ์
ประเทศอินเดียทางตะวันตกเฉียง
เหนือของภูเขาหิมาลัย และเป็ นไม้พ้น

26

เมือง ของประเทศพม่าด้วย ในประเทศศรีลงั กามักปลูกบริเวณพระ


อุโบสถเพื่อเป็ นดอกไม้บูชาพระ ในเมืองไทยทางเหนือ เรียกว่า ฝ้ ายคำ
ในประเทศไทยนิยมปลูกสุพรรณิการ์
เป็ นไม้ประดับ โดยได้รับการกำหนด
ให้เป็ นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน
ประจำจังหวัดนครนายก และเป็ น
ดอกไม้ประจำจังหวัดนครนายก
สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี และ
อุทัยธานี การขยายพันธุ์ การปั กชำ
กิ่งที่ใช้ปักชำควรมีสีน้ำตาล ใช้เวลา
ปั กชำ 2 - 3 เดือน นำไปปลูกได้ การตอน ทำในฤดูฝน กิ่งที่ใช้ควรมีสี
น้ำตาลอ่อน ใช้เวลา 1 - 2 เดือน จึงออกราก

3.13 องุ่นทะเล
ต้นองุ่นทะเล หรืออีกชื่อ ครุฑทะเล มีถิ่นกำเนิดในทวีป
อเมริกากลาง และอเมริกาใต้เป็ นไม้ยืนต้น เมื่อปลูกต้นเดียวๆ ทรงพุ่ม
ค่อนข้างกลม มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความสูงโดยประมาณตัง้ แต่
3-10 ม. และ ใบ ไม่ค่อยร่วง ผลออกเป็ นพวง สามารถรับประทานได้
ดอกมีขนาดเล็ก มี 5 แฉก กลีบดอก
มีสีขาว และมีกลิ่นหอม ช่วง ภาพที่ 21 องุ่นทะเล

ออกดอก ช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคม จะติดผลเริ่มตัง้ เดือน


สิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน และจะเริ่มสุกและนำไปรับประทานได้
27

ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตอนกิ่งจะเหมาะสมที่สุด ใช้เวลาออกรากน้อย
กว่า การเพาะเมล็ด ต้นองุ่นทะเล สามารถปลูกในดินได้หลายรูปแบบ
ทนต่อความแห้งแล้ง สามารถเติบโตตามสภาพภูมิอากาศที่ร้อนได้ตาม
ธรรมชาติ และทนต่อดินเค็ม สามารถอยู่รอดได้ในทุกสภาพภูมิอากาศ
ในพื้นที่ชายฝั่ งทะเล ปลูกเพื่อเป็ นแนวป้ องกันลมพัดแรงตามแนว
ชายฝั่ งทะเล ช่วยป้ องกันการกัดเซาะของหน้าดิน

3.14 อบเชย
เป็ นไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15 – 20 เมตร
ไม่ผลัดใบ เรือนยอดกลม หรือรูปเจดีย์ต่ำๆ ทึบ เปลือกนอกสีน้ำตาล
อมเทา เรียบ หรือแตกเป็ นสะเก็ดสี่เหลี่ยม มีช่องอากาศกระจายอยู่
ทั่วไป เปลือกในสีชมพู กระพีส
้ ีขาว เปลือกและใบมีกลิ่นหอมแบบ
อบเชย ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม หรือเกือบตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง
2.5 – 7.5 เซนติเมตร ยาว 7.5 – 25 เซนติเมตร โคนใบมน ขอบใบ
เรียบ ปลายใบแหลม เนื้อใบหนา
แข็งและกรอบ มีเส้นใบออกจาก
โคนใบ 3 เส้นยาวตลอดจนถึงปลาย
ใบ ใบด้านล่างเป็ นคราบขาวๆ ยอด
ภาพที่ 22 อบเชย
อ่อนมีสีแดง ช่อแยกแขนง ออกที่
ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน
หรือเขียวอ่อน ขนาดเล็ก กลีบเลีย
้ ง
6 กลีบ เรียง 2 ชัน
้ ชัน
้ ละ 3 กลีบ แต่ละกลีบรูปไข่ ปลายแหลม มีขน
นุ่มหนาแน่น ไม่มีกลีบดอก ดอกมีกลิ่นเหม็น ผลมีเนื้อเมล็ดเดียวแข็ง
รูปไข่กลับ ขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ผิวเกลีย
้ งเป็ นมัน มี
คราบขาว โคนมีกลีบเลีย
้ งหุ้มอยู่ ผลอ่อนสีเขียวประขาว เมื่อสุกมีสีดำ
28

เมล็ดรูปไข่ การขยายพันธุ์ เมล็ด ตอนกิ่ง ทาบกิง่ ต่อกิ่ง ปั กชำ การ


เพาะกล้า เก็บเมล็ดอบเชยที่สุก แกะเปลือกออก เพาะในแปลงเพาะ
กล้าที่มีแสงรำไร วางเมล็ดห่างกันประมาณ 20 เซนติเมตร ฝั งเมล็ดลึก
2.5 เซนติเมตร เมื่อต้นกล้ามีความสูงได้ประมาณ 15 เซนติเมตร ย้าย
ปลูกลงถุงชำ เลีย
้ งไว้ประมาณ 4-5 เดือน สามารถนำไปปลูกลงแปลง
ได้

3.15 อโศกอินเดีย
อโศกอินเดีย หรือ อโศกเซนต์คาเบรียล (ชื่อวิทยาศาสตร์:
Polyalthia longifolia) เป็ นไม้ยืนต้นสูง ในวงศ์ Annonaceae มี
ลักษณะเป็ นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มเป็ นรูปปิ รามิดแคบ ๆ สูงเต็มที่ได้ถึง
25 เมตร กิ่งโน้มลู่ลงทัง้ ต้น ทำให้แลดูต้นสูงชลูดมาก เปลือกต้นเกลีย
้ ง
สีเทาเข้ม หรือเทาปนน้ำตาล ใบเดี่ยวรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายแหลม
ยาว 15 - 20 เซนติเมตร สีเขียวเป็ นมันเงางาม ขอบใบเป็ นคลื่น
ออกดอกในระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน จะออกดอกสีเขียวอ่อน
เป็ นกระจุกตามข้างๆ กิ่ง แต่ละดอกเป็ นรูปดาว 6 แฉก กลีบดอกเป็ น
คลื่นน้อย ๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 - 2 เซนติเมตร ดอกบานอยู่
นาน 3 สัปดาห์ ผลรูปไข่ ยาว 2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีดำ เป็ นไม้ต้น
ทรงสูงชะลูด สามารถสูงได้เกินกว่า 30 ฟุต เป็ นแท่งกลมปลายแหลม
ทรงพุ่มแผ่นทึบ ใบรูปหอก แนว ยาวสีเขียวเข้ม ขอบใบเป็ นคลื่น ดอก
ออกเป็ นช่อสีเขียวอ่อน รูปดาว 6 แฉก ดอกมีกลิ่นอ่อน นิยมปลูกเป็ น
ไม้ประดับและเป็ นร่มเงา มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดียและศรีลงั กา
ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด เก็บเมล็ดสุกดำๆ ล้า่งเอาแต่เมล็ด ถ้า
เมล็ดที่สมบูรณ์จะจมน้ำ จากนัน
้ ผึ่งลมให้แห้ง ห้ามตากแดด นำไปเพาะ
29

ในขุยมะพร้าว + ทราย 1/1 โดยให้เมล็ดจมลงในวัสดุเพาะ 0.3-0.5


ชม. รดน้ำให้ชุ่ม ประัมาร 10-20 วันก็จะเริ่มงอกค่อยแยกชำลงถุง
หรือหากมีถงุ อยู่แล้วก็อาจจะเพาะในถุงเลยก็ได้ โดยในถุงมี ดิน
ร่วน/แกลบดำ/ปุ๋ยคอก 20/20/1 ถ้าไม่มีแกลบดำก็ตัดออก ส่วนวิธี
เพาะก็เหมือนเพาะด้วยทราย

3.16 เทพทาโร
เทพทาโร (ออกเสียง [เทบ-พะ-ทา-โร]; ชื่อวิทยาศาสตร์:
Cinnamomum porrectum Kosterm) เป็ นต้นไม้หอมชนิดหนึ่งสกุล
เดียวกับต้นอบเชย มีต้นขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์ Lauraceae และ
เป็ นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดพังงา เทพทาโรเป็ นไม้
ยืนต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็ นพุ่มกลับทึบ ใบมีสีเขียวเข้ม
ลำต้นเรียบไม่มีพูพอน เปลือกต้นสีเทาอมเขียวหรืออมน้ำตาล ค่อนข้าง
เรียบ แตกเป็ นร่องยาวตามลำต้น เมื่อถากเปลือกออกจะมีกลิ่นหอม
กิง่ มีลักษณะอ่อนเรียว เกลีย
้ งและมักมีคราบขาว ใบเป็ นชนิดใบเดี่ยว
ออกเรียงสลับกัน เป็ นใบรูปรีแกมรูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน
เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลีย
้ ง ท้องใบมีคราบขาว ปลายใบแหลม
โคนใบแหลมและกลม ยาวประมาณ 7 - 20 ซม. ก้านใบเรียวเล็ก 2.5
- 3.5 ซม. ดอกออกเป็ นช่อ สีขาวหรือเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม
ออกดอกตามปลายกิง่ เป็ นกระจุกยาว 2.5 - 7.5 ซม. ก้านช่อดอกจะ
เรียวยาวและเล็กมาก ผลมีขนาดเล็กและกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 7 มม. ผลอ่อนมีสีเขียว ผลแก่มีสีม่วงดำ ก้านผลเรียว ยาว
ประมาณ 3 - 5 ซม. ลักษณะเนื้อไม้มีสเี ทาแกมน้ำตาล มีกลุ่มหอมฉุน
มีรว
ิ ้ สีเขียวแกมเหลือง เนื้อไม้เป็ นมันเลื่อม เสีย
้ นตรง หรือสับสน เป็ น
คลื่นบ้างเล็กน้อย เหนียว แข็งพอประมาณ เลื่อย ไส้กบ ตบแต่งง่าย
30

สารสำคัญในเนื้อไม้ จะพบ d - camphor ที่ใช้แทน sassafras ได้ดีให้


น้ำมันที่มีสารหอม คือ safrol และ cinnamic aldehyde และยังพบ
safrol ในเปลือกต้นและใบ การขยายพันธุ์ไม้เทพทาโรที่นิยมปฏิบัติกัน
คือ การขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดและการปั กชำ ต้นเทพทาโรเป็ น
ไม้หอมที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ จึงสมควรที่จะปลูกสร้างสวนป่ าไม้เทพ
ทาโรขึน
้ ในที่ที่มีความชุ่มชื่นเพียงพอ เพราะเทพทาโรจะชอบขึน
้ อยู่บน
เขาในป่ าดงดิบ พบมากที่สุดทางภาคใต้ อาจจะปลูกใต้ร่มไม้อ่ น
ื หรือ
ปลูกเป็ นไม้แซมสวนป่ า น่าจะเจริญเติบโตดีกว่าปลูกเป็ นไม้เบิกนำในที่
โล่งแจ้ง ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ส่วนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัย
เพศที่พบมากในธรรมชาติ คือ การแตกต้นอ่อนจากราก โดยวิธีการปั ก
ชำและการตอนกิ่ง ต้นกล้าจากเมล็ดในธรรมชาติพบได้น้อยมาก
เพราะเมล็ดเทพทาโรจะงอกได้เพียง 5-10% ในระยะเวลาถึง 90 วัน
3.17 ชมพูภูคา
ชมพูภูคาเป็ นไม้ยืนต้น สูง 10–25 เมตร เปลือกลำต้นเรียบ
สีเทาน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนก ยาว 30–80 ซม. ใบรูปหอกถึงรูป
ไข่ กว้าง 2.5–6 ซม ยาว 8–25 ซม. โคนใบรูปลิ่มหรือกลม ปลายใบ
แหลม ดอกสีขาว–ชมพู คล้ายรูประฆัง ออกเป็ นช่อที่ปลายยอด ช่อ
ดอกยาวได้ถึง 20–40 ซม. กลีบรองดอกขนาดใหญ่ รูปถ้วยขอบหยัก
ตื้น ๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กว้าง โคนกลีบเรียวยาว ปลายกลีบม้วน
ออกด้านนอก ขนาด 1.8–2 ซม. กลีบบนมักคว่ำลง เกสรผู้ 8 อัน ก้าน
เกสรเพศผู้ยาว 2.5–3 ซม. ปลายโค้ง รังไข่และก้านเกสรเพศเมียมีขน
ปกคลุม รังไข่ยาว 0.3–0.4 ซม. เกสรเพศเมียยาว 3–4 ซม.
ปลายงอลง[2] ผลรูปกระสวยแก่แล้วแตก เมล็ดรูปรี กว้าง 12 มม.
ยาว 20 มม. ชมพูภูคา เป็ นหนึ่งในพันธุ์ไม้หายาก ใกล้สูญพันธุ์ชนิด
หนึ่งของโลก เมื่อประมาณ 30 ปี ที่ผ่านมา มีรายงานว่าพบพันธุ์ไม้ชนิด
31

นี ้ ที่มณฑลยูนานประเทศจีน แต่ปัจจุบันคาดว่าสูญพันธุ์ไปแล้วเนื่อง
ด้วยการตัดไม้ทำลายป่ า สำหรับในประเทศไทยมีรายงานการสำรวจ
พบพันธุ์ไม้ชนิดนีเ้ มื่อมี พ.ศ. 2532 บริเวณป่ าดงดิบเขาดอยภูคา
อุทยานแห่งชาติดอยภูคา อำเภอปั ว และที่ บ้านสว่าง อำเภอแม่จริม
จังหวัดน่าน ชมพูภค
ู า ขยายพันธุ์และเพาะปลูกได้ด้วยวิธีเพาะเมล็ด
แต่เมล็ดจะมีอัตราการงอกที่ดีบนพื้นที่สูงตามถิ่นกำเนิดเดิมปั จจุบัน มี
การเก็บเมล็ดจากต้นต้นดัง้ เดิมที่พบบนดอยภูคามาเพาะขยายพันธุ์จน
ได้ต้นกล้า และนำมาปลูกบริเวณใกล้เคียงกับต้นแบนดอยภูคาจำนวน
หลายต้น ซึ่งต่อไปจะน่าจะมีการติดดอก และบานให้ช่ น
ื ชมมากขึน

3.18 กระเบา
ต้นกระเบา มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบ
กระจายพันธุ์ในภูมิภาคอินโดจีน จัดเป็ นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดกลาง
จนถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร รูปทรงสูง
โปร่ง ลำต้นเปลาตรง เปลือกลำต้นเรียบและเป็ นสีเทา ขยายพันธุ์ด้วย
วิธีการใช้เมล็ด ในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกภาคตามป่ าดิบและ
ตามป่ าบุ่งป่ าทามที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 30-1,300 เมตร
ใบเป็ นใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะใบเป็ นรูปรียาวแกมรูปขอบขนาน
ปลายใบแหลม โคนใบมน ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ
3-6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 10-20 เซนติเมตร หลังใบเรียบเป็ น
มัน สีเขียวเข้ม ส่วนท้องใบเรียบไม่ล่ น
ื และมีสีอ่อนกว่า เนื้อใบทึบแข็งมี
ลักษณะกรอบ มีเส้นใบประมาณ 8-10 คู่ ใบอ่อนเป็ นสีชมพูแดง ส่วน
ใบแก่เป็ นสีเขียวเข้ม ส่วนก้านใบยาวประมาณ 10-30 เซนติเมตร ดอก
กระเบา ดอกเป็ นแบบแยกเพศอยู่กันคนละต้น ต้นตัวผู้จะเรียกว่า
“แก้วกาหลง” ส่วนต้นตัวเมียจะเรียกว่า “กระเบา” ออกดอกเดี่ยว
32

ตามซอกใบ บ้างว่าออกดอกเป็ นช่อมีสีขาวนวล ในช่อหนึ่งมีประมาณ


5-10 ดอก ดอกมีกลิ่นหอมฉุน มีเกสรเพศผู้ 5 ก้าน ดอกเพศผูเ้ ป็ น
สีชมพู มีกลีบดอก 5 กลีบและมี
กลีบเลีย
้ งดอก 5 กลีบ มีขน ส่วน
ดอกเพศเมียออกดอกเป็ นช่อสัน
้ ๆ
ตามง่ามใบ กลีบเลีย
้ งและกลีบดอก
มีลักษณะเหมือนกับดอกเพศผู้ โดย
จะออกดอกในช่วงเดือนพฤษภาคม
ถึงเดือนมิถุนายน บ้างก็ว่าจะ
ออกดอกในช่วงเดือนมกราคมถึง
เดือนมิถุนายน ผลกระเบา ผลใหญ่มล
ี ักษณะเป็ นรูปทรงกลม ผลมี
ขนาดกว้างประมาณ 8-12 เซนติเมตร เปลือกผลหนาแข็งเป็ นสีน้ำตาล
ผิวผลมีขนคล้ายกำมะหยี่สีน้ำตาล เนื้อในผลเป็ นสีขาวอมเหลือง ข้าง
ในผลมีเมล็ดสีดำอัดแน่นรวมกันอยู่เป็ นจำนวนมาก ประมาณ 30-50
เมล็ด เมล็ดมีลักษณะรีหรือรูปไข่เบีย
้ ว ปลายมนทัง้ สองข้าง กว้าง
ประมาณ 1-1.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.5-1.9 เซนติเมตร โดย
จะติดผลในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน และจะเป็ นผลในช่วง
เดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม ในปั จจุบันการขยายพันธุ์ของ
กระเบาส่วนใหญ่จะเป็ นการขยายพันธุ์ในธรรมชาติมากกว่าการนำมา
ปลูกโดยมนุษย์ เพราะต้นกระเบาเป็ นไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากและไม่
ค่อยเป็ นที่นิยม จึงทำให้การใช้ประโยชน์จากกระเบาจะเป็ นการไปเก็บ
จากธรรมชาติมากกว่าการปลูกใช้เอง
3.19 กำยาน
ต้นกำยาน จัดเป็ นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
มีความสูงได้ประมาณ 10-20 เมตร เปลือกลำต้นเป็ นสีเขียวเทา
33

หรือสีหม่น ตามกิ่งก้านมีขนสีเหลืองเล็กน้อย มีเขตการกระจายพันธุ์


ทั่วไปในแถบเขตร้อน เช่น แหลมมลายู เกาะสุมาตรา เกาะชวา เกาะ
บอนิโอ และในประเทศไทย ใบกำยาน ใบเป็ นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ
ลักษณะของใบเป็ นรูปไข่ยาวเรียว ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเล็กน้อย
แผ่นใบมีขนสีขาวเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2-6 เซนติเมตร
และยาวประมาณ 6-10 เซนติเมตร ส่วนก้านใบยาวประมาณ 6-10
มิลลิเมตร ดอกกำยาน ออกดอกเป็ นกระจุกหรือเป็ นช่อตามง่ามใบ
ดอกเป็ นสีชมพู-แดง หรือสีขาว มีกลีบ 5 กลีบ ด้านในของดอกจะเป็ น
สีชมพูถึงสีแดงเข้ม ด้านนอกเป็ นสีขาว ดอกมีเกสรเพศผู้ 10 อัน และ
ดอกมีขน ผลกำยาน ผลมีลก
ั ษณะเป็ นรูปไข่หรือกลมเล็กน้อย ผิว
แข็งมีสีน้ำตาล ยาวประมาณ 10-12 มิลลิเมตร มีขนขึน
้ ประปราย
ภายในผลมีเมล็ด 1-2 เมล็ด กำยานนิยมขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
สามารถปลูกได้ทงั ้ ในดินและในกระถาง โดยจะเพาะต้นกล้าให้ราก
แน่นก่อนแล้วจึงนำลงปลูก ควรหมั่นเปลี่ยนกระถางเรื่อย ๆ แต่เมื่อเริ่ม
โตควรนำไปปลูกในดิน

