You are on page 1of 463

ตำรา

สิ่งแวดลอม เทคโนโลยี และคุณภาพชีวิต


Environment, Technology and Quality of Life

ผูช่วยศาสตราจารย ดร.พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร

สาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ฉบับปรับปรุง เมษายน 2566

คำนำ
ตำราสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี และคุณภาพชีวิต (Environment, Technology and Quality
of Life) เปนตำราที่ผูเขียนตั้งใจรวบรวมความรูและประสบการณในการทำงานดานการสอน และการ
ทำโครงการวิจัย เรียบเรียงใหง่ายตอการทำความเข้าใจ เพื่อใหผูอานสามารถนำไปประยุกตใช้ในชีวิต
ไดจริง โดยเนื้อหาสอดคลองกับคำอธิบายรายวิชา ๔๐๐-๑๒-๐๒ สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและการ
ดำรงชีวิต มีเนื้อหาประกอบดวย สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและการปฏิสัมพันธระหวางกัน ผลกระทบ
ของความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีตอสิ่งมีชีวิตและคุณภาพชีวิต ตลอดจนการ
อนุ ร ั ก ษ ส ิ ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ อ ย า งยั ่ ง ยื น ผู  เ ขี ย นได เ พิ ่ ม เนื ้ อ หา ระบบนิ เ วศ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในประเทศไทย มลพิษสิ่งแวดลอมในประเทศไทย การพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมไปถึงตัวอยางแนวทางการบูรณาการองค์ความรู
ดานวิทยาศาสตรเพื่อสรางเทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับคุณภาพชีวิตของมนุษยและยังคงเปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอม
วัตถุประสงค์ของการจัดทำตำราเลมนี้ เพื่อเปนเอกสารที่นักศึกษาสามารถศึกษาค้นควาดวย
ตนเองได สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต และ
ศิลปศาสตรบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เพื่อใหการเรียนการสอนเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ และสงเสริมศักยภาพบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 ใหเปนไปตามวิสัยทัศน ปรัชญา
และปณิธานของมหาวิทยาลัย ในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่เปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติ
ที่ดีตอสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี นำไปสูการสรางสรรค์ผลงานที่เปนประโยชนตอสวนรวม ผูเขียนหวัง
เปนอยางยิ่งวาตำราเลมนี้จะเปนประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา และบุคลากรที่
เกี่ยวข้องในสายงานดานวิทยาศาสตรและสิ่งแวดลอม การนำวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใช้เพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ทั้งนี้ผูเขียนขอกราบขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่ใหความกรุณาอยางยิ่ง สำหรับ
ข้อเสนอแนะเพื่อนำมาปรับปรุงตำราเลมนี้ใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น

ผศ.ดร.พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร

สารบัญ
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ซ
สารบัญตาราง ฏ
บทที่ 1 ความรูดานสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ 1
1.1 บทนำ 1
1.2 ความหมาย ความสำคัญ ประเภท และคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งแวดลอม 2
1.3 โครงสรางการศึกษาดานสิ่งแวดลอม 10
1.4 ปญหาสิ่งแวดลอม 11
1.5 ความหมายและความสำคัญของระบบนิเวศ 12
1.6 ขั้นตอนทางวิทยาศาสตรสำหรับศึกษาดานนิเวศวิทยา 17
1.7 ประเภทของระบบนิเวศ 18
1.8 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศ 20
1.9 ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 25
1.10 การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ 28
1.11 การสูญเสียธาตุอาหารในระบบนิเวศ 32
1.12 การปรับเปลี่ยนระบบนิเวศ 33
1.13 วัฏจักรของสสารที่หมุนเวียนในระบบนิเวศ (Biogeochemical cycle) 36
1.14 ความสมดุลของระบบนิเวศในธรรมชาติ 40
1.15 สาเหตุที่ทำใหระบบนิเวศเสียสมดุล 42
1.16 แนวทางการปองกันรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ 43
1.17 ประโยชนของการรักษาสมดุลระบบนิเวศ 44

สรุปทายบท 47
แบบฝกหัดทายบทที่ 1 49
บทที่ 2 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับคุณภาพชีวิต 55
2.1 บทนำ 55
2.2 ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม 56
2.3 องค์ประกอบของเทคโนโลยี 59
2.4 ประเภทของเทคโนโลยี 60
2.5 คุณลักษณะของเทคโนโลยีที่ดี 64
2.6 งานวิจัยที่เกิดจากความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในยุคศตวรรษที่ 21 65
2.7 วิวัฒนาการของเทคโนโลยี 68
2.8 การปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีตอโลก 78
2.9 ระดับของเทคโนโลยี 78
2.10 เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศไทย 84
2.11 ปฏิสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับสิ่งแวดลอม 89
2.12 ปฏิสัมพันธระหวางการพัฒนาประเทศกับสิ่งแวดลอม 96
2.13 ผลกระทบของเทคโนโลยี 100
สรุปทายบท 103
แบบฝกหัดทายบทที่ 2 104
บทที่ 3 ปฏิสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมและเทคโนโลยี 109
3.1 บทนำ 109
3.2 ความหมายและความสำคัญของวิวัฒนาการ 110
3.3 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม 110
3.4 วิวัฒนาการของมนุษย 112

3.5 ความสัมพันธเชิงระบบระหวางมนุษยและสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม 117


3.6 การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต 120
3.7 ปรากฏการณที่สงผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอมจากการใช้เทคโนโลยี 122
3.8 สถานการณปญหาขยะในประเทศไทยที่เกิดมาจากการใช้เทคโนโลยี 136
3.9 ผลกระทบของขยะมูลฝอยตอมนุษย สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม 143
สรุปทายบท 146
แบบฝกหัดทายบทที่ 3 149
บทที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 157
4.1 บทนำ 157
4.2 ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ 158
4.3 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 159
4.4 ทรัพยากรน้ำ 161
4.5 ทรัพยากรดิน 167
4.6 ทรัพยากรปาไม 172
4.7 ทรัพยากรสัตวปา 183
4.8 ทรัพยากรแรธาตุ 191
4.9 ทรัพยากรพลังงาน 198
4.10 ทรัพยากรชายฝงและแนวประการัง 206
สรุปทายบท 216
แบบฝกหัดบทที่ 4 217
บทที่ 5 มลพิษสิ่งแวดลอมในประเทศไทย 223
5.1 บทนำ 223
5.2 ความหมายของมลพิษและมลสารสาเหตุที่ก่อใหเกิดมลพิษ 223

5.3 มลพิษทางน้ำ 227


5.4 มลพิษทางอากาศ 233
5.5 มลพิษทางดิน 240
5.6 มลพิษทางความรอน 244
5.7 มลพิษทางขยะ 249
5.8 มลพิษทางอาหาร 255
5.9 มลพิษทางเสียงและการสั่นสะเทือน 259
5.10 หลักการปองกันและแนวทางในการสงเสริมการปองกันมลพิษทางสิ่งแวดลอม 262
5.11 ตัวอยางงานวิจัยที่เปนแนวทางในการจัดการปญหาสิ่งแวดลอม 263
สรุปทายบท 267
แบบฝกหัดทายบทที่ 5 268
บทที่ 6 เทคโนโลยีและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิต 273
6.1 บทนำ 273
6.2 เทคโนโลยีสะอาดเพื่อคุณภาพชีวิต 274
6.3 พลังงานทดแทน 278
6.4 แนวทางการใช้ประโยชนเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน 293
6.5 คุณภาพชีวิต 297
6.6 มาตรฐานคุณภาพชีวิต 298
6.7 การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 302
6.8 ประเทศไทยกับการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 307
6.9 ความสำคัญและประโยชนของหลักทฤษฎีใหมตอคุณภาพชีวิต 310
6.10 ตัวอยางกรณีศึกษาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิต 314
สรุปทายบท 321

แบบฝกหัดทายบทที่ 6 323
บทที่ 7 การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 329
7.1 บทนำ 329
7.2 ความหมายและความสำคัญของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 329
7.3 หลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 331
7.4 แนวคิดในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 337
7.5 วิธีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 338
7.6 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 348
7.7 อุปสรรคในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 350
7.8 วิธีการจัดการและมาตรการในการจัดการสิ่งแวดลอม 351
7.9 โครงการเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา 354
7.10 มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14000) 360
7.11 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment: EIA) 362
สรุปทายบท 367
แบบฝกหัดทายบทที่ 7 368
บทที่ 8 การประยุกตใช้วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิต 373
8.1 บทนำ 373
8.2 กรณีศึกษาโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริดานทรัพยากรน้ำ 374
8.3 กรณีศึกษาโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริดานทรัพยากรดิน 382
8.4 กรณีศึกษาองค์กรที่พัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการลดปริมาณการใช้กระดาษ 384
8.5 กรณีศึกษาการจัดการวัสดุอินทรียที่เหลือทางการเกษตรครบวงจรในชุมชน 387
8.6 กรณีศึกษาการบำบัดน้ำเสียปนเปอนไขมันดวยวิธีทางชีวภาพ 389
8.7 กรณีศึกษาการผลิตน้ำมันไบโอเอทานอลจากวัสดุที่เหลือจากการเกษตร 392

สรุปทายบท 396
บรรณานุกรม 402
ดัชนี 414
ภาคผนวก -0-
เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 1 -1-
เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 2 -5-
เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 3 -8-
เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 4 - 15 -
เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 5 - 20 -
เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 6 - 24 -
เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 7 - 27 -

สารบัญภาพ
ภาพที่ 1.1 สิ่งแวดลอมที่มีชีวิตและไมมีชีวิต 7
ภาพที่ 1.2 อาคารอเนกประสงค์ จัดเปนสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นทางกายภาพ 9
ภาพที่ 1.3 ระดับการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม 13
ภาพที่ 1.4 สัดสวนปริมาณน้ำบนโลก 19
ภาพที่ 1.5 การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศตามกฎ 10% ของลินแมน 28
ภาพที่ 1.6 การถายทอดพลังงานแบบหวงโซ่อาหาร (food chain) 30
ภาพที่ 1.7 การถายทอดพลังงานแบบสายใยอาหาร (food web) 30
ภาพที่ 1.8 ปรามิดจำนวนของสิ่งมีชีวิต 31
ภาพที่ 1.9 การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นปฐมภูมิและขั้นทุติยภูมิ 35
ภาพที่ 1.10 วัฏจักรคารบอนและวัฏจักรออกซิเจน 37
ภาพที่ 1.11 วัฏจักรของน้ำ 37
ภาพที่ 1.12 วัฏจักรไนโตรเจน 38
ภาพที่ 1.13 วัฏจักรกำมะถัน 40
ภาพที่ 2.1 พีระมิด สุสานกษัตริยฟาโรหในประเทศอียิปต 59
ภาพที่ 2.2 เรือพาย 60
ภาพที่ 2.3 ข้าวหมากจากภูมิปญญาไทย อาหารที่มีโพรไบโอติก 61
ภาพที่ 2.4 การตัดตอยีนเพื่อปรับปรุงพันธุพืชใหตานทานหนอนศัตรูพืช 62
ภาพที่ 2.5 หุนยนตอัจฉริยะเสิรฟอาหารในราน 63
ภาพที่ 2.6 พลังงานไฟฟาชีวภาพ 64
ภาพที่ 2.7 วิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคหินเก่า 70
ภาพที่ 2.8 วิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคหินกลาง 70
ภาพที่ 2.9 วิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคหินใหม 71
ภาพที่ 2.10 เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน 79
ภาพที่ 2.11 เทคโนโลยีระดับกลาง 80
ภาพที่ 2.12 เทคโนโลยีระดับสูง 81
ภาพที่ 2.13 ตัวอยางคลิปวิดีโอการสอน 85
ภาพที่ 2.14 วัดไชยวัฒนารามสมัยอยุธยาในรูปแบบสแกนวัตถุ 3 มิติ 87

ภาพที่ 2.15 เทคโนโลยีพลาสมาอารคกำจัดขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อ 92


ภาพที่ 2.16 พลังงานทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิงจากแนวพระราชดำริในหลวงรัชกาลที่ 9 94
ภาพที่ 2.17 ฉลากสินค้าและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมของไทย 95
ภาพที่ 2.18 ประเทศไทยก้าวเข้าสูสังคมสูงวัย 99
ภาพที่ 2.19 สื่อการสอนออนไลน 102
ภาพที่ 3.1 วิวัฒนาการของยีราฟคอยาว 112
ภาพที่ 3.2 วิวัฒนาการของมนุษย 113
ภาพที่ 3.3 มนุษยวานรเพศหญิงที่มีชื่อวา ลูซี่ 114
ภาพที่ 3.4 มนุษยวานรยุคแรก 115
ภาพที่ 3.5 ความสัมพันธเชิงระบบระหวางมนุษยและสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม 117
ภาพที่ 3.6 ปรากฏการณเรือนกระจก (greenhouse effect) 123
ภาพที่ 3.7 ก๊าซสาเหตุปรากฏการณเรือนกระจก 124
ภาพที่ 3.8 ฉลากคารบอนฟุตปริ้นทในประเทศไทย 129
ภาพที่ 3.9 เปรียบเทียบขนาด PM 2.5, PM 10 ไมโครเมตรกับขนาดเสนผมของมนุษย 130
ภาพที่ 3.10 แหลงที่มาของการเกิดอนุภาคฝุน PM 2.5 131
ภาพที่ 3.11 การเข้าทำลายระบบทางเดินหายใจของอนุภาคฝุน PM 2.5 132
ภาพที่ 3.12 ขยะพลาสติกและขยะอื่นในทะเล 138
ภาพที่ 3.13 การจัดการขยะพลาสติกในช่วงการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 140
ภาพที่ 3.14 แนวโนมปริมาณขยะติดเชื้อในช่วงในช่วงการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 141
ภาพที่ 3.15 วิธีการจัดการขยะโดยการทำหลุมฝงกลบขยะและปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น 142
ภาพที่ 3.16 ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากขยะมูลฝอย 142
ภาพที่ 3.17 ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา 144
ภาพที่ 4.1 แหลงน้ำตามธรรมชาติ 162
ภาพที่ 4.2 เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก 163
ภาพที่ 4.3 แหลงน้ำฝน 164
ภาพที่ 4.4 ประเพณีเหเรือหลวงทางน้ำดวยเรือพระที่นั่งนารายณทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 165
ภาพที่ 4.5 องค์ประกอบของดินที่เหมาะแก่การปลูกพืช 168
ภาพที่ 4.6 ขั้นตอนกระบวนการเกิดดิน 168

ภาพที่ 4.7 พื้นที่ปลูกมันเทศ อำเภอบางประหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 172


ภาพที่ 4.8 ลักษณะปาไมในพื้นที่แตละบริเวณขึ้นอยูกับความสูงของระดับน้ำทะเล 174
ภาพที่ 4.9 ปาชายเลน หรือปาโกงกาง 176
ภาพที่ 4.10 สถิติพื้นที่ปาไมป พ.ศ.2516 ถึง 2564 180
ภาพที่ 4.11 สัตวปาสงวน 187
ภาพที่ 4.12 เหตุการณขัดแยงกันของช้างปาและมนุษย 190
ภาพที่ 4.13 แรแบไรต 192
ภาพที่ 4.14 อัญมณี 194
ภาพที่ 4.15 การกลั่นลำดับสวนและผลิตภัณฑจากปโตรเลียม 200
ภาพที่ 4.16 แหลงพลังงานที่นำมาใช้แลวเกิดขึ้นใหมได 201
ภาพที่ 4.17 สถานการณพลังงานของประเทศไทยป 2561 202
ภาพที่ 4.18 สถานการณพลังงานของประเทศไทยป 2563 203
ภาพที่ 4.19 สวนพฤกษศาสตรปาชายเลนรัชกาลที่ 9 207
ภาพที่ 4.20 ปรากฏการณปะการังฟอกขาว 211
ภาพที่ 4.21 แนวปะการังเกรตแบรริเออรรีฟประเทศออสเตรเลีย 212
ภาพที่ 4.22 ปะการังฟอกขาว 214
ภาพที่ 5.1 แหลงกำเนิดมลพิษสิ่งแวดลอมที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม 226
ภาพที่ 5.2 เด็กเปนโรคภูมิแพเมื่อไดรับฝุน PM 2.5 จากโรงงานอุตสาหกรรม 239
ภาพที่ 5.3 การจัดจำแนกประเภทของขยะมูลฝอย 251
ภาพที่ 5.4 ขยะที่กองรวมกันทำใหทัศนียภาพไมนามอง 253
ภาพที่ 5.5 แหลงกำเนิดเสียงและปจจัยที่ก่อใหเกิดมลพิษทางเสียง 260
ภาพที่ 6.1 ตัวอยางผลิตภัณฑจากแนวคิดเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 276
ภาพที่ 6.2 โรงไฟฟาที่ใช้เทคโนโลยีแผลโซลาเซลลดูดซับรังสีจากดวงอาทิตยจังหวัดลพบุรี 279
ภาพที่ 6.3 โรงไฟฟาพลังงานน้ำแบบสูบกลับ ณ ลำตะคองชลภาวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา 281
ภาพที่ 6.4 รูปแบบกังหันลมสำหรับพลังงานลมเพื่อผลิตไฟฟา 282
ภาพที่ 6.5 กระบวนการผลิตไฟฟาจากชีวมวลในประเทศไทย 284
ภาพที่ 6.6 โรงไฟฟาพลังงานขยะจากชุมชนไรมลพิษสูสิ่งแวดลอม 286
ภาพที่ 6.7 การผลิตไฟฟาจากพลังงานความรอนใตพื้นพิภพ 287

ภาพที่ 6.8 โรงไฟฟาเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจนแหงแรกของประเทศไทยเพื่อผลิตกระแสไฟฟา 289


ภาพที่ 6.9 องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 304
ภาพที่ 6.10 แนวทางเกษตรทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 311
ภาพที่ 6.11 แนวทางปฏิบัติตามหลักเกษตรทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 2 และ 3 313
ภาพที่ 6.12 ตัวอยางการดำเนินชีวิตตามวิถีเกษตรทฤษฎีใหมชุมชนทับน้ำ-บานมา 315
ภาพที่ 6.13 ตัวอยางช่องทางการจำหนายสินค้าและผลิตภัณฑออนไลน 316
ภาพที่ 6.14 ตัวอยางการดำเนินชีวิตตามวิถีเกษตรทฤษฎีใหมชุมชนวังยาง 318
ภาพที่ 6.15 ทัณฑสถานเกษตรอุตสาหกรรมเขาพริก 319
ภาพที่ 7.1 หลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 332
ภาพที่ 7.2 วัสดุสรางแนวปะการังเทียม 333
ภาพที่ 7.3 สัตวปาที่ถูกลักลอบซื้อขายมากที่สุด 337
ภาพที่ 7.4 การคิดค้นวัสดุทดแทนทรัพยากรพลังงานที่ใช้แลวหมดไป 339
ภาพที่ 7.5 มทร.สุวรรณภูมิ วางระบบบริหารจัดการเตรียมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสีเขียว 360
ภาพที่ 7.6 หลักการของระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 361
ภาพที่ 8.1 เครื่องกลเติมอากาศในแหลงน้ำ กังหันน้ำชัยพัฒนา 376
ภาพที่ 8.2 กลไกของระบบการทำงานเครื่องกลเติมอากาศในแหลงน้ำ กังหันน้ำชัยพัฒนา 376
ภาพที่ 8.3 แผนภาพวิธีการทำฝนหลวงพระราชทาน 379
ภาพที่ 8.4 ลักษณะและวิธีการแก้มลิงช่วยระบายน้ำทวมขัง 382
ภาพที่ 8.5 แนวปฏิบัติของโครงการแกลงดิน 385
ภาพที่ 8.6 หนาจอการคำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก 386
ภาพที่ 8.7 ตนแบบการผลิตปุยมูลไสเดือนดินและลักษณะของปุยมูลไสเดือนดิน 388
ภาพที่ 8.8 ยีสตสายพันธุ Candida sp. RMUTSB-27 แสดงตะกอนสีขาวขุ่น 392
ภาพที่ 8.9 โครงสรางวัสดุธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ 394
ภาพที่ 8.10 วัสดุลิกโนเซลลูโลสที่ใช้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพที่เหมาะสมในประเทศไทย 395

สารบัญตาราง
ตารางที่ 1.1 เกณฑการจัดกลุมประเภทของสิ่งแวดลอม 6
ตารางที่ 1.2 ความเปนมาของการศึกษานิเวศและระบบนิเวศ 15
ตารางที่ 1.3 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศที่ไมมีชีวิต 20
ตารางที่ 1.4 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศที่มีชีวิต 23
ตารางที่ 1.5 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันในระบบนิเวศ 26
ตารางที่ 2.1 ชิ้นงานจากแนวคิดและความเจริญก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 73
ตารางที่ 6.1 ข้อดีและข้อจำกัดของเชื้อเพลิงแตละประเภทที่มีใช้ในประเทศไทย 290
ตารางที่ 7.1 ตัวชี้วัดและหมวดตาง ๆ สำหรับการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ป 2563 357
บทที่ 1
ความรูดานสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ

1.1 บทนำ
ปจจุบันสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีสาเหตุมาจาก 2 แนวทาง คือ
สิ่งมีชีวิตและธรรมชาติเกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เรียกวาวิวัฒนาการ และเกิดการ
เปลี่ยนแปลงจากกิจกรรมของมนุษย การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติสงผลตอการ
ดำรงชีวิตของมนุษย ทั้งทางบวกและทางลบ หากกลาวถึง สิ่งแวดลอม (environment) มนุษยใช้
ตนเองเปนศูนยกลาง เพื่อพิจารณาสิ่งรอบตัวเปนสิ่งแวดลอมซึ่งไดแก่ สิ่งมีชีวิตและธรรมชาติ สำหรับ
ศตวรรษที่ 21 มนุษยมีความรูความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น ก่อใหเกิด
นวัตกรรมมากมายเพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตของมนุษยตามไปดวย ความก้าวหนาดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งนวัตกรรมเข้ามามีบทบาทตอการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตและ
ธรรมชาติ รวมไปถึงการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ทำใหเกิดการ
แสวงหาวัตถุดิบสำหรับสรางปจจัย 4 และสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อตอบสนองความตองการของ
มนุษย เมื่อสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติถูกมนุษยนำมาใช้ในกระบวนการผลิตมากขึ้น ทำใหปริมาณของ
สิ่งมีชีวิตและธรรมชาติบางชนิดที่เคยมีอยางสมดุลในระบบนิเวศลดลงหรือเกิดความเสื่อมโทรม เข้าสู
สภาวะวิกฤตขาดความสมดุลอยางรุนแรง เช่น พืชบางชนิดถูกนำมาใช้เปนอาหารของมนุษยจะลด
ปริมาณลง หากไมมีการปลูกเพิ่ม ดวยเหตุผลทั้งหมดที่กลาวมาข้างตน สงผลใหเกิดการรวมตัวกันของ
กลุมคนที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติ เขาทั้งหลายมีวิธีการปองกันความเสียหาย
ที่จะเกิดขึ้น มีแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในที่สุดการรวมกลุมของกลุม
คนเหลานี้ ทำใหการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมถูกบรรจุอยูในวาระการประชุมของ
องค์กรสหประชาชาติเปนครั้งแรก เกิดกลุมสมาชิกที่ไมใช่หนวยงานของราชการ เรียกวา Non-
Government Organizations (NGOs) วันสิ่งแวดลอมโลกถูกกำหนดขึ้นครั้งแรกในวันที่ 5 มิถุนายน
พ.ศ. 2515 วันนี้ของทุกปถือเปนวันสิ่งแวดลอมโลก
สำหรั บ ประเทศไทยวั น สิ ่ ง แวดล อ มไทย ถู ก กำหนดให เ ป น วั น ที ่ 4 ธั น วาคม ของทุ ก ป
เนื่องมาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ใน
2

หลวงรั ช กาลที ่ 9 ได ท รงมี พ ระราชดำรั ส พระราชทานแก่ ค ณะบุ ค คลที ่ เ ข้ า เฝ า ถวายพระพร
ในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ใจความเกี่ยวกับ สถานการณสิ่งแวดลอมของประเทศไทยและของ
โลกที่กำลังเกิดความรุนแรงขึ้นในทางลบ พระองค์ทรงหวงใยประชาชนชาวไทยที่ประสบปญหา
สิ ่ ง แวดล อ ม ทรงตรั ส ให พ สกนิ ก รร ว มมื อ กั น แก้ ไ ขป ญ หาอย า งจริ ง จั ง ด ว ยความสุ ข ุ ม รอบคอบ
(คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต, 2557) จึงเปนการเริ่มตนการดำเนินงานเพื่อ
อนุรักษสิ่งแวดลอมของทุกฝายทั้งภาครัฐและเอกชน สนับสนุนกิจกรรมการรณรงค์เพื่อสรางความ
ความรูความตระหนักรักษสิ่งแวดลอมรวมกัน เพราะสิ่งแวดลอมมีบทบาทสำคัญตอการดำรงชีวิตของ
มนุษยและสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ การศึกษาสิ่งแวดลอมจึงมีความสำคัญตอการทำความเข้าใจ บทบาท
หนาที่ของสิ่งแวดลอมที่มนุษยนำมาใช้ประโยชน การอนุรักษใหคงอยู รวมทั้งตระหนักถึงปญหา
สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในปจจุบัน มนุษยไมสามารถดำรงชีวิตอยูไดโดยไมพึ่งพาสิ่งแวดลอม

1.2 ความหมาย ความสำคัญ ประเภท และคุณสมบัติเฉพาะของสิ่งแวดลอม


จากหนังสือสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต (คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี
และชีวิต, 2557) พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (ณัฐญา, 2562) และ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม (ศศินา, 2550) ไดใหความหมาย ความสำคัญ การแบงประเภท และคุณสมบัติเฉพาะของ
สิ่งแวดลอม โดยอธิบายคลายกัน ดังนี้

1.2.1 ความหมายของสิ่งแวดลอม
สิ่งแวดลอม มีความหมายตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ
พ.ศ. 2535 วา สิ่งตางๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยูรอบตัวมนุษย ซึ่งเกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยไดทำขึ้น สิ่งแวดลอมสามารถจัดประเภทตามลักษณะทางกายภาพ ไดแก่
สิ่งแวดลอมที่มีชีวิต (biotic environment) และ สิ่งแวดลอมที่ไมมีชีวิต (abiotic environment)
หรื อ จั ด ประเภทตามแหล ง กำเนิ ด ได เ ป น สิ ่ ง แวดล อ มที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เองตามธรรมชาติ (natural
environment) สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น (man-made environment) หรืออาจมองในแง่มุมของ
ลักษณะการมีรูปทรง สิ่งแวดลอมเปนรูปธรรม (concrete environment) และสิ่งแวดลอมที่เปน
นามธรรม (abstract environment) โดยหนวยงานในประเทศไทยที่รับผิดชอบดานสิ่งแวดลอม คือ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
3

1.2.2 ความสำคัญของสิ่งแวดลอม
สิ่งแวดลอมนั้นอยูรอบตัวมนุษย และมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย ซึ่งพิทยา และ
คณะ (2556) ไดอธิบายไว ดังนี้
1. เปนปจจัยในการดำรงชีพของมนุษย ไดแก่ อาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค และที่อยู
อาศัย
2. มีอิทธิพลตอการตั้งถิ่นฐาน หรือที่ทำมาหากิน พื้นที่ใดมีสิ่งแวดลอมที่อุดมสมบูรณ เช่น
จำนวนคนไมแออัด ไมมีโจรชุกชุม มีการคมนาคมขนสงสะดวกสบาย มีอาชีพใหเลือกทำหลากหลาย
สงเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มนุษยจะเลือกอาศัยอยูในบริเวณที่ราบลุมที่มีแหลงน้ำอุดมสมบูรณ
มีลักษณะอากาศไมรุนแรง อุณหภูมิปานกลาง ปริมาณน้ำฝนพอเหมาะ พบวาบริเวณที่มีลักษณะ
ทางธรรมชาติไมเหมาะสม จะมีประชากรอาศัยอยูนอยมาก หากมองประเทศไทย ลักษณะการตั้ง
ถิ่นฐานของประชากรในประเทศไทย เปนไปตามอิทธิพลของสิ่งแวดลอม จะพบวากรุงเทพมหานครซึ่ง
เปนเมืองหลวงมีจำนวนประชากรหนาแนนมาก เพราะมีความเจริญก้าวหนาในทุกดาน ในขณะที่
จังหวัดแมฮองสอน มีภูมิประเทศเปนเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน อยูหางไกลความเจริญ มีจำนวน
ประชากรนอยมากเมื่อเทียบสัดสวนกับกรุงเทพมหานคร
3. มีอิทธิพลตอที่อยูอาศัย พื้นที่ใดมีที่ดิน แหลงน้ำ สัตว ตนไมอุดมสมบูรณ สภาพภูมิประเทศ
และสภาพภูมิอากาศเหมาะแก่การดำรงชีวิตอยูของมนุษย พืช สัตว มีออกซิเจนเพียงพอ พื้นที่นั้น
จึงมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูอยางหลากหลาย เกี่ยวข้องสัมพันธกันอยางเปนระบบ ไมเบียดเบียนการใช้ชีวิต
ของกันและกัน ยอนไปในอดีตประเทศไทยเคยมีปาไมอุดมสมบูรณ พื้นที่ปาไมมีมากกวาปจจุบัน
การก่อสรางบานเรือนจึงนิยมสรางดวยไม แตในปจจุบันปาไมมีจำนวนลดลงมาก หาไดยาก และราคา
แพง วัสดุที่ใช้ในการก่อสรางจึงเปลี่ยนแปลงไป ตามความรูความก้าวหนาของมนุษยดวย มีการนำ
อิฐ ปูนซีเมนต เหล็กเสน มาใช้ในการก่อสราง จะเห็นไดวารูปทรงของบานเรือนในอดีตเปนรูปทรง
ที่เหมาะกับลักษณะอากาศที่รอนและชื้นในประเทศไทย คือมีหลังคาแหลมเปนหนาจั่วสูง มีหนาตาง
มาก มีเฉลียง มีช่องระบายอากาศมาก นอกจากนั้นในพื้นที่ราบลุมแมน้ำ ซึ่งมีน้ำทวมเปนประจำทุกป
จะสรางบานที่มีลักษณะใตถุนสูง ในขณะที่ปจจุบัน ประเทศไทยรับวัฒนธรรมการสรางบานเรือนแบบ
ตะวันตกมาใช้โดยไมดัดแปลงใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม ผลที่ปรากฏใหเห็นคือบานเรือนไดรับ
ความเสียหายอยางหนักเมื่อน้ำทวม หรือจะตองติดเครื่องปรับอากาศเพราะอากาศรอนและไมถายเท
4

4. เปนตัวกำหนดลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย สิ่งแวดลอมมีอิทธิพลตอมนุษยจริง
แตหากมีความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการดำรงชีวิตของมนุษยแลวนั้น
มนุษยสามารถดัดแปลงสิ่งแวดลอมตามความก้าวหนาของความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เพื ่ อ สร า งประโยชน ใ ห แ ก่ ต นเอง โดยมนุ ษ ย พ ยายามปรั บ ตั ว เพื ่ อ เอาชนะธรรมชาติ ทำให เ กิ ด
ความแตกตางในวิถีการดำเนินชีวิตของผูคนที่อยูในสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่แตกตางกัน
5. มีความสำคัญตอความเจริญรุงเรืองและความผาสุกของมนุษยชาติ ปจจุบันสิ่งแวดลอม
ที่มนุษยสรางขึ้นจากความเจริญก้าวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทำใหเกิดสิ่งอำนวย
ความสะดวกมากมาย สนับสนุนดานเศรษฐกิจของประเทศ ทำใหประเทศมีความเจริญรุงเรือง เช่น
การมีสมารทโฟน มีคอมพิวเตอร มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ไวติดตอสื่อสารกันผานเครือข่าย
อินเทอรเน็ต ทำใหการติดตอเจรจาการค้าขายเปนไปดวยความรวดเร็ว ใช้ระยะเวลาอันสั้นมาก
เมื่อเทียบกับสมัยอดีต หรือกระบวนการผลิตอาหารที่ไดมาตรฐานมีคุณภาพปราศจากเชื้อจุลินทรีย
ก่อโรคทางเดินอาหาร การมีรถยนต การมีรถไฟฟา การมีเครื่องมือทางการแพทยที่ทันสมัย การมีวัสดุ
สำหรับก่อสรางที่ประหยัดพลังงานไฟฟา ดวยความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทำใหมนุษย
สรางสิ่งแวดลอมหลากหลาย เพื่อมาใช้อำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต และคุณภาพชีวิตที่ดี
ในทางกลับกัน เมื่อมีความเจริญก้าวหนา ยอมมีความเสื่อม สิ่งแวดลอมตามธรรมชาติอาจถูกทำลาย
ใหเสียหายดวยน้ำมือมนุษย ปาไมถูกบุกรุกใช้พื้นที่ สัตวปาสูญพันธุไมมีอาหาร ที่อยูอาศัย พื้นที่ดินถูก
ใช้ไปในทางอื่นที่ไมใช่การเพาะปลูก แหลงตนน้ำถูกทำลาย ทำใหมีปริมาณน้ำใช้นอยลง รวมทั้ง
คุณภาพน้ำเกิดการเนาเสีย เปนตน
6. มีความสำคัญทางดานวิชาการและเอกลักษณของชาติ ในดานวิชาการ การศึกษาวิจัยดาน
วิวัฒนาการของสิ่งแวดลอม ความสัมพันธของมนุษย สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม ทำใหเราเข้าใจ
คุณลักษณะเฉพาะตัวของสิ่งแวดลอมแตละชนิด สงผลตอการนำสิ่งแวดลอมแตละประเภทมาใช้ให
ถูกตองและเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งวิธีการอนุรักษสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมดวย ซึ่งปจจุบันปญหา
สิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมถูกทำลายยังคงเปนปญหาใหญระดับประเทศ โดยมนุษยขาดความรูความเข้าใจ
ที่ถูกตอง และใช้สิ่งแวดลอมอยางไมเห็นคุณค่า สำหรับประเทศไทย สิ่งแวดลอมมีผลตอการกำหนด
กฎเกณฑ ประเพณี วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ สิ่งปลูกสราง ความเชื่อ การนับถือ สิ่งเหลานี้
ทำใหเกิดเอกลักษณของชาติ เช่น การแตงกายชุดประจำชาติ การไหว ประเพณีแข่งเรือ พระพุทธรูป
วัดวาอาราม การเคารพพอแม ผูมีพระคุณ เปนตน
5

7. มีความสำคัญตอการพัฒนาประเทศ และมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย โดย


มนุษยนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อสรางความเจริญในหลายดาน จะเห็นไดวาประเทศใดที่มี
ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ และประชาชนในประเทศรูจักใช้ประโยชนจากทรัพยากรอยางชาญ
ฉลาด ประเทศนั้นจะมั่งคั่ง ประชาชนอยูดีกินดีมี คุณภาพชีวิตที่ดี แตในทางกลับกันประเทศใดที่มี
ทรัพยากรธรรมชาติไมอุดมสมบูรณ หรือประชาชนขาดความรูความเข้าใจ และไมตระหนักในคุณค่า
ของการนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้ ขาดความระมัดระวังและความรับผิดชอบตอการ
ใช้และขาดการอนุรักษ สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมนั้นเสื่อมและขาดแคลนในที่สุด
ประเทศนั้นจะอยูในสภาพที่ยากจน การพัฒนาประเทศไมวาจะเปนพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง และคุณภาพชีวิต จำเปนตองอาศัยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยรัฐบาลตองมี
นโยบายหรือมาตรการที่เหมาะสม ที่จะนำเอาทรัพยากรที่มีอยูในประเทศมาใช้เพื่อการพัฒนาให
ประชาชนไดมีปจจัยครบถวน ประชากรในประเทศนั้นจะอยูอยางมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี แตใน
ขณะเดียวกันตองสงเสริมสนับสนุนหรือจัดการใหคนในสังคมมีความรูความเข้าใจในการใช้ประโยชน
จากสิ ่ ง แวดล อ ม เพื ่ อ การดำรงชี ว ิ ต อยู  อ ย า งปลอดภั ย จากมลภาวะ ทั ้ ง ต อ สุ ข ภาพร า งกายและ
สุขภาพจิตใจโดยการควบคุม เรื่องอาหารการกินใหปลอดภัยจากสารพิษ พัฒนาและจัดสภาพแวดลอม
ที่อยูอาศัยใหนาอยู มีการบริหารจัดการมลพิษใหลดลง ดวยวิธีการที่ถูกตองเหมาะสมและมีค่าใช้จ่าย
นอย สวนทางดานการเมืองตองกำหนดนโยบายและการใช้อำนาจในการบริหารและการปกครอง
ประเทศที่มุงเนนการใหคุณค่า การประหยัด ดูแลและรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไมให
เสื่อมคุณภาพเร็ว ดังนั้นการพัฒนาประเทศ จึงตองทำควบคู่กับการรักษาสิ่งแวดลอม ไปกับการพัฒนา
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดีขึ้น เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี อยูอยางพอเพียงและ
ยั่งยืนของประชาชนในประเทศ
1.2.3 ประเภทของสิ่งแวดลอม
การจัดประเภทของสิ่งแวดลอมเพื่อใหง่ายตอการทำความเข้าใจ เกณฑการจัดกลุมประเภท
ของสิ่งแวดลอม พิจารณาจากลักษณะของสิ่งแวดลอม โดยมีเกณฑการแบงหลากหลาย เช่น ตาม
ลักษณะการเกิด เกิดตามธรรมชาติ และ เกิดจากมนุษยสรางขึ้น ตามลักษณะการดำรงชีวิต เปน
สิ่งแวดลอมทางกายภาพ และ สิ่งแวดลอมทางชีวภาพ หรือแบงตามลักษณะรูปทรงที่สามารถมองเห็น
ได เปนรูปธรรม และนามธรรม (ตารางที่ 1.1) เมื่อสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกับมนุษย และสิ่งมีชีวิต
6

อื่นบนโลกใบนี้โดยมีความความสัมพันธกันเปนโครงข่าย เรียกวา ระบบนิเวศ (ecosystem) หากมี


สิ่งแวดลอมสิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลง จะสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอื่น รวมทั้งการดำรงชีวิต
ของมนุษยดวย

ตารางที่ 1.1 เกณฑการจัดกลุมประเภทของสิ่งแวดลอม


เกณฑการจัดกลุม ลักษณะสิ่งแวดลอม

1. ลักษณะการเกิด ตามธรรมชาติ แบงเปน มนุษยสรางขึ้น แบงเปน

-สิ่งมีชีวิต เช่น มนุษย พืช สัตว -ทางกายภาพ เช่น อาหาร ที่อยู


จุลินทรีย (โปรโตซัว แบคทีเรีย รา อาศัย ยารักษาโรค เครื่องนุงหม
ยีสต เห็ด และไวรัส)
-ทางสังคม เช่น ประเพณี
-สิ่งไมมีชีวิต เช่น ดิน น้ำ แสงแดด วัฒนธรรม ความเชื่อ
อากาศ แรธาตุ

2. ลักษณะการดำรงชีวิต ทางชีวภาพ คือ สิ่งมีชีวิต ทางกายภาพ คือ สิ่งไมมีชีวิต

3. ลักษณะการมีรูปทรง เปนรูปธรรม เช่น ปจจัยสี่ เปนนามธรรม เช่น ประเพณี


ที่สามารถเห็นได วัฒนธรรม ความเชื่อ

1) สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ
หากจะขยายความ สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ สิ่งแวดลอมประเภทนี้ หมายถึงทุก
สิ่งทุกอยางที่อยูรอบตัวมนุษยและเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมีลักษณะที่แตกตางกันออกไป
เปนความหลากหลายในธรรมชาติ (biodiversity) บางชนิดใช้เวลาในการเกิดยาวนานมาก บางชนิดใช้
เวลาในการเกิดเพียงระยะเวลาสั้น สิ่งแวดลอมชนิดหนึ่งจะมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมชนิดอื่น
ถาสิ่งแวดลอมหนึ่งถูกทำลาย โอกาสที่จะสงผลตอสิ่งแวดลอมอื่นมีสูง สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ สิ่งแวดลอมที่มีชีวิต และสิ่งแวดลอมไมมีชีวิต (ภาพที่ 1.1)
7

ภาพที่ 1.1 สิ่งแวดลอมที่มีชีวิตและไมมีชีวิต


ดัดแปลงจาก: https://laboratoryinfo.com/biotic-vs-abiotic-factors/

สิ่งแวดลอมที่มีชีวิต เปนสิ่งแวดลอมที่ใช้ระยะเวลาสั้นในการเกิด เปนสิ่งแวดลอมที่สามารถ


เพิ่มจำนวนขึ้นมาทดแทนใหมได แตมีโอกาสที่จะสูญสิ้นไปได หากมนุษยทำใหธรรมชาติเสียสมดุล
ไดแก่ รา (fungi) พืช (plants) โปรโตซัว (protists) สัตว (animals) แบคทีเรียโบราณ (archaea)
แบคทีเรีย (bacteria) สิ่งแวดลอมที่ไมมีชีวิต เปนสิ่งแวดลอมที่ธรรมชาติสรางขึ้นมา บางชนิดใช้
ระยะเวลาในการเกิดยาวนานมาก และสามารถสูญสิ้นไปไดหากมนุษยใช้อยางไมระมัดระวัง ไดแก่ แร
ธาตุ (minerals) แหลงเชื้อเพลิง บางชนิดเปนสิ่งแวดลอมที่มีใหมนุษยนำมาใช้ไดอยางไมมีวันหมดสิ้น
ไปจากโลก ไดแก่ อากาศ (air) น้ำทะเล (salinity) ดิน (soil) อุณหภูมิ (temperature) แสง (light)
น้ำ (water) ความเปนกรด-ดาง (pH) และ ความชื้น (humidity) แตมีโอกาสที่จะเสื่อมโทรมลง หาก
มนุษยใช้อยางเดียว ไมช่วยกันดูแลรักษาและอนุรักษใหคงสภาพเดิม จนกลายเปนปญหามลพิษ
สิ่งแวดลอม
8

2) สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น
สำหรับสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น สิ่งแวดลอมประเภทนี้มนุษยสรางขึ้นเพื่อเปาหมายในการ
อำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตของตนเอง โดยตั้งใจหรือไมตั้งใจได รวมทั้งเปนสิ่งที่มองเห็น จับ
ตองได และสิ่งที่ไมสามารถมองเห็น จับตองไมได มนุษยอาจสรางขึ้นดวยเหตุจำเปนบางประการ หาก
เรามองใหลึกซึ้ง สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นจะช่วยใหมนุษยสามารถดำรงชีวิตอยูไดอยางสุขสบาย
ทำใหมนุษยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แตอยางไรตาม สิ่งที่มนุษยสรางขึ้นที่เปนสิ่งไมดี มี ทำใหความ
เปนอยูของมนุษยแยลง ทำใหมนุษยไดรับความเดือดรอน ตองสูญเสียชีวิตหรือสวนใดสวนหนึ่งของ
ร า งกาย สุ ข ภาพจิ ต เสื ่ อ มโทรมลง โดยสิ ่ ง แวดล อ มที ่ ม นุ ษ ย ส ร า งขึ ้ น แบ ง ออกเป น 2 ลั ก ษณะ
โดยพิ จ ารณาจากความเป น รู ป ธรรมหรื อ นามธรรมของสิ ่ ง นั ้ น คื อ สิ ่ ง แวดล อ มทางกายภาพ
เปนสิ่งแวดลอมที่มองเห็นได จับตองได เปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการมีชีวิต
อยู บางสิ่งที่มนุษยสรางเปนไปเพื่อสนองความตองการขั้นพื้นฐานของการดำรงชีวิต ไดแก่ อาหาร
ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค แตบางสิ่งสรางเพื่อสนองความตองการอันไรขอบเขต
ของตนเอง ซึ่งถือไดวาเปนการสรางที่เกินความจำเปน อันจะนำความเสียหายมาสูสิ่งแวดลอมและชีวิต
มนุษยเองไดเมื่อถึงระดับหนึ่ง สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นมีทั้งสิ่งที่ดี มีคุณประโยชนตอชีวิตมนุษย
เช่น บานเรือน อาคารอเนกประสงค์ (ภาพที่ 1.2) เสื้อผา รถยนต ถนน เครื่องมือทางการแพทย
โทรศัพท เปนตน สวนสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นแลวกลายเปนสิ่งที่ไมดี ทำใหคุณภาพชีวิตแยลง
เช่น สารเคมีที่อยูในเครื่องอุปโภค หากปลอยลงสูแหลงน้ำทำใหน้ำเนาเสีย สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
สารอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ปลอยออกสูสิ่งแวดลอม เปนตน
9

ภาพที่ 1.2 อาคารอเนกประสงค์ จัดเปนสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นทางกายภาพ

