You are on page 1of 47

ธรณีสัณฐานวิทยาและรู ปแบบของกุมภลักษณ์ จากแม่ นําโขงบริเวณสามพันโบก

อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี

นายปภณ รั กษาธรรม

รายงานนีเป็ นส่ วนหนึ,งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตร์ บัณฑิต


ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ปี การศึกษา 2556
GEOMORPHOLOGY AND PATTERNS OF POT-HOLES FROM
THE MEKONG RIVER, SAM PUN BOK, AMPHOE PHO SAI,
CHANGWAT UBONRATCHATHANI

MR. PAPON RAKSATHAM

A REPORT IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS


FOR THE DEGREE OF THE BACHERLOR OF SCIENCE
DEPARTMENT OF GEOLOGY, CHULALONGKORN UNIVERSITY
ACADEMIC YEAR 2013
วันที,ส่ง ……./……./…….

วันที,อนุมัติ ……../……./…….

………………………………………………
(รศ.ดร. มนตรี ชูวงษ์ )
อาจารย์ ท, ีปรึกษาโครงงาน

ชื,อหัวข้ อ : ธรณีสณั ฐานวิทยาและรูปแบบของกุมภลักษณ์จากแม่นํ !าโขงบริ เวณสาม


พันโบก อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้ทาํ การศึกษา : นายปภณ รักษาธรรม
อาจารย์ ท, ีปรึกษา : รศ.ดร.มนตรี ชูวงษ์
ที,ปรึกษาร่ วม : อ.ดร.วิชยั จูฑะโกสิทธิ%กานนท์
ปี การศึกษา : 2556

บทคัดย่ อ
แหล่งสามพัน โบก เป็ นพื น! ที3 ที3มีกุมภลักษณ์ หรื อที3 ร้ ู จักกันโดยทั3วไปว่า “โบก” กระจาย
ตัวอย่างมากมายในชัน! หิ นทรายหมวดหิ นภูพาน อย่างไรก็ ตามการศึกษาเชิ ง ลึกทางด้ านธรณี
สัณ ฐานวิทยาในพื น! ที3 ร วมถึ ง การจํ าแนกลักษณะกุม ภลักษณ์ นัน! มี ค่อนข้ างน้ อย อี กทัง! การตัง!
อุทยานธรณีวิทยาในบริ เวณพื !นที3สามพันโบก จําเป็ นต้ องศึกษาข้ อมูลการทํางานหรื อวิวฒ ั นาการ
ของแม่นํ !าโขงในพื !นที3ซึ3งมีการเกิดของกุมภลักษณ์ การจําแนกรู ปแบบของกุมภลักษณ์ วิเคราะห์
การเกิด รวมทังหาความสั
! มพันธ์ กบั สภาพธรณีสณ ั ฐานวิทยา เพื3อการเผยแพร่ ข้อมูลธรณีวิทยาใน
พื !นที3
หินทรายในพื !นที3ศึกษาเป็ นหินทรายเนื !อทรายหยาบปนเม็ดกรวด ชันหิ ! นด้ านบนสุดที3พบ
กุมภลักษณ์มีเนื !อค่อนข้ างละเอียดหรื อมีขนาดเม็ดตะกอนที3เท่าๆกัน มีความหนาตังแต่ ! 1-3 เมตร
พบโครงสร้ างชันเฉี
! ยงระดับขนาดใหญ่ พบมีเม็ดกรวดเรี ยงตัวตามแนวชันเฉี ! ยงระดับ ตําแหน่งที3พบ
กุมภลักษณ์อย่างมากมายนัน! พบว่าชันหิ ! นมีมมุ เอียงเทที3ตํ3ามากหรื อน้ องกว่า 5 องศา และพบว่า
กุมภลักษณ์มีการกระจายตัวอยูป่ ระมาณกลางโครงสร้ างแบบประทุนหงายของชันหิ ! นที3มีแม่นํ !าโขง
ตัดผ่านจากแนวทิ ศเหนื อไปสู่ทิศใต้ ซึ3ง จากการวิ เ คราะห์ การกวัดแกว่ง ของทางนํ า! พบว่ามี การ
เปลี3ยนแปลงหรื อวิวฒ ั นาการในแนวระดับน้ อยมาก
ผลการวิ เ คราะห์ รู ปแบบของกุม ภลักษณ์ โดยคํ านึงถึ ง ปั จ จัยทางธรณี วิทยาของชัน! หิ น
ลั ก ษณะปรากฏของเนื อ! หิ น โครงสร้ างตะกอนในชั น! หิ น และโครงสร้ างทางธรณี วิ ท ยา
สามารถจําแนกรู ปแบบของกุมภลักษณ์ ได้ 6 รู ปแบบ คือ 1) รู ปแบบหม้ อกลม 2) รู ปแบบแนวโค้ ง
ยาว 3) รูปแบบสระนํ !าขนาดใหญ่ 4) รูปแบบโพรงถํ !าคล้ ายหลุมยุบ 5) รูปแบบเส้ นตรงเชื3อมต่อกัน
6) รูปแบบร่องนํ !ารูปตัวยู หรื อแคนยอน

คําสําคัญ : แม่ นําโขง, แหล่ งสามพันโบก, หมวดหินภูพาน, วิวัฒนาการของแม่ นํา,


กุมภลักษณ์

Title: Geomorphology and patterns of pot-holes from the Mekong River,


SamPun Bok,Amphoe Pho Sai, ChangwatUbonRatchathani
Researcher: Papon Raksatham
Advisor: Assoc. Prf. MontriChoowong
Co Advisor: Dr. VichaiChutakositkanon
Academic year: 2013

Abstract
Sam Pun Bok area is characterized by widespread of pot-holes or “Bok” in Thai.
The pot-holes in this area are found relatively in PhuPhan Formation. However, there are
little documents for geomorphic study of the pot-hole formation in this area. In addition,
studying of pot-hole formation, paleo-evolution and avulsion of the MeKong river,
identifying pot-hole pattern and relationship between geomorphology and pot-hole will
bring a great information for geo-park establishing.
Pot-hole in this area occurs extensively in place where the bedding of sandstone
of PhuPhan Formation lying as sub-horizontal beds (less than 5 degree). These
sandstone beds are located just in the middle part of almost east-west syncline axis
where the Mekong river cutting across the beds from almost north-south direction and
the analysis of the development or avulsion of the Mekong river showed that is changed
in a very low level. Pebbly sandstone here contains mega cross-bedding and trough
cross-bedding with the thickness of each bed ranging between 1-3 m.
Patterns of pot-hole are classified based on their morphology, texture,
sedimentary and geological structure as 1) single pot shape, 2) long curve shape, 3)
large pool shape 4) sink-hole like cave, 5) straight and connect shape and 6) U-shape
valley or canyon

Keywords : Mekong river, Sam Pun Bok, Phu Phan Formation, Avulsion, Pothole

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบพระคุณอาจารย์ที3ปรึ กษา รศ.ดร.มนตรี ชูวงษ์ และอาจารย์ที3ปรึ กษาร่ วม อาจารย์


ดร. วิชยั จูฑะโกสิทธิ%กานนท์ ที3กรุ ณาสละเวลาอันมีคา่ เพื3อให้ ความรู้ คําแนะนํา คําติชม รวมทังให้
!
โอกาสในการทํางานวิจยั นี !

ขอขอบคุณ คณะอาจารย์ ที3 ค อยให้ ข้ อ มู ล และคํ า ปรึ ก ษาในการทํ า งานวิ จัย นี ! ได้ แ ก่
ผศ.ดร.ฐาสิณีย์ เจริ ญฐิ ตริ ัตน์ อาจารย์ ดร. สันติ ภัยหลบลี ! และดร.สุเมธ พันธุวงค์ราช

ขอขอบคุณการสนับสนุนทุนวิจยั ในการสํารวจภาคสนามจากกรมทรัพยากรธรณี กระทรวง


ทรัพยากรธรรมชาติและสิ3งแวดล้ อม

ขอขอบพระคุ ณ คณาจารย์ ภ าควิ ช าธรณี วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์


มหาวิทยาลัยทุกท่านที3ได้ สงั3 สอนอบรมความรู้ ตลอดจนคําแนะนํา คําปรึกษา

ขอขอบคุณเพื3อนๆ GEO’54 ทุกคน ที3ให้ กําลังใจทําให้ มีผลต่อการทําวิจยั ครัง! นี ! โดยเฉพาะ


นายสหพล พงษ์ เพี ยรสกุล นายภูวน ชัยขจรวัฒ น์ และนางสาวสิ ริ ประภา คุณ าสุธี รั ตน์ ที3 คอย
ช่วยเหลือในการทํารายงานการวิจยั ครัง! นี !

