You are on page 1of 70

การศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง

Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos

โดย
นายพงศกร แก้วนาพันธ์

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิติ ปัญญาอินทร์

งานวิจัยนีเ้ ป็ นส่ วนหนึง่ ของรายวิชาวิจัยดนตรีศึกษา รหัสวิชา 1114901


สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566

กิตติกรรมประกาศ

รายงานวิจยั ฉบับนี้ สาเร็ จลุล่วงด้วยดีเนื่ องจากความกรุ ณาและความช่วยเหลืออย่างดียงิ่ จาก


ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร.ธิ ติ ปั ญญาอิ นทร์ ท่านได้เสี ย สละเวลาอันมีค่า ในการให้ค าปรึ ก ษาการ
ดาเนินงานวิจยั ตลอดจนได้ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆ อันเป็ นประโยชน์ในการจัดทา
งานวิจยั ตั้งแต่เริ่ มดาเนิ นการจนกระทัง่ ดาเนิ นการเสร็ จสมบรู ณ์ ผูส้ ึ กษาขอกราบขอบพระคุณเป็ น
อย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี้

ขอขอบคุณผูเ้ ชี่ยวชาญ ที่ได้กรุ ณาให้ความร่ วมมือในการตอบแบบสัมภาษณ์ ทางด้านข้อมูล


รายระเอียดเกี่ยวกับเทคนิ คและการบรรเลงในบทเพลง รวมถึงด้านการวิเคราะห์สังคีตลักษณ์ของ
บทเพลง ซึ่งทาให้ผวู ้ ิจยั สามารถดาเนินงานวิจยั ได้

คุณค่าและประโยชน์ของการศึกษาครั้งนี้ ผูศ้ ึกษาขอมอบเป็ นเครื่ อง บูรพาอาจารย์ และผูม้ ี


อุปการคุณทุกท่านที่มีส่วนส่งเสริ มให้ผศู ้ ึกษาประสบความสาเร็จในการดาเนินงานวิจยั

พงศกร แก้วนาพันธ์
ผูว้ ิจยั

ชื่ อเรื่ องการวิจัย : การศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง


Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
ผู้วิจัย : นายพงศกร แก้วนาพันธ์
หลักสู ตร : ครุ ศาสตรบัณฑิต (ค.บ. 5 ปี )

ปี การศึกษา : 2563

บทคัดย่อ
การวิจยั นี้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์บทเพลงและศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวในบทเพลง Fantasia
Mov.I by Heitor Villa – Lobos ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยการศึกษาข้อมูลจากการศึกษาฐานข้อมูล
การวิจยั และวิทยานิ พนธ์ รวมถึงสัมภาษณ์ผูเ้ ชี่ ยวชาญ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่มีความน่าเชื่ อถือ โดยมี ขอบเขต
การศึกษาคือ การศึกษาวิเคราะห์บทเพลงในเชิงทฤษฎีดนตรี แบบแผน สังคีตลักษณ์ของบทเพลงรวมถึงการ
วิเคราะห์ตีความเทคนิคการแสดงเดี่ยวและแนวทางการฝึ กซ้อมแซกโซโฟน เพื่อหาปัญหาที่จะเกิดขึ้นในบท
เพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa – Lobos และหาแนวทางในการแก้ไข และวิธีการซ้อมของบทเพลง
พร้อมเสนอแนะแบบฝึ กหัดที่จะช่วยทาให้การบรรเลงนั้นเป็ นไปได้อย่างราบรื่ น และสามารถพัฒนาทักษะที่
จาเป็ นในบทเพลงได้
จากผลการศึกษาบทเพลงของ Heitor Villa – Lobos พบว่าบทเพลงมีอารมณ์และสี สันที่หลากหลาย
อีกทั้งการบรรเลงช่วงต่างๆ นั้นจะมีเทคนิคการบรรเลงที่ผวู ้ ิจยั ใช้ในการบรรเลงแทรกอยูใ่ นบทเพลงทั้งหมด
7 เทคนิค คือ ทังกิง, เลกาโต, เตนูโต, แอคเซินท์, ซตัคคาโต, ทริ ล และนอกจากเทคนิคแล้ว ยังต้องอาศัยแนว
ทางการฝึ กซ้อมบทเพลงที่ดีร่วมด้วย เพื่ อทาให้บทเพลงมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ได้แก่ วิเคราะห์ภาพรวม
ของบทเพลง ตีความเทคนิคที่ใช้ในการบรรเลงในแต่ละช่วง ฝึ กซ้อมบทเพลงตามช่วงตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
เก็บรายละเอียดในการบรรเลงทั้งหมด ใช้เครื่ องกากับจังหวะร่ วมด้วยเสมอ และใช้การฝึ กซ้อมด้วยความคิด
และความจาโดยไม่ใช้เครื่ องดนตรี
ทั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาประวัติของผูป้ ระพันธ์ และประวัติของบทเพลง เรี ยนรู ้วางแผนสาหรั บการ
เตรี ยมการแสดงทั้งหมดจนถึงการปฎิบตั ิจริ ง ทั้งยังเป็ นการเผยแพร่ บทเพลงแซกโซโฟนที่มีความแปลกใหม่
ในด้านการนาเสนอความคิดในการพัฒนาโมทีฟที่พฒั นาขึ้นเรื่ อยๆในบทเพลงได้อย่างสวยงาม

สารบัญ
เนื้อหา หน้ า

กิตติกรรมประกาศ ......................................................................................................................................... ก

บทคัดย่อ ........................................................................................................................................................ ข

สารบัญ ........................................................................................................................................................... ค

สารบัญตัวอย่าง ...............................................................................................................................................ง

บทที่ 1 บทนา ..................................................................................................................................................1


1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา................................................................................................1
1.2 วัตถุประสงค์ในการวิจยั ........................................................................................................................2
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ...................................................................................................................2
1.4 ขอบเขตของการวิจยั .............................................................................................................................2
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ ...................................................................................................................................2

บทที่ 2 ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง................................................................................................3


2.1 บริ บทที่เกี่ยวข้องกับบทเพลง ..............................................................................................................3
2.1.1 ประวัติของบทเพลง ..................................................................................................... 3
2.1.2 ประวัติผปู ้ ระพันธ์........................................................................................................ 4
2.1.3 ประวัติแซกโซโฟน ..................................................................................................... 5
2.1.4 ลักษณะของดนตรี และบทเพลงในยุคสตวรรษที่ 20 .......................................................... 6
2.1.5 เทคนิคการบรรเลงที่ใช้ในบทเพลง................................................................................. 7
2.2 ทฤษฎีดา้ นดนตรี ที่เกี่ยวข้อง ..............................................................................................................10
2.2.1 ทฤษฎีดนตรี ตะวันตก ................................................................................................. 10
2.2.2 ทฤษฎีการวิเคราะห์ดนตรี ........................................................................................... 11
2.2.3 การสร้างความมัน่ ใจสาหรับการแสดงเดี่ยว ................................................................... 11
สารบัญ(ต่อ)
2.3 กรอบแนวคิดงานวิจยั ..........................................................................................................................15
2.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ..............................................................................................................................16

บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานวิจัย .......................................................................................................................17


3.1 กลุ่มบุคคลเป้าหมาย ............................................................................................................................17
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั .....................................................................................................................17
3.3 การสร้างเครื่ องมือในการวิจยั ..............................................................................................................17
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล ........................................................................................................................18
3.5 ขั้นตอนการทาวิจยั ..............................................................................................................................18
3.6 ขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูล .................................................................................................................19

บทที่ 4 ผลการวิจัย ........................................................................................................................................20


4.1 เพื่อวิเคราะห์บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos ............................................................20
4.2 เพื่อศึกษาเทคนิคการบรรเลงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos ...20

บทที่ 5 สรุปผลวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ........................................................................................26


5.1 ความมุ่งหมายของการวิจยั ..................................................................................................................26
5.2 วิธีการดาเนินวิจยั ................................................................................................................................26
5.2.1 กลุ่มบุคคลเป้าหมาย..................................................................................................... 27
5.2.2 เครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั .............................................................................................. 27
5.2.3 การสร้างเครื่ องมือในการวิจยั ........................................................................................ 27
5.2.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล ................................................................................................. 28
5.3 สรุ ปผลการวิจยั ...................................................................................................................................28
5.4 อภิปรายผล ..........................................................................................................................................30
สารบัญ(ต่อ)
5.5 ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................31
5.5.1 ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ ........................................................................................ 31
5.5.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจยั ต่อไป .................................................................................... 32

บรรณานุกรม ................................................................................................................................................33

ภาคผนวก......................................................................................................................................................34

สารบัญตัวอย่าง
1

บทที่ 1

บทนา
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ดนตรี คลาสสิ ค (Classical Music) หมายถึง ดนตรี แบบแผนในยุคดนตรี ใดๆ เพลงที่มีไวยากรณ์
เสี ยงประสานและกระบวนแบบที่มีหลักการ มีความเป็ นอมตะต่างกับดนตรี สมัยนิ ยมและเพลงสมัย นิ ยม
ดนตรี คลาสสิ คถือเป็ นศิลปะชั้นสู งที่มีความประณี ตงดงามละเอียดอ่อนทั้งด้านการประพันธ์ การแสดง การ
จะเข้าใจดนตรี คลาสสิ คอย่างลึกซึ้ งนั้นจาเป็ นต้องมีการศึกษาทั้งหลักการทางวิชาการและหลักการทางศิลปะ
บทเพลงคลาสสิ คแบ่งได้หลากหลายประเภทตามเงื่อนไขต่างๆ ลักษณะการบรรเลงก็มีหลากหลายเช่นการ
บรรเลงเป็ นวงใหญ่วงขนาดเล็กการบรรเลงคู่หรื อการบรรเลงเดี่ยวเครื่ องดนตรี ที่นามาใช้ในการบรรเลง
ดนตรี คลาสสิ คนั้นก็ใช้เครื่ องดนตรี คลาสสิ คด้วยเช่นกัน(ณัชชา พันธุ์เจริ ญ,2552:69)
แซกโซโฟน (Saxophone) เป็ นเครื่ องเป่ าลมไม้ประเภทลิ้นเดี่ยว ถูกประดิษฐ์ข้ ึนโดยช่างทาเครื่ อง
ดนตรี ชาวเบลเยี่ยม อดอล์ฟ แซกซ์ (Adolphe Sax) ในปี ค.ศ. 1840 โดยการนาเครื่ องดนตรี โบราณชนิดหนึ่ ง
ชื่อโอพิไคร (ophicleide) มาดัดแปลง ทาเป็ นตัวแซกโซโฟนซึ่งทาจากทองเหลือง และนาปากเป่ า ของ คาลิ
เน็ต มาใส่ ซ่ ึงเป็ นเครื่ องลมไม้ ดังนั้น แซกโซโฟนจึงได้เสี ยงที่ดุดนั แข็งแรง มาจากเครื่ องทองเหลือง และได้
ความอ่อน หวาน สดใส และได้จดทะเบียนลิขสิ ทธิ์ ที่กรุ งปารี ส ใน ปี ค.ศ. 1845 ตระกูลแซกโซโฟนเป็ น
ตระกู ล ใหญ่ เ ช่ น เดี ย วกับ คลาริ เน็ ต มี ข นาดต่ า งๆ ถึ ง 8 ขนาดด้ว ยกัน แต่ นิ ย มใช้ ใ นปั จ จุ บัน 4 ชนิ ด
ประกอบด้วยแซกโซโฟนโซปราโน, แซกโซโฟนอัลโต้, แซกโซโฟนเทเนอร์และบาริ โทนแซกโซโฟน
การแสดงดนตรี (Recital) หมายถึง การแสดงเดี่ยว การแสดงดนตรี คนเดียวโดยไม่มีนักดนตรี อื่น
ร่ วมเล่นเป็ นวงแต่มกั มีนักดนตรี บรรเลงประกอบ การแสดงดนตรี เป็ นการแสดงงานศิลปะอีกอย่างหนึ่ งที่
ต้องมีข้ นั ตอนการผลิตผลงานความแตกต่างระหว่างการแสดงดนตรี กบั การแสดงผลงานศิลปะอย่างอื่ นคือ
ขั้นตอนสุ ดท้า ยในการนาเสนอผลงาน การแสดงดนตรี ไ ม่ มี ชิ้ น งานที่ ส ามารถมองเห็ น หรื อ จับ ต้อ งได้
ช่วงเวลาที่นาเสนอผลงานจึงมีความสาคัญมากเพราะเป็ นการตัดสิ นคุณภาพผลงานซึ่งก็คือช่วงเวลาที่ทาการ
แสดงดนตรี การเตรี ยมตัวจึงเป็ นเรื่ องสาคัญมาก การฝึ กซ้อมการแก้ปัญหาในการฝึ กซ้อม ปั จจุบนั ดนตรี
คลาสสิ คเริ่ มเป็ นที่นิยมมากขึ้นในประเทศไทยและมีนักดนตรี คลาสสิ คเพิ่มมากขึ้นจึงทาให้เกิดการแสดง
ดนตรี คลาสสิ คมากขึ้นตามไปด้วยบทเพลงที่ประพันธ์เพื่อบรรเลงโดยแซกโซโฟนนั้นในแต่ละยุคสมัยต่างมี
การใช้เทคนิคที่แตกต่างกันไปไม่วา่ จะเป็ นบทเพลงที่ประพันธ์เพื่อ แซกโซโฟนหรื อบทเพลงที่ได้นามาเรี ยบ
แรงใหม่ (ณัชชา พันธุ์เจริ ญ,2552:309)
2

1.2 วัตถุประสงค์ในการวิจยั
1.2.1 เพื่อวิเคราะห์บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
1.2.2 เพื่อศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-
Lobos

1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.3.1 สามารถนาข้อมูลที่ได้จากการวิจยั มาพัฒนาความรู ้และทักษะในการบรรเลงแซกโซโฟน
1.3.2 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับทฤษฎีดนตรี ตะวันตกในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
1.3.3 ได้ทราบถึงเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-
Lobos

1.4 ขอบเขตของการวิจยั
การศึกษาเทคนิ คการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้เลือกบทเพลง Fantasia Mov.I จากนัก
ประพันธ์เพลงชาวบราซิล ไฮเตอร์ วิลลา-โลบอส (Heitor Villa-Lobos) โดยศึกษาเนื้ อหาเกี่ยวกับเทคนิ คใน
การแสดงเดี่ยว วิธีการซ้อม การวิเคราะห์โครงสร้างของบทเพลง เพื่อพัฒนาด้านทักษะในการบรรเลงแซก-
โซโฟนของตน ในระยะเวลาตลอดภาคเรี ยนที่ 2