สิ่งแวดลอมทางสังคม เปนสิ่งแวดลอมที่มีลักษณะเปนนามธรรม มนุษยสรางขึ้นเพื่อความเปน


ระเบี ย บของการอยู  ร  ว มกั น ในสั ง คม อาทิ เ ช่ น กฎหมาย ประเพณี ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ เป น ต น
บางสิ่งอาจสรางขึ้นเพื่อเปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ไดแก่ ศาสนา ความเชื่อ พิธีกรรม เปนตน
บางสิ่งอาจสรางขึ้นเพื่อสงเสริมความเจริญใหเกิดขึ้นแก่หมูมวลมนุษย ไมวาจะเปน การศึกษา การวิจัย
เป น ต น บางสิ ่ ง สร า งขึ ้ น โดยพฤติ ก รรม การแสดงออกทั ้ ง ในลั ก ษณะที ่ ต ั ้ ง ใจและไม ต ั ้ ง ใจ เช่ น
การทะเลาะวิวาท การช่วยเหลือผูอื่นที่ไดรับความเดือดรอน การติดยาหรือสารเสพติด เปนตน
1.2.4 คุณสมบัติเฉพาะของสิ่งแวดลอม
ลักษณะที่ทำใหมนุษยเข้าใจไดวาสิ่งที่เห็นนี้คือ สิ่งแวดลอม เราสามารถพิจารณาไดจาก
คุณสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งแวดลอม ศศินา (2550) และ ยศพรธ (2566) ไดอธิบายลักษณะมนุษยไว
ดังตอไปนี้
1. สิ่งแวดลอมแตละชนิดมีคุณลักษณะเฉพาะตัว กลาวคือ สิ่งแวดลอมแตละชนิดมีเอกลักษณ
ชัดเจน สามารถบอกไดวาเปนสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ หรือ มนุษยสรางขึ้น
2. สิ่งแวดลอมนั้นไมอยูโดดเดี่ยวในธรรมชาติ เช่น ตนไมตองการดินในการยึดเกาะและ
เจริญเติบโต สัตวน้ำตองการน้ำในการอยูอาศัย เปนตน
10

3. สิ ่ ง แวดล อ มหนึ ่ ง มี ค วามต อ งการสิ ่ ง แวดล อ มอื ่ น เสมอ สิ ่ ง แวดล อ มแต ล ะประเภทมี
ความสัมพันธกันตามกิจกรรมและหนาที่อยางเปนระบบ นอกจากสิ่งแวดลอมจะไมอยูโดดเดี่ยวแลว
ตองพึ่งพาสิ่งแวดลอมอื่น เพื่อการอยูรอดและรักษาสถานภาพของตนดวย โดยกลไกสิ่งแวดลอม
ควบคุม กิจกรรมการดำเนินการของกลุม เช่น ตนไมตองการดิน และน้ำ หากขาดดิน และน้ำ ตนไมจะ
ตาย มนุษยตองการน้ำ อาหาร และที่อยูอาศัย หากขาดน้ำ อาหาร มนุษยจะตาย หากขาดที่อยูอาศัย
มนุษยอาจเจ็บปวยจากสิ่งแวดลอมอื่น เนื่องจากไมมีที่กำบังรางกาย
4. สิ่งแวดลอมจะอยูกันเปนกลุม เรียกวาระบบนิเวศ ซึ่งมีสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิตหลากหลาย
ชนิด แตละชนิดมีหนาที่เฉพาะ อยูรวมกันอยางมีกลไก
5. สิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกันเปนลูกโซ่ หากสิ่งแวดลอมหนึ่งเสียหายถูกทำลาย
สิ่งแวดลอมอื่น จะไดรับผลกระทบในทางลบไปดวยทั้งทางตรงและทางออม เช่น น้ำเนาเสียจากการ
กระทำของมนุษย ไมมีน้ำใหมนุษยไดบริโภค มนุษยจะตาย สงผลกระทบทางออมถึงตนไมขาดน้ำตาย
สัตวขาดน้ำตาย อีกดวย
6. สิ่งแวดลอมแตละประเภทมักมีลักษณะทนทานและเปราะบางตอการถูกกระทบตางกัน
เช่น ปจจุบันอุณหภูมิโลกสูงขึ้น อากาศรอนขึ้น สงผลกระทบตออุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นดวย สัตวน้ำบาง
ชนิดไมสามารถทนอุณหภูมิสูงไดจะตาย ในขณะที่สิ่งมีชีวิตในน้ำบางชนิดทนไดกับอุณหภูมิสูง มีชีวิต
อยูรอดได หรือสิ่งมีชีวิตในน้ำบางชนิดสามารถปรับตัวใหเข้ากับอุณหภูมิของน้ำที่สูงขึ้นได
7. สิ่งแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป อาจเปนการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว
หรือถาวร เมื่อเวลาผานไป สิ่งใดที่จำเปนตองใช้จะยังคงอยู สิ่งใดที่ไมจำเปนตองใช้จะหายไป หรือ
เปลี่ยนไปตามสภาพแวดลอมของโลก สิ่งมีชีวิตใดปรับตัวไดสามารถอยูรอดได สิ่งมีชีวิตใดปรับตัวไมได
ตองตายและสูญพันธุไป รวมทั้งสิ่งแวดลอมทางสังคมวัฒนธรรมดวย บางอยางมีการเปลี่ยนแปลงไป
ตามยุคตามสมัย วัฒนธรรมประเพณีบางอยางหายไปตามกาลเวลา

1.3 โครงสรางการศึกษาดานสิ่งแวดลอม
สิ่งแวดลอมบนโลกใบนี้มีความหลากหลาย การศึกษาดานสิ่งแวดลอมจึงมีหลายดานเช่นกัน
ดังนั้นการจัดโครงสรางเพื่อการศึกษาดานสิ่งแวดลอม จะทำใหง่ายตอการเลือกกลุมประชากรและ
หัวข้อที่จะศึกษาวิจัยตอไป
11

มีบทความไดอธิบายไววา นักสิ่งแวดลอม ไดจัดแบงโครงสรางในการศึกษาความรูดาน


สิ่งแวดลอมใหง่ายตอการทำความเข้าใจไว 4 กลุม (เสรี, 2561) คือ
1. ความรูและความเข้าใจดานทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก่ สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไมวา
จะเปน ดิน น้ำ อากาศ ปาไม สัตวปา แรธาตุและหิน แสงอาทิตย น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ เปน
ตน
2. ความรูและความเข้าใจดานสังคมสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของมนุษย ไดแก่ ความรู
ดานสังคมสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปน ประชากร สาธารณสุข การศึกษา วัฒนธรรม ประเพณี สภาพทาง
สังคม เศรษฐกิจและการเงิน อุบัติเหตุ และอาชญากรรม เปนตน
3. ความรูและความเข้าใจดานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม เปนกลุมการศึกษาที่ตองมีผูเชี่ยวชาญ
เฉพาะดานถายทอดความรูและประสบการณ เพื่อสรางเครื่องมือ อุปกรณ แผนงาน ไดแก่ งานดาน
อุตสาหกรรม งานดานเกษตรกรรม การวางแผนโครงการ กำหนดแผนงาน สรางเครื่องมือ อุปกรณ
การสร า งทรั พยากรมนุ ษย ที ่ สามารถนำหลั กการและทฤษฎี ด า นเทคโนโลยี มาใช้ ประโยชน เ พื่ อ
สิ่งแวดลอม รวมทั้งสามารถคิดหลักการในการกำจัดของเสีย เพื่อลดมลพิษสิ่งแวดลอมใหแปรสภาพ
เปนสิ่งที่สามารถนำมาใช้ไดอีก
4. ความรูและความเข้าใจดานของเสียและมลพิษสิ่งแวดลอม เปนกลุมการศึกษาที่ตองมี
ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานถายทอดความรูและประสบการณ ในการนำหลักการและทฤษฎี รวมทั้งขั้นตอน
ทางวิ ทยาศาสตร มาใช้ เพื ่ อกำจั ดขยะมู ลฝอย ของเสี ยจากโรงงานอุ ตสาหกรรม กำจั ดสารเคมี
แก้ปญหาน้ำเสีย แก้ปญหาอากาศเสีย ลดการเกิดเสียงดัง ลดฝุนละออง ของเนาเสียที่ก่อใหเกิดอาหาร
เปนพิษ เปนตน

1.4 ปญหาสิ่งแวดลอม
ในอดีตมนุษยใช้ชีวิตอยูภายใตกฎเกณฑกำหนดของธรรมชาติ มนุษยอยูรวมกับธรรมชาติได
โดยไมทำใหธรรมชาติเสียสมดุล เมื่อเวลาผานไป เกิดวิวัฒนาการการใช้ชีวิตของมนุษยอยางตอเนื่อง
เมื่อจำนวนประชากรของมนุษยเพิ่มมากขึ้น ความหลากหลายทางความคิดจึงเกิดขึ้น มีความตองการ
เปลี่ยนแปลง มีความตองการความสะดวกสบายเพิ่มขึ้น มนุษยจึงคิดหาวิธีดวยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรสรางเทคโนโลยีเพื่อสิ่งอำนวยความสะดวกโดยการนำทรัพยากรธรรมชาติมาเปนวัตถุดิบ
เริ ่ ม ต น ในกระบวนการ อย า งไรตามทรั พ ยากรธรรมชาติ เ กิ ด ขึ ้ น ต อ งอาศั ย เวลาในการเกิ ด
12

ทรัพยากรธรรมชาติจึงไมเพียงพอตอความตองการใช้ของมนุษย และเปนเพราะทรัพยากรธรรมชาติ
เปนของฟรี ที่มนุษยนำมาใช้โดยไมไดใสใจถึงความเสียหาย ใช้อยางไมรูคุณค่า ขาดความรับผิดชอบ
เป น สาเหตุ ใ ห เ กิ ด ความเสี ย หายต อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ เรี ย กว า เกิ ด มลพิ ษ สิ ่ ง แวดล อ ม ทำให
สิ่งแวดลอมเกิดความเสื่อมโทรมและเสียสมดุลธรรมชาติ ปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเกิดตอเนื่องและ
สรางผลกระทบทางลบตอการดำรงชีวิตของมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นอยางมาก ดังนั้นการสรางการรับรู
และเรียนรูเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจึงมีความสำคัญมาก ตอการปลูกฝง สรางจิตสำนึก
ใหกับเด็ก เยาวชน และประชาชนใหรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติในประเทศของตน รูวิธีการที่
เหมาะสมในการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุด แตใช้ในปริมาณนอย เพื่อลด
ปญหาสิ่งแวดลอม โดยรายละเอียดข้อมูลของมลพิษสิ่งแวดลอมจะอยูในบทถัดไป มลพิษสิ่งแวดลอม
ไดแก่ มลพิษทางน้ำ ทางดิน อากาศ ขยะมูลฝอย เสียงและการสั่นสะเทือน ความรอน โรงงาน
อุตสาหกรรม และรังสี เปนตน

1.5 ความหมายและความสำคัญของระบบนิเวศ
จากหนังสือสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต (คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี
และชีวิต, 2557) พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (ณัฐญา, 2562) และ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ ่ ง แวดล อ ม (ศศิ น า, 2550) ได ใ ห ค วามหมาย ความสำคั ญ การแบ ง ประเภท และโครงสร า ง
องค์ประกอบของสิ่งแวดลอม มีคำอธิบายคลายกัน ดังนี้

การเรียนรูทำความเข้าใจเรื่องระบบนิเวศนั้น ตองเข้าใจที่มาที่ไปของระดับการจัดระบบ
สิ่งมีชีวิตแตละชนิดวาเริ่มตนมาจากหนวยที่เล็กที่สุด เรียกวาอะตอม (atom) ถัดไปเปนโมเลกุล
(molecule) หลายโมเลกุลรวมกันเปนเซลล (cell) หลายเซลลรวมกันเปนเนื้อเยื่อ (tissue) เนื้อเยื่อ
แตละชนิดประกอบกันเปน อวัยวะ (organ) รวมเปนรางกาย (body) สิ่งมีชีวิตหนึ่งจะมีอวัยวะหลาย
อวั ย วะรวมกั น แต ล ะอวั ย วะทำหน า ที ่ เ ป น ระบบเชื ่ อ มโยงกั น ซึ ่ ง จะทำหน า ที ่ ข องใครของมั น
(organism) เพื ่ อใช้ พลั งงานในการดำรงชี วิ ต เมื ่ อสิ ่ งมี ชี วิ ตแต ละชนิ ดมี จำนวนเพิ ่ มขึ ้ น เรี ยกว า
ประชากร (population) โดยสิ่งมีชีวิตนั้นอาศัยอยูในแหลงที่อยูเดียวกัน ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง สิ่งมีชีวิต
แตละชนิดไมอยูโดดเดี่ยว สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีความสัมพันธกันในระบบนิเวศเกิดเปน ชุมชนหรือกลุม
สิ่งมีชีวิต (community) และความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมเกิดการปฏิสัมพันธกันใน
13

บริเวณใดบริเวณหนึ่ง พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งมีการถายทอดพลังงานเปนวัฏ


จักร มีการแลกเปลี่ยนสารอาหารอยางสมดุล เรียกวา ระบบนิเวศ (ecosystem) (ภาพที่ 1.3)

ภาพที่ 1.3 ระดับการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม


ดัดแปลงจาก: http://englishiutajs.blogspot.com/2014/12/levels-of-organization.html

1.5.1 ความหมายของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศหลายระบบบนโลกใบนี้อยูภายใตองค์ประกอบของโลก มีพื้นดินพื้นน้ำ สิ่งมีชีวิต
และสิ ่ งแวดล อม มี ความสั มพั นธ ร วมกั น เรี ยกว า ชี วภาค (biosphere) ดั งนั ้ นระบบนิ เวศ จึ งมี
ความหมายวา ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตทั้งหมดกับสิ่งแวดลอมในบริเวณนั้น (เกษม, 2540)
ศาสตรทางนิเวศวิทยาเปนเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต สิ่งไมมีชีวิตและสิ่งแวดลอม การจัดจำแนกจึง
อาศัยการแยกตามกลุมหรือลักษณะของสิ่งมีชีวิตหรือตามสภาพถิ่นที่อาศัย ศาสตรดานนิเวศวิทยา
ครอบคลุม ตั้งแตสิ่งมีชีวิตแตละหนวยขึ้นไปจนถึงไบโอสเฟยรซึ่งเกี่ยวข้องกับการปรับตัวและ
14

พฤติกรรมของชนิดพันธุแตละตัวหรือประชากรที่เกี่ยวข้องกับปจจัยทางสิ่งแวดลอมอาจแบงแยกลงไป
เปนสาขาตางๆ เช่น นิเวศวิทยาที่เกี่ยวกับกลุมในชนิดพันธุ (demonology) ประชากร (population)
การเปลี ่ ย นแปลงขนาดของประชากร (demography) นิ เ วศสรี ร วิ ท ยา (eco physiology)
และนิเวศวิทยาพันธุกรรม (genecology) นิเวศวิทยาของการวิวัฒนาการ (evolutionary ecology)
พลวั ต รของสั ง คม (community dynamics) และนิ เ วศวิ ท ยาระบบ (system ecology) เป น ต น
(Mader and Windelspecht, 2014/2562)
ระบบนิเวศเปนหนวยที่สำคัญในการศึกษาความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
โดยระดับการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศเมื่อเริ่มตนที่สิ่งมีชีวิต มีความหมายดังนี้
1. สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต (organism) หมายถึ ง สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ที ่ ต  อ งใช้ พ ลั ง งานที ่ ไ ด จ ากสายใยอาหาร
มีการแลกเปลี่ยนสสาร แรธาตุ เปนวัฏจักร และมีการรับและใหพลังงานกับสิ่งแวดลอม เพื่อการ
ดำรงชีวิต
2. ประชากร (population) หมายถึ ง สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ชนิ ด เดี ย วกั น ทั ้ ง หมด ที ่ อ าศั ย อยู  ใ น
พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ณ ช่วงเวลาเดียวกัน
3. กลุมสิ่งมีชีวิต (community) หมายถึง สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดที่อาศัยอยูรวมกันในพื้นที่
ใดพื้นที่หนึ่ง โดยสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีความสัมพันธกันทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งมีความสัมพันธ
กับสิ่งแวดลอมดวย
4. ระบบนิเวศ (ecosystem) หมายถึง ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดกับสิ่งแวดลอม
ที่อาศัยอยูในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ณ ช่วงเวลาเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนสสารเปนวัฏจักร มีการถายทอด
พลังงานเปนลำดับผานสายใยอาหาร มีการรับและใหพลังงานกับสิ่งแวดลอม เกิดเปนความสัมพันธ
ที่ซับซ้อน
5. ชีวภาค (biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศแตละพื้นที่บนโลก ซึ่งโลกนับวาเปนระบบนิเวศ
ที่ใหญที่สุด ประกอบดวยสวนสำคัญ 3 สวน ไดแก่ ภาคพื้นดิน ภาคพื้นน้ำ และภาคอากาศ

การศึกษาระบบนิเวศหรือนิเวศวิทยา ศาสตรที่ศึกษาความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิต
และสภาพแวดลอมบริเวณใดบริเวณหนึ่ง มีลำดับความเปนมาของการศึกษาเรื่องราวเหลานี้จากข้อมูล
ของคณะกรรมการวิ ช าการสิ ่ ง แวดล อ ม เทคโนโลยี แ ละชี ว ิ ต (2557) และ Stiling (1999)
ดังตารางที่ 1.2
15

ตารางที่ 1.2 ความเปนมาของการศึกษานิเวศและระบบนิเวศ


ป ชื่อ รายละเอียด
ค.ศ. นักวิทยาศาสตร

1858 Henry D. บัญญัติคำวา Oekologie มาจากภาษากรีก คือ oikos หมายถึง ที่อยู


Thoreau อาศัย และ logos หมายถึง การศึกษา

1865 Hans Reiter เปลี่ยนคำวา Oekologie มาใช้คำวา Ecology ตามหลักภาษาอังกฤษ


หมายถึง วิชาที่ศึกษาความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับที่อยูอาศัย

1866 Ernst Heinrich บิดาแหงวิชานิเวศวิทยา ใช้คำวา Ecology ใหคำอธิบายวา นิเวศวิทยา


Haeckel เปนการศึกษาที่เกี่ยวกับการใช้ประโยชนจากธรรมชาติ อยางประหยัดคือ
การศึกษา สังเกตความสัมพันธ ทั้งสัตวกับสิ่งแวดลอมที่เปนอินทรียวัตถุ
และอนินทรียวัตถุ เดิม Ecology เปนสวนหนึ่งของ Biology

1871- Sir Arthur นักนิเวศวิทยา ไดตั้งคำวา ระบบนิเวศ (Ecosystem) และใหคำนิยาม


1955 Tansley เนนถึงการถายทอดของพลังงานและการหมุนเวียนของสาร รวมทั้งการ
ทำงานขององค์ประกอบในระบบนิเวศ จากแนวความคิดนี้ทำใหมีการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางการวิจัยอยางมากในวงการศึกษาทางนิเวศวิทยา
Tansley มีอิทธิพลในการสรางแนวคิดทางดานสังคมถาวร หลากหลาย
(polyclimax concept)

1927 Charies Elton นักนิเวศวิทยาดานสัตว ใหคำนิยาม ของนิเวศวิทยา คือ วิทยาการดาน


ประวัติศาสตรของธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับสังคมศาสตรและ
เศรษฐศาสตรของสัตว

1971 Eugene Odum นักนิเวศวิทยาที่สนใจทั้งดานพืชและสัตว ไดใหคำนิยาม ของนิเวศวิทยา


เปดกวาง วา นิเวศวิทยา คือการศึกษาทางโครงสรางและหนาที่ของ
ธรรมชาติ
16

1.5.2 ความสำคัญของระบบนิเวศ
ความสำคัญของระบบนิเวศ มีสวนสนับสนุนความสมดุลของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นใหอยู
ในสภาวะสมดุล มนุษยเปนสวนหนึ่งของระบบนิเวศ ทุกสรรพชีวิตบนโลกจำเปนตองพึ่งพากลไกการ
ทำงานที่สมดุลของธรรมชาติ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติบนโลกที่ตองการความสมบูรณ มนุษย
เปนผูที่มีปญญาและสรางความก้าวหนาทางวิทยาศาสตร โดยการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อ
ประโยชนในการดำรงชีวิต ปจจัย 4 รวมทั้งสรางประโยชนมากมายโดยไมเสียค่าใช้จ่าย ไดแก่
1. ดานการเปนแหลงผลิต ระบบนิเวศเปนแหลงกำเนิดทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เช่น น้ำ
สะอาด แสงจากดวงอาทิตย แรธาตุ ดิน อากาศ และวัตถุดิบที่สรางอาหาร ยา ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม
และเปนแหลงรวบรวมความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
2. ดานการควบคุมความสมดุลธรรมชาติ ระบบนิเวศสามารถควบคุมปรากฏการณและ
กระบวนการที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เช่น ควบคุมสภาพภูมิอากาศ แหลงผลิตออกซิเจนของโลก
เปนแหลงกักเก็บคารบอนไดออกไซดไมใหปลอยสูชั้นบรรยากาศ ควบคุมการกัดเซาะชายฝง และ
สมดุลของสิ่งมีชีวิตในทะเล การควบคุมโรคภัย รวมทั้งการยอยสลายของเสียและขยะกลับคืนสู
ธรรมชาติ
3. ดานวัฒนธรรม ระบบนิเวศเปนประโยชนทางนามธรรมที่แสดงถึงคุณค่าทางสังคมและ
วัฒนธรรมแตละพื้นที่ที่แตกตางกัน เช่น คุณค่าทางประวัติศาสตร ศาสนา ประเพณี การศึกษาและ
การใหความรูที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศ รวมถึงเปนสถานที่พักผอนหยอนใจที่ทองเที่ยว ที่เกิดจาก
โครงสรางองค์ประกอบภายในระบบนิเวศบริเวณนั้น
4. ดานการสนับสนุน ทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดภายใตระบบนิเวศ ช่วยสนับสนุนดานอื่น เช่น
เปนที่อยูอาศัยของมนุษย สิ่งมีชีวิตทั้งหลายบนโลกใบนี้ เปนจุดเริ่มตนของสายใยอาหาร หวงโซ่อาหาร
รวมถึงการเกิดวัฏจักรหรือการหมุนเวียนของสสารในโลก
17

1.6 ขั้นตอนทางวิทยาศาสตรสำหรับศึกษาดานนิเวศวิทยา
การศึกษาดานนิเวศวิทยาสามารถใช้หลักการคิดและกระบวนการทางวิทยาศาสตรเข้ามาช่วย
หาคำตอบอยางเปนระบบขั้นตอน เริ่มตั้งแต สังเกต ตั้งสมมติฐาน กำหนดตัวแปร กลุมประชากรหรือ
กลุมตัวอยาง วางแผนการศึกษา ทำการทดลอง จนไดผลการทดลอง จึงทำการวิเคราะหผลการทดลอง
เพื่อนำไปสูการสรุปผลการทดลอง โดยคณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต (2557)
ไดอธิบายขั้นตอนทางวิทยาศาสตร ดังนี้
1. การสังเกตและการบันทึกข้อมูล ผูที่มีกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตรจะรูจักสังเกต
เพื ่ อกำหนดป ญหา เช่ น ใบพื ชทำไมมี สี เ ขี ยว ในขณะที ่ สั ตว ไ ม มี สี เ ขี ยว จึ งเป นที ่ มาของป ญหา
เปนจุดเริ่มตน ในการทำใหเกิดกระบวนการในขั้นตอนตอไป การวางแผนในแตละขั้นตอน นำไปสู
ความพยายามหาคำตอบโดยการตั้งสมมติฐาน
2. การเก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการตัดสินใจในการตั้งสมมติฐาน การ
วางแผนการพิสูจนข้อเท็จจริง เพื่อหาคำตอบที่ถูกตอง การเก็บข้อมูลสามารถทำไดโดยสอบถามจาก
ผูมีประสบการณ อานหนังสือ ประสบการณของตนเอง สืบค้นจากอินเทอรเน็ต บทความวิชาการ
บทความวิจัย
3. การตั้งสมมติฐาน อาจใหคำจำกัดความไดวา เปนแนวคิดหรือข้อเสนอเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งที่แสดงออกมา เปนจุดเริ่มตนในการที่จะศึกษาหาเหตุผล เพื่อพิสูจน สนับสนุน หรือคัดค้าน
แนวคิดนั้น สมมติฐานคือ การคาดการณ ถึงคำตอบที่เปนไปไดของปญหาที่ไดกำหนดไว การแสวงหา
คำตอบในบางลักษณะอาจไมจำเปนตองมีสมมติฐาน เช่น ใบพืชอาจจะมีโครงสรางภายในหรือ
เม็ดสรางสีเขียวในขณะที่สัตวอาจจะไมมี
4. การพิสูจนสมมติฐาน โดยสืบค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคำถามที่เกิดขึ้น แนวโนมคำตอบ
ที่เปนไปได การวางแผนการทดลอง การกำหนด หนวยวัด และวิธีการวัด การกำหนดตัวแปรและ
เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรนั้นดวยวิธีการวิจัยที่เหมาะสมกับข้อมูลแตละชนิด จากนั้นจึงนำ
ข้อมูล ที่รวบรวมไดมาทำการวิเคราะหโดยใช้เทคนิคทางสถิติที่เหมาะสม
5. การสรุปและการนำมาประยุกตใช้ เมื่อผลการพิสูจนทั้งหมดนำมาซึ่งผลสรุปวาสนับสนุน
หรื อ คั ด ค้ า นสมมติ ฐ านที่ ต ั ้ ง ขึ ้ น จากนั ้ น นำผลสรุ ป และความจริ ง ที ่ พ ิ ส ู จ น ไ ด ไ ปใช้ ป ระโยชน
ตอในชีวิตประจำวัน เช่น ใบพืชมีเม็ดสีคลอโรฟลล ทำหนาที่ดูดกลืนแสงจากดวงอาทิตยมาสราง
พลังงานในกระบวนการการสังเคราะหอาหารดวยตนเอง โดยพืชจะดูดกลืนแสงสีน้ำเงินและสีแดง
18

เอาไว ไมดูดกลืนแสงสีเขียว ทำใหสะทอนกลับออกมาเข้าตาเรา เราจึงเห็นใบพืชเปนสีเขียว รวมทั้ง


แสงสีเขียวยังเปนสีที่ตาของมนุษยเราตอบสนองไดดีที่สุด ทำใหเรามองเห็นใบพืชเปนสีเขียวสดใส
กระบวนการทางวิทยาศาสตรไมไดแค่ช่วยศึกษาดานนิเวศวิทยาเทานั้น ยังช่วยแก้ปญหาที่เรา
สงสัยไดอยางเปนระบบ มีประสิทธิภาพ และนาเชื่อถือ โดยผูที่มีความคิดแบบวิทยาศาสตรจะใช้ชีวิต
ดวยเหตุและผล สามารถคิดวิเคราะห ประเมินผลไดวาการกระทำใดทำใหสิ่งมีชีวิต สิ่งไมมีชีวิตและ
สิ่งแวดลอมจะอยูไดอยางสมดุล ไมทำลายสมดุลธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1.7 ประเภทของระบบนิเวศ
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีมากมายนับหมื่นแสนชนิด สิ่งไมมีชีวิต เช่น ดิน น้ำ อากาศ แสงแดด
แรธาตุ ลม เปนตน ลวนมีความสัมพันธกันกับสิ่งแวดลอมแบบซับซ้อน ในแตละพื้นที่บนโลกที่มีสภาพ
ภูมิอากาศและสภาพภูมิประเทศที่แตกตางกัน ก่อใหเกิดระบบนิเวศที่หลากหลาย Stiling (1999) ได
อธิบายการจัดจำแนกประเภทของระบบนิเวศ ตามลักษณะทางกายภาพ ได 3 ประเภท คือ
1. ระบบนิเวศบนบก (terrestrial ecosystem) เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดบน
ภาคพื้นดิน มีปจจัยทางดานสภาพดิน อุณหภูมิ ความชื้น ความรอน แสงแดด ปริมาณน้ำฝน และพืช
พรรณที่ขึ้น ณ บริเวณนั้นสามารถแบงยอย เช่น ปาดิบชื้น ทะเลทราย ทุงหญา เปนตน
2. ระบบนิเวศในน้ำ (aquatic ecosystem) เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ำ
บนโลก สามารถแบงออกเปน ระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศน้ำเค็ม ระบบนิเวศน้ำกรอย ซึ่งโดย
ธรรมชาติแหลงน้ำจะแบงแยกดวยปริมาณเกลือที่ละลายในน้ำ ไดแก่ แหลงน้ำจืดจะมีเกลือละลายอยู
นอยกวา 0.5 กรัมตอลิตร แหลงน้ำเค็ม จะมีเกลือละลายอยูประมาณ 30.0-35.0 กรัมตอลิตร สวนน้ำ
กรอยอยูในช่วง 0.5-30.0 กรัมตอลิตร เหตุผลที่น้ำกรอยมีค่าความเค็มอยูในช่วงกวาง และมีความผัน
แปรในรอบวัน เนื่องจากไดรับผลกระทบจากกระแสน้ำขึ้นน้ำลงในแตละวันมาเกี่ยวข้องดวย โดยระดับ
ผิวน้ำกรอยมักมีค่าความเค็มนอยกวาที่ระดับลึกลงไป น้ำเปนทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญมากตอการ
ดำรงชีวิตของมนุษย สัตวและพืช ปริมาณพื้นน้ำมีมากเปน 2 ใน 3 ของพื้นที่โลกทั้งใบ น้ำทะเล
มีมากที่สุดในโลก ซึ่งมีมากกวารอยละ 70 ของพื้นที่โลกทั้งหมด เมื่อเทียบกับปริมาณแหลงน้ำทั้งหมด
โลกมีน้ำเค็มรอยละ 97.5 จากทะเลและมหาสมุทร เปนน้ำจืดรอยละ 2.5 เมื่อสำรวจลึกลงไปพบวา ใน
รอยละ 2.5 ของน้ำจืด แบงเปน น้ำแข็งขั้วโลกรอยละ 68.5 และ น้ำผิวดินรอยละ 31.5 ในขณะที่
19

รอยละ 31.5 ของน้ำผิวดินยังถูกแบงออกเปน น้ำในธรรมชาติที่มนุษยเข้าไมถึง นำมาใช้ไมได รอยละ


98.75 สวนที่เหลือเปนน้ำที่มนุษยนำมาใช้ได อีกแค่รอยละ 1.25 (ภาพที่ 1.4)

ภาพที่ 1.4 สัดสวนปริมาณน้ำบนโลก


ดัดแปลงจาก: https://www.watertreaty.org/โลกนี้มีน้ำสัดสวนเทา/

3. ระบบนิ เ วศเมื อ ง (urban ecosystem) ป จ จุ บ ั น โลกมี ก ารเปลี ่ ย นแปลงไปจากอดี ต


วิวัฒนาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามามีอิทธิพลตอการดำรงชีวิตของมนุษยอยางมาก
ยุคศตวรรษที่ 21 (2001-2100) เปนยุคที่มีการพัฒนาดานตาง ๆ ดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
อยางรวดเร็ว โดยเฉพาะดานคอมพิวเตอรเทคโนโลยีสารสนเทศ สมารทโฟน เปนตน สิ่งอำนวยความ
สะดวกของมนุษยเพิ่มมากขึ้นเปนทวีคูณ ระบบนิเวศเมืองนี้ คือ ระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้น เช่น การ
เปลี่ยนพื้นที่ปลูกพืชขนาดเล็ก ผักสวนครัว เปน พื้นที่เกษตรกรรมพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ ระบบการ
เพาะปลูกถูกควบคุมดวยคอมพิวเตอร ที่เรียกวา สมารทฟารม การสรางตึกสูงรูปทรงแปลกตา
ถนนหนทางที่ซับซ้อน รถไฟฟา BTS รถไฟฟาใตดิน MRT เชื่อมตอการคมนาคมขนสงที่สะดวกสบาย
ขึ้น
นอกจากจะจัดจำแนกประเภทของระบบนิเวศตามลักษณะทางกายภาพแลว Stiling (1999);
ยศพรธ (2566) ไดอธิบาย การจัดจำแนกประเภทของระบบนิเวศโดยใช้ลักษณะการถายเทพลังงาน
และการหมุนเวียนสาร ได 3 ลักษณะ คือ
20

1. ระบบนิเวศอิสระ (isolated ecosystem) ระบบนิเวศที่ไมมีการถายทอดพลังงาน และไม


มี ก ารหมุ น เวี ย นสารอาหารในระบบ กั บ สิ ่ ง แวดล อ มภายนอก เป น ระบบที ่ ไ ม ม ี ใ นธรรมชาติ
นักวิทยาศาสตรพยายามสรางระบบนี้ขึ้น ระบบนิเวศในจิตนาการ
2. ระบบนิเวศปด (closed ecosystem) ระบบนิเวศที่มีการถายทอดพลังงาน แตไมมีการ
ถายทอดสารอาหารในระบบ กับสิ่งแวดลอมภายนอก เช่น อางเลี้ยงปลา ระบบนิเวศจำลองที่มนุษย
สรางขึ้น เปนตน
3. ระบบนิ เ วศเป ด (opened ecosystem) ระบบนิ เ วศที ่ ม ี ก ารถ า ยทอดพลั ง งานและ
สารอาหารในระบบ และสิ่งแวดลอมภายนอกดวย เปนระบบนิเวศในธรรมชาติบนโลก คือ ระบบนิเวศ
ภาคพื้นดิน และระบบนิเวศภาคพื้นน้ำ

1.8 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศ
ทุกระบบนิเวศจะมีโครงสรางองค์ประกอบหลักอยู 2 สวน คือ องค์ประกอบที่เปนสิ่งไมมีชีวิต
(abiotic factors) ไดแก่ อนินทรียสาร อินทรียสาร สภาพแวดลอมทางกายภาพ และองค์ประกอบที่
เปนสิ่งมีชีวิต (biotic factors) ไดแก่ ผูผลิต ผูบริโภค และผูยอยสลาย ซึ่งอธิบายไวในตารางที่ 1.3
และ ตารางที่ 1.4

ตารางที่ 1.3 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศที่ไมมีชีวิต


องค์ประกอบที่ไมมีชีวิต ชนิด บทบาทหนาที่

อนินทรียสาร (inorganic) ธาตุ และ สารประกอบ ทำหน า ที ่ ห มุ น เวี ย นในวั ฏ จั ก รของ


เช่น คารบอน ออกซิเจน สสารบนโลก
คาร บ อน ไดออกไซด
ฟอสฟอรัส ซัลเฟอร เปน
ตน
21

ตารางที่ 1.3 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศที่ไมมีชีวิต (ตอ)


อินทรียสาร (organic) โปรตี น คาร โ บไฮเดรต ทำหน า ที ่ ห มุ น เวี ย นในวั ฏ จั ก รของ
ไขมัน ฮิวมัส เปนตน สสารบนโลก มีอยูทั้งในสิ่งมีชีวิตและ
ไมมีชีวิต

สภาพแวดลอมทาง น้ ำ แสงแดด อุ ณ หภู มิ มี ผ ลต อ การเจริ ญเติ บ โตของมนุ ษ ย


กายภาพ ก๊าซ แรธาตุ ดิน ความชื้น พื ชและสั ตว การหายใจ การหากิ น
ความเค็ม ความเปนกรด- ของสั ต ว การอพยพย า ยถิ ่ น จนาด
ด า ง เป น ต น เรี ย กว า และรูปรางของสิ่งมีชีวิต ฤดูกาลผสม
ปจจัยจำกัด พันธุ กระบวนการสังเคราะหแสง การ
แพรกระจายพันธุของพืชและสัตว

สภาพแวดลอมทางกายภาพ ซึ่งจัดเปนสวนหนึ่งของโครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศที่
ไมมีชีวิต มีหลากหลายปจจัย ศศินา (2550) และ ณัฐญา (2562) ไดอธิบายถึง บทบาทหนาที่ของ
สิ่งไมมีชีวิตประเภทสภาพแวดลอมทางกายภาพ ซึ่งมีอิทธิพลตอการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ไวดังนี้
1. น้ ำ มี ความจำเป นต อการดำรงชี วิ ตของพื ช สั ตว และมนุ ษย พื ชต องการน้ ำเพื ่ อการ
เจริญเติบโต น้ำเปนที่อยูอาศัยของสัตวน้ำ มนุษยและสัตวตองการน้ำเพื่อการดำรงชีวิตอยู มนุษยใช้
น้ำในกิจวัตรประจำวัน
2. แสงสวางจากแสงของดวงอาทิตย พืชและจุลินทรียบางชนิดตองการแสงสำหรับเปลี่ยน
พลังงานใหอยูในรูปพลังงานเคมีสะสมภายในเซลล พืชตองการแสงในกระบวนการสังเคราะหอาหาร
ในระบบนิเวศน้ำและทะเลทราย แสงมีผลตอการกระจายตัวของสัตวและพืชตามความลึกของผิวน้ำ
แสงยังเปนปจจัยกำหนดการดำรงชีวิต การออกหากินของสัตวบางชนิดดวย
3. อุณหภูมิ มีผลตอการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต การปรับตัวดานพฤติกรรม การอพยพยายถิ่น
การเปลี่ยนแปลงรูปราง และการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดในระบบนิเวศหลากหลายแหลง
เปนผลใหชนิดและปริมาณของสิ่งมีชีวิตแตกตางกันไปดวย สิ่งแวดลอมใดที่มีอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกิน
กวาที่ค่าเฉลี่ยสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้จะยอมรับได ทำใหสิ่งมีชีวิตดำรงอยูในสิ่งแวดลอมนั้นไมได
22

4. ก๊าซ ที่จำเปนตอการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก คือ ออกซิเจน ในกระบวนการหายใจ


ช่วยยอยสลายอินทรียสารที่ตกค้างในระบบนิเวศ คารบอนไดออกไซด จำเปนตอพืช พืชใช้ในการ
สังเคราะหดวยแสงเพื่อสรางอาหาร ความตองการก๊าซของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดเปนเรื่องที่นาอัศจรรย
ก่อใหเกิดวัฏจักรออกซิเจน โดย พืชปลอยออกซิเจนหลังกระบวนการสังเคราะหแสง ให มนุษย สัตว
นำไปใช้ในการหายใจ แลวปลอยคารบอนไดออกไซด ออกมาใหพืชไดนำไปใช้ใหมในกระบวนการ
สังเคราะหแสง จึงเกิดความสมดุลในระบบนิเวศ
5. แรธาตุ เปนสิ่งจำเปนเนื่องจากเปนองค์ประกอบอยูในรางกาย มนุษย พืช และสัตว เช่น
ไนโตรเจน ฟอสฟอรั ส ซั ลเฟอร โพแทสเซี ยม แคลเซี ยม ไอโอดี น แมกนี เซี ยม ซี ลี เนี ยม เหล็ ก
และสังกะสี เปนตน พืชตองการธาตุอาหารเพื่อการเจริญเติบโต ในทางระบบนิเวศ เมื่อสัตวหรือมนุษย
กินพืชตอ จึงไดรับแรธาตุจากพืช ไปใช้ในการควบคุมความสมดุลในรางกาย เปนองค์ประกอบของ
เนื้อเยื่อและการเจริญเติบโตของมนุษยและสัตว แรธาตุบางชนิดเปนองค์ประกอบอยูในโปรโตพลา
สซึมภายในเซลล
6. ดิน เปนทรัพยากรธรรมชาติที่โลกสรางมาเพื่อประโยชนของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกใบนี้
ดินเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต ทั้งบนดิน ในดิน และเปนที่สะสมของแรธาตุ ก๊าซ สารอินทรีย
สารอนิ น ทรี ย  และป จ จั ย ที ่ จ ำเป น ต อ การดำรงชี ว ิ ต และการเจริ ญเติ บ โตของพื ช เป น ที ่ อ ยู  ข อง
จุลินทรียดิน รวมทั้งเปนที่หลบภัย
7. ความชื้น พิจารณาจากปริมาณไอน้ำที่มีอยูในสิ่งแวดลอม ความชื้นมีผลตอการระบาย
ความรอนออกจากรางกายมนุษย และสัตว มีผลตอการระเหยคายน้ำของพืชและการเจริญเติบโต
ของพืช รวมทั้งความชื้นมีผลตอที่อยูอาศัยของสัตวหลายชนิด
8. ความเค็ม พิจารณาจากปริมาณเกลือที่ละลายอยู มีผลตอการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิต
ทั ้ ง พื ช และสั ต ว รวมทั ้ ง การดำรงชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย ด  ว ย ร า งกายมนุ ษ ย ต  อ งการความสมดุ ล เกลื อ
แบบไอโซโทนิก (isotonic) เพื่อไมใหรางกายสูญเสียน้ำมาก และไมใหรางกายมีปริมาณน้ำมากเกินไป
เช่นกัน ความเค็มมีผลตอการคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่สามารถดำรงชีวิตอยูไดโดยธรรมชาติ ในแหลงน้ำจืด
ที ่ ม ี ป ริ ม าณเกลื อ ต่ ำ จะมี พ ื ช น้ ำ และสั ต ว น ้ ำ กลุ  ม หนึ ่ ง ในขณะที ่ แ หล ง น้ ำ ทะเลหรื อ มหาสมุ ท ร
ที ่ ม ี ป ริ ม าณเกลื อ สู ง จะมี พ ื ช น้ ำ และสั ต ว น ้ ำ อี ก กลุ  ม หนึ ่ ง ที ่ แ ตกต า งกั น รวมทั ้ ง ความเค็ ม
ยังมีผลตอพฤติกรรมและโครงสรางของรางกายสิ่งมีชีวิตนั้นดวย
23

9. ความเปนกรด-ดาง (pH) พิจารณาจากแรธาตุที่ละลายปนอยูในดินและแหลงน้ำ แนนอน


ความเปนกรด-ดางสัมพันธกับน้ำที่ใช้ มนุษยบริโภคอุปโภคน้ำที่มีค่า pH อยูในช่วง 6.5-8.5 เปน
มาตรฐานคุ ณ ภาพน้ ำ pH ยั ง มี ผ ลต อ การเจริ ญ เติ บ โตของพื ช การดำรงชี ว ิ ต ของสั ต ว รวมทั้ ง
การเจริญของจุลนิ ทรีย ดังนั้นแหลงอาศัยของสิ่งมีชีวิตตองมี pH ที่เหมาะสม

ตารางที่ 1.4 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศที่มีชีวิต


องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ชนิด บทบาทหนาที่

ผูผลิต (producer or พืช สาหราย และแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะหแสง


autotroph) บางชนิด สรางอาหารเองไดตามธรรมชาติ
ใช้แรธาตุและสารอาหารใน
ธรรมชาติได ผูผลิตมีความสำคัญ
มากในระบบนิเวศ เพราะเปน
ตัวการสำคัญในการผลิตอาหาร
เปนจุดเริ่มตนของหวงโซ่อาหาร
หรือ สายใยอาหาร

ผูบริโภค (consumer or ผูบริโภคที่กินพืช (herbivore) สิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสรางอาหาร


heterotroph) ไดแก่ กวาง กระตาย วัว เองได ต อ งกิ น สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต อื ่ น เป น
ควาย หมู ช้าง แพนดา ยีราฟ อาหาร
แพะ แกะ ลิง แมลงบางชนิด
เช่น ผีเสื้อ ผึ้ง ตั๊กแตน

ผูบริโภคที่กินสัตว
(carnivore) ไดแก่ แมว สุนัข
เสือ จิ้งจก แมงมุม งู สิงโต
จระเข้ เสือดาว กบ
24

ตารางที่ 1.4 โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศที่มีชีวิต (ตอ)


องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ชนิด บทบาทหนาที่

ผูบริโภค (consumer or ผูบริโภคที่กินทั้งพืชและสัตว สิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถสรางอาหาร


heterotroph) (omnivore) ไดแก่ คน สัตว เองได ต อ งกิ น สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต อื ่ น เป น
เลี้ยงลูกดวยนม ไก่ หมี หนู อาหาร
เปด นก

ผูบริโภคที่กินซากพืชซากสัตว
(scavenger or detritivore)
ไดแก่ แรง ตัวเงินตัวทอง
หนอน มด ไสเดือนดิน
ตะขาบ กิ้งกือ ดวงมูลสัตว
ปลวก

ผูยอยสลาย (decomposer รา ยีสต เห็ด และแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุมนี้มีการปลอยเอนไซม


or saprotroph) ออกมาภายนอกเซลล เ พื ่ อ ย อ ย
อินทรียสารที่อยูในซากพืชซากสัตว
ให เ ป น แร ธ าตุ แ ละสารอาหาร
เพื่อใหผูผลิตนำมาใช้ประโยชนได
อีกครั้ง รวมทั้งเปนตัวกลางในการ
เชื่อมโยงการหมุนเวียนวัฏจักรของ
สสารภายในระบบนิเวศ
25

1.9 ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธขององค์ประกอบในระบบนิเวศในแตละแหลงโดยธรรมชาติจะอยูในสภาวะ
สมดุลเสมอ โดยแตละองค์ประกอบจะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธกันไมวาจะทางตรงหรือทางออม
โดยเกิดขึ้นอยางซับซ้อนตลอดเวลา รวมทั้งองค์ประกอบที่เปนสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิตมีปฏิสัมพันธกัน
ก่อใหเกิดการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนหนาที่ของระบบนิเวศที่สนับสนุน
ความสมดุลของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิต และสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ โดย พิทยา และคณะ (2556);
ศศินา (2550) และ Stiling (1999) อธิบายการแบงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ไวดังนี้
1. ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมที่ไมมีชีวิต สงผลตอการกำหนดวิถีการ
ดำรงชีวิตของมนุษย สัตว และพืช เช่น สภาพภูมิอากาศมีผลตอการสรางที่อยูอาศัย สัตวที่อยูในสภาพ
ภูมิอากาศหนาวจะมีการปรับตัวโดยมีขนยาวปกคลุมรางกาย พืชทะเลทรายอยูในสภาพภูมิอากาศ
รอน จึงปรับตัวเปลี่ยนใบที่ตองสูญเสียน้ำเปนหนามเพื่อกักเก็บน้ำไวในการดำรงชีวิต
2. ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมที่มีชีวิต มี 2 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ
ระหวางสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน มีข้อดี คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีจำนวนประชากรมาก อยูเปนกลุม
ใหญ จะสามารถปองกันอันตรายจากสิ่งมีชีวิตอื่นได แตมีข้อดอย คือ เมื่อสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมี
จำนวนประชากรมากจะเกิดการแก่งแยงแข่งขันปจจัยหลายอยางในการดำรงชีวิต เช่น อาหาร ที่อยู
อาศั ย เป นต น อี กลั กษณะหนึ ่ ง เป นความสั มพั นธ ระหว างสิ ่ งมี ชี วิ ตต างชนิ ดกั น ความสั มพั นธ
แบบนี้มีหลายลักษณะ (ตารางที่ 1.5) พรอมการยกตัวอยาง
26

