You are on page 1of 23

แบบบันทึกการสั งเกตบทบาทหน้ าทีข่ องครู ในสถานศึกษา

เพื่อสร้ างแรงบันดาลใจและทัศนคติต่อวิชาชีพครู

รายวิชาความเป็ นครู วชิ าชีพ

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565

นาย พัชรพล อยู่เพ็ชร์

รหัสประจําตัวนักศึกษา 3074655007

สาขาวิชา ดนตรีศึกษา

วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี

สั งกัด สถาบันบัณฑิตพัฒ นศิลป์ กระทรวงวัฒ นธรรม

อําเภอ เมืองลพบุรี จังหวัด ลพบุรี


คํานํา
แบบบันทึ กการสังเกตบทบาทหน้าที่ ของครู ในสถานศึ กษาเพื่อสร้ างแรงบัน ดาลใจและ
ทัศ นคติ ต่อวิช าชี พครู ของนักศึ กษาชั้น ปี ที่ 1 ราชวิชา ความเป็ นครู วิชาชี พ เพื่อให้นักศึ กษาได้มี
โอกาสเรี ย นรู ้ แ ละเข้า ใจวิ ช าชี พ ครู ด้า นกระบวนการการเรี ย นการสอน หลัก สู ต ร ระบบการ
บริ หารงานการศึกษาในโรงเรี ยน และได้ทาํ งานร่ วมกับผูอ้ ื่น ซึ่ งกิจกรรมเหล่านี้ จะสามารถพัฒนา
ความรู ้ ความสามารถของนักศึ กษาได้เป็ นอย่างดี การฝึ กปฏิ บตั ิ วิชาชี พระหว่างเรี ยนเป็ นการฝึ ก
ประสบการณ์ วิชาชี พครู เพื่อเตรี ยมความพร้ อมก่ อนออกปฏิ บตั ิ การสอนในสถานศึ กษาโดยการ
สังเกตสภาพทัว่ ไปของโรงเรี ยน พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนงานในหน้าที่ครู ผสู ้ อน ครู ประจํา
ชั้น การศึกษางานด้านการบริ การ สภาพชุมชนและความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรี ยนกับชุมชน

ขอขอบพระคุณ (ครู /อาจารย์) ประสงค์ จันทพันธุ์

ที่ให้คาํ แนะนําในการสังเกตการสอนครั้งนี้หากเกิดข้อผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ โอกาสนี้

นาย พัชรพล อยูเ่ พ็ชร์

นักศึกษาชั้นปี ที่ 1
สารบัญ

เรื่ อง หน้ า

คํานํา

สารบัญ
แบบบันทึกการสังเกตสภาพทัว่ ไปของโรงเรี ยน 1

แบบบันทึกสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน 14

แบบบันทึกการสังเกตสภาพชุมชนและความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรี ยนกับชุมชน 17

แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบตั ิงาน 19

แบบสัมภาษณ์การจัดการเรี ยนรู ้ (สัมภาษณ์ครู /อาจารย์พี่เลี้ยง) 20


1

แบบบันทึกการสั งเกตสภาพทัว่ ไปของโรงเรีย น


คําชี้แจง ให้นกั เรี ยนบันทึกข้อมูลการศึกษาและสังเกตสภาพทัว่ ไปตามความเป็ นจริ งของ
สถานศึกษาลงใน
ช่องว่างตามหัวข้อที่กาํ หนด

1. โรงเรียน วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


สังกัด กระทรวงวัฒนธรรม
เลขที่ 121/9 ซอย/ถนน รามเดโช ตําบล/แขวง ทะเลชุบศร อําเภอ/เขต เมือง
จังหวัด ลพบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 15000 โทรศัพท์ - โทรสาร 036412150
2. คติธรรม/ปรัชญาของโรงเรียน/วิสัยทัศ น์ ของโรงเรีย น
คติธรรม = สัจจะ เมตตา สามัคคี
ปรัชญา = สาธุ โข สิ ปฺปกํ นาม อปิ ยาทิสกีทิสํ ขึ้นชื่อว่าศิลปะแม้เช่นใดเช่นหนึ่ง ก็ยงั
ประโยชน์ให้
สําเร็ จได้
วิสยั ทัศน์ = เป็ นศูนย์กลางองค์ความรู ้ ด้านนาฏศิลป์ -ดนตรี เป็ นที่ยอมรับระดับชาติสู่
อาเซี ยน
3. ชื่ อผู้บริหารโรงเรีย น นายลิขิต สุ นทรสุ ข
รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน นายณรงค์ฤทธิ์ คงปิ่ น
นางอารี แม่นมัน่
นางไพเราะ เหมบุตร
นายสุ ระชัย สี บุบผา
ฝ่ ายบริ หาร นายณรงค์ฤทธิ์ คงปิ่ น
ฝ่ ายวิชาการ นางอารี แม่นมัน่
ฝ่ ายกิจการนักเรี ยน/นักศึกษา นายสุ ระชัย สี บุบผา
ฝ่ ายศิลปวัฒนธรรม นางไพเราะ เหมบุตร
2

