You are on page 1of 89

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตร
ความหมาย/นิยาม ของ หลักสูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา เป็ นแบบแผนหรือแนวทางหรือข้อกำหนด
ของการจัดการ ที่จะพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถโดยส่งเสริมให้
แต่ละบุคคลพัฒนาไปสู่ศักยภาพสูงสุดของตนรวมถึงระดับขั้นของมวล
ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้สะสมซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนนำความรู้ไป
สู่การปฏิบัติได้ประสบการณ์สำเร็จในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักตนเอง มี
ชีวิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอย่างมีความสุข
องค์ประกอบของ
เอกสารหลักสูตรสถานศึกษา
– บทนำ
– วิสัยทัศน์
– หลักการ
– สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
– คุณลักษณะอันพึงประสงค์
– โครงสร้างหลักสูตร
– คำอธิบายรายวิชา
– การจัดการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
– การวัดและประเมินผล เกณฑ์การจบหลักสูตร
– การบริหารจัดการหลักสูตร
ลำดับขั้นตอนการพัฒนา
หลักสูตรเป็ นอย่างไร
ลำดับขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรเป็ นอย่างไร

1. อ่านและทำความเข้าใจในสาระหลักสูตรแกนกลาง
2. กำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
3. พิจารณากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
4. กำหนดเป้ าหมายการจัดการศึกษาของหลักสูตร
ในแต่ละระดับ
5. กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน
ลำดับขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรเป็ นอย่างไร(ต่อ)

6. จัดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นลงในชั้นปี
(บูรณาการ หรือ เพิ่มเติม)
7. กำหนดโครงสร้างหลักสูตร
8. เขียนคำอธิบายรายวิชา
9. เขียนเอกสารหลักสูตร
10. จัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
และออกแบบเอกสารหลักฐานการศึกษา
๑.อ่านและทำความเข้าใจในสาระหลักสูตรแกนกลาง
วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียน ทุกคน
ซึ่งเป็ นกำลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้
คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ นพลโลก ยึดมั่นใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ น
ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็ นต่อการศึกษา
ต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็ น
สำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
เต็มตามศักยภาพ
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร
วิสัยทัศน์

สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์

กิจกรรมพัฒนา
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ผู้เรียน
๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักการของหลักสูตร
1. ความเป็ นเอกภาพ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็ น
เป้ าหมาย พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ
และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กับความเป็ น
สากล
2. ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ
3. สนองการกระจายอำนาจ สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
หลักการของหลักสูตร (ต่อ)
4. มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา
และการจัดการเรียนรู้
5. เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
6. ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอน ผล
การเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมายของหลักสูตร
เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง
มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. การสื่อสาร การคิด แก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยี มีทักษะชีวิต
3. สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี มีสุขนิสัย รักการออกกำลังกาย
4. รักชาติ มีจิตสำนึก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอัน
มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
5. รักษ์วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์

สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง


2. ซื่อสัตย์สุจริต 6. มุ่งมั่นในการทำงาน
3. มีวินัย 7. รักความเป็ นไทย
4. ใฝ่ เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
กลุ่มสาระ / กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ภาษาไทย 200 200 200 16 16 16
0 0 0
คณิตศาสตร์ 200 200 200 16 16 16
0 0 0
วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 120 120 120 120 120

สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80
ศิลปะ 80 80 80 80 80 80
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80
ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80
รวมพื้นฐาน 840 840 840 84 840 840
0
สาระ/มาตรฐาน และตัวชี้วัดชั้นปี (พื้นฐาน)
มาตร ระดับประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระ ฐาน
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ภาษาไทย 5 5 24 26 29 32 33 35
คณิตศาสตร์ 6 14 1 22 27 29 29 31
วิทยาศาสตร์ 8 13 8
16 22 28 21 34 37
สังคมศึกษาฯ 5 11 34 34 39 38 37 39
สุข/พลศึกษา 5 6 15 21 18 19 25 22
ศิลปะ 3 6 18 25 29 29 26 27
การงานฯ 4 4 5 10 8 10 13 13
ภาษาต่างประเทศ 4 8 16 16 18 20 20 20
รวม 40 67 145 176 195 202 224 224
กลุ่มสาระ/กิจกรรม ม. 1 ม. 2 ม. 3
ภาษาไทย 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
คณิตศาสตร์ 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
วิทยาศาสตร์ 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
สังคมศึกษาฯ 160 (4นก) 160 (4นก) 160 (4นก)

สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2นก) 80 (2นก) 80 (2นก)


ศิลปะ 80 (2นก) 80 (2นก) 80 (2นก)
การงานอาชีพฯ 80 (2นก) 80 (2นก) 80 (2นก)
ภาษาต่างประเทศ 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
รวมพื้นฐาน 880 (22นก) 880 (22นก) 880 (22นก)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120
สถานศึกษาเพิ่มเติม ปี ละไม่เกิน 200 ช.ม.
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1200 ชม/ปี
สาระ/มาตรฐาน และตัวชี้วัดชั้นปี (พื้น
ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ฐาน)สาระ
มาตร
ฐาน ม.3 ม.4 - 6 รวม
ม.1 ม.2
ภาษาไทย 5 5 34 30 38 37 318
คณิตศาสตร์ 6 14 27 26 25 32 264
วิทยาศาสตร์ 8 13 42 37 40 68 345
สังคมศึกษาฯ 5 11 44 44 49 63 419
สุข/พลศึกษา 5 6 23 25 24 29 221
ศิลปะ 3 6 27 27 32 39 279
การงานฯ 4 4 9 9 12 29 123
ภาษาต่างประเทศ 4 8 20 21 21 21 193
รวม 40 67 229 227 245 321 2188
กลุ่มสาระ/กิจกรรม ม. 4 - 6
ภาษาไทย 240 (6นก)
คณิตศาสตร์ 240 (6นก)
วิทยาศาสตร์ 240 (6นก)
สังคมศึกษาฯ 320 (8นก)

สุขศึกษาและพลศึกษา 120 (3นก)


ศิลปะ 120 (3นก)
การงานอาชีพฯ 120 (3นก)
ภาษาต่างประเทศ 240 (6นก)
รวมพื้นฐาน 1640 (41นก)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 360
สถานศึกษาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 1600 ชม.
รวมเวลาเรียนทั้งหมด รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3600
การจัดเวลาเรียน

1.ระดับประถมศึกษา – จัดเวลาเรียนเป็ นรายปี


เวลา
เรียนวันละไม่เกิน 5 ชั่วโมง

2.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น – จัดเวลาเรียนเป็ นรายภาค


มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย – จัดเวลาเรียนเป็ นรายภาค
มีเวลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
*คิดน้ำหนัก เป็ นหน่วยกิต 40 ชั่วโมง = 1 หน่วยกิต
มาตรฐานการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา
สุขศึกษา ฯ ศิลปะ การงานฯ ภาษาต่างประเทศ

ป.๑ ป. ป. ป. ป. ป.๖ ม.๑ ม.๑ ม. ม.๔-๖


๒ ๓ ๔ ๕ ๓
รหัสมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดเพื่อเข้าใจและสื่อสารตรงกัน

ว.1.1 ป.1/2

ป.1/2 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ข้อที่ 2


1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ต.2.3 ม.4-6/3
ม.4-6/3 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3
2.3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 3
ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1.กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมลูกเสือฯ
2.กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมชุมนุม

3.กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
(ป.1-ป.6) 6 ปี 60 ชั่วโมง
(ม.1-ม.3) 3 ปี 45 ชั่วโมง
(ม.4-ม.6) 3 ปี 60 ชั่วโมง
ระดับการศึกษา จัดเป็ น 3 ระดับ

1. ระดับประถมศึกษา

2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
• การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

1. การประเมินระดับชั้นเรียน
2. การประเมินระดับสถานศึกษา
3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
4. การประเมินระดับชาติ
การตัดสินผลการเรียนระดับประถมศึกษา

1. มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
2. ได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด
3. ได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4. ได้รับการประเมิน และผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การเรียนซ้ำระดับประถมศึกษา
** ไม่ผ่านตัวชี้วัดจำนวนมาก ไม่สามารถแก้ไขได้ในปี การศึกษานั้น
** ตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเป็ นปัญหาต่อการเรียนในชั้นที่สูงขึ้น
.....ป.1 – ป. 2 เน้นพิจารณากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และ
คณิตศาสตร์
..... ป.3 – ป.6 เน้นพิจารณากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา
และ วัฒนธรรม
การตัดสินผลการเรียนระดับมัธยมศึกษา
1. ตัดสินผลการเรียนเป็ นรายวิชา มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ
2. ได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถาน
ศึกษากำหนด
3. ได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4. ได้รับการประเมิน และผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การเรียนซ้ำระดับมัธยมศึกษา
กรณีที่ 1 ซ้ำรายวิชา ไม่ผ่านรายวิชาใดเรียนซ้ำรายวิชานั้น
กรณีที่ 2 ซ้ำชั้นเรียน เมื่อ
1. มีผลการเรียนเฉลี่ยปี การศึกษานั้นต่ำกว่า 1.00
และไม่เอาใจใส่การเรียน
2. ไม่มาแก้ไขผลการเรียน 0, ร, มส ในปี การศึกษานั้น
มากกว่าครึ่งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
เมื่อเกิดตามข้อใดข้อหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้อ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา
ระดับผลการเรียน ระดับประถมศึกษา
** ระดับผลการเรียนรายวิชา เป็ นระดับคุณภาพ ระบบตัวเลข
ตัวอักษร ร้อยละ หรือใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน
** การประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ ให้ระดับผลการประเมิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน
** การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พิจารณาเวลา การปฏิบัติ
กิจกรรม และผลงานของผู้เรียน ตามที่สถานศึกษากำหนด
ให้ระดับผลการประเมิน ผ่านและไม่ผ่าน
ระดับผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา
** ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียน
เป็ น 8 ระดับ
** การประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ให้ระดับผลการประเมิน ดีเยี่ยม ดี ผ่าน
** การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พิจารณาเวลา การปฏิบัติ
กิจกรรม และผลงานของผู้เรียน ตามที่สถานศึกษากำหนด ให้
ระดับผลการประเมิน ผ่าน และไม่ผ่าน
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
๑. เรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน

๒.ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
มีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
๓. มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
๕. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
๑. เรียนไม่เกิน 81 นก พื้นฐาน 66 นก เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
๒. ได้ไม่น้อยกว่า 77 นก พื้นฐาน 66 นก เพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 นก
๓. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
๕. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๑. เรียนไม่น้อยกว่า 81 นก พื้นฐาน 41 นก เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
๒. ได้ไม่น้อยกว่า 77 นก พื้นฐาน 41 นก เพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36
นก
๓. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
๕. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
ควรได้อะไรจากการทำความเข้าใจ
• ทำไมต้องมีหลักสูตรแกนกลาง • สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• วิสัยทัศน์มุ่งเน้นอะไร • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
• ใช้หลักการอย่างไร • โครงสร้างเวลาเรียน การจัดเวลา
• มีจุดหมายเป็ นอย่างไร เรียน และระดับการศึกษา
• สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ • การจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้
อันพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิด • การวัดและประเมินผล
กับผู้เรียนคืออะไร • การบริหารจัดการ
• มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดมี
ลักษณะเป็ นอย่างไร
ข้อมูลทั้งหมดสู่การวางแผนกำหนด
กรอบหลักสูตรระดับเขตพื้นที่การศึกษา
/ส่วนท้องถิ่น
หลักสูตรระดับสถานศึกษา
๒.การกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

สาระการเรียนรู้ (content)
หมายถึงองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะสำคัญ

สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (Local - related content)