3.20 จำปาทอง
มีลก
ั ษณะเป็ น ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ
สูงได้ถึง 30-50 ม. ลำต้นมีลักษณะเปลาตรง สูงใหญ่ เปลือกเรียบสี
น้ำตาลอมเทา แตกเป็ นร่องตามยาว เปลือกหนา เปลือกในสีขาว มีรู
ระบายอากาศทั่วไป มักมีรอยตาของกิ่งที่หลุดร่วงไปแล้ว ตามกิ่งอ่อน
ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก และช่อผลมีขนหนานุ่ม กิง่ อ่อนมีรอย
วงแหวน หูใบแนบติดก้านใบมากกว่ากึ่งหนึ่ง กิง่ แก่เกลีย
้ ง มีช่อง
อากาศเล็ก ๆ เนื้อไม้สีเหลืองหรือน้ำตาลอ่อน ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ
แผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน รูปไข่แกมรูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก
34

กว้าง 4-10 เซนติเมตร ยาว 10–30 ซม. ปลายแหลมสัน


้ ๆ - ปลายใบ
เรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม-กลม เส้นเขนงใบมีข้างละ 14–23 เส้น แผ่น
ใบด้านล่างมีขน มีเส้นขอบใน ก้านใบยาว 1.5–4 ซม. มีรอยแผลของหู
ใบบนก้านยาว 0.3–0.7 เท่าของความยาวจากโคนก้านใบ ก้านใบยาว
2-4 เซนติเมตร ใบแก่เกลีย
้ งหรือมีขนเล็กน้อย ยอดอ่อนและใบอ่อนมี
ขนสีทองปกคลุมหนาแน่น ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง มีดอกเดี่ยว ก้าน
ดอกสัน
้ ดอกมีกลิ่นหอมแรง สีเหลืองอ่อน-สีเหลืองอมส้ม มี 10-15
กลีบ เรียงหลายวง ยาวเท่า ๆ กัน กลีบรูปใบหอกกลับ ยาว 2–4 ซม.
เกสรเพศผู้จำนวนมาก เรียงเวียนอัดแน่น แกนอับเรณูมีรยางค์สน
ั้ ๆ
ออกดอกระหว่างเดือนเมษายน-สิงหาคม ผลติดเป็ นกลุ่มหรือช่อยาว
7–15 ซม. ผลย่อยแยกกัน ผลย่อย 10-40 ผล ผลย่อยแต่ละผลค่อน
ข้างกลม หรือกลมรีเบีย
้ ว เปลือกผลหนาและแข็งมีสีเขียว ผลยาว 1–2
ซม. ผิวขรุขระ มีช่องอากาศสีขาวกระจายทั่วไม่มีก้านผลย่อย เมื่อแก่
จะแตกอ้า 2 ซีก มี 1 เมล็ด/ผลย่อย ผิวย่น เมล็ดจำปาป่ า เยื่อหุ้ม
เมล็ดสีแดงส้ม-สีแดงอมชมพู ผลแก่สีน้ำตาล แตกด้านข้าง เมล็ดสีดำ
เปลือกหุ้ม เมล็ดแข็ง ออกผลในเดือนมกราคม-มีนาคม สามารถขยาย
พันธุ์ได้ด้วย การเพาะเมล็ด การทาบกิ่ง และการตอนกิ่ง แต่การเพาะ
เมล็ดจะง่ายกว่า เนื่องจาก ลำต้นจะตัง้ ตรง ระบบรากจะแข็งแรง โต
เร็ว ต้นจำปาชอบดินร่วนที่ระบายน้ำได้ดี ชอบแสงแดด
3.21 รงทอง
35

เป็ นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบ ยางเหนียวสีเหลือง ใบเดี่ยว ดอกสี


เหลืองซีด กลิ่นหอม ผลกลม เนื้อนุ่ม เมล็ดมีเนื้อเป็ นเยื่อหุ้มอยู่ ต้นรง
ทอง จัดเป็ นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึง
กลาง มีความสูงประมาณ 10-15
เมตร ทุกส่วนมียางเหลือง เปลือกมี
สีน้ำตาล โดยจะพบต้นรงทองได้
มากในจังหวัดจันทบุรี ใบเป็ นใบ
เดี่ยว เรียงสลับตรงข้ามกัน แผ่นใบ
สีเขียวเข้มลักษณะเหมือนรูปไข่แกม
ภาพที่ 24 รงทอง
รูปหอก มีความกว้างประมาณ 4-6
ซม. และยาวประมาณ 8-14 ซม. ออกดอกเป็ นช่อสีเหลือง โดยจะออก
เป็ นกระจุกตามซอกใบ มีกลีบดอกสีเหลือง ผลเป็ นผลสดอุ้มน้ำแบบมี
เนื้อเมล็ดเดียว ลักษณะกลมหรือรี มีสีเหลืองปนส้ม เมล็ดเป็ นรูปไข่
รงทองสามารถขยายพันธุ์ได้หลากหลายวิธีเช่นเดียวกับไม้ยืนต้นทั่วไป
แต่เนื่องจากเป็ นพันธุ์ไม้ที่หายากมากขึน
้ เรื่อยๆ การเลือกซื้อต้นกล้า
หรือเมล็ดพันธุ์จากแหล่งเพาะพันธุ์จึงเป็ นตัวเลือกที่สะดวกที่สุดในตอน
นี ้ หากใช้การเพาะเมล็ดก็ให้คัดเอาเมล็ดที่มีสภาพสมบูรณ์

3.22 พุงทะลาย
ต้นสำรอง จัดเป็ นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีความสูงของต้น
ประมาณ 30-40 เมตร และอาจสูงได้ถึง 45 เมตร ลำต้นมีลักษณะตัง้
ตรงสูงชะลูด แตกกิ่งก้านออกรอบต้น เรียงกันเป็ นชัน
้ ๆ ลำต้นเป็ นสี
เทาดำ เปลือกต้นหยาบ มีเส้นเป็ นร่องตามแนวดิ่ง สามารถพบได้ตาม
ป่ าดิบเขาที่มีฝนตกชุกและมีแสงแดดส่องถึง พบได้มากในจังหวัด
จันทบุรี แต่ในปั จจุบันมีแนวโน้มว่าอาจจะสูญพันธุ์ได้ ออกดอกเป็ นช่อ
36

บริเวณปลายกิ่งและง่ามใบ โดยจะออกรวมกันเป็ นช่อใหญ่ ดอกเป็ น


แบบแยกเพศ กลีบดอกเป็ นแฉกคล้ายรูปดาว ยาวประมาณ 7-10
มิลลิเมตร กลีบดอกปลายแหลม เป็ นสีเขียวอ่อน ส่วนกลีบเลีย
้ งมี
ลักษณะเป็ นรูปร่างคล้ายทรงบอก มีขนปกสีแดงปกคลุม ดอกมีเกสร
เพศผู้ประมาณ 10-15 ก้านและเกสรเพศเมียอีก 1 ก้าน โดยจะ
ออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคมผลจะออกตามปลายกิ่ง
กิ่งหนึง่ จะมีผลประมาณ 1-5 ผล ลักษณะของผลเป็ นรูปร่างคล้ายเรือ
หรือรูปกระสวย เมื่อแก่จะแตกออก ผลมีขนาดกว้างประมาณ 5-6
เซนติเมตรและยาวประมาณ 18-24 เซนติเมตร ภายในผลมีเมล็ด
ลักษณะกลมรีเล็กน้อย ลักษณะคล้ายกับลูกสมอ ผลแก่เป็ นสีน้ำตาล
ผิวเหี่ยวย่น แห้ง และขรุขระ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12
มิลลิเมตรและยาวประมาณ 18-25 มิลลิเมตร ส่วนเมล็ดเป็ นรูปมนรี มี
เยื่อหุ้มอยู่ ซึ่งเป็ นสารเมือกมีอยู่เป็ นจำนวนมาก เมื่อถูกน้ำหรือนำมา
แช่ในน้ำจะพองตัวออกและขยายตัวเป็ นวุ้นคล้ายกับเยลลี่สีน้ำตาล ใช้
รับประทานได้ โดยผลจะเริ่มแก่และร่วงในช่วงประมาณเดือนมีนาคม
ถึงเดือนเมษายน เปลือกหุ้มเมล็ดชัน
้ นอกจะมีสารเมือก (Mucilage) ที่
สามารถพองตัวได้ดีในน้ำ เพราะมีความสามารถในการดูดซับน้ำถึง
40-45 มิลลิลิตรต่อกรัม ทำให้เกิดเป็ นเจล (Gel) หรือเป็ นวุ้นได้โดนไม่
ต้องอาศัยความร้อน ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด

3.23 แสลงใจ
ลักษณะเป็ นไม้ต้น สูง 5–25 ม. กิง่ ก้านกลม เกลีย
้ ง สีเทา
แกมเหลือง บางครัง้ มีหนาม ใบดก หนาทึบ ใบสีเขียวเข้มเป็ นมัน เป็ น
37

ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปรี รูปไข่กว้าง ถึงรูปโล่ กว้าง 3–9 ซม.


ยาว 4–10.5 ซม. ปลายใบมน ถึงเรียวแหลมและมักเป็ นติ่งหนาม โคน
ใบมนกลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเกลีย
้ ง มีเส้นใบหลัก 3–5 เส้นออกจาก
โคนใบ ดอก เล็ก สีเขียวอ่อน ถึงขาวนวล ยาว 0.8–1.3 ซม. ออกรวม
กันเป็ นช่อกระจุกแยกแขนง ที่ปลายยอด ผลกลมโต เหมือนลูกมะตูม
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5–4 ซม. เมื่อสุกเป็ นสีส้ม ถึงแดง เปลือก
หนา ผิวมีขนสาก ถึงเกลีย
้ ง มี 1–4 เมล็ด เมล็ดรูปโล่ ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. มีขนคล้ายเส้นไหมคลุมแสลงใจพบใน
บริเวณที่ลุ่มต่ำ ในป่ าเบญจพรรณหรือป่ าเต็งรัง ทางภาคเหนือและภาค
ตะวันออก ในต่างประเทศพบที่อินเดีย ศรีลังกา ลาว กัมพูชา
เวียดนามและมาเลเซีย เมล็ดมีสารสตริกนิน ใช้ในปริมาณต่ำเป็ นยา
บำรุงธาตุ กระตุ้นระบบการหายใจ
และการไหลเวียนของโลหิต ใน
ตำรับสมุนไพรไทยเรียกว่า โกฐกะ
กลิง้ ถ้าใช้มากจะเป็ นพิษอย่าง
รุนแรงถึงตายได้ โดยจะทำให้เกิด
อาการชักกระตุก เนื่องจากระบบ
ประสาทส่วนกลางถูกทำลาย เป็ น
พรรณไม้กลางแจ้ง ที่เจริญงอกงามได้ดีในดินที่ร่วนซุยจะมีความชื้นอยู่
ด้วย ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและตอน

3.24 สักทอง
ไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรงเปลือก
เรียบหรือแตกเป็ นร่องเล็กๆ สีเทา โคนเป็ นพูพอนต่ำๆ เรือนยอด
เป็ นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา เรียบ หรือแตกเป็ นร่องตื้น
38

ตามความยาวลำต้น ขึน
้ เป็ นหมู่ในป่ าเบญจพรรณทางภาคเหนือ บาง
ส่วนในภาคกลางและภาคตะวันตก มีอยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ สักมักจะได้รับความเข้าใจผิดเสมอว่าเป็ นไม้เนื้อแข็ง เนื่องจาก
ว่ามันมีลักษณะพิเศษที่เป็ นไม้เนื้ออ่อนที่มีความทนทานกว่าไม้เนื้อแข็ง
หลายๆชนิด ลำต้นเป็ นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็ นร่องเล็กๆ สี
เทา โคนเป็ นพูพอนต่ำๆ เปลือกหนาประมาณ 0.3-1.7 เซนติเมตร เนื้อ
ไม้มีสีเหลืองทองถึงน้ำตาลแก่ เสีย
้ นตรง เนื้อหยาบ เป็ นใบเดี่ยวใหญ่
มาก ออกตรงข้ามกันเป็ นคู่ ปลายใบแหลมโคนมน ยาว 25-30
เซนติเมตร กว้างเกือบเท่ายาว ใบของต้นอ่อนจะใหญ่กว่านีม
้ าก ผิวใบ
มีขนสากคายสีเขียวเข้ม ขยีใ้ บสดจะมีสแ
ี ดงเหมือนเลือด ดอกมีขนาด
เล็ก สีขาวนวลออกเป็ นช่อตามปลายกิ่ง ออกดอกและเป็ นผลในช่วง
เดือนมิถุนายน - ตุลาคม ผลแห้งค่อนข้างกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 2 เซนติเมตร เปลือกแข็ง ภายในมี 1 - 3 เมล็ด การขยาย
พันธุ์ไม้สักอาจกระทำได้ทงั ้ วิธีการเพาะเมล็ด โดยวิธีใช้เมล็ด และวิธีไม่
อาศัยเมล็ด การใช้เมล็ดขยายพันธุ์เป็ นวิธีที่ใช้ปฏิบัติโดยทั่วไปในการ
ปลูก สร้างสวนป่ าเพราะเป็ นวิธีที่ง่ายและเหมาะสมสำหรับผลิตกล้า
หรือเหง้าสักจำนวนมากๆ สิง่ ที่ควรคำนึงก็คือ เมล็ดที่ใช้ควรเก็บมาจาก
แม่พันธุ์หรือแหล่งพันธุ์ที่มีลักษณะดี หรือได้รับการปรับปรุงพันธุ์มา
แล้ว เช่น แหล่งเก็บเมล็ดพันธุ์หรือสวนผลิตเมล็ดพันธุ์ เท่านัน

3.25 พะยูง
39

ต้นพะยูง จัดเป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ


ช่วงสัน
้ ๆ มีลักษณะคล้ายกับต้นประดู่ โดยมีความสูงของต้นได้ถงึ 25
เมตร เมื่อโตเต็มที่ลำต้นจะมีลักษณะเปลาตรง มีเรือนยอดเป็ นรูปทรง
กลมหรือรูปไข่ทึบ เปลือกต้นเรียบเป็ นสีเทา และล่อนเป็ นแผ่นบาง ๆ
ส่วนเปลือกด้านในเป็ นสีน้ำตาลแกมสีเหลือง เนื้อไม้เป็ นสีแดงอมม่วง
ถึงแดงเลือดหมูแก่ เนื้อละเอียด มีความแข็งแรงทนทาน มีแก่นหอม
ร้อนและมีรสขมฝาดเล็กน้อย การขยายพันธุ์ที่นิยมทำกันก็คือ การนำ
เมล็ดมาเพาะให้เป็ นต้นกล้า ซึ่งเป็ นวิธีที่สะดวกและนิยมกันมาก
สำหรับวิธีการขยายพันธุ์โดยวิธีอ่ น
ื ๆ ก็สามารถทำได้โดยการนำเหง้า
มาปั กชำ สามารถขึน
้ ได้ในดินทุกชนิด ทนแล้งได้ดี ต้นพะยูงเป็ นพันธุ์ไม้
ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศเมียนมา
ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ใน
ประเทศไทยพบขึน
้ กระจัดกระจาย
ทั่วไปตามป่ าเบญจพรรณชื้น ป่ าดิบ
แล้ง ป่ าราบ ป่ าโปร่งและขึน

ประปรายทั่วไปทางภาคตะวันออก
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใน ภาพที่ 26 พะยูง
พื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-300 เมตร ใบประกอบออก
เป็ นช่อแบบขนนกปลายคี่ ช่อติดเรียงสลับกัน ยาวประมาณ 10-15
เซนติเมตร ใบและช่อจะใบย่อยมีลักษณะเป็ นรูปรีแกมรูปไข่ ติดเรียง
สลับประมาณ 7-9 ใบ ปลายสุดของช่อใบเป็ นใบเดี่ยว ลักษณะของใบ
เป็ นรูปไข่แกมรูปขอบขนาน รูปไข่ หรือรูปใบหอก ปลายใบแหลมยื่น
เล็กน้อย โคนใบมนกว้าง แล้วค่อย ๆ เรียวสอบแหลมไปทางปลายใบ
ส่วนขอบใบเรียบเป็ นคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-4
เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-7 เซนติเมตร ใบมีลักษณะเหนียว
40

คล้ายกับแผ่นหนังบาง ๆ หลังใบเป็ นมันสีเขียวเข้มกว่าด้านท้องใบ โดย


ท้องใบเป็ นสีเขียวนวล ใบเกลีย
้ งไม่มีขนทัง้ สองด้าน เส้นแขนงใบมี
ประมาณ 6-8 คู่ ก้านใบย่อยยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร ส่วนแกน
กลางใบประกอบยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร ดอกออกรวมกันเป็ น
ช่อแยกแขนง ตามปลายกิ่งหรือตามง่ามใบใกล้กับปลายยอด ช่อดอก
ตัง้ ขึน
้ ยาวประมาณ 10-20 เซนติเมตร ดอกมีขนาดเล็ก ลักษณะของ
กลีบดอกเป็ นรูปดอกถั่วสีขาวนวล มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ดอกเมื่อบานเต็ม
ที่จะมีขนาดกว้างประมาณ 5-8 มิลลิเมตร กลีบดอกมี 5 กลีบ ส่วน
กลีบฐานดอกเชื่อมติดกันเป็ นรูปถ้วยตื้น ๆ หรือเป็ นรูประฆัง ขอบหยัก
เป็ นแฉกตื้น ๆ 5 แฉก มีขนสัน
้ กลีบคลุมมีลักษณะคล้ายรูปโล่ กลีบปี ก
สองกลีบมีลักษณะเป็ นรูปขอบขนาน ส่วนกลีบกระโดงเชื่อมติดกัน มี
ลักษณะคล้ายรูปพระจันทร์ครึ่งเสีย
้ วหรือรูปเรือ ดอกมีเกสรเพศผู้ 10
อัน อันบนอยู่เป็ นอิสระ นอกนัน
้ จะอยู่ติดกันเป็ นกลุ่ม ๆ ส่วนรังไข่มี
ลักษณะเป็ นรูปรี ภายในมีช่องเดียว แต่มีไข่อ่อนอยู่หลายหน่วย หลอด
ท่อรังไข่มีหลอดเดียว ยาวยื่นพ้นเกสรเพศผู้ขน
ึ ้ มา โดยต้นพะยูงจะ
ออกดอกในช่วงประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม ออกผล
เป็ นฝั ก ลักษณะของฝั กเป็ นรูปขอบขนาน แบนและบอบบาง มีขนาด
กว้างประมาณ 1.2 เซนติเมตร และยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร ผิว
ฝั กเกลีย
้ ง ตรงกลางมีกระเปาะหุ้มเมล็ด บริเวณที่หุ้มเมล็ดจะมองเห็น
เส้นแขนงไม่ชัดเจน ฝั กจะแก่ประมาณ 2 เดือนหลังการออกดอก ซึ่งจะ
อยู่ในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน เมื่อฝั กแก่แล้วจะ
ไม่แตกออกเหมือนฝั กมะค่าโม่งหรือฝั กไม้แดง แต่ฝักจะร่วงหล่นโดยที่
เมล็ดยังอยู่ในฝั ก การขยายพันธุ์ไม้พะยูงที่มีการปฏิบัติกันคือ การนำ
เมล็ดมาเพาะให้เป็ นต้นกล้า ซึ่งวิธีนเี ้ ป็ นวิธีที่สะดวกและนิยมใช้กันมาก
41