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ

1.5.1 Mov. ย่อมาจาก Movements หมายถึง โครงสร้างของเพลงนั้นๆ ที่มีองค์ประกอบและหลักการที่ช่วย


ก าหนดคุ ณสมบัติข องเพลงที่ แตกต่ า งกัน ออกไป โดยขึ้ นอยู่กับ การเรี ย บเรี ย งแนวเพลงของผูแ้ ต่ ง หรื อ
ผูป้ ระพันธ์
1.5.2 โครงสร้างบทเพลง หมายถึง การวางแผนในการสร้างบทเพลงในส่วนต่างๆ ซึ่งจะเป็ นตัวกาหนดว่าใน
แต่ละส่วนเราต้องใส่อะไรลงไปบ้าง โครงสร้างบทเพลงประกอบด้วย Intro, Verse, Pre-Chorus, Chorus
(Hook), Bridge, Outro และอาจมีส่วนอื่นๆ
1.5.3 เทคนิคการแสดงเดี่ยว หมายถึง การแสดงคความสามารถทั้งจังหวะ ทานองฝี มือผูบ้ รรเลง ซึ่งต้องมีตอ้ ง
มีความแม่นยาในตัวโน้ต มีเทคนิคในการบรรเลงจะทาให้บรรเลงเพลงได้อย่างถูกต้องไพเราะ
3

บทที่ 2

ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง


ในการดาเนิ นการวิจยั ครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเกี่ ยวกับ
การศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos โดยผูว้ ิจยั ได้
รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการวิจยั ดังนี้
2.1 บริ บทที่เกี่ยวข้องกับบทเพลง
2.1.1 ประวัติของบทเพลง
2.1.2 ประวัติผปู ้ ระพันธ์
2.1.3ประวัติแซกโซโฟน
2.1.4 ลักษณะของดนตรี และบทเพลงในยุคสตวรรษที่ 20
2.1.5 เทคนิคการบรรเลงที่ใช้ในบทเพลง
2.2 ทฤษฎีทางด้านดนตรี ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ทฤษฎีดนตรี ตะวันตก
2.2.2 ทฤษฎีการวิเคราะห์ดนตรี
2.2.3 การสร้างความมัน่ ใจสาหรับการแสดงเดี่ยว
2.3 กรอบแนวคิดงานวิจยั
2.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

2.1 บริบทที่เกีย่ วข้ องกับบทเพลง

2.1.1 ประวัติของบทเพลง

บทเพลงนี้ ถูกประพันธ์ข้ ึนในปี ค.ศ. 1948 เป็ นผลงานแสดงคอนเสิ ร์ตสาหรับการแสดงดนตรี เดี่ยว


กับวงออเคสตรา ประพันธ์ข้ ึนโดยนักแต่งเพลงชาวบราซิ ล ไฮเตอร์ วิลลา-โลบอส (Heitor Villa-Lobos) มี
ทั้งหมด 3 movement โดยใช้เวลาในการแสดงประมาณ 10 นาที
ไฮเตอร์ วิลลา-โลบอส ได้รู้จกั นักเป่ าแซ็กโซโฟน มาร์ แซล มู เล (Marcel Mule) เป็ นครั้ งแรกใน
ปารี สในช่วงปี ค.ศ. 1920 เมื่อ มาร์แซล มูเล เล่นแซ็กโซโฟนในผลงานออเคสตราชิ้นหนึ่งของ วิลลา-โลบอส
4

ทั้งคู่ต่างชื่ นชอบในผลงานและแสดงร่ วมกันอีก หลายครั้งต่อมา วิลลา-โลโบส เริ่ มแต่งเพลง Fantasia เป็ น


เพลงเดียวของ วิลลา-โลโบส ที่ใช้แซกโซโฟนในการบรรเลงเดี่ยว มีลกั ษณะเป็ นคอนแชร์ โตขนาดเล็กใน
และเขียนขึ้นเพื่ออุทิศให้กบั มาร์แซล มูเล เดิมระบุถึงโซปราโนแซ็กโซโฟน ซึ่งเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ มาร์แซล
มูเล ใช้ในการแสดงเป็ นหลัก (Van Regenmorter 2009, p. 53.)
2.1.2 ประวัติผ้ ปู ระพันธ์

ไฮเตอร์ วิลลา-โลบอส (Heitor Villa-Lobos) เกิดเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2430 ที่เมืองรี โอเดจาเนโร
ประเทศบราซิล เป็ นหนึ่งในนักแต่งเพลงในทวีปอเมริ กาใต้ที่มีชื่อเสี ยงที่สุดในประวัติศาสตร์ดนตรี ในฐานะ
นักแต่งเพลงเขามีชื่อเสี ยงในการสร้างเพลงที่แสดงถึงอิทธิพลทางดนตรี และพื้นบ้านในประเทศบราซิล

วิลลา-โลบอส เติบโตขึ้นมาโดยเป็ นส่ วนหนึ่ งของครอบครัวนักดนตรี ที่จะเชิ ญนักดนตรี มาที่บา้ น


ทุกเย็นวันเสาร์เพื่อเล่นดนตรี จนดึกดื่น ครอบครัวของเขาหวังว่าเขาจะเติบโตมาและเข้าสู่ วงการแพทย์ แต่เขา
ไม่ได้อยากเข้าสู่ วงการแพทย์ และใช้เวลาในวัยเด็กเพื่อฝึ กเชลโล คลาริ เน็ต และกีตาร์ และเล่นดนตรี ให้กบั
ผูค้ น ที่ร้านกาแฟ บนถนน และในงานปาร์ต้ ี โดยมีพ่อกับแม่ฝึกให้เขาเล่นเชลโล และคลาริ เน็ต เมื่อเขาโตขึ้น
เขาเดินทางไปบราซิ ลและซึ มซับอิทธิ พล ลักษณะเฉพาะทางดนตรี มากมายของประเทศ โดยอิทธิ พลทาง
วัฒนธรรมหลักต่อดนตรี บราซิลในขณะนั้นคือวัฒนธรรมโปรตุเกส แอฟริ กา และอเมริ นเดียน เขาได้เริ่ มแต่ง
เพลงเมื่อเขาอายุได้ 14 ปี เขานาองค์ประกอบทั้งหมดมารวมกันเพื่อสร้างเสี ยงที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนในโลก
แห่งดนตรี คลาสสิ ก เมื่ออายุ 18 ปี เขาได้เดินทางไปที่อเมซอนเพื่อใกล้ชิดกับดนตรี ด้ งั เดิมของชาวพื้นเมืองใน
ภูมิภาคนั้นมากขึ้น เพื่อนาเสี ยงเหล่านั้นมาผสมผสานเข้ากับการเรี ยบเรี ยงของเขา

ผลงานของเขาถูกจัด แสดงในบราซิ ล แต่ได้รับ คาวิพากษ์วิจารณ์ ที่หลากหลาย ขณะที่เขาทางาน


ประพันธ์เพลง เขาได้แต่งงานกับนักเปี ยโนชื่อ ลูซิเลีย กิลมาเรส (Lucilia Guimaraes) และหาเลี้ยงชีพด้วยการ
เล่นเชลโลในวงออเคสตราทัว่ เมือง Villa-Lobos และตัดสิ นใจย้ายไปปารี สตอนที่เขาอายุ 30 ปี หลังจากนั้น
เขาและดนตรี ของเขาประพันธ์ข้ ึนมาได้รับการตอบรั บอย่างดี ในฝรั่ ง เศส ซึ่ งเกิดจาการลองแต่งเพลงใน
ศูนย์กลางวัฒนธรรมของยุโรปในเวลานั้น เสี ยงของการเรี ยบเรี ยงของเขามีสีสันมากและไม่เหมือนกับดนตรี
ประเภทที่ชาวยุโรปคุน้ เคย ทาให้ผลงานของเขากลายเป็ นที่ดึงดูดผูฟ้ ัง วิลลา-โลโบส แต่งเพลงมากกว่า 1,000
ชิ้น เป็ นที่รู้จกั โดยเฉพาะจากการเขียนเพลงคู่ที่จบั คู่เครื่ องดนตรี ที่มีเสี ยงสู ง (เช่น ฟลุต) กับเครื่ องดนตรี ที่มี
เสี ยงต่า (เช่น เชลโล) และได้เสี ยชี วิตเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 ที่เมืองรี โอเดจาเนโร (ไม่ระบุ
สาเหตุการตาย) (Appleby, David P. ,1988)
5

2.1.3 ประวัติแซกโซโฟน

แซกโซโฟน (Saxophone) เป็ นเครื่ องดนตรี ในตระกูลเครื่ องลมไม้ เกิดขึ้นเมื่อร้ อยกว่าปี ที่ ผ่า นมา
โดย Antoine-Joseph Sax หรื อ Adolphe Sax (23 พ.ย. 2357 - 7 ก.พ. 2437) นักดนตรี เป่ าฟลุตและคลาริ เนต
ชาวฝรั่งเศส ด้วยเหตุน้ ี คาว่า “Sax” ซึ่งเป็ นชื่อของผูค้ ิดค้นจึงปรากฏอยู่ในชื่อของเครื่ องดนตรี ชนิ ดดังกล่าว
นักประดิษฐ์เครื่ องดนตรี ชนิ ดนี้ เกิดในตระกูลผูผ้ ลิตเครื่ องดนตรี มีโรงงานประดิษฐ์เครื่ องดนตรี โดยเฉพาะ
เครื่ องลมไม้และเครื่ องทองเหลืองอยูท่ ี่เมือง Dinant และ กรุ งบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ขณะ Adolphe Sax
อายุ 25 ปี เขาได้ยา้ ยถิ่นฐานไปอยูป่ ารี สพร้อมกับเปิ ดร้านประดิษฐ์และซ่ อมเครื่ องดนตรี และเริ่ มสร้างเครื่ อง
ดนตรี ชนิ ดใหม่ข้ ึนในเวลานั้น จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2389 เครื่ องดนตรี แซ็กโซโฟนจึงสร้างเสร็ จสมบูรณ์พร้อม
กับได้รับการจดสิ ทธิบตั ร (Horwood, Wally,1992)
ตระกูลแซกโซโฟนเป็ นตระกูลใหญ่ มีถึง 8 ชนิ ดด้วยกัน แต่นิยมใช้ในปั จจุบนั มี 4 ชนิ ดด้วยกัน
ประกอบด้วย โซปราโน แซกโซโฟน,อัลโต้ แซกโซโฟน,เทเนอร์ แซกโซโฟนและบาริ โทน แซกโซโฟน
ในบรรดา 4 ชนิ ดที่ กล่าวมานี้ โซปราโน แซกโซโฟนเป็ นแซกโซโฟนที่มีเสี ยงความถี่เสี ยงสู งที่สุด ตาม
ด้วยอัล โต้ แซกโซโฟน เทเนอร์ แซกโซโฟนและสุ ดท้ายที่ ต่ าคือบาริ โทน แซกโซโฟน (June 28, 1846:
Parisian Inventor Patents Saxophone)
โซปราโน แซกโซโฟน (Soprano Saxophone) เป็ นแซกโซโฟนที่ มี ข นาดเล็ก น้ า หนัก เบาและมี
ความถี่ ย งั ไม่ สู ง ที่ สุ ด มี ข นาดเล็ ก และน้ า หนัก เบา จึ ง สามารถถื อ ไว้ใ นมื อ ได้ง่ า ยโดยไม่ จ าเป็ นต้อ งใช้
สายสะพายแซกโซโฟนก็ได้ โซปราโน แซกโซโฟนไม่เหมาะสมสาหรับผูท้ ี่ตอ้ งการหัดเล่นแซกโซโฟน
ใหม่ ๆ เนื่องจากมีความยากในการคุมเสี ยงมากกว่าแซกโซโฟนอัลโต้และเทเนอร์ ในวงประเภทเครื่ องเป่ ามี
ระดับเสี ยงเท่ากับเครื่ องดนตรี คลาริ เน็ตและทรัมเป็ ต
อัลโต้ แซกโซโฟน (Alto Saxophone) เป็ นแซกโซโฟนที่ค่อนข้างเหมาะสาหรับผูเ้ ริ่ มต้น เนื่ องจาก
เป็ นแซกโซโฟนที่เป่ าง่ายกว่าโซปรา แซกโซโฟนและมีน้ าหนักเบากว่าเทเนอร์ แซกโซโฟน อัลโต้ แซก-
โซโฟนสามารถเป่ าได้ในดนตรี หลาย ๆ สไตล์ไม่วา่ จะเป็ นสไตล์คลาสสิ ก, ป็ อป, แจ็ส แต่นกั ดนตรี คลาสสิ ก
จะนิ ยมใช้แซกอัลโต้ในการเล่นมากกว่าการใช้แซกโซโฟนชนิ ดอื่น ๆ รวมถึงการเล่นดนตรี แบบแตรวง ,
คอนเสิ ร์ตหรื อมาร์ ชชิ่งแบรนด์ก็เช่นกัน ถือเป็ นเครื่ องที่ใช้แทนไวโอลิน-วิโอล่าในวงประเภทเครื่ องเป่ า อัล-
โต้แซกโซโฟนจึงเป็ นแซกโซโฟนที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในเอเชีย
เทเนอร์ แซกโซโฟน (Tenor Saxophone) เป็ นแซกโซโฟนที่ถูกใช้มากในการเล่นดนตรี แนวแจ็ส แต่
ก็สามารถเล่นดนตรี แบบอื่น ๆ ได้เหมือนกัน เสี ยงของแซกเทเนอร์จะมีลกั ษณะแบบนุ่ม ๆ อ้วน ๆ ระดับเสี ยง
6

ต่ากว่าอัลโต้ แซกโซโฟนและโซปราโน แซกโซโฟน ถือเป็ นเครื่ องที่ใช้แทนวิโอล่าในวงประเภทเครื่ องเป่ า


แล้วเทเนอร์ แซกโซโฟนก็น่าจะเป็ นตัวเลือกที่มือใหม่ควรจะใช้ในการเริ่ มต้น
บาริ โทน แซกโซโฟน (Baritone Saxophone) เป็ นแซกโซโฟนที่มีขนาดใหญ่และมีความถี่เสี ยงต่า
แต่ยงั สามารถที่จะบรรเลงเดื่ยวได้เพราะโทนเสี ยงอยู่ในช่วงเทนเนอร์ -เบส ถือเป็ นเครื่ องที่ใช้แทนเชลโล่ใน
วงประเภทเครื่ องเป่ า มี น้ าหนักค่อนข้างเยอะและมี ราคาค่อนข้างแพง ดังนั้นบาริ โทนแซกโซโฟนจึ งไม่
เหมาะแก่นักแซกโซโฟนมือใหม่ท้ งั หลาย ด้วยปั จจัยในหลายๆด้านรวมถึง ความยาวท่อของบาริ โทนแซก
โซโฟนจะอยูป่ ระมาณ 7 ฟุต
2.1.4 ลักษณะของดนตรีและบทเพลงในยุคสตวรรษที่ 20