ตารางที่ 1.5 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันในระบบนิเวศ


ความสัมพันธ คำอธิบาย ตัวอยาง

ภาวะตองพึ่งพา ความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ไลเคน (รากับสาหราย) สาหราย


(Mutualism +/+) ไดรับประโยชนรวมกัน และตอง สรางอาหารโดยใช้ความชื้นจากรา
อยูรวมกันแยกจากกันไมได ราไดอาหารจากสาหราย

ภาวะไดประโยชนรวมกัน ความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิด -นกเอี้ยงกับควาย นกเอี้ยงช่วยทำ


(Protocooperation ไดรับประโยชนซึ่งกันและกัน ความสะอาดกินแมลงและปรสิตบน
+/+) สามารถแยกจากกันได เมื่อแยก หลังควายเปนอาหาร ควายสังเกต
จากกันสิง่ มีชีวิตแตละชนิด อันตรายจากนก เมื่อมีศัตรูเข้ามาใกล
ดำรงชีวิตไดตามปกติ นกจะบินหนี

-มดดำกับเพลี้ย

-แมลงกับดอกไม

-ปูเสฉวนกับดอกไมทะเล

ภาวะปรสิต ความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งเปนผู -ปรสิตภายใน เช่น พยาธิในลำไส


(Parasitism +/-) ถูกอาศัย (host) เปนฝายเสีย มนุษย หรือสัตว พยาธิจะแยงชิง
ประโยชน สวนสิ่งมีชีวิตที่ไปอาศัย อาหารหรือกัดกินสวนของรางกาย
(Parasite) ไดประโยชนฝายเดียว สิ่งมีชีวิตที่เปน host อาจทำให host
ตายได

-ปรสิตภายนอก เช่น เหา ยุง ตน


กาฝากบนตนไมใหญ เห็บ
27

ตารางที่ 1.5 ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันในระบบนิเวศ (ตอ)


ความสัมพันธ คำอธิบาย ตัวอยาง

ภาวะการลาเหยื่อ ความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งเปนผู -เสือกับกวาง เสือเปนผูลา กวางเปน


(Predation +/-) ลา (Predator) ไดประโยชนฝาย ผูถูกลา กวางเสียชีวิต เปนอาหาร
เดียว อีกฝายหนึ่งเปนผูถูกลา ของเสือ
(prey) เปนฝายเสียประโยชน -แมวกับหนู

-นกกินแมลง

-งูกินกบ

-หมาจิ้งจอกกินกระตาย

ภาวะการแข่งขัน ความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตที่อยูอาศัย -สัตวชนิดเดียวกันแยงอาหารกัน


(competition -/-) อยูในบริเวณเดียวกัน อาจเปน -ตนไมที่ปลูกในพื้นที่จำกัดแยง
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน หรือตาง แสงแดดกัน
ชนิดกันมีความตองการปจจัยอยาง
-มนุษยแยงที่อยูอาศัยในพื้นที่จำกัด
เดียวกันและปจจัยนั้นมีจำกัด จึง
เกิดการแยงชิง เสียประโยชนทั้ง 2
ฝาย

ภาวะเปนกลาง ความสัมพันธที่สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู -เตากับผีเสื้อ


(Neutralism 0/0) ในบริเวณเดียวกัน ตางเปนอิสระ -เสือกับตนไม
ไมเกี่ยวข้องกัน จึงไมมีฝายใดได
-กวางกับนกฮูก
ประโยชนหรือเสียประโยชน
-ปลากับกลวยไม
28

1.10 การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
จากหนังสือสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต (คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี
และชีวิต, 2557) พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (ณัฐญา, 2562) และ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม (ศศินา, 2550) ไดอธิบายเนื้อหาเรื่องนี้ไวคลายกันดังนี้วา สิ่งมีชีวิตทั้งหลายที่อยูบนโลก
ใบนี้มีหนาที่เปน ผูผลิต ผูบริโภค ผูยอยสลาย จึงเกิดความสัมพันธที่สลับซับซ้อนระหวางสิ่งมีชีวิต
ดวยกัน และปฏิสัมพันธกับสิ่งไมมีชีวิตและสิ่งแวดลอม จึงเกิดหนาที่ของระบบนิเวศ มีการถายทอด
พลังงานจากการกินตอกันเปนทอด ๆ ในระบบนิเวศ เพือ่ ใหเกิดความสมดุล และกลายเปนความมัน่ คง
ของระบบนิเวศ การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ มีกฎข้อหนึ่ง คือ พลังงานนั้นเปลี่ยนรูปได
แตไมมีการสรางขึ้นใหมหรือ ทำลายและสูญหายไปไมได กฎข้อที่สอง คือ การเปลี่ยนรูปของพลังงาน
ไมสามารถเกิดไดเต็ม 100% เกิดจากทุกครั้งที่มีการถายทอดพลังงานจะเกิดการสูญเสียพลังงาน
โดยพลังงานที่ถูกถายทอดไปแตละขั้น พลังงานสวนหนึ่งถูกเก็บสะสมในเนื้อเยื่อ และอีกสวนหนึ่ง
พลั ง งานจะถู ก เปลี ่ ย นรู ป ไปเป น ความร อ น เป น ไปตามกฎ 10% ของลิ น ด แ มน (ภาพที ่ 1.5)
คือ ผูบริโภคลำดับที่ 1 กินผูผลิต จะไดพลังงานจากผูผลิตไปใช้เพื่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต
10% จาก 100% ดั ง นั ้ น พลั ง งานที ่ ผ ู  บ ริ โ ภคแต ล ะลำดั บ จะได คื อ ใน 100 ส ว น ผู  บ ริ โ ภค
จะได ร ั บ 10 ส ว น อี ก 90 ส ว นจะถู ก ปล อ ยออกในรู ป พลั ง งานความร อ นจากกระบวนการ
เมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิต

ภาพที่ 1.5 การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศตามกฎ 10% ของลินแมน


ดัดแปลงจาก: https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34029
29

แตอยางไรตาม ปจจุบันนักวิทยาศาสตรพบวา การถายทอดสารพิษ โลหะหนัก จะถายทอด


ผานหวงโซ่อาหาร โดยไมเปนไปตามกฎ 10% ของลินดแมน ซึ่งมีงานวิจัย พบวา การถายทอดสารพิษ
โลหะหนักในสิ่งแวดลอม มีการถายทอดแบบทวีคูณทำใหเกิดการสะสมเพิ่มขึ้นตามลำดับของผูบริโภค
จึงเปนที่มาของการรณรงค์เลิกใช้สารเคมีทางการเกษตร กับพืชและสัตว ที่มนุษยบริโภค เนื่องจาก
มนุษยมักเปนผูบริโภคลำดับสุดทาย และบริโภคสิ่งมีชีวิตไดหลากหลายชนิดดวย ดังนั้น มนุษยจะ
ไดรับสารพิษหรือโลหะหนักสะสมเปนจำนวนมาก นำไปสูการเกิดโรคเนื้องอก และพัฒนาไปเปน
โรคมะเร็ง
1.10.1 การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศนั้น พิทยา และคณะ (2556) ศศินา (2550) และ Mader
and Windelspecht (2014/2562) ได อ ธิ บ ายไว ว  า การถ า ยทอดพลั ง งานในระบบนิ เ วศเกิ ด ขึ้ น
ได 2 รูปแบบ ดังนี้
1. หวงโซ่อาหาร (food chain) เปนการถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปสูสิ่งมีชีวิตหนึ่ง
เป น ลำดั บ ขั ้ น ตอน โดยเริ ่ ม จาก พื ช อยู  ใ นดิ น มี ร ากดู ด ธาตุ อ าหารในดิ น ได ร ั บ น้ ำ ก๊ า ซ
คารบอนไดออกไซด และพลังงานแสงจากดวงอาทิตย เกิดกระบวนการสังเคราะหแสงสรางอาหาร
สะสมอยูในพืช และเจริญเติบโต พืชเปนผูผลิต ตอมา ผูบริโภคลำดับที่ 1 สัตวกินพืช (herbivore)
จะกินพืชเปนอาหาร ตอมา ผูบริโภคลำดับที่ 2 สัตวกินสัตว (carnivore) หรือ สัตวกินพืชและสัตว
(omnivore) จะกินผูบริโภคลำดับที่ 1 ตอมา เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ผูบริโภคลำดับที่ 3 สัตวกินซากพืช
ซากสั ต ว (detritivore หรื อ scavenger) จะกิ น ซากสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ที ่ ต ายแล ว ต อ มา ผู  ย  อ ยสลาย
(decomposer) คือ จุลินทรียในดิน เห็ด รา แบคทีเรีย ยีสต จะยอยซากพืชซากสัตวตอ จนกลายเปน
แรธาตุ กลับสูดิน (ภาพที่ 1.6)
30

ภาพที่ 1.6 การถายทอดพลังงานแบบหวงโซ่อาหาร (food chain)


ดัดแปลงจาก: https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=pp-review-series&month=07-06-
2020&group=2&gblog=42

2. สายใยอาหาร (food web) การถ า ยทอดพลั ง งานแบบนี ้ จ ะมี ค วามซั บ ซ้ อ นเพิ ่ ม ขึ้ น
โดยผูบริโภคที่เปนสิ่งมีชีวิตชนิดสามารถกินสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นไดหลายชนิด จึงเกิดความซับซ้อนขึ้นใน
ระบบนิเวศ และในความเปนจริงระบบนิเวศบนโลกสวนใหญเปนแบบสายใยอาหาร (ภาพที่ 1.7)

ภาพที่ 1.7 การถายทอดพลังงานแบบสายใยอาหาร (food web)


มาจาก: https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34026
31

1.10.2 ปรามิดของการถายทอดพลังงาน
จากหนังสือสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต (คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี
และชี ว ิ ต , 2557) และ Ecology: Theories and Applications (Stiling, 1999) อธิ บ ายรู ป แบบ
ปรามิดทางนิเวศวิทยา (Ecological pyramid) ไว 3 ลักษณะ คือ
1. ปรามิดจำนวนของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of numbers) คือ การแสดงจำนวนประชากรของ
สิ่งมีชีวิตตามลำดับขั้นของการบริโภคในหนึ่งหนวยพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยพีระมิดจำนวนของ
สิ่งมีชีวิตมักมีรูปแบบแตกตางจากพีระมิดฐานกวางทั่วไป เพราะปรามิดจะเนนจำนวนประชากร
ในระบบนิเวศ ไมไดคำนึงถึงมวลชีวภาพของสิ่งมีชีวิต (ภาพที่ 1.8) อธิบายไดวา ผูผลิตคือพืชคัลลูนา
ถู กผู  บริ โ ภคลำดั บ ที ่ 1 คื อกวางแดง 1 ตั ว รั บประทานเข้ า ไป ต อ จากนั ้ น กวางจะถู ก ผู  บริ โ ภค
ลำดับที่ 2 คือ แมลงจำพวกเห็บหลายตัวที่เกาะกินเลือดเฉพาะกวาง

ภาพที่ 1.8 ปรามิดจำนวนของสิ่งมีชีวิต


ดัดแปลงจาก: https://ngthai.com/science/27126/energy-flow/

2. ปรามิดมวลชีวภาพ (Pyramid of biomass) คือ การแสดงปริมาณมวลรวมชีวภาพของ


สิ่งมีชีวิตในแตละลำดับขั้นของการบริโภค ในรูปของน้ำหนักแหง ตอหนึ่งหนวยพื้นที่บริเวณใดบริเวณ
หนึ่ง ซึ่งพีระมิดมวลของสิ่งมีชีวิต สามารถแสดงผลของการถายทอดพลังงานภายในหวงโซ่อาหารได
32

แมนยำขึ้น แมวาจำนวนหรือมวลของสิ่งมีชีวิตจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา รวมทั้งอัตรา


การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดที่ไมคงที่
3. ป ร ามิ ด พลั ง งาน (Pyramid of energy) คื อ การแสดงปริ ม าณพลั ง งานของสิ ่ ง มี ช ี วิ ต
ในแตละลำดับขั้นของการบริโภคภายในหวงโซ่อาหาร มีการแสดงผลของการถายทอดพลังงานภายใน
หวงโซ่อาหารไดชัดเจนที่สุด โดยพีระมิดปริมาณพลังงานจะมีลักษณะเปนพีระมิดฐานกวางเสมอ
ตามปริมาณพลังงานของสิ่งมีชีวิตในแตละลำดับขั้นของการบริโภค ซึ่งจะมีค่าลดลงตามลำดับขั้นที่
สูงขึ้น เปนไปตาม “กฎ 10 เปอรเซ็นต” (Ten Percent Law)

1.11 การสูญเสียธาตุอาหารในระบบนิเวศ
ระบบนิ เ วศหนึ ่ ง มี ก ารแลกเปลี ่ ย นพลั ง งานและสสารอย า งต อ เนื ่ อ ง และรั ก ษาระดั บ
ความสมดุ ล แต อ าจมี ก ารสู ญ เสี ย ธาตุ อ าหารออกไปจากระบบ ซึ ่ ง Khanolkar et al. (2020)
ไดอธิบายถึ งสาเหตุ การสูญเสียธาตุ อาหารในระบบนิเวศ และการปรับเปลี่ยนในระบบนิเวศไว
ในที่นจี้ ะขออธิบายสาเหตุของการเกิดการสูญเสียธาตุอาหารในระบบนิเวศวามีสาเหตุมาจาก
1. มนุษย เปนผูสรางกิจกรรมที่ทำใหระบบนิเวศเกิดการสูญเสียธาตุอาหารไปเปนอันมาก
โดยตั้งใจและไมตั้งใจ เช่น การทำการเกษตร การตัดไมทำลายปา โรงงานอุตสาหกรรม การลาสัตว
การบุกรุกพืน้ ที่ปา เปนตน
2. สัตว โดยธรรมชาติ สัตวบริโภคอาหารที่อยูในระบบนิเวศ ธาตุอาหารที่อยูในระบบเกิด
การหมุนเวียนกลับคืนอยูในระบบนิเวศนั้นไดอีก แตอยางไรตามความเปนจริง สัตวมีการอพยพ
ย า ยถิ ่ น เพื ่ อ หาสิ ่ ง แวดล อ มที ่ เ หมาะสมกั บ การดำรงชี ว ิ ต จึ ง เป น การนำธาตุ อ าหารออกไปจาก
ระบบนิเวศ
3. ลม เป น ตั ว พาธาตุ อ าหารไปจากระบบนิ เ วศที ่ ม ี ล ั ก ษณะโล ง นำพาธาตุ อ าหารไปสู
ระบบนิเวศที่มีลักษณะทึบ เช่นมีตนไมใหญเจริญเติบโตหนาแนน จึงเกิดการสูญเสียธาตุอาหารจาก
บริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง จะเห็นไดวา ระบบนิเวศบริเวณใดมีความอุดมสมบูรณของปาไม
บริเวณนั้นจะเปนแหลงสะสมของธาตุอาหารดวย
4. น้ำ เปนตัวพาธาตุอาหารไปจากระบบนิเวศไดง่ายและรวดเร็วมาก โดยเกิดจากการกัดเซาะ
ของน้ำ พัดพาเอาหนาดินและธาตุอาหารในดินไปจากระบบนิเวศบริเวณนั้นดวย หรือเกิดจากการซึม
33

ของน้ำลงไปใตดินและชะลางธาตุอาหารในดินใหไหลลงไปสูดานลาง รากพืชไมสามารถดูดกลับมา
ใช้ได จึงเกิดการสูญเสียธาตุอาหารออกไปจากระบบนิเวศบริเวณนั้น
5. การเกิดกระบวนการระเหิด เปนอีกสาเหตุหนึ่ง ที่เกิดการสูญเสียธาตุอาหารออกไปจาก
ระบบนิเวศ โดยการแปรเปลี่ยนของธาตุอาหารในดิน เช่น ธาตุไนโตรเจนที่อยูในดินโปรง มีอากาศ
ถายเทดี จะเกิดเปนก๊าซไนโตรเจน พืชไมสามารถนำมาใช้ได จึงถูกเคลื่อนยายออกไปจากระบบนิเวศ
บริเวณนั้น วิธีการที่จะช่วยดูดซับก๊าซไนโตรเจนไวในดินได ตองมีการเพิ่มจำนวนจุลินทรียตรึง
ไนโตรเจนในอากาศใหกับดิน เพื่อดูดก๊าซไนโตรเจนเก็บไวในดินและแปรเปลี่ยนใหเปนไนโตรเจน
ในรูปที่รากพืชสามารถนำไปใช้ได

1.12 การปรับเปลี่ยนระบบนิเวศ
เมื่อเวลาผานไป การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศในแตละพื้น จะมีการเกิดของสิ่งมีชีวิตชนิด
ใหมทดแทนสิ่งมีชีวิตชนิดเดิมในบริเวณนั้น เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม เกิดการ
เปลี่ยนแปลงของชุมชนใหมในระบบนิเวศแหงนั้น มีปจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศดังนี้
1. ปจจัยจากการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา เมื่อโลกเคลื่อนที่หมุนรอบตนเอง โลกเคลื่อนที่
หมุนรอบดวงอาทิตยตลอดเวลา ธรรมชาติที่เกิดขึ้น ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางช้าๆ ของแผน
เปลือกโลกในทางธรณีวิทยา เปนผลใหเกิดเหตุการณทางธรรมชาติ ไดแก่ ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว
เกิดคลื่นยักษในทะเล เกิดธารน้ำแข็ง ซึ่งเปนปจจัยที่ควบคุมไมได ทำใหเกิดการเสียสมดุลของสิ่งมีชีวิต
ในระบบนิเวศไป
2. ป จจั ยจากการเปลี ่ ยนแปลงของสภาพภู มิ อากาศอย างรุ นแรง เมื ่ อมนุ ษย อยู  ภายใต
กฎเกณฑของธรรมชาติ ไมสามารถหลีกเลี่ยงภัยพิบัติที่เกิดจากธรรมชาติได เช่น การเกิดไฟปา
อุทกภัย วาตภัย ดินถลม ภัยแลง แผนดินไหว การเกิดคลื่นยักษในทะเล ลวนเปนภัยธรรมชาติที่
เกิดขึ้น และทำใหสภาพแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก สิ่งมีชีวิตทั้งหลายตองเสียชีวิตไป
จึงเกิดสิ่งมีชีวิตใหมขึ้นมาทดแทน
3. ปจจัยจากมนุษย ปจจัยนี้เปนสาเหตุหลักที่ทำใหระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยาง
รวดเร็วก่อนระยะเวลาที่ควรจะเปน ไมวาจะเกิดจาก การตัดไมทำลายปา การลาสัตว การใช้ดินผิดวิธี
34

การสรางสภาวะโลกรอน การสรางมลพิษสิ่งแวดลอม การเกิดของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม การ


สรางเขื่อน การใช้น้ำอยางไมรูคุณค่า การสรางขยะมูลฝอยและขยะอันตรายติดเชื้อ เปนตน
4. ปจจัยจากสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดเปนตัวการในการทำใหสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลง
ไป อาจทำใหสมดุลของระบบนิเวศถูกทำลาย เกิดโรคระบาด แมลงศัตรูพืชระบาด การแข่งขันแยงชิง
อาหาร ที่อยูอาศัย จนทำใหสัตวที่ออนแอลมตายจนสูญพันธุได เหตุการณเหลานี้ สงผลกระทบใหเกิด
สิ่งมีชีวิตกลุมใหมทดแทนสิ่งมีชีวิตกลุมเดิม ในบริเวณนั้น
5. ลักษณะการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตตอแหลงที่อยูอาศัย สิ่งมีชีวิตบางชนิดเมื่ออาศัยอยูใน
ระบบนิ เ วศนั ้ น ไปเป น ระยะเวลาหนึ่ ง ทำให ส ิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต อื ่ น มี จ ำนวนลดลง เกิ ด การเปลี ่ ย นแปลง
ค่ากรด-ดางของดิน หรือแหลงน้ำ เกิดการเปลี่ยนแปลงความเข้มของแสง ความชื้น ที่ถูกเปลี่ยนแปลง
ไปทีละนอยตามกาลเวลา จนทำใหระบบนิเวศนั้นไมเหมาะสมตอสิ่งมีชีวิตกลุมเดิม เกิดการตาย หรือ
อพยพย า ยที ่ อ ยู  อ าศั ย ไปหาพื ้ น ที ่ ร ะบบนิ เ วศใหม ท ี ่ เ หมาะสม จึ ง เกิ ด การเปลี ่ ย นแปลงแทนที่
โดยกลุมสิ่งมีชีวิตใหมที่สามารถอยูในสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปแลวได
1.12.1 การปรับเปลี่ยนของระบบนิเวศ มี 2 รูปแบบ คือ
1. การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นปฐมภูมิ (primary succession) เปนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน
พื้นที่ ที่ไมเคยมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดปรากฏมาก่อน เช่น การเกิดการเกิดภูเขาไฟใหม การเกิดแหลงน้ำใหม
การเกิดบอน้ำพุรอนใหม การเกิดสัตวชนิดใหม การเกิดพืชชนิดใหม ซึ่งเกิดจากการค้นพบของมนุษย
และเกิ ด ความหลากหลายทางชี ว ภาพ เป น ความสั ม พั น ธ ข องสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ในระบบนิ เ วศนั ้ น การ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบนี้จะเกิดขึ้นไดยาก ตองใช้เวลา เริ่มจากพื้นที่ที่แหงแลง (barren landscape) เกิด
สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ชนิ ด บุ ก เบิ ก (pioneer species) เช่ น ไลเคน เมื ่ อ ไลเคนเจริ ญ เติ บ โตจนมากพอ
ที่จะมีสารอินทรียในพื้นที่นั้น จนทำใหพืชพวกมอส ลิเวอรเวิรต และฮอรนเวิรต เจริญเติบโตได ตอมา
มี ก ลุ  ม สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ระดั บ กลาง (intermediate community) เกิ ด ขึ ้ น และเจริ ญ เติ บ โต ต อ จากนั้ น
เกิดกลุมสิ่งมีชีวิตอื่นตามมาอีกหลายชนิด ทั้งพืชและสัตว (climax community) เกิดเปนระบบนิเวศ
ที ่ อ ุ ด มสมบู ร ณ อ ยู  ใ นสภาวะสมดุ ล ไม ถ ู ก แทนที ่ อ ย า งรวดเร็ ว โดยกลุ  ม สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต อื ่ น จนกระทั่ ง
เกิดการปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นทุติยภูมิ (ภาพที่ 1.9)
35

ภาพที่ 1.9 การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นปฐมภูมิและขั้นทุติยภูมิ


ดัดแปลงจาก: Khanolkar et al. (2020)

2. การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นทุติยภูมิ (secondary succession) เปนการเปลี่ยนแปลงแทนที่


ในพื้นที่ ที่มีกลุมสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูก่อนแลวและเกิดเหตุการณที่ทำใหกลุมสิ่งมีชีวิตถูกทำลายไป
ธรรมชาติจึงสรางสิ่งมีชีวิตกลุมใหมขึ้นมาแทนที่ เพื่อใหระบบนิเวศบริเวณนั้นเกิดความสมดุล เช่น
การเกิดไฟปาเปนบริเวณกวาง ทำใหพืชตาย สัตวบาดเจ็บและตาย พื้นดิน แหลงน้ำถูกทำลาย
ใหเสียสภาพไมสามารถนำมาใช้ได อากาศเกิดมลพิษ เมื่อไฟดับลงเกิดเปนพื้นที่โลง เหลือแตตอไมและ
ซากสัตวที่ลมตาย เหตุการณนี้ธรรมชาติตองใช้เวลาในการฟนฟูตนเอง เพื่อเกิดสิ่งมีชีวิตกลุมใหมขึ้นมา
แทนที่ การปรับเปลี่ยนรูปแบบนี้เกิดขึ้นบอยครั้ง ในระยะเวลาไมนาน การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นนี้
เมื ่ อ เกิ ด เหตุ ก ารณ ท ี ่ ท ำให ก ลุ  ม สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ถู ก ทำลายไปแล ว จะเกิ ด กลุ  ม สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ระดั บ กลาง
(intermediate community) เกิ ด ขึ ้ น และเจริ ญ เติ บ โตได จากนั ้ น เกิ ด กลุ  ม สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต อื่ น
ตามมาอีกหลายชนิด ทั้งพืชและสัตว (climax community) เกิดเปนระบบนิเวศที่อุดมสมบูรณ
อยูในสภาวะสมดุลอีกเหมือนเดิม (ภาพที่ 1.9)
36

1.13 วัฏจักรของสสารที่หมุนเวียนในระบบนิเวศ (Biogeochemical cycle)


เมื ่ อ สภาพแวดล อ ม ป จ จั ย ทางกายภาพ มี ค วามเหมาะสมที ่ จ ะสนั บ สนุ น ให ส ิ ่ ง มี ช ี วิ ต
หลากหลายชนิดกำเนิดขึ้นบนโลก สิ่งมีชีวิตแตละชนิดนำปจจัยทางกายภาพ ไดแก่ น้ำ ออกซิเจน
ไนโตรเจน แรธาตุ สารอาหาร และสสารในธรรมชาติ มาเปลี่ยนเปนสารอินทรียโมเลกุลใหญ เช่น
คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน เปนตน เพื่อการเจริญเติบโตและดำรงชีวิตอยูภายในระบบนิเวศ
มีการถายทอดพลังงานไปยังผูบริโภค ตามกระบวนการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เมื่อสิ่งมีชีวิต
แต ล ะชนิ ด ตายลง จะถู ก ผู  บ ริ โ ภคกลุ  ม ผู  ย  อ ยสลาย (decomposer) เปลี ่ ย นสารอิ น ทรี ย  ใ ห เ ป น
สารประกอบขนาดเล็กหรือสารอนินทรียกลับคืนสูธรรมชาติ เพื่อใหพืชไดนำมาใช้ในการเจริญเติบโต
ทำหนาที่เปนผูผลิต เกิดเปนไซเคิลแบบนี้ตลอดเวลา เปนลักษณะของการหมุนเวียนของธาตุและ
สารอาหารในระบบนิเวศจากสิ่งแวดลอมตอเนื่อง ศศินา (2550); ณัฐญา (2562) และ Mader and
Windelspecht (2014/2562) ไดกลาวถึงวัฏจักรของสสารที่มีหลากหลายวัฏจักรในโลกไว ดังนี้
วัฏจักรคารบอน วัฏจักรออกซิเจน วัฏจักรของน้ำ วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรฟอสฟอรัส และวัฏจักร
กำมะถัน เปนตน
1.13.1 วัฏจักรคารบอน และวัฏจักรออกซิเจน
เริ่มตนจาก ก๊าซคารบอนไดออกไซด ถูกปลอยสูชั้นบรรยากาศ จากกิจกรรมหลากหลาย
ไดแก่ สิ่งมีชีวิตเกิดกระบวนการหายใจ ยานพาหนะ และโรงงานอุตสาหกรรมปลอยก๊าซชนิดนี้ออกมา
เมื ่ อ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ตายลงและเกิ ด การสะสมของขยะอิ น ทรี ย  จนกลายเป น ฟอสซิ ล และน้ ำ มั น ดิ บ
ซึ่งถูกนำมาใช้เปนเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะ และใช้เปนเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม เมื่อเกิด
การเผาไหมของเชื้อเพลิงจากน้ำมัน จะไดก๊าซคารบอนไดออกไซด ออกมาสูชั้นบรรยากาศ พืชจะดูด
ก๊าซชนิดนี้ รวมกับแสงอาทิตย และน้ำ เกิดกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ไดก๊าซออกซิเจนออกมา
และพลั ง งานสะสมในเนื ้ อ เยื ่ อ เพื ่ อ การเจริ ญ เติ บ โต (ภาพที ่ 1.10) นอกจากพื ช แล ว ในทะเล
ก๊าซคารบอนไดออกไซดยังสะสมอยูในโครงสรางของปะการังในรูปหินปูน และเปลือกของสัตวทะเล
ในรูปแคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) (Mader and Windelspecht, 2014/2562)
37

ภาพที่ 1.10 วัฏจักรคารบอนและวัฏจักรออกซิเจน

1.13.2 วัฏจักรของน้ำ
น้ำเกิดจากฝนที่ตกลงมาบนดิน ถูกกักเก็บไวและไหลลงสูแหลงน้ำ น้ำจึงถูกเก็บสะสมใน
แหลงน้ำ เกิดการระเหยของไอน้ำ เกิดการควบแนนเปนก้อนเมฆ เมื่อมีความชื้นเหมาะสมจะกลั่นตัว
เปนฝนตกลงมาสูพื้นดินเปนวัฏจักร (ภาพที่ 1.11)

ภาพที่ 1.11 วัฏจักรของน้ำ


ดัดแปลงจาก: https://www.flickr.com/photos/globalwaterpartnership/5663389997
38

1.13.3 วัฏจักรไนโตรเจน
บนโลกใบนี้ มีการศึกษาวิจัยแลววา ไนโตรเจนในบรรยากาศมีถึง รอยละ 79 ไนโตรเจน
ในอากาศ N2 ถูกจุลินทรียกลุมแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติในการตรึงไนโตรเจนตรึงไวในดิน รวมทั้งเมื่อพืช
และสัตวตายลง โปรตีนที่เปนองค์ประกอบในพืชและสัตวจะถูกยอยใหเปน NH3 ไนโตรเจนจะถูก
เปลี่ยนเปน NH3 โดยกลุมแบคทีเรีย ammonifying ตอมา แบคทีเรียกลุม nitrifying จะเปลี่ยน NH3
เปน NO2- และ NO3- ในขณะที่ มูลสัตวมีองค์ประกอบเปนมีเทน NH4 สามารถเปลี่ยนเปน NO2-
จากนั ้ น แบคที เ รี ยกลุ  ม nitrifying จะเปลี ่ ยน NO2- เป น NO3- โดยที ่ NO3- สามารถสะสมในดิ น
อยูในรูปที่รากพืชสามารถดูดไปใช้เพื่อการเจริญเติบโต จากนั้นสัตวกินพืช จะกินพืชเปนอาหาร
สำหรับ NO3- บางสวน แบคทีเรียกลุม denitrification จะเปลี่ยน NO3- เปน N2 กลับสูชั้นบรรยากาศ
(ภาพที่ 1.12)

ภาพที่ 1.12 วัฏจักรไนโตรเจน


ดัดแปลงจาก: https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/88177/-blog-
sciche-sci-
39

1.13.4 วัฏจักรฟอสฟอรัส
ฟอสฟอรัสเปนองค์ประกอบของฟอสโฟลิปดซึ่งเปนสวนประกอบของเยื่อหุมเซลล (cell
membrane) ในสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว เมื่อพืชและสัตวตายลง จะมีจุลินทรียกลุมแบคทีเรีย
phosphatizing ยอยสลายใหเปน ฟอสเฟตละลายในน้ำ (organic phosphates) นอกจากนี้ยังมี
ฟอสเฟสที ่ ส ะสมในหิ น ที ่ ท ั บ ถมกั น อยู  ใ นภู เ ขา เมื ่ อ ฝนตกฟอสเฟสจะถู ก ชะล า งสะสมอยู  ใ นดิ น
(inorganic phosphates) และละลายในน้ำ ฟอสเฟสที่สะสมในดินอยูในรูปที่รากพืชสามารถดูดไปใช้
เพื่อการเจริญเติบโต และสัตวกินพืช จะกินพืชเปนอาหาร เมื่อพืชและสัตวตายลง จะมีจุลินทรียกลุม
แบคทีเรีย phosphatizing ยอยสลายใหเปน ฟอสเฟตละลายในน้ำเปนวัฏจักร

1.13.5 วัฏจักรกำมะถัน หรือซัลเฟอร


เปนธาตุที่มีความสำคัญตอมนุษย สัตวและพืช สำหรับมนุษยซัลเฟอรเปนสวนประกอบของ
กรดอะมิโนจำเปน คือ เมไทโอนีน (methionine) ซึ่งเปนกรดอะมิโนตัวแรกในการเริ่มตนสังเคราะหดี
เอ็นเอ และ ซีสเทอีน (cysteine) เปนกรดอะมิโนที่ทำหนาที่รวมในการสรางเอนไซมกลูตาไธโอนเปอร
ออกซิเดส ซึ่งเปนเอนไซมที่ช่วยกำจัดอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นภายในรางกายมนุษย ลดอัตราความเสี่ยง
ในการเกิ ด เนื ้ อ งอกหรื อ มะเร็ ง รวมทั ้ ง ซั ล เฟอร ย ั ง เป น ส ว นประกอบภานในโครงสร า งโปรตี น
บริ เ วณผม เล็ บ และบำรุ ง ผิ ว พรรณของคนเรา ซั ล เฟอร จ ึ ง ถู ก เรี ย กว า เป น beauty mineral
แรธาตุสำหรับความสวยงาม
สำหรับพืช กำมะถัน เปนธาตุอาหารรองที่พืชตองการเพื่อการเจริญเติบโตเช่นเดียวกับ
แคลเซียม และแมกนีเซียม ในธรรมชาติกำมะถันจึงพบไดตามแหลงธรรมชาติ ไมวาจะเปนในน้ำ ดิน
หรือเกิดจากการปะทุของภูเขาไฟ เกิดซัลเฟอรไดออกไซด และไฮโดรเจนซัลไฟด เมื่อรวมตัวกับ
ออกซิเจนในอากาศ สามารถเปลี่ยนรูปเปน ซัลเฟอรไตรออกไซด โมเลกุลนี้สามารถรวมตัวกับ
แอมโมเนี ย ม (NH4+) ได เ ป น แอมโมเนี ย มซั ล เฟต หรื อ โมเลกุ ล นี ้ ร วมตั ว กั บ น้ ำ เปลี ่ ย นรู ป เป น
กรดซัลฟวริก เมื่อเกิดฝนตก สารประกอบซัลเฟอรจะตกลงมาสูพื้นดินพรอมกับน้ำ อยูในรูป เกลือ
ซัลเฟต ใหรากพืชไดดูดนำไปใช้เพื่อการเจริญเติบโต และสิ่งมีชีวิตรับประทานพืชที่มีสวนประกอบของ
ซัลเฟอรเข้าไปเพื่อการเจริญเติบโต จากนั้นเมื่อสิ่งมีชีวิตเสียชีวิตลง ซัลเฟอรในรางกายจะถูกยอยสลาย
กลับสูดิน เพื่อใหพืชไดนำไปใช้เช่นเดิมเปนวัฏจักร (ภาพที่ 1.13)
40

ภาพที่ 1.13 วัฏจักรกำมะถัน


ดัดแปลงจาก: https://bioscientifiq.com/sulfur-cycle/

จะเห็นไดวา ระบบนิเวศมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย สัตว และพืช โดยอาศัย


ปจจัยหลากหลายทางกายภาพ การดำรงชีวิตอยูของสิ่งมีชีวิตแตละชนิดบนโลกไมไดโดดเดี่ยว
จะมีความสัมพันธกันในเชิงการถายทอดพลังงาน การกินตอกันเปนทอด ๆ แตละลำดับขั้น ทั้งผูผลิต
ผูบริโภค ผูยอยสลาย ลวนมีความสำคัญซึ่งกันและกัน เพื่อใหเกิดสมดุลภายในระบบนิเวศในพื้นที่นั้น
รวมไปถึ ง การหมุ น เวี ย นสสารบนโลกไม ว  า จะเป น วั ฏ จั ก รคาร บ อน และวั ฏ จั ก รออกซิ เ จน
วัฏจักรของน้ำ วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรฟอสฟอรัส และวัฏจักรกำมะถัน มีความจำเปนตอสิ่งมีชีวิต
บนโลกใบนี้ดวย หากสวนใดสวนหนึ่งไดรับความเสียหายหรือถูกทำลาย ยอมสงผลกระทบทางลบตอ
ความสมดุ ลของระบบนิ เ วศในพื ้ นที ่ นั ้ นแน นอน มนุ ษย ควรตระหนั กถึ ง การอนุ รั กษ ระบบนิ เ วศ
สิ่งแวดลอม ใหอยูในภาวะสมดุล

1.14 ความสมดุลของระบบนิเวศในธรรมชาติ
ในการศึกษาสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ มนุษยใช้ตนเองเปนศูนยกลางในการมองสิ่งรอบตัว
เป น สิ ่ ง แวดล อ ม ถ า เราลองจิ น ตนาการว า บนโลกใบนี ้ ไ ม ม ี ม นุ ษ ย ไม ม ี ก ารฝ น ธรรมชาติ ไม มี
การนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้สรางปจจัย 4 ไมมีความเจริญทางดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี จะไม เ กิ ด มลพิ ษ สิ ่ ง แวดล อ ม ทรั พ ยากรธรรมชาติ ไ ม ถ ู ก ทำลายให เ สื ่ อ มโทรม
41

ใช้ ป ระโยชน ไ ม ไ ด ระบบนิ เ วศจะอยู  ใ นสภาวะสมดุ ล และเกิ ด การเปลี ่ ย นแปลงอย า งช้ า ๆ


ไปตามสภาพแวดลอม บรรดาสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทั้งผูผลิต ผูบริโภคแตละระดับ และผูยอยสลายจะทำ
หนาที่ของตนเองผานความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม ความสมดุลของของระบบนิเวศจะอยู
อยางยั่งยืน แตในความเปนจริงไมไดเปนไปตามที่จินตนาการได เพราะบนโลกใบนี้มีมนุษย ซึ่งพิทยา
และคณะ (2556); ณัฐญา (2562) และ ศศินา (2550) ไดอธิบายการเปลี่ยนแปลงของสมดุลธรรมชาติ
ในระบบนิเวศวาสามารถเกิดขึ้นได 2 รูปแบบ คือ การเปลี่ยนแปลงของสมดุลระบบนิเวศที่เกิดขึ้น
แบบกะทันหัน โดยกิจกรรมมนุษย และ แบบค่อยเปนค่อยไป โดยธรรมชาติเกิดการเปลี่ยนแปลงอยู
ตลอดเวลาไปตามกาลเวลานั่นเอง และแนนอน มนุษยเปนสิ่งมีชีวิต เมื่อประชากรมนุษยเพิ่มจำนวน
มากขึ้น ความตองการปจจัย 4 ยอมมีมากตามไปดวย การเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมจึงเกิดขึ้นอยางปฏิเสธไมได ระบบนิเวศเสียสมดุลแบบกะทันหัน สงผลกระทบตอ
สิ่งมีชีวิตอื่นอาจตายหรือสูญพันธุไป แตมีบางกรณีที่เปนผลกระทบทางออมตอระบบนิเวศที่มาจาก
กิ จ กรรมของมนุ ษ ย คื อ การเกิ ด ภั ย ธรรมชาติ อ ย า งรุ น แรง ไม ว  า จะเป น การเกิ ด ไฟป า
น้ำทวม สึนามิในทะเล หรือการเกิดโรคระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เปนตน การเปลี่ยนแปลง
แบบกะทันหันนี้ สงผลกระทบตอชีวิตมนุษยดวยเช่นกัน สำหรับการเปลี่ยนแปลงของสมดุลระบบ
นิเวศที่เกิดขึ้น แบบค่อยเปนค่อยไป ตามธรรมชาตินั้นเปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางช้า ๆ ดังนั้น
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบนี้ ก่อเกิดผลกระทบตอมนุษย สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมนอยมาก และเปน
ผลดีอีกดวย เช่น พื้นที่วางไมมีตนไม ไมมีสัตว ไมมีมนุษย ตอมาเกิดทุงหญาและไมพุมเมื่อเวลาผานไป
เกิดการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นและสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตเดนชัดขึ้น หากไมมีสิ่งแวดลอมภายนอกหรือ
มนุษยมารบกวน พื้นที่วางจะกลายเปนปาที่อุดมสมบูรณไปดวยสัตวปานานาชนิด และพันธุพืชที่
หลากหลาย สิ่งมีชีวิตแตละชนิดตองปรับตัวใหเข้ากับสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปได
ในปจจุบัน ศตวรรษที่ 21 สิ่งแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลงมาอยางตอเนื่อง หลังจากยุค
ปฏิวัติอุตสาหกรรม เกิดความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นวัตกรรมเพิ่มขึ้นอยางมาก
มนุษยเปนสาเหตุหลักที่ทำใหเกิดการสูญเสียความสมดุลของระบบนิเวศไปจากเดิมอยางมาก จนเกิด
ปญหามลพิษสิ่งแวดลอมที่แก้ไขไดยากมาก ยิ่งมนุษยเพิ่มจำนวนเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง การพัฒนา
วิถีชีวิตของมนุษยขึ้นอยูกับเทคโนโลยีมากขึ้น เพื่อความสะดวกสบายและคุณภาพชีวิตของมนุษย จน
เปนสาเหตุใหระบบนิเวศถูกทำลายมากที่สุด ในขณะที่ หากการสูญเสียความสมดุลของระบบนิเวศที่
42

เกิดจากธรรมชาติ ระบบนิเวศสามารถปรับตัวแก้ไขการเปลี่ยนแปลงไดดวยตนเองเพื่อใหเกิดความ
สมดุลเหมือนเดิม

1.15 สาเหตุที่ทำใหระบบนิเวศเสียสมดุล
ระบบนิเวศเปนบริเวณที่รวบรวมสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิตในพื้นที่จำกัด เมื่อจำนวนประชากร
เพิ่มขึ้น ทำใหมนุษยมีความตองการปจจัย 4 เพิ่มขึ้นดวย มนุษยตองการใช้พื้นที่เปนที่อยูอาศัยและใช้
ที่ดินทำการเกษตรในการทำมาหากิน ตองการปลูกพืชเชิงเดี่ยวแบบอุตสาหกรรม ทำใหพื้นที่ปาถูกบุก
รุก ที่อยูอาศัยของสัตวปาถูกยึดครองไป ทำใหความหลากหลายของพืชและสัตวถูกทำลายลง เปนผล
ใหความสมดุลของระบบนิเวศไดรับความเสียหายเสื่อมโทรม และไมสามารถแก้ไขกลับเปนเหมือนเดิม
ไดอีก นอกจากสาเหตุนี้แลว ยังมีสาเหตุอื่นที่ทำใหระบบนิเวศในพื้นที่นั้นเสียสมดุลอีกหลายสาเหตุ
เช่น
1. การสรางโรงงานอุตสาหกรรม การพัฒนาอุตสาหกรรม เปนผลใหทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมถูกนำมาใช้เปนวัตถุดิบในกระบวนการผลิตมากขึ้น กระบวนการผลิตในระบบอุตสาหกรรม
ก่อใหเกิดของเสียและสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศในบริเวณโรงงานอุตสาหกรรม
และบริเวณพื้นที่รอบข้าง เกิดมลพิษสิ่งแวดลอม ทำใหระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบกะทันหัน
ไปอยางถาวร ไมสามารถแก้ไขกลับเปนเหมือนเดิมไดอีก
2. การขยายตัวของชุมชนเมือง การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากภาคการเกษตรไปสูวิถีชีวิต
ภาคอุตสาหกรรม ชุมชนชนบทไปสูชุมชนเมือง การสรางบาน สรางตึก อาคารสูง สำหรับอยูอาศัยและ
ที่ทำงาน ศูนยการค้า สถานที่อำนวยความสะดวกของมนุษย ทำใหพื้นที่ภาคการเกษตรลดลงอยาง
มาก เมื่อเกิดชุมชนเมือง เปนผลใหระบบนิเวศถูกทำลายไปอยางถาวร เกิดมลพิษทางน้ำและมลพิษ
ทางอากาศ
3. การทำการเกษตรสมัยใหม ภาคการเกษตรในปจจุบันกลายเปนอุตสาหกรรมเกษตร มุง
ผลิตผลผลิตทางการเกษตรเพื่อการค้าเปนหลัก ปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวในพื้นที่กวาง ใช้ปุย สารเคมี
และสารฆ่าแมลงจำนวนมาก เกิดการระบาดของแมลงศัตรูพืชและขยายพันธุไดจำนวนมาก ควบคุม
การแพรระบาดไดยาก รวมทั้งสารเคมีที่ตกค้างในดินและอาจถูกชะลางลงสูแหลงน้ำ ทำใหดินและน้ำ
เสื่อมคุณภาพ สงผลกระทบทางลบตอสิ่งมีชีวิตในดินและน้ำ เปนผลใหระบบนิเวศถูกทำลายไปอยาง
ถาวร เกิดมลพิษทางดินและทลพิษทางน้ำ
43