สำหรับวิธีการขยายพันธุ์โดยวิธีอ่ น
ื ๆ ที่สามารถทำได้คือการนำเหง้ามา
ปั กชำ
3.26 ชิงชัน
ชิงชัน เป็ นชื่อของไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่
ประเภทไม้ผลัดใบที่อยู่ในวงศ์ Leguminosae ชนิดหนึ่ง (อยู่ในวงศ์
เดียวกับประดู่) ต้นไม้ชนิดนีข
้ ยายพันธุ์โดยเมล็ดและก็สามารถแพร่
กระจายพันธุ์ตามป่ าดิบแล้งตลอดจนถึงป่ าเบญจพรรณทั่วไปยกเว้น
เฉพาะทางภาคใต้เท่านัน
้ ที่ไม่สามารถแพร่กระจายพันธุ์ได้เป็ นไม้กลาง

แจ้งที่สามารถขึน
้ ได้ดีในดินทุกประเภทและต้องการน้ำเพียงปานกลาง
ลักษณะของต้นไม้โดยรวม เปลือกจะมีความหนาซึ่งเป็ นสีน้ำตาลอม

ภาพที่ 27 ชิงชัน
เทาสามารถล่อนออกเป็ นแว่นๆได้และมีเนื้อภายในเป็ นสีเหลือง ใบนัน

จะเป็ นใบประกอบแบบขนนก ดอกมีขนาดเล็กที่รวมกันเป็ นช่อ ฝั กเป็ น
รูปหอกแต่แบนส่วนหัวท้ายของฝั กนัน
้ จะแหลม ส่วนระบบรากนัน
้ จะมี
ความลึกมาก เนื่องจากไม้ชิงชันนัน
้ มีลก
ั ษณะที่แข็งและเหนียวรวมถึงมี
ลักษณะที่ดูสวยงามมากดังนัน
้ จึงนิยมนำมาทำเป็ น เครื่องเรือน เครื่อง
ดนตรีต่าง ๆ เป็ นต้น นอกจากประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมพื้นบ้าน
แล้วต้นไม้ชิงชันยังให้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรอีกด้วย ชิงชันเป็ น
42

พันธุ์ไม้ที่มีระบบรากลึกและสามารถทนต่อความแห้งแล้งได้เป็ นอย่างดี
อย่างไรก็ดีในระยะแรกของการพัฒนาไม้ชนิดนี ้ กลับต้องการดูแลพอ
สมควร

การขยายพันธุ์ไม้ชิงชันสามารถทำได้ทงั ้ โดยอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
การขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ การขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ เช่น
การต่อกิ่ง, การตอน ไม้ชนิดนีย
้ ังมีการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติได้ดี โดย
จำเป็ นต้อง มีการเตรียมพื้นที่ช่วย เป็ นต้นว่า ใช้วิธีจุดไฟเผา วัชพืช
ตลอดจน ไม้พ้น
ื ล่าง คุณสมบัติที่ดีอีกอย่างของไม้ชิงชันคือเป็ นไม้ที่
สามารถแตกหน่อได้ด้วย การเก็บเมล็ดจะเริ่มได้ในราวเดือน
พฤษภาคม-สิงหาคม ฝั กที่เริ่มแห้งและมีเมล็ดสีน้ำตาลหลังจากเก็บฝั ก
มาแล้ว ควรทำการเก็บเมล็ดโดยการผึ่งแดดให้แห้ง และสีเอาส่วนของ
ปี กออก หรือโดยการตัดเอาเฉพาะส่วนของเมล็ดไว้เท่านัน
้ การปลูกไม้
ชิงชันไม่ควรเป็ นไม้ชนิดเดียวทัง้ แปลง ควรปลูกร่วมกับไม้โตเร็วอื่นๆ
เนื่องจากเป็ นไม้โตช้ามาก ไม่สามารถที่จะ เก็บเกี่ยวผลผลิตได้
ภายในระยะเวลาอันสัน
้ และขณะเดียวกันก็ยังต้องการร่มเงา ในระยะ
แรก พบว่าไม้ชนิดนี ้ จะมีลักษณะคดงอและแตกกิ่งก้านมากหากปลูก
กลางแจ้ง แต่จะเจริญเติบโตได้ดีมาก หากมีการบังแสง จากทางด้าน
ข้าง และมีการได้รับแสงบ้างเฉพาะจากทางด้านบน ก่อนการย้ายปลูก
จำเป็ นต้องมีการทำให้กล้าไม้แกร่ง โดยการลดปริมาณการให้น้ำ ลง
อย่างน้อย 2 อาทิตย์ก่อนปลูก เช่น การรดน้ำแบบวันเว้นวัน เป็ นต้น
ในวันที่จะนำปลูกให้ทำการรดน้ำให้ชุ่ม

3.27 จันทน์ผา
43

จัดเป็ นไม้พุ่มขนาดกลาง หรือเป็ นไม้ต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัด


ใบ มีความสูงของต้นประมาณ 1.5-4 เมตร (ต้นโตเต็มที่อาจมีความสูง
ถึง 17 เมตร) เรือนยอดเป็ นรูปทรงไข่ มีเรือนยอดได้ถึง 100 ยอด เมื่อ
ต้นโตขึน
้ จะแผ่กว้าง ลำต้นตัง้ ตรง กลม มีแผลใบเป็ นร่องขวางคล้ายข้อ
ถี่ ๆ เปลือกต้นเป็ นสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลอมสีเทา แตกเป็ นร่องตาม
ยาว ไม่มีกิ่งก้าน ใบจะออกตามลำต้น ส่วนแก่นไม้ด้านในเป็ นสีแดง ต้น
เมื่อมีอายุมากขึน
้ แก่นจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็ นสีแดง เราจะเรียกแก่นสี
แดงว่า "จันทน์แดง" เมื่อแก่นเป็ นสีแดงเต็มต้น ต้นก็จะค่อย ๆ โทรม
และตายลง พรรณไม้ชนิดนีม
้ ีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศไทย ขยายพันธุ์
ด้วยวิธีเพาะกล้าจากเมล็ดหรือการแยกกอ ชอบดินปนทรายหรือหินที่มี
การระบายน้ำดี ความชื้นปานกลาง และชอบแสงแดดเต็มวันและแสง
รำไร มักพบขึน
้ ตามป่ าภูเขาหินปูนสูง ๆ และมีแสงแดดจัด ใบเป็ นใบ
เดี่ยวออกเรียงสลับกันถี่ ๆ ที่ปลายกิ่ง ลักษณะของใบเป็ นรูปยาวรีขอบ
ขนาน หรือเป็ นรูปแถบยาวแคบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบแผ่เป็ น
กาบหุ้มลำต้น ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 4-5
เซนติเมตรและยาวประมาณ 45-80 เซนติเมตร เนื้อใบหนากรอบ โคน
ใบจะติดกับลำต้นหรือโอบคลุมลำต้น ไม่มีก้านใบ และมักจะทิง้ ใบ
เหลือเพียงยอดเป็ นพุ่ม ออกดอกเป็ นช่อขนาดใหญ่ที่ปลายยอด โค้ง
ห้อยลง ออกดอกเป็ นพวงใหญ่ตามซอกใบและปลายยอด แต่ละช่อจะ
มีความยาวประมาณ 45-100 เซนติเมตร มีดอกย่อยขนาดเล็กและมี
จำนวนมากมายหลายพันดอก ดอกเป็ นสีขาวนวล หรือขาวครีม หรือ
เขียวอมเหลือง ดอกมีกลิ่นหอม ตรงกลางดอกมีจุดสีแดงสด กลีบดอก
มี 6 กลีบ ดอกมีขนาดประมาณ 0.7-1 เซนติเมตร มีเกสรตัวผู้จำนวน
6 ก้าน ก้านเกสรมีความกว้างเท่ากับอับเรณู ส่วนก้านเกสรตัวเมีย
ปลายแยกเป็ นพู 3 พู ชัน
้ กลีบเลีย
้ งเป็ นหลอด ที่ปลายกลีบแยกเป็ นพู
44

แคบ ๆ 6 พู ไม่ซ้อนกัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือน


สิงหาคม ออกผลเป็ นช่อพวงโต ผลเป็ นผลสด ลักษณะของผลเป็ นรูป
ทรงกลมขนาดเล็กอยู่รวมกันเป็ นพวง ผลมีขนาดประมาณ 1
เซนติเมตร ผิวผลเรียบ ผลอ่อนเป็ นสีเขียวอมสีน้ำตาล ส่วนผลแก่เป็ นสี
แดงคล้ำ ภายในผลมีเมล็ดเดียว โดยผลจะแก่ในช่วงเดือนสิงหาคมถึง
เดือนกันยายน

ภาพที่ 28 จันทน์ผา

การขยายพันธุ์ ทางสวนจะใช้อยู่ 2 วิธีที่ได้ผลในการทำราก เพราะการ


ได้รากที่แข็งแรงทำให้ไม้หน่อมีความสมบูรณ์เร็ว ใช้ระยะในการพักฟื้ น
ไม้น้อย การคัดเลือกหน่อที่พร้อมจะทำรากควรเป็ นหน่อที่ใบเบ่ง คอ
อวบกระชับ หรือถ้าได้เนื้อไม้สัก 1-2 นิว้ ได้ยิ่งดี
3.28 ชมพูพาน
เป็ นไม้ต้น สูงไม่เกิน 5 เมตร เป็ นพืชอิงอาศัยกิ่งก้านเปราะ
เปลือกเรียบและมีรูถ่ายเทอากาศกระจายทั่วไป ใบเป็ นชนิดใบเดี่ยว
ออกตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย รูปมนแกมรูปไข่ กว้าง 6-15
เซนติเมตร ยาว 15-30 เซนติเมตร เนื้อใบหนา เปราะ หลังใบเกลีย
้ ง
45

ส่วนท้องใบมีขนประปรายในช่วงระยะ ที่เป็ นใบอ่อน เส้นแขนงใบมี 4-


6 คู่ ขอบใบเรียบ หรือเป็ นคลื่นบ้างเล็กน้อย ก้านใบบวมพอง ยาว 2-4
เซนติเมตร ช่อดอกยาว 10-15 ซม. ออกตามง่ามใบหรือเหนือรอยแผล
ใบ ปลายช่อชีช
้ ันขึน
้ ดอกสีชมพูแกมขาว ออกรวมกันเป็ นกลุ่มแน่นบน
ช่อกลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็ นกรวย ปลายกลีบ หยักมนตื้น ๆ
พอมองเห็นได้เป็ น 5 ลอน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็ นหลอดโค้งเล็ก
น้อย โคนหลอดเรียวแต่จะผายกว้างออกไปทางปลายแล้วแยกเป็ นกลีบ
5 กลีบ สองกลีบบนจะชีต
้ รงขึน
้ ส่วนที่เหลืออีกสามกลีบจะแผ่ในแนว
ระดับหรือลู่ลงเล็กน้อย เกสรผู้ 4 อัน แยกเป็ นสองคู่ ยาวหนึ่งคูแ
่ ละสัน

หนึง่ คู่ ติดอยู่ใกล้ปากหลอด กลีบดอกด้านใน และยาวยื่นพ้นปาก
หลอดออกมาพอควร ผล กลมยาว ผิวค่อนข้างหนา ชมพูพาน มีพบที่
ชายป่ าดงดิบเขาต่อกับทุ่งหญ้า บนภูกระดึง ที่สงู จากระดับนํา้ ทะเล
ประมาณ 1,000 เมตร ขึน
้ อยู่เป็ นกลุ่มเพียง 2-3 ต้นเท่านัน
้ กล้าไม้
หรือต้นอ่อนไม่ปรากฏ จึงสมควรที่จะได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็ นพิเศษ
และตามเอกสารพันธุ์ไม้นพ
ี ้ อมีปรากฏบริเวณเทือกเขาหิมาลัยตอน
กลางและตอนใต้ สู่แคว้นสิขิมและประเทศเนปาล และแพร่ไปถึงชวา
ปกติชมพูพานจะออกดอกระหว่างเดือนธันวาคมต่อถึงมกราคม ในปี
ถัดไป
46

ภาพที่ 29 ชมพูพาน

การขยายพันธุ์ชมพูพาน ขยายพันธุ์ด้วยการตอน การปั กชำลำต้น การ


ปั กชำยอด การปั กชำเหง้า และการแยกลำต้น เจริญเติบโตได้ดีในดิน
เกือบทุกประเภท ชอบดินร่วนซุย ความชื้นปานกลาง และแสงแดด
ปานกลางถึงรำไร มักขึน
้ ใกล้แหล่งน้ำ ที่มีความชุ่มชื้น หรือใต้ต้นไม้
ใหญ่ที่มีแสงแดดรำไร

3.29 ขมิน
้ ต้น
เป็ นไม้ต้นขนาดเล็กสูง 5-8 เมตร ลำต้นมักคดงอและเป็ น
ปุ ่มปม กิ่งเรือนยอดมักแผ่ออกเป็ นรูปร่ม ตามกิง่ อ่อนจะมีรอยแผลใบ
โต ๆ ทั่วไป เปลือกลำต้นค่อนข้างขรุขระ เนื้อไม้สเี หลืองเหมือนขมิน

จึงใช้สีสำหรับย้อมผ้าได้เป็ นอย่างดี ใบเป็ นช่อยาวถึง 40 เซนติเมตร
47

ติดเรียงเวียนสลับตามปลาย ๆ กิง่ โคนก้านช่ออวบใหญ่แผ่เป็ นกาบ


โอบหุ้มกิง่ และมีหูใบแหลม ๆ ที่โคนก้านหนึ่งคู่ ช่อหนึ่ง ๆ มีใบย่อยติด
ตรงข้ามกันเป็ นคู่ ๆ 7-8 คู่ ส่วนใบย่อยที่ปลายสุดของช่อ เป็ นใบเดี่ยว
ๆ ใบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน โคนใบเบีย
้ ว เนื้อใบค่อนข้างหนา เกลีย
้ ง
ขอบใบหยักห่าง ๆ ปลายหยักเป็ นหนามแหลม ๆ เส้นใบออกจากจุด
โคนใบ 3-5 เส้น ดอกสีเหลือง ออกรวมกันเป็ นช่อ โต ๆ ที่ปลายกิ่ง ๆ
ละหลายช่อและปลายช่อแต่ละช่อจะงอนโค้งชีข
้ น
ึ ้ ช่อหนึ่ง ๆ ยาว 15-
25 เซนติเมตร ทัง้ กลีบดอกและกลีบรองกลีบดอกมีรูปร่างและสี คล้าย
กันมาก รวม 15 กลีบ แต่ละกลีบสัน
้ ยาวไม่เท่ากัน เรียงซ้อนกันเป็ นชัน

ๆ ละ 3 กลีบ โคนกลีบของชัน
้ ที่ 4 และที่ 5 มีต่อมนํา้ หวานกลีบละ 2
ต่อม และมีเกสรผูแ
้ ซมอยู่ระหว่างกลางของต่อมนํา้ หวาน กลีบละหนึ่ง
อัน รวมเป็ นเกสร 6 อัน รังไข่รูปกลมรี ๆ มีหลอดท่อเกสรเมียอันเดียว
สัน
้ ๆ ผลกลม โตวัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 5 มม. ที่ปลายผลยังคงมี
ก้านหลอดเกสรเมียติดอยู่ ขมิน
้ ต้น เป็ นพันธุ์ไม้ภูเขาที่อยู่สูงจากระดับ
นํา้ ทะเลไม่น้อยกว่า 1,200 เมตร พบครัง้ แรกในประเทศไทย ที่ดอยสุ
เทพ-ปุย นักพฤกษศาสตร์ จึงตัง้ ชื่อให้เป็ นเกียรติแก่ประเทศ และเท่าที่
ปรากฏยังไม่พบตามแหล่งอื่น ๆ อีกเลย อีกทัง้ กล้าไม้แทบจะไม่ปรากฏ
จึงสมควรที่จะได้รับการเอาใจใส่เป็ นพิเศษ ปกติขมิน
้ ต้นจะออกดอก
เป็ นผลระหว่างเดือนตุลาคม ต่อถึงเดือนกุมภาพันธ์ของปี กัดไป เวลา
ออกดอกจะสวยงามมาก ทางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ส่งกล้าไม้
ขมิน
้ ต้นนีไ้ ปปลูกที่สวนนานาชาติ ประเทศเบลเยียม และประเทศตุรกี
เพื่อให้เป็ นตัวแทนพันธุ์ไม้ของไทย ถ้าหากขมิน
้ ต้นจะคงทนต่อสภาพ
แวดล้อมใหม่ ๆ ได้ ก็จะเป็ นการเผยแพร่พันธุ์ไม้ที่มีดอกสวย ๆ ของ
48

ไทยให้ต่างประเทศได้ร้จ
ู ักเป็ นอย่างดี เจริญได้ดีในดินร่วนอุดมสมบูรณ์
สูงชอบอากาศค่อนข้างร้อนและมีความชุ่มชื้นในเวลากลางคืน ช่วงฤดู
การปลูก ควรปลูกในช่วงต้นฤดูฝน ประมาณเดือนเมษายนถึง
พฤษภาคม ขยายพันธุ์โดยใช้เหง้าหัวหรือแง่งนิว้ ที่มีตา 2 - 3 ตา

ภาพที่ 30 ขมิน
้ ต้น

3.30 ต้นสามพันปี
ไม้ต้นสูงถึง 35 เมตร เรือนยอดรูปเห็ดหรือรูปกรวยคว่ำ
ค่อนข้างทึบ กิง่ ลู่ห้อยย้อยลง เปลือกลำต้นเป็ นสะเก็ดสีนาํ้ ตาลปนเทา
เมื่อสะเก็ดหลุดใหม่ ๆ จะทำให้ผิวเปลือกเป็ นรอยด่างแต้มอยู่ทั่วไป ใบ
เป็ นชนิดใบเดี่ยวมีสองแบบ ถ้าเป็ นใบอ่อนหรือตามกิ่งที่ยังไม่มีดอก
ออกผล ใบจะเรียวคล้ายหนามหรือเส้นลวดโค้ง ๆ ยาวประมาณ 1
เซนติเมตร ติดเวียนซ้อนกันตามกิ่งเป็ นพวงคล้ายหางกระรอก ถ้าใบที่
อยู่ตามกิ่งที่มีดอกออกผล ใบจะเปลี่ยนรูปเป็ นเกล็ดรูปสามเหลี่ยมกอด
แนบไปตามกิง่ ดอก ดอกเพศผู้และเมียอยู่ต่างช่อหรือต่างต้นกัน ดอก
เพศผู้จะออกรวมกันเป็ นช่อที่ปลายกิ่งเป็ นรูปกระบองเล็ก ๆ ยาวไม่
49

เกินหนึ่งเซนติเมตร ดอกเพศเมีย เป็ นดอกเดี่ยว ๆ ออกตามปลายกิ่ง


ย่อยเช่นกัน โคนดอกจะมีกาบเล็ก ๆ ประสานหุ้มอยู่ ผลรูปไข่เล็ก ผิว
เกลีย
้ งสีน้ำตาล ติดอยู่บนฐานผลสีแดงเข้มที่ค่อนข้างบวมพองรองรับ
อยู่ สามพันปี เป็ นพันธุ์ไม้ภูเขาที่อยู่สูงจากระดับนํา้ ทะเล ตัง้ แต่ 1,000
เมตรขึน
้ ไป เท่าที่พบมีบนภูกระดึง และภูหลวง จังหวัดเลย ภูเมี่ยง
จังหวัด พิษณุโลก ป่ านํา้ หนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ เขาเขียว จังหวัด
นครนายก และเขากวบ จังหวัดตราด แต่มีแห่งละไม่มากนัก เพราะ
เมล็ดไม่ค่อยสมบูรณ์ งอกยากมาก อีกทัง้ ในช่วงเป็ นกล้าไม้ชอบแสง
ถ้าถูกพืชอื่นบังอยู่ก็จะตายไปหมด จึงจำเป็ นที่จะต้องเข้าไปช่วยเหลือ
ในการสืบพันธุ์ และขยายพันธุ์ตามธรรมชาติด้วย ปกติสามพันปี จะ
ออกดอกเป็ นผลระหว่างเดือน ธันวาคมต่อถึงเดือนกุมภาพันธ์ของปี ถัด
ไป สามพันปี เป็ นพันธุ์ไม้ภูเขาที่อยู่สูงจากระดับนํา้ ทะเล ตัง้ แต่ 1,000
เมตรขึน
้ ไป เท่าที่พบมีบนภูกระดึงและภูหลวง จังหวัดเลย ภูเมี่ยง
จังหวัด พิษณุโลก ป่ านํา้ หนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ เขาเขียว จังหวัด
นครนายก และเขากวบ จังหวัดตราด แต่มีแห่งละไม่มากนัก