สุดท้ ายนี !ทางผู้ศึกษาต้ องขอขอบคุณต้ นสังกัด คือ ภาควิชาธรณี วิทยา คณะวิทยาศาสตร์


จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ที3ให้ การสนับสนุนด้ านการเดินทาง รถยนต์ที3ใช้ ในการสํ ารวจ รวมทัง!
ห้ องปฏิบตั กิ ารที3ใช้ ในการทํางานวิจยั

สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่ อภาษาไทย ง
บทคัดย่ อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญ ช
สารบัญรู ปภาพ ฌ
บทที, 1 บทนํา 1
1.1 ที3มาและความสําคัญ 1
1.2 นิยามปั ญหา 2
1.3 สมมติฐาน 2
1.4 วัตถุประสงค์ 2
1.5 ขอบเขตการศึกษา 2
1.6 พื !นที3ศกึ ษา 3
1.7 ผลที3คาดว่าจะได้ รับ 4
1.8 ทฤษฎีพื !นฐานและงานวิจยั ที3เกี3ยวข้ อง 4
บทที, 2 วิธีการดําเนินงานวิจัย 8
2.1 ระเบียบวิธีวิจยั 8
2.2 การรวบรวมข้ อมูล และจัดทําแผนที3ต้นร่าง 11
บทที, 3 ผลการดําเนินงาน 17
3.1 ผลการวิเคราะห์การเปลี3ยนแปลงของแม่นํ !าโขงจากการวิเคราะห์ภาพถ่าย 17
ดาวเทียม
3.2 ผลการศึกษาวิจยั เชิงลึกทางธรณีสณ ั ฐานวิทยา 18

สารบัญ(ต่ อ)
หน้ า
บทที, 4 อภิปรายผล 20
4.1 บทวิเคราะห์ลกั ษณะเด่นหรื อรูปแบบของการเกิดแหล่งสามพันโบก 20
4.2 บทวิเคราะห์วิวฒั นาการธรณีสณ ั ฐาน 31
บทที, 5 สรุ ปผลการวิจัย 34

เอกสารอ้ างอิง 35

สารบัญรู ปภาพ

หน้ า
รูป 1.1 ภาพถ่ายดาวเทียมจากโปรแกรม Google earth แสดงกรอบพื !นที3ศกึ ษา
อุทยานสามพันโบก 3

รูป 1.2 หินก้ อนที3เป็ นตัวการในการขัดถู (grinder) ภายในกุมภลักษณ์ที3เป็ นได้


ตังแต่
! ขนาดเล็ก pebble ถึงขนาดใหญ่ boulder (Alexander, 1932) 6

รูป 1.3 การวิวฒ


ั นาการธรณีสณ
ั ฐาน ของการเกิดโบกหรื อกุมภลักษณ์ในลักษณะทัว3 ไป
(Marek W. Lorenc et al, 1994) 6

รูป 1.4 กุมลักษณ์ที3เกิดหลายระดับแสดงความต่อเนื3องของการปรับระดับท้ องนํ !า


ที3อาจพบสะพานหินธรรมชาติ (natural bridge) ได้ (Netoff et al., 1980) 7

รูป 2.1 ภาพถ่ายทางอากาศ บริ เวณพื !นที3สามพันโบก อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี


ปี 1999 และ 2009 11

รูป 2.2 แผนที3แสดงภาพถ่ายดาวเทียมจากโปรแกรม Google Earth ครอบคลุมบริ เวณ


พื !นที3สามพันโบก อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2006 12

รูป 2.3 แผนที3ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ปี 2551 มาตราส่วน 1:50,000 12

รูป 2.4 แผนที3ธรณีวิทยาต้ นร่าง มาตราส่วน 1:50,000 13

รูป 2.5 กรอบแผนที3ธรณีสณ


ั ฐานวิทยาต้ นร่าง มาตราส่วน 1:50,000 14

รูป 2.6 กรอบพื !นที3สามพันโบก มาตราส่วน 1:4,000 15

รูป 3.1 แผนที3การเปลี3ยนแปลงแม่นํ !าโขง พื !นที3สามพันโบก มาตราส่วน 1:4,000 17


สารบัญรู ปภาพ(ต่ อ)

หน้ า
รูป 3.2 แผนที3ธรณีสณ
ั ฐานวิทยา มาตราส่วน 1:50,000 ครอบคลุมพื !นที3ศกึ ษา
และครอบคลุมสภาพธรณีสณ ั ฐานไปจนถึงฝั3 งสาธรณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาวที3ได้ จากการแปลข้ อมูลภาพดาวเทียม 18

รูป 3.3 แผนที3แสดงการกระจายตัวของกุมภลักษณ์ (pot-holes) ในบริ เวณสามพันโบก


ที3ได้ จากการวิเคราะห์ภาพดาวเทียมเชิงพื !นที3 สําหรับช่วยในการจําแนกรูปแบบ
กุมภลักษณ์ในระดับรายละเอียด และช่วยในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์กบั
ปั จจัยทางธรณีวิทยา 19

รูป 4.1 โบกหรื อกุมภลักษณ์ที3เกิดตามปกติบนพื !นผิวของหินทรายหมวดภูพานที3วางตัว


เกือบราบ และมีเนื !อหินที3แสดงขนาดตะกอนใกล้ เคียงกัน (Homogenous texture) 21

รูป 4.2 โมเดลแสดงวิวฒ


ั นาการการเกิด ของโบกรูปแบบหม้ อกลม 22

รูป 4.3 โบกหรื อกุภลักษณ์ที3มีวิวฒั นาการตามแนวรอยแตกที3เป็ นระบบ (Joint system)


โดยแสดงให้ เห็นถึงการเชื3อมต่อกันของหลายๆตัวตามแนวรอยแตก (รูปซ้ าย)
และแนวร่องนํ !าที3ดเู หมือนเชื3อมต่อโบกหลายโบกที3พฒ
ั นาตัวร่ องตามแนวรอย
ต่อของแนวโครงสร้ างเฉียงระดับขนาดใหญ่ (รู ปขวา) 23

รูป4.4 โบกหรื อกุมภลักษณ์ที3เกิดตามแล้ วโครงสร้ างของชันหิ


! น รอยต่อระหว่างชันหิ
! น
และรอยต่อระหว่างชันเฉี
! ยงระดับขนาดใหญ่ โบกที3มีการพัฒนาอยูใ่ นกรณีนี !จา
ไม่คอ่ ยมีรูปร่างกลมและไม่ลกึ 24

รูป 4.5 โมเดลแสดงการเกิดของโบก รูปแบบเส้ นตรงเชื3อมต่อกัน และรูปแบบแนวโค้ งยาว


ซึง3 ทัง! 2 รูปแบบมีลกั ษณะการเกิดและวิวฒ ั นาการที3คล้ ายกัน แตกต่างกันที3แนวเส้ น
หรื อรูปแบบของweak zone เช่น รอนแตก รอยแยก หรื อรอยต่อของ mega cross-
bedding ด้ วยเหตุนี !ทําให้ ได้ รูปแบบของกุมภลักษณ์ออกมาแตกต่างกัน 25

รูป 4.6 โบกหรื อกุมภลักษณ์ที3เกิดซํ !าในโบกเดิม จนเชื3อมต่อกันจนเป็ นสระนํ !าขนาดใหญ่ 26


สารบัญรู ปภาพ(ต่ อ)

หน้ า
รูป 4.7 โมเดลแสดงการเกิดและวิวฒ
ั นาการของโบก รู ปแบบสระนํ !าใหญ่
(Large pool shape) 27

รูป 4.8 โบกหรื อกุภลักษณ์ที3เกิดจากการเชื3อมต่อกันหลายโบกแล้ วค่อยมีการพัฒนาการ


การกัดเซาะในแนวดิง3 (รู ปซ้ าย) หรื อเกิดซํ !าๆในโบกเดิมอย่างต่อเนื3องซํ !าซ้ อนจน
ทะลุเชื3อมต่อกันเป็ นโพรง (รู ปขวา) แสดงถึงความต่อเนื3องของการกัดเซาะ
ในขณะที3ระดับนํ !าโขงท่วมเข้ ามาและมีการเปลี3ยนระดับนํ !าในแม่นํ !า 28

รูป 4.9 โบกที3เกิดในร่องนํ !าเดิมเชื3อมต่อกันกว้ างใหญ่และลึกมากขึ !น 29

รูป 4.10 โบกที3เชื3อมต่อกันเป็ นแนวยาวลึกจนเป็ นรู ปตัวยูคล้ ายร่ องนํ !าแนวตรงหรื อคล้ าย
แคนยอน 30

รูป 4.11 พื !นที3ศกึ ษาเป็ นส่วนต่อเนื3องจากแนวคดโค้ งของเทือกเขาภูพานการสลับกันของ