จะเห็นไดวา มนุษยเปนตัวการหลักที่ทำใหระบบนิเวศเกิดการเสียสมดุล หากระบบนิเวศเกิด


การเสียสมดุลจนเสื่อมโทรมไปจนไมสามารถฟนฟูกลับมาเปนเหมือนเดิมได เหตุการณนี้จะสงผล
กระทบตอมนุษยโดยตรงเช่นกัน เช่น ปจจัย 4 ที่เปนพื้นฐานความตองการของมนุษยจะขาดแคลน จน
นำไปสูสภาวะการแข่งขันแยงชิง ซึ่งไมเปนผลดีทั้งตอมนุษยและระบบนิเวศ ดังนั้น มนุษยควรช่วยกัน
ดูแลรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ใหนอยที่สุดและเกิดประโยชนสูงสุด
ตอมนุษยทั้งหลาย รวมทั้งมนุษยควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและหาวิธีปองกันรักษาความสมดุลของ
ระบบนิเวศ

1.16 แนวทางการปองกันรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ
สมดุลระบบนิเวศมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและการเกิดวัฎจักรของสสารที่
หมุนเวียนในระบบนิเวศ ดังนั้น มนุษยควรหาวิธีปฏิบัติเพื่อปองกันรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ซึ่งใน
ที่นี้จะอธิบายไวหลายวิธี เพื่อใหผูอานสามารถนำไปปฏิบัติไดตามการใช้ชีวิตของตนเอง ดังนี้
1. สำรวจและเก็บข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษยนำมาใช้เปนปจจัย 4 และปจจัยเสริม
อำนวยความสะดวก ควรมีการสำรวจวาอยูที่ใดบาง มีปริมาณเทาไร เก็บเปนข้อมูลในแตละป หาก
ทรัพยากรธรรมชาติใดมีปริมาณนอยลงมาก หรือเกิดความเสื่อมโทรมเสียหายนำมาใช้ไมได หนวยงาน
ที่เกี่ยวข้องและประชาชนในพื้นที่นั้น จะตองสรางความรวมมือกันในการแก้ไขใหทรัพยากรธรรมชาติ
นั้นเพิ่มปริมาณขึ้นใหอยูในระดับเทาของเดิมหรือมากกวาของเดิม และมีแนวทางปองกันการเกิดความ
เสื่อมโทรมใหทรัพยากรธรรมชาตินั้นอยูในสภาพที่สามารถนำมาใช้ได เพื่อความสมดุลและการ
ดำรงชีวิตของมนุษย และสิ่งมีชีวิตอื่น
2. การป อ งกั น ดั ่ ง สุ ภ าษิ ต ที ่ ว  า อย า ปล อ ยให ว ั ว หาย จึ ง ล อ มคอก การดู แ ลรั ก ษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศเช่นกัน มนุษยควรตระหนักและใหความสำคัญกับ
การปองกันความเสื่อมโทรมที่จะเกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดวยวิธีการที่ถูกตอง
และเหมาะสม รวมกับความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามาบูรณาการรวมกัน
3. การลดอั ตราความเสื ่ อมสู ญ เป นแนวทางการรักษาระบบนิ เ วศ โดยใช้ ความรู  ความ
เชี่ยวชาญของบุคคลในการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ผานวิธีการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
44

เพื่อใหทรัพยากรธรรมชาติเกิดประโยชนสูงสุด แตเกิดของเสียที่ไมใช้ประโยชนใหนอยที่สุดใน
สิ่งแวดลอม
4. การใช้สิ่งที่มีคุณภาพรองลงมา เปนแนวทางในการนำสิ่งอื่นที่ใช้ประโยชนดานเดียวกัน มา
ใช้แทนสิ่งหนึ่งที่ลดปริมาณลงมากจนตองฟนฟู ถึงแมจะมีประโยชนไดไมเต็มที่ แตเปนวิธีที่ช่วยรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมนั้นไวได ทำใหมีทรัพยากรที่ใช้ประโยชนไดเพิ่มขึ้นหลากหลาย
ชนิดอีกดวย
5. การปรับปรุงคุณภาพ ดวยองค์ความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในยุคศตวรรษที่ 21
ทำใหนักวิทยาศาสตรค้นพบเทคนิคและวิธีการใหม ในการใช้ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติได
อยางชาญฉลาด และยังแก้ไขทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมใหกลับมาใช้ประโยชนไดเหมือนเดิมอีก
ดวย
6. การนำทรัพยากรอื่นมาทดแทนกัน เปนวิธีทางเลือก สำหรับการรักษาระบบนิเวศใหสมดุล
โดยทรัพยากรใดมีปริมาณมากและหาง่าย นำมาใช้ประโยชนแทนทรัพยากรที่ลดปริมาณลงจนหายาก
เช่น เทคโนโลยีน้ำมันไบโอดีเซล น้ำมันไบโอเอทานอล ทดแทน น้ำมันเชื้อเพลิง เปนตน
7. การนำกลับมาใช้ประโยชนอีก คือการนำทรัพยากรเดิมที่เปนขยะมาปรับสภาพใหสามารถ
ใช้ไดใหมอีกครั้ง เช่น ขวดแก้วที่เปนขยะ ถูกนำเข้าเครื่องหลอมแก้ว และขึ้นรูปเปนแก้วนำกลับมา
ใช้ไดใหม กระดาษที่เปนขยะ ถูกนำมาผานขั้นตอนการรีไซเคิลกลับเปนกระดาษที่ใช้ไดใหมอีกครั้ง

1.17 ประโยชนของการรักษาสมดุลระบบนิเวศ
การรักษาสมดุลของระบบนิเวศในคงสภาพเดิมนั้น ลวนเปนประโยชนตอมนุษยเองเปนหลัก
และยังเปนประโยชนตอสัตว พืช และจุลินทรียอีกดวย ณัฐญา (2562) และ ศศินา (2550) ไดอธิบาย
การรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศไววา
1. ดานการสรางแหลงที่อยูอาศัย มนุษยจำลองระบบนิเวศขึ้นมาใหมไดจากการพิจารณา
ระบบนิเวศที่มีอยูในธรรมชาติเปนตนแบบ เช่น การสรางสวนพฤกษศาสตรจากแบบอยางของอุทยาน
แหงชาติและความสัมพันธของมนุษยกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาติ แต
อย างไรตามการสร างสวนพฤกษศาสตร ด วยมนุ ษย ย อมมี ความแตกต างจากการเกิ ดขึ ้ นเองของ
ธรรมชาติ ณ อุทยานแหงชาติ
45

2. ดานการศึกษาสภาวะแวดลอมของระบบนิเวศ ลักษณะของการแสดงออกของสิ่งมีชีวิต
หรือองค์ประกอบในระบบนิเวศ จะเปนตัวบงชี้สภาพของระบบนิเวศนั้น จึงใช้เปนเครื่องบง ชี้
สภาพแวดลอมและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ณ เวลานั้นได เช่น การเจริญเติบโตอยางรวดเร็วของ
ผั ก ตบชวาในแหล ง น้ ำ ที ่ ม ี ค ุ ณ ลั ก ษณะเน า เสี ย จากการปล อ ยของเสี ย ในครั ว เรื อ นและโรงงาน
อุตสาหกรรม ทำใหผักตบชวาเจริญเติบโตปกคลุมผิวน้ำ ทำใหแสงแดดสงไมถึงน้ำดานลาง หรือ
ปรากฎการณสาหรายเจริญเติบโตมากจนผิดปกติในน้ำทะเล เกิดจากการปลอยของเสียในครัวเรือน
และโรงงานอุ ต สาหกรรม ที ่ ม ี ไ นโตรเจนและฟอสฟอรั ส ทำให น ้ ำ ทะเลมี ป ริ ม าณไนโตรเจนและ
ฟอสฟอรัสสูงเกินกวาปกติ จนทำใหสาหรายบางชนิดเจริญเติบโตอยางรวดเร็วจนผิดปกติ และเมื่อ
สาหรายเหลานี้ตายลง แบคทีเรียในน้ำทะเลจะทำการยอยสลายสารอินทรียดวยการใช้ออกซิเจน เปน
ผลใหออกซิเจนในน้ำทะเลลดลง เหตุการณเหลานี้ สงผลกระทบตอพืชน้ำและสัตวน้ำ น้ำขาดออกซิ
เจน ระบบนิเวศบริเวณนั้นเสียสมดุลและเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสียหายได
3. ดานการวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประเทศไทยเปนประเทศที่อุดมสมบูรณดาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ระบบนิเวศแตละแหลงมีความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตหลากหลาย
ชนิ ด และสิ ่ ง แวดล อ มที ่ แ ตกต า งกั น นั บ เป น สิ ่ ง ที ่ ท  า ทายสำหรั บ นั ก สิ ่ ง แวดล อ มและนั ก อนุ ร ั ก ษ
สิ่งแวดลอม ที่จะใช้วิธีการทางวิทยาศาสตรมาช่วยในการศึกษาระบบนิเวศ เรียนรูการดำรงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดในสภาพสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน เพื่อการอยูรวมกันอยางสมดุลของมนุษย
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศนั้น เพราะการวิจัยทางวิทยาศาสตร จำเปนตองใช้สิ่งมีชีวิตมา
ทดลอง เพื่อสรางเทคโนโลยีใหมใหเกิดขึ้น และเปนประโยชนตอมนุษย เช่นการใช้ลิงซิมแพนซี ที่มี
ลักษณะปรากฏและลักษณะทางพันธุกรรมใกลเคียงกับมนุษยมาทดลองในการวิจัย นักวิทยาศาสตร
จะตองมีจรรยาบรรณตระหนักถึงคุณค่าของสิ่งมีชีวิตที่นำมาช่วยในการวิจัย ไมทำใหสิ่งมีชีวิตนั้นสูญ
พันธุ และควรใช้เทคโนโลยีช่วยขยายพันธุใหกับสิ่งมีชีวิตนั้นไดกลับคืนสูธรรมชาติดวย
4. ดานการอนุรักษระบบนิเวศ เรื่องนี้เปนเรื่องที่สำคัญอยางมากสำหรับมนุษยทุกคนบนโลก
ใบนี้ ที่จะตองไดรับการปลูกฝงใหมีจิตใจที่รักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจักใช้ใหเกิด
ประโยชนสูงสุด ดวยวิธีการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ไมทำลายความสมดุลของ
ระบบนิเวศ เพราะถาระบบนิเวศเสียสมดุลเกิดความเสื่อมโทรม เกิดมลพิษสิ่งแวดลอม ยอมสงผล
กระทบทางลบตอมนุษยโดยตรงและสงผลกระทบทางลบตอสิ่งมีชีวิตที่อยูรอบตัวมนุษยทางออมดวย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศเปนหัวใจหลักในการสรางปจจัย 4 ของมนุษย หาก
46

ระบบนิเวศไมสามารถใช้ประโยชนได มนุษยจะไมมีปจจัย 4 เพียงพอตอการดำรงชีวิตและคุณภาพ


ชีวิต สภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงการเกิดภัยธรรมชาติอาจรุนแรงจนมนุษยไมสามารถควบคุมได ทำให
มนุษยเกิดการลมตาย สิ่งมีชีวิตไดรับผลกระทบอาจเกิดการสูญพันธุ หรือสิ่งแวดลอมเกิดความเสียหาย
ดังนั้นการรักษาสมดุลของระบบนิเวศไดดวยวิธีการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางชาญฉลาดจึง
เปนสิ่งสำคัญ รวมทั้งมนุษยควรมีแนวทางในการพัฒนาระบบนิเวศที่ตนเองอยูดวย
5. ดานการพักผอนหยอนใจ ธรรมชาติบำบัด เยี่ยวยาจิตใจใหกับมนุษยที่กำลังมีเรื่องทุกข์ใจ
เกิดขึ้นอยูเสมอ ธรรมชาติเปนแหลงทองเที่ยวที่ดีที่สุดในการปลดปลอยพันธนาการจากสภาวะเครียด
ที่เกิดขึ้นรอบดานในการดำรงชีวิตของมนุษย และสวนใหญเมื่อมนุษยตองการคลายเครียดมักจะออก
ทองเที่ยว ไปตามภูเขา แมน้ำ ทะเล ปาชายเลน และอุทยานแหงชาติ เพื่อไปชมทัศนียภาพที่เปน
ธรรมชาติที่สวยงาม เพื่อฟนฟูจิตใจของตนเองใหมีพลัง พรอมเผชิญกับปญหาที่เข้ามากระทบจิตใจ
และคิดหาวิธีการรับมือไดอยางเหมาะสม
47

สรุปทายบท
1. สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเอาทั้งที่มีชีวิต (biotic environment) และ
ไมมีชีวิต (abiotic environment) สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (natural environment)
สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น (man-made environment) หรืออาจมองในแง่มุมของลักษณะการมี
รู ป ทรง สิ ่ ง แวดล อ มเป น รู ป ธรรม (concrete environment) และสิ ่ ง แวดล อ มที ่ เ ป น นามธรรม
(abstract environment)
2. สิ่งแวดลอมมีความสำคัญตอการใช้ชีวิตของมนุษยคือ เปนปจจัย 4 มีอิทธิพลตอการตั้งถิ่น
ฐาน ที ่ ท ำมาหากิ น ที ่ อ ยู  อ าศั ย เป น ตั ว กำหนดลั ก ษณะการดำรงชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย รวมทั ้ ง สร า ง
ความก้ าวหน าด านวิ ชาการและการพั ฒนาประเทศให มี ความเจริ ญรุ  งเรื องและความผาสุ กของ
มนุษยชาติ
3. ประเภทของสิ่งแวดลอม สามารถแบงตามลักษณะการเกิด ลักษณะการดำรงชีวิต และ
ลักษณะการมีรูปทรงที่สามารถเห็นได โดยมีสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไมมี
ชีวิต และสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม สิ่งแวดลอมนั้นมีลักษณะ
เฉพาะตัว ทำใหมนุษยสามารถบอกไดวา สิ่งที่มนุษยเห็นคือ สิ่งแวดลอม
4. ในการศึ ก ษาด า นสิ ่ ง แวดล อ มนั ้ น สามารถจั ด แบ ง ได 4 กลุ  ม คื อ การศึ ก ษาด า น
ทรัพยากรธรรมชาติ ดานสังคมสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของมนุษย ดานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม
และดานของเสียและมลพิษสิ่งแวดลอม
5. ในแตละพื้นที่บนโลกมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน ดังนั้นสิ่งมีชีวิต
หลากหลายชนิดและสิ่งแวดลอมที่มีความสัมพันธกันอยางซับซ้อน มีการถายทอดพลังงานเปนวัฏจักร
มีการแลกเปลี่ยนสารอาหารอยางสมดุล เรียกวา ระบบนิเวศ ซึ่งมีความสำคัญตอมนุษยและสิ่งมีชีวิต
อื่นดานการเปนแหลงผลิต ดานการควบคุมความสมดุลธรรมชาติ ดานวัฒนธรรมของแตละพื้นที่ และ
ดานการสนับสนุนปจจัย 4 ของมนุษย สนับสนุนแหลงอาหารและที่อยูอาศัยใหสิ่งมีชีวิตอื่น
6. ประเภทของระบบนิเวศ สามารถจัดจำแนกตามลักษณะทางกายภาพ ได 3 ประเภทคือ
ระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศในน้ำ และระบบนิเวศเมือง หากจัดจำแนกตามลักษณะการถายเท
พลังงานและการหมุนเวียนสาร ได 3 ประเภทคือ ระบบนิเวศอิสระ ระบบนิเวศปด ระบบนิเวศเปด
7. โครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศ มี 2 สวน คือ องค์ประกอบที่ไมมีชีวิต ไดแก่ อนิ
นทรียสาร อินทรียสาร และสภาพแวดลอมทางกายภาพ และองค์ประกอบที่มีชีวิต ไดแก่ ผูผลิต
48

ผูบริโภค และผูยอยสลาย โดยสิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะมีการถายทอดพลังงานเกิดขึ้นในระบบนิเวศ


เปนไปตามกฎ 10% ของลินดแมน คือ ผูบริโภคลำดับตาง ๆ จะไดรับพลังงานไป 10% และสูญเสีย
ปลอยออกในรูปพลังงานความรอนจากกระบวนการเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิตไป 90% แตอยางไร
ตาม การถายทอดสารพิษ โลหะหนัก จะถายทอดผานหวงโซ่อาหาร โดยไมเปนไปตามกฎ 10% ของ
ลินดแมน การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ มี 2 รูปแบบคือ หวงโซ่อาหาร และสายใยอาหาร
8. ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันในระบบนิเวศ มีดังนี้ คือ ภาวะตองพึ่งพา ภาวะ
ไดประโยชนรวมกัน ภาวะเกื้อกูลกัน ภาวะปรสิต ภาวะการลาเหยื่อ ภาวะการแข่งขัน ภาวะการยอย
สลาย และภาวะเปนกลาง
9. ในระบบนิเวศ มีโอกาสเกิดการสูญเสียธาตุอาหารไปไดจาก มนุษย สัตว ลม น้ำ และการ
เกิดกระบวนการระเหิด เกิดการปรับเปลี่ยนของระบบนิเวศจากปจจัย ดังตอไปนี้ คือ การเปลี่ยนแปลง
ทางธรณีวิทยา การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอยางรุนแรง ปจจัยจากมนุษย ปจจัยจาก
สิ่งมีชีวิตอื่นและลักษณะการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตตอแหลงที่อยูอาศัย โดยการปรับเปลี่ยนของระบบ
นิเวศมี 2 รูปแบบ คือ การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นปฐมภูมิ และการปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นทุติยภูมินั้นเปน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เกิดขึ้นบอย
10. ในระบบนิเวศจะมีการแลกเปลี่ยนสสารและพลังงานเปนวัฏจักร ดังนี้คือ วัฏจักรคารบอน
วัฏจักรออกซิเจน วัฏจักรของน้ำ วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรฟอสฟอรัส และวัฏจักรกำมะถัน
11. ในปจจุบัน ศตวรรษที่ 21 สิ่งแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลงมาอยางตอเนื่อง หลังจากยุค
ปฏิวัติอุตสาหกรรม เกิดความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นวัตกรรมเพิ่มขึ้นอยางมาก
ทำใหเกิดการสูญเสียความสมดุลของระบบนิเวศไปจากเดิมอยางมาก ดวยสาเหตุจาก การเพิ่มจำนวน
ประชากร ทำใหความตองการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อปจจัย 4 เพิ่มมากขึ้น การ
พัฒนาอุตสาหกรรม การขยายตัวของชุมชนเมือง หรือการทำการเกษตรสมัยใหม
12. แนวทางปองกันรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ทำไดดังนี้ คือ สำรวจและเก็บข้อมูล การ
ปองกัน การลดอัตราความเสื่อมสูญ การใช้สิ่งที่มีคุณภาพรองลงมา การปรับปรุงคุณภาพ การนำ
ทรัพยากรอื่นมาทดแทนกัน และการนำกลับมาใช้ประโยชนอีก
การเปลี่ยนแปลงหรือทำลายระบบนิเวศทางธรรมชาตินั้น เปรียบเสมือนการทำลายปจจัยใน
การมีชีวิตรอดของมนุษยเอง
49

แบบฝกหัดทายบทที่ 1
1. สิ่งแวดลอมมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษยอยางไร จงบอกมา 2 ข้อพรอมอธิบาย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

2. บานสวนของอากงและอามาที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา มีตนไมหลากหลายชนิด เช่น ไม


ยืนตน ไมพุม ไมผล ดอกไมนานาพันธุ มีผีเสื้อ มีผึ้ง และแมลงหลากหลายชนิด มีนกมาทำรังบนตนไม
สงเสียงรองจิ๊บ ๆ กันไพเราะนาฟง มีไก่ขันยามเช้าและขันเกือบทั้งวัน มีสุนัข มีแมว มีกระรอก บน
พื้นดินมีกิ้งกือ ไสเดือน มีแปลงผักขนาดเล็กพอปลูกกินเองและแบงขายอยูข้างบาน มีบอน้ำขนาดเล็ก
ไวเก็บน้ำไวใช้ทำการเกษตร มีพื้นที่หนาบานใหเดินเลนได ขี่จักรยานได มีลมพัดเย็น มีโรงเก็บรถที่เก็บ
ไดทั้งรถยนตและรถจักรยานยนต เมื่อนองนโมตื่นมาตอนเช้าสามารถมองเห็นพระอาทิตยขึ้น ทองฟา
สดใส และตอนเย็นเห็นพระอาทิตยตกดิน มีดาวหลายดวงใหนับ นองนโมไดทานกลวยและมะพราว
จากสวนอยูบอยครั้ง อากงและอามามีความสุขกับการทำสวนปลูกผัก เพราะนอกจากจะไดกินผักที่เรา
ปลูกเองปลอดสารพิษแลว อากงและอามายังไดออกกำลังกายอีกดวย เมื่อถึงเทศกาลปใหมไทยเดือน
เมษายนของทุกป ลูกหลานจะมารดน้ำขอพรจากอากง อามา และกินข้าวรวมกัน
จากข้อความข้างตน นักศึกษาจงวิเคราะหและบอกสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ กับ สิ่งแวดลอมที่มนุษย
สรางขึ้น
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
50

3. สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นทางสังคมที่เปนนามธรรมในสังคมไทยมีอะไรบาง จงยกตัวอยางมา 5
อยาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

4. จงยกตัวอยางระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้นในจังหวัดที่นักศึกษาอาศัยอยู พรอมทั้งระบุโครงสราง
องค์ประกอบของระบบนิเวศนั้น แยกเปนองค์ประกอบที่เปนสิ่งไมมีชีวิตและองค์ประกอบที่เปน
สิ่งมีชีวิต
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
51

5. ใหนักศึกษาทำการเปรียบเทียบโครงสรางและลักษณะของระบบนิเวศตามธรรมชาติกับระบบนิเวศ
เมืองทีม่ นุษยสรางขึ้น
ลักษณะปรากฏ ระบบนิเวศตามธรรมชาติ ระบบนิเวศเมืองที่มนุษยสรางขึ้น

1. แหลงพลังงาน

2. ชนิดของก๊าซที่เกี่ยวข้อง
ในระบบ และคุณภาพอากาศ

3. รูปแบบการใช้
สารประกอบอินทรีย

4. ปริมาณสารมลพิษ

5. ความสมดุลและการ
ควบคุมสภาพ

6. การเกิดเสียง

7. การคงอยูของระบบนิเวศ

8. ความอุดมสมบูรณของดิน
และปาไม

9. คุณภาพน้ำ

10. ที่อยูอาศัยของสัตวปา
52

เอกสารอางอิง

เกษม จันทรแก้ว. (2540). วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม. โครงการสหวิทยา การพัฒนาบัณฑิตศึกษา สาขา


วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. (2557). สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต.
พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
จิ ร าภรณ คชเสนี . (2551). มนุ ษ ย ก ั บ สิ ่ ง แวดล อ ม. พิ ม พ ค รั ้ ง ที ่ 5. กรุ ง เทพฯ: สำนั ก พิ ม พ แ ห ง
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ณัฐญา อัมรินทร. (2562). พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
ลาวัณย วิจารณ. (2559). สิ่งแวดลอมศึกษา: แนวทางสูการปฏิวัติ. ปทุมธานี: สำนักพิมพมหาวิทยาลัย
รังสิต.
วิทยากร เชียงกูล. (2558). สิ่งแวดลอม-ระบบนิเวศสังคมที่ทุกคนควรรู. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแสง
ดาว จำกัด.
ศศินา ภารา. (2550). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท.
สวัสดิ์ โนนสูง. (2546). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพโอ
เดียนสโตร.
เสรี วรพงษ. (2561). สิ่งแวดลอมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารสังคมศาสตรบูรณาการ. 1(1): 170-
185.
Khanolkar, R.A., Clark, S.T., Wang, P.W., Hwang, D.M., Yau, Y.C.W., Waters, V.J. and
Guttman, D.S. (2020). Ecological Succession of Polymicrobial Communities in the
Cystic Fibrosis Airways. Msystems. 5(6): 1-16.
Mader, S.S. and Windelspecht, M. Essentials of Biology. (2562) แปลโดย อิ ศ นั น ท วิ ว ั ฒ น
รัตนบุตร, พหล โกสิยะจินดา, ระพี บุญเปลื้อง และ ณัฐพล ออนปาน. พิมพครั้งที่ 4. เลมที่ 2.
กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล อินเตอรเนชั่นแนล เอ็นเตอรไพรส แอลแอลซี.
Stiling, P. (1999). Ecology: Theories and Applications, 3 rd ed. USA: Prentice Hall, Inc.
53

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
พิทยา จารุพูนผล, ศุภชัย ปติกุลตัง และ ณรงค์ นิ่มสกุล. (2556). วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ
สิ ่ ง แวดล อ มเพื ่ อ ชี ว ิ ต [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า https://www.youtube.com/watch?v=1-
laHSypEHE วันที่สืบค้น 4 มีนาคม 2566.
ยศพรธ วรรชนะ (2566). ความรูทั่วไปเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม [ออนไลน].
แหล ง ที ่ ม า http://home.npru.ac.th/phatthaya/subjects/aj32/2500106_lesson1.pdf
วันที่สืบค้น 4 มีนาคม 2566.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2557). วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน [ออนไลน]. แหลงที่มา https://www.slideshare.net/firstpimm/ss-33302545
วันที่สืบค้น 4 มีนาคม 2566.
54
55

บทที่ 2
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับคุณภาพชีวิต

2.1 บทนำ
เหรียญมี 2 ดาน ความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจึงมีทั้งประโยชนและโทษ
ตอ มนุษย พืช สัตว ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งทางตรงและทางออม บนโลก
ใบนี้ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมมีความซับซ้อน เมื่อมนุษยนำความรูความก้าวหนา
ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม โดยมีจุดเริ่มตนจาก
มนุษยมีความอยากรู มีความสนใจในปรากฏการณธรรมชาติ ตั้งแตสมัยกรีกโรมัน นักธรรมชาติและ
นักวิทยาศาสตรพยายามเสาะแสวงหาคำตอบ โดยบูรณาการทั้งความรูทางธรรมชาติ ทางคณิตศาสตร
มาประกอบคำอธิบายปรากฏการณหลากหลายที่เกิดขึ้น มีการบันทึกไวตามผนังถ้ำ หรือหนังสัตว
เปนตน ดังนั้นความรูมากมายถูกสะสมและถายทอดตอมา ทำใหปจจุบันข้อมูลความก้าวหนาทางดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีปรากฏอยูในแหลงสืบค้นมากมาย โดยมีข้อมูลแตละยุคแตละสมัย
มีวิวัฒนาการขององค์ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีชัดเจนมากในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม
ข้อมูลความรูมีตั้งแตเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานจนถึงเทคโนโลยีขั้นสูง ในขณะเดียวกันเมื่อความก้าวหนา
ทางวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม ี เ พิ ่ ม ขึ ้ น มากมาย ซึ ่ ง วั ต ถุ ด ิ บ ที ่ น ำมาใช้ ใ นกระบวนการ คื อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหมนุษยสรางสิ่งอำนวยความสะดวกใหกับตนเอง และ
ในที่สุดความรูความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกลับเปนดาบสองคบ สงผลกระทบ
ทางลบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พืชและสัตวบางชนิดสูญพันธุ ไมมีอาหาร ไมมีที่อยู
อาศัย รวมทั้งมนุษยยังเปนผูสรางมลพิษสิ่งแวดลอม ดังนั้นมนุษยควรทำความเข้าใจในการนำ
ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุด เรียนรูวิธีการปองกันความ
เสียหายที่จะเกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันของมนุษย สิ่งมีชีวิต
ชนิดอื่น และสิ่งแวดลอมเกิดอยางสมดุล มนุษยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมไมเสื่อมโทรม
56

2.2 ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม


จากหนังสือวิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต (ทิพยวัลย, 2554) และ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม (ศศินา, 2550) ไดกลาวถึงความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม ไวดังนี้
2.2.1 ความหมายของวิทยาศาสตร
วิ ท ยาศาสตร มี ผ ู  ใ ห ค ำจำกั ด ความอยู  ห ลายท า น หากยึ ด ตามพจนานุ ก รม ฉบั บ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 วิทยาศาสตร เปนคำนาม ที่มีความหมายวา ความรูที่ไดโดยการสังเกต
และค้นควาจากปรากฏการณธรรมชาติแลวจัดเข้าเปนระเบียบ วิชาที่ศึกษาค้นควาไดหลักฐานและ
เหตุผลแลวจัดเข้าเปนระเบียบโดยแมคำของ “วิทยาศาสตร” คือ วิทยา
2.2.2 ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี มี ผ ู  ใ ห ค ำจำกั ด ความอยู  ห ลายท า น หากยึ ด ตามพจนานุ ก รม ฉบั บ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เทคโนโลยี เปนคำนาม ที่มีความหมายวา วิทยาการที่นำเอาความรู
ทางวิทยาศาสตรมาใช้ใหเกิดประโยชนในทางปฏิบัติ และอุตสาหกรรม เปนตน
2.2.3 ความหมายของนวัตกรรม
นวัตกรรม ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เปนคำนาม ที่มีความหมาย
วา การกระทำ หรือสิ่งที่ทำขึ้นใหม หรือแปลกจากเดิมซึ่งอาจจะเปนความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ
เปนตน
ดังนั้น วิทยาศาสตรจึงเปนกระบวนการที่เกิดขึ้น เพื่อเปนเครื่องมือในการสรางเทคโนโลยี
และพั ฒนาต อ ไปเป น นวั ต กรรม ซึ ่ ง กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร สามารถนำมาผสมผสานกั บ
ภูมิปญญา สำหรับการสรางเทคโนโลยีที่เปนประโยชนตอบสนองความตองการ และอำนวยความ
สะดวกต อ การดำรงชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย นอกจากนี ้ ว ิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ยั ง ช่ ว ยสนั บ สนุ น
การขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจและสังคมใหก้าวหนา เกิดธุรกิจระหวางประเทศ สรางรายไดเข้าประเทศ
ยกระดับความเปนอยูของประชากรในประเทศใหอยูดีมีสุข
2.2.4 ความสำคัญของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนการเรียนรูและเข้าใจธรรมชาติ จากนั้นคิดค้นวิธีการสราง
เครื ่ อ งมื อ มาใช้ ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย ใ ห ด ี ข ึ ้ น โดยกระบวนการหลากหลายทาง
วิทยาศาสตร จึงเปนการนำเอาความรูมาใช้เปนเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำ กำจัดความ
57

ยากลำบากในการใช้ชีวิต ลดความเหนื่อยจากการทำงานจากการใช้แรงงาน ลดตนทุนการผลิต เวลา


ทรัพยากรใหใช้นอยแตเกิดประโยชนมากที่สุด เพื่อใหมนุษยมีสุขภาพกาย สุขภาพใจ และคุณภาพชีวิต
ที่ดีขึ้น มีเวลาพักผอนหยอนใจ ไมเจ็บปวย และสามารถทำประโยชนไดในระยะเวลาที่เหมาะสม
ไมลาช้าเกินไป ดังนั้น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีความสำคัญ คือ
1. สนับสนุนปจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิตเพื่ออำนวยความสะดวก
เมื่อมนุษยมีสมองที่มีหนวยความจำและมีความคิด ความรูสึกที่เหนือกวาสิ่งมีชีวิตอื่น
ทำให มนุ ษย เ ข้ า ใจกระบวนการในธรรมชาติ สิ ่ ง ต า ง ๆ รอบตั ว โดยใช้ กระบวนการขั ้ นตอนทาง
วิทยาศาสตร เมื่อเกิดคำถาม หรือปญหาในการดำเนินชีวิต มนุษยสามารถใช้ความคิดในการแก้ไข
ปญหา ดวยการนำเครื่องมือทางวิทยาศาสตรมาสรางเทคโนโลยีในการแก้ไขปญหา ตั้งแตประเทศไทย
จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมีทิศทางเนนเรื่อง
เศรษฐกิจเปนหลัก เช่น จากสังคมเกษตรกรรม ถูกเปลี่ยนเปนสังคมอุตสาหกรรม จากสังคมชนบท
ถูกเปลี่ยนเปนสังคมเมือง อดีตหุงข้าวเช็ดน้ำดวยหวด ปจจุบันหุงข้าวดวยหมอหุงข้าวไฟฟา อดีตใช้
มาลากเกวียนในการเดินทาง ปจจุบันใช้รถเผาไหมน้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางไกล อดีตวัสดุก่อสราง
ทำดวยไมยกเสาสูง ปจจุบันวัสดุก่อสรางทำดวยปูน เหล็ก คอนกรีต เปนตน
2. พื้นฐานความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนรากฐานของความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดลอม
มนุ ษ ย ส ามารถนำความรู  ท างวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี มาใช้ ใ ห เ กิ ด ประโยชน
เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอยางยั่งยืน เพื่อสรางความก้าวหนาของเทคโนโลยี และ
นวัตกรรม เพื่อสรางมูลค่าเพิ่ม สรางคุณค่า แตละสาขา นำมาซึ่งการวางแผนและการปรับตัวตอความ
เปลี่ยนแปลงและกีดกันทางการค้า เพื่อ
2.1 ยกระดับความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ เริ่มจากการจัดการ
วัตถุดิบ กระบวนการผลิต การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในการควบคุมตลอดสายการผลิตและ
บริการ
2.2 การสรางมูลค่าเพิ่มใหแก่สินค้าและบริการ เทคโนโลยีที่นำมาใช้จะช่วยยกระดับ
ผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล รวมทั้งการบริหารจัดการ
ของเหลือทิ้งของเสียจากกระบวนการ เพื่อรองรับเศรษฐกิจสีเขียว
58

2.3 การใช้ พ ื ้ น ที ่ ก ารเกษตรอย า งคุ ้ ม ค่ า เพิ ่ ม คุ ณ ภาพและผลผลิ ต ทางการเกษตร


อยางเหมาะสมและยั่งยืน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งนวัตกรรมการสรางชุดตรวจสอบรวดเร็ว
เช่น การตรวจเชื้อไวรัสและแบคทีเรียในกุ้ง การตรวจสอบดีเอ็นเอของพืชเพื่อการปรับปรุงพันธุ
เปนตน
2.4 ยกระดับและพัฒนาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตภัณฑชิ้นสวนรถ เทคโนโลยี
เชื้อเพลิง พลังงานสะอาด และภาคอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ รวมทั้งอุตสาหกรรม
คอมพิวเตอรและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. เปนปจจัยหลักที่จะมีสวนรวมในการพัฒนา
การพั ฒ นาด า นการศึ ก ษา ด า นการเกษตร ด า นอุ ต สาหกรรม การแพทย การขนส ง
ยานพาหนะ พลังงานและสิ่งแวดลอม โภชนาการอาหาร วิศวกรรมศาสตร การสรางที่อยูอาศัย
โบราณสถาน ศึกษาศาสตร เทคโนโลยีชีวภาพ สังคมศาสตร เสื้อผาและสิ่งทอ วัสดุศาสตร พลาสติก
ชีวภาพ คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารระหวางประเทศ ดาราศาสตรและอวกาศ
เทคโนโลยีนิวเคลียรและรังสี ลวนแลวแตตองใช้ความรูกระบวนการทางวิทยาศาสตร มาเปนเครื่องมือ
ในการสรางเทคโนโลยี อำนวยความสะดวกใหแก่มนุษย ดังที่กลาวมาข้างตน และอาจมีผูที่มีความคิด
สรางสรรค์สามารถสรางนวัตกรรมใหมที่เปนประโยชนแก่มนุษยและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เช่น
การปรับปรุงพันธุพืช และปรับปรุงพันธุสัตว ดวยเทคโนโลยีชีวภาพ เพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณค่าทาง
โภชนาการ และไม เ ป น อั น ตรายต อ สุ ข ภาพของมนุ ษ ย การใช้ ร ะบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
การติ ดต อสื ่ อสารไร พรมแดน เพื ่ อการติ ดต อทางการค้ า การทำธุ รกิ จระหว างประเทศ เป นต น
การพัฒนาประเทศที่อยูบนพื้นฐานของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะช่วยใหประเทศมีความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม
4. เปนเรื่องราวการเรียนรูของมนุษยและธรรมชาติ
มนุษยดำเนินชีวิตจากการเรียนรูธรรมชาติและนำธรรมชาติมาใช้ประโยชนที่หลากหลาย
ด ว ยสติ ป  ญ ญา การสั ง เกต การลองผิ ด ลองถู ก และประสบการณ ทำให ส ิ ่ ง แวดล อ มเกิ ด การ
เปลี่ยนแปลงไปดวย จนบางครั้งการนำธรรมชาติมาใช้ กลับสรางปญหาสิ่งแวดลอมขึ้น มนุษยจึงตอง
หาวิธีแก้ไขปรับปรุงดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรรวมกับการสรางเทคโนโลยีมาเปนเครื่องมือช่วย
ตัวอยางเช่น เทคโนโลยีการก่อสรางพีระมิด ในประเทศอียิปต ซึ่งเปนที่เก็บศพของกษัตริยฟาโรห
59

ภาพที่ 2.1 พีระมิด สุสานกษัตริยฟาโรหในประเทศอียิปต


มาจาก: https://lib.nbtc.go.th/news/detail/669

หลุมศพทำดวยโคลนรูปทรงเหมือนอิฐ ลักษณะแบนราบ สรางอยูหางไกลจากการไหลผานของน้ำจาก


แม น ้ ำ ไนล ยุ ค สมั ย ต อ มา หลุ ม ศพถู ก เปลี ่ ย นจากโคลนเป น หิ น แทน และวางเป น ชั ้ น ๆ จนมี
การพัฒนาเรื่อยมา รวมทั้งกระบวนการทำมัมมี่ เมื่อ 3500 ปที่แลว (ภาพที่ 2.1)

2.3 องค์ประกอบของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี เปนสิ่งที่ไดมาจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่ถูกสรางขึ้นเปนรูปธรรม ซึ่ง
ทิพยวัลย (2554) ไดอธิบายเกี่ยวกับ องค์ประกอบของเทคโนโลยี และประเภทของเทคโนโลยีไววา
องค์ประกอบของเทคโนโลยีมี 2 สวน คือ ซอฟตแวร และฮารดแวร
1. ซอฟตแวร (software) เปนสวนของหลักการ ทฤษฎี ข้อเท็จจริง ที่ไดมาจากกระบวนการ
วิธีทางวิทยาศาสตร ซึ่งเปนนามธรรม มองเห็นภาพที่ชัดเจนยาก จึงเปนเทคโนโลยีในรูปแบบของ
วิธีการ กระบวนการที่หลากหลาย ความรูและกลไกการทำงานของเทคโนโลยี เช่น การทดลอง
การวิจัย การค้นพบปรากกการณทางธรรมชาติ ซึ่งคือความรูทางวิทยาศาสตรในสาขาวิชาหลายแขนง
ที ่ ม ี ก ารศึ ก ษาตั ้ ง แต อ ดี ต จนถึ ง ป จ จุ บ ั น เช่ น พิ ช ญ และ ดาวจรั ส (2561) ได น ำเสนองานวิ จั ย
การผลิ ต ปุ  ย หมั ก มู ล ไส เ ดื อ นดิ น จากวั ส ดุ อ ิ น ทรี ย  เ หลื อ ทิ ้ ง ใช้ ห ลั ก การการเลี ย นแบบธรรมชาติ
ความเปนอยู การกินอาหาร การผสมพันธุ การขับถายของไสเดือนดิน มาใช้ในกระบวนการผลิตปุย
หมักที่มีคุณภาพสูง มีธาตุอาหารที่พืชสามารถนำไปใช้ไดสูง เมื่อเทียบกับกระบวนการผลิตปุยหมัก
วิธีอื่น
60

2. ฮารดแวร (hardware) เปนสวนของการสรางเครื่องมือทางเทคโนโลยี ซึ่งเปนรูปธรรม


มองเห็นภาพไดชัดเจน มนุษยสรางขึ้น เพื่อสนับสนุนการใช้ชีวิตที่ดีขึ้น การทำงานที่รวดเร็วและ
แมนยำ สามารถใช้เทคโนโลยีที่เปนเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติใหเปนผลิตภัณฑ
ที่ตองการตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร รวมทั้งเครื่องมือสามารถตอยอดสรางองค์ความรูใหม
พัฒนาเทคโนโลยีใหก้าวหนา เปนนวัตกรรม เช่น อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร โรงงาน เปนตน
กรณีศึกษา เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม ฮารดแวร คือ เครื่องตีน้ำ
หรือกังหันน้ำ บอบำบัดน้ำเสีย ในขณะที่ ซอฟตแวร คือ วิธีการทางกายภาพ ทางเคมี หรือการใช้
จุลินทรีย แบคทีเรียหรือยีสต มาช่วยในการดูดซับของเสีย สารแขวนลอยที่ปนเปอนในน้ำเสีย รวมกับ
การใช้กังหันน้ำตีน้ำเพิ่มออกซิเจนในน้ำ

2.4 ประเภทของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี ถูกจัดจำแนกออกเปนกลุม ดังนี้ คือ
1. เทคโนโลยีพื้นฐาน เปนเทคโนโลยีที่อาศัยความรูพื้นฐานทางวิทยาศาสตรทางกายภาพ
และชีวภาพ ช่วยในการสรางสิ่งอำนวยความสะดวกใหกับมนุษยดานปจจัย 4 เช่น หมอหุงข้าวไฟฟา
การแปรรูปอาหาร การถนอมอาหาร มีด จอบ เสียม ไห ไซจับปลา สมุนไพรไทยรักษาโรค เรือพาย
(ภาพที่ 2.2)

ภาพที่ 2.2 เรือพาย


มาจาก: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php
?book=39&chap=3&page=t39-3-infodetail04.html
61

2. เทคโนโลยีอาหารและการแปรรูป เปนเทคโนโลยีที่สรางขึ้นมาเพื่อรองรับการผลิตอาหาร
ใหเพียงพอตอความตองการของมนุษยที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น และทำใหสุขภาพกายและสุขภาพใจของ
มนุษยมีความสมบูรณแข็งแรง ไมเจ็บปวยง่าย พรอมทำงาน สูเชื้อโรคที่อุบัติใหม เช่น อาหารสะอาด
ปลอดเชื้อโรค ฮอรโมนเทียม หรือยาปฏิชีวนะในผลิตภัณฑ อาหารที่มีโพรไบโอติก เช่น ข้าวหมาก
(ภาพที่ 2.3) แหนมเห็ด อาหารที่ลดอาการแพ เปนตน

ภาพที่ 2.3 ข้าวหมากจากภูมิปญญาไทย อาหารที่มีโพรไบโอติก

3. เทคโนโลยีชีวภาพ เปนเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ตั้งแตระดับเทคโนโลยีขั้นตน จนถึง


เทคโนโลยีขั้นสูง และเทคโนโลยีใหม เช่น เทคโนโลยีการหมักในอุตสาหกรรม เทคโนโลยีการผลิต
แอลกอออล เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุพืช พันธุสัตว เทคโนโลยี
การตัดตอยีนทางพันธุกรรมพืชใหตานทางตอโรคและแมลงศัตรูพืช (ภาพที่ 2.4) เทคโนโลยีพลังงาน
จากจุลินทรีย เทคโนโลยีเหลานี้ช่วยเพื่อเพิ่มผลผลิตที่มีคุณภาพ
62

ภาพที่ 2.4 การตัดตอยีนเพื่อปรับปรุงพันธุพืชใหตานทานหนอนศัตรูพืช


ดัดแปลงจาก: http://jamessmo.blogspot.com/2018/10/blog-post.html

4. เทคโนโลยี ช ี ว ภาพทางการแพทย เป น เทคโนโลยี ท ี เ กี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย ด า นสุ ข ภาพ


การรักษาโรค และการปองกันโรค เช่น เทคโนโลยีการผลิตวัคซีนปองกันไวรัสโควิด-19 เทคโนโลยี
การมีบุตรสำหรับผูมีบุตร เทคโนโลยีการผลิตยาปฏิชีวนะ เทคโนโลยีการรักษาโรคมะเร็ง การแพทย
แผนไทยและการประยุกต เทคโนโลยีการผาตัดดวยกลอง และคอมพิวเตอร เทคโนโลยีรังสีเทคนิค
เปนตน
5. เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร สารสนเทศและดาวเทียม เปนเทคโนโลยีที่สราง
เครื่องใช้ไฟฟา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนระบบสื่อสารโทรคมนาคม
แบบไรพรมแดน สมารทโฟน อินเตอรเน็ต เทคโนโลยียานยนตไฟฟา เทคโนโลยีวัสดุอิเล็กทรอนิกส
เทคโนโลยี ร ะบบสารสนเทศทางภู ม ิ ศ าสตร (GIS) เทคโนโลยี ก ารวิ เ คราะห ข ้ อ มู ล เพื ่ อ สำรวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่ทำการเกษตร พื้นที่ปาไม เทคโนโลยีแบตเตอรี่ แอปพลิเคชันแผนที่ค้นหา
เสนทางเดินทาง หุนยนตอัจฉริยะ (ภาพที่ 2.5) เทคโนโลยีปญญาประดิษฐ (AI) เปนตน
63

ภาพที่ 2.5 หุนยนตอัจฉริยะเสิรฟ อาหารในราน


มาจาก: https://news.thaiware.com/7822.html

6. เทคโนโลยีโลหะวัสดุและยานยนต เปนเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ 2 ประเภท คือ


วั สดุ โครงสร าง เหล็ กกล า โลหะผสม เซรามิ ก เป นต น กั บวั สดุ ใช้ งานเฉพาะ เซลล แสงอาทิ ตย
วัสดุตัวนำ เซ็นเซอร เปนตน
7. เทคโนโลยีพลังงาน ยานยนตและสิ่งแวดลอม เปนเทคโนโลยีที่คิดค้นขึ้นเพื่อการอนุรักษ
บริหารจัดการ การนำกลับมาใช้ใหม การจัดการของเสีย การผลิตพลังงานจากชีวมวล ไบโอเอทานอล
ไบโอดีเซล พลังงานไฟฟาชีวภาพ (ภาพที่ 2.6) วัสดุทางการเกษตรของประเทศไทย พลังงานทางเลือก
และพลังงานสะอาด เปนตน
64