หมายถึง องค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะสำคัญ
ที่เขตพื้นทีการศึกษา/ส่วนท้องถิ่นรวบรวม วิเคราะห์และ
สังเคราะห์จัดหมวดหมู่ เรียบเรียงขึ้น
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (Local - related content)
หมายถึง องค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะสำคัญ
ที่เขตพื้นที่การศึกษา/ส่วนท้องถิ่นรวบรวม วิเคราะห์และ
สังเคราะห์จัดหมวดหมู่ เรียบเรียงขึ้น โดยพิจารณาจากภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์ความเป็ นมา สภาพปัญหาชุมชน วัฒนธรรม
เศรษฐกิจ การงานอาชีพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อปลูกฝังผู้เรียน
ให้มีความรักและหวงแหนมรดกทางสังคมของบรรพบุรุษ
มีความเป็ นไทย เป็ นสมาชิกที่ดีของสังคม และสามารถดำรงชีวิต
ประกอบอาชีพ แก้ปัญหา การดำเนินชีวิตในชุมชน
การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
• ข้อมูลชุมชน/สังคมที่สถานศึกษาตั้งอยู่
– สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
– การศึกษา/สุขภาพอนามัย
– บริการสาธารณูปโภค/ การประกอบอาชีพ
– อาชีพปัจจุบัน/แนวโน้มของอาชีพอนาคต
– ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ค่านิยม ฐานข้อมูลสาระ
ท้องถิ่น
– สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร เทคโนโลยี แหล่งท่องเที่ยว
– ระดับการศึกษา ฐานะและรายได้
– อัตราการเกิด การย้ายถิ่น ปัญหาชุมชน
– ความคาดหวังของชุมชนในอนาคต
การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
• ข้อมูลของผู้เรียน
– ประชากรผู้เรียน
– ข้อมูลการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
– ลักษณะการเรียนรู้
ฐานข้อมูลสาระท้อง
• ข้อมูลสถานศึกษา ถิ่น
– จำนวนครู
– งบประมาณ
– อาคารสถานที่และห้องเรียน
– ข้อมูลด้านครอบครัว
หลักเกณฑ์การเลือกเนื้อหาวิชา (ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ ๒๕๓๙)

• สำคัญต่อการเรียนรู้ (Significance)
• ถูกต้องทันสมัย (Validity)
• น่าสนใจ (Interest)
• เป็ นสิ่งที่เรียนรู้ได้ (Learn ability)
• สอดคล้องตรงกับจุดประสงค์ (Appropriateness to
Objectives)
• ประโยชน์แก่ผู้เรียน (Usefulness)
• สามารถจัดให้กับผู้เรียนได้ (Feasibility)
แนวทางการจัดลำดับเนื้อหาวิชา
• จัดลำดับจากเนื้อหาที่ง่ายไปหายาก
– สิ่งมีชีวิต/ไม่มีชีวิต--สัตว์เลี้ยงลูกด้วยและโลก
• จัดลำดับความจำเป็ นที่ต้องเรียนก่อนหลัง
– การบวก-ลบ ---การคูณ/ หาร
• จัดลำดับตามกาลเวลา
– เรียงลำดับเหตุการณ์วิชาประวัติศาสตร์
• จัดตามหัวข้อข้อหรือเรื่อง
– การเขียนเรื่อง การเรียนวรรณคดี
• จัดลำดับจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม
– รู้เรื่องราวรอบตัว บ้าน ชุมชน ประเทศ โลก
• จัดลำดับจากส่วนรวมไล่ลงไปหาส่วนย่อย
– เรียนโลก ทวีป ประเทศ จังหวัด อำเภอ
จัดกระทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นเตรียมการสู่หลักสูตร

ลักษณะสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
• ฟื้ นฟู ............ มรดก
• อนุรักษ์ ........... มรดก/ อาชีพ
• ประยุกต์และพัฒนา ........ อาชีพแบบใหม่

นำเนื้อหาไปบูรณาการลงในวิชาพื้นฐาน แต่บาง
เนื้อหาสามารถจัดทำเป็ นวิชาเพิ่มเติม
๓.พิจารณากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรแกนกลาง
สพฐ. - มาตรฐานการเรียนรู้
- สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- โครงสร้างหลักสูตร
- เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
สพท.
เป้ าหมาย/ การวัดประเมินผล
จุดเน้น + สาระการเรียนรู้ + ระดับท้องถิ่น
ท้องถิ่น

หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียน แกนกลาง + สาระการเรียนรู้ + ส่วนที่สถานศึกษา
ท้องถิ่น เพิ่มเติม
องค์ประกอบที่สำคัญของกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น

กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น

เป้ าหมาย/จุด สาระการเรียนรู้ท้อง การวัดและประเมิน


เน้น
+
ถิ่น
+ ผล
ระดับท้องถิ่น
๔. กำหนดเป้ าหมายการจัดการศึกษา ของ
หลักสูตรในแต่ละระดับ

กำหนดวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย


การพัฒนาผู้เรียน ในแต่ละระดับการศึกษา
ผลงานที่ได้
วิสัยทัศน์
หลักการ
จุดหมาย
สมรรถภาพที่สำคัญ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
๕.กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน

พิจารณาตัดสินใจกำหนดเวลาเรียนในแต่กลุ่มสาระและใน
แต่ชั้นปี โดยให้คำนึงถึง
• เงื่อนไขเวลาเรียนตามที่หลักสูตรแกนกลางกำหนด
• จำนวนและลักษณะตัวชี้วัด
• สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
• ศักยภาพสถานศึกษา
กลุ่มสาระ / กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ภาษาไทย 240 240 240 160 160 160
คณิตศาสตร์ 240 240 240 160 160 160
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาต่างประเทศ
รวมพื้นฐาน 840 840 840 84 840 840
0
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 12 12 120
0 0
กลุ่มสาระ/กิจกรรมจ0 ม.1 ม.2 ม.3
ภาษาไทย 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
คณิตศาสตร์ 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
วิทยาศาสตร์ 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
สังคมศึกษาฯ 160 (4นก) 160 (4นก) 160 (4นก)
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2นก) 80 (2นก) 80 (2นก)
ศิลปะ 80 (2นก) 80 (2นก) 80 (2นก)
การงานอาชีพฯ 80 (2นก) 80 (2นก) 80 (2นก)
ภาษาต่างประเทศ 120 (3นก) 120 (3นก) 120 (3นก)
รวมพื้นฐาน 880 (22นก) 880 (22นก) 880 (22นก)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120
สถานศึกษาเพิ่มเติม ปี ละไม่ 200 ชม.
กลุ่มสาระ/กิจกรรม ม. 4 - 6
ภาษาไทย 240 (6นก)
คณิตศาสตร์ 240 (6นก)
วิทยาศาสตร์ 240 (6นก)
สังคมศึกษาฯ 320 (8นก)

สุขศึกษาและพลศึกษา 120 (3นก)


ศิลปะ 120 (3นก)
การงานอาชีพฯ 120 (3นก)
ภาษาต่างประเทศ 240 (6นก)
รวมพื้นฐาน 1640 (41นก)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 360
สถานศึกษาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 1600
รวมเวลาเรียนทั้งหมด รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3600
ม ๑/๑ ม ๑/๒ ม ๒/๑ ม๒/๒ ม๓/๑ ม๓/๒
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
บังคับ
เพิ่มเติม
เลือกเสรี
กิจกรรม
พัฒนา
รวม
ผลที่ได้จากการพิจารณา
• เวลาเรียนในแต่กลุ่มสาระที่จะนำไปจัดเป็ นวิชาต่างๆ
• เป็ นฐานของการจะนำตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มา
บรรจุลงในแต่ละวิชา
• เป็ นการวางแผนกำหนดวิชาเพิ่มเติมมากน้อยและมี
ลักษณะเป็ นอย่างไร
๖.จัดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นลงในชั้นปี

พิจารณามาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปี และสาระการ
เรียนรู้แกนกลาง ว่ามีความสัมพันธ์กับสาระการเรียนรู้
ท้องถิ่นหรือไม่ มากน้อยเพียงใด สำคัญมากพอที่จะนำ
มาบูรณาการเข้ากับแกนกลาง หรือต้องการจัดเป็ นวิชา
เพิ่มเติมที่ต้องเน้นเป็ นพิเศษ
ตารางการจัดสาระท้องถิ่นบูรณาการลงวิชาพื้นฐาน

มาตรฐาน/ชั้นปี ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้


แกนกลาง ท้องถิ่น
ว ๑.๑ ป ๔ .................... ......................
๑.............. .................... ......................
........ ....... .................... ......................
................ ......................
....
๒.............
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นที่ต้องการเน้นเป็ นพิเศษ