โครงสร้ างประทุนควํ3าและประทุนหงายในพื !นที3ศกึ ษาและบริ เวณโดยรอบน่า
จะเป็ นผลมาจาก Himalayan Orogeny 31

รูป 4.12 ภาพดาวเทียมแสดงให้ เห็นแหล่งสามพันโบกเกิดบริ เวณตอนกลางแอ่งของ


โครงสร้ างแบบประทุนหงาย (Syncline) ซึง3 โบกส่วนใหญ่พบในหมวดหินภูพาน
ที3มีมมุ เอียงเทตํ3าหรื อเกือบแนวระดับ 32

รูป 4.13 แผนที3ธรณีสณั ฐานวิทยาของพื !นที3ศกึ ษา โทนแดง ส้ ม เขียว และเหลือง แสดง


ความสูงของพื !นที3จากสูงไปตํ3า พบธรณีสณ ั ฐานแบบเควสต้ า (Cuesta) และ
เขายอดราบ (Mesa) ด้ านตะวันออกเฉียงใต้ ของพื !นที3 พร้ อมแบบจําลองแสดง
โครงสร้ างประทุนควํ3า (Anticline) ที3พบบริ เวณด้ านใต้ ของพื !นที3เป็ นการโก่งตัว
ของหมวดหินภูกระดึง พระวิหาร และเสาขรัว ส่วนโครงสร้ างประทุนหงาย
(Syncline) จะพบบริ เวณตอนกลางของพื !นที3 33
1

บทที, 1
บทนํา (Introduction)
1.1 ที,มาและความสําคัญ
ธรณี สณ ั ฐานวิทยา (Geomorphology) เป็ นสาขาหนึ3งทางธรณี วิทยาที3ว่าด้ วยพื !นผิวของ
โลก ซึ3งประมวลเอาทังรู! ปร่ างธรรมชาติ กระบวนการเกิด การปรับสภาพของพื !นผิวโลก ตลอดจน
การเปลี3 ยนแปลงต่างๆที3 พ บเห็ นได้ ใ นปั จ จุบัน ซึ3ง ข้ อมูล ที3 ไ ด้ จ ากการศึกษาธรณี สัณ ฐานวิ ทยา
สามารถนํามาประยุกต์ใช้ กบั งานหลายๆด้ าน เช่น ด้ านสํารวจแหล่งโบราณคดี ด้ านการสํารวจหา
แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ การสํารวจพิบตั ิภัยต่างๆ ตลอดจน อธิ บายกลไกการทํางานของนํ !า ลม
ธารนํ !าแข็งที3ปรากฏบนพื !นผิวโลกได้ อย่างชัดเจน ดังนันจึ ! งเป็ นการดีที3จะทําการศึกษาเกี3ยวกับธรณี
สัณฐานวิทยา โดยมุง่ เน้ นไปที3กระบวนการของธารนํ !า ซึ3งนับว่ามีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของ
ประชาชนไทยตังแต่ ! อดีตจนถึงปั จจุบนั
แม่นํ !าโขงเป็ นแม่นํา! สายหนึ3งที3 สําคัญมากต่อประชากรชาวไทย เป็ นแม่นํา! สากลซึ3งมี จุด
กําเนิดมาจากประเทศจีน ประมาณครึ3 งหนึ3งของลํานํ !า (2,373 กิโลเมตร) อยู่ในส่วนที3เรี ยกว่า “ลุ่ม
นํ !าโขงตอนล่าง” ไหลผ่าน 4 ประเทศ คือ ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนามพื !นที3ล่มุ นํ !าในส่วนนี !เป็ นที3
อยู่อาศัยของผู้คนของทัง4 ! ประเทศจํานวนประมาณ 62 ล้ านคน เท่าๆกับประชากรในปั จจุบนั ของ
ประเทศไทย
การศึก ษาในครั ง! นี ม! ี พื น! ที3 ศึกษาที3 บริ เ วณสามพันโบก ตํ าบลเหล่า งาม อํ าเภอโพธิ% ไ ทร
จังหวัดอุบลราชธานี ซึ3งจากการศึกษางานวิจยั ต่างๆที3ผ่านมา พบว่ามีการศึกษาพื !นที3ดงั กล่าวใน
เชิง ลึกอยู่น้อยมาก รวมทัง! จากการที3 กรมทรั พ ยากรธรณี แ ละกระทรวงทรั พยากรธรรมชาติและ
สิ3งแวดล้ อมได้ มีนโยบายจัดตังให้ ! พื !นที3สามพันโบกเป็ นอุทยานธรณีวิทยาแห่งแรกของประเทศไทย
และในอนาคตจะยื3นต่อองค์การยูเนสโก(UNESCO) เพื3อพัฒนาสูอ่ ทุ ยานธรณีวิทยาระดับโลกต่อไป
โดยผู้ทํา วิ จัย เห็ นว่ าในพื น! ที3 ดัง กล่า วมี ก ารโค้ ง ตวัดของแม่ นํ า! โขงที3 ค่อ นข้ างชัด เจน และมี ก าร
วิวฒ ั นาการของกุมภลักษณ์ (Potholes) ที3นา่ สนใจ
ด้ วยเหตุนีท! างผู้ทําวิจัยจึงมี แนวคิดที3 จะศึกษากระบวนการทํ างานและวิวัฒนาการของ
แม่ นํ า! โขง รวมทัง! ความสัม พัน ธ์ เ ชิ ง วิ วัฒ นาการของธรณี สัณ ฐานแม่ นํ า! โขงกั บ ลัก ษณะของ
กุมภลักษณ์ ซึ3งมีลกั ษณะหลากหลายรู ปแบบ ซึ3งการศึกษานี !จะใช้ ข้อมูลโทรสัมผัสรวบรวมข้ อมูล
จากแผนที3ภมู ิประเทศ ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม เพื3อเปรี ยบเทียบลักษณะธรณี
สัณฐานของแม่นํ !า และหาความสัมพันธ์เชิงวิวฒ ั นาการดังกล่าวไว้ แล้ วข้ างต้ นได้
2

1.2 นิยามปั ญหา


ธรณีสณั ฐานที3เกิดจากการโค้ งตวัดกวัดแกว่งของแม่นํ !าโขง และโครงสร้ างต่างๆในพื !นที3มี
ผลต่อรูปร่างและการเกิดของกุมภลักษณ์หรื อไม่ อย่างไร

1.3 สมมติฐาน
สภาพธรณีสณ
ั ฐานวิทยาและธรณีวิทยาของแม่นํ !าโขงมีผลต่อการเกิดกุมภลักษณ์

1.4 วัตถุประสงค์
1. สํารวจธรณีสณ
ั ฐานและธรณีวิทยาตามแนวแม่นํ !าโขงที3พบกุมภลักษณ์
2. จําแนกชนิดกุมภลักษณ์ วิเคราะห์ การเกิ ดและความสัมพันธ์ กับสภาพธรณี สัณฐาน
วิทยาและธรณีวิทยา

1.5 ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาธรณี สณ ั ฐานและความสัมพันธ์ เชิงวิวัฒนาการของธรณี สัณฐานและกุมภลักษณ์
จากพื น! ที3 กวัดแกว่ง ของแม่นํา! โขง บริ เ วณสามพันโบก ตําบลเหล่างาม อํ าเภอโพธิ% ไทร จัง หวัด
อุบลราชธานี โดยการแปลภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม
3

1.6 พืนที,ศึกษา

รู ป 1.1 ภาพถ่ายดาวเทียมจากโปรแกรม Google earth แสดงกรอบพื !นที3ศกึ ษา


(กรอบสีแดง) อุทยานสามพันโบก

ขอบเขตพืนที,ศึกษา
สามพั น โบก ตั ง! อยู่ ใ นพื น! ที3 บ้ านโป่ งเป้ า ตํ า บลเหล่ า งาม อํ า เภอโพธิ% ไ ทร จั ง หวั ด
อุบลราชธานี บริ เวณพิกดั ที3 0542319 ตะวันออก 1746386 เหนือ ในแผนที3ภูมิประเทศมาตราส่วน
1:50000 ระวางอําเภอโพธิ%ไทร (6040 I) บริ เวณริ มแม่นํ !าโขงฝั3 งประเทศไทย
4