ภาพที่ 31 ต้นสามพันปี
50

วิธีการขยายพันธุ์ การเพราะเมล็ดนัน
้ ทำให้ลำต้นไม่ค่อยสมบูรณ์ งอก
ยากมาก อีกทัง้ เป็ นกล้าไม้ชอบแสง ถ้าถูกพืชอื่นบังอยู่ก็จะตายไปหมด
จึงจำเป็ นที่จะต้องเข้าไปช่วยเหลือในการสืบพันธุ์ และขยายพันธุ์ตาม
ธรรมชาติด้วย ปกติสามพันปี จะออกดอกเป็ นผลระหว่างเดือน
ธันวาคมต่อถึงเดือนกุมภาพันธ์ของปี ถัดไป

บทที่ 4
ประโยชน์ของพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย
พันธุ์ไม้ที่หายากและใกล้สูญพันธุ์นน
ั ้ ล้วนแล้วแต่เป็ นพันธุ์ไม้ที่
มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ใน ด้านต่างๆ ได้ โดยในบทที่ 4 นี ้
คณะผู้จัดทำได้ยกตัวอย่างประโยชน์ของพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทยมาทัง้ หมด 4 ด้านดังนี ้

4.1 ด้านสรรพคุณทางยา
4.1.1 กระดังงา
51

(1) ตำรายาไทย ใช้ใบและเนื้อไม้ต้มกินเป็ นยาขับ


ปั สสาวะ ผลแก่ใช้ผลสี เหลืองอมเขียวเกือบดำ นำ
มาบดใช้เป็ นยา
(2) กระดังงาที่สกัดด้วยเอทานอลมีประสิทธิภาพดีใน
การยับยัง้ การเจริญ ของ Staphylococcus
epidermidis
4.1.2 กันเกรา
(1) แก่นมีรสฝาดใช้เข้ายาบำรุงธาตุ แน่นหน้าอก
(2) เปลือกใช้บำรุงโลหิต ผิวหนังพุพอง
4.1.3 มณฑา
(1) ดอก ใช้ดมช่วยให้ผ่อนคลาย สกัดน้ำมันหอม
ระเหย แก้อาการปวด เมื่อยและเคล็ดขัดยอก
ร่างกาย ช่วยกระตุ้นระบบประสาทและการไหลเวียน
เลือด บรรเทาอาการฟกช้ำ
4.1.4 มะขวิด
(1) มะขวิด บำรุงกำลัง ทำให้สดชื่น เจริญอาหาร แก้
อาการท้องเสียและ รักษาโรคทางเดินอาหาร โรค
ลักปิ ดลักเปิ ด แก้ฝีเปื่ อยบวม ตกโลหิตและแก้พยาธิ
(2) ใบและดอก แก้ท้องร่วง แก้บวมและฟกช้ำ ตกโลหิต
ขับลม
เป็ นยาฝาดสมาน
(3) ยาง แก้ทองเสีย สมานแผลและเจริญไฟธาตุ
52

(4) เปลือก แก้ฝีเปื่ อย แก้บวม แก้อาการลงท้อง ตก


โลหิด และแก้พยาธิ
4.1.5 จันทน์หอม
(1) น้ำมันที่กลั่นจากเนื้อไม้ใช้เข้ายาบำรุงหัวใจ เนื้อ
ไม้ใช้เป็ นยาแก้ไข้ แก้โลหิตเสียแก้กระหายน้ำและ
อ่อนเพลีย
4.1.6 มะดูก
(1) รากใช้แก้พิษฝี หรือผสมกับสมุนไพรอื่นเพื่อทำ
เป็ นยาบำรุงกระดูก ดับพิษ

4.1.7 รวงผึง้
(1) กลิ่นหอมของดอกรวงผึง้ ช่วยกระตุ้นระบบ
ประสาท ทำให้ผ่อนคลาย และหลับง่ายขึน

4.1.8 ทานาคา
(1) แก้ปวดท้องบริเวณลำไส้ใหญ่ ใช้เป็ นยาถ่าย ช่วย
ขับเหงื่อ แก้สิวฝ้ า เป็ นยาบำรุงกำลัง แก้ไข้ แก้พิษ
แก้อาหารไม่ย่อย แก้ท้องอืดเฟ้ อ เป็ นยาสมานแผล ช่วย
เจริญอาหาร ช่วยดับพิษร้อน แก้กษัย ช่วยบำรุงเลือดและแก้กระษัย
4.1.9 ลูกปื นใหญ่
(1) เป็ นยาสมานแผล ยาห้ามเลือด แก้โรคผิวหนัง
ตุ่มพุพอง โรคซิฟิลิสโกโนเรีย วัณโรค โรคท้องร่วง
บิด โรคหูอักเสบ แก้ท้องเสีย ท้องร่วง
53

4.1.10 มะเม่า
(1) เป็ นยาระบาย ช่วยบำรุงสายตา ใบอังไฟแล้ว
ประคบ แก้อาการ ฟกช้ำ และมีสารอาหารจำนวน
มาก เช่น วิตามินซี วิตามินอี สารต้านอนุมูลอิสร
4.1.11 องุ่นทะเล
(1) เปลือก เป็ นประโยชน์สำหรับโรคคอและแก้
อาการเจ็บคอ
(2) ใบ มีคณ
ุ สมบัติเป็ นยาควบคุมระดับน้ำตาลใน
เลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวานและรักษาโรคนิ่วในไตผล
ช่วยในการลดปริมาณกลูโคสทัง้ หมดที่มีอยู่ใน
ร่างกาย ช่วยในการลดปริมาณคอเลสเตอรอลใน
ร่างกายช่วยในการถ่วงดุลความดันโลหิต
4.1.12 อบเชย
(1) รากและใบ ต้มน้ำดื่มแก้อาการปวดหลังปวดเอว
น้ำต้มให้สตรี กินหลังคลอดบุตรและลดไข้หลังการ
ผ่าตัด
(2) เปลือก มีรสหวานหอม ตากให้แห้งแล้วนำไป
เคีย
้ วกินกับหมาก ต้มน้ำดื่ม เป็ นยาบำรุงธาตุ ช่วย
เจริญอาหาร ใช้เป็ นเครื่องปรุงเทศ
(3) ใบ น้ำยางจากใบใช้ทาแผลถอนพิษของยางน่อง
และตำเป็ นยาพอกแก้ปวด
(4) เมล็ด ทุบให้แตกแล้วผสมกับน้ำผึง้ ให้เด็กกินแก้
บิดและแก้ไอ
54

4.1.13 อโศกอินเดีย
(1) ดอก นำมาทานเพื่อช่วยบำรุงร่างกาย
4.1.14 เทพทาโร
(1) ใบ รสร้อน ใช้ปรุงเป็ นยาหอมแก้ลม จุกเสียด
แน่นเฟ้ อ แก้อาการปวดท้อง ขับผายลมได้ดี ขับลม
ในลำไส้และกระเพาะอาหารให้เรอ เป็ นยา บำรุง
ธาตุขับเสมหะ เป็ นต้น
(2) เปลือก มีรสร้อน มีน้ำมันระเหย 1-25 % และ
แทนนิน แก้ลมจุกเสียด แน่นเฟ้ อ แก้ปวดท้อง ขับ
ลมในลำไส้และกระเพาะอาหาร

4.1.15 กระเบา
(1) ผล ใช้รักษามะเร็ง เมล็ดมีรสเผ็ดร้อนและขม ใช้
เป็ นยาถ่ายพยาธิ
(2) รากและเนื้อไม้: มีรสเบื่อเมา ช่วยฆ่าพยาธิผิวหนัง
ต่างๆ ช่วยรักษาบาดแผล ช่วยแก้พิษบาดแผลสด ใบ
มีรสเบื่อเบา ใช้ฆ่าพยาธิบาดแผลใบใช้แก้กลาก
เกลื้อน ช่วยดับพิษทัง้ ปวง
(3) เมล็ด: ใช้เป็ นยาแก้กลากเกลื้อนได้เช่นกัน อีกทัง้
ยังช่วยแก้หิดได้
(4) ผลและเมล็ด: มีรสเมาเบื่อมัน ใช้แก้โรคผิวหนัง
ต่างๆ ตำรายาไทยใช้น้ำมันที่บีบจากเมล็ดเพื่อรักษา
โรคผิวหนังอื่นๆ หรือจะใช้เมล็ดทาแก้โรคผิวหนัง ผล
55

ช่วยรักษาโรคเรื้อน ใช้แก้อาการปวดบวมตามข้อ ใช้


ปรุงเป็ นยารักษาอีสุกอีใส
(5) น้ำมันที่บีบจากเมล็ด: ใช้ในการรักษาโรคเรื้อน
ช่วยแก้โรคเรื้อนได้

4.1.16 กำยาน
(1) ยางที่ได้จากต้นหรือเปลือก เรียกว่า "กำยาน" มี
์ ่อตับและหัวใจ
รสเผ็ดขม สุขุม มีกลิ่นหอม ออกฤทธิต
ใช้เป็ นยาแก้การหายใจไม่สะดวก แน่นหน้าอก
ช่วยทำให้เลือดลมหมุนเวียนได้สะดวก แก้เป็ นลม
เฉียบพลันใช้ เป็ นยาบำรุงหัวใจ ช่วยขับเสมหะและ
ใช้เป็ นยาแก้หลอดลมอักเสบ เป็ นต้น

4.2 ด้านการนำมาทำเครื่องมือ/เครื่องใช้
4.2.1 กระดังงา
(1) เปลือก ใช้ทำเชือก
4.2.2 สาธร
(2) ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม เช่น การใช้เนื้อไม้
มาแปรรูปทำเป็ น เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
ต่างๆ เช่น เสาเรือน ขื่อ รอด เพลา เกวียน เครื่อง
นอน ครก สาก เป็ นต้น
4.2.3 กร่าง
(1) รากของต้นกร่างเหนียวใช้ทำเชือก เปลือกชัน
้ ใน
ใช้ทำกระดาษ
56

4.2.4 กันเกรา
(1) ลักษณะลำต้นที่สวยงามทัง้ ลวดลายของเปลือก
และเนื้อไม้ เหมาะแก่การนำไปใช้ประโยชน์ทำเครื่อง
เรือนและเครื่องใช้ต่าง ๆ
(2) ใช้ทำโลงศพของชาวจีน (หีบจำปา) และหมอน
รางรถไฟ
4.2.5 มะขวิด
(1) ยางของผลมีความเหนียว ใช้ติดหรือเชื่อมต่อ
สิ่งของได้
(2) เนื้อไม้ของต้นมะขวิดเป็ นเนื้อไม้แข็ง สามารถนำ
มาใช้ในงานช่างได้
4.2.6 จันทน์หอม
(1) เนื้อไม้ กระพีส
้ ีขาว ส่วนแก่น สีน้ำตาลเข้ม เสีย
้ น
ตรง เนื้อละเอียด แข็งเลื่อยไสกบตบแต่งง่ายไม้ที่ตาย
เองจะมีกลิ่นหอม ใช้ทำหีบใส่เสื้อผ้า เครื่องกลึงและ
แกะสลัก ทำหวี เป็ นต้น

4.2.7 ลูกปื นใหญ่


(1) เป็ นไม้เนื้อแข็งที่มีประโยชน์มาก ชาวอินเดียมัก
นำมาสร้างบ้านเรือน ต่อเรือ ทำเกวียน ทำไม้หมอน
รถไฟ ทำสะพาน รวมถึงทำเฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้
ต่างๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี ้ เป็ นต้น
4.2.8 สุพรรณิการ์
57

(1) ยางต้น ใช้ทำยาเซ็ทผม ใช้ทาบำรุงผิว ใช้ใน


อุตสาหกรรมทอผ้าและการพิมพ์ อุตสาหกรรม
อาหารกระป๋อง ผสมไอศกรีมทำให้ข้น
(2) เนื้อไม้ ต้มกับแป้ งเป็ นอาหาร
(3) ใบอ่อน ใช้สระผม
4.2.9 อบเชย
(1) เนื้อใบ ใช้ในการแกะสลัก ทำหีบใส่ของป้ องกัน
แมลง เครื่องเรือน ไม้บผ
ุ นัง ที่สวยงาม นำไปทำธูปได้
4.2.10 กำยาน
(1) ใช้ทำเครื่องสำอางได้อีกด้วย

4.3 ด้านการนำมาทำเครื่องหอมต่างๆ
4.3.1 กระดังงา
(1) ดอก นำไปกลั่นน้ำหอม น้ำมันหอมระเหย ใช้นำ
ไปเป็ นส่วนปนะกอบของยาหอม มีฤทธิแ์ ก้วิงเวียน
โดยจัดอยู่ในส่วนประกอบของ เกสรทัง้ เจ็ด 4.3.1.2
คนโบราณใช้ดอกทอดกับน้ำมันมะพร้าวทำน้ำมันใส่
ผม หรือ นำดอกนำมาลนไฟใช้อบขนมให้มีกลิ่นหอม
4.3.2 มะขวิด
(1) อเปลือก ใช้บดทำแป้ งผัดหน้า อย่างในแป้ งพม่า
4.3.4 จันทน์หอม
(1) ดอก ใช้ทำธูป น้ำมันหอมที่ได้จากการกลั่นชิน
้ ไม้
ใช้ปรุงเครื่องหอมและเครื่องสำอาง
58

(1) ไม้จันทน์หอมที่ยืนต้นตายจะมีกลิ่นหอมมาก ใช้


ทำธูป
4.3.5 รวงผึง้
(1) ตำหรับน้ำปรุง ตำหรับดัง้ เดิมจะใช้น้ำมันหอม
กลิ่นดอกรวงผึง้ ปรุง ลงไปด้วยเพิ่มกลิ่นหอมหวาน
จางๆ
(2) กลิ่นหอมของดอกรวงผึง้ ช่วยกระตุ้นระบบ
ประสาท ทำให้ผ่อนคลาย และ หลับง่ายขึน

4.3.6 สุพรรณิการ์
(1) ทำเป็ นเครื่องดอกไม้หอมจำพวกบุหงา

4.3.6 อบเชย
(1) ใช้ทำเครื่องหอม
(2) นำไปทำธูปได้
4.3.7 เทพทาโร
(1) ในเมล็ด กิ่ง เปลือกต้นและรากเทพทาโร พบ
น้ำมันระเหยประมาณ 2-4% ซึง่ ใช้ทำเครื่องหอม
ต่างๆ ได้
4.3.8 กำยาน
(1) ใช้ปรุงน้ำอบไทย เช่น อบน้ำดอกไม้ น้ำที่อบ
กำยานแล้วโบราณจะนำมาปรุงกับเครื่องหอมอื่นๆ
59

ทำเป็ น น้ำอบไทย เป็ นส่วนประกอบสำคัญของเทียน


อบ ธูปหอม กระแจะ เครื่องหอมอื่นๆ

4.4 ด้านการก่อสร้าง
4.4.1 สาธร
(1) เนื้อไม้และแก่นมีลักษณะสวยงามใช้ในการ
ก่อสร้าง
4.4.2 กันเกรา
(1) ใช้ในการก่อสร้างนิยมใช้ทำเสาเรือน
(2) นำไปใช้ในงานแกะสลักต่าง ๆ เป็ นต้น เพราะ
ลักษณะของลำต้นนัน
้ ลวดลายของเปลือกและเนื้อไม้
มีความสวยงามเป็ นพิเศษ
4.4.3 กำยาน
(1) เนื้อไม้ใช้ในการสร้างบ้านหรือที่พักชั่วคราว และ
ใช้ทำฟื น
60

บทที่ 5
ปั ญหาการถูกรุกรานป่ าไม้
ปั ญหาการถูกรุนรานป่ าไม้เกิดขึน
้ อยู่บ่อยครัง้ ด้วยฝี มือมนุษย์เป็ น
ส่วนใหญ่ ทำให้พืชพรรณไม้นานาชนิดใกล้สูญพันธุ์เพิ่มขึน
้ ทุกที ซึง่ ใน
บทที่ 5 นี ้ คณะผู้จัดทำได้นำปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึน
้ จริง โดยส่งผลต่อ
พันธุ์ไม้หายากในประเทศไทยมา เพื่อสะท้อนพฤติกรรมและผลกระทบ
ที่ตามมา

5.1 ข้อมูลสถานการณ์ป่าไม้
5.1.1 พื้นที่ผืนป่ าในไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง
ล่าสุดเหลือเพียง 102.17 ล้านไร่ โดยภาคเหนือเหลือ
ป่ ามากที่สุด ขณะที่ตัวเลขงบ ประมาณผูพ
้ ิทักษ์ป่า มีแค่ 61 บาทต่อ
625 ไร่ ด้าน สคช. ผุดยุทธศาสตร์ชาติชุบคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ให้ดีขน
ึ ้ หวังไทยเป็ นที่หนึ่งในอาเซียนใน 20 ปี จากการแปลภาพถ่าย
ดาวเทียม พื้นที่ป่าไม้ประเทศไทยปี 2559 โดยกรมป่ าไม้ พบว่า
ปั จจุบันมีพ้น
ื ที่ป่าไม้ ร้อยละ 31.58 ของพื้นที่ประเทศไทย หรือเท่ากับ
102.17 ล้านไร่ คิดเป็ น 163,479.69 ตารางกิโลเมตร ลดลงจาก
61

ปี 2558 ร้อยละ 0.02 หรือประมาณ 65,500 ไร่ และจากสถิตพ


ิ ้น
ื ที่ป่า
ไม้ประเทศไทยจากปี 2557-2559 ที่ผ่านมา พื้นที่ป่าลดลงร้อยละ
0.02 ทุกปี

ภาพที่ 32 พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2504 - 2559

5.1.2 ปั ญหาการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของ
พืช
ส่วนมากเกิดขึน
้ จากการกระทำของมนุษย์ทงั ้ ทางตรง
และทางอ้อมซึ่งสามารถระบุสาเหตุสำคัญๆ ได้ดังนี ้
(1) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและบริโภคเพื่อ
ทำการเกษตรแบบมุ่งเน้นการค้า มีการผลิตสายพันธุ์เดียวโดยละทิง้
สายพันธุ์พ้น
ื เมืองดัง้ เดิม มีการใช้สารเคมีมากขึน
้ ในการเกษตร เช่น ยา
ฆ่าแมลงและยาปราบศัตรูพืช เกิดสารพิษตกค้างในดินและแหล่งน้ำ
กระทบต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดิน และสัตว์น้ำ รวมถึงกระทบต่อ
สภาพดัง้ เดิมของพื้นที่การเจริญของพืช
62

(2) การเติบโตของประชากรและการกระจายตัวของ
ประชากร ทำให้เกิดการรุกล้ำเข้าไปในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทาง
ชีวภาพสูง ซึง่ กระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศ

(3) การทำลายถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์
นานาพันธุ์เช่น การทำลายป่ า การล่าสัตว์ การอพยพหนีภัยธรรมชาติ
ของสัตว์ ทำให้เกิดการขาดสมดุลทางธรรมชาติ

(4) จากการตักตวงผลประโยชน์จากชนิดพันธุ์ของพืช
และสัตว์ป่าเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า โดยการค้าขายสัตว์และพืชป่ า
แบบผิดกฎหมาย

(5) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
ชีวภาพ(biotechnology)ด้านการตัดต่อพันธุกรรมหรือ จีเอ็มโอ
(GMO; Genetically Modified Organisms) หรือพันธุวิศวกรรม
(genetic engineering) อาจทำให้เกิดการรุกรานที่รุนแรงขึน
้ และมี
โอกาสในการเปลี่ยนแปลงของประชากรพืช เป็ นต้น