• สาระการเรียนรู้เพิ่มเติมบังคับเลือก
• สาระการเรียนรู้เพิ่มเติมเลือกเสรี
วิชาเพิ่มเติมบังคับ........ วิชา
วิชาเพิ่มเติมเลือก.......... วิชา
๗. กำหนดโครงสร้างหลักสูตร
• กลุ่มรายวิชาพื้นฐาน
• กลุ่มรายวิชาเพิ่มเติม
• กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
– กิจกรรมแนะแนว
– กิจกรรมนักเรียน
• กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์และ
นักศึกษาวิชาทหาร
• กิจกรรมชุมนุม ชมรม
– กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ลักษณะโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
๑. วิชาพื้นฐาน จำนวน....หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต ได้แก่รายวิชาดังนี้
ภาษาไทย .......หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
คณิตศาสตร์ ........หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
วิทยาศาสตร์ .......หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ........หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
สุขศึกษาและพลศึกษา ......หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
ศิลปะ .......หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ........หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
ภาษาต่าง
ประเทศ ........หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
๒. วิชาเพิ่มเติม จำนวน.....หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
๒.๑ วิชาเพิ่มเติมบังคับเลือก จำนวน........หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
วิชา............. .... หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
๒.๒ วิชาเพิ่มเติมเลือกเสรี จำนวน....... หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต
วิชา............. ......หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต

๓. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมต่อไปนี้


๓.๑ กิจกรรมแนะแนว จำนวน.....ชั่วโมง/สัปดาห์ต่อภาค/ปี
๓.๒ กิจกรรมนักเรียน จำนวน.....ชั่วโมงต่อภาค/ปี
๓.๓ กิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน....ชั่วโมง/ภาค/ปี
หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดโครงสร้างหลักสูตร
มาตรฐาน // ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
เวลาการเรียนรู้ตามโครงสร้างเวลาเรียน
วิสัยทัศน์หลักสูตร
กลุ่มสาระ / กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 120 120 120 120 120
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80
ศิลปะ 80 80 80 80 80 80
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80
ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80
รวมพื้นฐาน 840 840 840 840 840 840
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120
สถานศึกษาเพิ่มเติม 6 ปี ๆละไม่เกิน 40 ชม.
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1000 ชม/ปี
เงื่อนไขของหลักสูตรแกนกลาง

การกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม
สถานศึกษาสามารถดำเนินการ ดังนี้
ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐาน
ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ตามความเหมาะสม
ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้าง
เวลาเรียนพื้นฐาน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนด
เงื่อนไขของหลักสูตรแกนกลาง

สำหรับเวลาเรียนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา ให้จัดเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม
จุดเน้นของสถานศึกษาและเกณฑ์การจบหลักสูตร
เฉพาะระดับ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑-๓ สถานศึกษาอาจจัดให้เป็ นเวลา
สำหรับสาระ การเรียนรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระ / กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาต่างประเทศ
รวมพื้นฐาน 840 840 840 840 840 840
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 12 12 12
0 0 0
สถานศึกษาเพิ่มเติม 6 ปี ๆละไม่เกิน 40 ชม.
จุดประสงค์กลุ่มสาระการเรียนรู้
• ทำไมต้องเรียน
• มีความสำคัญอย่างไร
• มีจุดประสงค์อะไรที่นักเรียนต้องเรียน
• เรียนแล้วจะมีคุณภาพอย่างไร

ศึกษาเอกสารกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในหัวข้อ
ทำไม เรียนรู้อะไร และคุณภาพของผู้เรียน
โครงสร้างกลุ่มวิชาในโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้าง
วิชาพื้นฐาน
ชั้น............... รหัสวิชา................. ....... หน่วยน้ำ
หนัก/หน่วยกิต
ชั้น................รหัสวิชา.................. ......... หน่วยน้ำ
หนัก/หน่วยกิต

วิชาเพิ่มเติม
ชั้น.............. รหัสวิชา................. ....... หน่วยน้ำ
๘. เขียนคำอธิบายรายวิชา
องค์ประกอบของคำอธิบายรายวิชา
รายวิชา... (ชื่อวิชา) กลุ่มสาระ... (ชื่อกลุ่มสาระ) ชั้น...
(ชั้นประถม/มัธยมปี ที่..)