1.7 ผลที,คาดว่ าจะได้ รับ


1. ทราบถึงวิวฒั นาการการกวัดแกว่งของแม่นํ !าโขง
2. สามารถจําแนกรูปแบบของกุมภลักษณ์ โดยอาศัยปั จจัยต่างๆทางธรณีวิทยา
3. ทราบถึงความสัมพันธ์เชิงวิวฒ
ั นาการระหว่างการเปลี3ยนแปลงธรณีสณ
ั ฐานของแม่นํ !าและ
การเปลี3ยนแปลงลักษณะของกุมภลักษณ์
1.8 ทฤษฎีพืนฐานและงานวิจัยที,เกี,ยวข้ อง
ตัวอย่างงานวิจยั ที3เกี3 ยวข้ องกับวิวฒ ั นาการและการกวัดแกว่งของทางนํ !า ได้ มีการศึกษา
ของ Kummu และคณะ (2007) เป็ นการศึกษาที3เกี3ยวกับการเปลี3ยนแปลงของตลิ3งแม่นํ !าโขง โดยใช้
วิธีโทรสัมผัส บริ เวณเวียงจันทร์ และหนองคาย ซึ3งใช้ แผนที3ภาพถ่ายทางอากาศ และภาพถ่ายทาง
ดาวเที ยม โดยถ่ายในปี 2004 และ2005 มาเปรี ยบเที ยบและสังเกตบริ เวณริ มตลิ3ง ที3 ถูกกัดเซาะ
รวมทัง! การสะสมตัวของตะกอน ซึ3งผลที3 ได้ เ ป็ นอัตราการเฉลี3 ยของการกวัดแกว่งของแม่นํา! โขง
แต่ละปี ซึง3 วิธีการที3ใช้ ในการศึกษา สามารถนํามาประยุกต์ใช้ กบั งานศึกษานี !ได้
Marek W. Lorenc et al.(1994) ศึกษาวิวฒ ั นาการของกุมลักษณ์ ในหินแกรนิตของ
ประเทศสเปน และแบ่งลําดับวิวฒ ั นาการของกุมลักษณ์ ออกเป็ น 6 ขัน! ตามลักษณะรู ปร่ างและ
ระยะเวลาของการพัฒ นาของการเกิ ดกุม ลัก ษณ์ ซึ3ง สามารถนํ า ไปใช้ วิ เ คราะห์ ภ าวะสมบูร ณ์
(Maturity) ของแม่นํ !าได้
Ward และ Bunnag (1964) นําเสนอหมวดหินภูพาน แสดงการวางตัวต่อเนื3องอยู่บน
หมวดหินเสาขัวพบตามเทื อกเขาขอบแอ่งโคราชและบริ เวณส่วนบนของเขายอดราบ ตามแนว
เทือกเขาภูพาน ประกอบด้ วยหินทรายสีเทาปนขาว ขนาดเม็ดตะกอนปานกลางจนถึงเม็ดขนาด
กรวดมน แสดงชัน! เฉี ยงระดับ มักพบเม็ดกรวดขนาดปานกลางในเนื อ! หิน มีความหนาประมาณ
183 เมตร มีชนหิ ั ! นแบบฉบับอยูท่ ี3ภผู าผึ !ง อําเภอกุฉินารายณ์
5

แนวคิดการเกิดกุมภลักษณ์
รู ป แบบจากการกั ด กร่ อ นในพื น! ผิ ว และเนื อ! ทรายที3 พ บในบริ เ วณอุ ท ยานสามพัน โบก
ที3โดดเด่นมากคือ กุมภลักษณ์ (Pothole) ที3ชดั เจนว่าเกิดมาตังแต่ ! อดีตในช่วงที3แม่นํ !าโขงมีการไหล
ผ่ า นชัน! หิ น ทรายในบริ เ วณพื น! ที3 นี ! อย่ า งไรก็ ต ามการวิ เ คราะห์ วิ วัฒ นาการและการเกิ ด ของ
กุมภลักษณ์ในระดับสากลยังไม่เป็ นที3แพร่ หลายเนื3องจากร่ อยรอยการกัดเซาะชนิดนี !มักถูกพบใน
พื !นที3ที3ถูกจํากัดโดยปั จจัยทางธรณี วิทยาโครงสร้ าง เช่น การวางตัวของชันหิ ! น รอยแตก รอยแยก
ในชันหิ
! น หรื อแม้ กระทัง3 ความรุ นแรงของการพัดพาของกระแสนํ !าในอดีตและปั จจุบนั ปั จจัยต่างๆ
เหล่านี !มีความสําคัญในการนํามาช่วยวิเคราะห์การเกิดของกุภลักษณ์ ทงสิ ั ! !น รวมถึงการประเมิน
การเปลี3ยนแปลงรูปแบบของกุมภลักษณ์ที3อาจเกิดขึ !นในอนาคต
งานวิ จั ย บุ ก เบิ ก ได้ ก ล่ า วถึ ง กลไกการเกิ ด กุ ม ภลั ก ษณ์ ต ามท้ องนํ า! ได้ เ ผยแพร่ โ ดย
Alexander (1932) ซึ3งกล่าวไว้ ว่า การกัดเซาะในท้ องนํ !าจะเกิดขึ !นก็ตอ่ เมื3อมีรอยแตก (Joint) หรื อ
รอยแยก (Fracture) ขนาดต่างๆ กัน ซึ3งเมื3อก้ อนหินมีการเคลื3อนตัวบนผิวท้ องนํ !าที3เป็ นหินที3มีรอย
แตกจะสามารถกระแทกในที3ซํ !าๆ เดิมจนเกิดเป็ นหลุมที3เกิดการผุกร่ อน (Weathering pit) ต่อมา
ต้ องมีตวั การในการขัดถูท้องนํ !าซึ3งก็คือก้ อนกรวดขนาดต่างๆ (Grinder) ซึ3งในธรรมชาติแล้ วจะมี
หลายขนาด ตังแต่ ! ก้อนกรวดขนาดใหญ่ (Boulder) ถึงขนาดเม็ดทราย (Sand)
6

รู ป 1.2 หินก้ อนที3เป็ นตัวการในการขัดถู (grinder) ภายในกุมภลักษณ์ที3เป็ นได้ ตงแต่


ั ! ขนาดเล็ก
pebble ถึงขนาดใหญ่ boulder (Alexander, 1932)

รู ป 1.3 การวิวฒ ั ฐาน ของการเกิดโบกหรื อกุมภลักษณ์ในลักษณะทัว3 ไป


ั นาการธรณีสณ
(Marek W. Lorenc et al, 1994)
7

กุมภลักษณ์ สามารถเกิดได้ หลายระดับความลึก โดยเฉพาะในกรณี ที3มีการเปลี3ยนแปลง


ระดับนํ !าในแม่นํ !าอันเนื3องมาจากการกัดเซาะในแนวดิ3งอย่างต่อเนื3อง ทําให้ ท้องนํ !าเดิมอยู่สงู จาก
ท้ องนํ !าปั จจุบนั กรณีนี !จะพบกุมภลักษณ์ในหลายระดับได้ โดยบางครัง! อาจพบกุมภลักษณ์ใหม่ใน
กุมภลักษณ์ที3เกิดก่อน ซึง3 อาจพบเป็ นสะพานหินธรรมชาติ (natural bridge) ขนาดเล็กๆ ได้ เช่นดัน

รู ป 1.4 กุมลักษณ์ที3เกิดหลายระดับแสดงความต่อเนื3องของการปรับระดับท้ องนํ !า ที3อาจพบ


สะพานหินธรรมชาติ (natural bridge) ได้ (Netoff et al., 1980) จากรู ปเส้ นประสีแดง
แสดงส่วนของกุมภลักษณ์ที3อาจพัฒนาไปเป็ นสะพานธรรมชาติได้ ในอนาคต
8

บทที, 2
วิธีการดําเนินงานวิจัย (Methodology)
2.1 ระเบียบวิธีวิจัย (Methodology)
2.1.1 ศึกษางานวิจยั ที3เกี3ยวข้ อง
2.1.1.1 ศึกษางานวิจยั ที3เกี3ยวข้ องกับพื !นที3ศกึ ษา รวมทังงานวิ
! จยั ที3สามารถนํามา
ประยุกต์ใช้ ได้
2.1.1.2 รวบรวมข้ อมูลงานวิจยั ที3เกี3ยวข้ องกับขอบเขตการศึกษา นํามาประยุกต์ใช้
ในการดําเนินงาน
2.1.2 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทางธรณีสณ ั ฐานวิทยาและลักษณะของกุมภลักษณ์ในพื !นที3
ศึกษา
2.1.2.1 ศึกษาข้ อมูลแผนที3ภูมิประเทศ (Topographic map) แผนที3ธรณีวิทยา
(Geological map) และแผนที3เส้ นทางคมนาคม (Route map)
2.1.2.2 ข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม (Satellite image) และภาพถ่ายทางอากาศ
(Aerial photograph)
2.1.2.3 ข้ อมูลเชิงพื !นที3ศกึ ษา เช่น ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศเป็ นต้ น
2.1.2.4 กําหนดขอบเขตพื !นที3ศกึ ษา
2.1.2.5 แปลภาพถ่ายทางอากาศ ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมโดยใช้ ลกั ษณะธรณี
สัณฐานวิทยา (Morphology) เพื3อจําแนกชนิดของธรณีสณ ั ฐาน รวมทัง!
สังเกตการเปลี3ยนแปลงของกุมภลักษณ์ในพื !นที3ศกึ ษาในภาพกว้ างจาก
กระบวนการดังกล่าวด้ วย
2.1.2.6 รวบรวมข้ อมูลที3ได้ เพื3อเพื3อจัดทําแผนที3ธรณีสณ ั ฐานวิทยาและกําหนด
ตําแหน่งเพื3อทําการออกภาคสนาม
2.1.3 สํารวจภาคสนามภาคสนาม
2.1.3.1 ตรวจสอบความถูกต้ องของลักษณะทางธรณีสณ ั ฐานที3ได้ จากการแปล
ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม
2.1.3.2 ศึกษาสภาพของแม่นํ !าและลักษณะของกุมภลักษณ์ในปั จจุบนั รวมทัง!
สํารวจปั จจัยที3มีผลต่อการวิวฒ
ั นาการของทังทางนํ
! !าและลักษณะของ
กุมภลักษณ์
9