5.1.3 ป่ าไม้เมืองไทย วิกฤติร้ายแรง ต้องจัดสรรงบฯแก้ไข


ภาพรวมของ “พื้นที่ป่าไม้” ของประเทศไทย ซึ่ง
สำนักจัดการที่ดินป่ าไม้ กรมป่ าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ได้เผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ มีการสำรวจ “พื้นที่ป่าไม้”
เริ่มตัง้ แต่ปี 2516 เป็ นต้นมาจนถึงปี 2559 รวมมีการสำรวจ 20 ครัง้
เพื่อให้สาธารณชนได้ทราบข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ใน
ประเทศไทยอย่างถูกต้องและชัดเจน ตลอดห้วงระยะเวลา 43 ปี ที่ผ่าน
มา จึงได้นำข้อมูลการเปลี่ยนแปลง “พื้นที่ป่าไม้” ที่มีการสำรวจใน
63

แต่ละครัง้ มาเป็ นข้อสังเกตและข้อพิจารณาถึงนัยสำคัญในการลดลง


ของพื้นที่ป่าไม้หรือการเพิ่มขึน
้ ของพื้นที่ป่าไม้ในแต่ละช่วงของปี ที่มีการ
สำรวจ ดังนี ้
คิดเป็ นร้อยละ/ของ
ปี พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ - ลดลง พื้นที่ ทัง้
ประเทศไทย
2516 มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ 138.56 ล้านไร่ 43.21
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 124.01
2519 38.67
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 109.51
2521 34.15
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 97.87
2525 30.52
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 94.29
2528 29.40
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 89.87
2531 28.03
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 89.63
2532 27.95
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 85.43
2534 26.64
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 83.47
2536 26.03
ล้านไร่
2538 มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 82.17 25.62
64

ล้านไร่

ตารางที่ 1 การขึน
้ -ลดของพื้นที่ป่าไม้ ระหว่างปี 2516 - 2536

มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 82.08
2541 25.28
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ เป็ น 106.31
2543 33.15
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 104.74
2547 32.66
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 100.62
2548 31.38
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 99.15
2549 30.92
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ เป็ น 107.24
2551 33.44
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 102.11
2556 31.57
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ เป็ น 102.28
2557 31.62
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 102.24
2558 31.60
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 102.17
2559 31.58
ล้านไร่

ตารางที่ 2 การขึน
้ -ลดของพื้นที่ป่าไม้ ระหว่างปี 2538 – 2559
65

สภาพการณ์ป่าไม้ของประเทศไทยกำลังตกอยู่ภายใต้ “ภาวะวิกฤติ
อย่างร้ายแรง” เพราะพื้นที่ป่าไม้อนุรักษ์ซึ่งเป็ นต้นน้ำลำธารและป่ าไม้
ที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่กระจายอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศถูก
ทำลายลงอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพภูมิอากาศที่มีความแห้งแล้งมากขึน
้ ฝนจึงไม่ตกต้องตาม
ฤดูกาล ในปี ที่มีปริมาณน้ำฝนมาก ป่ าไม้ที่ถูกทำลายลงจนเสื่อมโทรม
ไม่สามารถเก็บน้ำในชัน
้ ใต้ดินได้ เมื่อฝนตกหนักน้ำป่ าก็ไหลบ่าท่วม
พื้นที่ตอนล่างทุกหนทุกแห่งอย่างรวดเร็ว อีกทัง้ ยังเป็ นลักษณะของดิน
โคลนถล่มอีกด้วย ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชนในวงกว้าง คนในทุกภาคส่วนของสังคมจึงต้องตระหนักถึง “
ภัยพิบัติอันร้ายแรง” นีท
้ ี่คนส่วนใหญ่มีประสบการณ์ตรงกับชีวิตจริงไม่
ว่าจะเป็ นเหตุการณ์มหาอุทกภัยเมื่อปี 2554 และเหตุการณ์ภัยแล้งใน
ระหว่างปี 2556-2559 จึงต้องผนึกกำลังกันในการเป็ นหูเป็ นตาและ
ร่วมกันรักษาผืนป่ าที่มีความอุดมสมบูรณ์เท่าที่เหลืออยู่ในปั จจุบันให้ได้
ผลกระทบที่ป่าไม้ถูกทำลายลงในวงกว้าง ใช่ว่าจะกระทบต่อชีวิต
มนุษย์เท่านัน
้ หากยังกระทบต่อชีวิตของสัตว์ป่าอีกด้วย จะเห็นได้จาก
ข่าวคราวที่มีโขลงช้างออกมาจากแนวป่ ามาหากินทำลายพืชผล
การเกษตรของชาวบ้านอยู่เสมอ หรือแม้กระทั่งหมีควายก็ออกจาก
แนวป่ ามาหาอาหารเช่นกัน การปฏิรูปด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมของรัฐบาล จึงเป็ นหนทางเดียวที่จะยับยัง้ การทำลายป่ าอย่าง
สิน
้ เชิง เริ่มจากการมีมาตรการทางกฎหมายอย่างรุนแรงในการมีการ
บังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเฉียบขาด ประการสำคัญจะ
ต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้แก่ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและ
66

พันธุ์พืช กรมป่ าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้


เพียงพอต่อการดำเนินงาน ไม่ว่าจะเป็ นการเพิ่มกำลังอัตราคน เครื่อง
มือและอุปกรณ์ อาวุธและยานพาหนะให้สอดคล้องกับภารกิจสำคัญที่
มีผลกระทบต่อความอยู่รอดปลอดภัยของประชาชนและความมั่นคง
ของประเทศชาติ

5.1.5 สถานการณ์ป่าไม้ปี 2560 - 2561


ส่งประกายความหวัง เมื่อมีพ้น
ื ที่เพิ่มขึน

331,951.67 ไร่ ทำให้มีป่าไม้มากที่่สุดในรอบ 6 ปี ท่ามกลางการผลัก
ดันในการเพิ่มพื้นที่เป็ นร้อยละ 55 ของประเทศ ขณะที่นักวิจัย สกว.
เสนอสวนผลไม้ให้เป็ นพื้นที่ป่าในเมือง เพิ่มปอดให้กับคนเมือง ผืนป่ า
ไทยเพิ่มขึน
้ 3.3 แสนไร่ แต่ยังต่ำกว่า 40% ของประเทศ ตลอดช่วง
เวลา 5 ปี ที่ผ่านมา สถานการณ์ป่าไม้ในประเทศไทยค่อนข้างที่จะอยู่ใน
ระดับคงที่ร้อยละ 31 ของพื้นที่ทงั ้ ประเทศ ในปี 2558 World Bank
ระบุว่าไทยมีพ้น
ื ที่ป่าไม้รงั ้ ท้ายในอาเซียน ในอันดับที่ 9 จาก 11 ชาติ
รวมถึงอันดับ 16 ของภูมิภาคเอเชีย และอันดับ 118 ของโลก ทำให้
การป้ องกันและรักษาทรัพยากรป่ าไม้เป็ นหนึ่งในนโยบายเร่งด่วนที่
สำคัญ และได้มีการตัง้ เป้ าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กำหนดให้
ภายในปี 2580 ต้องมีพ้น
ื ที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 55 ของพื้นที่ประเทศ แต่
ข้อมูลพื้นที่ป่าไม้ปีล่าสุด ได้รับสัญญาณที่ดี และสร้างประกายความ
หวังในการฟื้ นฟูและรักษาป่ าไม้ขน
ึ ้ โดย นายอรรถพล เจริญชันษา
อธิบดีกรมป่ าไม้ ได้รายงานถึงข้อมูลสภาพพื้นที่ป่าไม้ ปี 2560 - 2561
67

พบว่าภาพรวมไทยมีพ้น
ื ที่ป่าไม้ 102,488,302.19 ไร่ หรือร้อยละ
31.68 ของพื้นที่ประเทศ เพิ่มขึน
้ 331,951.67 ไร่

ปี พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ - ลดลง ร้อยละ
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ เป็ น 102.488
2561 31.68
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 102.156
2560 31.58
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 102.147
2559 31.58
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 102.241
2558 31.60
ล้านไร่
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ลดลงเหลือ 102.285
2557 31.62
ล้านไร่

ตารางที่ 3 พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 - 2561

เมื่อดูเป็ นรายภูมิภาคพบว่า ภาคเหนือ มีพ้น


ื ที่ป่าไม้มากที่สุด จำนวน
38,533,429.40 ไร่ หรือ ร้อยละ 64.17 รองลงมาคือภาคตะวันตก มี
20,108,513.54 ไร่ ร้อยละ 59.08, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
15,750,098.53 ไร่ ร้อยละ 15.03, ภาคกลาง 12,163,869.66 ไร่
ร้อยละ 21.37 และภาคตะวันออก 4,725,162.36 ไร่ ร้อยละ 21.93
พื้นที่ป่าไม้ที่เพิ่มขึน
้ กว่า 3.3 แสนไร่ เทียบได้กับพื้นที่จังหวัดภูเก็ต โดย
มีพ้น
ื ที่ป่าไม้รวมมากที่สุดในรอบ 6 ปี นับว่าเป็ นผลมาจากการดำเนิน
งานของกรมป่ าไม้ ตามนโยบายทวงคืนผืนป่ า รวมทัง้ ยังได้ดำเนินการ
68

ฟื้ นฟูสภาพป่ า และดำเนินการป่ าชุมชนเพื่อให้ราษฎรช่วยกันดูแลพื้นที่


ป่ าต่อไปอีกด้วย กรุงเทพฯ มีพ้น
ื ที่ป่าไม่ถึง 20% ขณะที่เมื่อดูข้อมูลใน
รายจังหวัดที่มีพ้น
ื ที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ มากที่สุด คือ จ.เพชรบูรณ์ เพิ่ม
62,394.96 ไร่ รองลงมา จ.ชัยภูมิ 56,100.06 ไร่ และ จ.พังงา
35,045.66 ไร่ ส่วนจังหวัดที่มีการบุกรุกมากที่สุด คือ จ.แม่ฮ่องสอน
ลดลง 40,671.59 ไร่ รองมาเป็ น จ.กาญจนบุรี 25,499.01 ไร่ และ
จ.เชียงราย 16,445.66 ไร่ ขณะที่ กรุงเทพฯ เป็ น 1 ใน 23 จังหวัดที่มี
ป่ าไม้น้อยกว่าร้อยละ 20

อันดั จำนวนไร่ที่เพิ่มมาก
จังหวัด
บที่ ขึน

1 เพชรบูรณ์ 62,394.96 ไร่
2 ชัยภูมิ 56,100.06 ไร่
3 พังงา 35,045.66 ไร่
4 นครราชศรีมา 30,096.33 ไร่
5 พิษณุโลก 26,600.28 ไร่

ตารางที่ 4 “5 อันดับจังหวัดที่มีพ้น
ื ที่ป่าไม้เพิ่มมากขึน
้ ”

อันดั
จังหวัด จำนวนไร่ที่ลดลง
บที่
1 แม่ฮ่องสอน 40,671.59 ไร่
2 กาญจนบุรี 25,499.01 ไร่
3 เชียงราย 16,445.66 ไร่
69

4 อุบลราชธานี 13,115.78 ไร่


5 ยโสธร 10,736.47 ไร่

ตารางที่ 5 “5 อันดับจังหวัดที่มีการบุกรุกมากที่สุด”

ส่วนจังหวัดที่อยู่ในขัน
้ วิกฤต หลังจากไม่พบพื้นที่ป่าไม้มี 4 จังหวัด
ได้แก่ จ.นนทบุรี, จ.ปทุมธานี, จ.อ่างทอง และ จ.พระนครศรีอยุธยา
เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีแต่พ้น
ื ที่ชุมชน ซึ่งทางจังหวัดต้องหาพื้นที่ใน
การปลูกต้นไม้ โดยตามคำนิยามถึงพื้นที่ป่าไม้ เพื่อให้ดาวเทียม
สามารถจับข้อมูลได้ ต้องมีพ้น
ื ที่ในบริเวณเดียวกัน 3.125 ไร่ นอกจาก
นัน
้ อธิบดีกรมป่ าไม้ ยังได้เผยถึงสถานการณ์เขาหัวโล้นว่า เริ่มดีขน
ึ้
เรื่อยๆ ตัง้ แต่มี นโยบายของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คท
ช.) ชาวบ้านเริ่มจัดโซนนิ่งกันเอง และไม่ปลูกข้าวโพดอย่างเดียว มีการ
ปลูกไม้ยืนต้นเพิ่มขึน
้ เพราะอยากให้กรมป่ าไม้รับรองสิทธิทำกินอย่าง
ถูกต้อง จึงไม่ทำผิดกฎหมาย เชื่อว่าไม่เกิน 5 ปี ปั ญหาเขาหัวโล้นจะ
ค่อยๆ หมดไป และขณะนีไ้ ด้จัดทำแบล็กสิสต์ชุมชนที่บุกรุกป่ าและก่อ
จุดความร้อนที่เป็ นต้นเหตุของการเกิดไฟป่ า เพื่อดำเนินการทาง
กฎหมายอย่างเด็ดขาด

จังหวัดที่ไม่พบพื้นที่ป่า

1. พระนครศรีอยุธยา
2. อ่างทอง
3. ปทุมธานี
4. นนทบุรี

ตารางที่ 6 “4 จังหวัดที่ไม่พบพื้นที่ป่า”
70

5.1.4 รายงานสถานการณ์ป่าไม้ไทย ประจำปี 2504 –


2563
ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่ให้ความสำคัญกับการ
พัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะการผลักดันให้มีสงิ่ แวดล้อมอย่างยั่งยืนในทุก
จังหวัดของประเทศไทย ด้วยการประกาศนโยบายป่ าไม้แห่งชาติเพื่อ
เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ทงั ้ ป่ าเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อเศรษฐกิจไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 40 ของพื้นที่ประเทศไทย เพื่อให้ครบตามที่กำหนดไว้ จึงจำเป็ น
ต้องมีข้อมูลทรัพยากรป่ าไม้ที่เป็ นปั จจุบันและต่อเนื่องทุกปี เพื่อใช้เป็ น
ฐานข้อมูลในการจัดการพื้นที่ป่าไม้ร้อยละ 40 อีกทัง้ ยังเป็ นเครื่องมือใน
การกำหนดยุทธศาสตร์และเป้ าหมายในการจัดการทรัพยากรป่ าไม้
การประเมินผลและการติดตามการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้และ
นโยบายการแก้ไขปั ญหาข้อขัดแย้งในเรื่องที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยหรือ
การใช้ประโยชน์อ่ น
ื ๆปั จจุบันพื้นที่ป่าไม้ทั่วประเทศในปี พ.ศ. 2561 –
2562 จำนวน 102,484,072.71 ไร่ หรือคิดเป็ นร้อยละ 31.68 ของ
ประเทศ ซึ่งลดลงจากปี พ.ศ. 2560 – 2561 จำนวน 4,229.48 ไร่
หากพูดถึงนโยบายป่ าไม้แห่งชาติที่กำหนดให้มพ
ี ้น
ื ที่ป่าไม้ 40% ของ
พื้นที่ประเทศไทย ที่ออกเป็ นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 25% และพื้นที่ป่า
เศรษฐกิจและป่ าชุมชน 15% โดยพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 25% หรือ 81 ล้าน
ไร่ ส่วนที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืชดูแล ปั จจุบันมีพ้น
ื ที่
รับผิดชอบอยู่ประมาณ 73 ล้านไร่ (22.6 %) ของพื้นที่ประเทศและ
ส่วนที่ยังขาดอีก 7.75 ล้านไร่ (2.4%) อยู่ในกระบวนการรับมอบพื้นที่
จากกรมป่ าไม้ที่มีอยู่ประมาณ 7.7 ล้านไร่ ซึ่งจะได้ครบตามเป้ า 25%
ของพื้นที่ประเทศภายในปี 2569 ส่วนป่ าเศรษฐกิจและป่ าชุมชน 15%
71

หรือ 48 ล้านไร่ : (กำลังจัดทำข้อมูล) อยู่ในความรับผิดชอบของกรม


ป่ าไม้

ภาพที่ 33 สถิตพ
ิ ้น
ื ที่ป่าไม้ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2504 - 2562

5.1.5 พื้นที่เสี่ยงต่อการถูกบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่
อนุรักษ์
เนื้อที่ : ไร่

สำนัก ระดับ
ระดับความ ระดับ
บริหาร ชื่อพื้นที่ ระดับความ ความ
เสี่ยงปาน ความเสี่ยง
พื้นที่ อนุรักษ์ เสี่ยงน้อย เสี่ยงมาก
กลาง มาก
อนุรักษ์ ที่สุด
72

อุทยานแห่ง 376,291.9 107,335.1 21,828.7


872,704.90
ชาติเขาใหญ่ 5 8 7

อุทยานแห่ง 258,775.4 157,112.0 20,753.2


964,450.83
ชาติทับลาน 3 6 9
สำนัก
บริหาร อุทยานแห่ง 109,584.9
392,137.34 27,537.26 3,120.74
พื้นที่ ชาติปางสีดา 8
อนุรักษ์
พื้นที่ 1 ( อุทยานแห่ง

ปราจีนบุ ชาติ ตาพระ 44,686.34 309,403.24 30,345.82 3,243.67

รี) เยา
สวน
รุกขชาติ 1.49 96.79 47.49 327.34
เขาฉกรรจ์
สวน
พฤกษศาสต 251.00 2,489.80 2,474.97 382.50
ร์ วังน้ำเย็น
สำนักบริหารพื้นที่
789,591.2 2,541,282. 324,852.7 49,656.3
อนุรักษ์พ้น
ื ที่ 1 (ปราจีน
0 90 8 1
บุรี) ผลรวม
มกราคม 2563

ตารางที่ 7 พื้นที่เสี่ยงต่อการถูกบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์สำนัก
บริหารพื้นที่อนุรักษ์พ้น
ื ที่ 1

เนื้อที่ : ไร่
73

ระดับ ระดับ
สำนัก ระดับ
ชื่อพื้นที่ ระดับความ ความ ความ
บริหารพื้นที่ ความ
อนุรักษ์ เสี่ยงน้อย เสี่ยงปาน เสี่ยงมาก
อนุรักษ์ เสี่ยงมาก
กลาง ที่สุด
อุทยานแห่ง
47,564.8 19,172.2 15,831.
ชาติ ดอยขุน 80,461.38
6 0 74
ตาล
อุทยานแห่ง
370,588.7 96,842.3 23,448.8 1,926.1
ชาติ แจ้
1 3 4 2
ซ้อน
อุทยานแห่ง 172,006.4 153,413. 34,497.8 4,255.3
ชาติแม่วะ 4 42 1 1
อุทยานแห่ง 134,919.1 50,644.4 18,635.4 5,007.0
สำนัก ชาติ ดอยจง 5 0 8 5
บริหารพื้นที่ เขตรักษาพันธุ์
295,289.7 113,408. 19,927.2 3,977.8
อนุรักษ์ สัตว์ป่าดอยผา
6 53 7 5
พื้นที่ 13 เมือง
สาขา เขตห้ามล่า
44,216.1 10,797.5
ลำปาง สัตว์ป่าดอย 18,007.19 216.48
2 0
พระบาท
วนอุทยาน
ม่อน พระยา 9,104.50 8,665.71 961.85 6.46
แช่
สวนรุกขชาติ
- - 52.16 -
ห้วยทาก
สวนรุกขชาติ
- - 150.35 -
ห้างฉัตร
สวนรุกขชาติ 3.94 222.25 1,801.96 -
74

พระบาท
สวนรุกขชาติ
ศูนย์วิจัย
- - 11.34 10.45
กีฏวิทยาป่ าไม้
ที่ 1 (ลำปาง)
เตรียมการ
398,468.5 277,746. 68,131.8 18,084.
อุทยานแห่ง
3 26 3 95
ชาติถ้ำผาไท
เตรียมการ
อุทยานแห่ง 15,381.4
11,120.45 4,175.61 46.61
ชาติเขลางค์- 1
บรรพต
สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์
1,489,970 808,105. 201,764. 49,363.
พื้นที่ 13 สาขาลำปาง ผล
.05 29 20 02
รวม
มกราคม 2563