ดนตรี ในศตวรรษที่ 20 เป็ นดนตรี ที่เรี ยกกันหลายชื่ อ เช่น ดนตรี อีเลคโทรนิ คส์ ดนตรี สมัยหใม่
ดนตรี ปั จ จุ บ ัน และดนตรี ร่ วมสมัย (Contemporary Music) ดนตรี ในศตวรรษนี้ เป็ นดนตรี ที่ มี ค วาม
เปลี่ ย นแปลงก้า วรุ ดหน้า ไปจากศตวรรษกก่ อ นๆ อย่า งเห็ นได้ชัดเจนทั้ง นี้ เนื่ องมาจากผลของการเกิ ด
สงครามโลก ครั้งที่ 1 ที่ไม่มีใครหยุดยั้งความแตกแยกที่ เกิ ดขึ้นทุกที่ ความไม่เข้าใจกัน มองกันในแง่ ร้าย
ความเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่ไม่เคยเป็ นมาก่อนเช่นนี้ เป็ นผลให้ขาดความเชื่ อมัน่ ในกันและกัน จึงทุมเท
ความคิดให้กบั เครื่ องมือ เครื่ องจักร แทนการใช้มนุษย์ อันเป็ นผลให้เปลี่ยนแปลงไปสู่ การปฏิวตั ิอุสาหกรรม
อย่างสมบรู ณ์ สังคมในยุคนี้ จึงมีความต้องการศิลปะแขนงต่าง ๆ ในรู ปแบบที่แตกต่างไปจากสังคมยุคก่อน
ๆ สิ ลปิ นทั้งหลายต่างสร้างสรรค์ผลงานให้ออกไปจากกรอบเดิม หรื อทฤษฎีเดิม เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ
ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป (ณรุ ทธ์ สุทธจิตต์,2546)
ความเปลี่ยนแปลงในทางดนตรี ของคีตกวีในศตวรรษนี้ ก็คือ มีความคิดที่จะทดลอง แสวงหาทฤษฎี
ใหม่ ระบบเสี ยงต่างๆใหม่ โดยใช้วิชาการแขนงอื่น เช่น คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ปรัชญา
โดยเฉพาะปรัชญาของซี กโลกตะวันออก เข้ามาเป็ นวัตถุดิบ เข้ามาเป็ นแนวคิดสร้างสรรค์ผลงานดนตรี
ออกมา ลักษณะการนาศาสตร์แขนงอื่นๆเข้ามามีส่วนในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี ได้มีมาก่อนศตวรรษนี้
แล้ว แต่เป็ นการนาศาสตร์ ในสาขาศิลปะเหมือนๆ กัน เช่น นาแนวคิดจากบทกวีนิพนธ์ของกวีอเกสาคัญๆ
สถาปัตยกรรม และจิตรกรรมของศิลปิ นที่มีชื่อเสี ยง มาเป็ นวัตถุดิบในการสร้างผลงานทางดนตรี
ดนตรี ในศตวรรษนี้ กล่าวได้ว่า เปลี่ยนแปลงจากดนตรี แบบแผนที่ เคยประพันธ์กันมา มาสู่ ระบบ
ใหม่ หรื อที่ เรี ย กว่า “New Music” ลัก ษณะหนังที่ สังเกตได้อย่างชัดเจนก็คือ จะไม่ไ ด้ฟั งเสี ยงดนตรี ที่ดัง
กระหึ่ มด้วยพลังเสี ยงของเครื่ องดนตรี เองเป็ นจานวนมากๆ เหมือนในศตวรรษที่ 19 และได้ลม้ เลิกระบบ
บันไดเสี ยงกับคีตลักษณ์ของดนตรี ในศตวรรษก่อนๆ โดยการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี ที่ไม่มีคีตลักษณ์ และ
ไมยึดมัน่ ในคีตลักษณ์เดิม อย่างไรก็จาม คีตลักษณ์ที่สร้างขึ้นใหม่น้ ี ก็ยงั ไม่เป็ นที่แพร่ หลายมากเท่ากับคี ต
7

ลักษณ์แบบแผนที่เข้าใจได้ง่ายกว่า เพราะฟังกันมานาน คีตลักษณ์แบบแผนของดนตรี ลกั ษณะต่างๆ ถูกเลี่ยน


รู ปแบบไปสู่แบบใหม่ของดนตรี ศตวรรษที่ 20 ที่คีตกวีต่างก็มีอิสระสรรค์สร้างผลงานของตนตามที่ตนพอใจ
และที่คิดว่าผูฟ้ ังจะถูกใจ แต่จะเป็ นที่พอใจของคีตกวีมากกว่าที่จะคานึงถึงผูฟ้ ัง ผูฟ้ ังจึงแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม
ใหญ่ๆ คือ กลุ่มที่ชอบฟังคีตลักษณ์แบบแผนที่บรรเลงกันตลอดมาหลายศตวรรษ และกลุ่มที่ชอบฟังดนตรี
แบบใหม่ หรื อดนตรี ที่คีตกวีจงใจที่จะทาให้กา้ วหลุดพ้นออกมาจากคีตลักษณ์แบบแผนหรื อทฤษฎีเก่า จึง
เป็ นคาตอบได้เป็ นอย่างดีถึงดนตรี ดุริยางค์วา่ ยังคงเจริ ญควบคู่กนั ไปกับดนตรี แบบใหม่
2.1.5 เทคนิคการบรรเลงที่ใช้ ในบทเพลง

ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเทคนิคการบรรเลงที่ใช้ในบทเพลง แบ่งออกเป็ นหัวข้อย่อย และรายละเอียดในแต่ละ


หัวข้อดังนี้ (ณัชชา โสคติยานุรักษ์,2547)
1. ทังกิง (Tonguing)
โน้ตที่ ไ ม่ มี เครื่ องหมายใดๆ ก ากับอยู่ จะบรรเลงด้วยเทคนิ คที่ เรี ย กว่า “ทังกิ ง” ซึ่ งมาจากค าว่า
“Tongue” ในภาษาอังกฤษ แปลว่า ลิ้น นับเป็ นเทคนิ คพื้นฐานของเครื่ องเป่ าแทบทุกชนิ ด โดยเป็ นการแบ่ง
เสี ยง โน้ตแต่ละตัวออกจากกัน ด้วยการยกบริ เวณด้านบนส่ วนหน้าของลิ้นขึ้นไปแตะด้านล่างของลิ้นแซก
โซโฟน (Saxophone Reeds) แล้วตวัดลิ้นกลับมาที่เดิมอย่างรวดเร็ ว เหมือนกับลักษณะของลิ้นในขณะที่พูด
คาว่า “ทู” “ดู” “ทา” หรื อ “ดา” คาใดคาหนึ่งต่อเนื่องกัน โดยที่ลมที่เป่ าออกมายังคงมีความแรงเท่าเดิม เมื่อ
ลิ้น แซกโซโฟนถูกสัมผัสก็จะหยุดการสั่นสะเทือนชั่วขณะ เสี ยงโน้ตที่ เป่ าออกมาจึ งถูกแบ่งออกจากกัน
เล็กน้อย ซึ่ งเป็ นไปตามหลักการเกิดเสี ยงที่ทราบกันดีโดยทัว่ ไป ว่าเสี ยงเกิดจากการสั่นสะเทือน วิธีดงั กล่าว
จึงเป็ นการ หยุดการสั่นสะเทือนของลิ้นแซกโซโฟนด้วยลิ้นของผูบ้ รรเลงชัว่ ขณะหนึ่งอย่างรวดเร็ ว
2. เลกาโต (Legato)

“เลกาโต” มีเครื่ องหมายเป็ นเส้นโค้ง ( ︵︶ ) เขียนกากับไว้ดา้ นบนหรื อด้านล่างกลุ่มโน้ต โดย


เครื่ องหมายเลกาโต ต้องใช้กบั โน้ตที่มีระดับเสี ยงต่างกันตั้งแต่สองตัวขึ้นไป ซึ่ งคาว่า “Legato” เป็ นภาษา อิ
ตาเลียน แปลว่า เรี ยบ หมายถึง ให้เล่นเสี ยงต่อเนื่องกัน (ณัชชา โสคติยานุรักษ์ , 2547, หน้า 165) เสี ยง แซก
โซโฟนที่บรรเลงด้วยเทคนิคเลกาโต จึงมีความราบเรี ยบต่อเนื่องกันไม่ขาดระยะ วิธีบรรเลงเทคนิคเลกาโต
ในแต่ละกลุ่ม ทาได้โดยการใช้ลมเดียวกันในการบรรเลง ร่ วมกับการ เปลี่ยนนิ้วที่กดลงบนแป้ นนิ้วเท่านั้น
ส่ วนอวัยวะภายในปากจะคงเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จนกว่า จะจบโน้ตตัวสุ ดท้ายในกลุ่ม อย่างไรก็
ตาม โน้ตตัวแรกของกลุ่มโน้ตที่บรรเลงด้วยเทคนิคเลกาโต จาเป็ น จะต้องใช้เทคนิคทังกิง เพื่อความชัดเจน
8

ของเสี ยง ส่ วนโน้ตตัวที่สองเป็ นต้นไป จึงจะใช้เพียงการเปลี่ยนนิ้ว ที่กดลงบนแป้นกด โดยไม่ตอ้ งใช้เทคนิ ค


ทังกิง
เทคนิ ค เลกาโต อาจเรี ย กอี ก อย่ า งหนึ่ งว่ า เทคนิ ค “ซเลอ” (Slur) ซึ่ งเป็ นภาษาอัง กฤษ โดยมี
เครื่ องหมาย เสี ยง และวิธีบรรเลงเหมือนกันทุกประการ อนึ่ ง เครื่ องหมายเส้นโค้งที่อาจพบได้ในบทเพลง
โดยทั่ว ไป อี ก ชนิ ด หนึ่ ง คื อ เครื่ อ งหมาย “ทาย” (Tie) ซึ่ ง ถึ ง แม้จ ะมี ล ัก ษณะเป็ นเส้ น โค้ง เช่ น เดี ย วกับ
เครื่ องหมายเลกาโต แต่ท้ งั สองเครื่ องหมายมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ เครื่ องหมายทายจะใช้โยงโน้ตที่มี
ระดับเสี ยงเดียวกัน และอยู่ติดต่อกันทันที มีผลให้เสี ยงแรกที่เล่นนั้น ยังคงค้างอยู่จนจบถึงโน้ตตัวสุ ดท้ายที่
ถูกโยง โดยไม่ตอ้ ง เล่นซ้ า(ณัชชา โสคติยานุรักษ์, 2547, หน้า 313-314) ดังนั้น วัตถุประสงค์ของเครื่ องหมาย
ทาย จึงเป็ นเพียง เครื่ องหมายเพื่อการเพิ่มค่าโน้ตให้ยาวขึ้นเท่านั้น ไม่ใช่เป็ นเครื่ องหมายกากับเทคนิคในการ
บรรเลง
3. เตนูโต (Tenuto)
“เตนูโต” มีเครื่ องหมายเป็ นเส้นตรง ( _ ) เขียนกากับไว้ดา้ นบนหรื อด้านล่างของตัวโน้ต ซึ่ งคาว่า
เตนูโต มาจากภาษาอิตาเลียน หมายถึง หน่วงไว้ หรื อยืดไว้ (ณัชชา โสคติยานุรักษ์ , 2547, หน้า 309) เสี ยง
แซกโซโฟนที่บรรเลงด้วยเทคนิ ค เตนู โต จึงมีการหน่ วงเสี ยงมากกว่าโน้ตตัวอื่น โดย คาอธิ บายที่ใช้กัน
โดยทัว่ ไปสาหรับการบรรเลงเทคนิ คเตนู โตก็คือ การเล่นโน้ตนั้นๆ ให้เต็มค่าโน้ตมากที่สุดเท่าที่จะทาได้
หรื ออีกนัยหนึ่ง เตนูโต เป็ นเทคนิคที่ไม่ได้ตอ้ งการการเคลื่อนไหวทางกายภาพอย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นพิเศษ
แต่เป็ น เพียงการที่ผปู ้ ระพันธ์บทเพลงต้องการให้ผบู ้ รรเลงหน่วงเสี ยงโน้ตตัวนั้นๆ จึงเขียนเครื่ องหมายเตนู
โตกากับไว้ เทคนิคเตนูโต
4. แอคเซินท์ (Accent)
“แอคเซิ นท์” มีเครื่ องหมายเหมือนกับเครื่ องหมายมากกว่า คือ มีลกั ษณะเป็ นหัวลูกศร ( > ) เขียน
กากับไว้ดา้ นบนหรื อด้านล่างของตัวโน้ตที่ตอ้ งการให้ผูบ้ รรเลงเน้นเสี ยงให้ดงั มากกว่าโน้ตตัวอื่นเล็กน้อย
โดยแอคเซินท์มาจากภาษาอังกฤษ แปลว่า การเน้นเสี ยง ซึ่งการเน้นเสี ยงด้วยเทคนิคแอคเซินท์ สามารถแบ่ง
ได้ เป็ นสองแบบหลักๆ คือ การใช้เทคนิ คแอคเซิ นท์ร่วมกับเทคนิ คทังกิ ง และการใช้เทคนิ คแอคเซิ นท์
ร่ ว มกับ เทคนิ ค เลกาโต การใช้เ ทคนิ ค แอคเซิ น ท์ร่ ว มกับ เทคนิ ค ทัง กิ ง ใช้ใ นกรณี โ น้ต ที่ ถู ก ก ากับ ด้วย
เครื่ องหมายแอคเซินท์ เป็ นโน้ตตัวแรกของกลุ่มโน้ตที่บรรเลงด้วยเทคนิคเลกาโต หรื อเป็ นโน้ตเดี่ยวที่ไม่ได้
อยู่ในกลุ่มโน้ตเลกาโต ซึ่ งโน้ตดังกล่าวเป็ นโน้ตที่จาเป็ นต้องใช้เทคนิ คทังกิงอยู่แล้ว จึงอาจกล่าวได้ว่าการ
เน้นเสี ยงในแบบนี้ เป็ นการ ใช้เทคนิคทังกิงที่มีแรงกระแทกของเสี ยงและความดังมากกว่าเทคนิคทังกิงโดย
ปกติ
9