2.1.4 รวมรวบและวิเคราะห์ข้อมูล
2.1.4.1 แก้ ไขและปรับปรุงข้ อมูลที3ได้ จากการแปลภาพถ่ายไว้ แล้ วให้ ถกู ต้ องตาม
ข้ อมูลที3ได้ จากการออกภาคสนาม เพื3อจัดทําแผนที3ธรณีสณ ั ฐานวิทยา
ของพื !นที3ศกึ ษาฉบับสมบูรณ์
2.1.4.2 วิเคราะห์กระบวนการกวัดแกว่งของแม่นํ !า ความสัมพันธ์ของแม่นํ !ากับ
ลักษณะที3เปลี3ยนแปลงของกุมภลักษณ์
2.1.5 สรุปผลการศึกษาและจัดทํารายงาน
10

วิธีการดําเนินงานวิจัย (Methodology)

ศึกษางานวิจยั ที3เกี3ยวข้ อง และข้ อมูลธรณีสณ


ั ฐานวิทยาบริเวณพื !นที3ศกึ ษา

รวบรวมข้ อมูลพื !นฐาน และวางแผนการ

แผนที3ภมู ิประเทศ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม


และแผนที3ธรณีวิทยา

จําแนกชนิดธรณีสณ
ั ฐานของพื !นที3ศกึ ษา

ออกภาคสนาม

ตรวจสอบธรณีสณ
ั ฐานในพื !นที3ศกึ ษาที3ได้ ศึกษาการเปลีย3 นแปลงลักษณะของ
ทําการแปลไว้ แล้ ว กุมภลักษณ์ และปั จจัยต่างๆทีเ3 กี3ยวข้ อง

รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล

จัดทําแผนที3ธรณีสณ
ั ฐานวิทยา
ฉบับสมบูรณ์

สรุปผล และจัดทํารายงาน
11

2.2 การรวบรวมข้ อมูล และจัดทําแผนที,ต้นร่ าง


2.2.1 รวบรวมข้ อมูลภาพ
1. แผนที3ภมู ิประเทศ มาตราส่วน 1:50000 ระวางอําเภอโพธิ%ไทร (6040 I) บริ เวณริ มแม่นํ !า
โขงฝั3 งประเทศไทย
2. ภาพถ่ายทางอากาศ บริ เวณพื !นที3สามพันโบก อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี
ปี 1999, 2006 และ 2009
3. ภาพถ่ายดาวเทียมจากโปรแกรม Google Earth ครอบคลุมบริ เวณพื !นที3สามพันโบก
อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2006
4. แผนที3ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ปี 2551

รู ป 2.1 ภาพถ่ายทางอากาศ บริ เวณพื !นที3สามพันโบก อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี


ปี 1999 และ 2009
12

4 km.

รู ป 2.2 แผนที3แสดงภาพถ่ายดาวเทียมจากโปรแกรม Google Earth ครอบคลุมบริ เวณพื !นที3


สามพันโบก อําเภอโพธิ%ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2006

รู ป 2.3 แผนที3ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี ปี 2551 มาตราส่วน 1:50,000


13

2.2.2 วิเคราะห์และจัดทําแผนที3ธรณีวิทยาต้ นร่าง


2.2.2.1 แผนที3ธรณีวิทยาและธรณีสณ ั ฐานวิทยาต้ นร่าง มาตราส่วน 1:50,000

รู ป 2.4 แผนที3ธรณีวิทยาต้ นร่าง มาตราส่วน 1:50,000


14

รู ป 2.5 กรอบแผนที3ธรณีสณ
ั ฐานวิทยาต้ นร่ าง มาตราส่วน 1:50,000
15

2.2.2.2 แผนที3ธรณีวิทยาและธรณีสณ
ั ฐานต้ นร่ าง มาตราส่วน 1:4,000

รู ป 2.6 กรอบพื !นที3สามพันโบก มาตราส่วน 1:4,000


16

2.2.3 การสํารวจภาคสนาม
จากการสํ ารวจภาคสนามเก็ บข้ อมูลเบื อ! งต้ น บริ เวณพื น! ที3 อุทยานสามพันโบก
อําเภอโพธิ% ไทร จังหวัดอุบลราชธานี เมื3อวันที3 25 พฤษภาคม พ.ศ.2556 เพื3อตรวจสอบ
ลักษณะทางธรณีวิทยา ธรณีสณ ั ฐาน รวมทังดู
! การกระจายตัวและลักษณะของกุภลักษณ์
ในพื !นที3 นําข้ อมูลจากการออกภาคสนามเบื !องต้ น มาวิเคราะห์การเกิดของกุภลักษณ์ และ
หาความสัม พัน ธ์ กับธรณี วิทยา ธรณี สัณ ฐาน และธรณี โครงสร้ างในพื น! ที3 ศึกษา โดยมี
ขันตอนการศึ
! กษาต่อไป ดังนี !
1. นําเอาข้ อมูลจากการสํารวจภาคสนาม มาใช้ ควบคูก่ บั การแปลภาพถ่ายทาง
อากาศ และภาพถ่ายดาวเทียม เพื3อศึกษาการเปลี3ยนแปลงหรื อวิวฒ ั นาการของ
ทางนํ !าโขง
2. ศึกษาข้ อมูลการสํารวจภาคสนาม และข้ อมูลที3ได้ จากการวิเคราะห์ภาพถ่ายทาง
อากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม เพื3อจําแนกรู ปแบบของกุมภลักษณ์ รวมทังวิ ! เคราะห์
การเกิดและวิวฒั นาการ
17

บทที, 3
ผลการดําเนินงาน
3.1 ผลการวิเคราะห์ การเปลี,ยนแปลงของแม่ นําโขงจากการวิเคราะห์ ภาพถ่ ายดาวเทียม
จากการเปรี ยบเทียบขนาดและตําแหน่งของแม่นํ !าโขงในพื !นที3อุทยานสามพันโบก โดยใช้
ภาพถ่ายดาวเทียมและภาพถ่ายทางอากาศทีมีระยะเวลาการถ่ายภาพห่างกัน ได้ แก่ปี ค.ศ.1999,
2006 และ 2009 สังเกตได้ อย่างชัดเจนว่า การกัดเซาะเกิดขึ !นในแนวดิ3งเป็ นหลัก ไม่มีการกัดเซาะ
ในแนวระดับหรื อกัดเซาะตลิ3 ง ที3 รุ นแรงแต่อย่างใด เนื3 องจากมี การปรั บเปลี3 ยนระดับของแม่นํา!
ในแนวดิง3 ในพื !นที3กําลังดําเนินไปอย่างต่อเนื3องในปั จจุบนั

รู ป 3.1 แผนที3การเปลี3ยนแปลงแม่นํ !าโขง พื !นที3สามพันโบก มาตราส่วน 1:4,000


18

3.2 ผลการศึกษาวิจัยเชิงลึกทางธรณีสัณฐานวิทยา
ผู้ศึกษาได้ จัดทํ าแผนที3 ธรณี สัณฐานวิ ทยา มาตราส่วน 1:50,000 ครอบคลุมพื น! ที3 ศึกษา
ทังหมด
! แสดงการกระจายตัวความโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์ ของธรณี สัณฐานโดยรอบและในบริ เวณ
พื !นที3อุทยานสามพันโบก (รู ป3.2) และแผนที3ธรณีสณ ั ฐานวิทยามาตราส่วน 1:4,000 (โดยประมาณ)
ที3แสดงเฉพาะตําแหน่งของกุมภลักษณ์ ซึ3งเป็ นแหล่งธรณี วิทยาหรื อเอกลักษณ์ ที3โดดเด่นในเชิงพื !นที3
(รูป 3.3)