4.บุคลากร

จํานวน
ระดับการศึกษา สาขาวิชา ชาย หญิง รวม
ปริ ญญาเอก สุ ขศึกษา 1
แนะแนว 4
ภาควิชานาฏศิลป์ 1 1
ภาควิชาดุริยางคศิลป์ 1
ปริ ญญาโท วิทยาศาสตร์ 3
ภาษาไทย 2
คณิ ตศาสตร์ 1
การงานอาชีพ 1 33
ภาษาต่างประเทศ 1
คอมพิวเตอร์ 1
ภาควิชานาฏศิลป์ 4 8
ภาควิชาดุริยางคศิลป์ 9 3

ปริ ญญาตรี คณิ ตศาสตร์


สุ ขศึกษาและพลศึกษา 1
ภาษาต่างประเทศ 1 17
ภาควิชานาฏศิลป์ 5 2
ภาควิชาดุริยางคศิลป์ 5 3

ครู อตั ราจ้าง ภาษาไทย


สังคมศึกษา 2
คอมพิวเตอร์ 6
ภาควิชานาฏศิลป์ 1 1
ภาควิชาดุริยางคศิลป์ 1 1
ธุรการ เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 1
อื่นๆ
รวม 28 33 61
3

4.1 ครู อาจารย์

4.2 ครู อาจารย์ มีท้ งั หมด 61 คน เป็ นหญิง 33 คน เป็ นชาย 28 คน

4.3 คนงาน มีท้ งั หมด 24 คน เป็ นหญิง 11 คน เป็ นชาย 9 คน

4.4 นักเรี ยน มีท้ งั หมด 250 คน เป็ นหญิง 150 คน เป็ นชาย 100 คน

แยกตามลําดับชั้นต่าง ๆ ได้ดงั นี้


ระดับชั้น จํานวนห้ อง จํานวนนักเรีย น
หญิง ชาย รวม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 1 12 11 23
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2 24 7 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 2 22 9 31
รวม 6 58 27 85
ประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 1 2 22 23 45
ประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 2 2 24 22 46
ประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 3 2 46 28 74
รวม 6 92 73 165
รามทั้งสิ้น 12 150 100 250

สรุ ปอัตราส่ วนระหว่างจํานวนครู อาจารย์ต่อจํานวนนักเรี ยน เท่ากับ 1 : 5


5. อาคารสถานที่
5.1 ห้องเรี ยน มีท้ งั หมด 15 ห้อง
5.2 ห้องพักครู มีท้ งั หมด 7 ห้อง
5.3 ห้องส่ งเสริ มวิชาการ มีท้ งั หมด 7 ห้อง (ระบุชื่อห้อง)
4

5.3.1 ห้องคอมพิวเตอร์ 2 ห้อง


5.3.2 ห้องโสต 1 ห้อง
5.3.3 ห้องวิทยาศาสตร์ 2 ห้อง
5.3.4 ห้องสมุด 1 ห้อง
5.3.5 ห้องพยาบาล 1 ห้อง

6. สภาพแวดล้ อม
6.1 สถานที่สาํ คัญที่อยูใ่ กล้โรงเรี ยน ได้แก่ วัดคลองสายบัว
6.2 สถานที่ใกล้เคียงโรงเรี ยนที่เป็ นแหล่งวิทยาการส่ งเสริ มการจักการเรี ยนการสอน
- กรมอุตุวทิ ยา
7. สภาพของนักเรีย น
7.1 สภาพของครอบครัว (อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ)
โดยส่ วนรวมผูป้ กครองของนักเรี ยนมีอาชีพรับจ้างทัว่ ไป
7.2 พฤติกรรมนักเรี ยน
โดยส่ วนมากนักเรี ยนปฏิบตั ิตามกฎของวิทยาลัย
8. ภาระหน้ าที่ของครู ผู้สอน
8.1 ครู ประจําชั้นทํา
ทําหน้าที่คอยดู สังเกต ดูแลเด็กนักเรี ยน และให้คาํ ปรึ กษาเด็กนักเรี ยน
8.2 งานอื่น ๆ
ทําหน้าที่เป็ นธุรการดูแลนักเรี ยน เวลาไปปฏิบตั ิราชการงานหลวง ตามที่ทาง
วิทยาลัยกําหนด
5

9. แผนผังแสดงบริเวณและที่ต้งั ของโรงเรีย น

10. ประวัติโรงเรีย น

กระทรวงศึกษาธิ การ ได้ประกาศตั้งวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2524