5. ซตัคคาโต (Staccato)
“ซตัคคาโต” คานี้ มาจากภาษาอิตาเลียน หมายถึง ให้เล่นเสี ยงสั้น หรื อเสี ยงขาด (ณัชชา โสคติยานุ
รักษ์, 2547, หน้า 294) ดังนั้น ซตัคคาโต จึงเป็ นการกาหนดให้ผบู ้ รรเลงเล่นเสี ยงโน้ตให้ส้ นั กว่า ค่าโน้ตที่
บันทึก แต่ไม่ตอ้ งเน้นเสี ยง เทคนิคซตัคคาโต มีเครื่ องหมายเป็ นจุด ( . ) เขียนกากับไว้ตรงกึ่งกลางของหัว
โน้ต การบรรเลงเทคนิคซตัคคาโต จะใช้วิธีเดียวกับเทคนิคทังกิง แตกต่างกันตรงที่เสี ยงโน้ตจากเทคนิค
ซตัคคาโตจะต้องขาดจากโน้ตตัวข้างเคียง จะไม่ต่อกันเหมือนเทคนิคทังกิง ลักษณะของลิน้ ในการใช้เทคนิค
ซตัคคาโต จะเหมือนกับในขณะที่พูดคาว่า “ดิ๊ด” โดยบริ เวณด้านบนส่ วนหน้าของลิ้นจะขึ้นไปแตะด้านล่าง
ของลิ้นแซกโซโฟน แล้วคงไว้อย่างนั้น ยังไม่ตวัดลิ้นกลับมาที่เดิม จนกว่าจะถึงจังหวะของโน้ตตัวถัดไป ซึ่ง
การบรรเลงเทคนิ คซตัคคาโตด้วยวิธีน้ ี ใช้กบั โน้ตที่กากับด้วยเครื่ องหมายซตัคคาโตเพียงเครื่ องหมายเดียว
ไม่มีเครื่ องหมายอื่นเข้ามาร่ วมด้วย
6. มาร์คาโต (Marcato)
“มาร์คาโต” เป็ นเทคนิคที่กาหนดให้ผบู ้ รรเลงเน้นเสี ยงให้ดงั มากกว่าโน้ตตัวอื่นเล็กน้อยเช่นเดียว
กับเทคนิคแอคเซินท์ แต่แตกต่างกันตรงที่ค่าของโน้ตที่ทาการเน้นเสี ยง กล่าวคือ ค่าของโน้ตที่เน้นเสี ยงด้วย
เทคนิคแอคเซินท์จะมีความยาวเท่ากับค่าโน้ตที่บนั ทึก ในขณะที่ค่าของโน้ตที่เน้นเสี ยงด้วยเทคนิคมาร์คาโต
จะสั้นกว่าค่าโน้ตที่บนั ทึก หรื ออีกนัยหนึ่ง การใช้เทคนิคมาร์คาโต ก็คือ การใช้เทคนิคแอคเซินท์ร่วมกับ
เทคนิคซตัคคาโตนัน่ เอง
เครื่ องหมายมาร์คาโต มีลกั ษณะเป็ นหัวลูกศรชี้ข้ ึน ( ^ ) เขียนกากับไว้ดา้ นบนของตัวโน้ตเท่านั้น ซึ่ง
คาว่า มาร์คาโต มาจากภาษาอิตาเลียน แปลว่า เน้น (ณัชชา โสคติยานุรักษ์, 2547, หน้า 179) และอาจ เนื่อง
ด้วยเครื่ องหมายมาร์ คาโตที่มีลกั ษณะคล้ายหน้าจัว่ หลังคา จึงพบว่ามีการเรี ยกเทคนิคมาร์คาโตด้วย
7. ทริ ล (Trill)
“ทริ ล” เป็ นภาษาอังกฤษ แปลว่า การออกเสี ยงรัว มีเครื่ องหมายเป็ นอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก
ได้แก่ อักษรที (t) และอักษรอาร์ (r) เขียนติดกัน นอกจากนี้ อาจมีการเขียนเส้นคลื่น ต่อหลังตัวอักษร tr ซึ่ง
ถึงแม้วา่ จะมีเส้นคลื่นหรื อไม่มีเส้นคลื่นก็ตาม ก็ไม่มีความแตกต่างกันในการบรรเลง (นพพร ด่านสกุล,
2543, หน้า 84) โดยเทคนิคทริ ล เป็ นการเล่นโน้ตสองตัวสลับกันไปมาอย่างรวดเร็ว จัดเป็ นเทคนิคการใช้
โน้ตประดับ ชนิดหนึ่ง (ณัชชา โสคติยานุรักษ์, 2547, หน้า 320) โดยโน้ตสองตัวที่นามาเล่นสลับกัน จะเป็ น
โน้ตที่บนั ทึก สลับกับโน้ตที่มีระดับเสี ยงสู งกว่าซึ่งอยูต่ ิดกันตามลาดับขั้นในบันไดเสี ยงนั้น ๆ หรื อหาก
10

ผูป้ ระพันธ์ตอ้ งการ ให้โน้ตที่มีระดับเสี ยงสูงเป็ นโน้ตนอกบันไดเสี ยง ก็จะเขียนเครื่ องหมายทริ ลร่ วมกับ
เครื่ องหมายแปลงเสี ยง (Accidental)
จากการสารวจเทคนิคในการบรรเลงที่เหมาะสมที่ใช้ในการบรรเลงบทเพลง Fantasia for Tenor
Saxophone ในท่อนที่หนึ่ง มีท้ งั หมด 7 เทคนิค ได้แก่ ทังกิง, เลกาโต, เตนูโต, แอคเซินท์, ซตัคคาโต, ทริ ล
ซึ่งสามารถจาแนกเทคนิคต่าง ๆ ได้เป็ น 2 ระดับขั้น คือ เทคนิคขั้นพื้นฐาน เทคนิค ขั้นกลาง
เทคนิคขั้นพื้นฐาน เป็ นเทคนิ คที่นกั แซกโซโฟนปฏิบตั ิกนั ได้โดยทัว่ ไป ได้แก่ ทังกิง, เลกาโต, เตนู
โต, แอคเซินท์, ซตัคคาโต และ โดยเทคนิคขั้นพื้นฐานเหล่านี้ ถือว่าเป็ นเทคนิคที่ง่าย สามารถปฏิบตั ิ ได้โดย
ไม่ตอ้ งใช้การฝึ กฝนเท่าใดนัก
เทคนิคขั้นกลาง เป็ นเทคนิคที่ตอ้ งใช้การฝึ กซ้อมมากกว่าเทคนิคขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ทริ ล เทคนิคนี้
นักแซกโซโฟนจาเป็ นต้องมีการแบ่งการซ้อมในแต่ละห้อง ที่มีการใช้เทคนิคดังกล่าวออกเป็ นส่วน ๆ อย่าง
เฉพาะเจาะจง นอกจากนี้ ก่อนการซ้อมจาเป็ นต้องมีการ ศึกษาถึงการใช้นิ้ว และการวางปาก เพื่อให้การ
บรรเลงเกิดความต่อเนื่อง ราบรื่ น และเป็ นธรรมชาติ
2.2 ทฤษฎีด้านดนตรีที่เกีย่ วข้ อง

2.2.1 ทฤษฎีดนตรีตะวันตก

ผูว้ ิจยั ได้อา้ งอิง จากหนังสื อ “ทฤษฎีดนตรี ตะวันตก (Western Music Theory)” พิมครั้ งที่ 3 พ.ศ.
2564 โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ตระกูลฮุน้ มีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อใช้เป็ นคาอธิบายและคาบรรยาย
ให้แก่นักเรี ยน นักศึกษาและผูอ้ ่านที่สนใจสามารถทาความเข้าใจได้ด้วยตนเอง หนังสื อเล่นนี้ ประกอบ 3
ส่ วนหลัก ได้แก่ เนื้ อหา แบบฝึ กหัด และคาเฉลยในภาคผนวกท้ายเล่ม จะช่วยให้เข้าใจประพเด็นต่างๆ ได้ดี
ยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ การจัดวางเนื้อหาในแต่ละบทครอบคลุมเนื้อหาในประเด็นที่เกี่ยวเนื่ องกัน

สาหรับคาศัพท์ดนตรี ส่วนใหญ่ที่ปรากฏในหนังสื อเล่มนี้ ผูเ้ ขียนอ้างอิงจาก “พจนานุกรมศัพท์ดุริ-


ยางคศิลป์ ” (พิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554) โดยศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริ ญ และ พจนานุกรมศัพท์ดนตร
สากล ฉบับราชบัณฑิตยสภา” (พ.ศ.2561) สานักงานราชบัณฑิตยสภา ศัพท์บางคาผูเ้ ขียนบัญญัติข้ ึนเพื่อให้
เหมาะสมกับเนื้ อหา ส่ วนชื่อบทประพันธ์เพลง ชื่อผูป้ ระพันธ์เพลง คาศัพท์เฉพาะบางคา และสัญลักษณ์ทาง
ดนตรี อาจเลือกใช้ภาษาอังกฤษหรื อบางกรณี อาจใช้ภาษาต่างประเทศอื่น ซึ่งผูเ้ ขียนเห็นว่าสามารถสื่ อสาร
และทาความเข้าใจได้ง่ายกว่าการใช้คาทับศัพท์ภาษาไทย(วิบูลย์ ตระกูลฮุน้ ,2564)
11

2.2.2 ทฤษฎีการวิเคราะห์ ดนตรี

การวิเคราะห์เพลงมีหลายระดับ ซึ่งล้วนแต่มีประโยชน์ในระดับต่างๆกัน การวิเคราะห์ในระดับต้น


จะทาให้รู้จกั บทเพลง นับเป็ นประโยชน์ในขั้นต้นที่จะทาความคุน้ เคยกับบทเพลงนอกเหนื อจากการฟั งหรื อ
การบรรเลงเพียงอย่างเดี ยว หากวิเคราะห์ลึกลงไปอี กขั้นหนึ่ งก็จะทาให้เกิ ดความเข้าใจในบทเพลง เป็ น
ประโยชน์ระดับที่สูงขึ้น ความเข้าใจระดับนี้ มีความจาเป็ นสาหรั บนักดนตรี อาชี พ หรื อผูท้ ี่ตอ้ งการศึ กษา
ดนตรี อย่างจริ งจัง และในการวิเคราะห์ข้ นั สู งจะทาให้สามารถประเมินคุณค่าของบทเพลงได้ ซึ่ งนับเป็ น
ประโยชน์ของการวิเคราะห์บทเพลงให้ถ่องแท้ ประกอบด้วยมีก ารวิเคราะห์ทานอง จังหวะ เสี ยงประสาน
และประโยคเพลง เพื่อจะได้รู้คุณค่าของบทเพลง ความสามารถของนักแต่งเพลงในการวางโครงสร้างของ
เพลงและการสร้างสรรค์พฒั นาบทเพลงให้วิจิตรพิสดารอย่างแยบยลจะทาให้ผลงานนั้นมีคุณค่าควรแก่กการ
ยกย่อง เป็ นผลงานที่เป็ นอมตะ เมื่อวิเคราะห์บ ทเพลงที่แต่งโดยนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสี ยง จะพบว่ามีคุณค่า
สมควรได้รับการสรรเสริ ญทั้งสิ้ น ดังนั้นผูว้ ิจยั จึงมีแนวทางการวิเคราะห์ดงั นี้(ณัชชา พันธุ์เจริ ญ,2560:6)

1. การวิเคราะห์ส่วนประกอบหลักของเพลง
2. การวิเคราะห์ประโยคเพลง
3. การวิเคราะห์สังคีตลักษณ์

2.2.3 การสร้ างความมั่นใจสาหรับการแสดงเดี่ยว

ในการแสดงเดี่ยว ( Recital) นั้นนักดนตรี หลายคนมักมีปัญหาเรื่ องการจาโน้ตซึ่งบางคนอาจจาได้


แต่ไม่แม่นยาบางคนจาได้เฉพาะบางส่ วนบางคนจาได้เฉพาะเวลาฝึ กซ้อมแต่ในการแสดงจริ งอาจเกิดการลืม
โดยไม่ทราบสาเหตุบางครั้งเมื่อเล่นผิดก็ไม่สามารถเล่นต่อหรื อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดงั นั้นการจาบทเพลง
จึงเป็ นหนึ่ งในปั ญ หาที่นัก ดนตรี หลายคนประสบจนอาจส่ งผลให้นัก ดนตรี หลายคนไม่อยากออกแสดง
เพราะขาดความมั่นใจว่า สามารถจ าบทเพลงได้ก ารจาโน้ต เพลงได้อย่า งแม่ นย านั้นยัง สามารถช่ ว ยให้
นักแสดงมีสมาธิ ดีข้ ึนซึ่ งหากนักแสดงไม่สามารถจดจาบทเพลงได้อย่างแม่นยาก็จะทาให้ขาดความมั่นใจ
และบรรเลงบทเพลงนั้นๆ ออกมาไม่ได้คุณภาพ(ภาวไล ตันจันทร์พงศ์ 2012: 40-47)

อย่างไรก็ตามปั ญหาการจดจาโน้ตหรื อบทเพลงมิใช่ปั ญหาที่ไ ม่สามารถแก้ไขได้จากการศึ ก ษา


ค้นคว้าจากประสบการณ์ตรงและการศึกษาวิจยั ของผูเ้ ขียนโดยเฉพาะจากนัก ดนตรี ที่ประสบความสาเร็ จ
หลายท่านและจากนักเรี ยนที่สอนทาให้ทราบถึงวิธีการและเทคนิ คการซ้อมที่สามารถทาให้จดจาเพลงได้
แม่นยาขึ้นผลจากการศึกษาค้นคว้าและทดสอบวิธีการจาเพลงมาทดลองใช้กบั ตนเองและนักเรี ยนปรากฏว่า
12

สามารถเพิ่มความมัน่ ใจให้กบั ผูแ้ สดงอย่างมีประสิ ทธิ ภาพแนวทางการฝึ กนี้ ผแู ้ สดงต้องให้ความสาคัญเป็ น


อันดับต้นๆโดยการจาเพลงสามารถเกิดขึ้นได้จากวิธีการต่อไปนี้ (ภาวไล ตันจันทร์พงศ์ 2012: 40-47)

1. ความจาที่เกิดขึน้ จากกล้ามเนื้อ
ํ อยๆให้เกิดความเคยชินเป็ นความจาที่ไม่
ความจาที่เกิดขึ้นจากกล้ามเนื้อนั้นเกิดจากการกระทาซ้าๆบ่
มัน่ คงเกิดขึ้นจากการจาการเคลื่อนไหวของนิ้วมือแขนข้อศอกและอิริยาบทต่างๆของร่ างกายในขณะฝึ กซ้อม
ํ แ้ สดงหลายคนอาจหลงผิดเพราะความจา
เกิดจากการที่กล้ามเนื้ อจดจาการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นอย่างซ้าๆผู
ลักษณะนี้ แทบไม่มีความแม่นยาเมื่อเทียบกับความจาที่เกิดขึ้นจากการคิดวิเคราะห์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่ อผู ้
แสดงมี อาการตื่ นเต้นหรื อประหม่ าความจาที่ เกิ ดขึ้นจากกล้ามเนื้ ออาจหายไปโดยง่ ายในขณะแสดงเมื่ อ
เหตุการณ์ดงั กล่าวเกิดขึ้นก็ยากที่ผูแ้ สดงจะสามารถกลับมาบรรเลงให้ต่อเนื่องไปได้ตวั อย่างเช่นเมื่อบรรเลง
บทเพลงไปได้ระยะหนึ่ งและมีอาการประหม่าเกิดขึ้นผูแ้ สดงคนนั้นๆมักจะสะดุดหรื อหยุดจนต้องกลับไป
เริ่ มต้นบทเพลงใหม่และเมื่อบรรเลงไปถึงบริ เวณเดิมก็สะดุดหรื อหยุดอีกสิ่ งที่ควรทาคือต้องบรรเลงต่อไป
ข้างหน้าให้ได้อย่าย้อนกลับหรื อถอยหลัง