รู ป 3.2 แผนที3ธรณี สณ ั ฐานวิทยา มาตราส่วน 1:50,000 ครอบคลุมพื !นที3ศกึ ษา และครอบคลุม


สภาพธรณี สัณฐานไปจนถึงฝั3 งสาธรณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาวที3 ได้ จากการแปล
ข้ อมูลภาพดาวเทียม จากแผนที3จะเห็นว่าธรณีสณ ั ฐานในตอนกลางของพื !นที3จะมีลกั ษณะ
เป็ นเนินเขาลูกฟูกที3ไม่สูงมาก (undulating terrain แสดงด้ วยโทนสีเขียวและสีเหลือง)
ในขณะที3 ภู เ ขาหิ น ที3 มี ค วามสู ง จะปรากฏด้ า นตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ข องพื น! ที3 และด้ า น
ตะวันออกในฝั3 งประเทศลาว(แสดงด้ วยโทนสี นํา! ตาลถึ งสี แดง) พบภูมิ ประเทศที3 เป็ น
ยอดเขาราบ (mesa) และเขาเควสต้ า (cuesta) ที3โดดเด่นมีมมุ เอียงเทและความลาดชัน
ชัดเจน ซึง3 สามารถใช้ เป็ นข้ อมูลช่วยในการแปลความหมายโครงสร้ างธรณีวิทยาในพื !นที3ได้
19

รูป 3.3 แผนที3แสดงการกระจายตัวของกุมภลักษณ์ (pot-holes) ในบริ เวณสามพันโบกที3 ได้ จาก


การวิ เ คราะห์ ภ าพดาวเที ย มเชิ ง พื น! ที3 สํ า หรั บ ช่ ว ยในการจํ า แนกรู ป แบบกุ ม ภลัก ษณ์
ในระดับรายละเอี ยด และช่ วยในการวิ เ คราะห์ ความสัม พันธ์ กับปั จ จัย ทางธรณี วิทยา
เช่น รอยแตก รอยเลื3 อน การวางตัวชัน! เฉี ยงระดับขนาดใหญ่ ในชัน! หิน (mega cross-
bedding) และตําแหน่งท้ องนํ !าโบราณ (paleo-channel)
20

บทที, 4
อภิปรายผล(Discussion)
4.1 บทวิเคราะห์ ลักษณะเด่ นหรื อรู ปแบบของการเกิดแหล่ งสามพันโบก
บทวิเคราะห์สาเหตุการเกิดแหล่งอนุรักษ์ ธรณี วิทยาความโดดเด่น ของแหล่งสามพันโบก
ในบทนี !ผู้ศกึ ษาจะเริ3 มจากการวิเคราะห์ปัจจัยทางธรณีวิทยาก่อนว่า แหล่งสามพันโบกเกิดขึ !นโดยมี
ปั จจัยทางธรณีวิทยาโครงสร้ างอะไรเป็ นตัวควบคุมการเกิด ซึง3 สามารถสรุปได้ ดงั นี !
แหล่งสามพันโบก ที3พบโบกหรื อกุมภลักษณ์ (pot-hole) กระจายตัวอย่างมากมายในชัน!
หินทรายของหินหมวดภูพาน (Phu Phan Formation) ซึ3งเป็ นหินทรายเนื !อหยาบปนเม็ดกรวด
(coarse-grained sandstone with pebbles) ชันหิ ! นด้ านบนสุดที3พบโบกมีเนื !อค่อนข้ างเนียนหรื อ
มีขนาดเม็ดตะกอนทรายเท่าๆกัน มี ความหนาประมาณ 1-3 เมตร พบโครงสร้ างตะกอนชันเฉี ! ยง
ระดับขนาดใหญ่ (mega cross-bedding) พบเม็ดกรวดเรี ยงตัวตามแนวชันเฉี ! ยงระดับ ตําแหน่งที3
พบโบกหรื อกุภลักษณ์ กระจายตัวอยู่ม ากนัน! พบว่า เป็ นพื น! ที3 ที3ชัน! หิ นมี มุมเอี ยงเทตํ3ามากหรื อ
ตํ3 ากว่า 51 องศา หากดูอ ย่า งคร่ าวๆ เหมื อนชัน! หิ นวางตัวในแนวเกื อ บราบ ซึ3ง เป็ นตํ า แหน่ง ที3
พบโบกจะอยูป่ ระมาณกลางโครงสร้ างแบบประทุนหงาย (syncline) ของชันหิ ! นบริ เวณนี !พอดี ด้ วย
ความจํ าเพาะด้ านโครงสร้ างธรณี วิทยานี เ! องที3 ตอบคําถามว่า ทําไมจึงพบโบกกระจายอยู่อย่าง
มากมายเฉพาะในบริ เวณนี ! อย่างไรก็ ตาม โบกสามารถพบได้ อีกในบริ เวณชัน! หินที3มีมุมเอี ยงเท
มากกว่า 5 องศา แต่ต้องเป็ นเฉพาะบริ เวณที3มีเนื !อหินที3มีความเนียนหรื อมีขนาดตะกอนใกล้ เคียง
กันมาก
4.1.1 การจําแนกรู ปแบบโบกหรื อกุมภลักษณ์
โบก หรื อ กุมภลักษณ์ ที3พ บในพื น! ที3 กระจายตัวส่วนใหญ่ ในแนวชัน! หิ นที3 วางตัว
แนวราบหรื อเกือบราบ ครอบคลุมพื !นที3ประมาณ 4 ตารางกิโลเมตร ปรากฏอยู่ทงในฝั
ั ! 3 งไทย
และสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว จากการวิ เ คราะห์ รู ป แบบของโบกโดย
คํานึงถึงปั จจัยทางธรณี วิทยาของชัน! หิน ลักษณะปรากฏของเนื !อหิน ตะกอน โครงสร้ าง
ตะกอนในชัน! หิ น และโครงสร้ างทางธรณี วิท ยา สามารถจํ าแนกรู ป แบบของโบกหรื อ
กุมภลักษณ์ ได้ 6 รูปแบบ คือ
21

1. รู ปแบบหม้ อกลม (Pot shape)


เป็ นรู ป แบบที3 เ กิ ด จากการกั ด เซาะพื น! ผิ ว หิ น ทรายที3 มี ข นาดตะกอนใกล้ เ คี ย งกั น
มี รู ปร่ างปากโบกที3 ค่อ นข้ างกลมแต่ค่อยๆกว้ างลงไปในแนวลึก และโค้ ง เว้ าในบริ เ วณ
ก้ นโบกเหมือนหม้ อดินปั น! โบราณ บางโบกหยุดวิวฒ ั นาการแล้ ว หรื ออาจมีการวิวฒ
ั นาการ
อยู่บ้างหากแม่นํ !าโขงท่วมถึงและมีเศษกรวดหรื อหินที3เป็ นตัวครู ดถู (grinders) ลงไปขัดถู
ในช่วงนํ !าท่วมโบกแต่ละปี

รู ป 4.1 โบกหรื อกุมภลักษณ์ ที3เกิดตามปกติบนพื น! ผิวของหินทรายหมวดภูพานที3วางตัว


เกื อ บราบ และมี เ นื อ! หิ น ที3 แ สดงขนาดตะกอนใกล้ เคี ย งกั น (Homogenous
texture) แม้ ว่ า มี โ ครงสร้ างตะกอนที3 แ สดงชัน! ริ ว! ลายการสะสมตัว แบบขนาน
(parallel lamination) หรื อมุมเอียงเทตํ3า (Low angle incline lamination) โบก
รูปแบบนี !มีพฒ
ั นาการรูปร่างที3ไม่ขึ !นกับมุมเอียงเทของโครงสร้ างตะกอน
22

รู ป 4.2 โมเดลแสดงวิวฒั นาการการเกิด ของโบกรูปแบบหม้ อกลม โดยเริ3 มแรกมีการหลุดออก


ของเม็ ด กรวดจากเนื อ! หิ น เนื3 อ งจากความรุ น แรงของกระแสนํ า! ต่อ มาเนื3 อ งด้ ว ย
ธรรมชาติข องทิศทางกระแสในบริ เวณท้ องนํ า! ที3 ไ ม่ร าบเรี ยบ ก่อให้ เ กิ ดเป็ นกระแส
หมุนวน และกัดเซาะจนโค้ งเว้ าในลึกลงไปลักษณะเหมือนหม้ อดินปั น! โบราณ
23

2. รู ปแบบเส้ นตรงเชื,อมต่ อกัน (Straight and connected shape)