ตามโครงการพัฒ นาและจัด ตั้ง วิท ยาลัย นาฏศิ ล ปส่ วนภู มิ ภ าค โดยมี ว ตั ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
เผยแพร่ และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ด้านนาฏศิลป์ ไทย และดุริยางค์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี
ได้เริ่ มปฏิบตั ิงาน ตั้งแต่เดื อนตุลาคม 2525 โดยกรมศิลปากร ได้มีคาํ สั่งแต่งตั้งให้ นายสิ ริชยั ชาญ
ฟั กจํา รู ญ มาปฏิ บ ตั ิ หน้า ที่ ในตํา แหน่ งผูอ้ าํ นวยการ ทั้งนี้ ได้รับ ความอนุ เคราะห์ สถานที่ ท าํ งาน
ชัว่ คราว จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จ พระนารายณ์ และที่การหน่วยศิลปากรที่ 1 ลพบุรี
จนปี การศึ ก ษา 2526 จึ ง ได้ย า้ ยมาอยู่ส ถานที่ ปั จ จุ บ นั มี ผูอ้ าํ นวยการทั้ง สิ้ น 10 คน ผูอ้ าํ นวยการ
วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรีคนปั จจุบนั คือ นายลิขิต สุ นทรสุ ข
6

11. ข้ อมูลโรงเรีย นดีเด่ น

11.1 สถานศึกษา

ที่ รายการผลงาน ภาพ


1 กองทัพบก มอบประกาศเกียรติบตั รเพื่อแสดงว่า
วิท ยาลัยนาฏศิ ลปลพบุรี สถาบัน บัณฑิ ตพัฒนศิ ลป์ ได้เข้า
ร่ วมโครงการ “ ค่ายเยาวชนส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรม ”
ประจําปี 2563 ร่ วมกับมณฑลทหารบกที่ 13 เพื่อนําพลังกาย
พลังใจ และพลังสมอง ร่ วมกันคิดร่ วมทํากิจกรรมต่าง ๆ ที่
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ พิทกั ษ์เทิดทูนสถาบัน
ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ยต์ ่อไป
2 วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ได้เข้าร่ วมโครงการสัมมนาเชิง
ปฏิบตั ิการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ผูน้ าํ นักศึกษา “ หัวใจทําความ
ดีเพื่อความดี ” ระหว่างวันที่ 11-13 ตุลาคม 2563 ณ คุม้ พญา
รี สอร์ท อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

3 วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี เปิ ดเวทีการแสดงกลางแจ้ง


นารายณ์สงั คีด วันที่ 2 เมษายน 2564
7

11.2 ครู /อาจารย์

ที่ รายการผลงาน
1 นายลิขิต สุ นทรสุ ข ประกาศเกียรติคุณ เป็ นผูช้ ่วยเหลือสังคมและสนับสนุนกิจกรรมแก่ชุมชน
อย่างดียงิ่
2 นายสมชาย ฟ้อนรําดี ได้รับรางวัลพฤหัสบดี ประจําปี 2564 ประเภทบุคคล กลุ่มครู และ
คณาจารย์ระดับจังหวัด
3 นายสมชาย ฟ้อนรําดี ได้รับรางวัลผูบ้ งั คับบัญชาลูกเสื อดีเด่น ประจําปี 2564 ประเภทผูส้ อน
4 นายสมชาย ฟ้อนรําดี ได้รับรางวัลพระศิวะนาคราช เชิดชูเกียรติบุคคลและองค์กร นานาชาติ
ประจําปี 2564
5 ผศ.ดร.วาริ นท์พร ฟันเฟื่ องฟู ได้รับรางวัลพฤหัสบดี ประจําปี 2564 ประเภทบุคคล กลุ่มครู และ
คณาจารย์ระดับจังหวัด
6 ผศ.ดร.ปภาอร แก้วสว่าง ได้รับรางวัลพฤหัสบดี ประจําปี 2564 ประเภทบุคคล กลุ่มครู และ
คณาจารย์ระดับจังหวัด
7 นายเชาวนาท เพ็งสุ ข ได้รับรางวัลระดับ ดี การประกวดบทความการจัดการเรี ยนรู ้ ด้านการเรี ยน
การสอน เรื่ อง การจัดองค์ความรู ้ การพากย์ เจรจาในการแสดงโขน
8 นายสุ ระชัย สี บุบผา ได้รับรางวัลระดับ ดี การประกวดบทความการจัดการเรี ยนรู ้ ด้านการวิจยั
เรื่ อง การจัดการความรู ้การเขียนบทความเพื่อขอตําแหน่งทางวิชาการ
9 นายภูกิจ พาสุ นนั ท์ ได้รับรางวัลระดับ ดี การประกวดบทความการจัดการเรี ยนรู ้ ด้านการเรี ยน
การสอน เรื่ อง การปรับมาตรฐานท่ารําพื้นฐานสําหรับนักศึกษาปริ ญญาตรี ปีที่ 1 โขนพระที่เข้า
ใหม่
10 นายชานนท์ อนันต์สลุง ได้รับรางวัลรัตนบงกช ประจําปี 2564 (รางวัลเพชรปั ทมา) สาขาครู
ดีเด่น ด้านแม่พิมพ์ผทู ้ รงคุณค่า
11 ขอแสดงความยินดีกบั ผศ.ดร. ปภาอร แก้วสว่าง ในโอกาสเข้ารับรางวัลเชิดชูเกียรติของสภา
คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ประจําปี งบประมาณ 2564 " รางวัลคนดีศรี พฒั นศิลป์ 2564
จากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประเภทที่ 2 อาจารย์ดีเด่นด้านดนตรี คีตศิลป์ "
8