ภาพที่ 2.6 พลังงานไฟฟาชีวภาพ


มาจาก: https://sites.google.com/site/bioenergynaka/phlangngan-haeng-
xnakht/phlangngan-chiwphaph-bio-energy

2.5 คุณลักษณะของเทคโนโลยีที่ดี
ในยุค 5G ปฏิเสธไมไดวาเทคโนโลยีไดเข้ามามีบทบาทตอการใช้ชีวิตของมนุษยอยางมาก
หากจะยกตัวอยางเทคโนโลยีที่เห็นไดเดนชัดมาก คือ สมารทโฟน ซึ่งเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่
อำนวยความสะดวกดานการติดตอสื่อสาร แตหากนำไปใช้ไมถูกตองหรือไมเหมาะกับช่วงอายุทำให
เกิดผลเสียได ดังนั้นผูเขียนไดพิจารณาและวิเคราะหคุณลักษณะของเทคโนโลยีที่ดีควรเปนดังนี้
1. เทคโนโลยีที่มนุษยสรางขึ้นตองมีประโยชนในการดำรงชีวิตของมนุษย อำนวยความสะดวก
เปนสวนหนึ่งของบุคคลหรือสังคม
2. เทคโนโลยีตองไมทำลายสิ่งมีชีวิตใด ไมกระทบสิ่งแวดลอม หรือไมก่อใหเกิดมลพิษ
สิ่งแวดลอม
3. เทคโนโลยีจะตองสนับสนุนคุณภาพชีวิตความเปนอยู สุขอนามัยของมนุษยใหดีขึ้น
65

4. เทคโนโลยีสามารถสนับสนุนดานเศรษฐกิจ การค้าขาย การติดตอธุรกิจระหวางประเทศ


รวมทัง้ ตอยอดการผลิตภาคอุตสาหกรรมดวยเทคโนโลยีใหมไดอยางตอเนื่อง
5. เทคโนโลยี ท ี ่ ด ี ควรสร า งให เ หมาะสมกั บ ช่ ว งอายุ แ ละมี ค ำอธิ บ ายวิ ธ ี ใ ช้ ใ ห ถ ู ก ต อ ง
ตอการนำมาใช้งาน

2.6 งานวิจัยที่เกิดจากความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในยุคศตวรรษที่ 21
ศตวรรษที่ 21 มนุษยพยายามใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อคิดค้นเทคโนโลยีและสราง
นวัตกรรม มาช่วยแก้ปญหาที่เกิดขึ้นในการดำรงชีวิต รวมทั้งแก้ปญหาที่ตนเองสนใจอยากหาคำตอบ
เพราะเหตุนี้จึงเกิดความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในหลากหลายดาน ในที่นี้จะขอ
ยกตัวอยางเทคโนโลยีอาหารและการแปรรูป เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีทางการแพทย เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส และ เทคโนโลยีพลังงาน อธิบายจากงานวิจัยดังนี้
2.6.1 เทคโนโลยีอาหารและการแปรรูป
ปจจุบันโพรไบโอติก เปนที่รูจักในนามของจุลินทรียที่มีประโยชนตอลำไส ช่วยในกระบวนการ
ยอยและการขับถายของเสียของมนุษย โพรไบโอติกไดรับความสนใจในการศึกษาและวิจัยกันอยาง
แพรหลายทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ เพื่อสรางผลิตภัณฑที่มีโพรไบโอติกเปนสวนผสมออกมา
วางจำหนายตามทองตลาดในหลากหลายรูปแบบสำหรับการดูแลสุขภาพของมนุษย เช่น นมเปรี้ยว
โยเกิรต เปนตน สำหรับประเทศไทย มีอาหารที่มีโพรไบโอติกเปนสวนผสมอยูหลายชนิดซึ่งเปน
กรรมวิธีจากภูมิปญญาทองถิ่น เช่น ข้าวหมาก สาโท ไวนไทย ผักดอง ไสกรอกอีสาน แหนม เปนตน
โพรไบโอติกเปนกลุมของจุลินทรีย Lactobacilli (Lactic acid bacteria, LAB) ประโยชนของโพร
ไบโอติก คือ ช่วยรักษาและปองกันโรคอุจจาระรวงที่เกิดจากเชื้อจุลินทรียก่อโรคทางเดินอาหาร ช่วย
ลดความดันโลหิต ปจจุบันมีนักวิจัย ใหความสนใจเชื้อ Lactobacillus helveticus พบวา นมที่หมัก
ดวย L. helveticus มีสารแลคโตไตรเปปไทดคือเปปไทดที่พบในนมเปรี้ยว มี 2 ชนิด ไดแก่ valine-
prolineproline (VPP) และ isoleucine-proline-proline (IPP) ซึ่งเกิดจากโปรตีนเคซีนในนมที่ผาน
กระบวนการหมักดวยจุลินทรีย L. helveticus มีการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตรสุขภาพ หลาย
งานวิ จ ั ย ที ่ พ บประโยชน ว  า มี ค ุ ณ สมบั ต ิ ใ นการลดความดั น โลหิ ต โดยออกฤทธิ ์ ย ั บ ยั ้ ง เอนไซม
angiotensin-converting enzyme (ACE inhibitor) สงผลใหความดันโลหิตลดลง (สุภัจฉรา, 2557)
ดวยความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้นดวยนาโนเทคโนโลยี จนเกิดนวัตกรรม
66

ดานการรักษาสภาพของแบคทีเรียโพรไบโอติกดวยการหอหุมเซลลแบคทีเรียเอาไวดวยเทคนิคที่
เรียกวา เอนแคปซูเลชัน เพื่อใหโพรไบโอติกมีอัตราการรอดชีวิตมากขึ้นเมื่ออยูในผลิตภัณฑอาหาร
ในงานวิจัยของ สุภัสสร ละคณะ (2562) ไดใช้วัสดุที่สามารถรับประทานไดเปนพอลิเมอรคือ เพคติน
และโซเดียมอัลจิเนต มาหอหุมโพรไบโอติกไวและเติมลงในน้ำแครอท แลวเก็บไวในอุณหภูมิ 4 องศา
เซลเซียส งานวิจัยนี้พบวา แบคทีเรียโพรไบโอติกที่หอหุมเซลลไวมีจำนวนลดลงนอยกวา แบคทีเรีย
โพรไบโอติกที่ไมหอหุมเซลลไวอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ ทำใหแบคทีเรียโพรไบโอติกที่หอหุมเซลลไว
มีอัตราการรอดชีวิตสูง เปนวิธีการในการเพิ่มประสิทธิภาพของแบคทีเรียโพรไบโอติกสำหรับดูแล
สุขภาพของผูบริโภค และวัสดุที่ใช้ยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมคือยอยสลายไดในสภาพธรรมชาติอีกดวย
2.6.2 เทคโนโลยีชีวภาพ
งานวิจัยดานนี้มีความหมากหลายมาก ในทีนี้ขอยกตัวอยาง การศึกษาบทบาทหนาที่ของ
โปรตีนชื่อ Znf1 ในยีสต Saccharomyces cerevisiae ตอการควบคุมการแสดงออกของยีนทั้งจีโนม
ในสภาวะที่มีอาหารจำกัด กลูโคสไมเพียงพอตอการสรางพลังงานในกับเซลล ดวยวิธีการทางอณู
โมเลกุลวิเคราะหดีเอ็นเอ และศึกษาโครงสรางของไมโทคอนเดรียดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน
งานวิจัยนี้พบวา ภายใตสภาวะที่มีกลูโคสนอย Znf1 สามารถควบคุมกลุมยีนทั้งจีโนม ดังนี้ คือ มีกลุม
ยีนที่แสดงออกและทำงานได และกลุมยีนที่ไมสามารถแสดงออกและทำงานไมได ดังนั้นประโยชนของ
การศึกษาการทำงานของโปรตีนที่ควบคุมการแสดงออกของยีนทั้งจีโนมนี้ จะช่วยในการวิเคราะห
หายาตัวใหมในการควบคุมการเกิดโรคแทรกซ้อนจากยีสตก่อโรคสายพันธุ Candida ที่ตรวจพบ
ในผู  ป  ว ยเอดส แ ละผู  ป  ว ยโรคอื ่ น โดยใช้ ว ิ ธ ี ก ารจำลองสภาวะที ่ ย ี ส ต ก ่ อ โรคสายพั น ธุ  Candida
จะสามารถเจริญเติบโตไดดี เพื่อพิจารณาวามีโปรตีนหรือยีนตัวไหนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรครุนแรง
ที่สุด และคิดค้นตัวยาใหมในการจับกับโปรตีนหรือยีนตัวนั้น เพื่อลดความรุนแรงของอาการเกิดโรค
ในผูปวยตอไป รวมทั้งผูวิจัยยังไดสรางระบบฐานข้อมูลของโปรตีนกลุมที่ควบคุมการแสดงออก
ของยี น ทั ้ ง จี โ นมเฉพาะที ่ เ รี ก ว า Zinc cluster ในยี ส ต S. Cerevisiae และ Candida
ดวยการบูรณาการศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อประโยชนในการสืบค้นข้อมูลตาง ๆ ไดง่าย
และรวดเร็ว สำหรับการวิจัยตอเนื่องในการศึกษาวิเคราะหดานการแพทยตอไป (Tangsombatvichit
et al., 2015 และ Tangsombatvichit et al., 2018)
67

2.6.3 เทคโนโลยีทางการแพทย
ความเจ็บปวยเปนอาการที่เกิดมากขึ้นในยุคปจจุบัน เมื่อพิจารณาแลว สาเหตุสวนใหญมา
จากการใช้ชีวิตของมนุษย อาหารการกิน การเดิน นั่ง นอน การทำงานที่ตองนั่งอยูหนาคอมพิวเตอร
เป น เวลานาน เป น ต น สาเหตุ เ หล า นี ้ ก ่ อ ให เ กิ ด โรคที ่ ไ ม ต ิ ด ต อ แต เ กิ ด อาการเรื ้ อ รั ง (non-
communicable diseases: NCD) รวมไปถึง โรคมะเร็งที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดทั้งเพศชายและเพศหญิง
ที่นี้จะขออธิบายโรคมะเร็งปากมดลูกในเพศหญิง อธิบายไวโดย บุคลากรของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร
ในกรุงเทพ (2566) และ พญ.ชลัยธรและศ.นพ.จตุพล (2566) พบวา มีผูปวยเพศหญิงที่มารักษาดวย
โรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นในแตละป ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยเทคโนโลยีที่
เรียกวา co-testing ซึ่งเปนชุดตรวจหาเชื้อ human papilloma virus (HPV) ที่มีโอกาสเกิดขึ้นที่ปาก
มดลูกรวมกับการตรวจ cervical cytology เปนวิธีที่สามารถตรวจคัดกรอกมะเร็งปากมดลูกในเพศ
หญิงที่นิยมในปจจุบันและราคาไมสูงมาก โดยอายุของผูที่ควรรับการตรวจคัดกรอกคือ เพศหญิงอายุ
25 ปขึ้นไป ควรไดรับการตรวจคัดกรองทุกป เพื่อปองกันการเกิดหรือมีแนวโนมจะเปนมะเร็งปาก
มดลูก จะไดรับคำแนะนำจากแพทย รักษาอาการไดทันที
2.6.4 เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส
ยุคศตวรรษที่ 21 ทั่วโลกกำลังเผชิญกับปญหาสังคมผูสูงอายุ รวมทั้งในประเทศไทยดวย
โครงสรางความสัมพันธในครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลงจากครอบครัวใหญ กลายมาเปนครอบครัว
เดี่ยวที่มีแค่พอ แม และลูก ทำใหผูสูงอายุในครอบครัวขาดผูดูแล การนำเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสมา
บูรณาการรวมกับเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ (AI) เกิดเปนหุนยนต ซึ่งเปนนวัตกรรมหนึ่งในการดูแล
ผูสูงอายุ ดินสอ เปนชื่อหุนยนตอยูเปนเพื่อนผูสูงอายุที่ผลิตขึ้นโดยคนไทย ดินสอ สามารถชวนทำ
กิจกรรมมากมาย คอยเตือนและใหบริการผูสูงอายุ แตละทานแตกตางกันไปตามความชอบของแตละ
ทานได กรณีผูสูงอายุหายไปจากหอง หรือไมมีการเคลื่อนที่นานจนผิดปกติตามเวลาที่ตั้งไว ดินสอ
จะแจ้งเตือนไปยังสมารทโฟนของลูกหลาน และผูดูแลระบบผาน mobile application (บริษัท ซีที
เอเชีย โรโบติกส จำกัด, 2566) สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมไดที่เว็บไซด https://www.dinsow.com/
dinsow-mini-eldery-care-robot/
2.6.5 เทคโนโลยีพลังงาน
ในขณะที่น้ำมันเชื้อเพลิงกลายเปนปจจัยที่จำเปนตอการดำรงชีวิตของมนุษย มีความตองการ
ใช้มากขึ้นเรื่อย ๆ แบบทวีคูณ สวนปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงกลับมีจำนวนจำกัดและลดลง เพราะ
68

ฟอสซิลตองใช้เวลายาวนานมาก กวาจะไดเปนน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ เมื่อเกิดปญหาวิกฤตขาด


แคลนน้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง จึ ง เกิ ด การค้ น คว า วิ จ ั ย เพื ่ อ หาสิ ่ ง อื ่ น มาทดแทนน้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง
ดวยพระอัจฉริยภาพของในหลวงรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงผลกระทบของการขาดแคลน
น้ำมันเชื้อเพลิงในอนาคตระยะยาว ทรงใหแนวทางกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ในการใช้วัสดุทางการเกษตรที่มีปริมาณมากในประเทศเกษตรกรรมอยางประเทศไทย มาแปรสภาพ
และใช้ เ ทคโนโลยี ท ี ่ เ หมาะสมในการผลิ ต น้ ำ มั น เชื ้ อ เพลิ ง ในรู ป ไบโอเอทานอล ไบโอดี เ ซล
และไบโอแก๊ส ซึ่งวัตถุดิบเริ่มตนมาจากการเกษตรและปศุสัตว และมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาน้ำมัน
เชื้อเพลิงจากวัสดุธรรมชาติมาอยางตอเนื่อง ทำใหประเทศไทยมีน้ำมันเชื้อเพลิงใช้อยางเพียงพอ
ไมขาดแคลน ในงานวิจัยของ Vasic K et al. (2021) ไดเสนอวิธีการใช้เอนไซมที่คัดแยกไดจาก
จุลินทรียซึ่งมีคุณสมบัติทนความรอนไดดี มาใช้ในขั้นตอนการตัดยอยโครงสรางของพืชหรือสาหราย
ใหมีโมเลกุลเล็กลง จนไดเปนน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ซึ่งเปนแนวทางที่ไดน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจำนวน
มากกวาวิธีการอื่น โดยเอนไซมสามารถตัดยอยโครงสรางของพืชหรือสาหรายไดเกือบทุกชนิดใหเปน
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ตอจากนั้นจึงเข้าสูขั้นตอนการหมักดวยจุลินทรียประเภทยีสต ที่ทำหนาที่เปลี่ยน
น้ำตาลใหเปนแอลกอฮอล และผานการกลั่นจนไดเปนไบโอเอทานอล

2.7 วิวัฒนาการของเทคโนโลยี
วิ ท ยาศาสตร ม ี ค วามแตกต า งจากเทคโนโลยี ในส ว นของเป า หมาย (goal) และวิ ธ ี ก าร
(methodology) เพราะวิทยาศาสตรคือการศึกษาปรากฏการณธรรมชาติดวยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร ในขณะที่เทคโนโลยีเปนการนำความรูพื้นฐานทางวิทยาศาสตรมาใช้ในการปฏิบัตจิ ริง
เช่น การออกแบบผลิตภัณฑยอยสลายไดเพื่อแก้ปญหาขยะพลาสติก จากหนังสือวิทยาศาสตรเพื่อ
คุณภาพชีวิต (ทิพยวัลย, 2554) และ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ศศินา, 2550) ไดอธิบาย
วิวัฒนาการของเทคโนโลยี ประโยชนของความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการจัด
จำแนกช่วงวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ไว โดยผูเขียนขอสรุปความสัมพันธ ไวดังนี้
1. เทคโนโลยี เกิ ดจากการใช้ ความรู  พื ้ นฐานทางวิ ทยาศาสตร คื อมี ความรู  ที ่ สั งเกตจาก
ปรากฎการณธรรมชาติ แลวเข้าสูกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อหาคำตอบตามที่มนุษยมีข้อสงสัย
ไดแก่ การสังเกต การตั้งสมมติฐาน รวบรวมข้อมูล การวางแผนการทดลอง วิเคราะหการทดลอง และ
69

สรุปผลการทดลอง ซึ่งเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการหาคำตอบเพื่ออธิบายปรากฎการณ
ธรรมชาติ คำตอบที่ได จะเปนกฎเกณฑทางทฤษฎี
2. การประยุกตความรูทางวิทยาศาสตรมาใช้ในการสรางเทคโนโลยีนั้น มีจุดประสงค์เพื่อ
แก้ปญหาการดำรงชีวิตของมนุษย เทคโนโลยีเริ่มจากปญหาหรือความตองการของมนุษยเพื่อสรางสิ่ง
อำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวัน ผานกระบวนการทางวิทยาศาสตร เพื่อหาวิธีการแก้ไข
ปญหา โดยใช้ทรัพยากร ทักษะ และความรูหลายดานประกอบกัน สำหรับปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ
นั้นตามกระบวนการทางเทคโนโลยี เช่น การออกแบบการจ่ายเงินดวยระบบสแกนคิวอารโค๊ดโดยไม
ตองจับเงินจากธนบัตร เพื่อลดโอกาสการสัมผัสสิ่งสกปรกโดยตรงจากธนบัตร
2.7.1 ประโยชนของความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ในปจจุบันมนุษยมีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายที่เข้ามามีบทบาทตอการดำเนินชีวิต
เมื่อเปรียบเทียบสิ่งอำนวยความสะดวกระหวางปจจุบันกับอดีต จะเห็นไดวา ปจจุบันมีสิ่งอำนวยความ
สะดวกเกิดขึ้นมากมาย ดวยการคิดค้นและทดลองผานกระบวนการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
จึงเกิดประโยชนตอมนุษยในหลากหลายดาน ดังนี้
1. ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษยใหดีขึ้น
2. ช่วยพัฒนาศิลปะ วัฒนธรรม ทำนุบำรุงโบราณสถาน โบราณวัตถุ และอารยธรรมที่แสดง
ความเปนชาติทางออมดวยเทคโนโลยีบูรณะฟนฟูแบบไมทำลาย
3. ช่วยใหการใช้ชีวิตของมนุษยมีความสะดวกสบายขึ้น
4. ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมอละความเปนอยู
5. ช่วยใหมนุษยก้าวทันกัน
6. ช่วยประหยัดเวลาในการใช้ชีวิตและการทำงาน
7. ช่วยใหมนุษยมีอายุยืนยาว สุขภาพดีขึ้น
8. ช่วยใหการติดตอธุรกิจการค้า เปนไปดวยความสะดวกสบาย ไมติดขัด และรวดเร็ว
70

2.7.2 การจัดจำแนกช่วงวิวัฒนาการของเทคโนโลยี
ในอดีตมนุษยมีวิวัฒนาการทางดานรางกาย วิวัฒนาการดานการดำรงชีวิต มนุษยเปน
สิ่งมีชีวิตที่มีสมองใหญที่สุดเมื่อเทียบกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น มนุษยจึงพยายามคิดค้นวัสดุอุปกรณ มาช่วย
ในการดำรงชีวิต มนุษยไดทำการบันทึกกิจกรรมในการดำรงชีวิต จึงมีหลักฐานของวิวัฒนาการ
เทคโนโลยีที่มนุษยเปนผูสรางขึ้น จากข้อมูลที่มีบันทึกไว สามารถแบงช่วงวิวัฒนาการของเทคโนโลยี
เปนยุคตางๆ ไดดังนี้

ภาพที่ 2.7 วิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคหินเก่า


มาจาก: http://www.ngwk.ac.th/web/social/em-orn/west-culture/page1.htm

1. ยุคหิน ใช้เครื่องมือที่ทำจากหินทั้งสิ้น แบงเปน 3 ระยะ คือ


1.1 ยุคหินเก่า มนุษยในยุคหินเก่าตองพึ่งพาธรรมชาติมาก ดำรงชีวิตดวยการเก็บผลไม
และลาสัตวปาเปนอาหาร อยูอาศัยตามถ้ำ รูจักใช้ไมก่อไฟหุงตม มีหลักฐานจากภาพจิตรกรรม
บนฝาผนังถ้ำ (ภาพที่ 2.7)
1.2 ยุคหินกลาง เริ่มมีการสรางที่อยูอาศัยตั้งถิ่นฐานภายนอกถ้ำ นำหินมาสรางเครื่องมือ
เครื่องใช้ มีการทำลูกศรธนูลาสัตว ทำขวานเปนอาวุธดวยหิน ทำการเพาะปลูก จับปลา มีการคิดปน
หมอดวยดินเหนียวตากแหง (ภาพที่ 2.8)

ภาพที่ 2.8 วิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคหินกลาง


มาจาก: http://www.ngwk.ac.th/web/social/em-orn/west-culture/page1.htm
71

ภาพที่ 2.9 วิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคหินใหม


มาจาก: http://www.ngwk.ac.th/web/social/em-orn/west-culture/page1.htm

1.3 ยุ คหิ นใหม เริ ่ มผลิ ตอาหารกิ นเอง ทอผ าเป นเครื ่ องนุ  งห ม ทำเครื ่ องป  นดิ นเผา
เครื่องมือเครื่องใช้ทำดวยหิน เขาสัตว และกระดูกสัตว แตมีความประณีตมีล วดลายขึ้น เริ่มมี
การรวมตัวกันเปนสังคมเกษตรกรรม มีการตั้งถิ่นฐานอยูกับที่ถาวร ไมเรรอน ที่อยูอาศัยทำจากดิน
เหนียวและไม เมื่อมีการรวมตัวกันเปนชุมชน จะมีการเลือกผูนำ หัวหนาเผา มีการค้าขายแบบง่าย
แลกเปลี่ยนสิ่งของกัน มีช่างฝมือเกิดขึ้น มีความเจริญก้าวหนามากขึ้น มีการสรางเครื่องประดับตกแตง
การสรางอนุสาวรียหิน (stonehenge) (ภาพที่ 2.9) ถือเปนสถาปตยกรรมที่มีชื่อเสียงอยางมาก
จากยุคนี้ และเปนที่ดึงดูดของนักทองเที่ยวในปจจุบัน
2. ยุ ค โลหะ เป น ยุ ค ที ่ ม ี ว ิ ว ั ฒ นาการทางเทคโนโลยี ใ นการนำสำริ ด และเหล็ ก มาใช้ ใ น
การทำเครื่องมือเครื่องใช้ แบงเปน 2 ระยะ คือ
2.1 ยุคทองสำริด เปนยุคที่มีการนำโลหะมาผสมกันระหวางทองแดงกับดีบุก เริ่มมี
กระบวนการคิดทำที่ซับซ้อนและยุงยาก มีขั้นตอนตั้งแตการหาแหลงแร การเตรียมอุปกรณเครื่องมือ
การถลุงแร การสรางเบาหลอมแร การใช้ความรอนในเบาหลอม การขึ้นรูปของเครื่องมือเครื่องใช้
ดวยการใช้แมพิมพ การตี การหลอขึ้นรูป เครื่องมือเครื่องใช้นอกจากจะทำดวยสำริดแลว ยังทำจาก
ดินเผา จากหิน และจากแร เช่น ขวาน หอก ธนู ภาขนะ กำไล ตุมหู ลูกปด เปนตน ยุคนี้มนุษยมี
การเปลี่ยนแปลงมากขึ้น ทั้งทางดานสังคม ชุมชนเมือง การเมือง การขยายตัวของภาคเกษตรกรรม
การแบงกลุมชนชั้น ยุคนี้เริ่มตนที่ประเทศกรีก ทวีปยุโรป สวนทวีปเอเชียเริ่มยุคนี้ที่ประเทศจีน
ในประเทศไทยยุคทองสำริด ค้นพบที่อำเภอบานเชียง จังหวัดดุดรธานี และอำเภอสวางแดนดิน
จั ง หวั ด สกลนคร ยุ ค นี ้ ม ี ก ารทำนายดวงชะตาของมนุ ษ ย จ ากอิ ท ธิ พ ลของดวงดาว เกิ ด ความรู
ดานโหราศาสตร มีหลักฐานความเชื่อจากรูปปนเทพเจ้าที่มีใหชมในปจจุบัน
72

2.2 ยุคเหล็ก เปนยุคที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตโลหะ มนุษยสามารถใช้ความรอนสูง


และกรรมวิธีที่ยุงยากในการหลอมเหล็กขึ้นมาใช้สรางเครื่องมือเครื่องใช้ ซึ่งเหล็กมีความแข็ง ทนกวา
สำริด สังคมมีการเปลี่ยนแปลงเปนรัฐ มีการใช้เหล็กผลิตอาวุธ และมีกำลังพลกองทัพ ในการปองกัน
ดินแดนที่ตั้งของกลุมตนเอง รวมทั้งมีเครื่องมือเครื่องใช้สนับสนุนการทำเกษตรกรรมที่มีคุณภาพดีกวา
ยุคเดิม แหลงอารยธรรมแหงแรกที่สามารถผลิตเหล็กได คือ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ
3,200 ปมาแลว ยุคเหล็กมีความแตกตางจากยุคสำริดหลายประการ คือ การพัฒนาเทคโนโลยีการ
ผลิตเหล็กทำใหเกิดการเพิ่มผลผลิต การผลิตเหล็กทำใหกองทัพมีอาวุธที่แข็งแกรงนำไปสูพัฒนาการ
ทางสังคมจนกลายเปนรัฐที่มีกำลังทหารที่เข็มแข็ง เข้ายึดครองสังคมอื่นขยายเปนอาณาจักรในเวลา
ตอมา
3. ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม หรือยุคเครื่องจักรพลังงานไอน้ำ
การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง การเปลี่ยนแปลงการผลิตจากการใช้แรงงานคน สัตว
และพลังน้ำเปนการผลิตโดยใช้เครื่องจักรและระบบโรงงาน เปนการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจครั้ง
สำคัญกลายเปนระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม สงผลกระทบตอประวัติศาสตรของมวลมนุษยชาติ
ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ชาติแรกที่ปฏิวัติอุตสาหกรรมคือ อังกฤษ ในคริสตศตวรรษที่ 18
และไดแพรหลายไปยังดินแดนอื่นของโลก ก่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต ความเปนอยูของ
มนุษยทั่วโลก ประเทศไทยเช่นกัน มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่มีการขยายเผาพันธุและมีวิวัฒนาการทาง
พันธุกรรม มีการคัดเลือกสายพันธุแบบสุม ดำรงพันธุกรรมที่ดีเอาไว มนุษยมีการพัฒนาขนาดของ
สมอง เมื่อยุคสมัยผานไป ทำใหมนุษยในยุคถัดมามีความฉลาดในการเรียนรูธรรมชาติ สรางเทคโนโลยี
และนวัตกรรมในการอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตเพิ่มขึ้น ยุคนี้เปนยุคที่มีนักวิทยาศาสตร
หลากหลายสาขา มีความก้าวหนาดานเทคโนโลยีอยางรวดเร็วมาก ตัวอยางเช่น การสรางตึกอาคาร
ที่อยูอาศัย พัฒนาสิ่งก่อสราง สรางสะพาน ถนนหนทาง เขื่อน การตอทอ ขุดคลอง มีรถไฟ มีการ
ติดตอสื่อสารและคมนาคมขนสง การสรางโรงงานผลิตสิ่งของ การทำเหมืองแร สรางเครื่องกำเนิด
ไฟฟา การสรางพลังงานไอน้ำสำหรับเครื่องจักรทำงาน สรางกังหันลม
4. ยุคศตวรรษที่ 20 (1901-2000) จนถึงปจจุบัน
เปนยุคที่ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเฟองฟูมาก เรียกไดวาเปนยุคทอง
ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเลยวาได นักวิทยาศาสตรทั่วโลกไดนำเสนอผลงานการคิดค้น งานวิจัย
สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรมกันอยางมากมาย เกิดความเจริญก้าวหนาในดานตาง ๆ ทำใหแนวความคิด
73

ทัศนคติของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลงไปและแตกตางจากแนวคิดเดิมของคนยุคก่อน ความก้าวหนา
ทางดานวิทยาศาสตรนำมาซึ่งเทคโนโลยีที่ทันสมัย (ตารางที่ 2.1)

ตารางที่ 2.1 ชิ้นงานจากแนวคิดและความเจริญก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี


ชิ้นงาน รายละเอียด ข้อมูลอางอิง

เทคโนโลยี ก ารบิ น และเครื ่ อ งบิ น ปยวรรณ


เกิดขึ้นจากพี่นองตระกูลไรท ประดิษฐ (2549)
เครื่องยนตที่บินได ในป 1903 และ
ตอมาในป 1930 แฟรงค์ วิทลี ไดจด
ลิขสิทธิ์เครื่องบินเจ็ทเปนคนแรก ทำ
ใหปจจุบันมนุษยสามารถเดินทางข้าม
ประเทศ ข้ า มทวี ป หากั น ได อ ย า ง
รวดเร็วสะดวกสบาย

เทคโนโลยี การผลิ ตยาปฏิ ชี วนะและ นงลักษณ และ


วัคซีน ในป 1928 ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ปรีชา (2557)
ตัวแรกของโลกที่ค้นพบโดย
Alexander Fleming เริ ่ ม ใช้ กั น ในป
1942 โดยออกฤทธิ์ผานโครงสรางทาง
เคมีที่มีชื่อวา เก็บตา-แลคแตม (Beta-
lactam antibiotics) ยั บ ยั ้ ง การเกิ ด
cross link ร ะ ห ว  า ง ส า ย ข อ ง
เปปติ โ ดไกลแคนส ง ผลให ผ นั ง เซลล
ของแบคทีเรียออนแอ และถูกทำลาย
เมื่อแบคทีเรียไมมีผนังเซลล แบคทีเรีย
จะตายในที่สุด
74

ตารางที่ 2.1 ชิ้นงานจากแนวคิดและความเจริญก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ตอ)


ชิ้นงาน รายละเอียด ข้อมูลอางอิง

เทคโนโลยีดีเอ็นเอและสารพันธุกรรม กิตติพัฒน
ของมนุ ษ ย เริ ่ ม ต น ตั ้ ง แต ป 1865 (2557)
เกรเกอร โจฮานน เมนเดล (Gregor
Johann Mendel) ช า ว อ อ ส เ ต รี ย
“บิดาแหงพันธุศาสตร“ ผูค้นพบกฎ
การถายทอดทางพันธุกรรม ตอมามี
นั ก วิ ท ยาศาสตร ค ้ น พบและพิ ส ู จ น
ข้ อ เท็ จ จริ ง ที ่ เ กี ่ ย วกั บ ดี เ อ็ น เอและ
พันธุกรรม

ในป 1953 ฟรานซีส คริก (Francis


Crick) และ เจมส วั ต สั น (James
Watson) เสนอโครงสร า งเกลี ย วคู่
ของดี เ อ็ น เอ (DNA double helix)
ข้อมูลเหลานี้เปนประโยชนทางดาน
การแพทย อ ย า งมากจนถึ ง ป จ จุ บั น
ดวยความก้าวหนาทางเทคโนโลยี ทำ
ใหทราบลำดับนิวคลีโอไทดทั้งหมด
ของดี เ อ็ น เอ (จำนวน 3.2 พั น ล า น
นิ ว คลี โ อไทด ) และทำแผนที ่ ยี น
ทั้งหมดบนโครโมโซมของมนุษย ในป
2003
75

ตารางที่ 2.1 ชิ้นงานจากแนวคิดและความเจริญก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ตอ)


ชิ้นงาน รายละเอียด ข้อมูลอางอิง

เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การ กิตติพัฒน


เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชถูกคิดค้นขึ้น (2557)
โ ด ย Gottlieb Haberlandt นั ก
พั น ธุ ศ าสตร ช าวออสเตรี ย ในป
1902 เทคนิคนี้ไดรับการพัฒนามา
ตลอด โดยเริ่มจากการเพาะเลี้ยง
มาจาก: บางส ว นของพื ช เช่ น เอมบริ โ อ
https://www.scind.org/518/Science/history- และเนื ้ อ เยื ่ อ เจริ ญ บริ เ วณปลาย
of-plant-tissue-culture.html ยอดและปลายราก ในป 1934
Roger J. Gautheret ส า ม า ร ถ
เพาะต น Sycamore บนอาหาร
สังเคราะหสูตร Knop's solution
แข็งที่เติมน้ำตาลและวุนที่ไดจาก
สาหราย ในปจจุบันมีการพัฒนาทั้ง
สูตรอาหารที่ใช้เพาะเลี้ยงพืชแตละ
ชนิดเลียนแบบการเจริญเติบโตจริง
ของพื ช ชนิ ด นั ้ น และวิ ธ ี ก าร
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชเปนวิธีใน
การรักษาสายพันธุพืชไว
76

ตารางที่ 2.1 ชิ้นงานจากแนวคิดและความเจริญก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ตอ)


ชิ้นงาน รายละเอียด ข้อมูลอางอิง

เทคโนโลยีโคลนนิ่ง ปรับปรุงพันธุสัตว ในป กิตติพัฒน


1997 Wilmut และคณะ ไดทำการโคลน (2557)
นิ่ง (cloning) แกะชื่อ ดอลลี่ (Dolly) ดวย
นิวเคลียส (nucleus) จากเซลลเตานมของ
แกะซึ่งเปนเซลลรางกาย (somatic cell)
ไดประสบความสำเร็จ เปนความรูในการ
พัฒนาการถายฝากตัวออน การผสมเทียม
การผลิตตัวออนในหลอดแก้ว

เทคโนโลยี เ ด็ ก หลอดแก้ ว ในป 1978 กิตติพัฒน


นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ ศาสตราจารย (2557)
เซอร โรเบิรต เอ็ดเวิรด (Prof. Sir Robert
Edwards) บิดาผูใหกำเนิดเด็กหลอดแก้ว
ทำงานร ว มกั บ ดร.แพทริ ค สเต็ ป โต
( Dr. Patrick Steptoe) ใ น ก า ร พ ั ฒ น า
เทคโนโลยีการปฏิสนธินอกรางกาย (ไอวี
เ อ ฟ : In Vitro Fertilization: IVF) เ ป น
เทคนิคการนำไข่และอสุจิมาผสมกันใหเกิด
มาจาก: การปฏิสนธิภายนอกรางกายใน
https://www.hfocus.org หองปฏิบัติการ จากนั้นจึงจะนำไข่ที่ไดรับ
/content/2014/09/8230 การผสมแลว (ตัวออน) ยายกลับเข้าไปใน
มดลูกของฝายหญิง เพื่อใหเกิดการตั้งครรภ
ตอไป สำหรับผูมีบุตรยากที่ตองการมีบุตร
77

ตารางที่ 2.1 ชิ้นงานจากแนวคิดและความเจริญก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ตอ)


ชิ้นงาน รายละเอียด ข้อมูลอางอิง

เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร คอมพิ ว เตอร ถู ก ทิพยวัลย


ประดิ ษ ฐ ค ิ ด ค้ น โดยนั ก คณิ ต ศาสตร ช าว (2554)
อั ง กฤษ ในป 1943 คอมพิ ว เตอร ม ี ข นาด
ใหญมาก และตอมา มีการพัฒนายอขนาด
ลง แต เ พิ ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการทำงานของ
คอมพิวเตอร ทำใหมันเปนอุปกรณที่มนุษย
ขาดไมไดเลยในยุคศตวรรษที่ 21

สมาร ท โฟนและอิ น เทอร เ น็ ต การเป ด ตั ว ทิพยวัลย


iphone เมื่อ ป 2007 โทรศัพทมือถือไดถูก (2554)
เรียกวา สมารทโฟน ถือเปนนวัตกรรมชิ้น
สำคัญแหงวงการ แอปเปลสรางฮารดแวรที่
ใช้จอสัมผัสล้ำสมัยและพิสูจนแลววาใช้งาน
ไดง่าย เมื่อผนวกกับซอฟตแวรที่ทรงพลัง
และเครือข่ายที่พรอมสำหรับอินเทอรเน็ต
บนมือถือ ทำใหโลกเราอยูในภาวะ "สมารท
โฟนบูม" และปจจุบันแถบจะไมมีใครไมมี
สมารทโฟนและอินเทอรเน็ต

เทคโนโลยีอวกาศ ป 1957 โซเวียตสงยาน นิพนธ


ชื ่ อ สปุ ต นิ ค 1 ขึ ้ น ไปใน อวกาศ ต อ มาป (2565)
1961 มนุษยคนแรกไดขึ้นไปในอวกาศคือ ยู
ริ ก าการิ น และ ในป 1969 อเมริ ก าได ส ง
มนุษยขึ้นไปเหยียบดวงจันทรเปนครั้งแรก
คือ นีล อาร สตรองค์
78

เทคโนโลยี ย ั ง มี ค วามสั ม พั น ธ ก ั บ ศาสตร อ ื ่ น เนื ่ อ งจากเทคโนโลยี เ ป น การนำความรู


ทางวิ ทยาศาสตร มาประยุ กต ใช้ เพื ่ อให เกิ ดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในการทำงาน ดั งนั้ น
เทคโนโลยี จ ึ ง สั ม พั น ธ ก ั บ ศาสตร ด  า นต า ง ๆ ได แ ก่ วิ ท ยาศาสตร เกษตรศาสตร ศึ ก ษาศาสตร
แพทย ศ าสตร โภชนาการศาสตร พลั ง งานและสิ ่ ง แวดล อ ม การทหาร ธุ ร กิ จ ระหว า งประเทศ
วิศวกรรมศาสตร บริหารธุรกิจและการตลาด ดานการสื่อสารและสารสนเทศ เปนตน

2.8 การปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีตอโลก
การปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีตอโลก สงผลใหประชากรแตละประเทศของโลกเพิ่มขึ้นมาจาก
ความก้าวหนาดานการแพทยและสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพ และการผลิตอาหารที่มีคุณภาพดี และ
มีคุณค่าทางโภชนาการ การขยายตัวของชุมชนเมืองอยางรวดเร็ว เกิดการอพยพยายถิ่นเข้ามาหางาน
ทำทั ้ ง ในยุ โ รป อเมริ ก าและดิ น แดนอื ่ น ประเทศที ่ พ ั ฒ นาอุ ต สาหกรรมกลายเป น
มหาอำนาจทางเศรษฐกิจ การค้าระหวางประเทศขยายตัวอยางกวางขวาง สงผลใหระบบเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยมแพรหลายไปทั่วโลก โดยเฉพาะระบบแข่งขันเสรีและระบบบริโภคนิยม ที่ชาติตะวันตก
เข้ า ไปเผยแพร ใ นประเทศเสรี แ ละดิ น แดนอาณานิ ค ม เกิ ด ความเลื ่ อ มล้ ำ ทางสั ง คม นั ก ลงทุ น มี
ความร่ำรวยและมั่งคั่ง สวนผูใช้แรงงานมีฐานะยากจนโดยเฉพาะกรรมกรในโรงงานเกิดช่องวางทาง
สังคม ทำใหมีการเสนอแนวคิดการแก้ปญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม การก่อสรางอาคารบานเรือน
และสถาปตยกรรม พัฒนาก้าวหนามากขึ้น เพราะการพัฒนาอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีการก่อสราง
ทำใหอาคารแข็งแรงขึ้น การออกแบบก่อสรางหอไอเฟล (Eiffel Tower) ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
ใน ค.ศ. 1889 ถื อ เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องการเริ ่ ม ต น การก่ อ สร า งที ่ ท ั น สมั ย ของโลก การปฏิ ว ั ติ
ทางอุตสาหกรรมไดขยายไปทั่วภูมิภาคของโลก ทำใหเกิดการ เปลี่ยนแปลง ทางดานเศรษฐกิจและ
สังคม การเมือง และทำใหประเทศทั่วโลก มีวัฒนธรรมรวมตามตะวันตกไปดวย รวมทั้งประเทศไทย
ไดรับผลกระทบ ประชากรจึงตองมีการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

2.9 ระดับของเทคโนโลยี
จากหนังสือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ศศินา, 2550) วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพ
ชีวิต (ทิพยวัลย, 2554) และ สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต (คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม
เทคโนโลยี และชีวิต, 2550) ไดกลาวไววา ปจจุบันมีเทคโนโลยีเกิดขึ้นมากมาย ที่ใช้ในงานและ
79

อุตสาหกรรม ดังนั้นการจัดกลุม แบงประเภทของเทคโนโลยีในแตละสาขา จะช่วยใหมนุษยเข้าใจง่าย


และเลือกใช้ไดอยางถูกตองเหมาะสม รวมทั้งสามารถวางรากฐานทางการศึกษาสำหรับเด็กตั้งแต
ชั้นประถมศึกษาและการเรียนตอในขั้นสูงขึ้นตอไป จึงมีการอธิบายระดับของเทคโนโลยี ประโยชน
ของเทคโนโลยี พรอมตัวอยางประกอบ
ความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยีนั้น อธิบายไดวา เทคโนโลยีมีสวนเกี่ยวข้องกับ
การดำรงชีวิตของมนุษย ทั้งรูปแบบของวิธีการ กระบวนการ และสิ่งประดิษฐ เทคโนโลยีมีบทบาทใน
ดานการดำรงชีวิตประจำวัน การพัฒนาการศึกษา การพัฒนาประเทศ เศรษฐกิจและสังคม และ
การอนุรักษสิ่งแวดลอม
2.9.1 ระดับของเทคโนโลยี
ระดับของเทคโนโลยีสามารถแบงได 3 ระดับ คือ
1. เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน (Basic Technology) เทคโนโลยีแบบนี้มีมาตั้งแตสมัยโบราณ
จากภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อแก้ไขปญหาและอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต เปนเทคโนโลยี
อย า งง่ า ย กระบวนการสร า งเครื ่ อ งมื อ ไม ซ ั บ ซ้ อ นมาก เช่ น สมุ น ไพรรั ก ษาโรค ครกตำข้ า ว
กระตายขูดมะพราว สุมเลาไก่ กระติ๊บข้าวเหนียว ตะกราจักสาน การหมักเหลาพื้นบาน สุมดักปลา
เครื่องทอผาไทย การเก็บน้ำผึ้งจากรังผึ้ง กลองหนัง ตะลุงจากหนังวัว เปนตน (ภาพที่ 2.10)

ภาพที่ 2.10 เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน


80

2. เทคโนโลยี ร ะดั บ กลาง (Intermediate Technology) เป น เทคโนโลยี ท ี ่ เ กิ ด จากการ


ปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีระดับพื้นฐาน เพื่อใหไดรับประโยชนจากเทคโนโลยีที่สรางขึ้นนั้นใหมาก
ยิ่งขึ้น เทคโนโลยีแบบนี้ ผูสรางตองใช้ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง การวางแผนระบบการทำงานและกลไกมี
ความซับซ้อนมากขึ้น ตลอดจนมีวิธีที่สามารถแก้ไขซ่อมแซมอุปกรณ เครื่องมือใหกลับสภาพดีดังเดิม
ได เช่น ยาน้ำสมุนไพร ยาอัดเม็ดสมุนไพร การผลิตอาหารโดยใช้ผลิตผลเหลือใช้จากการเกษตร
เครื่องพนสารเคมี รถเกี่ยวข้าว การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อแก้ปญหาดินเสื่อม เทคนิคการถนอมอาหาร
การสร า งอ า งเก็ บ น้ ำ ฝายชะลอน้ ำ การปรั บ ปรุ ง พั น ธุ  พ ื ช ด ว ยวิ ธ ี ผ สมเกสรในโรงเรื อ นเพาะชำ
เครื่องขูดมะพราว การผลิตปุยหมักมูลไสเดือนดิน เปนตน (ภาพที่ 2.11)

ภาพที่ 2.11 เทคโนโลยีระดับกลาง

3. เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) เปนเทคโนโลยีที่ใช้องค์ความรูและประสบการณ


ที ่ ซ ั บ ซ้ อ น และอาจจะต อ งบู ร ณาการศาสตร ห ลายแขนงเข้ า ด ว ยกั น เพื ่ อ สร า งอุ ป กรณ
เครื่องมือ เครื่องจักร เพื่อปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีเดิมใหทันสมัย หรือสรางเทคโนโลยีใหมเพื่อ
รองรับความตองการของมนุษย และอำนวยความสะดวกสบายในการใช้ชีวิต รวมทั้งคิดค้นนวัตกรรม
ใหมเกิดขึ้นบนโลก ตองมีการเรียนรู มีการวิจัย การทดลอง มีการทดสอบสิ่งประดิษฐ และรูวิธีแก้ไข
เทคโนโลยี น ั ้ น ด ว ย เช่ น การรั ก ษาโรคแผนป จ จุ บ ั น การผ า ตั ด การปลู ก ถ า ยอวั ย วะเที ย ม
การตัดตอพันธุกรรม การทำเด็กหลอดแก้ว เทคโนโลยีชีวภาพ ข้าวเสริมวิตามิน พลังงานสะอาด
81

พลังงานทดแทน เครื่องบิน ยานอวกาศ สมารทโฟน รถไฟฟาความเร็วสูง หุนยนต อาวุธทางการทหาร