เป็ นรู ป แบบโบกที3 เ กิ ด ตามแนวแตก (Fracture) หรื อ รอยแยกที3 เ ป็ นระบบ
(Joint system) ที3 เกิ ดห่างกันแต่มีการเชื3 อมติดกันตามแนวรอยแตกรอยแยกจนเป็ น
เส้ นตรง (รู ป 4.3 ซ้ าย) สามารถเกิดได้ หลายขนาดและหลายระกับความลึก บางครัง! เกิด
เป็ นแนวเส้ นตรงเหมือนมีพฒ ั นาการตามแนวรอยแตก แต่หากพิจารณาอย่างละเอียดจะ
พบว่า โบกมีพัฒนาการอยู่บนแนวรอยต่อของโครงสร้ างเฉี ยงระดับขนาดใหญ่ ในชันหิ ! น
(bedding) ได้ เช่นกัน (รูป 4.3 ขวา)

รู ป 4.3 โบกหรื อกุมภลักษณ์ที3มีวิวฒ ั นาการตามแนวรอยแตกที3เป็ นระบบ (Joint system)


โดยแสดงให้ เห็นถึงการเชื3อมต่อกันของหลายๆตัวตามแนวรอยแตก (รู ปซ้ าย) และ
แนวร่ องนํ !าที3ดเู หมือนเชื3อมต่อโบกหลายโบกที3พฒ
ั นาตัวร่ องตามแนวรอยต่อของ
แนวโครงสร้ างเฉียงระดับขนาดใหญ่ (รูปขวา)
24

3. รู ปแบบแนวโค้ งยาว (Curve and long shape)


! น (contact between beds) หรื อ
โบกรู ปแบบนี !เกิดพัฒนาการอยู่บนแนวรอยต่อของชันหิ
รอยต่อของรอยชัน! เฉี ยงระดับขนาดใหญ่ (contact between mega-cross beddings)
มีรูปร่างของโบกที3เป็ นเหมือนเส้ นโค้ งยาวต่อเนื3อง (รูป4.4)

รู ป 4.4 โบกหรื อกุมภลักษณ์ที3เกิดตามแล้ วโครงสร้ างของชั


งของชันหิ ! น และรอยต่อ
! น รอยต่อระหว่างชันหิ
ระหว่างชันเฉี
! ยงระดับขนาดใหญ่ โบกที3มีการพัฒนาอยู่ในกรณีในกรณี นี !จาไม่ค่อยมีรูปร่ างกลม
และไม่ลกึ
25

Tabular cross-bedding
bedding

Trough cross-bedding

(Allen, 1970)

รู ป 4.5 โมเดลแสดงการเกิดของโบก รู ปแบบเส้ นตรงเชื3อมต่อกัน และรู ปแบบแนวโค้ งยาวซึ3ง


ทัง! 2 รู ปแบบมีลกั ษณะการเกิดและวิวฒ ั นาการที3คล้
คล้ ายกัน แตกต่างกันที3แนวเส้ น หรื อ
รู ปแบบของweak zone เช่น รอนแตก รอยแยก หรื อรอยต่อของmega cross-bedding
ด้ วยเหตุนี !ทําให้ ได้ รูปแบบของกุมภลักษณ์ออกมาแตกต่างกัน โดยรู ปแบบเส้ นตรงเชื3อม
กัน ส่วนใหญ่จะเกิดจาก รอยแตก รอยแยก รอยต่อของ mega cross-Bedding ที3เป็ น
tabular cross-bedding ส่วนกรณี รูปแบบแนวโค้ งยาว เกิดจากรอยต่อของ mega
cross-bedding เช่นกัน แต่จะเป็ นชนิด Trough mega cross-bedding ซึ3งจะให้
ลักษณะที3เป็ นเส้ นโค้ งที3ยาวต่อเนื3องกัน
26

4. รู ปร่ างสระนําขนาดใหญ่ (Large pool shape)


รู ปแบบโบกที3เกิดซํ !าซ้ อนในโบกเดิมอย่างต่อเนื3องในแนวระดับเกิดเป็ นสระนํ !าขนาด
ใหญ่ เช่น สระมรกต ที3พบว่ามีการเกิดของโบกขนาดเล็กในโบกขนาดใหญ่อย่างต่อเนื3อง
จนกัด เซาะชัน! หิ น ในแนวระดับ มากกว่ า ในแนวดิ3ง ขนาดของโบกที3 ใ หญ่ ม ากแสดงถึ ง
วิวฒ
ั นาการยาวนานซํ !าๆที3เดิม

รู ป 4.6 โบกหรื อกุมภลักษณ์ที3เกิดซํ !าในโบกเดิม จนเชื3อมต่อกันจนเป็ นสระนํ !าขนาดใหญ่


27

รู ป 4.7 โมเดลแสดงการเกิดและวิวฒ ั นาการของโบก รู ปแบบสระนํ !าใหญ่ (Large pool


shape) เป็ นการเกิ ดของโบกเล็ กๆในโบกใหญ่ อย่างต่อเนื3 องจนกัดเซาะชัน! หิ น
ในแนวระดับ มากกว่ า ในแนวดิ3 ง ขนาดของโบกที3 ใ หญ่ ส ามารถบ่ ง บอกได้ ว่ า
มีวิวฒ
ั นาการมายาวนานซํ !าๆ ที3เดิม
28

5. รู ปแบบโพรงถําคล้ ายหลุมยุบ (Sinkhole-like cave shape)


เป็ นรู ปแบบโบกที3 เกิ ดซํ า! ซ้ อนในโบกเดิมอย่างต่อเนื3 องในแนวดิ3ง หรื อเกิ ดจากที3 โบก
ใกล้ เคียงกันพัฒนาใหญ่แล้ วมาเชื3อมกันเกิดเป็ นโพรงลึกต่อเนื3อง

รู ป 4.8 โบกหรื อกุมภลักษณ์ ที3เกิดจากการเชื3อมต่อกันหลายโบกแล้ วค่อยมีการพัฒนาการการกัด


เซาะในแนวดิ3ง (รู ปซ้ าย) หรื อเกิดซํ !าๆในโบกเดิมอย่างต่อเนื3องซํ !าซ้ อนจนทะลุเชื3อมต่อกัน
เป็ นโพรง (รู ปขวา) แสดงถึ ง ความต่อเนื3 องของการกัดเซาะในขณะที3 ร ะดับนํ า! โขงท่วม
เข้ ามาและมีการเปลี3ยนระดับนํ !าในแม่นํ !า
29

6. รู ปแบบร่ องนํารู ปตัวยูหรื อแคนยอน (U-shape valley or Canyon)


โบกหรื อกุมภลักษณ์ รูปแบบนี พ! บว่า 1) เกิ ดตามแนวร่ องนํ !าเดิม (รู ป 4.9) และ
เกิดจากการเชื3อมต่อกันของโบกหลายๆ โบกก่อนแล้ วค่อยมีการพัฒนาตัวเองจนมีความ
กว้ างและความลึกคล้ ายร่องนํ !ารูปตัวยูหรื อแคนยอน (รูป 4.10)

รู ป 4.9 โบกที3เกิดในร่องนํ !าเดิมเชื3อมต่อกันกว้ างใหญ่และลึกมากขึ !น


30

รู ป 4.10 โบกที3เชื3อมต่อกันเป็ นแนวยาวลึกจนเป็ นรู ปตัวยูคล้ ายร่องนํ !าแนวตรงหรื อคล้ าย


แคนยอน
31

4.2 บทวิเคราะห์ วิวัฒนาการธรณีสัณฐาน


สํ า หรั บ พื น! ที3 ศึ ก ษา พบโครงสร้ างทัง! แบบประทุ น หงายและประทุ น ควํ3 า ที3 มี แ นวแกน
โครงสร้ างต่อเนื3 องจากเทื อกเขาภูพาน แต่พบว่ามี การสลับกันของโครงสร้ างทัง! ในแนวเหนื อใต้
หลายแห่ง(รู ป4.11-รู ป4.13) สะท้ อนให้ เห็นว่าไม่น่าจะเกิ ดจากแรงกระทํ าเพี ยงด้ านเดียวและ
ครัง! เดียว การคดโค้ งน่าจะเกิดจากแรงบีบอัดและคลายตัวหลายครัง! การผุกร่ อนเป็ นบริ เวณกว้ าง
ในบริ เวณแนวโครงสร้ างประทุนควํ3 าในพื น! ที3ทําให้ เกิ ดธรณี สณ ั ฐานแบบเขาเควสต้ า (Cuesta)
หลายแห่ง รวมถึงที3ราบยอดตัว (Mesa) ที3เป็ นร่องรอยการผุกร่อนของหินชันในบริ ! เวณนี !