ตารางที่ 8 พื้นที่เสี่ยงต่อการถูกบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์สำนัก
บริหารพื้นที่อนุรักษ์พ้น
ื ที่ 13

5.2 ชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม
ชนิดพันธุ์ทงั ้ พืช สัตว์และจุลินทรีย์ ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อ
การสูญพันธุ์จากแหล่งที่มีการกระจายพันธุ์อยู่ เนื่องจากมีปัจจัย
คุกคามอันเป็ นสาเหตุให้ชนิดพันธุ์นน
ั ้ สูญพันธุ์โดยเป็ นการกำหนดกลุ่ม
ของชนิดพันธุ์ที่มีความเสี่ยงที่จะสูญพันธุ์จากมากไปน้อย ได้แก่ ใกล้สูญ
พันธุ์อย่างยิ่ง ใกล้สญ
ู พันธุ์และมีแนวโน้มใกล้สญ
ู พันธุ์ เพื่อให้ประเทศ
75

ต่างๆ จัดทำแนวทางและมาตรการเร่งด่วนสำหรับฟื้ นฟู คุ้มครองและ


อนุรักษ์ชนิดพันธุ์นน
ั ้ ๆ การแบ่งสถานภาพของชนิดพันธุ์ โดยใช้หลัก
เกณฑ์การจำแนก จาก IUCN Red List Categories and Criteria:
Version 4.0 (2012) มีดังนี ้

6.2.1 Extinct (EX): สูญพันธุ์ หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่สูญพันธุ์


ไปแล้ว โดยมีหลักฐานที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับการตาย ของชนิดพันธุ์นต
ี ้ ัว
สุดท้าย

6.2.2 Extinct in the Wild (EW): สูญพันธุ์ในธรรมชาติ


หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่ไม่มีรายงานว่าพบอาศัยอยู่ในถิ่น ที่อยู่อาศัยตาม
ธรรมชาติ

6.2.3 Critically Endangered (CR): ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง


หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์จากพื้นที่ธรรมชาติ
ในขณะนี ้

6.2.4 Endangered (EN): ใกล้สูญพันธุ์ หมายถึง ชนิด


พันธุ์ที่กำลังอยู่ในภาวะอันตรายที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ไปจากโลกหรือสูญ
พันธุ์ไปจากแหล่งที่มีการกระจายพันธุ์อยู่ ถ้าปั จจัยต่าง ๆ ที่เป็ นสาเหตุ
ให้เกิดการสูญพันธุ์ยังดำเนินต่อไป

6.2.5 Vulnerable (VU): มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ หมายถึง


ชนิดพันธุ์ที่เข้าสู่ภาวะใกล้สูญพันธุ์ในอนาคตอันใกล้ ถ้ายังคงมีปัจจัย
ต่าง ๆ อันเป็ นสาเหตุให้ชนิดพันธุ์นน
ั ้ สูญพันธุ์
76

6.2.6 Near Threatened (NT): ใกล้ถูกคุกคาม หมายถึง


ชนิดพันธุ์ที่มีแนวโน้มอาจถูกคุกคามในอนาคตอันใกล้ เนื่องจากปั จจัย
ต่าง ๆ ยังไม่มีผลกระทบมาก

6.2.7 Least Concern (LC): เป็ นกังวลน้อยที่สุด หมายถึง


ชนิดพันธุ์ที่ยังไม่อยู่ในภาวะถูกคุกคาม และพบเห็นอยู่ทั่วไป
6.2.8 Data Deficient (DD): ข้อมูลไม่เพียงพอ หมายถึง
ชนิดพันธุ์ที่มีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะวิเคราะห์ถึงความเสี่ยงต่อการสูญ
พันธุ์โดยตรงหรือโดยอ้อม ชนิดพันธุ์กลุ่มนีม
้ ีความจาเป็ นต่อการจัดหา
ความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาวิจัยในอนาคต

6.2.9 Not Evaluated (NE): ยังไม่ได้ถูกประเมิน หมายถึง


ชนิดพันธุ์ที่ยังไม่ได้รับการประเมินตามเกณฑ์ในการจำแนก

หมายเหตุ: สถานภาพที่คก
ุ คามจะแบ่งออกเป็ น Critically
Endangered (CR), Endangered (EN) และ Vulnerable (VU)

5.3 จากธรรมชาติ
5.2.1 ไฟไหม้ป่า
มักจะเกิดขึน
้ ในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งอากาศแห้งและร้อน
จัด ทัง้ โดยธรรมชาติและจากการกระทำของมะม่วงที่อาจลักลอบเผา
ป่ าหรือเผลอ จุดไฟทิง้ ไว้โดยเฉพาะในป่ าไม้เป็ นจำนวนมาก

5.2.2 การทำลายของสัตว์ป่าและสัตว์เลีย
้ ง
สัตว์ป่าและสัตว์เลีย
้ งตามชายป่ าก็มีส่วนในการ
ทำลายป่ าไม้เช่นกัน อันเกิดจากการกัดกินใบ กิง่ ราก และหน่อของพืช
77

รวมทัง้ การเหยียบย่ำ ทำให้ต้นอ่อนของพืชถูกทำลาย ทำให้ดินแน่นพืช


งอกงามได้ยาก การปล่อยสัตว์เลีย
้ งในปริมาณมากเข้าป่ าจะก่อให้เกิด
ผลกระทบดังกล่าวแต่ก็ยังถือว่าไม่รุนแรงเท่าสาเหตุอ่ น
ื ๆ

5.2.3 การทำลายของเชื้อโรคและแมลง
เชื้อโรคและแมลงบางชนิดจะระบาดสามารถกัดกิน
ต้นไม้บางชนิดให้ตาย หรือชะงักการเจริญเติบโตได้ เช่น ตักแตนบุก
ทำลายป่ าสน มอดทำลายไม้สัก เป็ นต้น

5.4 จากมนุษย์
5.3.1 การลักลอบตัดไม้ทำลายป่ า
ตัวการของปั ญหานีค
้ ือนายทุนพ่อค้าไม้ เจ้าของโรง
เลื่อย เจ้าของโรงงานแปรรูปไม้ ผู้รับสัมปทานทำไม้และชาวบ้านทั่วไป
ซึง่ การตัดไม้เพื่อเอาประโยชน์จากเนื้อไม้ทงั ้ วิธีที่ถูกและผิดกฎหมาย
ปริมาณป่ าไม้ที่ถูกทำลายนีน
้ ับวันจะเพิ่มขึน
้ เรื่อย ๆ ตามอัตราเพิ่มของ
จำนวนประชากร ยิ่งมีประชากรเพิ่มขึน
้ เท่าใด ความต้องการในการใช้
ไม้กเ็ พิ่มมากขึน
้ เช่น ใช้ไม้ในการปลูกสร้างบ้านเรือนเครื่องมือเครื่องใช้
ในการเกษตรกรรมเครื่องเรือนและถ่านในการหุงต้ม เป็ นต้น

5.3.2 การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน
เมื่อประชากรเพิ่มสูงขึน
้ ความต้องการใช้ที่ดินเพื่อ
ปลูกสร้างที่อยู่อาศัยและที่ดินทำกินก็อยู่สูงขึน
้ เป็ นผลผลักดันให้
ราษฎรเข้าไปบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ แผ้วถางป่ า หรือเผาป่ าทำไร่เลื่อนลอย
นอกจากนีย
้ ังมีนายทุนที่ดินที่จ้างวานให้ราษฎรเข้าไปทำลายป่ าเพื่อ
จับจองที่ดินไว้ขายต่อไป
78

ปี จำนวนคดีบุกรุก
2557 2718 คดี
2558 3133 คดี
2559 2864 คดี
2560 1883 คดี
2561 1519 คดี

ตารางที่ 9 การกระทำผิดกฎหมาย บุกรุกป่ าไม้ เขตพื้นที่ป่าสงวนแห่ง


ชาติปี 2557 - 2561

5.3.3 การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลีย
้ งสัตว์เศรษฐกิจเพื่อ
การส่งออก
เช่น มันสำปะหลัง ปอ เป็ นต้น โดยไม่ส่งเสริมการใช้
ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทัง้ ๆ ที่พ้น
ื ที่ป่าบางแห่งไม่เหมาะสมที่จะ
นำมาใช้ในการเกษตร

5.3.4 การกำหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทำไม่ชัดเจนหรือไม่
กระทำเลยในหลายๆ พื้นที่
ทำให้ราษฎรเกิดความสับสนทัง้ โดยเจตนาและไม่
เจตนา ทำให้เกิดการพิพาทในเรื่องที่ดินทำกินและที่ดินป่ าไม้อยู่ตลอด
์ ี่ดิน
เวลาและมักเกิดการร้องเรียนต่อต้านในเรื่องกรรมสิทธิท

5.3.5 การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ
เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้ำ เส้นทางคมนาคม การสร้าง
เขื่อนขวางลำน้ำจะทำให้พ้น
ื ที่เก็บน้ำหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัด
79

โค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทำการย้ายออกมาไม่ทัน
จะถูกน้ำท่วมยืนต้นตาย เช่น การสร้างเขื่อนรัชชประภาเพื่อกัน
้ คลอง
พระแสงอันเป็ นสาขาของแม่น้ำพุมดวง-ตาปี ทำให้น้ำท่วมบริเวณป่ าดง
ดิบซึง่ มีพันธุ์ไม้หนาแน่นประกอบด้วยสัตว์นานาชนิดนับแสนไร่ ต่อมา
จึงเกิดปั ญหาน้ำเน่าไหลลงลำน้ำพุมดวง

5.3.6 การทำเหมืองแร่
แหล่งแร่ที่พบในบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความ
จำเป็ นที่จะต้องเปิ ดหน้าดินก่อนจึงทำให้ป่าไม้ที่ขน
ึ ้ ปกคลุมถูกทำลาย
ลง เส้นทางขนย้ายแร่ในบางครัง้ ต้องทำลายป่ าไม้ลงเป็ นจำนวนมาก
เพื่อสร้างถนนหนทาง การระเบิดหน้าดิน เพื่อให้ได้มาซึ่งแร่ธาตุ ส่งผล
ถึงการทำลายป่ า

5.5 ผลกระทบ
5.4.1 เกิดสภาวะโลกร้อน
หรือที่เรียกกันว่า
ภาวะเรือนกระจก นีเ่ ป็ นหนึ่งใน
หัวข้อหลักระดับโลก ได้มีการ
รณรงค์มานานหลายปี มีกรณีระดับ
โลกจากสารคดีของ นายอัลกอร์
อดีตผู้ท้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี
ได้พยายามชีใ้ ห้เห็นถึงผลกระทบ
ของการทำลายธรรมชาติว่าจะส่งผล
ภาพที่ 34 สภาวะโลกร้อน
ต่อการก่อมลพิษและภาวะโลกร้อน
80

อย่างไรบ้าง หากยังนิง่ นอนใจต่อไป สภาพบรรยากาศของทัง้ โลกก็ยาก


จะแก้ไขได้ การทำลายป่ ามีส่วนทำให้เกิดปรากฏการณ์โลกร้อน การ
ทำลายป่ าในเขตร้อนมีส่วนประมาณร้อยละ 20 ในการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกบนโลก ตามที่กล่าวโดยคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) 1 ใน 3 ของการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ทงั ้ หมดที่เกิดจากน้ำมือของมนุษย์ เกิดจากการ
ทำลายป่ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตร้อน ทว่าการคำนวณเมื่อไม่นาน
มานีเ้ สนอแนะว่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการทำลายป่ า
และความเสื่อมโทรมของป่ า (ยกเว้นการปล่อยก๊าซในดินพรุ) มีส่วน
ร้อยละ 12 จากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทงั ้ หมดที่เกิดจาก
น้ำมือของมนุษย์ โดยมีขอบเขตอยู่ในร้อยละ 6-17

5.4.2 เกิดการชะล้างและการพลังทลายของหน้าดิน
ส่งผลต่อชาวนาและภาคเกษตรกรรมที่เป็ นหัวใจหลัก
ของประเทศไทยโดยตรง ป่ าไม้ที่ยังไม่ถูกรุกราน มีอัตราการสูญเสียดิน
ที่ต่ำ เพียงแค่ประมาณ 2 ตัน ต่อ ตารางกิโลเมตร โดยทั่วไปการ
ทำลายป่ าเพิ่มอัตราการพังทลายของหน้าดิน โดยการเพิ่มประมาณ
ของน้ำผิวดินและลดการป้ องกันหน้าดินของเศษซากของต้นไม้ ราก
ต้นไม้ยึดดินเข้าไว้ด้วยกัน และหากผืนดินอยู่ต้น
ื พอ ผืนดินจะยึดดินไว้
ให้อยู่กับหินดานที่อยู่ใต้ลึกลงไป การตัดไม้บนพื้นที่ลาดชัด ซึ่งที่ผืนดิน
อยู่ต้น
ื จะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดดินถล่ม ซึ่งทำให้ผค
ู้ นที่อาศัยอยู่
โดยรอบตกอยู่ในอันตราย อย่างไรก็ตามการทำลายป่ าส่วนใหญ่มีผลก
ระทบแค่กับลำต้นของต้นไม้ หากยังปล่อยให้รากยึดติดอยู่กับดิน ก็
แก้ไขปั ญหาดินถล่มได้
81

5.4.3 น้ำท่วมและน้ำหลาก
เหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในหลายจังหวัด เมื่อ
ปี พ.ศ.2554 ต้นเหตุนน
ั ้ มาจากการตัดไม้ทำลายป่ ามากเกินไป แล้วไม่
ได้มีการปลูกป่ าทดแทนเพื่อป้ องกันน้ำหลาก เพราะป่ าที่โดนทำลายนัน

อยู่บนเส้นทางน้ำ คุณภาพของน้ำจะแย่ลงเรื่อยๆ เพราะเมื่อเกิดน้ำ
หลาก ก็จะพัดพาเอาดิน โคลน ตะกอน ไหลลงสูแ
่ หล่งน้ำที่เป็ นเส้น
ชีวิตของชุมชน

5.4.6 ระบบนิเวศน์ของป่ าและสัตว์ป่า ได้รับความเสียหาย


นอกเหนือจากนีย
้ ังทำให้ของป่ า พืชและสมุนไพร
หลายชนิด มีโอกาสสูญพันธุ์ได้ การทำลายป่ าส่งผลให้ความหลาก
หลายทางชีวภาพเสื่อมถอย การตัด
และทำลายพื้นที่ที่ป่าไม้ปกคลุม
ทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม และ
ทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพ
ลดลง ป่ าไม้เกื้อหนุนความหลาก
หลายทางชีวภาพ โดยเป็ นแหล่งที่ ภาพที่ 35 ระบบนิเวศน์ของป่ า
และสัตว์ป่า ได้รับความเสียหาย
อยู่อาศัยของสัตว์ป่า นอกเหนือจาก
นัน
้ ป่ าไม้ยังเป็ นแหล่งที่เอื้อต่อการอนุรักษ์พืชจำพวกยารักษาโรค ด้วย
เหตุผลที่เขตชีวชาติในป่ าเป็ นแหล่งที่หาสิ่งอื่นมาทดแทนไม่ได้ของตัว
ยาแบบใหม่ ๆ (เช่น แท็กซอล) การทำลายป่ าอาจเป็ นการทำลายความ
หลากหลายทางพันธุกรรม โดย ไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้

5.4.7 ความชื้นในชัน
้ บรรยากาศน้อยลง
82

ในบางกรณีสง่ ผลกระทบต่อระดับปริมาณน้ำฝน ตาม


ทิศทางของลมที่พัดมาจากพื้นที่ที่ป่าถูกทำลาย เนื่องจากป่ าที่อยู่ตาม
ทิศทางของลมไม่ได้นำน้ำกลับมาหมุนเวียนเพื่อใช้ใหม่ แต่น้ำได้กลาย
สภาพไปเป็ นน้ำผิวดินและไหลกลับไปยังมหาสมุทรโดยตรง จากผลการ
ศึกษาหนึง่ ในขัน
้ ต้นพบว่า ในพื้นที่ป่าที่ถูกทำลายทางตอนเหนือและ
ตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยในแต่ละปี
ลดลง 1 ใน 3 ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และ 1980 ต้นไม้และพืช
โดยทั่วไปส่งผลกระทบอย่างมากต่อวัฏจักรของน้ำ

5.4.8 การทำลายป่ ามีผลต่อวัฏจักรของน้ำ


ต้นไม้สกัดน้ำบาดาลผ่านทางรากและปล่อยออกสู่ชน
ั้
บรรยากาศ เมื่อใดที่พ้น
ื ที่ป่าบางส่วนถูกทำลาย ต้นไม้จะไม่คายน้ำอีก
ต่อไป มีผลทำให้สภาพอากาศแห้งมากขึน
้ การทำลายป่ าลดปริมาณ
ของน้ำในดินและน้ำบาดาล เช่นเดียวกับความชื้นในชัน
้ บรรยากาศ
การทำลายป่ าลดการเกาะตัวของดิน ทำให้เกิดผลที่ตามมาคือหน้าดิน
พังทลาย น้ำท่วม และดินถล่ม ผืนป่ าช่วยเพิ่มพูนการดูดซึมน้ำในชัน

หินอุ้มน้ำในบางพื้นที่ พื้นที่ป่าที่มีขนาดเล็กลงมีความสามารถน้อยลง
ในการดักจับ ดูดซับ และปลดปล่อยปริมาณน้ำฝน แทนที่สกัดกัน

ปริมาณน้ำฝนซึ่งจะซึมผ่านไปยังระบบน้ำบาดาล พื้นที่ป่าที่ถูกทำลาย
จะเป็ นตัวการให้เกิดน้ำผิวดิน ซึง่ จะเคลื่อนที่ได้ไวกว่าการไหลของน้ำ
บาดาล การเคลื่อนที่ที่เร็วกว่าของน้ำผิวดินอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับ
83

พลันและเกิดน้ำท่วมเฉพาะพื้นที่รุนแรงกว่าที่เกิดกับพื้นที่ที่มีผืนป่ า
ปกคลุม

ภาพที่ 36 วัฏจักรของน้ำ

บทที่ 6
84

วิธีการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย
เนี่ยงด้วยการรุกรานป่ าไม้ก่อให้เกิดการสูญพันธุ์ของไม้บางชนิด
ขึน
้ และอาจทำให้พันธุ์ไม้อีกหลากหลายชนิดเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ โดย
ในบทที่ 6 นี ้ คณะผู้จัดทำเล็งเห็นว่าการอนุรักษ์พันธุ์ไม้เป็ นสิ่งที่ควร
ปฏิบัติเพื่อรักษาพันธุ์ไม้หายากให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลาน เพื่อไม่ให้เกิด
การรุกรานพื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึน
้ อีก

6.1 แนวทางการอนุรก
ั ษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย
ป่ าไม้มีความจำเป็ นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีพของมนุษย์และ
การคงอยู่ของสิง่ แวดล้อม ต่างๆ จากการสูญเสียทรัพยากรป่ าไม้ในทุก
ส่วนของโลกหรือของประเทศไทย ทำให้ทุกฝ่ ายตระหนักถึงการสูญเสีย
และผลที่ได้รับจากการกระทำอันนี ้ การดำเนินงานอนุรักษ์ป่าไม้จึงได้
รับความสนใจจากภาครัฐบาลและเอกชน และประชาชนทั่วไปอย่าง
กว้างขวาง การอนุรักษ์ป่าไม้เป็ นแนวทางการแก้ไขปั ญหาดังกล่าว
กระทำได้ดังนี ้
6.1.1 การกำหนดนโยบายป่ าไม้แห่งชาติ
นโยบายป่ าไม้แห่งชาติมีอยู่ 20 ข้อที่สำคัญคือ การ
กำหนดให้มีพ้น
ื ที่ป่าไม้ทั่วประเทศอย่างน้อยในอัตราร้อยละ 40 ของ
พื้นที่ประเทศ เป็ นการกำหนดแนวทางการจัดการและการพัฒนาป่ าไม้
ในระยะยาวเพื่อประโยชน์ 2 ประการ ดังนี ้
85