ปรมาณูนิวเคลียร การสรางเขื่อน ดาวเทียม การผลิตอาหารรูปแบบอุตสาหกรรม นมยูเอชที กะทิผง
อาหารกระป อ ง อาหารสำเร็ จ รู ป การค้ า ออนไลน ไบโอดี เ ซล ไบโอเอทานอล เลเซอร
นวัตกรรมเพื่อความสวยความงาม เครื่องสำอาง อินเทอรเน็ต เทคโนโลยียานยนต เปนตน (ภาพที่
2.12)

ภาพที่ 2.12 เทคโนโลยีระดับสูง


ดัดแปลงจาก: https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/846550

นอกจากการแบ ง ระดั บ เทคโนโลยี เ ป น ระดั บ ขั ้ น แล ว ยั ง สามารถแบ ง ตามแหล ง กำเนิ ด


ได 2 ลักษณะคือ
1. เทคโนโลยีทองถิ่น คือเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นจากภูมิปญญาทองถิ่นของประเทศนั้นเปนความรู
ดั้งเดิมรวมกับประสบการณในการดำเนินชีวติ ความเปนอยู การทำมาหากิน การตอสูก บั ปรากฏการณ
ธรรมชาติที่เกิดขึ้นและไดรับผลกระทบ รวมทั้งการปรับตัวกับสภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงไป
ตามกาลเวลา ตามยุคตามสมัยที่เกิดจากความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการศึกษา
ของคนในทองถิ่นนั้น เทคโนโลยีลักษณะนี้ มีพื้นฐานมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีระดับพื้นฐานรวมกับ
ภูมิปญญาทองถิ่น มีการดัดแปลงแก้ไขใหเกิดประโยชนมากขึ้น เครื่องมือมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
ในประเทศไทย สามารถแบงระดับเทคโนโลยีทองถิ่นได 3 ระดับ ไดแก่
1.1 เทคโนโลยี ระดั บต่ ำ เป นเทคโนโลยี ที ่ มาจากภู มิ ป ญญาชาวบ าน เป นการสะสม
องค์ความรูจากประสบการณการใช้ชีวิต สภาพสังคม สภาพแวดลอม ที่แตละทองถิ่นมีความแตกตาง
82

กันไป มีการถายทอดความรูจากบรรพบุรุษสูรุนถัดมาอยางตอเนื่อง ภูมิปญญาเหลานี้เปนเรื่องราวของ


วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา วิธีการทำมาหากิน รวมทั้งศิลปะ
วิ ท ยาการด า นต า ง ๆ เช่ น ยาสมุ น ไพรจากพื ช พื ้ น บ า นบดผง ครกตำข้ า ว ลอบดั ก ปลา
กระตายขูดมะพราว เคียวเกี่ยวข้าว เปนตน
1.2 เทคโนโลยี ร ะดั บ กลาง เกิ ด จากการปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาเทคโนโลยี ร ะดั บ ต่ ำ
ใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจากเดิม หรือสรางใหมโดยมีพื้นฐานเดิม เพื่อใหเกิดประโยชนในการใช้งาน
จากเทคโนโลยี น ั ้ น มากขึ ้ น เช่ น ลู ก ประคบจากตำรั บ ยาสมุ น ไพรพื ้ น บ า นแก้ ป วดเมื ่ อ ย
เครื่องขูดมะพราว เครื่องกะเทาะเปลือกข้าว เครื่องสีข้าว ตาข่ายดักปลา เครื่องเกี่ยวข้าวแบบมือ
รถเกี่ยวข้าว ฝายชะลอน้ำ เปนตน
1.3 เทคโนโลยีระดับสูง เทคโนโลยีลักษณะนี้ใช้ความรูขั้นสูง รวมกับประสบการณการฟง
หรือเสาะแสวงหาความรูเพิ่มเติม ในการพัฒนา ปรับปรุง และแก้ไขเทคโนโลยีระดับกลาง ใหใช้งานได
ง่ายขึ้น ใช้งานไดรวดเร็วขึ้น เพิ่มอัตราความแมนยำมากขึ้น เช่น เจลบรรจุหลอดบรรเทาอาการ
ปวดเมื่อยจากตำรับยาสมุนไพรพื้นบาน เครื่องทำกะทิสดบรรจุกลอง กะทิผง รถไถนาเกี่ยวข้าว
เครื่องสีข้าว คัดเมล็ดข้าว วัดความชื้นของข้าว โรงเรือนควบคุมปลูกพืช โซลาเซลล กังหันน้ำชัยพัฒนา
เปนตน
2. เทคโนโลยี น ำเข้ า เป น เทคโนโลยี ท ี ่ ป ระเทศนั ้ น ซื ้ อ องค์ ค วามรู  ลิ ข สิ ท ธิ ์ ม าจาก
ประเทศผูประดิษฐคิดค้นขึ้น ตองเสียเงินเปนจำนวนมหาศาล ประโยชนเพื่อการพัฒนาประเทศใหมี
ศักยภาพทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแลว สำหรับประเทศไทย เทคโนโลยีลักษณะนี้จำเปนตองรับมา
จากตางประเทศ และนำมาปรับใช้ใหเหมาะสมกับสภาพความเปนอยู สภาพแวดลอม บริบทภาพรวม
ในการดำเนินชีวิต รวมทั้งตองคำนึงถึงขนมธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของสังคมไทยดวย เช่น
2.1 เทคโนโลยีการเกษตร การปลูกพืชไรดิน (ไฮโดรโปนิกส)
2.2 เทคโนโลยีการแพทย การตรวจความผิดปกติของสมองดวยเอกซเรยคอมพิวเตอร
(CT scan)
2.3 เทคโนโลยีชีวภาพ การถายยีนตานทานโรคเข้าสูพืชเศรษฐกิจ ข้าวเสริมวิตามิน
2.4 เทคโนโลยียานยนตและพลังงาน ระบบรถไฟฟา รถยนตไฮบริดใช้น้ำมันรวมกับ
พลังงานไฟฟา
83

2.5 เทคโนโลยี อ ุ ต สาหกรรม เครื ่ อ งจั ก รเครื ่ อ งยนต สายพานลำเลี ย งในโรงงาน


อุตสาหกรรม
2.6 เทคโนโลยี ก ารค้ า ออนไลน ระบบจำหน า ยสิ น ค้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ อ อนไลน ผ  า น
อินเทอรเน็ต
2.7 เทคโนโลยีการสื่อสารและระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร สมารทโฟน แอปพลิเคชัน
และเลเซอร
2.8 เทคโนโลยี ว ั ส ดุ ศ าสตร พลาสติ ก ชี ว ภาพ วั ส ดุ ย  อ ยสลายได ใ นธรรมชาติ นาโน
เทคโนโลยี
2.9 เทคโนโลยีอาหารและการแปรรูป ผักผลไมอัดเม็ด อาหารผสมสารตานอนุมูลอิสระ
2.10 เทคโนโลยีสิ่งทอและเครื่องนุงหม อุตสาหกรรมเสนใย การวาดรูปคนหรือการตูนลง
บนเสื้อผา
2.11 เทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสีย เทคโนโลยีลดก๊าซเรือนกระจก
2.12 เทคโนโลยีอวกาศและการบิน ดาวเทียม เทคโนโลยีการผลิตชิ้นสวนเครื่องบิน
ยานอวกาศ
2.9.2 ประโยชนของเทคโนโลยี
การนำเทคโนโลยีไปใช้ใหถูกที่และถูกเวลาจะทำใหเกิดประโยชน ดังนี้
1. ทำใหเกิดสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายที่ทันสมัย สงเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของมนุษย
2. ทำใหเกิดความเทาเทียมกันของคนในสังคม และเกิดการกระจายโอกาส เช่น การใช้ระบบ
สารสนเทศในการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม ทำใหเด็กดอยโอกาสในชนบทไดมีโอกาสเรียนรู
เหมือนเด็กในเมือง เปนตน
3. สงเสริมดานการศึกษา ทำใหเกิดสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลายมากขึ้น กระตุน
ความสนใจใฝรูของผูเรียน และเสริมสรางพัฒนาการดานกระบวนการคิดของผูเรียนมากขึ้น
4. สนับสนุนกระบวนการผลิตแตละขั้นตอนในกระบวนการอุตสาหกรรม เช่น ลดตนทุน
การผลิต ลดแรงงานคนในการทำงาน ควบคุมการผลิตใหนาเชื่อถือ ลดปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบ
ตอผูบริโภค เปนตน
84

5. ทำใหเกิดสื่อสรางสรรค์เพื่อความบันเทิง เช่น การตูนอนิเมชันสำหรับเยาวชนเรื่อง


ก้านกลวย เปนตน
6. สนับสนุนธุรกิจการค้าออนไลน เข้าถึงผูซื้อและผูขายไดอยางรวดเร็ว
7. ทำให เ กิ ด ช่ อ งทางการติ ด ต อ สื ่ อ สารระหว า งกั น มากขึ ้ น รั บ ทราบข้ อ มู ล ข่ า วสารทั้ ง
ในประเทศและตางประเทศไดอยางฉับไวทันเหตุการณ
8. ทำใหเกิดวิธีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ทันสมัยและมีเทคโนโลยี
ที่ดีขึ้น เช่น การมีข้อมูลดานการใช้ที่ดินทั่วทั้งประเทศไทยดวยการประยุกตในระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร (GIS) การมีข้อมูลดานปริมาณน้ำในแตละปทั่วทั้งประเทศไทยเพื่อวิเคราะหปริมาณน้ำฝน
และการปริมาณการใช้น้ำวามีเพียงพอ น้ำทวมหรือน้ำขาดแคลน ในพื้นที่ใด เปนตน
9. ทำใหการเข้าถึงข้อมูลการรักษาพยาบาลเบื้องตน การขอคำแนะนำจากแพทย การเข้าถึง
บริการดานสาธารณสุข ทำไดอยางสะดวกและง่ายขึ้น
10. สนับสนุนระบบการปองกันประเทศและความปลอดภัยในการใช้ชีวิตที่มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น เช่น การมีกลองวงจรปดบริเวณไฟจราจร เพื่อบันทึกข้อมูลการขับรถฝาไฟแดงแลวเกิด
อุบัติเหตุทำใหผูอื่นบาดเจ็บหรือเสียชีวิต การมีอุปกรณตรวจวัดปริมาณแอลกอออลของผูขับรถ
การมีระบบคอมพิวเตอรในการควบคุมอาวุธหรือระบบแจ้งเตือนภัย เปนตน

2.10 เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศไทย
อั ก ษรภาษาไทย และการศึ ก ษาของคนในประเทศไทยเริ ่ ม ต น ตั ้ ง แต ส มั ย สุ โ ขทั ย โดย
พอขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐอักษรไทย ก-ฮ 44 ตัว และใช้เปนพื้นฐานในการสรางคำ
ประโยคมาจนถึงปจจุบัน ยุคถัดมาเปนยุคการเปลี่ยนแปลงสมัยรัตนโกสินทร พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราช เริ่มมีความรูจากตางชาติ สหรัฐอเมริกาไดนำเทคโนโลยีการศึกษาเข้ามาเผยแพรในประเทศ
ไทยมากขึ้น มีการใช้ภาพยนตรโสตทัศนศึกษามาใช้รวมในการเรียนการสอน มีการเปดสอนใน
ระดับอุดมศึกษา ตั้งแตระดับปริญญาตรีจนถึงบัณฑิตศึกษา ทำใหยุคนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางมาก
ในดานการศึกษาของคนในประเทศไทย
2.10.1 การพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษาของประเทศไทย
นิกร และคณะ (2562) ไดกลาวถึง เทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0 ความสำคัญ
ของเทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ และนโยบายดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย
85

ไววา ปจจุบันยุคศตวรรษ 20-21 เปนยุคที่มีความก้าวหนาทางคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต การศึกษาใน


ยุคนี้เปนยุคที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้รวมในการเรียนการสอน ทำใหการศึกษายุคนี้
ก้าวหนาอยางมากและรวดเร็ว ผูเรียนสามารถหาความรูดวยตนเอง นอกเหนือจากหองเรียนไดดวยสื่อ
ออนไลนและไดรับความรูทั่วโลก ความก้าวหนาดานเทคโนโลยีการศึกษา นำไปสูการพัฒนาเทคโนโลยี
สาขาวิ ชาด านต าง ๆ ต อไป ไม ว าจะเป น เทคโนโลยี ชี วภาพ เทคโนโลยี การอาหารและแปรรู ป
เทคโนโลยีวัสดุ เทคโนโลยีการควบคุม เทคโนโลยีผลิตภัณฑและการผลิต เทคโนโลยีโครงสราง
เทคโนโลยีขนสงและโลจิสติกส เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสิ่งทอและเสื้อผา เทคโนโลยีทางการแพทย เปนตน
ในป 2562 เกิดการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 ไปทั่วโลก ทำใหวิถีชีวิตของมนุษย
มีการปรับเปลี่ยนไปอยางมาก ระบบสารสนเทศเข้ามามีสวนช่วยในดานการเรียนการสอน ผูสอนตอง
สอนผานระบบออนไลน เช่น google classroom และมี เว็ บไซดสำหรับเก็บคลิปวีดีโอการสอน
เพื่อใหผูเรียนและผูที่สนใจสามารถเข้ามาเรียนรูไดดวยตนเอง (ภาพที่ 2.13)

ภาพที่ 2.13 ตัวอยางคลิปวิดีโอการสอน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีความสำคัญตอการพัฒนาประเทศเปนอยางมาก รัฐบาลควร
สนับสนุน สงเสริมงานวิจัยที่ช่วยพัฒนาเทคโนโลยีที่มีอยูในประเทศ รวมทั้งลดการพึ่งพาเทคโนโลยี
86

ตางประเทศ ขณะเดียวกันบุคลากรตองไดรับการสงเสริมใหมีความรูเพิ่มขึ้น ไดรับประสบการณจาก


ผู  เ ชี ่ ย วชาญในด า นเทคโนโลยี ร ะดั บ สู ง เพื ่ อ ให บ ุ ค ลากรสามารถนำความรู  ม าสร า งเทคโนโลยี
สาขาตาง ๆ เพื่อการพัฒนาประเทศที่ครอบคลุมรอบดาน แบบไมจำกัด
2.10.2 ความสำคัญของเทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
1. ประเทศที่มีรากฐานการพัฒนาเทคโนโลยีดวยความรูดานวิทยาศาสตร และมีเทคโนโลยี
ทองถิ่นของตนเอง ชิ้นสวน เครื่องมือ องค์ความรูอยูในประเทศนั้น จะทำใหประเทศนั้นพัฒนาไปได
อยางรวดเร็ว และใช้เงินงบประมาณในการนำเข้าเทคโนโลยีไมมาก ทำใหงบประมาณแผนดินเหลือ
มากพอที่จะสงเสริมคุณภาพชีวิตในดานตาง ๆ ของคนในประเทศมากขึ้น
2. เมื ่ อ ประเทศมี เ ทคโนโลยี ท ี ่ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทความเป น อยู  ข องคนในประเทศ เช่ น
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีพื้นที่เพาะปลูกมาก ตองการเทคโนโลยีในการพัฒนาดานการเกษตรและ
อุตสาหกรรมการเกษตร การผลิตอาหารและแปรรูปอาหาร ประมง ปศุสัตว รัฐบาลควรใหการ
สนับสนุนในสวนที่จำเปน เพื่อช่วยพัฒนาสังคมใหเจริญก้าวหนาเทาเทียมกันในแตละภูมิภาค
ของประเทศ
3. เทคโนโลยีทางดานอาหารที่ทันสมัยจะช่วยรักษาคุณค่าทางโภชนาการอาหารไวใหกับ
ผูบริโภค เมื่ออาหารนั้นถูกแปรรูป รวมทั้งการเก็บรักษาไวไดนานสงเสริมการกระจายสินค้าแปรรูปไป
ใหทั่วถึงทั้งประเทศ สามารถเพิ่มกำลังการผลิตอาหาร และสรางตำแหนงงานในอุตสาหกรรมอาหาร
และนักวิทยาศาสตรเทคโนโลยีการอาหาร
4. เทคโนโลยีจะเข้ามาช่วยลดตนทุนการผลิต ลดแรงงานที่ไมจำเปน สินค้าที่ผลิตมีคุณภาพดี
ขึ้น มีเครื่องมือในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. เทคโนโลยีการติดตอสื่อสารและสารสนเทศทำใหการติดตอกันภายในประเทศ ติดตอ
เจรจาการค้า การค้าขายออนไลน และการติดตอธุรกิจระหวางประเทศสามารถทำไดง่าย รวดเร็ว
และสะดวก ดวยอินเทอรเน็ต
6. สงเสริมความก้าวหนาทางการศึกษาดวยเทคโนโลยีหลากหลายดาน บูรณาการการเรียน
การสอนร ว มกั บ การสอนในห อ งเรี ย น เกิ ด ความหลากหลายในรู ป แบบการสอน เนื ่ อ งจาก
เด็กในหองเรียนแตละคนมีความสนใจที่หลากหลายแตกตางกัน ดังนั้นการใช้สื่อหรือเทคโนโลยีตาง ๆ
เข้ามาช่วยสนับสนุนการเรียนใหนาสนใจและสรางจินตนาการของผูเรียนมากขึ้น เด็กและเยาวชนจะ
ถูกสรางใหเปนกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศตอไป
87

7. เทคโนโลยีที่เหมาะสมจะสงเสริมและดำรงไดดานศาสนา ขนมธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ


และวัฒนธรรม เช่น การบูรณะปฏิสังขรณโบราณสถาน เพื่ออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศ
ไว เทคโนโลยีที่ใช้ คือการสแกนวัตถุ 3 มิติ สำหรับวิเคราะหโครงสรางเทคนิคการสำรวจรูปทรง 3 มิติ
ดวยการถายภาพ โดยใช้โดรนตรวจสอบโครงสราง (ภาพที่ 2.14) สามารถหาความเอียงของเจดียวัด
ติดตามการเอียงที่อาจมีเพิ่มขึ้นในอนาคต หรือใช้หลักการวิเคราะหทางวิศวกรรมที่ใช้ประเมินอาคาร
สมัยใหม นำมาประยุกตใช้กับงานโบราณสถานเพื่อดูกำลังรับน้ำหนักของโบราณสถานวาสามารถ
แบกรั บ น้ ำ หนั ก อาคารโบราณสถานได ห รื อ ไม วิ ธ ี ธ รณี เ รดาร แ ละวิ ธ ี ว ั ด สภาพต า นทานไฟฟ า
วั ด สนามแม เ หล็ ก วิ เ คราะห โ ครงสร า ง กรมศิ ล ปากรยั ง ขาดบุ ค ลากรที ่ ม ี ค วามรู  ค วามสามารถ
ทางวิศวกรรมโบราณสถาน นักวิจัยจึงนำความรูและเทคโนโลยีสมัยใหมมารวมมือกับกรมฯ เพื่อให
การบู ร ณะมี ค วามยั ่ ง ยื น ที ่ ส ำคั ญ ฐานข้ อ มู ล ที ่ ไ ด น ี ้ ย ั ง จะนำไปใช้ ป ระโยชน ส นั บ สนุ น ข้ อ มู ล
ทางวิทยาศาสตรเพื่อเสนอ UNESCO ขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลกทางวัฒนธรรม ของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ประเทศไทยตอไป

ภาพที่ 2.14 วัดไชยวัฒนารามสมัยอยุธยาในรูปแบบสแกนวัตถุ 3 มิติ

8. ประเทศที่มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมดานการแพทย จะสงเสริมใหประชากรในประเทศมี
สุขภาพแข็งแรง รวมทั้งสงเสริมสุขภาพดานจิตใจดวย สนับสนุนคุณภาพชีวิตในครอบครัว ทำให
ประสิทธิภาพการทำงานในสายงาน ไมติดขัด จากการเจ็บปวยของพนักงาน พนักงานมีสติปญญาใน
การสรางสรรค์ชิ้นงานใหมหรือเทคโนโลยีใหมขึ้นสำหรับสายงานอีกดวย
88

การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาประเทศ สิ่งสำคัญตองใหการศึกษาแก่บุคลากรใน
สาขาวิชานั้น ใหมีความเข้าใจในเทคโนโลยีนั้นอยางลึกซึ้งถองแท สนับสนุนงบประมาณงานวิจัยใน
สาขาตาง ๆ ที่จำเปนตอการพัฒนาประเทศนั้นหรือสาขาที่ขาดแคลนและตองการการพัฒนาเรงดวน
ใหทั่วถึงทุกดาน ภาคการศึกษา ภาครัฐและภาคเอกชน สรางบรรยากาศที่ดี สรางเจตคติที่ดีใหสังคม
สนใจในการพัฒนาเทคโนโลยีที่รองรับการดำรงชีวิตของตนเอง เทคโนโลยีไมจำเปนตองสรางและ
คิดค้นขึ้นจากนักวิทยาศาสตรอยางเดียว สามารถสรางและคิดค้นมาจากประชากรทุกคนในประเทศ
ที่ตองการแก้ไขปญหาที่ตนเองเผชิญอยู รวมทั้งสรางความเข้าใจ ตระหนักถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้
ใหเกิดประโยชนสูงสุด และวิธีปองกันแก้ไขโทษที่เกิดจากเทคโนโลยีนั้นดวย การพัฒนาเทคโนโลยี
ตองไดรับการบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ยุทธศาสตรชาติของประเทศไทยเพื่อ
ขอรับเงินงบประมาณสนับสนุน รวมทั้งตองพิจารณาผลกระทบทางลบตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ดวย เทคโนโลยีที่นำมาใช้ตองไมทำลายใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมถือเปนหัวใจ
หลักสำคัญ
อยางไรตาม การใช้เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศยังมีอุปสรรคและเกิดความลมเหลวใน
การนำมาใช้ในการพัฒนาประเทศ เกิดจากสาเหตุตาง ๆ ไดแก่ ไมมีการสนับสนุน สงเสริมในแผนการ
พัฒนาเทคโนโลยีหรือนโยบายในการพัฒนาดานเทคโนโลยี จำกัดการสรางเทคโนโลยี สงผลให
บุคลากรขาดความรูความเข้าใจเชิงลึกในการสรางเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประเทศ ไมมีทุน ไมมีเครื่องมือ
และไมเกิดกระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร สาเหตุเหลานี้วนลูปเปนวงกลม จนประเทศไมสามารถ
พัฒนาตอไปได ลาหลัง เนื่องจากไมมีผูสรางเทคโนโลยีที่ดี ที่เหมาะสมตอการพัฒนาประเทศ
2.10.3 นโยบายดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย มีดังนี้ คือ
1. การพัฒนาตองเข้าไปสูภาคการผลิตและอุตสาหกรรมอยางทั่วถึง
2. การพั ฒ นาเน น ส ง เสริ ม ภู ม ิ ป  ญ ญาท อ งถิ ่ น ต อ ยอดเป น เทคโนโลยี ท ี ่ เ หมาะสมต อ
การดำรงชีวิตของคนในทองถิ่นนั้น
3. การพัฒนาเพื่อใหมนุษย สิ่งมีชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สามารถอยูรวมกัน
ได และรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
4. การพัฒนาตองอาศัยการมีสวนรวมของประชากรทุกคนในประเทศรวมกันแสดงความ
คิดเห็นและขับเคลื่อนการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งคัดค้านเทคโนโลยีที่ทำลาย
สิ่งแวดลอมดวยสันติวิธี
89

5. บุคลากรในสาขาวิชาควรไดรับการสนับสนุนในการพัฒนาความรูอยางตอเนื่องและจริงจัง

2.11 ปฏิสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับสิ่งแวดลอม
จากหนังสือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ศศินา, 2550) วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพ
ชี ว ิ ต (ทิ พ ย ว ั ล ย , 2554) สิ ่ ง แวดล อ ม เทคโนโลยี แ ละชี ว ิ ต (คณะกรรมการวิ ช าการสิ ่ ง แวดล อ ม
เทคโนโลยีและชีวิต, 2557) และ ปฏิสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับมนุษย (วรลักษณ, 2559)
ไดอธิบายปฏิสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับสิ่งแวดลอม ปฏิสัมพันธระหวางการพัฒนาประเทศ
กับสิ่งแวดลอม รวมทั้งผลกระทบของเทคโนโลยีทั้งทางบวก และทางลบไวคลายกัน ดังนี้
1. เทคโนโลยีมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอม
ในขณะที ่ ม นุ ษ ย ม ี ค วามรู  ค วามเชี ่ ย วชาญในสาขาวิ ช าการมากขึ ้ น มนุ ษ ย ส ามารถ
สรางเทคโนโลยีขึ้นมามากมายเพื่อนำทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูมาใช้ โดยคาดไมถึงวาเทคโนโลยี
ที่พัฒนาขึ้นและนำมาใช้อาจก่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไป
อยางช้า ๆ และมองเห็นการเปลี่ยนแปลงไมชัด การเปลี่ยนแปลงนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต
ของมนุษยเองทั้งทางบวกและทางลบ เช่น การสรางเขื่อนกักเก็บน้ำ เกิดผลกระทบทางลบหลายดาน
เช่ น พื ้ น ที ่ อ ยู  อ าศั ย ของมนุ ษ ย ถ ู ก เปลี ่ ย นไปเป น พื ้ น ที ่ ส ร า งเขื ่ อ น ที ่ อ ยู  ข องสั ต ว ป  า ถู ก คุ ก คาม
มีการตัดไมทำลายปาเกิดขึ้น สัตวน้ำตองเปลี่ยนวิถีชีวิต วัดและโรงเรียนถูกยึดพื้นที่เปนอางเก็บน้ำ
ระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ประโยชนจากการสรางเขื่อน คือ มีแหลงกักเก็บน้ำไวเพื่อ
ความอุดมสมบูรณ ช่วยแก้ปญหาน้ำทวมเฉียบพลัน ชะลอความเร็วของการไหลของน้ำ แก้ไขปญหา
ภัยแลง โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เมื่อมีเขื่อนจะมีน้ำไวใช้ในการอุปโภค
บริโภค ทำการเกษตร และอุตสาหกรรม น้ำที่ไดจากเขื่อนสามารถนำมาผลิตเปนพลังงานไฟฟา
ไดอีกดวย รวมทั้งยังเปนสถานที่ทองเที่ยว พักผอนหยอนใจและกิจกรรมนันทนาการของมนุษย
เมื่อมองในอีกแง่มุมหนึ่ง การสรางเขื่อนมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเปนอยางมากแนนอน เขื่อนมักจะ
สรางบริเวณหุบเขาที่มีลำน้ำไหลผาน และสรางขวางลำน้ำ เพื่อใหมีน้ำมาสะสมบริเวณพื้นที่เหนือเขื่อน
ดินบริเวณนั้นจะถูกน้ำทวมขัง ทำใหดินขาดความอุดมสมบูรณ และในการสรางเขื่อนจะใช้พื้นที่กวาง
ใหญ ซึ่งบางพื้นที่อาจเปนพื้นที่ในเขตรักษาพันธุสัตวปา สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติที่อยูในพื้นที่นั้น
ถู ก ทำลาย พื ช พั น ธุ  ท ี ่ อ ยู  บ ริ เ วณนั ้ น ต อ งสู ญ พั น ธุ  ซึ ่ ง พื ช บางชนิ ด อาจเป น พั น ธุ  ท ี ่ ห ายาก
พื้นที่ปาแปรสภาพเปนพื้นที่น้ำทวมขัง ทำใหสัตวปาบางสวนที่หนีน้ำไมทันตองเสียชีวิต บางสวน
90

ไม ม ี ท ี ่ อ ยู  อ าศั ย จนต อ งมี ก ารอพยพสั ต ว ป  า ออกจากพื ้ น ที ่ ส ร า งเขื ่ อ น รวมทั ้ ง ยั ง ทำให เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศแหลงน้ำ จากระบบนิเวศแบบน้ำไหลกลายเปนแบบน้ำนิ่ง สิ่งมีชีวิตที่
อาศัยในระบบนิเวศน้ำไหลจะลดจำนวนลง และยังสงผลตอการอพยพยายที่อยูของปลาหลายสาย
พันธุ จนอาจสูญพันธุไปในที่สุด ทั้งสัตวบก สัตวน้ำ พืชบก พืชน้ำ ไดรับผลกระทบทางลบในดานความ
หลากหลายทางชีวภาพลดลง
การบุกรุกพื้นที่ปา ตัดไมถางปา มนุษยนำความเจริญและเทคโนโลยีเข้ามา เพื่อสรางที่อยู
อาศัย สรางโรงงานอุตสาหกรรม สรางอาคารสถานที่อำนวยความสะดวกใหแก่มนุษย ในขณะเดียวกัน
ตนไม ที่เคยมีอยูจำนวนมากลดลง เมื่อเกิดฝนตกน้ำทวม ลมพัดแรง จะไมมีตนไมไวคอยกำบังลม
ลดแรงดันการไหลของน้ำที่รุนแรง เกิดอุทกภัยและแผนดินถลม ทำใหชีวิตและทรัพยสินของมนุษย
เสียหาย เกิดปญหาทรัพยากรดิน ปญหาทรัพยากรน้ำ แหลงกำเนิดน้ำ ที่กักเก็บน้ำถูกทำลายไป
ทรัพยากรธรรมชาติอื่นไดรับผลกระทบ รวมทั้งสิ่งแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางทีแ่ ยลง
การใช้เทคโนโลยีดานการประมง จับสัตวน้ำ ในอดีต เรือประมงและเครื่องมือประมงเปน
เครื่องมืออยางง่ายเพื่อจับสัตวน้ำในการบริโภคในครัวเรือน หรือค้าขายกันเองเล็กนอย แตในปจจุบัน
ประมงหรือการจับสัตวน้ำ สัตวทะเลขายเปนธุรกิจขนาดใหญในนานน้ำ แทบทุกประเทศที่ติดทะเล
จึงเกิดเทคโนโลยีและการลงทุนในการสรางเครื่องมือ เรือประมงขนาดใหญที่ใช้ในการจับสัตวน้ำใน
ปริมาณมาก เช่นเรือปนไฟปลากะตัก มีลักษณะใช้แสงไฟลอปลากะตัก มาติดอวน เรือลักษณะนี้ใช้ไฟ
ประมาณ 45-70 ดวง แสงไฟสามารถสองไปยังใตทองทะเลลึก อวนตามถี่มาก เมื่อมีการใช้อวนลาก
จับปลา สัตวน้ำชนิดอื่นจะติดอวนมาดวย ทั้งสัตวน้ำขนาดเล็ก ขนาดใหญ ลูกสัตวน้ำ เตาทะเลหายาก
เป น ผลเสี ย ต อ ระบบนิ เ วศทางทะเลเป น อย า งมาก สั ต ว น ้ ำ บางชนิ ด เกิ ด การสู ญ พั น ธุ  เ นื ่ อ งจาก
เจริญเติบโตไมทันการถูกจับ ทำลายทรัพยากรสัตวน้ำ แสงไฟที่สองลงไปยังสรางความเข้าใจผิดใหกับ
สัตวน้ำ นึกวาเปนแสงอาทิตยสองลงมา ทำใหการดำรงชีวิต การสืบพันธุ การวางไข่ เกิดความ
เปลี่ยนแปลงไปจากธรรมชาติที่เคยเปน เรือปนไฟปลากะตักยังใช้สายยางตอก๊าซหุงตมปลอยลงไปใน
น้ำเพื่อไลใหฝูงปลาขึ้นมาที่ผิวน้ำ เพื่อใหง่ายตอการลากอวนจับ สงผลกระทบทางลบอยางรุนแรงตอ
ทรัพยากรสัตวน้ำและระบบนิเวศวิทยาทางทะเล รวมทั้งทำใหน้ำเสื่อมคุณภาพอีกดวย
2. สิ่งแวดลอมมีบทบาทตอการสรางเทคโนโลยี
เมื่อมนุษยตองการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การอยูรวมกันโดยไมทำลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเสื่อมโทรมลงจึงมีความจำเปน ตอการสรางเทคโนโลยีที่เปน
91

มิตรกับสิ่งแวดลอม และอำนวยความสะดวกสบายใหกับมนุษย เพื่อมนุษยจะไดใช้ทรัพยากรธรรมชาติ


และสิ่งแวดลอมไดอยางยาวนานและยั่งยืน นั่นหมายถึง สิ่งแวดลอมเปนตัวกำหนดลักษณะการสราง
เทคโนโลยีใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของแตละทองถิ่น แตละพื้นที่ แตละสภาพภูมิประเทศที่
แตกตางกัน เช่นในพื้นที่แหงแลงมีน้ำนอย การทำการเกษตร เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุพืชให
ทนแลง ใช้น้ำนอยจึงจำเปน รวมทั้งการสรางเครื่องมือในการใหน้ำ ใช้เปนระบบน้ำหยด ไมใช้
การรดน้ำจากสายยางที่ตองใช้น้ำปริมาณมาก เมื่อประชากรในประเทศเพิ่มมากขึ้นการบริโภค จับจ่าย
ใช้สอย เพิ่มขึ้นเปนทวีคูณ เปนผลใหเกิดปริมาณขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูลที่มากไปดวย ดังนั้นมนุษยตอง
หาวิธีในการลดปริมาณขยะ คิดค้นเทคโนโลยีการแปรรูปขยะ การบริหารจัดการและการขนสงขยะ
เช่น การทำปุยหมักมูลไสเดือนดิน การนำขยะอินทรียมาสรางก๊าซชีวภาพ การนำขยะพลาสติกมา
อัดแทงเปนก้อนเชื้อเพลิง รวมทั้งเทคโนโลยีการกำจัดขยะแบบผสมผสาน แยกขยะแตละประเภทมา
บริหารจัดการอยางเหมาะสมและถูกวิธี เพื่อลดมลพิษสิ่งแวดลอมดวย การคัดแยกขยะดวยเครื่องมือ
เครื่องจักรที่ทันสมัย การสรางเทคโนโลยีขั้นสูง ที่เรียกวา เทคโนโลยีพลาสมาอารค เพื่อกำจัดขยะ
ติดเชื้อ ขยะอันตราย และขยะมูลฝอยที่ทำลายไดยาก กระบวนการพลาสมาอารคอาศัยหลักการ
ปลอยกระแสไฟฟาเพื่อใหความรอนกับก๊าซ (ไนโตรเจน, ออกซิเจน, อากาศ เปนตน) เพื่อสราง
อุณหภูมิเปลวก๊าซใหมีความรอนสูงมากในช่วง 2,200-11,000 องศาเซลเซียส จึงสามารถกำจัด
ขยะมูลฝอย ไดอยางมีประสิทธิภาพ ตนแบบสามารถรองรับขยะติดเชื้อ ไดถึง 200-300 กิโลกรัม/
ชั่วโมง (ภาพที่ 2.15) เปนเทคโนโลยีการกำจัดขยะติดเชื้อควบคู่กับการผลิตพลังงานที่มีประสิทธิภาพ
สูง และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ป จ จุ บ ั น ความก้ า วหน า ในศตวรรษที ่ 20-21 มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ห ลากหลาย เกิ ด ธุ ร กิ จ และ
การส ง ออกค้ า ขายภายในประเทศ และต า งประเทศมากมาย เป น ผลให เ กิ ด การติ ด ต อ สื ่ อ สาร
ในสมัยอดีตการเดินทางหรือการติดตอสื่อสารทำไดลำบากและลาช้าใช้เวลานาน จึงมีผูประดิษฐคิดค้น
เทคโนโลยีเพื่อการเดินทางคมนาคมขนสงและมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง ตั้งแต การสรางรถไฟ
การสรางเรือเดินสินค้า การสรางรถยนตใช้น้ำมันเชื้อเพลิง การสรางรถไฟฟา การสรางเครื่องบิน
รวมทั้งการติดตอสื่อสารไดถูกพัฒนาเทคโนโลยีมาอยางตอเนื่อง ตั้งแต โทรศัพทมีสาย โทรศัพทไรสาย
สมารทโฟน สัญญาณอินเทอรเน็ตไรสาย คอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศ จะเห็นไดวา การพัฒนา
เทคโนโลยีดานการเดินทางคมนาคมขนสง และการติดตอสื่อสาร มีความก้าวหนาอยางมาก ทำใหเกิด
92

การติดตอธุรกิจไดอยางรวดเร็ว วองไว สรางรายไดเข้าประเทศไดมากขึ้น รวมทั้งสามารถแก้ไขปญหา


เกิดจากกระบวนการระหวางการทำธุรกิจไดอยางถูกตองแมนยำอีกดวย เทคโนโลยีเหลานี้จึงเหมาะกับ

ภาพที่ 2.15 เทคโนโลยีพลาสมาอารคกำจัดขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อ


ดัดแปลงจาก: http://biomass.sut.ac.th/biomass/index.php
?page=WebInfoMenu/webInfo Show&id=20
93

บุคคลวัยทำงาน และนักธุรกิจ ในขณะที่ความก้าวหนาดานการสื่อสารดวยอินเทอรเน็ตไรสาย


คอมพิวเตอร และสมารทโฟน อาจเปนดาบสองคม หากผูใช้เปนเด็กในวัยเรียนและวัยรุนที่ยังไมมี
ประสบการณในการปองกันภัยเงียบที่มาจากความก้าวหนาของเทคโนโลยีดานนี้ ดังนั้น ผูปกครอง
ควรเอาใจใสดูแลการใช้เทคโนโลยีของเด็กและเยาวชน เพื่อลดปญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน
ที่กำลังจะเติบโตไปเปนกำลังสำคัญของชาติ
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ มีพื้นที่ปา แหลงน้ำ
มีสัตวปา สัตวน้ำ พืชพรรณนานาชนิด ที่ตั้งนับวาเปนยุทธศาสตรที่ดีมาก เพราะมีทรัพยากรธรรมชาติ
ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ ในแตละทองถิ่นของประเทศ มีปราชญชาวบานประดิษฐคิดค้น
อุ ป กรณ ด  า นดนตรี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประเพณี ต  า ง ๆ ที ่ เ ป น เอกลั ก ษณ ป ระจำถิ ่ น เช่ น การทำ
เครื่องดนตรีที่เรียกวา แคน จากไมไผ บั้งไฟพญานาค โคมลอยชาวเหนือ สุม ไซ แห จับสัตวน้ำ
เครื่องจักสานจากพืชหลากหลายชนิด ลวนแลวแตเปนเทคโนโลยีพื้นบาน ตนไผมีความแข็งแรงยัง
สามารถนำมาใช้ในการสรางบานเรือนไดอีกดวย
สภาพแวดล อ มในยุ ค ป จ จุ บ ั น โลกเกิ ด การเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศไปอย า งมาก
ภัยธรรมชาติเกิดรุนแรงอยางไมคาดคิด เช่น เกิดคลื่นยักษสึนามิ เกิดแผนดินไหว เกิดน้ำปาไหลหลาก
เกิดฝนตกหนักไมเปนตามฤดูกาล เกิดพายุลมแรง ในดานวัสดุศาสตรสำหรับสรางที่อยูอาศัย อาคาร
สถานที่ ตองมีการพัฒนาเทคโนโลยีรองรับหรือตานทานตอการเปลี่ยนแปลงของภัยธรรมชาติ รวมทั้ง
เทคโนโลยีการพยากรณอากาศ ของกรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งอยูในการดูแลของกระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร สามารถที่จะใช้เทคโนโลยีในการคาดการณในการเกิด พายุดีเปรสชัน
พายุ โ ซนร อ น พายุ ไ ซโคลน จากแหล ง กำเนิ ด ได พยากรณ ป ริ ม าณน้ ำ ฝนในแต ล ะพื ้ น ที ่ ส ำหรั บ
การเพาะปลูก พยากรณสภาพอากาศสำหรับการบิน วัดปริมาณโอโซนและรังสีจากดวงอาทิตย
เฝาระวังปรากฏการณเอลนีโน ลานีญา โดยเทคโนโลยีที่ใช้ คือ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเปนเทคโนโลยี
อวกาศชนิดหนึ่ง ปจจุบันไดมีการนำมาใช้ประโยชนเพื่อการพยากรณอากาศและรายงานสภาพลมฟา
อากาศ รวมทั้งปรากฏการณธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับชั้นบรรยากาศของโลก ประเทศไทยไดมีการนำ
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยามาใช้ประโยชนทางดานอุตุนิยมวิทยา การเกษตร การประมง และสิ่งแวดลอม
ยังมีเทคโนโลยีอีกหลายดานที่มนุษยคิดค้นขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกใหแก่ตนเองในการ
ดำรงชีวิต เช่น เทคโนโลยียานยนตและพลังงาน ปจจุบันการใช้รถบนทองถนนเรียกไดวามีจำนวนมาก
และเกิ ด ป ญ หาหลากหลายด า นตามมา อาทิ เ ช่ น ป ญ หาการจราจร ป ญ หามลพิ ษ ทางอากาศ
94

ปรากฏการณเรือนกระจก สงผลใหเกิดสภาวะโลกรอน ผลกระทบดานระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม


การขับเคลื่อนรถแตละประเภท จำเปนตองใช้เชื้อเพลิงจากน้ำมัน เพราะรถมีความจำเปนอยางมากตอ
การเดินทางไปไหนมาไหนของมนุษยไดอยางสะดวกสบาย ถึงที่หมายในระยะเวลาอันสั้นถาเทียบกับ
การเดินเทา มนุษยไมสามารถยกเลิกการใช้รถเปนพาหนะได เมื่อรถคือเทคโนโลยีหนึ่งในการอำนวย
ความสะดวกของมนุษย แตกลับทำลายสิ่งแวดลอมทั้งทางตรงและทางออม นอกจากรถบนทองถนน
แลว ยังมีเครื่องบินที่เดินทางบนทองฟา เรือที่เดินทางบนผิวน้ำ ปจจุบันจึงมีนักวิทยาศาสตรพยายาม
คิดค้นแหลงน้ำมันเชื้อเพลิง ที่ใช้เปนพลังงานทดแทน ที่มีคุณลักษณะเปนพลังงานสะอาด เปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอมเพิ่มมากขึ้น สำหรับประเทศไทย ประเทศที่โชคดีที่มีกษัตริยทรงพระปรีชาสามารถ
ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระบิดาแหงการพัฒนาพลังงานไทย ทรงมองเห็นวิสัยทัศนอันกวางไกลดาน
พลังงานชีวภาพเปนพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล ตั้งแตป พ.ศ.2504 ซึ่งผานมา 60 ปแลว
เทคโนโลยี ผ ลิ ต พลั ง งานทดแทนถู ก พั ฒ นาอย า งต อ เนื ่ อ ง ป จ จุ บ ั น เป น ที ่ ร ู  จ ั ก กั น ว า ไบโอดี เ ซล
ไบโอเอทานอล ซึ่งมีแหลงวัตถุดิบมาจากพืชน้ำมัน และวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ซึ่งประเทศไทย
เปนประเทศเกษตรกรรม มีวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรปริมาณมากอยูแลว (ภาพที่ 2.16)

ภาพที่ 2.16 พลังงานทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิงจากแนวพระราชดำริในหลวงรัชกาลที่ 9


มาจาก: http://www.eppo.go.th/royal/m1700_0020.html

ในปจจุบันประชากรมีจำนวนเพิ่มขึ้นทั่วโลก ทำใหความตองการผลิตภัณฑอุปโภคและบริโภค
ของมนุษยเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย ผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑ ถูกวางจำหนายตามรานสะดวกซื้อ
หางสรรพสินค้า เปนจำนวนมาก เมื่อใช้สิ่งเหลานั้นจนหมดแลว จะเหลือบรรจุภัณฑทิ้งกลายเปนขยะ
95

ที่ตองหาวิธีการกำจัด ซึ่งบรรจุภัณฑสวนใหญมีสวนประกอบเปนพลาสติกที่ยอยสลายยากตามสภาพ
ธรรมชาติ
ดั ง นั ้ น ผู  ผ ลิ ต จึ ง รั บ พนั ก งานในตำแหน ง นั ก วิ จ ั ย และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ (Research &
Development) เพื่อวิจัย ทดลอง คิดค้นเทคโนโลยี สำหรับทุกขั้นตอนระหวางการผลิตใหมีของเสีย
น อ ยที ่ ส ุ ด เป น มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล อ มมากที ่ ส ุ ด โดยใช้ เ ทคโนโลยี ส ะอาด เพื ่ อ ช่ ว ยกั น อนุ ร ั ก ษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งบรรจุภัณฑรักษโลกที่สามารถยอยสลายไดตามสภาพ
ธรรมชาติ มีการโฆษณาโปรโมทสินค้าที่จำหนายในทองตลาดใหผูบริโภครับทราบวา ผลิตภัณฑนั้น
ไมทำลายหรือก่อใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม

ภาพที่ 2.17 ฉลากสินค้าและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมของไทย


มาจาก: http://www.tei.or.th/th/green_office_detail.php?event_id=101
96

สินค้าหรือบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จะตองไดรับการตรวจประเมินผลกระทบที่เกิด
จาก กระบวนการผลิตตลอดทั้งวัฏจักรของผลิตภัณฑจากผูเชี่ยวชาญการดานสิ่งแวดลอมตามเกณฑ
มาตรฐาน จึงจะไดรับ "ฉลากสีเขียว" หรือ "ตราสัญลักษณ" ซึ่งฉลากที่มีออกโดยหนวยงานในประเทศ
ไทย แสดงวาสินค้าหรือบริการ จัดอยูในกลุมผลิตภัณฑสีเขียว เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผูบริโภค
สามารถสังเกตสัญลักษณบนกลอง หีบหอ บรรจุภัณฑหรือบนตัวสินค้า (ภาพที่ 2.17) ไดแก่