รู ป 4.11 พื น! ที3 ศึ ก ษาเป็ นส่ ว นต่ อ เนื3 อ งจากแนวคดโค้ ง ของเทื อ กเขาภู พ านการสลับ กั น ของ
โครงสร้ างประทุนควํ3าและประทุนหงายในพื !นที3ศึกษาและบริ เวณโดยรอบน่าจะเป็ นผล
มาจาก Himalayan Orogeny
32

รู ป 4.12 ภาพดาวเทียมแสดงให้ เห็นแหล่งสามพันโบกเกิ ดบริ เวณตอนกลางแอ่งของโครงสร้ าง


แบบประทุนหงาย (Syncline) ซึ3งโบกส่วนใหญ่พบในหมวดหินภูพานที3มีมมุ เอียงเทตํ3า
หรื อเกือบแนวระดับ
33

รู ป 4.13 แผนที3ธรณีสณ ั ฐานวิทยาของพื !นที3ศกึ ษา โทนแดง ส้ ม เขียว และเหลือง แสดงความสูง


ของพื !นที3จากสูงไปตํ3า พบธรณีสณ ั ฐานแบบเควสต้ า (Cuesta) และเขายอดราบ (Mesa)
ด้ า นตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ของพื น! ที3 พร้ อมแบบจํ า ลองแสดง โครงสร้ างประทุ น ควํ3 า
(Anticline) ที3พบบริ เวณด้ านใต้ ของพื !นที3เป็ นการโก่งตัวของหมวดหินภูกระดึง พระวิหาร
และเสาขรัว ส่วนโครงสร้ างประทุนหงาย (Syncline) จะพบบริ เวณตอนกลางของพื !นที3
34

บทที, 5
สรุ ปผลการวิจัย(Conclusion)
จากการวิเคราะห์ สาเหตุการเกิดลักษณะธรณีวิทยาที3โดดเด่นของแหล่งอนุรักษ์ ธรณีวิทยา
สามพันโบก โดยพิจารณาจากปั จจัยทางธรณีวิทยา ผลการวิเคราะห์สามารถสรุปได้ ดงั นี !
แหล่งสามพันโบก ที3พบโบกหรื อกุมภลักษณ์ (pot-hole) กระจายตัวอย่างมากมายใน
ชันหิ
! นทรายของหมวดหินภูพาน (Phu Phan Formation) ซึ3งเป็ นหินทรายเนื !อทรายหยาบปนเม็ด
กรวด(coarse-grained sandstone with pebbles) ชันหิ ! นด้ านบนสุดที3พบโบกมีเนื !อค่อนข้ างเนียน
หรื อมี ขนาดเม็ดตะกอนทรายเท่าๆกัน มี ความหนาประมาณ 1-3 เมตร พบโครงสร้ างตะกอนชัน!
เฉี ยงระดับขนาดใหญ่ (mega cross-bedding) พบเม็ดกรวดเรี ยงตัวตามแนวชัน! เฉี ยงระดับ
ซึง3 ตําแหน่งที3พบโบกกระจายอยูอ่ ย่างมากมายนัน! พบว่ามุมเอียงเทของชันหิ ! นตํ3ามากหรื อน้ อยกว่า
5 องศา หากดูเผินๆ เหมือนชันหิ ! นวางตัวในแนวเกื อบราบ ซึ3งตําแหน่งที3พบโบกจะอยู่ประมาณ
กลางโครงสร้ างแบบประทุนหงาย (syncline) ของชันหิ ! นบริ เวณนี !พอดี ด้ วยความจําเพาะทางด้ าน
โครงสร้ างธรณี วิ ท ยานี เ! องที3 ต อบคํ า ถามว่ า ทํ า ไมจึ ง พบโบกอย่ า งมากเฉพาะในบริ เ วณนี !
อย่างไรก็ตาม โบกสามารถพบได้ อีกในบริ เวณชันหิ ! นที3 มีมุมการเอียงเทมากกว่า 5 องศา แต่ต้อง
เป็ นเฉพาะบริ เวณที3เนื !อหินมีความเนียนหรื อมีขนาดตะกอนที3ใกล้ เคียงกันมาก
จากการวิเคราะห์วิวฒ ั นาการหรื อการกวัดแกว่งของแม่นํ !า ทําให้ เห็นได้ ชดั เจนว่า แม่นํ !าโขง
ในบริ เ วณพื น! ที3 ศึกษา มี การเปลี3 ยนตํ าแหน่ง ในแนวระดับ น้ อยมาก ไม่มี การกัด กร่ อนการผุพัง
ของตลิ3งอย่างรุ นแรงแต่อย่างใด โดยส่วนใหญ่การกัดเซาะจะเกิดขึ !นในแนวดิ3งเป็ นหลักเนื3องจาก
มีการปรับเปลี3ยนระดับของแม่นํ !าในแนวดิง3 ดําเนินอย่างต่อเนื3องในปั จจุบนั
ผลการวิ เคราะห์ รู ปแบบของโบกโดยคํานึงถึ งปั จจัยทางธรณี วิทยาของชัน! หิน ลักษณะ
ปรากฏของเนื อ! หินตะกอน โครงสร้ างตะกอนในชัน! หิ น และโครงสร้ างทางธรณี วิทยา สามารถ
จําแนกรู ปแบบของโบกหรื อกุภลักษณ์ (patterns of pot-hole) ได้ 6 รู ปแบบ คือ 1) รู ปแบบหม้ อ
กลม 2) รู ปแบบแนวโค้ งยาว 3) รู ปแบบสระนํ า! ขนาดใหญ่ 4) รู ปแบบโพรงถํ า! คล้ ายหลุมยุบ
5) รูปแบบเส้ นตรงเชื3อมต่อกัน 6) รูปแบบร่องนํ !ารูปตัวยู หรื อแคนยอน
35

เอกสารอ้ างอิง

มนตรี ชูวงษ์ . 2553. ธรณีสณ


ั ฐานวิทยาพื !นฐาน. เทียนวัฒนาพริ น! ติ !ง: พระนครศรี อยุธยา. หน้ า202

สมชัย เตรี ยมวิชานนท์, ไพรัตน์ ศักดิ%พิสทุ ธิพงศ์และสุชีพ ตันติวฒ


ุ พงศ์. 2551. แผนที3ธรณีวิทยา
มาตราส่วน 1:50000 ระวางอําเภอโพธิ%ไทร, กรมทรัพยากรธรณี 2551.

เพียงตา สาตรักษ์ , 2550. ธรณีฟิสิกส์เพื3อการสํารวจใต้ ผิวดิน, โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น,


หน้ า 117 - 214.

Ward, D.E. and Bunnag, D. 1964, Stratigraphy of the Mesozoic Khorat Group in Northern
Thailand; Rep. Invest. DMR. , Bangkok, No.6 95 pp.

Kummu, M., Lu, X.X., Rasphone, A., Sarkkula, J., and Koponen, J.,2007 , Riverbank
changes along the Mekong River : Remote sensing detection in the Vientiane –
Nong Khai area, Quaternary International , 186: pp. 100-112

Bunopas, S., 1992. Regional stratigraphic correlation in Thailand. In Piancharoen, C. et


al. (eds.), Proceedings of a National conference on Geologic Resources of
Thailand: Potential for Future Development, Nov. 17-24, Bangkok, Thailand, pp.
198-207.

Charusiri, P., Horiuchi, Y. and Hisada, K. 2012, Identification of an anastomosing river


system in the Early Cretaceous Khorat Basin, northeastern Thailand, using
stratigraphy and paleosols. Journal of Asian Earth Sciences, pp. 62-77

Chenrai, P. 2011, Paleocurrent Analysis of the Sao Khua Formation, Khorat Group, Nong
Bua Lamphu region, NE Thailand. Arab J Sci Eng, pp. 37:115-120
36

Sangsuay, A., 2008, Lithostratigraphy of Sao Khua and Phu Phan formations of
Amphoe Mueang Nong Bua Lum Phu, Changwat Nong Bua Lum Phu,
Unpublished Senior Project, Department of Geology, Faculty of Science,
Chulalongkorn University. Bangkok, Thailand.

Meesook, A., Suteethorn, V., Chaodumrong, P., Teerarungsikul N., Sardsud A., and
Wongprayoon T. 1995, Non-marine Mesozoic Rock in the Vicinity of Khorat
Plateau. Proceedings of the Symposium on Geology of Thailand 26-31 August
2002, Bangkok, Thailand, pp. 102-110

Phensiri, C., 2012 Geomorphic Analysis from meandering zone of Nan river, Amphoe
Pua, Changwat Nan. Unpublished Senior Project. Department of Geology Facalty
of Science, Chulalongkorn University. Bangkok, Thailand.

Netoff, D.I., Cooper. J.B., and Shroba, R.R., 1980. Giant sandstone weathering pits near
Cookie Jar Butte, Southeastern Utah. P. 25-53

Alexander, H.S., 1932. Pothole erosion. The journal of Geology, 40, 4, p.305-337.

You might also like