2. ความจาที่เกิดขึน้ จากการจาเสียง

วิธีการนี้ คือความสามารถในการจาเสี ยงผูแ้ สดงสามารถจดจาเสี ยงของบทเพลงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง


แนวทานองในขณะที่ฝึกซ้อมหรื อทาการแสดงจริ งสมองจะสั่งการให้นิ้วบรรเลงไปตามเสี ยงที่จดจาภายในหู
ํ อนกับความจาที่เกิดขึ้นจากกล้ามเนื้ อแต่ใน
ของผูแ้ สดงเองความจาลักษณะนี้ เกิดจากการซ้อมและทาซ้าเหมื
การจะสามารถจาเสี ยงได้น้ นั ผูแ้ สดงต้องมีทกั ษะด้านการฟั งที่ดีสามารถจดจาเสี ยงต่างๆที่เป็ นส่ วนประกอบ
ของบทเพลงเรี ยกว่า "ซ้อมจนหู คุน้ ชิน" กับเสี ยงที่เกิดขึ้นของบทเพลงไม่ว่าจะเป็ นเสี ยงในแนวทานองแนว
ประสานและขั้นคู่ที่เกิดขึ้น

3. ความจาที่เกิดจากการจาภาพ

การจาลักษณะนี้สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท

3.1 การจาภาพโน้ตผูบ้ รรเลงที่มีความสามารถนี้ จะสามารถจาโน้ต (Score) เสมือนมองเห็นโน้ต


จริ งๆวางตั้งอยู่ตรงหน้าเป็ นความจาที่ เกิ ดกับคนที่สามารถจาภาพจาตัวหนังสื อไม่ได้เกิดจากการฝึ กซ้อม
ซ้ าาๆ
13

3.2 การจาภาพการเคลื่อนไหวของมือความจานี้ ผแู ้ สดงสามารถจาการเคลื่อนของมือและการวางมือ


เช่นต้องกางมือขนาดไหนต้องย้ายตาแหน่งมือไปบริ เวณใดของเปี ยโนเป็ นการจาการเคลื่อนไหวที่เป็ นภาพ

บนคียบ์ อร์ ดเป็ นความจาที่เกิดขึ้นจากการทาซ้าๆจนจ าได้ความจาลักษณะนี้ ไม่มีความแม่นยาและอาจส่ งผล
เสี ยต่อการบรรเลงเหมือนกับความจาที่เกิดจากกล้ามเนื้ อ ความแม่นยาน้อยซึ่ งถ้าผูแ้ สดงมีความจาลักษณะนี้
หากเกิดการลืมหรื ออาการตื่นเต้นก็จะไม่สามารถบรรเลงต่อไปได้

4. ความจาที่เกิดจากการวิเคราะห์

ความจาลักษณะนี้ เกิดขึ้นจากการศึกษาและวิเคราะห์เพลงที่จะเล่นอย่างเข้าใจถ่องแท้เสี ยก่อนโดย


ต้องวิเคราะห์โครงสร้างคอร์ดประโยคเพลงความเข้มของเสี ยงความดัง -เบารวมถึงรายละเอียดเล็กๆน้อยๆที่
ปรากฏในบทเพลงความจาลักษณะนี้ จะมี ความแม่นยาและฝั งลึกและถ้าเกิดเหตุการณ์ ที่ผูแ้ สดงเกิดลืมว่า
จะต้องบรรเลงอย่างไรก็สามารถเรี ยกกลับคืนมาทาให้บรรเลงต่อได้โดยไม่ตอ้ งเริ่ มใหม่ความจาลักษณะนี้
เกิดขึ้นในขณะฝึ กซ้อมแล้วสั่งสมองให้จาและศึกษาวิเคราะห์บทเพลงโดยละเอียดผูแ้ สดงจึงสามารถจาบท
เพลงได้ท้ งั หมด

ความจาทั้ง 4 ประเภทที่กล่าวข้างต้นนั้นจาเป็ นอย่างยิง่ ที่ผแู ้ สดงต้องประยุกต์และนามาใช้ร่วมกันใน


การฝึ กซ้อมจึงจะสามารถบรรลุผลทาให้ผูแ้ สดงมี ความจาที่แม่นยาผูแ้ สดงไม่ควรเลือกใช้วิธีการจาโดย
วิธีการใดเพียงวิธีหนึ่งเนื่ องจากความจาแต่ละประเภทนั้นต่างมีท้ งั ข้อดีและข้อด้อยต่างกันนอกจากความจาที่
เกิดขึ้นในขณะฝึ กซ้อมปั ญหาหนึ่ งที่นกั แสดงอาจประสบคือระยะเวลาในการฝึ กซ้อมก่อนการแสดงปั ญหานี้
เป็ นปั ญหาที่นกั แสดงไม่สามารถหลีกเลี่ยงแนวทางและวิธีการต่อไปนี้ เป็ นการสร้างความจาให้แม่นยาโดย
ใช้เวลาน้อยที่สุด

นอกจากความจาที่ เกิ ดขึ้นในขณะฝึ กซ้อมปั ญหาหนึ่ งที่นักแสดงอาจประสบคือระยะเวลาในการ


ฝึ กซ้อมก่อนการแสดงปั ญหานี้ เป็ นปั ญหาที่นักแสดงไม่สามารถหลีกเลี่ยงแนวทางและวิธีการต่อไปนี้ เป็ น
การสร้างความจาให้แม่นยาโดยใช้เวลาน้อยที่สุด

1. เมื่อเลือกบทเพลงที่ตอ้ งการบรรเลงได้แล้ว ให้นาบทเพลงนั้นมาวิเคราะห์ก่อนที่จะทาการฝึ กซ้อม


โดยวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบทั้งหมดของบทเพลงนั้นเช่นกุญแจเสี ยงการเปลี่ยนช่วงหรื อบริ เวณไหนเป็ น
อย่างไรมีการกลับไป-มาหรื อไม่รวมไปถึงการวิเคราะห์สังคีตลักษณ์ว่าเป็ นลักษณะใดเช่นโซนาตารอนโด
หรื อสองตอนเป็ นต้นในการวิเคราะห์บทเพลงที่เหล่านี้ผบู ้ รรเลงควรคานึงถึงองค์ประกอบต่างๆของบทเพลง
14

2. แบ่งบทเพลงออกเป็ นส่วนย่อยๆ โดยใช้ตวั เลขหรื อตัวอักษรเป็ นสัญลักษณ์ของแต่ละท่อนโดยไม่


จาเป็ นต้องแบ่งตามคีตลักษณ์ให้แบ่งย่อยตามที่ผูแ้ สดงคิดว่าง่ายต่อการจาและง่ายต่อการเริ่ มต้นอาจจะเป็ น
ช่ วงที่ เปลี่ ย นพื้ นผิ วของบทเพลงช่ วงที่ จบประโยคเพลงเปลี่ ย นกุ ญแจเสี ย งส่ วนย่ อยแต่ ล ะช่ วงนั้น ไม่ มี
ข้อกาหนดที่แน่นอนอาจมีความยาว 2-4 ห้องไปจนถึง 2-3 บรรทัดอย่างไรก็ตามไม่ควรให้แต่ละช่วงมี
ความยาวมากเกินไปเมื่ อแบ่งเป็ นส่ วนย่อยต่างๆแล้วให้ฝึกซ้อมตามตัวเลขหรื อตัวอักษรที่ ระบุไม่ควรเริ่ ม
ซ้อมที่ตน้ บทเพลงทุกครั้งเช่นเริ่ มต้นฝึ กซ้อมจากเลขสุ ดท้ายก่อนแล้วถอยกลับจนถึงต้นบทเพลงหรื ออาจเริ่ ม
จากบริ เวณกลางเพลงก็ได้วิธีน้ ีทาให้ผแู ้ สดงมีสติในการฝึ กซ้อมตลอดเวลาผูแ้ สดงจะรู ้วา่ กาลังซ้อมถึงไหนถ้า
หากบรรเลงผิดหรื อเกิดการลืมก็สามารถต่อไปยังที่เลขถัดไปไม่ควรเริ่ มต้นใหม่นอกจากนั้นควรฝึ กซ้อมข้าม
ตัวเลขในการซ้อมด้วยวิธีการนี้สามารถทาให้คนุ ้ ชินกับการเริ่ มบริ เวณไหนก็ได้ของบทเพลง

3. เริ่ มต้นด้วยการฝึ กซ้อมทีละมือและต้องจาเสี ยงของแต่ละมือให้ได้ บทเพลงส่ วนมากแนวทานอง


จะอยู่ที่มือขวาผูบ้ รรเลงมักจาแนวทานองของมือขวาได้แต่ส่วนใหญ่ขอ้ ผิดพลาดมักเกิดขึ้นกับมือซ้ายหากผู ้
แสดงไม่สามารถจาแนวทานองของมือซ้ายได้ก็จะทาให้บรรเลงต่อไปได้ยากแนวทานองของมือซ้ายมักเป็ น
แนวประกอบหรื อแนวเบสที่ผูบ้ รรเลงมักมองข้ามความสาคัญไปดังนั้นหากผูแ้ สดงต้องการจาบทเพลงให้
แม่นยาควรให้ความสาคัญเท่าเทียมกันทั้งสองมือ

ควรฝึ กทีละ 2-4 ห้องทีละมือแล้วจาให้ได้จาทุกรายละเอียดจาระดับความดัง -เบาและไม่ควรเริ่ มต้น


ฝึ กซ้อมด้วยจังหวะเร็ วให้จาแบบจังหวะที่ชา้ แต่มีรายละเอียดครบทุกอย่างทีละมือเมื่อจาเสี ยงทีละมือได้แล้ว
จึงค่อยฝึ กจาทั้ง 2 มือฟั งเสี ยงประสานและฟั งเสี ยงความสมดุลของทั้งสองมือวิธีตรวจสอบว่าเราจาทีละมือ
ได้หรื อไม่คือมือหนึ่ งให้บรรเลงที่เปี ยโนส่ วนอีกมือหนึ่ งให้บรรเลงที่ขาหรื อฝาเปี ยโนหรื ออาจเป็ นบนคีย ์
เปี ยโนแต่ไม่ให้เกิดเสี ยงถ้าหากทาไม่ได้แสดงว่าผูแ้ สดงยังจาทีละมือไม่ได้

4. เมื่อสามารถบรรเลงบทเพลงได้แล้ว ควรฝึ กซ้อมด้วยอัตราจังหวะที่หลากหลายการซ้อมเร็ วเป็ น


การพัฒนาเทคนิ คนิ้วแต่การซ้อมช้าเป็ นการพัฒนาความคิดที่เชื่อมโยงบทเพลงทั้งบทเข้าด้วยกันควรซ้อมช้า
กับเพลงที่ตอ้ งเล่นเร็ วเพื่อให้มีความเชื่อมโยงบทเพลงที่ต่อเนื่องสมองได้รับทราบว่าประโยคเพลงเป็ นอย่าง
ไรมีความต่อเนื่องกันอย่างไรเวลาที่ผแู ้ สดงต้องเล่นบทเพลงที่เร็ วมักกังวลกับเทคนิคจนลืมความไพเราะลืม
ทานองที่ซ่อนอยู่ให้ความสาคัญแต่ซ้อมการกระโดดของมือการวิ่งที่รวดเร็ วของนิ้ วการซ้อมช้าจะช่วยให้มี
เวลาคิดมากขึ้น
15

5. ตั้งเป้ าหมายในการฝึ กซ้อมว่าแต่ละวันต้องจาบทเพลงเพิ่มขึ้นวันละส่ วน ควรมีเป้ าหมายทุกวัน


อย่างไรก็ตามก่อนที่จะเริ่ มจาของส่ วนใหม่ของบทเพลงให้ฝึกซ้อมส่ วนเดิมที่จาเมื่อวานว่ายังคงจาได้หรื อไม่
อาจเดินออกไปดูถา้ จาไม่ได้ให้ดูที่โต๊ะแล้วเดินกลับมาฝึ กซ้อมใหม่แล้วดูว่าจาได้หรื อไม่ถา้ ยังไม่ได้อีกก็ให้
ํ ธีน้ ีเป็ นการบังคับให้สมองท่องจาได้อย่างแม่นยาและเป็ นการฝึ กที่ยากกว่าการจาแบบใช้กล้ามเนื้อ
ทาซ้าวิ

6. การซ้อมนอกเครื่ องดนตรี โดยให้เอาบทเพลงที่จะจามานัง่ อ่านแล้วนึ กเสี ยงตามแล้วลองบรรเลง


แบบไม่มีเสี ยงลองออกแบบลักษณะนิ้ วให้คล้ายกับเครื่ องที่ตนเล่นและให้นึกถึงเสี ยงภายในใจต้องหายใจ
ตามประโยคเพลงที่แบ่งไว้ตอ้ งมีระดับเสี ยงดัง -เบาขณะที่นึกต้องมีรายละเอียดให้มากที่สุดหากลืมก็ ต้อง
ต่อไปข้างหน้าให้ได้เป็ นการรวบรวมความจาทุกประเภทที่กล่าวไว้ขา้ งต้นมาใช้ถา้ หากสามารถจาได้ต้ งั แต่
ต้นจนจบก็จะพิสูจน์ได้วา่ เราจาบทเพลงนี้ได้อย่างแม่นยา

7. ก่อนการแสดงจริ งทุกครั้ง ควรมีการแสดงย่อยในที่สาธารณะชนก่อนอาจบรรเลงให้เพื่อนหรื อ


ญาติพี่นอ้ งดูเพื่อเป็ นการทดสอบว่าสามารถจาได้แม่นยาเพียงใดเมื่อตื่นเต้นยิง่ แสดงบ่อยเท่าไหร่ ความมัน่ ใจ
ก็จะมากขึ้นเมื่อความมัน่ ใจมีมากขึ้นประกอบกับความจาที่แม่นยาการแสดงนั้นๆก็จะประสบผลสาเร็ จ

จากวิธีการฝึ กซ้อมที่ นาเสนอข้างต้นนั้นหากสามารถฝึ กปฏิบตั ิได้อย่างสม่าเสมอจะเห็ นได้ชัดว่า
ขณะแสดงจะมีความมัน่ ใจเป็ นอย่างมากผูแ้ สดงมีความจาที่ดีข้ ึนสิ่ งสาคัญอีกประการหนึ่ งที่ผูแ้ สดงทุกคน
ควรระลึกไว้เสมอคือพยายามฝึ กซ้อมให้เหมือนการแสดงจริ งทุกครั้งซ้อมคิดซ้อมความตั้งใจและซ้อมสมอง
ให้เหมือนกับแสดงจริ งเมื่อถึงเวลาแสดงจริ งก็เปรี ยบเสมือนกับการฝึ กซ้อมอีกหนึ่ งครั้งเท่านั้นวิธีการเหล่านี้
สามารถช่วยให้ผูแ้ สดงลดความตื่ นเต้นและประหม่าไปได้มากทาให้การแสดงแต่ละครั้ งผูแ้ สดงสามารถ
บรรเลงบทเพลงด้วยความมัน่ ใจส่ งผลให้บทเพลงที่กาลังแสดงนั้นไพเราะยิง่ ขึ้น