(1) ป่ าเพื่อการอนุรักษ์
กำหนดไว้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ พันธุ์
พืช พันธุ์สัตว์ที่หายาก และป้ องกันภัยธรรมชาติอันเกิดจากน้ำท่วมและ
การพังทลายของดิน ตลอดทัง้ เพื่อประโยชน์ในการศึกษา การวิจัย
และนันทนาการของประชาชนในอัตราร้อยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ
หรือประมาณ 48 ล้านไร่

(2) ป่ าเพื่อเศรษฐกิจ
กำหนดไว้เพื่อการผลิตไม้และของป่ า เพื่อ
ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ ในอัตราร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ หรือ
ประมาณ 80 ล้านไร่ ป่ าอนุรักษ์ หมายถึง พื้นที่ได้รับการคุ้มครองที่ถูก
ต้องตามกฎหมาย โดยทั่วไปอยู่ในการดูแลของกรมป่ าไม้ ซึ่งพื้นที่เหล่า
นีอ
้ าจเป็ นพื้นที่ป่าไม้ชายฝั่ งทะเล หรือลักษณะอื่นๆ ที่มีระบบ นิเวศ
ดัง้ เดิม หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย เพื่อใช้ประโยชน์ในการ
อนุรักษ์ เช่น การท่องเที่ยว
ภาพที่ 37 ป่ าอนุรักษ์
นันทนาการ การศึกษาวิจัย ป่ า
อนุรักษ์ในระดับสากล (IUCN) แบ่ง
ออกเป็ น 10 ประเภท ส่วนใน
ประเทศไทยประกอบด้วย 11
ประเภท ดังนี ้

(1.1)
อุทยานแห่งชาติ (National Park)
86

หมายถึงที่ดินซึ่งรวมความถึงพื้นที่ดิน
ทั่วไป ภูเขา ห้วย หนอง คลองบึง บาง ลำน้ำทะเลสาบ เกาะ และที่
ชายทะเลที่ได้รับการกำหนดให้เป็ นอุทยานแห่งชาติ ในทางปฏิบัติ
อุทยานแห่งชาติ คือ พื้นที่ที่สงวนไว้เพื่อคุ้มครองรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะป่ าไม้และสัตว์ป่า ตลอดจนทิวทัศน์
ธรรมชาติ ที่สวยงาม สงวนไว้เพื่อให้คงสภาพธรรมชาติดงั ้ เดิม เพื่อ
รักษาสมบัติทางธรรมชาติให้อนุชนรุ่นหลังๆ ได้ชมและ ศึกษาค้นคว้า
มีลักษณะที่สำคัญ คือ เป็ นสถานที่ที่สภาพธรรมชาติเป็ นที่โดดเด่นน่า
สนใจและงดงาม มิได้อยู่ในกรรมสิทธิโ์ ดยชอบด้วยกฎหมายของบุคคล
ใด โดยทั่วไปต้องมีพ้น
ื ที่ไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร เป็ นสถานที่
สงวนรักษาไว้เพื่อประโยชน์แก่การศึกษา และเป็ นสถานที่พักผ่อน
หย่อนใจของประชาชน โดยอาจจัดสิ่งอำนวยความสะดวกเท่าที่จำเป็ น
เช่น ถนน หรือเส้นทางไปชมธรรมชาติ ทีพ
่ ักดูแลและบำรุงรักษา
ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ริเริ่มต้นแบบการจัดอุทยานแห่งชาติขน
ึ ้ โดย
ประกาศให้เขตเยลโลสโตน (Yellowstone) เป็ นอุทยานแห่งชาติแห่ง
แรกของโลก (พ.ศ.2415) ต่อมาจึงมีประเทศต่าง ๆ รวมทัง้ ไทยจัดให้มี
อุทยานแห่งชาติขน ึ ้ ในประเทศของตนตามอย่างสหรัฐอเมริกา นับถึง

ปัั จจุบันเชื่อว่าทั่วโลกมีอุทยานแห่งชาติแล้วมากกว่า 1,392 แห่ง
สำหรับอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของไทย คือ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ตัง้ อยู่ในพื้นที่รอยต่อระหว่างจังหวัด นครราชสีมา นครนายก
ปราจีนบุรี และสระบุรี นอกจากนีย
้ ังมีอุทยานแห่งชาติอ่ น
ื ๆ เช่น
อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ตะรุเตา หมู่เกาะอ่างทอง เขาหลวง เป็ นต้น
87

(1.2) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า (Wildlife


Sanetuary)
หมาย
ถึงพื้นที่ที่กำหนดขึน
้ เพื่อให้เป็ นที่อยู่
อาศัยของสัตว์ป่าโดยปลอดภัย เพื่อ
ว่าสัตว์ป่าในพื้นที่ดังกล่าวได้มีโอกาส
สืบพันธุ์และขยายพันธุ์ตาม
ธรรมชาติได้มากขึน
้ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแห่งแรก คือ เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าสลักพระ จ.กาญจนบุรี ปั จจุบันประเทศไทย ได้ประกาศจัดตัง้
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแล้ว 34 แห่ง รวมพื้นที่ 16,305,294 ไร่ คิดเป็ น
ร้อยละ 5.08 ของพื้นที่ประเทศ

ภาพที่ 38 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

(1.3) วนอุทยาน (Forest Park)


หมายถึงพื้นที่ที่มีทิวทัศน์ธรรมชาติ
สวยงาม มีความเด่นในระดับท้องถิ่น ซึ่งจัดไว้เป็ นที่พักผ่อนหย่อนใจ
88

และเที่ยวเตร่ของประชาชน มีการปรับปรุงตกแต่งสถานที่ เพื่ออำนวย


ความสะดวก ให้เหมาะสม หลักทั่วไปในการจัดตัง้ วนอุทยาน คือ ต้องมี
ทิวทัศน์ที่สวยงาม เป็ นพื้นที่ที่อยู่ในป่ าสงวนแห่งชาติ มีพ้น
ื ที่ประมาณ
500-5,000 ไร่ อยู่ไม่ห่างไกลจากชุมชนมากนัก เป็ นสถานที่ที่
ประชาชนในท้องถิ่นรู้จักกันดี วนอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของ
ประเทศไทย คือ วนอุทยานน้ำตกกระเปาะ จังหวัดชุมพร ประกาศจัด
ตัง้ เมื่อปี พ.ศ.2501

ภาพที่ 39 วนอุทยาน

(1.4) เขตห้ามล่าสัตว์ป่า (Non-hunting


areas)
หมายถึงบริเวณที่ที่ราชการใช้ในราชการ
หรือใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน การ
กำหนดเขตห้ามล่าสัตว์ป่า จะประกาศขึน
้ เป็ น ราชกิจจานุเบกษา
กำหนดให้เป็ นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าชนิดใดหรือประเภทใดก็ได้ เว้นแต่ได้
รับอนุญาตจากอธิบดี กรมป่ าไม้เป็ นคราว ๆ ไป

(1.5) สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical Garden)


หมายถึงสถานที่ที่ราชการได้รวบรวม
พันธุ์ไม้ไว้ทุกชนิดทัง้ ในและนอกประเทศ ที่มีคณ
ุ ค่าทางด้านเศรษฐกิจ
ทางด้านความสวยงาม และที่หายากมาปลูกไว้โดยแยกเป็ นหมวดหมู่
และตระกูลเพื่อการศึกษาวิจัยและการเผยแพร่การขยายพันธุ์ ให้เป็ น
ประโยชน์แก่ประชาชนและแก่ประเทศชาติสืบไป สวนพฤกษศาสตร์ ที่
สำคัญและคนทั่วไปรู้จักเป็ นอย่างดี คือ สวนพฤกษศาสตร์พุแค จังหวัด
89

สระบุรี สวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง
จังหวัดตรัง เป็ นต้น

ภาพที่ 40 สวนพฤกษศาสตร์

(1.6) สวนรุกขชาติ (Arboretum)


หมายถึงสวนเล็ก ๆ มีพ้น
ื ที่น้อยกว่าสวน
พฤกษศาสตร์ สร้างขึน
้ เพื่อรวบรวมพันธุ์ไม้ต่างๆ ไว้ โดยเฉพาะไม้
ยืนต้นที่มีค่าทางเศรษฐกิจและไม้ดอกซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่นนัน
้ แต่มิได้
ปลูกเป็ นหมวดหมู่เหมือนอย่างในสวนพฤกษศาสตร์ แต่มีช่ อ
ื พันธุ์ไม้ติด
ไว้ มีการทำถนนและทางเท้าเข้าชม จุดมุ่งหมายเพื่อการพักผ่อนหย่อน
ใจและการศึกษา ปั จจุบันมีสวนรุกขชาติที่ดำเนินการอยู่ตามจังหวัด
ต่าง ๆ มากกว่า 15 แห่ง เช่น สวน
ภาพที่ 41 สวนรุกขชาติ
รุกขชาติสกุโณทยาน จังหวัดพิษณุโลกและสวน รุกขชาติธารโบกธรณี
จังหวัดกระบี่ เป็ นต้น

(1.7) พื้นที่สงวนชีวาลัย (Biosphere


Reserve)
90

หมายถึงพื้นที่อนุรักษ์สังคมพืชและสัตว์
ในสภาวะของระบบนิเวศที่เป็ นธรรมชาติ เพื่อรักษาความหลากหลาย
ทาง พันธุกรรมและเพื่อใช้เป็ นแหล่งศึกษาวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์
โดยเฉพาะข้อมูลพื้นฐาน ทัง้ ในสภาพแวดล้อมที่เป็ นธรรมชาติและที่ถูก
เปลี่ยนแปลงไป พื้นที่สงวนชีวาลัยนีม
้ ีการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความ
สะดวกในการศึกษาและฝึ กอบรมด้วย ซึ่งพื้นที่เหล่านีส
้ ภาประสานงาน
นานาชาติด้านมนุษย์และชีวาลัย (The Man and the Biosphere
International Co-ordinating Council) จะเป็ นผู้ประกาศ

(1.8)พื้นที่มรดกโลก (World Heritage)


หมายถึงพื้นที่ที่มีหรือเป็ นตัวแทน
ทรัพยากรธรรมชาติหรือปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่มีความเด่นในระดับ
โลก ซึ่งอาจประกอบด้วยวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของโลก (The
Earths Evolutionary History) ขบวนการทางธรณีและวิวัฒนาการ
ของสิง่ มีชีวิต (Geological Process and Biological Evolution)
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่พิสดารหรือลักษณะพิเศษเฉพาะตัวที่เป็ น
เอกลักษณ์ (Superative natural Phenomena) หรือระบบนิเวศที่
ประกอบไปด้วยสัตว์หรือพืชที่หายาก (Habitat Containing
Theatened Species) มีคุณค่าและความสำคัญทางชีวภาพ ซีง่ พื้นที่นี ้
ต้องได้รับการประกาศจาก UNESCO แหล่งมรดกโลกกระจายอยู่ทั่ว
ทุกภูมิภาคของโลกจนถึงเดือนธันวาคม 2535 มีทงั ้ หมด 378 แหล่ง
แบ่งเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม 278 แหล่ง มรดกทางธรรมชาติ 85
แหล่ง และเป็ นทัง้ มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ 15 แหล่ง แหล่ง
มรดกของไทยที่ได้รับการขึน
้ ทะเบียนเป็ นมรดกโลกทางวัฒนธรรมและ
91

ธรรมชาติ มี 4 แหล่งคือ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย


กำแพงเพชร อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา มรดกบ้านเชียง
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ทุ่งใหญ่นเรศวร การที่เขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง-ทุ่งใหญ่นเรศวร ได้รับการขึน
้ ทะเบียนเป็ น
มรดกโลก เนื่องจากมีคุณสมบัติตรง
ตามหลักเกณฑ์ข้อ 1 คือ มีคณ
ุ ค่า
และความสำคัญทางชีวภาพ และ
หลักเกณฑ์ข้อ 2 คือ มีลก
ั ษณะ
พิเศษเฉพาะตัวที่เป็ นเอกลักษณ์
และหลักเกณฑ์ข้อ 3 คือเป็ นแหล่ง
อาศัยของสัตว์ป่าและพรรณพืชนานาชนิด

(1.9) พื้นที่ลุ่มน้ำชัน
้ 1 (Watershed Class 1)
หมายถึงพื้นที่ป่าที่ป้องกันไว้เพื่อเป็ นต้น
น้ำลำธาร เป็ นแหล่งให้น้ำต่อพื้นที่ตอนล่าง มักเป็ นพื้นที่ตอนบนที่มี
ความลาดชันมาก ดินมีสมรรถนะในการพังทลาย เป็ นพื้นที่ที่ควรเก็บไว้
เป็ นแหล่งต้นน้ำลำธาร อุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

(1.10) ป่ าชายเลนอนุรักษ์ (Conservation


Mangrove Forest)
หมายถึงป่ าชายเลนที่หวงห้ามไม่ให้มีการ
เปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ประโยชน์ใด ๆ นอกจากจะปล่อยให้เป็ น
สภาพธรรมชาติ เพื่อรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ เป็ น
แหล่งเพาะพันธุ์พืชและสัตว์น้ำที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ พื้นที่ที่ง่ายต่อ

ภาพที่ 42 ป่ าชายเลนอนุรักษ์
92

การถูกทำลายและการพังทลายของดิน พื้นที่ป่าที่สมควรสงวนไว้เพื่อ
รักษาสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ เป็ นต้น เช่น กำหนดให้มีพ้น
ื ที่ที่
อยู่ห่างไม่น้อยกว่า 20 เมตร จากริมฝั่ งแม่น้ำ ลำคลองธรรมชาติ และ
ไม่น้อยกว่า 75 เมตรจากชายฝั่ งทะเลเป็ นป่ าชายเลนอนุรักษ์

(1.11) พื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติ (Natural


Conservation Area)
หมายถึงพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วย
เกาะ แก่ง ภูเขา หนอง บึง ทะเลสาบ ชายหาด ซากดึกดำบรรพ์ และ
ธรณีสัณฐานที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและ
เศรษฐกิจ ซึง่ ประกาศตามมติ ค.ร.ม. พ.ศ.2532

ภาพที่ 43 พื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติ

6.1.2 แนวทางการอนุรักษ์พืชหายากและใกล้จะสูญพันธุ์
93

แนวทางการอนุรักษ์พืชหายากและใกล้จะสูญพันธุ์
นัน
้ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะต้องดำเนินการ คือ การเร่งศึกษาพรรณ
พฤกษชาติของประเทศไทย (Flora of Thailand) ให้เสร็จสมบูรณ์ ซึ่ง
ข้อมูลนีไ้ ม่ใช่บอกเพียงลักษณะของพืชแต่ละชนิด แต่จะรวมถึงการกระ
จายพันธุ์ของพืชในสภาพป่ าชนิดต่างๆ อีกทัง้ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวน
ประชากรของพืชที่ปรากฏ พืชใดเป็ นพืชเฉพาะถิ่น (endernic
species) ฯลฯ ข้อมูลเหล่านีจ
้ ะเป็ นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการ
ทรัพยากรพืชของประเทศ การสำรวจพันธุ์ไม้ของไทยเท่าที่ผ่านมา
ตัง้ แต่อดีตถึงปั จจุบัน พบพันธุ์ไม้มีท่อลำเลียงอาหารอยู่ประมาณ
10,000 ชนิด ซึ่งเชื่อว่ามีพันธุ์ไม้อยู่อีกหลายชนิดที่ยังสำรวจไม่พบ
เนื่องจากมีอยู่หลายพื้นที่ที่นักสำรวจเข้าไปไม่ถึง เช่น พื้นที่บริเวณแนว
ต่อระหว่างประเทศ ซึง่ เป็ นพื้นที่เสี่ยงอันตราย บนเทือกเขาสูงชัน ถิ่น
ทุรกันดาร การคมนาคมเข้าไม่ถึง บริเวณเหล่านีถ
้ ้าได้ทำการสำรวจ
อาจพบพันธุ์พืชหายาก ซึง่ สามารถขึน
้ ได้เฉพาะสภาพนิเวศน์นน
ั้ ๆ
เท่านัน
้ และเมื่อสภาพนิเวศน์นน
ั ้ ๆ ถูกทำลายไป ไม่ว่าจะโดยอิทธิพล
ทางธรรมชาติหรือมนุษย์เป็ นผู้กระทำขึน
้ พืชเหล่านีอ
้ าจจะสูญพันธุ์ไป
เสียก่อนที่จะมีผู้ใดค้นพบก็เป็ นได้ เช่น ตามภูเขาสูง มีชาวเขาอพยพ
เข้าไปอาศัยอยู่ พื้นที่ที่ปกคลุมไปด้วยพืชพันธุ์นานาชนิดจะถูกทำลาย
อยู่ตลอดเวลา เพื่อทำเป็ นพื้นที่ในการเพาะปลูก ทำไร่เลื่อนลอย ใน
การขุดรากถางพงแต่ละครัง้ เป็ นการทำลายสภาพนิเวศน์ของพืชทัง้ สิน

การอนุรักษณ์พืชที่กำลังจะสูญพันธุ์จึงเป็ นเรื่องที่จะต้องนำมาพิจารณา
ในการจัดทรัพยากรธรรมชาติ และการวางแผนใช้ประโยชน์ไม้ ใน
ประเทศไทยถึงแม้ว่าไม่เคยมีการศึกษาค้นคว้าพืชที่ใกล้จะสูญพันธุ์
94

อย่างจริงจัง แต่คาดว่ามีพืชเป็ นจำนวนไม่น้อยที่สูญหายไปจากถิ่น


กำเนิดดัง้ เดิม การอนุรักษ์ทรัพยากรพืชจึงมีความจำเป็ นอย่างยิ่ง เพื่อ
เก็บรักษาพันธุ์พืชที่กำลังจะสูญพันธุ์ แต่อาจมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ
ในอนาคตไว้ และเพื่อเก็บรักษาประชากรพืชที่มีคณ
ุ ลักษณะพิเศษ
สำหรับการปรับปรุงพัฒนาพันธุ์พืชไว้ เช่น มีความต้านทานต่อโรค
แมลง ทนความแห้งแล้งได้ดี หรือพันธุ์พืชที่เก็บรักษาไว้อาจจะใช้เป็ น
ประชากรพืชสำหรับคัดเลือกพันธุ์ต่อไปได้ หรือเพื่อเก็บรักษาพันธุ์พช

ไว้สำหรับเป็ นแหล่งงานวิจัยทางพันธุศาสตร์ในอนาต ซึง่ การอนุรักษ์นี ้
ทำได้โดย

(1) เก็บรักษาไว้ในสภาพป่ า (in situ)