1. สัญลักษณฉลากเขียว
2. สัญลักษณประหยัดไฟเก็บอร 5
3. สัญลักษณผลิตมาจากวัสดุแปรใช้ใหม
4. สัญลักษณที่ผลิตมาจากปาที่ปลูก
5. สัญลักษณมาตรฐานผลิตภัณฑคุณภาพ

2.12 ปฏิสัมพันธระหวางการพัฒนาประเทศกับสิ่งแวดลอม
การพัฒนา ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหความหมายวา ความเจริญ
นั่นคือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตาง ๆ ที่มีอยูในอดีตใหดีขึ้น เพื่อการดำรงชีวิตของมนุษย (ศศินา,
2550 และ ทิพยวัลย, 2554) ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงมีแนวโนม 2 ทาง คือ
1. การเปลี ่ ย นแปลงโดยไม ค ำนึ ง ถึ ง สภาพแวดล อ ม การเปลี ่ ย นแปลงแบบนี ้ จะสนใจ
ความเปนไปของวัฒนธรรม ขนมธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน สังคม มุงเนนแต
สิ่งอำนวยความสะดวก ความทันสมัย เกิดกระบวนการคิดที่เห็นแก่ตนเอง วิสัยทัศนคับแคบ จะมี
ความสุขแค่เพียงชั่วคราว จนนำมาซึ่งความเสื่อม ความวิบัติ
2. การเปลี่ยนแปลงโดยคำนึงถึงสภาพแวดลอมดวย การเปลี่ยนแปลงแบบนี้ คิดถึงผลดี
ผลเสี ย ต อ คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย สั ต ว พื ช และสิ ่ ง แวดล อ มรอบตั ว ไม ว  า จะสร า งสิ ่ ง อำนวย
ความสะดวกใด จะไมสงผลกระทบทางลบตอสมดุลธรรมชาติ ทำใหความสัมพันธในรูปแบบนี้ยังคง
ผูกพันกับวิถีชีวิตดั้งเดิม มนุษยดำรงชีวิตอยูรวมกับธรรมชาติโดยไมทำลายธรรมชาติ มนุษยจะมี
ทรัพยากรธรรมชาติไวใช้ประโยชนไดอยางยาวนานและยั่งยืน
97

การพัฒนาประเทศ จึงหมายถึง การกระทำใดที่ขับเคลื่อนองค์ประกอบของประเทศทุกดาน


ใหเจริญขึ้น ดีกวาเดิม และไมทำลายสิ่งแวดลอม เกิดความเสถียรและยั่งยืน โดยองค์ประกอบของ
ประเทศมี 2 สวนคือ ประชากรและดินแดนอาณาเขต
การนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้เพื่อการพัฒนาในดานตาง ๆ สงผลกระทบ
ตอสิ่งแวดลอม ดังนี้ คือ
1. การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ไดแก่ การพัฒนาถนน ยานพาหนะ ไฟฟา น้ำประปา
โทรศัพทและระบบโทรคมนาคม การเชื่อมตอเครือข่ายไรสาย ระบบขนสง ระบบการสื่อสาร เพื่อให
มนุษยไดรับความสะดวกสบายในการเดินทางไปมา ทำธุระตามสถานที่ไดอยางรวดเร็ว คลองตัว
จึงตองนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน เช่น การพัฒนาถนน ใช้ทรัพยากรดิน ปาไม กระทบถึง
ทรัพยากรสัตวปา หิน แร จากภูเขาถูกเทคโนโลยีระเบิดแลวนำหิน แรไปใช้ในการสรางถนน แรธาตุ
ถูกนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟา ทรัพยากรน้ำถูกนำมาใช้ในการอุปโภค บริโภค และโรงงาน
อุตสาหกรรม การสรางเขื่อนจะช่วยกักเก็บน้ำไวใช้ และผลิตกระแสไฟฟา มีผลกระทบทางลบกับถิ่นที่
อยูของมนุษย สัตว พืช และระบบนิเวศเปนบริเวณกวาง เปนตน แตอยางไรตามระบบสาธารณูปโภคมี
ความจำเปนตอการดำรงชีวิตของมนุษยเปนอยางมาก
2. การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้และสิ่งจำเปนในการดำรงชีวิต ไดแก่ สิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ปจจัย 4 ตั้งแตที่อยูอาศัย การเลือกวัสดุสรางบานในปจจุบัน ก่ออิฐฉาบปูน เปนอาคารสูงปดมิดชิด
ไมมีหนาตางระบายอากาศเหมือนบานไมสมัยอดีต ทำใหเกิดความรอนภายในบานอาคารไดมากกวา
ทำใหสภาพความเปนอยูไมสุขสบาย จึงตองมีการคิดค้นเครื่องปรับอากาศติดตั้งไวในบานอาคาร
เปนผลใหเกิดมลพิษทางอากาศจากสารประกอบที่อยูในการสรางความเย็นในเครื่องปรับอากาศ
สารพิษลอยสูชั้นบรรยากาศเกิดปรากฏการณเรือนกระจก เครื่องนุงหม ปจจุบันเปนอุตสาหกรรมสิ่ง
ทอ ที่มีการใช้สารเคมีเพื่อสรางสีเสื้อผาที่มีความหลากหลาย และสรางความคงทนใหกับรูปแบบที่อยู
บนเสื้อผา เปนผลใหเกิดมลพิษทางน้ำ มลพิษทางดิน ที่มาจากสารเคมีที่ปลอยออกจากโรงงาน
อุตสาหกรรม การผลิตอาหาร ปจจุบันการผลิตอาหารมีความซับซ้อนมากขึ้น เกิดกระบวนการใน
โรงงานอุตสาหกรรม มีการเติมแตงสาร เช่น สารกันหืน สีผสมอาหาร สารกันบูด สารเพิ่มความข้น
หนืด ผงชูรส สารเสริมคุณค่าทางโภชนาการ อาหารไมโครเวฟ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอสุขภาพของ
ผูบริโภค รวมทั้งอาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมในรางกาย และถายทอดไปสูรุน
ลูกหลาน เกิดการแพสาร เช่น แพแปงสาลี แพนม แพถั่ว แพไข่ แพผงชูรส เปนตน การรักษาโรคและ
98

ยารักษาโรค ปจจุบันมีการคิดค้นยาที่มาจากสารเคมีสังเคราะหมากมาย แทนการใช้สารจากธรรมชาติ


เพราะยาสังเคราะหเห็นผลการรักษาไดไวกวา ในขณะที่ยาลักษณะนี้มีผลตกค้างเปนพิษตอตับ ไต
และอาจมีผลตอการทำงานของหัวใจดวย ซึ่งเปนอันตรายตอรางกายมาก อุปกรณทางการแพทย
เครื่องมือทางการแพทย มีสารอันตราย เมื่อปลอยสูสิ่งแวดลอม สงผลกระทบทางลบอยางมาก
ก่อใหเกิดมลพิษทางดิน ทางน้ำ ขยะติดเชื้อ ก่อใหเกิดโรคอุบัติใหมที่ปองกันไดยากขึ้น ทำใหประชากร
เสียชีวิตจากโรคระบาดที่แพรกระจายเชื้อไดอยางรวดเร็ว ตามสภาพแวดลอมที่เหมาะสมดวย
3. การพัฒนาทางดานการแพทยและสุขภาพอนามัย ปจจุบันอัตราการเกิดมีนอยลง ในขณะ
ที่ผูสูงอายุมีอัตราอายุยืนยาวมากขึ้น สำหรับประเทศไทยไดก้าวเข้าสู สังคมผูสูงอายุแลว แสดงใหเห็น
วา การพัฒนาและความก้าวหนาทางเทคโนโลยีโภชนาการศาสตร วิทยาศาสตรดานอาหาร เทคโนโลยี
ทางการแพทย นวัตกรรมทางการรักษาโรคไดพัฒนารุดหนาไปอยางรวดเร็ว ผลิตภัณฑและการบริการ
ทางการแพทยที่ทันสมัย สงเสริมใหประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้น ผูสูงอายุมีโอกาสไดรับอาหารที่มี
คุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยตอเชื้อก่อโรค ทำใหสุขภาพอนามัยของมนุษยดีขึ้น แนนอนเมื่อ
มนุษยมีอายุยืนยาวขึ้น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติยังคงมีตอเนื่อง เมื่อความก้าวหนาทางวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีทำใหมนุษยมีอายุยืนยาวขึ้น กลับสงผลกระทบทางลบตอสิ่งแวดลอมและยอนกลับมาสู
มนุษยเอง ในดานโรคระบาด ปญหาโรคภัยไข้เจ็บ และเสถียรภาพทางการเงินที่ตองใช้ในการดูแล
รักษาตนเองกับสภาพรางกายที่มีศักยภาพนอยลงจากวัยทำงาน จึงเกิดปญหาแรงงาน คนวัยทำงานมี
นอยลง (ภาพที่ 2.18)
4. การพัฒนาทางดานเทคโนโลยี ยุค 2021 นี้ เราปฏิเสธไมไดเลยวา เทคโนโลยีเข้ามามี
อิทธิพลตอการดำรงชีวิตของมนุษยในหลายดาน เมื่อตื่นนอน มีนากาปลุกจากสมารทโฟน ลางหนา
ดวยโฟมลางหนาที่มีสวนผสมสารเคมีและสารสกัดธรรมชาติ แปรงฟนดวยยาสีฟนที่มีสารออกฤทธิ์
ที ่ ถ ู ก คิ ด ค้ น เพื ่ อ ช่ ว ยในการฆ่ า เชื ้ อ แบคที เ รี ย ในช่ อ งปาก น้ ำ ยาบ ว นปากเช่ น กั น อาบน้ ำ ด ว ย
เครื่องทำน้ำอุนในหนาหนาว กินข้าว หากเรงรีบตองฝากทองกับอาหารกึ่งสำเร็จรูปพรอมปรุงสุกดวย
เครื่องไมโครเวฟและเตาอบ แตงตัวดวยเสื้อผาสิ่งทอจากอุตสาหกรรม ในปจจุบันคงไมมีใครเย็บผา
ดวยตนเอง หรือมีอัตราสวนนอยมาก เสื้อผาสวนใหญซื้อแบบสำเร็จรูปพรอมสวมใสไปทำงาน
การเดินทางไปทำงานดวยยานพาหนะที่ตองใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ปจจุบันการทำงานที่เครงเครียดจนไม
สามารถแบงเวลาไปทานข้าว มีเทคโนโลยีการสั่งอาหารออนไลนมีบริการสงถึงที่หมาย รวมทั้งการ
99

จ่ า ยเงิ น ด ว ยการโอนเงิ น ผ า นระบบโอนเงิ น ออนไลน ผ  า นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ไม ม ี ส ลิ ป บนกระดาษ


ลดปริมาณขยะจากกระดาษ แตจะเก็บข้อมูลไวในรูปแบบรูปภาพในสมารทโฟน

ภาพที่ 2.18 ประเทศไทยก้าวเข้าสูสังคมสูงวัย


มาจาก: https://blog.goodfactory.co/เกิดนอย-แตอยูนาน-เหตุแหง-สังคมสูงวัย-ec6a915ce78b

การติดตอสื่อสารกับครอบครัว เพื่อน การงาน ธุรกิจ ทำไดง่ายและรวดเร็ว แค่มีอินเทอรเน็ต


เครือข่ายไรสาย และแอปพลิเคชันที่ใช้ในการติดตอสื่อสาร ในที่ทำงานมีเครื่องมือสำนักงานที่พัฒนา
มาจากเทคโนโลยีที่หลากหลายสาขาวิชา เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานใหแก่พนักงาน หาก
พูดถึงการทองเที่ยว ปจจุบันมนุษยอยากไปไหนสามารถไปไดดั่งใจปรารถนา การเดินทางทองเที่ยว
ทั้งในประเทศและตางประเทศดวยเครื่องบิน เปนตน มีเทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตของมนุษยอีก
มากมายที่ไมสามารถยกตัวอยางไดหมด เทคโนโลยีเหลานี้ถึงแมจะอำนวยความสะดวกใหกับมนุษย
แตสรางมลพิษใหกับสิ่งแวดลอมมากมายเช่นกัน
100

2.13 ผลกระทบของเทคโนโลยี
ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นวัตกรรม มีประโยชนตอมวลมนุษยชาติ
ทั่วโลกจริง แตสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางมหาศาลดวยเช่นกัน (ศศินา, 2550 และ ทิพยวัลย,
2554) ผูเขียนจะสรุป ผลกระทบของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นกับดานตางๆ ไวดังนี้
1. ผลกระทบตอประชากร การเปลี่ยนแปลงทางบวก แตละประเทศสามารถคุมกำเนิดให
อัตราการเกิดของเด็กทารกไมมากจนเกินไป เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเปนปจจัย
4 อยางจำกัดภายในประเทศนั้นเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ประชากรมีความรูมีการศึกษาสูงขึ้น
มีหลักการทางวิทยาศาสตรเข้ามาช่วยในการตัดสินใจในการดำรงชีวิต รวมทั้งมีแนวคิดสรางสรรค์ใน
การสรางเทคโนโลยีที่ช่วยอนุรักษสิ่งแวดลอมดวย สงผลใหคุณภาพดานแรงงานมีศักยภาพมากขึ้น
เมื ่ อ อั ต ราการเกิ ด น อ ยลง ทำให ค รอบครั ว มี ข นาดเล็ ก ลง แต ล ะครอบครั ว มี ล ู ก ไม เ กิ น 3 คน
จึงมีความสามารถในการสงเสริมดานการศึกษาที่สูงไดอยางเต็มที่ ประชากรรุนลูกจึงมีการศึกษาสูง
กวาพอแม ในทางตรงข้าม เมื่อเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในหลายดาน สงผลใหประชากรยายถิ่นที่อยู
อาศัย ทำกินเข้ามาอยูในพื้นที่ที่มีความเจริญ มีอาชีพ มีโรงงานอุตสาหกรรม ทำใหการกระจายตัวของ
ประชากรเกิดความไมสมดุล แออัดในบางพื้นที่ เกิดการแยงชิงที่อยูอาศัย ที่ทำกิน สงผลใหเกิดปญหา
สังคม เกิดอาชญากรรม เกิดมลพิษสิ่งแวดลอม เกิดโรคระบาดและการติดเชื้อไดง่าย เกิดปญหาความ
ยากจน รวมไปถึงอัตราการจ้างงานดวยแรงงานคนลดลงอยางมาก เมื่อโรงงานนำเข้าเทคโนโลยี เช่น
ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร หุนยนต ปญญาประดิษฐ เครื่องจักรเครื่องยนตที่ควบคุม
ดวยระบบอัตโนมัติ ทำใหอาชีพในปจจุบันจำกัดมากขึ้น
2. ผลกระทบต อ เศรษฐกิ จ สั ง คม และวั ฒ นธรรม การเปลี ่ ย นแปลงทางบวก การนำ
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เปนปจจัยการผลิตดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสมสงผลใหผลผลิตมีคุณภาพดีและ
ปริมาณมาก เหลือสวนที่ตองทิ้งนอยที่สุด ทำใหการสงออกผลิตภัณฑของประเทศไมเกิดปญหา สงผล
ใหเงินเข้าประเทศ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามา
ช่วยในกระบวนการผลิตสินค้าและบริการที่ไดมาตรฐาน การใช้พลังงานที่ประหยัดแตประสิทธิภาพ
เทาเดิมหรือดีกวาเดิม มีกระบวนการกำจัดและบำบัดของเสียดวยเทคโนโลยีที่ชาญฉลาด และหวงใย
สิ่งแวดลอม ในทางตรงกันข้าม เทคโนโลยีเข้ามาทำลายวิถีชีวิตความเปนอยูแบบดั้งเดิมจนแทบไม
หลงเหลือวัฒนธรรมอันดีงามที่เคยมีมาตั้งแตบรรพบุรุษไดสั่งสอน ไมวาจะเปนการอยูดวยความมีน้ำใจ
พึ่งพาอาศัยกันและกัน มีข้าวแลกปลา มีผักแลกไข่ ความมีอัธยาศัยไดเลือนหายไป ใช้ชีวิตกันแบบตัว
101

ใครตัวมัน การทำนาวิถีของคนไทย เมืองเกษตรกรรม ที่สมัยอดีตชาวนาจะมาช่วยกันลงแขกเกี่ยวข้าว


แตปจจุบันตางคนตางปลูกข้าว ใช้รถไถเกี่ยวข้าวแทน รวมทั้งการปลูกพืชแบบอินทรีย ถูกเปลี่ยนวิถีมา
เปนการใช้สารเคมี ปุยเคมี สารฆ่าแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหญา เกิดมลพิษทางดิน ทางน้ำ และสงผลตอ
สุขภาพผูบริโภคผลผลิตทางการเกษตร และยังสงผลกระทบตอความผันผวนทางการเงิน ธนาคาร
และการลงทุนอีกดวย
3. ผลกระทบของเทคโนโลยี ต  อ สิ ่ ง แวดล อ ม ในระบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย มและ
ความก้าวหนาดานดิจิทัล ทำใหทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิดลดลงอยางรวดเร็วจนถึงขั้นสูญพันธุ
เมื่อความไมพอของมนุษยและความเห็นแก่ตัวไดสงผลตอความคิดของมนุษย ในการแสวงหานำ
ทรั พ ยากรธรรมชาติ ม าใช้ อ ย า งฟุ  ม เฟ อ ยเกิ น ความจำเป น การทำลายทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดลอมจึงเกิดขึ้นอยางก้าวขวาง ทำลายความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศ ประกอบกับการ
แข่ ง ขั น ทางด า นการผลิ ต สิ น ค้ า ให ไ ด ป ริ ม าณมาก การขนส ง ที ่ ร วดเร็ ว การสื ่ อ สารที ่ ว  อ งไว
ทำใหทรัพยากรธรรมชาติถูกนำไปใช้อยางมากทั่วโลก เทคโนโลยีในกระบวนการผลิตและการนำ
ทรัพยากรธรรมชาติมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑสินค้า ยอมตองมีของเสียและมลพิษเกิดขึ้นแนนอน
ไมวาจะเกิดมลพิษทางดิน ทางน้ำ ทางอากาศ ขยะสิ่งปฏิกูล เทคโนโลยีสวนใหญตองใช้พลังงานในการ
ขับเคลื่อนทำงาน การนำทรัพยากรธรรมชาติมาผลิตพลังงาน สงผลกระทบอยางมาก เนื่องจาก
ในปจจุบันพลังงานมีไมเพียงพอตอความตองการใช้ของมนุษย ทำใหทรัพยากรพลังงานแทบหมดสิ้น
ระบบนิเวศถูกทำลาย เกิดความเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตของพืชและสัตวอยางมาก และที่สำคัญ
เทคโนโลยียังก่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนปรากฏการณเรือนกระจก
การทำลายชั้นบรรยากาศโลกที่ช่วยกรองรังสีจากดวงอาทิตย ที่ก่อใหเกิดอัตรายตอสุขภาพของมนุษย
อาจทำใหเปนมะเร็ง โลกรอนขึ้น น้ำแข็งขั้วโลกละลาย เกิดภัยน้ำทวมรุนแรง ภัยแลงรุนแรง
4. ผลกระทบตอการศึกษาและเด็กวัยเรียนวันรุน การศึกษาในปจจุบัน ผูเรียนไมไดนั่งอยูกับ
โตะเรียนและมองกระดานหนาหองอีกตอไป ดวยการพัฒนาเทคโนโลยีดา นการศึกษาดวยคอมพิวเตอร
และระบบสารสนเทศ ไดเข้ามาช่วยในการผลิตสื่อการเรียนการสอนที่นาสนใจใหกับเด็กและเยาวชน
มากขึ้น มีเสียง ภาพ และเอฟเฟกตประกอบเพื่อดึงดูดความสนใจของผูเรียน ความรูทางวิทยาศาสตร
ที ่ ทั นสมั ยและเข้ าถึ งการทดลอง ปฏิ บั ติ การได มากขึ้ น ผู  สอนเชื ่ อว าจะช่ วยสร างจิ นตนาการที่
สรางสรรค์ของเด็กและเยาวชน เพื่อผลิตกำลังคนที่สรางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ยั่งยืนสำหรับ
102

พัฒนาประเทศ เพื่อลดเทคโนโลยีนำเข้าจากตางประเทศ เช่น สื่อการสอนออนไลน (ภาพที่ 2.19)


เปนตน

ภาพที่ 2.19 สื่อการสอนออนไลน


มาจาก: https://www.kruchiangrai.net/2017/05/31/ดาวนโหลด-สื่อการเรียนก/

ตัวอยางการใช้องค์ความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาบูรณาการรวมกันกับความรูดาน
วิทยาการคอมพิวเตอร โดย ณัฏฐ และ อนุพงษ (2559) ไดคิดค้นวิธีการทางวิทยาการคอมพิวเตอร ทำ
การออกแบบและพัฒนาสื่อประเภทหนังสือสวนสัตวแบบสามมิติดวยเทคโนโลยีโลกเสมือนผสานโลก
จริง เพื่อใหใช้งานไดบนสมารทโฟน ใหผูที่สนใจเข้าถึงสวนจัดแสดงสวนสัตวอุบลราชธานี ผานการ
เขี ยนโปรแกรมทางคอมพิ วเตอร ทำให ผู  ใ ช้ เ ข้ าถึ งและจดจำสั ตว ไ ด ง่ าย ศึ กษาเกี ่ ยวกั บสั ตว ไ ด
ตลอดเวลา
เนื่องจากสื่อการสอนเหลานี้ ตองมีเทคโนโลยีคอมพิวเตอร หรือสมารทโฟนรองรับการเข้าถึง
เพื่อใหเด็กและเยาวชนไดดู และหากการเข้าถึงนี้ไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง ยอมสงผล
เสียอยางมากกับตัวเด็กที่ยังไมมีประสบการณและการควบคุมตนเองในการใช้เครื่องมือที่ทันสมัยนี้
หากเด็กใช้เวลาอยูกับเทคโนโลยีนี้มากเกินไป จนสงผลกระทบตอพัฒนาการดานความคิดของเด็ก
สุขภาพดวงตา สุขภาพรางกายที่ไมพัฒนาไปตามวัย รวมทั้งสงผลใหเด็กเกิดโรคสมาธิสั้น ก้าวราว
เอาแตใจ รวมไปถึงอาจเกิดปญหาอาชญากรรม ลักพาตัวเด็กไปกระทำชำเรา ข่มขืน อนาจาร และอาจ
เสียชีวิตในที่สุด
103

สรุปทายบท
มนุษยมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม โดยการสรางเทคโนโลยีจากองค์ความรูทางวิทยาศาสตร
ในการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุด สรางความก้าวหนาดานตาง ๆ สำหรับ
อำนวยความสะดวก ยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษย ซึ่งเทคโนโลยีมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดลอม ในขณะที่สิ่งแวดลอมเปนตัวกำหนดการสรางเทคโนโลยี ดังนั้นการสรางเทคโนโลยีที่ดีตอง
ไมทำลายสิ่งแวดลอม และสามารถอยูรวมกันอยางสมดุล ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ พัฒนากำลังคนใหมีความรูความเชี่ยวชาญเพิ่มมาก
ขึ้นจากการมีเทคโนโลยีทางการศึกษา มีสื่อการเรียนรูที่ทันสมัยและเข้าถึงไดง่ายในทุกมุมโลกดวย
เครือข่ายไรสาย อินเทอรเน็ต พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ความเปนอยู วัฒนธรรม การควบคุมจำนวน
ประชากร การพัฒนาทางการเมือง สิ่งแวดลอม รวมทั้งเทคโนโลยีมีผลตอการใช้ชีวิตประจำวันของ
มนุษย ในขณะเดียวกันผลกระทบของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเกิดขึ้นดวยเช่นกันอยางหลีกเลี่ยง
ไมได แตสามารถปองกัน หาแนวทางแก้ไข หรือลดผลกระทบทางดานลบลงได ผลกระทบของ
เทคโนโลยีมีตอดานการเกษตร ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรสัตวปา ทรัพยากรปาไม
ทรัพยากรอากาศ ทำใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก สภาวะโลกรอน การปลอยสารเคมีจากโรงงาน
อุตสาหกรรม มลพิษทางขยะมูลฝอย ชยะติดเชื้อ ขยะอันตรายอิเล็กทรอนิกส มลพิษจากอุตสาหกรรม
ยานยนตและพลังงาน ปญหาการแออัดของประชากรในเมืองใหญ เมืองอุตสาหกรรม การสูญเสีย
ความหลากหลายทางพั น ธุ ก รรมของพื ช และสั ต ว เกิ ด ป ญ หาสั ง คมโดดเดี ่ ย ว ครอบครั ว เดี ่ ย ว
สังคมก้มหนามองหาแตสมารทโฟน การปฏิสัมพันธพูดคุยสื่อสารระหวางมนุษยลดลง เกิดช่องวาง
ระหวางวัย เกิดการสื่อสารทางเดียว สังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปเปนสังคมทุนนิยม และสังคมบริโภค
นิยม รับข้อมูลข่าวสารผานสื่อออนไลน รวมทั้งก่อใหเกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจการเงิน จนเกิด
อาชญากรรม การข่มขืน ความไมปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของสุจริตชน ดังนั้นมนุษยควร
ตระหนักถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำรงชีวิตของตน การเดินทางสายกลาง การตัดสินใจเลือก
รับเทคโนโลยีดวยสติปญญา จึงมีความสำคัญมากตอการใหคำแนะนำแก่เด็กและเยาวชน ที่กำลังจะ
เติบโตไปเปนผูใหญ ซึ่งเปนกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติตอไป
104

แบบฝกหัดทายบทที่ 2
1. ความสำคัญขององค์ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสรางความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดลอมอยางไรบาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

2. องค์ประกอบของเทคโนโลยีมี 2 สวน คือ ซอฟตแวร และฮารดแวร กรณีเทคโนโลยีการบำบัดน้ำ


เสียในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีในประเทศไทย จงอธิบายวาสวนใดคือ ซอฟตแวร และสวนใดคือ
ฮารดแวร
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
105

3. จงวิเคราะหประเภทของเทคโนโลยี ดังตอไปนี้
สิ่งอำนวยความสะดวกของมนุษย ประเภทของเทคโนโลยี

1. สมารทโฟน

2. ตูเย็น

3. แหนมฉายรังสี

4. วัคซีนปองกันโควิด-19

5. ไบโอเอทานอล

4. เทคโนโลยี ที ่ เ ข้ ามามี บทบาทมากในช่ วงเกิ ดการแพร ระบาดของเชื ้ อไวรั สโคโรนา-2019 คื อ


เทคโนโลยีใด จงยกตัวอยางการใช้ประโยชนจากเทคโนโลยีนั้นในชีวิตประจำวัน
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

5. ท า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย า งไรต อ ผลกระทบของเทคโนโลยี อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส คอมพิ ว เตอร และ
สารสนเทศตอเด็กช่วงอายุ 3-12 ขวบ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
106

เอกสารอางอิง
กิ ต ติ พ ั ฒ น อุ โ ฆษกิ จ . (2557). พั น ธุ ว ิ ศ วกรรม: เทคโนโลยี ข องยี น . กรุ ง เทพฯ: สำนั ก พิ ม พ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. (2557). สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต.
พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ทิพยวัลย เรืองขจร. (2554). วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ณัฏฐ ดิษเจริญ และอนุพงษ รัฐิรมย. (2559). การพัฒนาหนังสือสวนสัตวสามมิติดวยเทคโนโลยีโลก
เสมือนผสานโลกจริงบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด. วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู. 7 (1): 77-87.
นงลั ก ษณ สุ ว รรณพิ น ิ จ และ ปรี ช า สุ ว รรณพิ น ิ จ . (2557). จุ ล ชี ว วิ ท ยาทั ่ ว ไป. พิ ม พ ค รั ้ ง ที ่ 10.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
นิกร จันภิลม ศตพล กัลยา ภาสกร เรืองรอง และ รุจโรจน แก้วอุไร. (2562). เทคโนโลยีการศึกษาใน
ยุค Thailand 4.0. วารสารปญญาภิวัฒน. 11(1): 304-314.
วรลักษณ วงศโดยหวัง ศิริเจริญ. (2559). ปฏิสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับมนุษย. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ศศินา ภารา. (2550). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท.
สถาบันระหวางประเทศเพื่อการค้าและพัฒนา (องค์การมหาชน). (2557). การพัฒนาศักยภาพการ
ผลิตและสงออกสินค้าและบริการสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: บริษัท ออนปา จำกัด.
สุภัจฉรา นพจินดา. (2557). โพรไบโอติกกับการสงเสริมสุขภาพ. วารสารพยาบาลทหารบก. 15: 430-
435.
สุภัสสร วันสุทะ, ลัดดาวัลย ยืนยาว, เขมวิทย จันตะมา และศิริมา สุวรรณกูฏ จันตะมา. (2562).
ความคงตัวของแบคทีเรียโพรไบโอติกที่ผานการหอหุมเซลล ดวยวิธีเอ็กซ์ทรูชันในน้ำแครอท.
วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 7: 41-60.
107

Tangsombatvichit, P., Semkiv, M.V., Sibirny, A.A., Jensen, L.T., Ratanakhanokchai, K. and
Soontorngun, N. (2015). Zinc cluster protein Znf1, a novel transcription factor of
non-fermentative metabolism in Saccharomyces cerevisiae. FEMS Yeast Research.
15: 1-16.
Tangsombatvichit, P., Buranasaksee, U., and Tumthong, S. (2018). YeastSCI: A web tool
integrating zinc cluster protein information of Saccharomyces and Candida. In
Proceedings of the 2018 6th International Conference on Bioinformatics and
Computational Biology (pp. 23-27). ACM.
Vasic, K., Knez, Z. and Leitgeb, M. (2021). Bioethanol production by enzymatic
hydrolysis from different lignocellulosic sources. Molecules. 26: 1-23.
108

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
ชลัยธร และ จตุพล. (2566). การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสำหรับสตรีไทย [online]. แหลงที่มา
https://w1med.cmu.ac.th/obgyn/lessons/cervical-cancer-screening-for-thais/ วั น ที่
สืบค้น 5 มีนาคม 2566
นิพนธ ทรายเพชร. (2565). การทองเที่ยวอวกาศ [online]. แหลงที่มา https://www.scimath.org/
article-earthscience/item/12597-2022-07-25-08-20-30 วันที่สืบค้น 5 มีนาคม 2566
บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส จำกัด. (2566). ดินสอ [online]. แหลงที่มา https://www.dinsow.com/
dinsow-mini-eldery-care-robot/ วันที่สืบค้น 5 มีนาคม 2566
ป ย วรรณ ปนิ ท านเต. (2549). กว า จะมาเป น เครื ่ อ งบิ น [online]. แหล ง ที ่ ม า https://www2.
mtec.or.th/ th/e-magazine/admin/upload/228_16-20-edit.pdf วันที่สืบค้น 5 มีนาคม
2566
โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร ใ นกรุ ง เทพ. (2566). การตรวจคั ดกรองมะเร็ งปากมดลู ก (co-testing)
[online]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า https://www.bumrungrad.com/th/packages/cervical-cancer-
screening-co-testing วันที่สืบค้น 5 มีนาคม 2566
เอมอร กาศสกุล. (2566). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชาติตะวันตก [online].
แหลงที่มา http://www.ngwk.ac.th/web/social/em-orn/west-culture/page1.htm วันที่
สืบค้น 5 มีนาคม 2566.
109

บทที่ 3
ปฏิสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมและเทคโนโลยี

3.1 บทนำ
ผูอานไดเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศ รวมทั้งความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาแลวในบทที่ 1 และ บทที่ 2 ในบทนี้ ผูเขียนจะอธิบายถึงปฏิสัมพันธระหวางมนุษย สิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งแวดลอม รวมไปถึงความเกี่ยวข้องของเทคโนโลยีและการดำรงชีวิตของมนุษย ผูอานคงมีความ
สงสัยและอยากหาคำตอบวา บรรพบุรุษของมนุษยคือใคร มนุษยมีรูปรางหนาตาเหมือนทุกวันนี้
แตกตางจากมนุษยสมัยอดีตหรือไม ผูอานสามารถหาคำตอบไดจากหลักฐานทางประวัติศาสตร
วิวัฒนาการของมนุษย ณ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร องค์การพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ ที่รวบรวม
เรื ่ อ งราวกำเนิ ด มนุ ษ ยชาติ แ ละป า ลู ซ ี ่ ซึ ่ ง เป น วานรมนุ ษ ย ท ี ่ ม ี ข ้ อ มู ล หลั ก ฐานว า จะเป น มนุ ษ ย
เช่นเดียวกับเรา เริ่มตนกำเนิดมนุษย เมื่อปจจุบันมีองค์ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามา
ช่วย ทำใหมนุษยทราบวา ธาตุที่ประกอบภายในรางกายมีคารบอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน
ซึ ่ ง สอดคล อ งกั บ นั ก วิ ท ยาศาสตร ใ นสมั ย อดี ต ที ่ ไ ด ใ ห ข ้ อ มู ล ว า มนุ ษ ย ก ำเนิ ด มาจาก
ธาตุคารบอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ธาตุเหลานี้เปนก๊าซอยูในชั้นบรรยากาศในช่วงกำเนิด
โลก ผูอานสามารถศึกษาค้นควาข้อมูลบรรพบุรุษและวิวัฒนาการของมนุษยไดอยางถูกตองจาก
ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรที่สามารถใช้ข้อมูลทางพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอมาช่วยบงชี้วามนุษยมี
บรรพบุรุษใกลเคียงกับสิ่งมีชีวิตใดมากที่สุด เมื่อโลกกำเนิดขึ้น สิ่งมีชีวิตบางชนิดกำเนิดมาพรอมกับ
โลก เกิดสิ่งมีชีวิตหลากหลายสายพันธุ กลายเปนระบบนิเวศในแตละพื้นที่ ซึ่งคือความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมลวนมีความสัมพันธกันในเชิงบวก และเชิงลบอยางซับซ้อน
ในขณะเดียวกัน สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมมีปฏิสัมพันธกับมนุษยอยางหลีกเลี่ยงไมได ดังนั้น มนุษยจึง
เปนตัวแปรหลักที่ก่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศหนึ่ง มนุษยนำ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาสรางสิ่งอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตและคุณภาพชีวิตที่
ดีขึ้นแลว มนุษยควรตระหนักถึงความสำคัญในการปองกันและมีวิธีการถูกตองเหมาะสมในการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหอยูอยางยั่งยืนดวย
110

3.2 ความหมายและความสำคัญของวิวัฒนาการ
การศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย ธนิก (2548) ไดอธิบายความหมายและความสำคัญของ
วิวัฒนาการไว ดังนี้
3.2.1 ความหมายของวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสูสิ่งที่ดีขึ้น เจริญขึ้น การเปลี่ยนแปลงนี้อยู
บนเงื่อนไขของการดำเนินการค่อยเปนค่อยไป พัฒนาไปตามวิถีธรรมชาติและผลการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่งแวดลอม ตองใช้เวลา เปนการเปลี่ยนแปลงทางรูปราง หนาที่ขององค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะเห็นความแตกตางอยางชัดเจนระหวางบรรพบุรุษกับรุนลูกหลานที่มีการ
ถายทอดดีเอ็นเอมาหลายชั่วอายุ
3.2.2 ความสำคัญของการเรียนรูวิวัฒนาการ
การเรียนรูวิวัฒนาการของมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่น นำไปสูองค์ความรูสำหรับศาสตรทางดาน
วิทยาศาสตรชีวภาพทุกสาขา ทั้งการศึกษามนุษย พืช สัตว และจุลินทรีย ความรูที่สนับสนุนการ
ศึกษาวิจัยศาสตรทางดานพันธุศาสตรและอณูโมเลกุล เพื่อสรางสิ่งมีชีวิตที่เปนประโยชนตอมนุษยบน
พื้นฐานของการมีจรรยาบรรณนักวิจัย ทำใหมนุษยทราบข้อมูลความเปนมาของตนเองและสิ่งมีชีวิต
อื่น เข้าใจถึงความเหมือนกัน และความตางกันของสิ่งมีชีวิตแตละชนิด รวมทั้งความสัมพันธเชิง
ดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต ทำใหมนุษยเรียนรูและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรม ลักษณะการ
แสดงออก และสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธเกี่ยวข้องกัน รวมไปถึงมนุษยสามารถใช้สิ่งมีชีวิตที่มี
ดีเอ็นเอใกลเคียงกับตนเองมาใช้ประโยชนในการศึกษาวิจัยทางการแพทย การผลิตยารักษาโรค
แนวทางการรักษาโรคอุบัติใหมที่เกิดขึ้น การผลิตวัคซีนปองกันไวรัสและสารก่อภูมิแพ

3.3 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
จากเอกสารคำสอนวิวัฒนาการของมนุษย (ธนิก, 2548) หนังสือ The origin and evolution
of Homo sapiens (Stringer, 2016) และพั น ธุ ศ าสตร (กิ ต ติ พ ั ฒ น , 2561) ได อ ธิ บ ายเกี ่ ย วกั บ
วิวัฒนาการของมนุษย และปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม ผานการศึกษาค้นควาจาก
นั ก วิ ท ยาศาสตร ใ นอดี ต หลากหลายท า น เนื ่ อ งจากมนุ ษ ย ม ี ค วามสนใจความเป น มาของตนเอง
นักวิทยาศาสตรชื่อ ชารลส ดารวิน (Charles Darwin) ไดอธิบายถึงหลักการของวิวัฒนาการสิ่งมีชีวิต
111

ไววา วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตนั้น มีผลมาจากการคัดเลือกของธรรมชาติ (natural selection) ทำให


สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวไปตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางช้า ๆ เพื่อใหตนเองอยูรอด
ขยายเผาพันธุ และสงผานลักษณะทางพันธุกรรมจากรุนพอแมสูรุนลูก โดยลักษณะทางพันธุกรรมที่
ถายทอดไปสูรุนถัดไปเกิดขึ้นแบบอิสระ กำหนดกฎเกณฑไมได จึงเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
ของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตใดสามารถปรับตัวไปตามสภาพสิ่งแวดลอมได สิ่งมีชีวิตนั้นจะยังคงมีชีวิตรอดสู
กับภัยธรรมชาติไดในปจจุบัน ในขณะที่สิ่งมีชีวิตใดไมสามารถปรับตัวไปตามสภาพสิ่งแวดลอมได
สิ่งมีชีวิตนั้นจะค่อย ๆ ลดจำนวนประชากรลงและสูญพันธุไปในที่สุด แตจะมีสิ่งมีชีวิตพันธุใหม
ก่อกำเนิดขึ้นมาแทน หรือมีลักษณะใหมขึ้นมาแทนที่อยูรอดไดในสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง
สัตวที่เราไดมีโอกาสพบเห็นในสวนสัตว คือสัตวแตละชนิดมีรูปรางลักษณะแตกตางกันไป
รวมทั้งมีรูปรางแตกตางจากมนุษยดวย ยกตัวอยางเช่น ยีราฟคอยาวยืนสูงตระหง่านกินใบไมจาก
ตนไมสูง มีนักวิทยาศาสตรชื่อ ลามารก พยายามอธิบายวา ยีราฟคอยาวนั้นเปนเพราะการถายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมจากพอแมยีราฟอยากใหรุนลูกอยูรอดไดจากการแยงชิงอาหาร สัตวแตละชนิด
มีขนาดตัวและคอเทากันกินตนไมที่มีขนาดความสูงใกลเคียงกัน ตนไมอาจมีโอกาสหมดไป หมายความ
วา อาหารของยีราฟและสัตวอื่นจะลดนอยลงตามไปดวย ยีราฟจึงตองปรับโครงสรางคอใหยาวเพื่อกิน
ต นไม ที ่ อยู  สู ง ได และสามารถถ ายทอดลั กษณะคอยาวไปสู  รุ  นลู กหลาน ในขณะที ่ แนวคิ ดของ
นักวิทยาศาสตร ชื่อ ชารลส ดารวิน อธิบายวา ยีราฟมีทั้งคอสั้นและคอยาว แตในสภาวะที่ตนไมที่มี
ความสูงเทากับสัตวชนิดอื่นกินได เกิดการขาดแคลนอาหาร เหลือเพียงใบไมที่อยูที่สูงบนตนไม ยีราฟ
คอยาวจึงมีโอกาสกินอาหารและอยูรอดไดมากกกวายีราฟคอสั้น ดังนั้น กลุมของยีราฟคอยาวใน
ประชากรยี ร าฟ จึ ง สามารถอยู  ร อดได ด ี ก ว า และผลิ ต ลู ก หลานที ่ ม ี ล ั ก ษณะคอยาวได ม ากกว า
ยีราฟคอสั้น และนี่คือหัวใจของวิวัฒนาการที่เกิดจากกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ รวมทั้งความ
ผันแปรดังกลาวเกิดขึ้นจากความแตกตางของพันธุกรรมที่ไดรับการถายทอดมาจากพอแมยีราฟ
(ภาพที่ 3.1)
112

ภาพที่ 3.1 วิวัฒนาการของยีราฟคอยาว


มาจาก: http://uncaseal.blogspot.com/2015/01/3.html

3.4 วิวัฒนาการของมนุษย
คริสตศตวรรษที่ 17 มีนักโบราณคดีและนักวิทยาศาสตรไดค้นพบหลักฐานกระดูกสัตว
กระดูกมนุษย และเครื่องมือหินที่แสดงวาโลกมีความเก่าแก่มานับลานปแลว ในคริสตศตวรรษที่ 19
ชารลส ดารวิน ไดนำเสนอข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตซึ่งรวมมนุษยดวย
วาสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นบนโลกมีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ตอมา โทมัส ฮักซ์ลีย ไดเขียนหนังสือที่อธิบาย
วากำเนิดของมนุ ษยถู กจัดลำดั บอยางเป นระบบอยางไร โดยศึ กษาข้อมู ลเปรียบเทียบลักษณะ
ทางกายวิภาคของมนุษยและลิงไมมีหาง เพื่ออธิบายวามนุษยมีลักษณะตางๆ ใกลเคียงกับลิงไมมีหาง
มากกวาสิ่งมีชีวิตอื่นที่กำเนิดบนโลก และมีการค้นพบซากหลักฐานทางโบราณคดีอยางตอเนื่อง
ก่อใหเกิดความก้าวหนาในการศึกษาวิวัฒนาการของมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นบนโลก ซึ่งอยูในสาขาวิชา
ชีววิทยาในปจจุบัน เริ่มตนการศึกษาความเปนมาของมนุษยเรา จากการค้นพบซากดึกดำบรรพที่มี
อายุเก่าแก่ที่สุดในแอฟริกา เปนมนุษยรุนแรกของ Homo sapiens ชื่อวิทยาศาสตรของมนุษยซึ่งมี
ความหมายวา มนุษยฉลาด มีการแพรกระจายประชากรไปยังที่อื่นบนโลก โดยมีหลักฐานชิ้นสำคัญ
ไดแก่ ลักษณะรูปรางหัวกะโหลก โครงกระดูก ซึ่งหลักฐานบรรพบุรุษของมนุษยมีหลากหลายที่ เช่น
เอธิโอเปย แอฟริกาใต โมรอกโค อียิปต อิสราเอล และจีน เปนตน
113

ภาพที่ 3.2 วิวัฒนาการของมนุษย


มาจาก: https://www.thaigoodview.com/knowledge/11014/human-evolution

ตอมาเมื่อวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีการพัฒนามากขึ้นอยางรวดเร็ว แตละ
ยุคมนุษยมีการพัฒนาระบบสมอง ทำใหมีความคิดซับซ้อน ดวยโครงข่ายระบบประสาทของมนุษยที่ดี
ที่สุดเมื่อเทียบกับสิ่งมีชีวิตอื่นบนโลก มนุษยมีการคิดค้นเทคโนโลยีในการศึกษาสารพันธุกรรมหรือดี
เอ็นเอ จนสามารถสรางโมเดลการเปรียบเทียบดีเอ็นเอของมนุษยกับสิ่งมีชีวิตอื่น ทำใหมนุษยทราบ
ข้อมูลหมูเลือด ลำดับเก็บสดีเอ็นเอ รวมกับการวัดขนาดหัวกะโหลกและลักษณะใบหนา จนสามารถ
เชื่อมโยงความสัมพันธของวิวัฒนาการของมนุษยไดดังภาพที่ 3.2 ซึ่งอธิบายวา การค้นพบวิวัฒนาการ
บรรพบุรุษของมนุษย สามารถยอนเวลาไปเมื่อ 3.5 ลานป มีข้อมูลหัวกะโหลกและลักษณะใบหนาที่
แสดงถึงกลุมมนุษยวานร ออสตราโลพิทีคัส ตอมาพบกลุมออสตราโลพิทีคัส แอฟริกานัส ในช่วง 2
ลานป นักโบราณคดีและนักวิทยาศาสตรไดสำรวจพบกลุมบรรพบุรุษมนุษย กลุมโฮโม แฮบิลิส ถัดมา
มนุษยแรกเริ่ม กลุมโฮโม อีเรคตัส ถัดมาเปนกลุมโฮโมเซเปยนส นีแอนเดอธัล มาจนถึงมนุษยปจจุบัน
กลุมโฮโม เซเปยนส เซเปยนซ์
114

ภาพที่ 3.3 มนุษยวานรเพศหญิงที่มีชื่อวา ลูซี่


มาจาก: https://www.nsm.or.th/about-science-museum/exhibition-science-
museum/permanent-exhibitions-of-science-museum-2/657-2nd-floor-science-and-
technology.html