11.3 นักเรีย น

ที่ รายการผลงาน ภาพ


1 นักเรี ยนที่ได้รับรางวัลนริ ศรานุวดั ติวงศ์ ประจําปี 2565
1. นายธี รนัย ขวางกระโทก นักเรี ยนชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 3 สาขานาฏศิลป์ ไทย
(โขนลิง)
2. นายพุฒิพงศ์ กลับดี นักเรี ยนชั้นประกาศนียบัตร
วิชาชีพปี ที่ 3 สาขานาฏศิลป์ ไทย (โขนพระ)
3. นายณัฐชนน หมีเอี่ยม นักเรี ยนชั้นประกาศนียบัตร
วิชาชีพปี ที่ 3 สาขาดนตรี (เครื่ องหนัง)
4. นายภานริ นทร์ แซงคํา นักเรี ยนชั้นประกาศนียบัตร
วิชาชีพปี ที่ 3 สาขาคีตศิลป์ ไทย (คีตศิลป์ ไทย)
2 นายธี รนัย ขวางกระโทก ได้รับรางวัลเด็กและเยาวชนดีเด่น
เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจําปี 2565
9

3 นายอดิศร ศรี ขน ได้รับรางวัล บุคคลต้นแบบแห่งปี


ประจําปี 2564 ภายใต้โครงการ สรรเสริ ญผูท้ รงคุณค่าแห่ง
แผ่นดิน
ครั้งที่ 1 สาขาเยาวชนต้นแบบด้านส่ งเสริ มศิลปวัฒนธรรม
โดย สมาพันธ์องค์กรผูท้ รงคุณค่าของแผ่นดิน แห่งประเทศ
ไทย

ที่ รายการผลงาน ภาพ


4 นายอดิศร ศรี ขน ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ
ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประจําปี การศึกษา 2564
ประเภทที่ 2 นักศึกษาผูม้ ีผลงานดีเด่นระดับชาติและ
นานาชาติ

5 ได้รับรางวัลและเกี ยรติบตั รการประกวดเดี่ ยวเครื่ องดนตรี


ไทยและขับ ร้ อ งระดับ ชาติ “เสริ ม ประสบการณ์ สื บ สาน
สังคีตศิลป์ ไทย" โครงการบรณาการศาสตร์ดนตรี เพื่อชุมชน
ครั้งที่ 4 งานวันคล้ายวันพิราลัยสมเด็จพระยาบรมมหาศรี สุ
ริ ยวงศ์ (ช่วงบุญนาค) ประจําปี พุทธศักราช 2565 โดยมี
1. นางสาวณัฏฐณิ ชา เถินมงคล
รางวัลเหรี ยญทองอันดับที่ 3
2. นายธนากร ประชุมสาร
รางวัลเหรี ยญทองอันดับที่ 3
10

3. นางสาวนิรชา สิ งห์กิ่ง
รางวัลเหรี ยญทองอันดับที่ 3
4. นายจักรพงษ์ เข็มเล็ก
5. นายธรณ์ ชูชม
6. นายมนตรี บงเรื อง
7. นางสาวศศิกานต์ สว่างแสงทอง
รางวัลเหรี ยญทอง
6 นักเรี ยนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 2 สาขานาฏศิลป์ ไทย
(ละคร) ได้รับทุนมูลนิธิศาลาเฉลิมกรุ ง ประจําปี พุทธศักราช
2565