2.3 กรอบแนวคิดงานวิจัย
จากการพิ จ ารณาขั้น ตอนข้า งต้น ทั้ง หมด ผู ้วิ จัย ได้น ามาสร้ า งกรอบแนวคิ ด และขั้น ตอนการ
ดาเนินงานวิจยั ของการศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-
Lobos
วิเคราะห์บทเพลง

คัดเลือกบทเพลง นาเสนองานวิจยั

นาเสนอเทคนิคการ
แสดงเดี่ยว
16

2.4 งานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง


เป็ นการศึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับบทประพันธ์ที่ผวู ้ ิจยั ได้ศึกษาอยูเ่ ช่น วิธีการฝึ กซ้อม เทคนิคการ
บรรเลงบทเพลง เทคนิคการแสดงเดี่ยว เป็ นต้น เพื่อให้ผวู ้ ิจยั สามารถนาไปประกอบการวิเคราะห์ในบริ บท
ต่างๆ
1. การตีความและฝึ กซ้อมในบทเพลงเปี ยโนโซนาตาหมาบเลข 23 ลาดับที่ 57 ของเบโทเฟน โดย ธีร
พล หลิว เป็ นวิทยานิ พนธ์ของการศึกษาตามหลักสู ตรดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิ ต มี -
วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ตีความเทคนิคการบรรเลง หาแนวทางการฝึ กซ้อม อีกทั้งเพื่อนาเสนอความไพเราะ
และงดงามผ่านการแสดงคอนเสิ ร์ตโดยมีขอบเขตการศึกษาคือ เป็ นการศึกษาวิเคราะห์บทเพลงในเชิงทฤษฏี
ดนตรี แบบแผน สังคีตลักษณ์ของบทเพลง รวมถึงการวิเคราะห์ตีความเทคนิ ควิธีการบรรเลงและแนวการ
ฝึ กซ้อมเปี ยโนเท่านั้น
2. การตีความและการฝึ กซ้อมในบทเพลงโซนาตาหมายเลข 14 ในกุญแจเสี ยงซี ไมเนอร์ เค.457
ประพันธ์โดยโมสาร์ ท ผูจ้ ดั ทา วรรณอนงค์ จันทร์ อ่อน เป็ นวิทยานิ พนธ์ของการศึกษาตามหลักสู ตรดุริ -
ยางคศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิ ต มีวตั ถุประสงค์เพื่อตีความและวิเคราะห์เทคนิคการบรรเลง และ
เพื่อนาเสนอแนวทางการฝึ กซ้อม อีกทั้งมีขอบเขตการวิจยั ในการวิเคราะห์และตีความเทคนิ คทางการบรรเลง
6 ประเด็น ได้แก่ การนาเสนอแนวทานองเพลง โน้ตประดับ การเลื อกใช้นิ้ว ความเข้มเสี ยง การควบคุม
ลักษณะเสี ยง และการใช้เพเดิล
17

บทที่ 3

วิธีการดาเนินวิจัย
ในการดาเนินงานวิจยั เรื่ อง การศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I
by Heitor Villa-Lobos มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผวู ้ ิจยั ได้ศึกษาและเข้าใจถึงตัวบทเพลงนี้ และได้ทราบถึงวิธีการ
ซ้ อ ม เทคนิ ค ในการบรรเลง รวมถึ ง การตี ค วามโครงสร้ า งของบทเพลงเพื่ อ ให้ แ สดงออกมาอย่ า งมี
ประสิ ทธิ ภาพ สาหรับวิธีการดาเนิ นวิจยั ผูว้ ิจยั ได้ศึกษา โดยเริ่ มจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากลุ่มกบุคคล
เป้ าหมายซึ่ งเป็ นผูม้ ีความรู ้ทางดนตรี ตะวันตก โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็ นเครื่ องมือ ในงานวิจยั แล้วจึงนา
ข้อมูลมาทาการวิเคราะห์

3.1 กลุ่มบุคคลเป้าหมาย
การวิจยั ในครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจยั เชิงคุณภาพ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายคือ คณาจารย์ผเู ้ ชี่ยวชาญ ภาควิชา
ดนตรี ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จานวน 2 คน และ ภาควิชาดนตรี สากล คณะมนุษย์
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จานวน 1 คน ได้แก่
1. อาจารย์ ณัฐพล อาสว่าง
2. อาจารย์ กชพร อู่ไพบรู ณ์
3. อาจารย์ วีระศักดิ์ งามวงศ์รณชัย

3.2 เครื่ องมือที่ใช้ ในงานวิจัย


เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
- แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos

3.3 การสร้ างเครื่ องมือในการวิจัย


แบบสัมภาษณ์ ( Interview form )
คือ เครื่ องมือที่ใช้ประกอบการสัมภาษณ์ จะเป็ นแบบบันทึกคาให้สัมภาษณ์สร้างขึ้นมาเพื่ออานวย
ความสะดวกในการรวบรวมข้อมูล ลักษณะของแบบสัมภาษณ์อาจจะคล้ายกับแบบนอกจากนี้ ยงั มีเครื่ องมือ
ที่ ใ ช้ป ระกอบในการสัม ภาษณ์ เป็ นสื่ อประเภทเครื่ อ งบันทึ ก เสี ย ง ซึ่ งอานวยความสะดวกสบายในการ
รวบรวมและสรุ ปข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน ผูว้ ิจยั จึงได้นามาพัฒนาให้เข้ากับงานวิจยั ดังนี้
18

1. ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่ องที่จะสัมภาษณ์ให้ชดั เจน โดยศึกษาเอกสารและงานวิจยั


ที่เกี่ยวข้องว่ามีกี่ประเด็น อะไรบ้าง
2. ให้ นิ ย ามหรื อ ความหมายของค าถามและแยกเป็ นรายละเอี ย ดค าถามที่ จ ะสร้ างเป็ น
แบบสัมภาณ์
3. ร่ างคาถามที่จะสัม ภาษณ์ เพื่อให้แบบสัมภาษณ์ แบบมี โครงสร้ างเรี ยบง่าย เข้าใจง่าย
เพื่อให้เกิดความราบรื่ นในการสัมภาษณ์

3.4 การเก็บรวบรวมข้ อมูล


ผูว้ ิจยั ได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ศึกษา จากแหล่งที่มาต่าง ๆ
ได้แก่ หนังสื อ ตารา บทความ และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังเก็บข้อมูล จากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เช่น
เว็บต์ไซต์ Thai Journals Online และ ThaiLIS Digital Collection ซึ่ งเป็ นฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิ พนธ์
ต่าง ๆ โดยผูว้ ิจยั จะพิจารณาการเก็บข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ ซึ่งประเด็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
1) บริ บทที่เกี่ยวข้องกับบทเพลง
2) ทฤษฎีทางด้านดนตรี ที่เกี่ยวข้อง
3) งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

ผูว้ ิ จัย ได้ใ ช้โ น้ต เพลง Fantasia Mov.I จากเว็บ ไซต์ IMSLP ย่อ มาจาก International Music Score
Library Project ซึ่ งเป็ นโครงการห้องสมุดโน้ตเพลงนานาชาติ หรื อมีอีกชื่อหนึ่ งว่า ห้องสมุดดนตรี เปตรุ ชชี
(Petrucci Music Library) ตั้งตามชื่อของออตตาเวียโน เปตรุ ชชี (ค.ศ. 1466 – 1539) ผูจ้ ดั พิมพ์โน้ตดนตรี ชาว
อิตาลี เป็ นโครงการจัดตั้งห้องสมุดดนตรี ออนไลน์ เพื่อเผยแพร่ โน้ตดนตรี ที่เป็ นสาธารณสมบัติ

3.5 ขั้นตอนการทาวิจัย
หลังจาก ขั้นตอนการเก็บข้อมูล ผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาต่อโดยการนาข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้เบื้องต้น
มาวิเคราะห์เพื่อใช้สาหรับการวิเคราะห์โครงสร้างของบทเพลงและฝึ กซ้อมเพื่อแสดงเดี่ยว โดยแบ่งขั้นตอน
ดังนี้

1) ศึกษาเอกสารเอกสารที่เกี่ยวข้องกับบทเพลง ได้แก่ ประวัติของบทเพลงและผูป้ ระพันธ์


การวิเคราะห์บทเพลง เทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟน และงาวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
19

2) นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาใช้วิเคราะห์เพื่อให้ได้วิธีการแสดงที่เหมาะสมและเป็ นไป
ตามวัตถุประสงค์ของงานวิจยั
3) ตีความและวิเคราะห์บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
4) ฝึ กซ้อมแซกโซโฟนโดยนาข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม ตีความ และวิเคราะห์ไว้ มาปรับ
ใช้เป็ นแนวทางในการแสดงเดี่ยว
5) สังเกตข้อบกพร่ องและปั ญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการฝึ กซ้อม รวมทั้งหาแนวทางในการ
แก้ไขข้อบกพร่ องและปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น เพื่อให้การฝึ กซ้อมมีคุณภาพและเป็ นประโยชน์ต่อการทาวิจยั

3.6 ขั้นตอนการวิเคราะห์ ข้อมูล


ผูว้ ิจยั รวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์ ให้ตรงตามจุดประสงค์ของการวิจยั ที่ได้กาหนดไว้ ซึ่งมี
วิธีการดังนี้
1) นาข้อมูลต่างๆ ที่ได้รวบรวมทั้งหมดมาเรี ยบเรี ยงให้เป็ นระบบ และจัดลาดับข้อมูลอย่าง
เป็ นขั้นตอน
2) ตรวจสอบข้อมูลให้มีความถูกต้องครบถ้วนตามจุดประสงค์ของการทาวิจยั
3) วิเคราะห์ขอ้ มูลให้ตรงตามจุดประสงค์ที่ตอ้ งการศึกษาโดยแบ่งเป็ น 2 ประเด็น
(1) การตีความและวิเคราะห์โครงสร้างของบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor
Villa-Lobos ได้แก่ การนาเสนอคีตลักษณ์ ทานอง จังหวะและประโยคเพลง

(2) การนาเสนอเทคนิคในการบรรเลงและแนวทางการแสดงเดี่ยวบทเพลง
Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos

4) สรุ ปและอภิปรายผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล พร้อมทั้งเตรี ยมนาเสนอผลงานวิจยั


20

บทที่ 4

ผลการวิจัย
การวิจยั เรื่ อง การศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor
Villa-Lobos ผูว้ ิจยั ขอนาเสนอผลในการวิจยั โดยมีท้ งั หมด 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เพื่อวิเคราะห์บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาเทคนิคการบรรเลงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-
Lobos

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos

1. การวิเคราะห์ บทเพลง

บทประพันธ์เพลง Fantasia by Heitor Villa-Lobos มีท้ งั หมด 3 ท่อน โดยผูว้ ิจยั ได้นามาศึกษา 1

ท่อน คือ Anime โดยมีการวิเคราะห์ตามองค์ประกอบดนตรี ดงั นี้

1.1 ด้านบันไดเสี ยง (Scale)

จากการวิเคราะห์ดา้ นบันไดเสี ยง ท่อนอนิเมะ (Anime) อยู่ในบันไดเสี ยงดีไมเนอร์ (D minor) จาก


การวิเคราะห์ตามทฤษฎีดนตรี สากล

ภาพประกอบ 4.1 บันไดเสี ยงดีไมเนอร์ (D Minor) จากการวิเคราะห์เพลง Fantasia

1.2 ด้านอัตราความเร็ว (Tempo)

เพลง Fantasia Mov.I มีอตั ราความเร็วอยูท่ ี่ โน้ตตัวขาวเท่ากับ 112 bpm ซึ่งถือว่าเป็ นอัตราความเร็ว
ที่มีจงั หวะเร็ ว ก่อนที่จะลดอัตราความเร็ วในช่วงธีมหลักของเพลง หรื ออยูป่ ระมาณ โน้ตตัวขาวเท่ากับ 56
bpm จะเป็ นค่าความเร็วประมาณ Allegretto และ Largo ในช่วงธีมหลักของเพลง
21

1.3 ด้านอัตราจังหวะ (Rhythm)

ท่อนที่ผวู ้ ิจยั ได้นามาวิเคราะห์น้ นั จะประกอบไปด้วยอัตราจังหวะซ้อน แต่มีการเปลี่ยนอัตราจังหวะ


ธรรมดา เป็ นการสร้างความไม่สม่าเสมอให้กบั ชีพจรจังหวะ ได้แก่อตั ราจังหวะ 3/2 และ 2/2

ภาพประกอบ 4.2 ภาพอัตราจังหวะที่ปรากฏอยูใ่ นเพลง Fantasia

1.4 ด้านพื้นผิวของบทเพลง (Texture)

เพลงนี้มีพ้นื ผิวแบบมีเสี ยงร่ วม (Homophonic Texture) ดนตรี ที่มีแนวทานองหลักหนึ่งทานอง และ


มีเสี ยงเพิ่มเข้ามา เพื่อช่วยสนับสนุนให้แนวทานองเด่นชัดและมีความไพเราะยิง่ ขึ้น

ภาพประกอบ 4.3 ตัวอย่างพื้นผิวแบบมีเสี ยงร่ วม (Homophonic Texture) ของเพลง Fantasia

1.5 ด้านคีตลักษณ์ (Form)

บทประพันธ์น้ ี มีคีตลักษณ์ในรู ปแบบโซนาตา เป็ นเพลงสาหรับเครื่ องดนตรี เดี่ยว เช่นเปี ยโนโซนา


ตา ก็คือบทเพลงสาหรับเดี่ยวเปี ยโน บทประพันธ์เพลงนี้ดว้ ยประกอบด้วย 3 ท่อน ได้แก่ Anime , Lent , Tres
- anime โดยท่อนแรกอยู่ในอัตราเร็ วและอยูใ่ นสังคีตลักษณ์โซนาตา ท่อนที่ 2 อยู่ในอัตราช้า ท่อนที่ 3 มักอยู่
ในบรรยากาศที่ร่าเริ งสนุกสนาน ในรู ปแบบดังนี้
22

ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาเทคนิคการบรรเลงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobo

2. การฝึ กซ้ อมและเทคนิคในการแสดง

สาหรับท่อน Anime ที่กล่าวข้างต้น มีสังคีตลักษณ์แบบโซนาตา ซึ่งจะแบ่งออกเป็ น ตอนนาเสนอ


ช่วงทานองหลักและพัฒนาทานอง และช่วงหางเพลง ในอัตราจังหวะที่เร็ ว บทเพลงนี้มีการสลับอัตราจังหวะ
ไปมา จึงต้องใช้เวลาในการฝึ กซ้อม อีกทั้งยังมีเทคนิคการบรรเลงที่ยากในบางช่วง