รหัสวิชา... (ตามหลักเกณฑ์) จำนวนเวลาเรียน... (กี่ชั่วโมง)


จำนวน (กี่หน่วย) หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต เวลาเรียน....
(กี่ชั่วโมง/สัปดาห์)

คำอธิบายรายวิชา (นำมาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระแกนกลางและท้องถิ่นเขียนแบบบรรยาย)


รหัสมาตรฐานและตัวชี้วัด (นำเฉพาะรหัสมาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้นปี )
โครงสร้างระบบรหัสวิชา
หลักที่ ๑ หลักที่ ๒ หลักที่๓ หลักที่ ๔ หลักที่ ๕ หลักที่ ๖
กลุ่มสาระ การ ระดับการ ปี ในระดับ ประเภทของ ลำดับของรายวิชา
เรียนรู้ ศึกษา การศึกษา รายวิชา
ท 1 0 1 01 - 99

2 1 2

ส 3 2
พ 3
ศ 4
ง 5
อ/จ/ญ
6
ตัวอย่างรหัสวิชา
• ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
วิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา ชั้น ป. ๒
รายวิชาพื้นฐาน ลำดับที่ ๑ เวลาเรียน ๒๐๐ ชั่วโมง
• ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง(๑.๕ หน่วยกิต)
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปี ที่๑(ม.๑)
รายวิชาพื้นฐาน ลำดับที่ ๒ เวลาเรียน ๖๐ ชม./ภาคเรียน
• จ๑๔๒๐๓ สนทนาภาษาจีน ๑ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
วิชาภาษาต่างประเทศ ภาษาจีน ระดับประถมศึกษา
ชั้นปี ที่๔( ป๔) รายวิชาเพิ่มเติม ลำดับที่ ๓ เวลา
เรียน ๔๐ ชม./ปี
วิธีการเขียนคำอธิบายรายวิชา

• เขียนแบบความเรียง เริ่มจากเรียนรู้อะไร สามารถทำ


อะไรได้ โดยพิจารณา ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
• ระบุมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ โดยนำ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ มาจัดกลุ่มระดับ
พฤติกรรมการเรียนตามหลักการจัดจำแนก Taxonomy
ของ B.S. Bloom และจัดกลุ่มสาระการเรียนรู้
ตัวอย่าง
รายวิชาวิทยาศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
รหัสวิชา ว๑๖๑๐๑ เวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง จำนวน ๒ นก. เรียน ๒ ชั่วโมง/ สัปดาห์

คำอธิบาย
สำรวจ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปรายและอธิบายเกี่ยวกับ การ
เจริญเติบโต
ของ .........................................................................................................
.........................................

ทดลอง วิเคราะห์ อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับ


............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................
๙. เขียนเอกสารหลักสูตร
เอกสารหลักสูตรประกอบด้วย
๑. บทนำ ๖. โครงสร้างหลักสูตร
๒. วิสัยทัศน์ ๗. คำอธิบายรายวิชา
๓. หลักการ ๘. การจัดการเรียนรู้ สื่อและ
๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แหล่งการเรียนรู้
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙. การวัดและประเมินผล
เกณฑ์การจบหลักสูตร
๑๐. การบริหารจัดการหลักสูตร
๑. บทนำ (ความเป็ นมาและความสำคัญ)

๒. วิสัยทัศน์ (ภาพคุณภาพของผู้เรียนที่จบการศึกษา)

๓. หลักการ (การจัดการศึกษาหลักสูตรนี้หลักเกณฑ์อะไร)

๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
(หลักสูตรนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะอะไรเป็ นสำคัญ)
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
(หลักสูตรนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะที่สำคัญอะไร)
๖. โครงสร้างหลักสูตร
(มีวิชาพื้นฐาน วิชาเพิ่มเติม มีกี่วิชาๆละกี่หน่วยกิต กิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนเป็ นอย่างไร จะจบการศึกษาในหลักสูตรนี้
อย่างไร)
๗. คำอธิบายรายวิชา
(จุดประสงค์การเรียนในละกลุ่มวิชาในหลักสูตรมุ่งเน้นอะไร
มีโครงสร้างกลุ่มวิชาเป็ นอย่างไร คำอธิบายแต่ละรายวิชามี
ลักษณะเป็ นอย่างไร มาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปี อยู่ที่ไหนของ
คำอธิบายรายวิชา)
๘. การจัดการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
(จะจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนจะยึดหลักการอะไร ใช้กระบวนการใด
จะออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่างไร จะใช้สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียน
รู้ใด และอย่างไรจึงจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนอย่างเต็มศักยภาพ)
๙. การวัดและประเมินผล เกณฑ์การจบหลักสูตร
(การวัดและประเมินผลมีเงื่อนไข แนวปฏิบัติเป็ นอย่าง ใช้หลักการ
ใด และจบการศึกษาตามเงื่อนไขอย่างไร)
๑๐. การบริหารจัดการหลักสูตร
(จะจัดการบริหารกันอย่างไร จึงสามารถที่จะทำให้ผู้เรียนทุกคน
บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ
และผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามโครงสร้างหลักสูตร)
เป้ าหมายที่สองคือ ระเบียบ
การวัดและประเมินผล และ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
๑๐. จัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
และออกแบบเอกสารหลักฐานการศึกษา

• ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
• เอกสารหลักฐานการศึกษา
องค์ประกอบระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
• หลักการ
• วิธีการ
• การตัดสินผลการเรียน
• การเทียบโอนผลการเรียน
• หน้าที่ของสถานศึกษา
• บทเฉพาะกาล
หลักการในการประเมินผลการเรียน

ใครมีหน้าที่ประเมิน โดยความเห็นชอบจากใคร

ประเมินผลเพื่ออะไร
ประเมินผลการเรียนต้องสอดคล้องอะไร
ประเมินผลการเรียนเป็ นอะไร อย่างไร
ศึกษาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จากหลักสูตรแกนกลาง
วิธีการประเมินผลการเรียน

การประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ทำอย่างไร
การประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียนทำอย่างไร
ระดับผลการเรียนเป็ นอย่างไรและมีเงื่อนไขอย่างไร
ศึกษาเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนจากหลักสูตรแกนกลาง
การตัดสินผลการเรียน
• การตัดสินผลการเรียนมีหลักเกณฑ์อย่างไร
• จะเปลี่ยนระดับผลการเรียนต้องทำอย่างไร
• การอนุมัติการจบหลักสูตรมีหลักอะไร
• ใครเป็ นผู้อนุมัติผลการเรียนและ
ใครเป็ นผู้อนุมัติการจบหลักสูตร
ศึกษาเกณฑ์ตัดสินผลการเรียนและการจบการศึกษาจากหลักสูตรแกนกลาง
การเทียบโอนผลการเรียน

• สถานศึกษาจะอนุญาตให้เทียบโอนรายวิชาใดบ้าง
• จะรับโอนผลการเรียนอย่างไร
• ผู้เรียนจะต้องปฏิบัติอย่างไร เมื่อจะนำผลการเรียนไป
เทียบโอนสถานศึกษาอื่น

พิจารณาการเทียบโอนผลการเรียนในหลักสูตรแกนกลาง
หน้าที่ของสถานศึกษา

• สถานศึกษาจะจัดให้มีเอกสารการประเมินผลการเรียนอะไร
บ้าง และมีลักษณะอย่างไร
• การออกเอกสารหลักฐานการศึกษามีเงื่อนไขและแนวปฏิบัติ
อย่างไร
• ใครจะเป็ นผู้ปฏิบัติในเรื่องนี้
ศึกษาเอกสารหลักฐานการศึกษาในเอกสารหลักสูตรแกนกลาง
เอกสารหลักฐานการศึกษา

• เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด

• ระเบียนแสดงผลการเรียน
• ประกาศนียบัตร
• แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา

• เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด

• แบบบันทึกผลการเรียน
• แบบรายงานประจำตัวนักเรียน
• ใบรับรองผลการเรียน
• ฯลฯ
ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตร
ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตรคือปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนา
หลักสูตร ที่เป็ นปัญหาอันเกิดจากการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกันสร้างหลักสูตร และ
ร่วมกันนำหลักสูตรไปใช้
ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตร
1. ผู้ใช้หลักสูตรบางท่านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่
ของตน
2. ขาดประสบการณ์และขาดการประสานงานหน้าที่ที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาหลักสูตร
3. ผู้บริหารระดับต่างๆเห็นว่าหลักสูตรเป็ นหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยเฉพาะ
4. ปัญหาการไม่เปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนของครูตามแนวทางของหลักสูตร โดยใช้ตามที่
ตนเองถนัดสอนมา
5. ปัญหาการเผยแพร่หลักสูตร การสื่อสารทำความเข้าใจในหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นใหม่ ยังไม่
ครอบคลุม
6. ผู้ใช้หลักสูตรบางท่านไม่สนใจนำหลักสูตรมาปฏิบัติใช้อย่าแท้จริง

You might also like