11.4 ผลงานสร้ างสรรค์ การแสดง


1. การเผยแพร่ ผ ลงานสร้ า งสรรค์ ร่ อ งรอยลวะ วิ ท ยาลัย นาฏศิ ล ปลพบุ รี (งบ สบศ.
งบประมาณ 2563) เผยแพร่ ในเวที การนํา เสนอผลงานสร้ า งสรรค์ระดับนานาชาติ งานนําเสนอ
ผลงานวิจยั สร้างสรรค์ ทางนาฏดุริยางคศิลป์ ในระดับชาติ งานเบิกฟ้าบัณฑิตพัฒนศิลป์ สู่
แผ่นดินอีสาน วันที่ 5-6 เมษายน 2564 ณ วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสิ นธุ์
2. การสร้างสรรค์การแสดง ชุด ทวารปาล (งบ สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
3. การแสดงพื้นบ้านกล่มชาติพนั ธุ์ลพบุรี : การแสดงสร้ างสรรค์ ชุ ด นานาชนคนลพบุรี
นายภูกิจ พาสุ นนั ท์ (ทุน ววน. งบประมาณ ปี 2564)
4. วิจิตรรังสรรค์หุ่นกระบอกออกตัวโขน เรื่ อง รามเกี ยรติ์ ตอน ทศกัณฐ์สั่งลารู ปอินทรา
ครวญ สู่ นานาชาติ นายสุ ระชัย สี บุบผา (ทุน สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
5. รําจังเกียงกระบี่พล นายสมชาย ฟ้อนรําดี (ทุน สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
6. นาฏยศิ ล ป์ สร้ า งสรรค์ ชุ ด เทพี โ ภคทรั พ ย์ นางสาวตรี รั ต น์ วิ สุ ท ธิ พ นั ธ์ (ทุ น สบศ.
งบประมาณ ปี 2564)
7. การแสดงนาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค์ ชุด ลงสรงชาตรี นายภูกิจ พาสุ นนั ท์
(ทุน สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
8. เทพพระราหูทรงครุ ฑ นายอนัส มาลาวงษ์ (ทุน สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
9. เมรี แต่งองค์ทรงเครื่ อง นางนันทวัน สังขะวร (ทุน สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
11

11.5 ผลงานวิจัย ด้ านการเรียนการสอน


1. ทุนวิจยั ด้านการเรี ยนการสอน ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เรื่ อง การพัฒนา
ทักษะในการแก้ปัญหา ของนักศึกษาวิชาชีพครู โดยใช้สถานการณ์จาํ ลอง นางอัญชัน เพ็งสุ ข (ทุน
สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
2. ประสิ ทธิ ภาพของกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในรายวิชาคีต
ศิลป์ ไทย 1 ด้วยทฤษฎีพหุถปั ญหา สําหรับนักเรี ยนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 1 วิทยาลัยนาฏ
ศิลปลพบุรี นายสุ ระชัย สี บุบผา (ทุน สบศ. งบประมาณ ปี 2564)
11.6 การจัดการความรู้ (งบประมาณ ปี 2564)
1. การจัดการความรู ้ (KM) ด้านศิลปวัฒนธรรม เรื่ อง เทคนิ คการตีระนาดเอกของ
อาจารย์ ทวีศกั ดิ์ อัครวงษ์ นายวิทยา จุย้ วงษ์

ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

1. กําหนดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มีการดําเนินงาน 3 ขั้นตอน ดังนี้


1.1 การพัฒนาคุณภาพ
1.2 การตรวจติดตามคุณภาพ
1.3 การประเมินคุณภาพ
12

2. กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ดําเนินการจัดทํากลไก


การประกันคุณภาพการศึกษา ดังนี้

วิ ท ยาลัย นาฏศิ ล ปลพบุ รี ได้ว างระบบและกลไกคุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยมี ก ารประกาศ


มาตรฐาน คุณภาพการศึ กษา 4 มาตรฐาน และกําหนดเป้ าหมายในการพัฒนาคุณ ภาพการศึ กษา
แต่งตั้งผูร้ ับมีกรอบ แต่ละมาตรฐานโดยครู ทุกคนมีส่วนร่ วม เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพ มีการ
กํา กับ ดู แ ล และติ ด ตามผล ดํา เนิ น งานตามโครงสร้ า งการบริ หารงานมี ก ารตรวจสอบและ
ประเมิ น ผลด้ว ยการสร้ า งเครื่ อ งมื อ เก็ บ รวบรวมข้อ มู ล วิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล และจัด ทํา ข้อ มู ล ด้า น
สารสนเทศ จัดทํารายงานประเมินตนเอง โดยมี ผูอ้ าํ นวยการ ผูท้ รงคุณวุฒิ และงานประกันคุณภาพ
การศึกษานําผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้ในการปรับปรุ งพัฒนาในปี การศึกษาต่อไป และ
เผยแพร่ สู่สาธารณชน
13

แผนภูมิโครงสร้ างการบริหารของโรงเรียน

ลงชื่อ........................................................................ผูบ้ นั ทึก

( นาย พัชรพล อยูเ่ พ็ชร์ )

วันที่ 5 เดือน กันยายน พ.ศ.2565

ลงชื่อ....................................................…….ครู /อาจารย์พี่เลี้ยง

( นาย ประสงค์ จันทพันธุ์ )

วันที่ 5 เดือน กันยายน พ.ศ.2565


14

แบบบันทึกสั งเกตพฤติกรรมนักเรียน
ตอนที่ 1 ให้นกั ศึกษาบันทึกผลการศึกษาสังเกตพฤติกรรมโดยทัว่ ไปของนักเรี ยนในชั้นเรี ยนลงใน
ช่อง
ผลการสั งเกต