ซึ่งเป็ นการอนุรักษ์แหล่งที่อยู่ของพืช (habitat
conservation) โดยการพิจารณาพื้นที่ที่เป็ นแหล่งที่อยู่ของพืชที่ใกล้
จะสูญพันธุ์ หรืออยู่ในขัน
้ เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ให้พ้นจากการกระทำ
ของมนุษย์ โดยการหยุดทำลายแหล่งที่อยู่ของพืช เพื่อป้ องกันความสูญ
เสียที่จะตามมา และต้องพยายามทำให้แหล่งที่อยู่ของพืชที่ถูกทำลาย
ไปแล้วกลับคืนสูส
่ ภาพธรรมชาติ เช่น มีการควบคุมไฟป่ า การปลูกป่ า
ทดแทน หรือพื้นที่ใดที่มีพืชหายากขึน
้ อยู่จะต้องมีการควบคุมอย่างเข้ม
งวด ได้แก่ การประกาศท้องที่เป็ นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งเป็ นบริเวณที่มี
พันธุ์พืชหลายชนิดขึน
้ อยู่ มีทงั ้ ไม้ป่าผลยืนต้นบางชนิดที่อาจใช้เป็ น
ประโยชน์ได้ เช่น มะม่วงป่ า กระท้อนป่ า นอกจากนีย
้ ังมีพืชสมุนไพร
ขึน
้ ปะปนอยู่มาก ซึ่งถือเป็ นแปลงอนุรักษ์พันธุ์ในสภาพป่ าได้เป็ นอย่าง
ดี โดยมีกฎหมายควบคุมมิให้มีการกระทำใดๆ ในพื้นที่เหล่านัน
้ วิธีนจ
ี้ ะ
ทำให้พืชมีการขยายพันธุ์ได้เองตามธรรมชาติ ดีกว่าที่จะนำพืชมาปลูก
95

ในที่ใหม่ เพราะประชากรพืชที่เพิ่มมาใหม่ก็จะสนองตอบต่อสภาพ
แหล่งที่อยู่นน
ั ้ ได้เป็ นอย่างดีต่อไป ตลอดจนมีความสัมพันธ์กับพืชชนิด
อื่น สัมพันธ์กับแมลงหรือสัตว์ต่างๆ ที่ช่วยในการผสมเกสรหรือเป็ น
พาหะในการกระจายพันธุ์ ถ้าพืชสูญพันธุ์ไปอาจจะก่อให้เกิดการสูญ
พันธุ์ของแมลงและสัตว์ที่เป็ นพาหะนีต
้ ามมาด้วยก็เป็ นได้

(2) โดยการเก็บในแปลงรวบรวมพันธุ์ (ex situ)


วิธีนี ้ ได้แก่ การเก็บพันธุ์พืชหายากหรือใกล้จะ
สูญพันธุ์มาปลูกไว้ในแปลงขยายพันธุ์ในสวนพฤกษศาสตร์ สวน
รุกขชาติ และก็พยายามทำสภาพนิเวศน์ให้เหมือนธรรมชาติตามที่พืช
นัน
้ ขึน
้ อยู่ แต่เนื่องจากพืชหายากนีม
้ ักมีเขตการกระจายพันธุ์อยู่เพียง
จำกัด เนื่องจากปั จจัยเกี่ยวกับดิน (edaphic) ภูมิอากาศ (climatic)
และสภาพภูมิประเทศ (topographic) การจะสร้างแหล่งที่อยู่อาศัยให้
เหมาะสมกับพืชที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้ตลอดไปจึงเป็ นการยาก ดังจะเห็น
ได้จากการไม่ประสบผลสำเร็จในการนำพืชเหล่านีม
้ าปลูกในสวน
พฤกษศาสตร์หรือสวนรุกขชาติ ดังนัน
้ ทางที่ดีจึงควรที่จะพยายามคงไว้
ซึง่ แหล่งที่อยู่เดิมที่เป็ นธรรมชาติของพืชไว้จะดีกว่า นอกจากจะ
เป็ นการอนุรักษณ์พันธุ์พืชแล้วยังเป็ นการคงไว้ซึ่งความงามที่เป็ น
เอกลักษณ์ของภูมิประเทศแต่ละท้องที่ให้คงสภาพ ธรรมชาติสืบไป

6.2 วิธีและนโยบายการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย
96

6.2.1 นโยบายป่ าไม้แห่งชาติ : ความหวังแห่งอนาคตของ


ป่ าไม้เมืองไทย
หากย้อนไปดูสถานการณ์ป่าไม้ของประเทศไทยใน
ช่วงมากกว่า 30 ปี ที่ผ่านมา คงปฏิเสธไม่ได้ว่า พื้นที่ป่าของประเทศอยู่
ในสถานการณ์วิกฤตและมีพ้น
ื ที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง รวมถึงโครงการ
ต่าง ๆ ที่คุกคามผืนป่ าและสัตว์ป่าก็ปรากฎตามสื่อต่าง ๆ มาอย่างต่อ
เนื่อง โดยรัฐบาลเองได้พยายามแก้ไขปั ญหาดังกล่าวมาโดยตลอด จน
กระทั่งในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2528 ได้มีการจัดตัง้ คณะกรรมการ
นโยบายป่ าไม้แห่งชาติ เพื่อทำหน้าที่กำหนดนโยบายว่าด้วยการป่ าไม้
ของชาติและกำหนดแนวทางการจัดการป่ าไม้ในระยะยาว ซึ่งได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2528 โดย
เป็ นกรอบแนวทางการบริหารทรัพยากรป่ าไม้ของประเทศมาจวบจน
ปั จจุบัน ซึ่งมีเป้ าหมายสำคัญที่ทราบกันดีในการกำหนดให้มีพ้น
ื ที่ป่าไม้
ทัง้ ป่ าอนุรักษ์และป่ าเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 ของประเทศ
คณะกรรมการนโยบายป่ าไม้แห่งชาติชุดแรก ได้ถูกยกเลิกไปโดย
เหตุผลเพื่อให้มีการจัดตัง้ คณะกรรมการชุดใหม่ที่มีความสอดคลองกับ
ยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรธรรมชาติของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมในขณะนัน
้ โดยควรมีองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่
ครอบคลุมทรัพยากรอื่น ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็ น ดิน หิน แร่ ป่ าไม้ และ
ชายฝั่ ง อย่างไรก็ตามช่วงเวลาที่ผ่านมาก็ไม่สามารถดำเนินการจัดตัง้
คณะกรรมการดำเนินงานตามกรอบที่วางไว้ได้ จนกระทั่งวันที่ 6
พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ได้กำหนดให้มี ‘คณะกรรมการนโยบายป่ าไม้
แห่งชาติ พ.ศ. 2560’ เพื่อดำเนินการจัดทำนโยบายป่ าไม้แห่งชาติและ
97

แผนแม่บทเพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาป่ าไม้และ


ทรัพยากรธรรมชาติ ซึง่ มีกรอบการจัดทำตามหลักวิชาการและหลัก
การกำหนดนโยบาย อันได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และความ
มั่นคง โดยมีคำสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการจัดทำร่างนโยบายป่ าไม้แห่ง
ชาติและร่างแผนแม่บทพัฒนาป่ าไม้แห่งชาติ เพื่อจัดทำร่างดังกล่าวให้
แล้วเสร็จโดยเร็ว เป็ นเวลากว่า 30 ปี ในความพยายามสร้างกรอบ
แนวทางการบริหารทรัพยากรป่ าไม้ให้เป็ นไปอย่างสมดุลและเป็ น
เอกภาพ ที่เรียกว่า ‘นโยบายป่ าไม้’ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 ที่
ประชุมคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติเห็นชอบนโยบายป่ าไม้แห่งชาติ
อันประกอบด้วยเนื้อหาครอบคลุม 3 ด้านหลักๆ ดังนี ้

(1) ด้านการจัดการป่ าไม้ มีเนื้อหา 13 ข้อ


โดยเน้นในเรื่องการบริหารจัดการป่ าไม้ สัตว์ป่า
และที่ดินของรัฐอย่างเป็ นระบบและเป็ นธรรม เพื่อตอบโจทย์เป้ าหมาย
ที่กำหนดให้มพ
ี ้น
ื ที่ป่าไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 ของประเทศ แบ่งเป็ นป่ า
อนุรักษ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25, ป่ าเศรษฐกิจและป่ าชุมชน รวมกันไม่
น้อยกว่าร้อยละ 15 ของประเทศ

(2) ด้านการใช้ประโยชน์ผลิตผลและบริการจากป่ าไม้


และอุตสาหกรรมป่ าไม้
มีเนื้อหา 4 ข้อ เกี่ยวข้องในเรื่องของการส่ง
เสริมด้านไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร ตัง้ แต่กระบวนการปลูก การ
98

รับรอง และซื้อ-ขาย และใช้ประโยชน์บริการทางนิเวศอย่างสมดุลและ


ยั่งยืน

(3) ด้านการพัฒนาระบบบริหารและองค์กรเกี่ยวกับ
การป่ าไม้จำนวน 7 ข้อ
มีเนื้อหาเน้นไปในระดับนโยบายและการ
บริการงานขององค์กรป่ าไม้ การพัฒนาโครงสร้าง ศักยภาพของหน่วย
งาน ธรรมาภิบาล ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับป่ าไม้ให้
สอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ปัจจุบัน

ดังนัน
้ กระบวนการสำคัญต่อจากนี ้ คือ การจัดทำแผนแม่บท
พัฒนาการป่ าไม้แห่งชาติ ซึ่งอยู่ในระหว่างการร่างแผนและการรับฟั ง
ความคิดเห็นจากผูเ้ กี่ยวข้องและนักวิชาการ โดยแผนแม่บทนีจ
้ ะเปรียบ
เสมือนเป็ นกลไกหรือเครื่องมือที่จะแปลงนโยบายป่ าไม้แห่งชาติสู่การ
ปฏิบัติอย่างเป็ นรูปธรรม ที่มีถ่ายทอดเนื้อหาที่ถูกกำหนดในนโยบายป่ า
ไม้แห่งชาติออกมาเป็ นแผนระดับหน่วยงาน และมีการทบทวนทุก ๆ 3
ปี ตามความเหมาะสมของสถานการณ์ทงั ้ ในระดับชาติและระดับ
นานาชาติ
99

บทที่ 7
สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
7.1 สรุปผลการศึกษา
จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากใน
ประเทศไทย พบว่าพันธุ์ไม้หายากนัน
้ มีประโยชน์มากมายหลายอย่าง
หลายด้านที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์เรา สาเหตุที่พันธุ์ไม้มีจำนวนลดน้อยลง
ไปอย่างต่อเนื่อง เกิดจากพฤติกรรมการกระทำของมนุษย์เป็ นส่วนใหญ่
เป็ นการกระทำที่ไม่เหมาะสม และไม่ถูกต้องที่ส่งผลต่อพันธุ์ไม้ใน
ทางลบ ในการศึกษาเรื่องนี ้ คณะผู้จัดทำต้องการให้ผู้คนตระหนักต่อ
พฤติกรรมของตนเองที่ทำลายธรรมชาติไปอย่างล้นหลามเพื่อความ
ต้องการของตนเอง เราจึงควรช่วยกันอนุรักษ์ส่งเสริมพันธุ์ไม้หายากนี ้
ไว้ให้คงอยู่ยังชั่วลูกชั่วหลานต่อไป

7.2 ข้อเสนอแนะ
100

(1)ควรศึกษาพันธุ์ไม้ยืนต้นหายากเฉพาะในพื้นที่จังหวัด
ศรีสะเกษเพราะจะทำให้ข้อมูลที่ได้มีความแม่นจำมาก
ยิ่งขึน

(2)ควรลงพื้นที่เพื่อสอบถามเกี่ยวกับชนิดพันธ์ุไม้ยืนต้นหา
ยากในประเทศไทยกับหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านป่ าไม้
(3)สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อให้ได้
ข้อมูลที่ครบถ้วนและน่าเชื่อถือ
101

บรรณานุกรม
กรมป่ าไม้. แสลงใจ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3IsEn5u. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
กรมป่ าไม้ -เครือข่ายราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า-. วัฏจักรของน้ำ.
(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3snLUgl.
สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
กรมอุทยานแห่งชาติ. กันเกรา. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3Iqn59d. สืบค้น ๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สุพรรณิการ์ ดอกไม้สูงค่าคู่
ฟ้ า นำพาความเจริญสูงส่งมาสู่คุณ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3IqoOLI. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
กระปุก. 10 ต้นไม้ยืนต้นออกดอกสวย ให้ร่มเงา ปลูกง่าย ความ
หมายดีเป็ นมงคล. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3Inf9pe. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
______. 10 ไม้ดอกคลุมดินขนาดเล็ก ปลูกง่าย โตไว ทนแดด ใช้
แทนหญ้าได้. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/35u7NBA.
สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย. ป่ า. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3M2NewO. สืบค้น ๖ ธันวาคม ๒๕๖๔.

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. รวงผึง้ . (ออนไลน์). เข้าถึงได้


จาก : https://bit.ly/33RSQJ5.
สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ความรู้เสริมเกี่ยวกับป่ า
และสิ่งแวดล้อม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/35rOlW7. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
ครูเป็ นหนึ่ง. ไม้พุ่ม หรือ ไม้คลุมดิน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3pkUp9U. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.).
จันทร์หอม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้ จาก :
https://bit.ly/3t3VP9O. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
จำลอง เพ็งคล้าย. พันธุ์ไม้ที่หายากบางชนิดของไทย. (ออนไลน์). เข้า
ถึงได้จาก :
https://bit.ly/3IrDyK4. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
สำรอง สรรพคุณและประโยชน์ของลูก
สำรอง 30 ข้อ ! (พุงทะลาย). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3skxz4j. สืบค้น ๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ห้องเรียนผู้ประกอบการ -
บทความ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3t7nQ0t. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.

เต็ม สมิตินันทน์ . ลูกปื นใหญ่ (พืช) . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :


https://bit.ly/3skXLvr. สืบค้น ๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
ทวีศักดิ ์ อุ่นจิตติกุล. 'ป่ าไม้เมืองไทย'วิกฤติร้ายแรง ต้องจัดสรรงบฯ
แก้ไข!. เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3M3Nj3t. สืบค้น
๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
ธัญนันท์ วีระกุล. มณฑา. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3M7gLp9. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕.
ธนารักษ์ คุณทน. 10 อันดับพันธุ์ไม้ไทย หายาก-ราคาแพง.
(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3C1ICmg.
สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
นัฏฐรินีย์ บุตรดีวงศ์. ไม้ต้น. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3M10y51. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม
๒๕๖๔.
นิจศิริ เรืองรังษี. กระเบา สรรพคุณและประโยชน์ของกระเบาใหญ่
22 ข้อ ! (กระเบาน้ำ). (ออนไลน์).
เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3t3WmbO. สืบค้น ๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
___________. 22 สรรพคุณและประโยชน์ของต้นแสลงใจ ! (ตูม
กาแดง). (ออนไลน์). เข้าถึงได้ จาก :
https://bit.ly/3IsEpKE. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.

นิดดา หงส์วิวัฒน์. มะขวิด. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :


https://bit.ly/3sn94U5. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕.
ปิ ยะ เฉลิมกลิ่น. กระดังงา. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3BS3E6L. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕.
พันธุ์พืชในสยามประเทศ. ต้นไม้ 'จำปาป่ า' (จำปาทอง) ประโยชน์
สรรพคุณ วิธีปลูกดูแล?. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3smBn57. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
พันธุ์ไม้พระราชทาน. ชิงชัน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3K2WuiZ. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕.
พันธุ์ไม้มงคลพระราชทาน. เทพทาโร. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3vkZQtA. สืบค้น ๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
___________________. สาธร (พรรณไม้). (ออนไลน์). เข้าถึงได้
จาก : https://bit.ly/3vhzQz6.
สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
พร้อมจิต ศรลัมพ์. ทานาคา ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเด่นๆ และข้อมูล
งานวิจัย. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3pfAx8o.
สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.

พิศ พิศาล. การตัดไม้ทำลายป่ าให้ผลเสียมากกว่าที่คิด!!!. (ออนไลน์).


เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3HrGRzI. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ. จันผา สรรพคุณและประโยชน์จันผา 26 ข้อ!
(จันทร์ผา, จันทน์ผา, จันทน์แดง). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3vjCBjm. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. รายงานสถานการณ์ป่าไม้ไทย ประจำปี 2562
– 2563. (ออนไลน์). เข้าถึงได้ จาก :
https://bit.ly/33W52Zw. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
เมือง วงมา. ไม้ล้มลุก. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3MeOo8O. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
ระบบจัดการฐานความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ. แนวทางการ
อนุรักษ์พืชหายากและใกล้จะ สูญพันธุ์. (ออนไลน์). เข้าถึง
ได้จาก : https://bit.ly/356GWvM. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
ระบบสืบค้นข้อมูลพรรณไม้และพืชผักท้องถิ่นของภาคเหนือตอนบน
ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ. ไม้ยืนต้น
(Tree). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3BSotPs.
สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
ราชันย์ ภู่มา. สุพรรณิการ์. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3M2SQXU. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ ายมัธยม. ต้นสักทอง.


(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3JOcuFk.
สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
วิชัย ริว้ ตระกูล. รงทอง สรรพคุณและประโยชน์ของต้นรงทอง 9 ข้อ
!. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3JTUsS0. สืบค้น
๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
วิทยา บุญวรพัฒน์. กำยาน สรรพคุณและประโยชน์ของกำยานต้น
17 ข้อ !. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3Hlp0u7.
สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. พะยูง สรรพคุณและประโยชน์ของต้นพะยูง
ไม้พะยูง 10 ข้อ !. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3hlPQI2. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
วิภา ศรีสงั วร. ไม้เลื้อย. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3KeE6np. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
วรรณวนาลัย ไพสณฑ์ศรลักษณ์. การทำลายป่ า. (ออนไลน์). เข้าถึงได้
จาก : https://bit.ly/3vf6jWO.
สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
ศูนย์ข้อมูลพืช สำนักวิชาการ-วิจัย องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กรม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
ชมภูพูคา. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3IqpccS. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.

สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มะดูก.


(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3BRovai. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม. อบเชย. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3sku0Lu. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สารสนเทศท้องถิ่นนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาธร ไม้
มงคลนาม ปลูกง่ายคลายร้อนได้ดี. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3BQEcOZ. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สวี วรกาญจน์. ชิงชัน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/359QTs4. สืบค้น 8 กุมภาพันธ์ 2564.
สุพรทิพย์ ซอสุขไพบูลย์. อโศกอินเดีย. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/35c7c7R. สืบค้น ๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์. การอนุรักษ์พันธุ์ไม้. (ออนไลน์). เข้าถึง
ได้จาก : https://bit.ly/3tb1jjf. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕.
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ. ไทยมีป่าไม้รงั ้
ท้ายในอาเซียน แต่ข่าวดีเมื่อมีพ้น
ื ที่
เพิ่ม 3.3 แสนไร่. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://gfms.gistda.or.th/node/98.
สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.

_______________________________________. วิกฤตป่ าไม้


ไทย ผลักดันยุทธศาสตร์ชาติ.
(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://bit.ly/3pjJU6J. สืบค้น
๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สำนักงานบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 (ปราจีนบุรี). ตาราง พื้นที่เสี่ยงต่อการ
ถูกบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3BSYgA8. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
สำนักงานบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สาขาลำปาง. ตาราง พื้นที่เสี่ยงต่อการ
ถูกบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3smCqSD. สืบค้น ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
เอกลักษณ์ ถนัดสวน. “องุ่นทะเล” ไม้ใหญ่มาแรง. (ออนไลน์). เข้าถึง
ได้จาก : https://bit.ly/3MfSF. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์
๒๕๖๕.
อัจฉรา ตีระวัฒนานนท์. ไม้ล้มลุก. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3suS26B. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม.2564
_________________. ไม้พุ่ม. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3MeOs8y. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
อรทัย ภู่พพ
ิ ัฒน์. กร่าง. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3JWmcFM. สืบค้น ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕.
เอกสารวิชาการงานราชพฤกษ์ 2549:กรมวิชาการ “ไม้ประดับ”. ไม้
ประดับ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3Humy4U. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.

อรรถพล เจริญชันษา. กรมป่ าไม้ปลดล็อค!ตัด"ไม้หวงห้าม-ไม้หา


ยาก"ในที่ดินกรรมสิทธิไ์ ม่ผิดกฏหมาย!. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3M14DGh. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.
โฮมบายเออร์ไกด์. 10 ไม้พุ่ม ทนแดด ทนฝน ดูแลง่าย. (ออนไลน์).
เข้าถึงได้จาก :
https://bit.ly/3pivi7G. สืบค้น ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔.

You might also like