2.1 ตอนนาเสนอ - ช่ วงเชื่ อมระหว่างทานองหลักที่ 1 เข้ าสู่ ทานองหลักที่ 2

ในช่วงตอนนาเสนอและช่วงเชื่อมของบทเพลงจะมีความยาวจะตั้งแต่ตอนนาเสนอเพลงถึง (4) ตาม


ภาพด้านล่าง ผูว้ ิจยั ยบรรเลงโดยการนับจังหวะธรรมดาแบบแบ่งครึ่ งจังหวะให้ชา้ ลงเพื่อให้การฝึ กซ้อมง่าย
ขึ้นและมีเสี ยงที่กระชับต่อเนื่องตามเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ แล้วจึงค่อยเพิม่ ความเร็ วขึ้นเรื่ อยๆ ควบคู่กบั
การฟัง Backing Track เมื่อกล้ามเนื้อเกิดความจาและสามารถเล่นในจังหวะเร็ วขึ้นได้แล้ว จึงค่อยกลับไปเล่น
ในอัตราจังหวะของเพลง ควบคู่กบั Backing Track ในช่วงต้นของเพลงผูบ้ รรเลงต้องใช้สมาธิอย่างมากใน
การนับจังหวะในอัตราจังหวะของบทเพลง เนื่ องจากอัตราจังหวะของบทเพลงนี้ เป็ นอัตราจังหวะซ้อนสลับ
กับอัตราจังหวะธรรมดา

ภาพประกอบ 4.4 ตัวอย่างบทเพลงช่วงนาเสนอ - ช่วงเชื่อมระหว่างทานองหลักที่ 1 เข้าสู่ทานองหลักที่ 2


23

ภาพประกอบ 4.5 ตัวอบ่างบทเพลงช่วงทานองหลักที่ 2


2.2 ทานองหลักที่ 2
ในทานองหลักที่ 2 (5) จะมีการลดความเร็ วของจังหวะลงทันที ครึ่ งหนึ่ง ผูว้ ิจยั จึงได้ฝึกซ้อมการรบร
รเลงนี้ กบั Accompaniment หรื อ Backing Track จึงจะสามารถเชื่อมท่อนที่ (4) เข้าท่อนที่ (5) ได้หลังจากนั้น
จึงเข้าสู่ ท่อนที่ (6) ผูว้ ิจยั ได้นบั จังหวะย่อยเป็ นโน้ตเขบ็ต 2 ชั้น เพื่อให้สัดส่ วนที่เป็ น Arpeggio และ Interval
มีสัดส่วนตรงตามจังหวะที่นบั ย่อยออกมา จนถึงช่วงเชื่อมกลับและพัฒนาทานอง
24

2.3 ช่ วงเชื่ อมกลับและพัฒนาทานอง


มีความยาวตั้งแต่ (9) – (12) ผูว้ ิจยั มุ่งเน้นไปที่การสร้างเสี ยงชัดเจน จึงเน้นไปที่การใช้การตัดลิ้นเข้า
มาช่วย ในส่ วนที่เป็ น 6 พยางค์ ผูว้ ิจยั ได้แบ่งเป็ น 3 พยางค์ 2 กลุ่ม เพื่อแยกซ้อมโน้ตแต่ละกลุ่มให้มีความ
ต่อเนื่อง ทาให้ไม่เกิดการรวบโน้ตในการบรรเลง

ภาพประกอบ 4.6 ตัวอย่างบทเพลงช่วงช่วงเชื่อมกลับและพัฒนาทานองหลักช่วงสรุ ป


25

2.4 ทานองหลักช่ วงสรุป


มี ค วามยาวตั้งแต่ (13) – ( 17)ในช่ วงนี้ จะเป็ นการกลับ ไปเล่นท านองหลักที่ 2 แต่ช่ วงหลังมี การ
เปลี่ยนโน้ตเล็กน้อย ผูว้ ิจยั จึงใช้วิธีการซ้อมแบบเดิมคือ การเปิ ดเมโทรนอมจังหวะย่อยเป็ นอัตราจังหวะสี่
ผสม เพื่อให้สัดส่วนของโน้ตตรงกับจังหวะตามบทเพลง

2.5 ช่ วงหางเพลง
ช่วงหางเพลงหรื อเรี ยกอีกอย่างว่า “โคดา” (Coda) เป็ นช่วงสุดท้ายของเพลง ผูว้ ิจยั จึงจบบทเพลงด้วย
ความเข้มของเสี ยงที่ดงั โดยไม่มีการลดความเข้มของเสี ยง ก่อนจะสัญญาณกับ Accompaniment เพื่อบรรเลง
โน้ตตัวสุดท้าน เป็ นอันจบบทเพลงท่อนที่ 1 Anime

ภาพประกอบ 4.7 ตัวอย่างบทเพลงช่วงหางเพลง


26

บทที่ 5

สรุปผลวิจัย อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ


การวิจยั เรื่ อง การศึกษาเทคนิ คการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by
Heitor Villa-Lobos ผูว้ ิจยั จะสรุ ปผล อภิปรายผล และมีขอ้ เสนอแนะตามลาดับ ดังนี้
5.1 ความมุ่งหมายของการวิจยั
5.2 วิธีดาเนินการวิจยั
5.3 สรุ ปผลการวิจยั
5.4 อภิปรายผล
5.5 ข้อเสนอแนะ
5.5.1 ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
5.5.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจยั ต่อไป

5.1 ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อวิเคราะห์บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
2. เพื่อศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos

5.2 วิธีการดาเนินวิจยั
การวิจยั เรื่ อง การศึกษาเทคนิ คการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor
Villa-Lobos ผูว้ ิจยั ได้กาหนดจุดมุ่งหมายในการวิจยั ตามลาดับขั้นตอนดังนี้
5.2.1 กลุ่มบุคคลเป้าหมาย
5.2.2 เครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั
5.2.3 การสร้างเครื่ องมือในการวิจยั
5.2.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
27

5.2.1 กลุ่มบุคคลเป้ าหมาย


การวิจยั ในครั้งนี้ ใช้รูปแบบการวิจยั เชิงคุณภาพ ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลและขอความ
คิดเห็นจากผูเ้ ชี่ยวชาญจากเครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั โดยมีผเู ้ ชี่ยวชาญคณาจารย์ ภาควิชาดนตรี ศึกษา คณะครุ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จานวน 2 คน และ ภาควิชาดนตรี สากล คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบุรีรัมย์ จานวน 1 คน ได้แก่
1. อาจารย์ ณัฐพล อาสว่าง
2. อาจารย์ กชพร อู่ไพบรู ณ์
3. อาจารย์ วีระศักดิ์ งามวงศ์รณชัย

5.2.2 เครื่ องมือที่ใช้ ในงานวิจัย


การสร้างเครื่ องมือในการวิจยั การศึกษาเทคนิ คการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia
Mov.I by Heitor Villa-Lobos ใช้มีเครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั ดังต่อไปนี้
- แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
5.2.3 การสร้ างเครื่ องมือในการวิจัย
แบบสัมภาษณ์ ( Interview form )
คือ เครื่ องมือที่ใช้ประกอบการสัมภาษณ์ จะเป็ นแบบบันทึกคาให้สัมภาษณ์สร้างขึ้นมาเพื่อ
อานวยความสะดวกในการรวบรวมข้อมูล ลักษณะของแบบสัมภาษณ์อาจจะคล้ายกับแบบนอกจากนี้ ยงั มี
เครื่ องมือที่ใช้ประกอบในการสัมภาษณ์เป็ นสื่ อประเภทเครื่ องบันทึกเสี ยง ซึ่งอานวยความสะดวกสบายใน
การรวบรวมและสรุ ปข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน ผูว้ ิจยั จึงได้นามาพัฒนาให้เข้ากับงานวิจยั ดังนี้
1. ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่ องที่จะสัมภาษณ์ให้ชดั เจน โดยศึกษาเอกสารและ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องว่ามีกี่ประเด็น อะไรบ้าง
2. ให้นิยามหรื อความหมายของคาถามและแยกเป็ นรายละเอียดคาถามที่จะสร้าง
เป็ นแบบสัมภาณ์
3. ร่ างคาถามที่จะสัมภาษณ์ เพื่อให้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเรี ยบง่าย เข้าใจ
ง่ายเพื่อให้เกิดความราบรื่ นในการสัมภาษณ์
28

5.2.4 การเก็บรวบรวมข้ อมูล


ในการวิจยั เรื่ องการศึกษาเทคนิ คการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor
Villa-Lobos ใช้รูปแบบการวิจยั เชิงคุณภาพ ซึ่งผูว้ ิจยั ได้เก็บรวบรวมทั้งหมด 2 อย่าง ดังนี้
1. ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ศึกษา จาก
แหล่งที่มาต่าง ๆ ได้แก่ หนังสื อ ตารา บทความ และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังเก็บข้อมูล จากฐานข้อมูล
อิเล็กทรอนิ กส์ ที่เป็ นฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิ พนธ์ต่าง ๆ โดยผูว้ ิจยั จะพิจารณาการเก็บข้อมูลที่มีความ
น่าเชื่อถือและตรงกับงานวิจยั ที่ได้ทาการศึกษา
2. ใช้แบบสัมภาษณ์เพื่อขอความคิดเห็นจากผูเ้ ชี่ ยวชาญโดยสอบถามเกี่ยวกับเรื่ องสังคีต
ลักษณ์ของบทประพันธ์ เทคนิคในการบรรเลง และแนวทางการซ้อม เพื่อเป็ นแนวทางในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลตามจุดประสงค์ของงานวิจยั

5.3 สรุปผลการวิจัย
จากการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ขอสรุ ปเป็ น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เพื่อวิเคราะห์ บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos
จากผลวิเคราะห์บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-lobos ผูว้ ิจยั ได้ผลว่า บทเพลงนี้ มีสังคีต
ลักษณ์แบบโซนาตา มีความยาวจานวน 125 ห้อง มีอตั ราความเร็ วที่เร็ ว ซึ่ งจะเป็ นค่าความเร็ วประมาณ
Allegretto ก่อนจะลดอัตราความเร็ วลงเป็ น Largo ในช่วงกลางเพลง มีอตั ราจังหวะซ้อนและอัตราจังหวะ
ธรรมดา เป็ นพื้นผิวแบบมีเสี ยงร่ วม ที่มีเสี ยงสอดแทรกประกอบช่วยให้ทานองมีความไพเราะมากขึ้น
โดยเริ่ มตอนนาเสนอในห้อง 1 – 5 เป็ น Sequence ไล่เสี ยงลงไปในทิศทางเดียวกัน จากนั้นเป็ นช่วง
เชื่อมระหว่างทานองหลักที่ 1 เข้าสู่ ทานองหลักที่ 2 ในห้อง 6 – 36 โดยการพัฒนาโมทีฟไปเลื่อยๆ ต่อด้วย
ช่วงเชื่ อมกลับที่เชื่ อมทานองหลักที่ 2 ให้กลับเข้าสู่ ทานองหลักที่ 1 ในห้อง 69 - 96 มีช่วงเชื่ อมระหว่าง
ทานองหลัก ก่ อนเข้า ห้องที่ 77 และมีการพัฒนาทานองในระหว่างห้องที่ 77 – 96 และ นั้นจนกลับเข้า สู่
ทานองหลักที่ 2 ช่วงสรุ ป ห้องที่ 97 - 117 และจบท่อนด้วยช่วงหางเพลง ห้องที่ 118 – 125 บทเพลงนี้ ส่วน
ใหญ่ จ ะใช้ ก ารเน้ น เสี ยงเพื่ อ ให้ ค วามเข้ ม ของเสี ยงออกมาชั ด เจนและมี ก ารไล่ เ รี ยงโน้ ต ของ
Scale,Mode,Octave Range,Arpeggio ตลอดทั้งบทเพลง
29

ตอนที่ 2 เพื่อศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-


Lobos
จากการวิเคราะห์เทคนิ คการบรรเลงเดี่ยวในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos ผูว้ ิจยั
ได้สรุ ปเทคนิคการบรรเลงและแนวทางการซ้อมดังนี้
เทคนิคที่ใช้ ในการบรรเลง
เทคนิคในการบรรเลงบทเพลงนี้ มีท้ งั หมด 7 เทคนิค ได้แก่ ทังกิง, เลกาโต, เตนูโต, แอคเซินท์, ซตัค
คาโต, ทริ ล สามารถจาแนกได้เป็ น 2 ระดับขั้น คือ เทคนิคขั้นพื้นฐาน เทคนิคขั้นกลาง ดังต่อไปนี้
เทคนิ คขั้นพื้นฐาน เป็ นเทคนิ คที่นกั แซกโซโฟนปฏิบตั ิกนั ได้โดยทัว่ ไป ได้แก่ ทังกิง, เลกาโต, เตนู
โต, แอคเซินท์, ซตัคคาโต และ โดยเทคนิ คขั้นพื้นฐานเหล่านี้ ถือว่าเป็ นเทคนิ คที่ง่าย สามารถปฏิบตั ิ ได้โดย
ไม่ตอ้ งใช้การฝึ กฝนเท่าใดนัก
เทคนิ คขั้นกลาง เป็ นเทคนิ คที่ตอ้ งใช้การฝึ กซ้อมมากกว่าเทคนิ คขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ทริ ล เทคนิ คนี้
นักแซกโซโฟนจาเป็ นต้องมีการแบ่งการซ้อมในแต่ละห้อง ที่มีการใช้เทคนิคดังกล่าวออกเป็ นส่ วน ๆ อย่าง
เฉพาะเจาะจง นอกจากนี้ ก่ อนการซ้อมจาเป็ นต้องมีการ ศึ กษาถึ งการใช้นิ้ว และการวางปาก เพื่อให้การ
บรรเลงเกิดความต่อเนื่อง ราบรื่ น และเป็ นธรรมชาติ
แนวทางในการฝึ กซ้ อม
บทเพลงในยุคคลาสสิ ค ส่วนใหญ่เน้นด้านความคล่องแคล่วและลื่นไหลของนิ้ว การเล่นแนวทานอง
ควรเล่นให้มีเสี ยงที่ต่อเนื่ อง ผูฝ้ ึ กต้องมีวินยั ในการซ้อมและควรที่จะมีแบบฝึ กหัดที่สอดคล้องกับเทคนิคของ
บทเพลง เช่น Top – Tones Octave Range for Saxophone , Etudes Techniques ที่จะทาให้ผูฝ้ ึ กนั้นสามารถ
บรรเลงบทเพลงได้อย่า งคล่องแคล่วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ เมื่ อทาการซ้อมแต่ละครั้ งผูฝ้ ึ กใช้เครื่ องกากับ
จังหวะ (Metronome) ตลอดเพื่อให้มนั่ ใจได้ว่าผูฝ้ ึ กนั้นเล่นจังหวะได้สม่าเสมอ อีกทั้งยังได้ซ้อมบางช่วงของ
บทเพลงด้วยการนับจังหวะแบบแบ่งย่อย (Subdivide) ให้คงที่ โดยเฉพาะโน้ตสามพยางค์และเขบ็ตสองชั้นที่
ปรากฏอยูเ่ กือบทั้งบทเพลง
การศึกษาประวัติและคีตลักษณ์ของบทเพลง ลักษณะของบทเพลงในช่วงนั้นหรื อประวัติศาสตร์ ของ
ช่วงเวลาที่ประพันธ์บทเพลง จะทาให้ผฝู ้ ึ กเข้าใจถึงสิ่ งที่ผปู ้ ระพันธ์สื่อลงไปในโน้ตเพลง เข้าใจอารมณ์ของ
บทเพลง และเรื่ องราวต่างๆที่ทาให้ผปู ้ ระพันธ์เพลงประพันธ์เพลงนี้ข้ ึนมาจากสิ่ งที่ได้เจอ ได้เห็น หรื อได้ยิน
ดังนั้นผูว้ ิจยั จึงสรุ ปแนวทางในการฝึ กซ้อมดังนี้
30