ชื่อ นาย สิ รวิชญ์ ดวงแก้ว ระดับชั้น ประกาศนียบัตรปี ที่ 3

ลําดับที่ รายการ ผลการสั งเกต


1 ด้านการศึกษาเล่าเรี ยน
- พฤติกรรมขณะเรี ยน - นักเรี ยนมีความตั้งใจในการฝึ กซ้อม
- นักเรี ยนเชื่อฟังครู ขณะสอน
- นักเรี ยนมีการทวบทวนในเรื่ องที่
เรี ยนรู ้
- ความสนใจในการค้นหว้าหาความรู ้ - เมื่อเรี ยนหมดชัว่ โมง นักเรี ยนได้มีการ
เพิ่มเติม สอบถาม เทคนิคการบรรเลง จากครู
- การใช้เวลาว่างในโรงเรี ยน - นักเรี ยนทบทวนบทเรี ยน ฝึ กซ้อม
พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู ้ สอบถาม
เนื้อหาที่จะศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม
- การใช้หอ้ งปฏิบตั ิการต่าง ๆ ในโรงเรี ยน - นักเรี ยนใช้บริ เวณข้างเวทีนารายณ์
สังคีต
{ห้องเรี ยนธรรมชาติ}
2 ด้านสุ ขภาพอนามัย
- ความสะอาดของเสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกาย - นักเรี ยนแต่งกายสุ ภาพ สะอาด
เรี ยบร้อย
- ความสะอาดของร่ างกาย - นักเรี ยนสะอาด เรี ยบร้อย
15

- การรับประทานอาหารตามหลัก - นักเรี ยนส่ วนใหญ่รับประทานอาหาร


โภชนาการ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
- การรักษาสุ ขภาพ อนามัย การ - นักเรี ยนมีการทํากิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
เจริ ญเติบโต เหมาะสมกับวัย กับการออกกําลังกายในเวลาว่าง

ลําดับที่ รายการ ผลการสั งเกต


3 ด้านสังคม
- ความสะอาดของเสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกาย - เสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกายของนักเรี ยน มี
ความสะอาด เรี ยบร้อย
- ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรี ยนกับเพื่อน - นักเรี ยนมีความร่ าเริ ง มีอธั ยาศัยดี มี
ๆ การพูดคุย
- ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรี ยนกับครู / - นักเรี ยนมีการสอบถามความรู ้จาก
อาจารย์ คุณครู เพิ่มเติม และให้เกียรติคุณ
ครู ผสู ้ อน
4 ด้านเศรษฐกิจ
- ความเหมาะสมของเครื่ องแต่งกายกับ - นักเรี ยนแต่งกายเหมาะสมกับสภาพ
สภาพของนักเรี ยน ของนักเรี ยน
- ความเหมาะสมของค่าใช้จ่ายที่รับมา - นักเรี ยนได้รับเงินมาใช้จ่ายที่โรงเรี ยน
โรงเรี ยน อย่างเหมาะสม
- การรู ้จกั ใช้จ่ายเงินในโรงเรี ยน - นักเรี ยนใช้เงินตามสิ่ งที่จาํ เป็ น
16

ตอนที่ 2 ให้นกั ศึกษาสรุ ปผลการสังเกตศึกษาการสังเกตนักเรี ยนตามหัวข้อต่อไปนี้

1. พฤติกรรมด้านที่เด่นที่สุดของนักเรี ยน คือ

นักเรี ยนตั้งใจปฏิบตั ิ ขยัน มีความอดทน และมุ่งมานะ หมัน่ ฝึ กซ้อม จดจ่อกับสิ่ งที่ครู สอน

2. พฤติกรรมด้านที่ควรปรับปรุ งของนักเรี ยน คือ

ด้านสมาธิ นักเรี ยนมีการพักผ่อนไม่เพียงพอ จึงทําให้ไม่มีสมาธิ

3. ถ้านักศึกษาเป็ นอาจารย์ประจําวิชานี้ นักศึกษาจะมีแนวปฏิบตั ิปรับปรุ งพฤติกรรมของนักเรี ยนให้


ดีข้ ึนอย่างไร (ตอบเป็ นข้อ ๆ)

3.1 ตักเตือน และให้แนะนําในการจัดเวลาพักผ่อน

3.2 เอาใจใส่ นกั เรี ยนทุกคน ถามนักเรี ยนทุกครั้งว่าเข้าใจในสิ่ งที่คุณครู สอนไหม

3.3 สอนแบบเป็ นกันเอง ไม่ถือตัวว่าตัวเองเป็ นครู จนมากเกิ นไป เพื่อให้นกั เรี ยนรู ้ สึกผ่อน
คลาย

เวลาเรี ยน และเป็ นตัวของตัวเอง ไม่กดดันในขณะที่เรี ยน

ลงชื่อ.....................................................ผูส้ งั เกต

( นาย พัชรพล อยูเ่ พ็ชร์ )

วันที่ 5 เดือน กันยายน พ.ศ.2565

ลงชื่อ.................................................ครู /อาจารย์พี่
เลี้ยง

( นายประสงค์ จันทพันธุ์ )

วันที่ 5 เดือน กันยายน พ.ศ.2565


17

แบบบันทึกการสั งเกตสภาพชุ มชนและความสั มพันธ์ ระหว่ างโรงเรียนกับชุ มชน


โรงเรี ยน วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
วันที่ 29 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2565 (ที่ศึกษา/สังเกต)
คําชี้แจง ให้นกั ศึกษาบันทึกผลการศึกษาและสังเกตสภาพชุมชน ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่าง
โรงเรี ยนกับชุมชนในช่องว่างตามหัวข้อที่กาํ หนดให้
1. ชื่อชุมชน/หมู่บา้ น - ตําบล/แขวง ทะเลชุบศร อําเภอ/เขต เมือง จังหวัด ลพบุรี
2. อาชีพหลักของประชากรส่ วนใหญ่ในชุมชน
- รับจ้าง ค้าขาย ร้านนํ้าและเครื่ องดื่ม ร้านอาหารตามสัง่
3. คณะกรรมการประจําวิทยาลัย ประกอบด้วยผูใ้ ดบ้าง
1. นายลิขิต สุ นทรสุ ข
2. นายสวัสดิ์ บุญยิง่
3. นางกอแก้ว เพชรบุตร
4. นายณรงค์ฤทธิ์ คงปิ่ น
5. นางอารี แม่นมัน่
6. นายสุ ระชัย สี บุบผา
7. นางไพเราะ เหมบุตร
8. นางเพชราภรณ์ หิ นเธาว์
9. นางนันทวัน สังขวร
10. นายประสงค์ จันทพันธุ์
11. นางชิตา ทัศมาลัย
12. นางสาววิสรพัฒ บุญมี
13. นางอัญชัน เพ็งสุ ข
4. โครงการ/แผนงาน/งบประมาณของสถานศึกษา
สรุ ปแผนปฎิบัติการ ประจําปี งบประมาณ 2564-2565(เงินอุดหนุน)
เงินงบประมาณ (เงินอุดหนุนปี การศึกษา 2564)
- ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 (งบประมาณปี พ.ศ.2564 งวด 2 ) จํานวนเงิน 1,567,875 บาท
18

- ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 (งบประมาณปี พ.ศ. 2564 งวด 1 ) จํานวนเงิน 1,329,280 บาท
เงินงบประมาณจากรายได้
- ภาคเรี ยนที่ 1 (เงินรายได้ปีงบประมาณปี 2564/ครึ่ งปี งบประมาณหลัง) จํานวนเงิน 2,269,200 บาท
- ภาคเรี ยนที่ 2 (เงินรายได้งบประมาณปี 2564/ครึ่ งปี งบประมาณแรก)
รวมเงินงบประมาณตลอดปี การศึกษา 2564 เป็ นเงิน 6,628,855 บาท
5. การประชาสัมพันธ์โรงเรี ยน (การจัดทําข่าวสื่ อสารสัมพันธ์กบั โรงเรี ยน)
ประชาสัมพันธ์ผา่ นช่องทางออนไลน์ Facebook Page วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี
ประชาสัมพันธ์ผา่ นช่องทางออนไลน์ Facebook Page สโมสรนักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี
6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้าน วัฒนธรรม จํานวน 30 คน
โรงเรี ยนนําภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาหรื อไม่อย่างไร
มีส่วนร่ วม โดยมีการพานักเรี ยนเข้าร่ วมพิธีคาํ นับครู เพื่อความเป็ นสิ ริมงคลแก่นกั ศึกษา
ใหม่ ก่อนได้รับการถ่ายทอดความรู ้ การคํานับครู เปรี ยบเสมือนการฝากตัวเป็ นศิษย์ ซึ่ งมีมาตั้งแต่
โบราณ

ลงชื่อ......................................................ผูส้ งั เกต
( นาย พัชรพล อยูเ่ พ็ชร์ )
วันที่ 5 เดือน กันยายน พ.ศ.2565
ลงชื่อ.................................................ครู /อาจารย์พี่เลี้ยง
( นายประสงค์ จันทพันธุ์ )
วันที่ 5 เดือน กันยายน พ.ศ.2565
19

แบบบันทึกการสั งเกตการปฏิบัตงิ าน
คําชี้แจง ให้นกั ศึกษาบันทึกผลการสังเกตการปฏิบตั ิงานของครู ตามรายการที่กาํ หนดให้