1. ควรเริ่ มฝึ กจากอัตราจังหวะที่ชา้ โดยใช้เครื่ องกากับจังหวะ เพื่อให้จงั หวะนั้นเกิดความสม่าเสมอ


และควรซ้อมหลายๆรอบให้ถูกต้องตามสัดส่วนของโน้ต เพื่อให้การฝึ กซ้อมได้ดาเนินไปข้างหน้าไม่เกิดการ
ติดขัด โดยสังเกตว่าในการซ้อมแต่ละครั้งได้เกิดการพัฒนาขึ้นตามที่วางแผนหรื อไม่ หากดีข้ นึ ควรเพิ่มอัตรา
จังหวะให้เร็ วขึ้นจนกว่าจะถึงจังหวะจริ งของบทเพลง
2. การควบคุมเครื่ องดนตรี เนื่องจากบทเพลงมีอตั ราจังหวะที่เร็ ว โดยธรรมชาติน้ นั ผูฝ้ ึ กจะทาให้การ
กดปุ่ มในเครื่ องดนตรี แรงกว่าปกติ เป็ นสาเหตุให้เครื่ องดนตรี เกิดการขยับที่ ไม่พ่ึงประสงค์ ทาให้เกิดความ
กังวลและเกร็งกล้ามเนื้อมากขึ้น ซึ่งจะต้องใช้เสี ยกาลังโดยเสี ยผลประโยชน์ในด้านอื่นๆ
3. การเล่นโน้ตกระโดด ผูฝ้ ึ กควรเลือกแบบฝึ กหัดที่สอดคล้องกับเทคนิ ค และการบรรเลงต่างๆ ดัง
ตัวอย่างที่กล่าวไปข้างต้น เพราะว่าจุดอ่อนของเครื่ องดนตรี แซกโซโฟนคือโน้ตขั้นคู่หรื อโน้ตกระโดดที่มี
ระยะห่างกันเกินไป ทาให้บางครั้งอาจเกิดการผิดพลาดและเกิดดีเลย์ของเสี ยงได้
4. การหายใจในบทเพลง ในบทเพลงนั้นจะมีอตั ราความเร็วของจังหวะ 2 แบบ คือ จะขึ้นด้วยจังหวะ
ที่ เร็ วก่ อน จึ งค่อยช้าลงในช่วงกลางเพลง โดยมีบางท่อนที่มีประโยคที่ชิดติดกัน ทาให้มีเวลาหายใจเพี ยง
เล็กน้อย ดังนั้นผูฝ้ ึ กควรฝึ กควบคุมกระแสลมและปริ มาณลมให้เพียงพอต่อการบรรเลงในแต่ละประโยค
เพลง ด้วยการจาลองประโยคเพลงนั้นขึ้นมาและฝึ กซ้อมการหายใจในสถานการณ์ที่มีเวลาน้อยที่สุด
5. การซ้อมกับผูบ้ รรเลงร่ วม การบรรเลงประกอบเป็ นส่ วนดนตรี ที่ให้การสนับสนุนจังหวะและฮาร์
โมนิ ก ส าหรั บ ท านองหรื อ ธี ม หลัก ของเพลงหรื อ เครื่ อ งดนตรี ดัง นั้ น การฝึ กซ้ อ มกับ ผู ้บ รรเลงร่ ว มมี
ความสาคัญมาก เพราะว่าบทเพลงนี้ ตอ้ งให้สัญญาณกันหลายช่วงเพลง จึงจาเป็ นต้องฝึ กซ้อมและนัดแนะ
ลักษณะการบรรเลงเพื่อให้บทเพลงสามารดาเนินต่อไปด้านหน้าได้

5.4 อภิปรายผล
ผลการวิจยั เรื่ อง การศึกษาเทคนิคการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor
Villa-Lobos สามารถสรุ ป และอภิปรายได้ดงั นี้
1. ผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาและวิเคราะห์เรื่ องสังคีตลักษณ์ของบทเพลงเป็ นอันดับแรก เพื่อให้รู้ถึงลาดับ
ความสาคัญของบทเพลง จากนั้นจึงวิเคราะห์บทเพลงในเรื่ อง บันไดเสี ยง อัตราความเร็ว อัตราจังหวะ พื้นผิว
ของบทเพลง แล้วเริ่ มวิเคราะห์บทเพลงโดยละเอียดตามจุดประสงค์และเริ่ มหาแนวทางการฝึ กซ้อม การรบร
รเลง และเทคนิ คต่างๆ แล้วจึงเริ่ มซ้อม โดยซ้อมย้าหลายๆ รอบในอัตรจังหวะที่ชา้ ก่อนแล้วจึงค่อยๆ เร่ งขึ้น
เพื่อที่จะได้วิธีการซ้อมที่มีประสิ ทธิภาพมาก และได้วิธีการบรรเลงที่มีประสิ ทธิลผลมากในท้ายที่สุด โดย
ผูว้ ิจยั แบ่งบทเพลงเป็ นช่วงสั้นๆ โดยในแต่ละวันที่ทาการฝึ กซ้อม ควรตั้งเป้ าหมายให้แน่ชดั และหาโอกาส
31

ซ้อมก่อนแสดงจริ งในที่สาธารณะ ซึ่งคาแนะนาดังกล่าวเป็ นไปในทางเดียวกันกับที่อภิชยั เลี่ยมทอง (2555,


น. 29-38) ที่ได้ให้แนวทางการฝึ กว้อมไว้วา่ ควรวางแผนเป้าหมาย และรู ้ตวั เสมอว่ากาลังจะฝึ กซ้อมอะไร นา
ช่วงที่ยากของบทเพลงออกมาซ้อมเฉพาะจุด แบ่งปั ญหาที่พบออกเป็ นปั ญหาย่อย และแก้ไขทีละปั ญหา
นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั เห็นด้วยว่าควรทาการฝึ กซ้อมย้ าหลายๆ ครั้ง โดยแต่ละครั้งควรคานึ กถึง เทคนิ คที่ใช้ การ
หายใจ การควบคุมเครื่ อง จนสามารถบรรเลงได้อย่างเป็ นธรรมชาติ
2. การศึกษาเทคนิ คการแสดงเดี่ยวแซกโซโฟน โดยใช้บทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-
lobos ผูว้ ิจยั ได้คดั เลือกบทเพลงที่เหมาะสมมาใช้ในการแสดง โดยพิจารณาความยากจากเทคนิค ในบทเพลง
ความน่าสนใจของบทเพลง ทั้งยังไม่แพร่ หลายในประเทศไทย ทาการศึกษาข้อมูลในเชิงประวัติบทเพลงการ
วิเคราะห์บทเพลง ขอคาแนะนาจากอาจารย์ประจาเครื่ องเอก รวมถึงการจัดลาดับการแสดงของแต่ละบท
เพลงที่จะใช้แสดง พร้อมกาหนดระยะเวลา และจัดตารางฝึ กซ้อมการแสดงเดี่ ยว โดยผูแ้ สดงต้องสื่ อสาร
ความเข้าใจของบทเพลงที่จะทาการแสดง ซึ่งสอดคล้องกับณัฐอร เลาหวงศ์เพียรพุฒิ (255) ที่ได้ทาการแสดง
เดี่ยวแซ็กโซโฟน โดยเฉพาะการทาการฝึ กซ้อม ณ สถานที่แสดงก่อนวันจริ ง เพื่อตรวจสอบความกิ้งกังวาน
ของเสี ยงภายในห้องแสดง นอกจากนี้ ผวู ้ ิจยั ยังเห็นด้วยว่า การจัดเตรี ยวเอกสารที่จะใช้สื่อสารกับผูเ้ ข้าชม จะ
ทาให้ผเู ้ ข้าชมทราบถึงบทเพลงที่จะแสดง กาหนดการการแสดง ประวัติบทเพลง และประวัติผพู ้ นั ธ์

5.5 ข้ อเสนอแนะ
5.5.1 ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
การวิจัยครั้ งนี้ เป็ นการเผยแพร่ ค วามรู ้ ค วามเข้าใจเกี่ ยวกับทักษะการแสดงเดี่ ย วแซก
โซโฟนในบทเพลง Fantasia Mov.I by Heitor Villa-Lobos เพื่ อ เป็ นประโยชน์ ต่ อ การพัฒ นา
เทคนิคการบรรเลงแซกโซโฟน
การวิจยั ครั้งนี้ เหมาะสาหรับผูท้ ี่มีความสนใจในการบรรเลงแซกโซโฟนและมีความรู ้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการบรรเลง เพื่อสามารถนาเทคนิคการบรรเลงและการฝึ กซ้อมไปใช้ให้เกิด
ประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
งานวิจยั นี้สามารถนาไปใช้เป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่สนใจศึกษาเพลงจากยุคเดียวกันไม่วา่ จะ
เป็ นด้านการศึ กษาทฤษฎี ดนตรี ทฤษฎี การวิเคราะห์ดนตรี ประวัติศาสตร์ ดนตรี รวมถึ งการ
ประพันธ์บทเพลง
32

งานวิจยั นี้สามารถใช้เป็ นข้อมูลในการฝึ กซ้อมและการแสดง พร้อมทั้งประยุกต์เป็ นแนว


ทางการวิเคราะห์และตี ความให้กบั บทประพันธ์อื่นที่มีเทคนิ คการรบรรเลงคล้ายๆกัน เช่น บท
ประพันธ์เพลง Saramouche by Darius Milhaud
5.5.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป
ศึกษาข้อมูลที่รอบด้านมากขึ้น รวมถึงเทคนิ คและแนวทางการฝึ กซ้อมที่แตกต่างอออก
ไป ผูส้ นใจหรื อผูแ้ สดงอาจทาการศึกษาบริ บท และเทคนิคอื่นๆ เพิ่มเตืมจากแหล่งข้อมูลอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้องกัน เพือ่ ทาความเข้าใจบทเพลงให้ลึกซึ้งมากยิง่ ขึ้น
ผลการศึกษาหัวข้อเรื่ อง การศึกษาเทคนิ คการแสดงแซกโซโฟนในบทเพลง Fantasia
Mov.I by Heitor Villa-Lobos ผูท้ ี่ ส นใจศึ ก ษาบทเพลงเดี ย วกัน สามารถใช้โ น้ต ฉบับอื่ น ๆ มา
ทาการศึกษาเพิ่มเติมได้
33

บรรณานุกรม
ณัชชา พันธุ์เจริ ญ. (2560). สังคีตลักษณ์ และการวิเคราะห์ (พิมครั้งที่ 6). กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์เกศกะรัต.
ณัชชา พันธุ์เจริ ญ. (2554). พจนานุกรมศัพท์ ดุริยางคศิลป์ (พิมครั้งที่ 4). กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์เกศกะรัต.
ณัชชา โสคติยานุรักษ์. (2547). พจนานุกรมศัพท์ ดุริยางคศิลป์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรุ ทธ์ สุ ท ธจิ ต ต์ . (2557). สั ง คี ต นิ ย ม: ความซาบซึ ้ ง ในดนตรี ตะวั น ตก (พิ ม พ์ ค รั้ งที่ 2). กรุ งเทพฯ:
แอคทีฟพริ้ นท์.
ธีรพล หลิว. (2560). การตีความและฝึ กซ้ อมในบทเพลงเปี ยโนโซนาตา หมายเลข 23 ลาดับที่ 57
ของเบโทเฟน. (วิทยานิพนธ์ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิ ต.
เหมรั ฐ รั ง ศรั ณ ย์. (2559). การศึ ก ษาการแสดงเดี่ ย วกี ต าร์ คลาสสิ ค ระดั บ ปริ ญญามหาบั ณ ทิ ต ศึ ก ษา.
(วิทยานิพนธ์ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต). กรุ งเทพ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฐอร เลาหวงศ์เพียรพุฒิ. (2555). การแสดงเดี่ยวแซ็กโซโฟน โดยณัฐอร เลาหวงศ์ เพียรพุฒิ.
(วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาตร์มหาบัณฑิต). กรุ งเทพ: จุฬาลงกนณ์มหาวิทยาลัย.
ปรัชญา เขมนาค. (2558). การแสดงเดี่ยวโอโบ ระดับมหาบัณทิตศึกษา Graduate Oboe Recital.
(วิทยานิพนธ์ศิลปะศาตรมหาบัณทิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ภาวไล ตันจันทร์พงศ์. (2555). การสร้ างความมั่นใจสาหรั บการแสดงเดี่ยว. วารสารดนตรี รังสิ ต,7(1), 40-47.
วิบูลย์ ตระกูลฮุน้ . (2564). ทฤษฎีดนตรี ตะวันตก (พิมครั้งที่ 3). กรงเทพฯ: ธนาเพรส.
อภิชยั เลี่ยมทอง. (2555). หลักการสาคัญสาหรั บการฝึ กซ้ อมดนตรี เพื่อประสิ ทธิ ภาพสูงสุด. วารสาร
ดนตรี รังสิ ต, 7(1), 29-39.
Appleby, David P. 1988. Heitor Villa-Lobos: A Bio-Bibliography. New York: Greenwood Press.
ISBN 0-313-25346-3.
Butler, James Dale. 1994. "Heitor Villa-Lobos: The Compositional Use of the Saxophone in Orchestral,
Chamber, and Solo Repertoire". DMA treatise. Austin: University of Texas at Austin.
Horwood, Wally (1992) [1983]. Adolphe Sax, 1814–1894: His Life and Legacy ((Revised edition) ed.).
Herts: Egon Publishers. ISBN 978-0-905858-18-0.
Peppercorn, Lisa M. 1996. The World of Villa-Lobos in Pictures and Documents. Aldershot, Hampshire,
England: Scolar Press; Brookfield, Vermont: Ashgate Publishers. ISBN 1-85928-261-X.
Gabel, D and Villmow, M. (2012). Understanding And Teaching Woodwind Instruments. New York:
Oxford University Press.
Van Regenmorter, Paula J. 2009. "Brazilian Music for Saxophone: A Survey of Solo and Small Chamber
Works". DMA diss. University of Maryland, College Park.
34

ภาคผนวก
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63

You might also like