วัน 5 เดือน กันยายน พ.ศ.2565

งาน รายการที่ปฏิบัติ/ สิ่ งที่ได้ รับจากการ ลงชื่ อ


ที่ได้ เรียนรู้ ปฏิบัติงานนี้ ครู พ เี่ ลีย้ ง
1. งานในหน้าที่ - คุณครู อธิ บาย - ได้รับรู ้ถึงเทคนิค
ปฏิบตั ิการสอน เกี่ยวกับลักษณะมือ วิธีการสอนนักเรี ยนให้
การตีตะโพน เข้าใจ ปฏิบตั ิตาม และ
- คุณครู สอน อธิ บาย ได้รับความรู ้ใหม่ ๆ
ได้อย่างเข้าใจ และ เพิ่มเติม
สามารถปฏิบตั ิตามได้
ง่ายขึ้น
2. งานในหน้าที่ - คุณครู สอนเกี่ยวกับ - รู ้จกั กระบวนการ
ครู /อาจารย์ หน้าทับ อัตราจังหวะ สอน
และสัดส่ วนของเพลง - รู ้จกั การวางแผนใน
นั้น ๆ การสอน
- คุณครู มอบหมายใน - รู ้จกั เทคนิคในการ
นักเรี ยนไปทบทวน สอนเป็ นขั้นตอน
หน้าทับนั้น ๆ ที่ได้รับ
การถ่ายทอด
3. งานอื่น ๆ - คุณครู ได้ฝึกทักษะ - ได้รู้และเข้าใจวิธีการ
พิเศษเพิ่มเติม ในด้าน สอน และกระตุน้ ให้
เสี ยงของตะโพน ใน นักเรี ยนฝึ กฝนเพิ่มเติม
เพลงนั้น ๆ และการใส่
ลูกเล่นในเสี ยงตะโพน
ลงชื่อ.........................................................ผูบ้ นั ทึก

( นาย พัชรพล อยูเ่ พ็ชร์ )


20

แบบสั มภาษณ์ การจัดการเรีย นรู้ (สั มภาษณ์ ครู /อาจารย์ พเี่ ลีย้ ง)
ชื่ อ นายประสงค์ นามสกุล จันทพันธุ์

โรงเรียน วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี อําเภอ เมือง จังหวัด ลพบุรี

คําชี้แจง ให้นกั ศึกษาสัมภาษณ์การจัดการเรี ยนรู ้ของครู พี่เลี้ยงและบันทึกลงในช่องว่างที่กาํ หนด

1. ท่ านสอนกีร่ ายวิชา วิชาอะไรบ้ าง จํานวนกีช่ ั่วโมงต่ อสั ปดาห์


คุณครู ท่านสอน 3 รายวิชา ได้แก่
-สอนวิชาปฏิบตั ิเอกเครื่ องหนัง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ที่ 3, ชั้นปริ ญญาตรี ปีที่ 1 และ2
-วิชาจังหวะและหน้าทับ ชั้นปริ ญญาตรี ปีที่1
-วิชา เสรี พิณ จํานวน 20 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์
2. ปัญหาที่พ บในรายวิชาที่สอน มีอะไรบ้ าง นักเรี ยนสงสัยและไม่กล้าถาม
3. ปัญหาที่คุณครู พบ คือ นักเรี ยนมีความไม่ตรงต่อเวลา เวลาเรี ยนมีความไม่เข้าใจในสิ่ งที่ครู
สอน นักเรี ยนไม่มีสมาธิ ในขณะที่คุณครู สอน
4. ท่ านได้ ดาํ เนินการแก้ ไขอย่ างไร/มีเทคนิคใดในการดําเนินการแก้ ไข
ดําเนิ นการแก้ไขด้วยการว่ากล่าวตักเตือน ให้คาํ แนะนํา และถามนักเรี ยนในจุดที่นกั เรี ยน
ไม่เข้าใจ และทบทวนให้นกั เรี ยน
5. ท่ านมีข้อเสนอแนะอย่ างไรในการดําเนินการจัดการเรียนรู้ หรื องานด้ านอื่น ๆ
อธิ บายเชิงทฤษฎี เปรี ยบเทียบ และมีการยกตัวอย่างให้นกั เรี ยนเห็นภาพมากยิง่ ขึ้น
6. ท่ านมีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ระหว่ างเพื่อนครู หรื อไม่ อย่ างไร (PLC) ถ้ ามีท่านดําเนินการ
อย่ างไร และการดําเนินการเป็ นอย่ างไร
มีการคุยกับระหว่างเพื่อนครู ในสาขาวิชาเอก คุยกันในเรื่ อง จังหวะหน้าทับ และคุยเกี่ยวกับ
ปั ญหาของเด็กนักเรี ยน และวิธีแก้ไข

ลงชื่อ............................................................ผูบ้ นั ทึก

( นาย พัชรพล อยูเ่ พ็ชร์ )

You might also like