ในขณะที่มีการค้นพบซากโครงกระดูกของลิงใหญไรหาง เปนเพศหญิงที่ถูกจินตนาการวาเปน
หญิงสาวบอบบาง จากลักษณะกระดูกสะโพกเชิงกราน เดินสองขา สูงเมตรกวา ขนาดสมองมี 35%
เทียบกับมนุษยปจจุบัน แตยังคงมีหนาตาและขนดกเหมือนลิง สวนชื่อของลูซี่มาจากการที่ทีมขุดค้น
นั่งฟงเพลง Lucy in the Sky with Diamond ของวง The Beatle ระหวางแยกกระดูกอยู เลยตั้งชื่อ
โครงกระดูกหญิงสาวผูนี้วา “ลูซี่” จึงเปนที่มาของการค้นพบมนุษยวานรซึ่งเปนบรรพบุรุษของมนุษย
ปจจุบัน เราเรียกเขาวา ปาลูซี่ (ภาพที่ 3.3)

มีหลักฐานเชิงวิทยาศาสตรอธิบายวา มนุษยวานรยุคแรกเริ่มมีวิวัฒนาการมาจากกลุมวานร
มนุษยหลายสายพันธุมีการพัฒนาสายพันธุไปตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปมีการปรับตัวเพื่อ
ความอยูรอด รูจักการทำเครื่องมือลาสัตว เก็บของปากิน สามารถใช้หินเปนเครื่องมือ มีมือ 2 ข้างที่
คลองแคลว ยืน 2 ขาได นอกจากนี้มนุษยวานรยังมีวิวัฒนาการและการอพยพยายที่อยูเพื่อหาแหลงที่
เหมาะสมตอการดำรงชีวิต (ภาพที่ 3.4)
115

ภาพที่ 3.4 มนุษยวานรยุคแรก


มาจาก: https://ngthai.com/science/24384/human-evolution/

ในยุคดึกดำบรรพ มนุษยอยูรวมกับธรรมชาติไดอยางลงตัวและสมดุล แตเมื่อมีความก้าวหนา


และข้อมูลในการสรางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตรที่ทันสมัยขึ้น เกิดความก้าวหนาอยางรวดเร็ว จน
ปจจุบันยุคศตวรรษที่ 21 มนุษยใช้ธรรมชาติจนเกินความจำเปนเพื่อสนองความตองการความ
สะดวกสบายของตนเอง และทำลายสิ่งแวดลอมทั้งทางตรงและทางออมดวยกิจกรรมหลากหลายที่
มนุษยสรางขึ้น ธนิก (2548) ไดอธิบายเกี่ยวกับแนวโนมของวิวัฒนาการ ไววา การเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นจะเกิดไปข้างหนา ไมยอนกลับ เปลี่ยนแปลงไปอยางช้า ๆ ตามธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ
โลก ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไมเหมาะสมกับสภาพแวดลอมหรือสิ่งมีชีวิตปรับตัวไมได จะค่อย ๆ
สูญหายไปหรือสูญพันธุไปในที่สุด
3.4.1 ลักษณะของมนุษยในยุคปจจุบัน ศตวรรษที่ 21
เมื่อนักวิทยาศาสตร ชารลส ดารวิน ไดอธิบายวิวัฒนาการของมนุษยไว มนุษยยุคปจจุบันมี
การเปลี่ยนแปลงทั้งพันธุกรรม และรูปรางลักษณะทางกายภาพไปตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง
ไปตามกาลเวลา ทำใหลักษณะโครงสรางทางรางกายมีการปรับเปลี่ยนตามความตองการใช้งาน ซึ่ง
ลักษณะที่บงบอกรูปรางลักษณะของมนุษยในยุคปจจุบัน มีดังนี้
1. ลำตัวตั้งตรงไปตามโครงสรางของกระดูกสันหลัง สามารถโค้งตัวลงเปนรูปตัวเอสได
2. เคลื่อนที่ดวยขา 2 ขา สวนขายาวกวาสวนแขน
116

3. หัวแมมือ หัวแมเทาสั้น สำหรับหัวแมมือ นิ้วมี 5 นิ้วแตละนิ้วสามารถแยกกางออกได


พับงอเข้าหาอุงมือไดเพื่อหยิบจับของไดอยางถนัด และหยิบไดหลายลักษณะ
4. รางกายมีขนขนาดสั้นและมีเล็กนอย เพื่อปองกันฝุนละอองและเชื้อโรคเข้าสูผิวหนัง แตจะ
ไมมีขนยาวและหนาปกคลุมตัว เพราะมนุษยยุคนี้มีเครื่องนุงหมปกคลุมรางกายปองกันการกระทบ
ของสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงได
5. สมองมีขนาดใหญที่สุดเมื่อเทียบกับขนาดรางกายของสิ่งมีชีวิตอื่น
6. รูปรางใบหนาสั้นและแบน หนาผากตั้งตรง
7. ขากรรไกรสั้น แนวซี่ฟนตามเพดานปาก โค้งเกือบเปนรูปครึ่งวงกลม
3.4.2 ยุคของมนุษยและความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม
สิ ่ ง แวดล อ มมี ค วามสั ม พั น ธ ก ั บ มนุ ษ ย ไ ม ว  า ยุ ค สมั ย จะเกิ ด การเปลี ่ ย นแปลงไปตาม
ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางไร เพราะสิ่งแวดลอมเปนวัตถุดิบในการสราง
ปจจัย 4 เพื่อการดำรงชีวิตและอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตของมนุษย สุรัตน (2566) ไดอธิบาย
ถึง ความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยไว ดังนี้
1. มนุษยอยูรวมกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มนุษยยุคนี้มีการดำรงชีวิตอยูภายใตกฎเกณฑ
ของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
2. มนุ ษ ย ต  อ ต า นธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ ม มนุ ษ ย ย ุ ค นี ้ ท ำการดั ด แปลงธรรมชาติ
เปลี่ยนสภาพสิ่งแวดลอม เพื่อการดำรงชีวิตของตนเอง เมื่อมนุษยเพิ่มจำนวนประชากรมากขึ้น ความ
ตองการปจจัย 4 จึงมีมากขึ้นตามไปดวย ไมวาจะเปนอาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัยเพื่อหลบภัย
ธรรมชาติ และยารักษาโรคเมื่อเจ็บปวย มนุษยจึงเกิดการแข่งขันแยงชิงพื้นที่ที่อุดมสมบูรณดวย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เมื่อมนุษยใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใกลหมดแลวจึง
อพยพยายที่อยูอาศัยไปหาแหลงพื้นที่ที่อุดมสมบูรณแหลงใหม เนื่องจากยุคนี้มนุษยยังไมมีความรูเรื่อง
การอนุ ร ั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ ม เป น ยุ ค ที ่ เ ข้ า สู  ส ั ง คมเกษตรกรรม และสั ง คม
อุตสาหกรรม
3. มนุษยสรางปญหามลพิษใหกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ยุคปจจุบันที่ความก้าวหนา
ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทตอการใช้ชีวิตของมนุษย เมื่อเกิดสังคมเกษตรกรรม
การปลูกพืชเชิงเดี่ยวในพื้นที่กวาง การผลิตสารเคมีทางการเกษตร มาใหเกษตรกรใช้ การคิดค้น
เทคโนโลยีทุนแรงงานสัตว ทุนแรงงานคน โดยใช้เครื่องจักรยนตที่ตองใช้น้ำมันเชื้อเพลิงมาขับเคลื่อน
117

สรางปญหาทางมลพิษไมวาจะมลพิษทางดิน มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ ซึ่งสงผลกระทบโดยตรง


กับมนุษยผูใช้สิ่งอำนวยความสะดวกเหลานี้ และมนุษยทั่วโลก ยิ่งเมื่อเข้าสูยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม
มีการสรางโรงงาน มีเครื่องจักรเครื่องยนตในโรงงาน มีการใช้แรงงานมนุษย ทำใหทรัพยากรธรรมชาติ
ถูกนำมาใช้อยางฟุมเฟอย เนื่องจากเปนของฟรี และสิ่งแวดลอมถูกทำลาย ทั้งที่มนุษยมีความรูในการ
ฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม วิถีชีวิตของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต
มาก มีอุปกรณ เครื่องมือ เกิดขึ้นมากมายจากวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จนกลายเปนขยะของโลก
เมื่อสิ่งนั้นชำรุดเสียหายใช้งานไมได

3.5 ความสัมพันธเชิงระบบระหวางมนุษยและสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

ภาพที่ 3.5 ความสัมพันธเชิงระบบระหวางมนุษยและสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการสูงสุดทุกดานในกลุมสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะขนาดของสมอง
จึงมีการคิดเชิงซ้อนอยางเปนระบบ มีความสามารถคิดดานวิทยและศิลป เมื่อมนุษยเปนผูสรางสรรค์
แต อย างไรตามมนุ ษย บางกลุ  มยั งเป นผู  ทำลาย ดั งนั ้ นสิ ่ งที ่ ทุ กคนควรได รั บคือการปลู กฝ งและ
ความตระหนักรูถึงความสำคัญของพืช สัตว จุลินทรียและสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันอยางสมดุล
118

และยั่งยืน เพราะมนุษยและสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกันอยางเปนระบบ (ภาพที่ 3.5)


มนุษยไมสามารถดำรงชีวิตอยูไดหากไมมีสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมได สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมมีผล
โดยตรงตอการดำรงชีวิตความเปนอยูของมนุษย เมื่อมนุษยเพิ่มจำนวนมากขึ้น ความตองการปจจัย 4
ปจจัยเสริม และกิจกรรมที่มนุษยสรางขึ้นมีผลโดยตรงตอการเปลี่ยนแปลงสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมไป
อยางรวดเร็ว เมื่อสิ่งแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลง ระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลงตามไปดวย มนุษย
เปนตัวขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในหลายลักษณะ ไดแก่
1. พื ช หลายชนิ ด สู ญ พั น ธุ  ไ ป เกิ ด พื ช ชนิ ด ใหม ข ึ ้ น มาจากการนำเข้ า จากต า งประเทศ
เพื่อประดับบานหรือเพาะขยายพันธุขาย มีการปรับปรุงพันธุพืชหลากหลายวิธี เพื่อเพิ่มมูลค่าของพืช
ในเชิงเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงระบบการทำเกษตรจากเดิมไปเปนเกษตรเชิงอุตสาหกรรม ปลูกพืช
เศรษฐกิจเชิงเดี่ยวในพื้นที่กวางที่เปนที่ตองการของตลาดในประเทศและตางประเทศ ทำใหพืชปลูก
สายพันธุเดิมไดสูญหายไป เหลืออยูแค่พืชปลูกที่ผานการปรับปรุงพันธุที่มีการเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอของ
พันธุพืชไปจากเดิม ทำใหลักษณะดีของพันธุเดิมสูญหายไปดวย
2. จากกิจกรรมที่หลากหลายของมนุษยที่สงผลกระทบตอสภาวะโลกรอน ทำใหอุณหภูมิของ
โลกรอนขึ้น ทำใหพืชบางชนิดไมสามารถปรับตัวใหอยูรอดได จึงสูญพันธุไป เมื่อพืชที่สูญพันธุไปนั้น
เปนแหลงอาหารของสัตว ยอมสงผลใหสัตวชนิดนั้นไมมีแหลงอาหาร สัตวอาจจะตองปรับเปลี่ยน
แหลงอาหารไปกินพืชชนิดอื่น หรือสูญพันธุไปเพราะไมสามารถปรับตัวไดเมื่อไมมีแหลงอาหาร
3. สัตวหลายชนิดสูญพันธุไป โอกาสเกิดสัตวชนิดใหมขึ้นมาเปนเรื่องที่ยาก เมื่อมนุษยเพิ่ม
จำนวนมากขึ้น และมีกิจกรรมที่หลากหลาย เกิดการบุกรุกพื้นที่ที่อยูอาศัยของสัตวปา ทำใหสัตวปา
ตองอพยพยายถิ่นที่อยูอาศัย จนทำใหระบบนิเวศเดิมเกิดการเปลี่ยนแปลง และเกิดระบบนิเวศใหม
กิจกรรมการลาสัตวไมใช่แค่นำมาเปนอาหาร แตมนุษยลาสัตวเพื่อความบันเทิง ทำใหสัตวปาสูญพันธุ
ไปหลายชนิด จนไมสามารถขยายพันธุใหดำรงพันธุอยูได ถึงแมวาปจจุบันจะมีความก้าวหนาทางดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในเรื่องของเทคนิคการขยายพันธุสัตว เทคนิคทางอณูโมเลกุลและดีเอ็นเอ
เพื่อการปรับปรุงพันธุสัตวตาม แตสัตวของประเทศไทยและทั่วโลกกลับสูญพันธุไปอยางนาเสียดาย
เหลือเพียงสัตวเศรษฐกิจไมกี่ชนิด หรือสัตวที่อยูในสวนสัตวใหเราไดพบเห็น
4. แมลงศัตรูพืชเพิ่มจำนวนมากขึ้นและโรคพืชเกิดการแพรระบาดอยางรุนแรง จากการ
เปลี่ยนแปลงระบบการทำเกษตรจากเดิมไปเปนเกษตรเชิงอุตสาหกรรม ปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวใน
พื้นที่กวาง พืชที่ปลูกเปนแหลงอาหารของแมลงบางชนิด ทำใหแมลงชนิดนั้นเจริญเติบโตไดดี จนเพิ่ม
119

จำนวนมากขึ้นและกำจัดไดยาก รวมทั้งแมลงที่กินแมลงศัตรูพืชมีจำนวนนอยกวา ไมสามารถควบคุม


ความสมดุลของแมลงศัตรูพืชได รวมทั้งการปลูกพืชชนิดเดียวในพื้นที่กวางสงผลใหเชื้อจุลินทรีย
ก่อโรคพืชบางชนิดสามารถเจริญและแพรระบาดไปเปนพื้นที่กวาง ควบคุมการระบาดของโรคไดยาก
เปนผลเสียตอระบบนิเวศของพื้นที่นั้นอยางรุนแรง
5. ทะเล แมน้ำ ภูเขา น้ำตก แหลงธรรมชาติ กลายเปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติเพื่อ
สรางความบันเทิงใหกับมนุษย ทำใหระบบนิเวศของพื้นที่นั้นไดรับความเสียหาย มนุษยทิ้งขยะ
การเดินเข้าไปชมความงามของธรรมชาติเปนการทำลายเสนทางธรรมชาติเดิม สัตวน้ำและสัตวบกถูก
รบกวนจนทำใหการดำรงชีวิตเปลี่ยนแปลงไป สิ่งนี้จึงเปนสาเหตุหนึ่งที่ทั้งสัตวน้ำและสัตวบกเกิด
การสูญพันธุไป สงผลใหความหลากหลายทางชีวภาพลดลง สิ่งที่นาเปนหวงคือ ระบบนิเวศเกิด
การเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรง การถายทอดพลังงานในหวงโซ่อาหารและสายใยอาหารยอมไดรับ
ผลกระทบทางลบอยางแนนอน
6. เมื่อวิถีชีวิตของมนุษยเปลี่ยนแปลงไปหลังจากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม การใช้ชีวิตวิถี
พอเพียง การแลกเปลี่ยนสิ่งของกัน ไดถูกปรับเปลี่ยนมาเปนการใช้เงินแลกซื้อสิ่งที่ตองการมาไวใน
ครอบครองแทน ความถอยทีถอยอาศัยของบานใกลเรือนเคียงลดนอยถอยลง จนปจจุบันมนุษยมีวิถี
ชีวิตที่แข่งขันและตางคนตางอยู ทรัพยากรธรรมชาติแตละชนิดถูกนำมาใช้เปนวัตถุดิบหลักใน
กระบวนการผลิตสิ่งของเพื่อจำหนาย เกิดการเหลื่อมล้ำของมนุษยในสังคม สิ่งนี้จึงเปนสาเหตุใหญที่
ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปโดยไมสามารถฟนฟูกลับมาเปนอยางเดิมได
เกิดมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอการดำรงชีวิตความเปนอยูของมนุษย
7. จุลินทรียเกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งมีชีวิตที่มนุษยเรียกวา จุลินทรียนั้น มีบทบาทสำคัญใน
ดานสุขอนามัยของมนุษย ดานการแพทยและสาธารณสุข ดานสิ่งแวดลอม ดานการเกษตร และ
ปจจุบันจุลินทรียยังมีบทบาทสำคัญในดานอุตสาหกรรมอีกดวย จุลินทรียมีอยูรอบตัวเรา ทั้งที่เปน
ประโยชนและก่อใหเกิดโทษ หากเราหยิบจับสิ่งของแลวไมลางมือใหสะอาดก่อนหยิบจับของกิน
จุลินทรียที่ติดอยูที่ฝามือและผิวหนังจะเข้าสูรางกายและอาจสงผลใหเราเกิดอาการทองเสียได
จุลินทรียบางชนิดก่อใหเกิดโรคในมนุษย ทำใหการศึกษาและคิดค้นยาปฏิชีวนะเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพื่อยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย ลดการเกิดโรค รวมทั้งจุลินทรียก่อโรคมี
ความสามารถในการปรับตัวไปตามสภาพแวดลอมไดดี จึงเกิดการกลายพันธุและอยูรอดได และดื้อตอ
ยาปฏิชีวนะ นั่นหมายความวา หากมนุษยติดเชื้อจุลินทรียที่ดื้อตอยาปฏิชีวนะ โอกาสในการหายจาก
120

การติดเชื้อมีลดลงและใช้ระยะเวลานานขึ้นในการรักษา จุลินทรียบางชนิดมีประโยชนในการบำบัดน้ำ
เสียที่มีโปรตีน ไขมัน หรือโลหะหนักปนเปอน เพราะจุลินทรียมีความสามารถในการผลิตเอนไซม
ออกมายอยโปรตีน ไขมัน และสามารถรับโลหะหนักเข้าไปอยูภายในเซลลและเกิดเปนสารประกอบ
อื่นที่ไมก่อใหเกิดอันตรายตอสิ่งแวดลอม จุลินทรียบางชนิดที่อยูในดินมีประโยชนตอการเจริญเติบโต
ของพื ช ช่ วยดู ดซั บไนโตรเจนในอากาศมาไว ในดิ นให รากพื ชได นำไปใช้ หรื อช่ วยเปลี ่ ยนแปลง
ธาตุอาหารที่พืชตองการใหอยูในรูปที่รากพืชสามารถนำไปใช้ได สงเสริมการเจริญเติบโตของพืช
เปนประโยชนตอระบบนิเวศเพราะพืชเปนผูผลิตในโครงสรางของระบบนิเวศ แตอยางไรตาม มนุษย
มักสรางกิจกรรมที่ก่อใหเกิดการสูญเสียจุลินทรียที่เปนประโยชน เช่น สรางมลพิษทางดิน ทำให
จุลินทรียในดินตาย จำนวนประชากรของจุลินทรียลดลง โรงงานอุตสาหกรรมที่ปลอยของเสียลงสู
แหลงน้ำ ดิน อากาศ ทำใหจุลินทรียที่เปนประโยชนในพื้นที่นั้นตาย เกิดมลพิษสิ่งแวดลอม เหตุการณ
การแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 นับเปนเหตุการณสำคัญของคนไทยและคนทั่วโลกวาได
การแพรระบาดของเชื้อไวรัสนี้เกิดมาจากมนุษย ไวรัสมีความสามารถในการแพรระบาดไปในอากาศ
ผูติดเชื้อไวรัสชนิดนี้จะเกิดอาการของโรคอยางรุนแรง เชื้อไวรัสชนิดนี้ควบคุมไดยากเนื่องจากแพร
ระบาดไปในอากาศ สงผลกระทบทางลบโดยตรงตอการดำรงชีวิตความเปนอยูของมนุษย ดวย
เหตุการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสชนิดนี้ สงผลใหระบบนิเวศทั่วโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยาง
เห็นไดชัด

3.6 การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตแตละชนิดรวมทั้งมนุษยที่อยูบนโลกใบนี้ มีวิวัฒนาการ มีการเปลี่ยนแปลงหรือการ
ปรับตัวไปตามสภาพแวดลอมเพื่อความอยูรอดและขยายพันธุ ซึ่งการปรับตัวเปนผลมาจากการ
คัดเลือกของธรรมชาติ โดยรูปแบบการปรับตัว ไดอธิบายไวโดย คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม
เทคโนโลยีและชีวิต (2557) มีดังนี้
1. การปรับตัวทางรูปรางลักษณะปรากฏหรือทางสัณฐาน (morphological adaptation)
เปนการปรับลักษณะรูปรางและอวัยวะภายนอกของสิ่งมีชีวติ เพื่อการดำรงชีวิต เช่น
1.1 ตนโกงกางตามปาชายเลนมีรากค้ำจุนช่วยพยุงลำตนไมใหลมไปตามกระแสน้ำพัดมา
กระทบ
1.2 ผักตบชวามีโครงสรางภายในลำตนเปนรูพรุน ช่วยพยุงใหลอยน้ำได
121

1.3 กระตายมีหูยาวเรียวเพื่อฟงเสียงศัตรูที่จะเข้ามาทำรายหรือกัดกิน และมีขาที่กระโดด


ไดไกล เพื่อหนีศัตรู
1.4 แมลงกระชอน มีขาคู่หนาใหญ ช่วยขุดดินหาอาหาร
2. การปรับตัวทางสรีรวิทยา (physiological adaptation) เปนการปรับหนาที่การทำงาน
ของอวัยวะในสิ่งมีชีวิตเพื่อความอยูรอดตามสิ่งแวดลอม เช่น
2.1 สัตวเลือดอุนมีตอมเหงื่อเพื่อขับของเสียที่เปนของเหลวออกนอกรางกายเพื่อระบาย
ความรอนออกมา
2.2 สัตวทะเลทราย เช่น อูฐ มีโครงสรางไตที่มีประสิทธิภาพสูงในการขับของเสียที่เปน
ของเหลวออกนอกรางกายอยางจำกัด ลดการสูญเสียน้ำ
2.3 พืชทะเลทราย เช่น กระบองเพชร เปลี่ยนใบเปนหนามเพื่อลดการคายน้ำออกทาง
ปากใบ
2.4 ปลาที่อยูในน้ำทะเล มีปริมาณเกลือสูง จะมีอวัยวะกำจัดเกลือสวนเกินออกจาก
รางกาย เพื่อควบคุมความเข้มข้นของสารละลายในตัวใหอยูในสภาวะสมดุล
3. การปรั บ ตั ว ทางพฤติ ก รรม (behavior adaptation) เป น การปรั บ การดำรงชี ว ิ ต เพื่ อ
หลีกเลี่ยงสิ่งแวดลอมที่ไมเหมาะสม เช่น
3.1 สัตวทะเลทราย ออกหากินในเวลากลางคืน เพราะตอนกลางวันอากาศจะรอนมาก
รางกายอาจเกิดการสูญเสียน้ำมากเกินไป
3.2 พืชบางชนิดเปนไมเลื้อยตองการหลักในการยึดเกาะ
3.3 สัตวจำศีล เปนการหยุดพักการเคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่ใหนอยที่สุด เพื่อเก็บพลังงาน
ภายในรางกายไวใช้ยามจำเปน เกิดขึ้นช่วงฤดูหนาว หรือฤดูแลง
122

3.7 ปรากฏการณที่สงผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอมจากการใช้เทคโนโลยี
สำหรับประเทศไทย ปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยมีสาเหตุมาจาก
กิ จ กรรมของมนุ ษ ย น ั ้ น ทำให เ กิ ด ป ญ หาสิ ่ ง แวดล อ มหลายด า น ระบบนิ เ วศขาดความสมดุ ล
การดำรงชีวิตของพืชและสัตวเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เปนเหตุใหคุณภาพชีวิตของมนุษยไดรับ
ผลกระทบในทางลบ ความรุนแรงของมลพิษสิ่งแวดลอมยังคงเพิ่มขึ้นอยางทวีคูณ ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
ของธรรมชาติมาจากการที่มนุษยนำเทคโนโลยีมาใช้โดยไมคำนึงถึงผลกระทบรอบดานที่จะตามมาใน
อนาคต
3.7.1 ปรากฏการณเรือนกระจก (greenhouse effect)
ในที่นี้ ผูเขียนยกตัวอยางปรากฏการณทางธรรมชาติที่ไดรับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดลอม
อยางเห็นเดนชัด คือปรากฏการณเรือนกระจก เปนปรากฏการณที่เกิดจากรังสียูวีจากดวงอาทิตยที่
สองลงมายังพื้นโลก แลวถูกก๊าซซึ่งเปนมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศ ดูดซับไว ไมสะทอนกลับ
ออกไปหมด ความรอนยังคงสะสมอยูในพื้นโลก ปรากฏการณนี้สงผลตอการเกิดสภาวะโลกรอนขึ้น
และสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาพที่ 3.6 อธิบายไดวา ตามธรรมชาติการที่
โลกถูกหอหุมดวยก๊าซเรือนกระจกอันเปนองค์ประกอบของบรรยากาศโลกอยูแลวนั้น ก๊าซเหลานี้ดูด
คลื่นรังสีความรอนไวในเวลากลางวัน แลวแผรังสีความรอนออกมาในเวลากลางคืน ทำใหอุณหภูมิใน
บรรยากาศโลกไมเปลี่ยนแปลงอยางกระทันหัน ถาไมมีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิโลก
ในตอนกลางวันจะรอนจัดสวนกลางคืนจะหนาวจัด ซึ่งทำใหมนุษย พืช และสัตวไมสามารถดำรงชีวิต
อยูได แตแนนอนเมื่อมีปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่มากขึ้นจากกิจกรรมของมนุษยบนโลก จะทำใหโลกมี
อุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจาก แสงอาทิตย ในความยาวคลื่นอินฟาเรดที่สะทอนกลับถูกดูดกลืนโดยโมเลกุล
ของ ไอน้ ำ มี เ ทน ไนตรั ส ออกไซด คาร บ อนไดออกไซด และ คลอโรฟลู อ อโรคาร บ อน ภายใน
บรรยากาศจึงทำใหโมเลกุลเหลานี้มีพลังงานสูงขึ้น จึงสงผลใหอุณภูมิในชั้นบรรยากาศสูงขึ้นดวย เช่น
การเผาไหมเชื้อเพลิง กิจกรรมทางอุตสาหกรรม เปนตน ปรากฏการณเรือนกระจกนี้ นอกจากเกิดขึ้น
ในประเทศไทยแล ว ยั งเกิ ดขึ ้ นทั ่ วโลก จึ งส งผลกระทบหากั นหมด ถึ งแม จะมี การรณรงค์ ให ลด
การปลอยก๊าซที่เปนสาเหตุของการเกิดปรากฏการณนี้จากแหลงกำเนิด โลกยังคงมีอุณหภูมิที่สูงขึ้น
ในทุกป
123

ภาพที่ 3.6 ปรากฏการณเรือนกระจก (greenhouse effect)


มาจาก: https://ienergyguru.com/2015/11/ปรากฏการณเรือนกระจก/

กรณีศึกษาของ Wiig et al. (2008) ผลกระทบของปรากฏการณเรือนกระจก นำไปสูสภาวะ


โลกรอนขึ้น และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตัวอยางเช่น หมีขาวหรือหมีขั้วโลกเกิดความเสี่ยง
ตอการสูญพันธุ เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งหมีขั้วโลกเปนตัวชี้วัดในเรื่องของโลก
รอน โดยพิจารณาจากแหลงที่อยูอาศัยของหมีขั้วโลกอยูที่อารกติก หรือขั้วโลกเหนือ เมื่ออุณหภูมิโลก
รอนขึ้น ที่อยูของหมีขั้วโลกที่เปนน้ำแข็งก้อนใหญจะค่อย ๆ ละลายกลายเปนน้ำ เพราะอุณหภูมิโลกที่
สูงขึ้น และนี่จึงเปนเหตุผลที่วา หากโลกรอนขึ้น หมีขั้วโลกจะไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจนเข้าสู
ภาวะที่เสี่ยงตอการสูญพันธุ ภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นนี้ ไมไดสงผล
กระทบกับหมีขั้วโลกเพียงชนิดเดียว แตมันยังสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตอื่นทุกชนิด รวมไปถึงสิ่งที่ไมมี
ชีวิตดวย และยังทำใหเกิดภัยพิบัติสุดขีดเกิดขึ้น
สาเหตุที่ทำใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก มาจาก 2 สวนคือ 1) เกิดเองตามธรรมชาติ
ไดแก่ ก๊าซคารบอนไดออกไซด (CO2) ตามธรรมชาติเกิดตลอดเวลาจากการหายใจของสิ่งมีชีวิต
ก๊าซมีเทน (CH4) ที่เกิดจากมูลสัตว การทับถมกันของวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร และจากขยะ
มูลฝอยที่กองสะสมเปนเวลานาน และก๊าซไนตรัสออกไซด (N2O) เกิดจากปุยไนโตรเจนทางการเกษตร
และ 2) เกิ ด จากกิ จ กรรมของมนุ ษ ย ร  ว มกั บ ความเจริ ญ ก้ า วหน า ภาคอุ ต สาหกรรม
124

ก๊าซคารบอนไดออกไซด (CO2) ตามธรรมชาติยังมีปริมาณนอยกวาการเผาไหมของน้ำมันเชื้อเพลิงจาก


ยานพาหนะ จากโรงงานอุตสาหกรรม จากการเผาไหมของวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร รวมทั้ง
การตัดไมทำลายปา ทำใหตนไมลดลงตัวช่วยในการดูดก๊าซคารบอนไดออกไซดนอยลงไปดวย
ก๊าซมีเทน (CH4) ที่เกิดจากการทำเหมืองถานหิน หรือควันที่เกิดจากการเผาปา ก๊าซไนตรัสออกไซด
(N2O) เกิดจากการเผาไหมของน้ำมันเชื้อเพลิงจากยานพาหนะ และจากโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน
(ภาพที่ 3.7)

ภาพที่ 3.7 ก๊าซสาเหตุปรากฏการณเรือนกระจก

ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณเรือนกระจก ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับมนุษย สิ่งมีชีวิตและ


สิ่งแวดลอมจากปรากฏการณเรือนกระจก กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ไดใหข้อมูลไววา ปรากฏการเรือนกระจก สงผลใหเกิดสภาวะโลกรอนขึ้นนั้น มีผลตอ
สิ่งแวดลอม ดังตอไปนี้คือ
1. น้ำแข็งที่ขั้วโลกละลาย กลายเปนน้ำที่เพิ่มปริมาณในมหาสมุทร ทำใหระดับน้ำทะเลสูงขึ้น
เกิดการกัดเซาะชายฝงทะเลมากขึ้น สงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืชน้ำ การดำรงชีวิตของสัตว
น้ำ ทำใหเกิดน้ำทวมรุนแรง รวมทั้งสัตวที่อาศัยอยูขั้วโลกไดรับผลกระทบทางลบ เช่นปลาขั้วโลกใต
ตรวจพบวามีพยาธิเพิ่มขึ้น ลูกนกเพนกวินมีอัตราการรอดชีวิตต่ำลง หมีขาวขั้วโลกสูญพันธุ ไมมี
อาหาร ไมจำศีลในช่วงฤดูหนาว ทำใหรางกายไมสามารถเก็บสะสมไขมันได ตัวผอมลง นอกจากนี้
ผลกระทบของน้ำแข็งที่ขั้วโลกละลาย ยังสงผลตอสัตวทะเล แนวปะการัง และระบบนิเวศของ
125

ปาชายเลน ประชากรที่ตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัยตามแนวชายฝงหรือใกลทะเลจะไมปลอดภัยอีกตอไป อาจ


เกิดน้ำทะเลหนุน ทำใหพื้นที่ดินถูกแทนที่ดวยพื้นน้ำ
2. เกิดภัยธรรมชาติรุนแรง เมื่อโลกรอนขึ้น สภาวะอากาศแปรปรวน เกิดพายุหมุนที่มีความถี่
มากขึ ้ น มี ค วามรุ น แรงมากขึ ้ น ส ง ผลให ฝ นตกหนั ก และเกิ ด น้ ำ ท ว มปริ ม าณมาก เช่ น การเกิ ด
สึนามิคลื่นยักษขนาดใหญในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ที่จังหวัดภูเก็ต-พังงา รวมทั้ง
อุณหภูมิของน้ำสูงขึ้น น้ำสำหรับใช้มีปริมาณนอยลง เกิดภาวะขาดแคลนน้ำ ทำใหเกิดไฟไหมปา
รุนแรง หรือประสบภัยแลงอยางรุนแรง เมื่อปาไมลดลง สงผลใหเกิดภัยจากดินถลมเนื่องจากน้ำปา
ไหลหลากในช่วงฤดูฝน ไมมีตนไมช่วยดูดซับน้ำไว เกิดความเสียหายตอการดำรงชีวิตของมนุษย สัตว
พืช และสิ่งแวดลอม
2.1 อากาศสุดขั้ว เพราะอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นทำใหสภาพอากาศโดยเฉลี่ยรอนขึ้น ฤดูรอน
รอนมากขึ้น ฤดูหนาวอุณหภูมิไมลดต่ำลงมากเหมือนในอดีต
2.2 คลื่นความรอน จะมีความรุนแรงมากขึ้นกวาในอดีต คาดวาจะมีผูเสียชีวิตมากขึ้นถึง
3 เทา
2.3 ภัยแลงซ้ำซาก เกิดภัยแลงบอยครั้งขึ้น คาดวาเอลนีโญสุดขีดจะเกิดขึ้นถี่ถึง 2 เทา
ในช่วง 100 ป
2.4 หิ ม ะถล ม เมื อ ง ทวี ป อเมริ ก าเหนื อ และตอนเหนื อ ของยุ โ รปอาจต อ งเผชิ ญ
ปรากฎการณหนาวสุดขั้ว อุณหภูมิติดลบหลายองศาต่ำกวาจุดเยือกแข็ง หิมะตกทับถมตอเนื่อง
ยาวนาน
2.5 พายุหมุนขนาดยักษ ภาวะโลกรอนทำใหน้ำทะเลในมหาสมุทรมีอุณหภูมิสูงขึ้น มี
แนวโนมทำใหพายุหมุนเขตรอนเกิดถี่ขึ้นและรุนแรงขึ้นจากในอดีต กลายเปน ซูเปอรพายุหมุน
(Superstorm) ทำใหเกิดภัยพิบัติน้ำทวม ดินถลม ลมพายุรุนแรงทำลายสิ่งตางๆ
2.6 พืชและสัตวสูญพันธุ ซึ่งสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงมีผลตอวัฏจักรและวงจรชีวิตของ
สัตวและพืชทั้งบนบกและในทะเล ทำใหความหลากหลายทางชีวภาพบนโลกเรานี้ลดลง
3. เกิดโรคระบาดและการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ สภาวะโลกรอน อุณหภูมิของโลกมี
การเปลี่ยนแปลงไปในแนวทางที่สูงขึ้น ทำใหสภาพแวดลอมเหมาะสมตอการเจริญของเชื้อจุลินทรีย
ก่อโรคของมนุษย โรคของสัตว ศัตรูพืช ทำใหโรคที่เคยควบคุมไวไดกลับมาระบาดอีกครั้ง และรุนแรง
กวาเดิม เช่น มาลาเรีย สาไข้ อาหารเปนพิษและอหิวาตกโรค รวมทั้งโอกาสเกิดโรคอุบัติใหมที่มีความ
126

อันตรายมากกวาเดิม เช่น การแพรระบาดของกลุมเชื้อไวรัสโคโรนา (Coronavirus) ซึ่งเปนเชื้อไวรัสที่


ส ง ผลต อ การติ ด เชื ้ อ ในระบบทางเดิ น หายใจ เช่ น โรคหวั ด และหากรุ น แรงขึ ้ น เช่ น โรคซาร ส
โรคเมอรส และในป 2562 มีการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 คือเปนเชื้อไวรัสที่ถูกพบในเดือน
ธันวาคม 2562 ที่ประเทศจีนและมีการแพรระบาดไปทั่วโลก สวนของการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ
อธิ บ ายได ด ั ง นี ้ สาหร า ยบางชนิ ด และแพลงก์ ต อนเจริ ญ มากจนผิ ด ปกติ เรี ย กว า ปรากฏการณ
ยูโทรฟเคชัน สงผลเสียตอแหลงน้ำที่เกิดปรากฏการณดังกลาว มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ เคมี
และชีวภาพ เกิดมลพิษทางน้ำ และทำใหสมดุลระบบนิเวศถูกทำลาย หรือปะการังตาย เรียกวา
ปรากฏการณฟอกขาวของปะการัง คือประการังเปนสัตวน้ำชนิดหนึ่งไมสามารถทนตออุณหภูมิขิงน้ำที่
สูงขึ้นได เหลือแตโครงสรางภายนอกที่เปนหินปูนสีขาว สงผลกระทบตอระบบนิเวศในมหาสมุทรและ
หวงโซ่อาหารอีกดวย เมื่อปะการังตาย แพลงก์ตอนซึ่งเปนอาหารของปะการังจะมีปริมาณมาก
สาหรายบางชนิดที่อาศัยอยูกับปะการังจะไมสามารถดำรงชีวิตอยูได
เรื่องนี้เปนเรื่องที่ใกลตัวเรา เพราะทุกสิ่งบนโลกใบนี้ลวนตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มนุษย
ทุกคนควรตระหนักถึงผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้นในอนาคต ไมควรปลอยใหปญหาภาวะโลกรอน
กลายเปนปญหาของใครคนใดคนหนึ่ง กลุมใดกลุมหนึ่ง หรือประเทศใดประเทศหนึ่ง ซึ่งในประเทศ
ไทยจะมีหนวยงานที่ดูแลเรื่องนี้ คือ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ผูสนใจ
สามารถเข้าไปอานข้อมูลความรู คำแนะนำที่เปนประโยชนในการลดปริมาณการปลอยก๊าซเรือน
กระจก ลดการเกิดสภาวะโลกรอนขึ้น ไดที่ http://www.tgo.or.th/2020/index.php/th/
3.7.2 กลไกตลาดกับมาตรการลดโลกรอนดวยคารบอนเครดิต และคารบอนฟุตปริ้นท
คารบอนเครดิต เปนมาตรการทางเศรษฐศาสตรรูปแบบหนึ่งที่ใช้สรางแรงจูงใจใหลดก๊าซ
เรือนกระจกจากกิจกรรมอุตสาหกรรม โดยเริ่มเข้ามามีบทบาทชัดเจน นำไปสูการปฏิบัติ และขยายผล
อยางตอเนื่องในระดับสากลทั้งในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว และกำลังพัฒนาหลังจากพิธีสารโตเกียว มี
ผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ พ.ศ. 2548 องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ
มหาชน) (2562) ไดใหความหมายของคำวา ตลาดคารบอน ไววา ตลาดที่มีซื้อขายคารบอน (Carbon
Market) โดยกำหนดให “คารบอนเครดิต” (ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงไดจากการดำเนิน
โครงการลดก๊าซเรือนกระจก) และ/หรือ “สิทธิในการปลอยก๊าซเรือนกระจก” (ปริมาณก๊าซเรือน
กระจกที่สามารถลดไดต่ำกวาเปาหมายลดก๊าซเรือนกระจกที่กำหนดใหองค์กรดำเนินการ ภายใต
127

ระบบซื้อขายสิทธิในการปลอยก๊าซเรือนกระจก) เปนสินค้าที่สามารถซื้อขายได และสามารถนำมา


ชดเชยการปลอยก๊าซเรือนกระจกของผูซื้อ
คาร บ อนฟุ ต ปริ ้ น ท เกิ ด มาจากสภาวะโลกร อ นขึ ้ น มี ก ารปล อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกจาก
สถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม และกิจกรรมดานของมนุษย มีรายงานข้อมูลการปลอยก๊าซ
เรือนกระจกในป 2559 วาทุกประเทศทั่วโลกไดมีการปลอยก๊าซเรือนกระจกมากถึง 49,358.03 ลาน
ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา (MtCO2e) และประเทศไทยเปนประเทศที่ปลอยก๊าซเรือนกระจก
มากถึง 417.24 MtCO2e คิดเปนอันดับที่ 20 ของโลกมีสัดสวน 0.85% ของทั้งโลก และเปนลำดับที่
2 ของอาเซียนรองจากอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศที่ปลอยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดในโลก ไดแก่ จีน
(11,576.87 MtCO2e) รองลงมาเปนสหรัฐอเมริกา (5,833.49 MtCO2e) ซึ่งทั้ง 2 ประเทศนี้มีสัดสวน
มากกว า 35% ของทั ้ ง โลก สำหรั บ ในประเทศไทยภาคที ่ ป ล อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกมากที ่ ส ุ ด คื อ
ภาคพลั ง งาน ซึ ่ ง มี ส ั ด ส ว นมากที ่ ส ุ ด ถึ ง 63.96% รองลงมาคื อ ภาคการเกษตร 15.32%
ภาคอุตสาหกรรม 12.91% และภาคปาไมและการใช้ประโยชนที่ดิน 4.79% และการจัดการของเสีย
3.02% และในป พ.ศ. 2559 ประเทศไทย มีการปลอยก๊าซเรือนกระจกเฉลี่ยตอคนเทากับ 6.33 ตัน
คารบอนไดออกไซดเทียบเทา (tonCO2e) ซึ่งต่ำกวาค่าเฉลี่ยมาตรฐานของประชากรโลกเพียง 4.81%
ซึ่งปลอยอยูที่ 6.65 tonCO2e นับไดวาเปนตนเหตุของสภาวะโลกรอน ซึ่งการแก้ปญหานี้จะเห็นผล
อยางเปนรูปธรรมตองมีการประเมินและวัดผลได ดังนั้นการทราบถึงปริมาณคารบอนฟุตพริ้นทที่
ปลอยออกมาจากกิจกรรมของมนุษยอยางตอเนื่อง ทั้งการใช้พลังงาน การเกษตร การพัฒนาและการ
ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม การขนสง การตัดไมทำลายปา หรือแมกระทั่งการจัดงานที่ตองมีการใช้
พลังงานไฟฟาทั้งสวนของการจัดงานและการพักแรม การเดินทางของผูเข้ารวมงาน การใช้พลังงานใน
การปรุงอาหาร สิ่งเหลือทิ้งจากการจัดงาน ลวนเปนเหตุสำคัญของการเกิดภาวะโลกรอน ซึ่งสงผล
กระทบตอวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย สิ่งมีชีวิตและนับวันปญหาดังกลาวยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น
ดังนั้นปจจุบันการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งจึงมีการติดฉลากรับรองคารบอนฟุตปริ้นทดวย เพื่อใหผูบริโภค
ทราบวา สินค้านั้นมีสวนช่วยลดการปลอยก๊าซเรือนกระจกในทุกกระบวนการขั้นตอนการผลิตสินค้า
3.7.3 ฉลากคารบอนฟุตปริ้นทในประเทศไทย
แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนไดรับการกลาวถึงอยางกวางขวางในยุคที่มีการพัฒนาผลิตภัณฑ
เกิดขึ้นมากมาย การสงสินค้าและบริการมีการพัฒนากระบวนการผลิตและการจัดสงออนไลนเพิ่มขึ้น
เห็นไดชัดในช่วงการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ตั้งแตป 2562 เปนตนมา หลายประเทศทั่วโลก
128

ใหความสำคัญตอกระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติเพิ่มมาก
ขึ้น กระบวนการนี้จะช่วยลดโอกาสการเกิดปญหาสิ่งแวดลอม สำหรับประเทศไทยมีการริเริ่มฉลาก
คารบอนฟุตปริ้นท โดยแบงเปน 5 ประเภท (ภาพที่ 3.8) ดังนี้ คือ
1. คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ (Carbon Footprint of Product) เปนฉลากที่เราพบได
บนสินค้าและผลิตภัณฑ แสดงถึงปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการผลิตผลิตภัณฑ
นั้น โดยจะคำนวณตั้งแตการไดมาซึ่งวัตถุดิบ จนเข้าสูกระบวนการผลิต การขนสง การนำไปใช้ และ
การกำจัดซาก ฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑมีอายุการรับรองฉลากเปนเวลา 3 ป
2. คารบอนฟุตปริ้นทขององค์กร (Carbon Footprint for Organization หรือ Corporate
Carbon Footprint: CCF) เปนการรับรองข้อมูลปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากการ
ดำเนินงานและกิจกรรมตาง ๆ ขององค์กรในช่วงระยะเวลา 1 ป โดยพิจารณาจาก 3 สวนหลัก คือ
(1) ปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Direct Emission) เช่น การเผาไหมเชื้อเพลิง การ
ขนสงจากยานพาหนะขององค์กร เปนตน (2) ปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกทางออมจากการใช้
พลังงาน (Energy Indirect Emissions) เช่น การซื้อพลังงานไฟฟา พลังงานความรอน พลังงานไอน้ำ
เปนตน และ (3) การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นททางออม เช่น การเดินทางของพนักงานดวยพาหนะที่
ไมใช่ขององค์กร การใช้วัสดุอุปกรณตาง ๆ เปนตน ฉลากคารบอนฟุตพริ้นทขององค์กรมีอายุการ
รับรองเปนระยะเวลา 1 ป
3. ฉลากลดคารบอนฟุตปริ้นทของผลิตภัณฑ หรือ ฉลากลดโลกรอน คือ ฉลากที่แสดงวา
ผลิตภัณฑไดผานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ และสามารถลดการปลอยก๊าซเรือน
กระจกของผลิตภัณฑไดตามเกณฑที่กำหนด ซึ่งเปนการประเมินการปลอยก๊าซเรือนกระจกตลอด
วัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ โดยเปรียบเทียบคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑในปปจจุบันกับปฐาน ซึ่ง
ถือวาเปนฉลากที่มีบทบาทสำคัญตอการลดก๊าซเรือนกระจกของกระบวนการผลิตสินค้า
4. ฉลากคูลโหมด (Cool Mode) เปนฉลากที่มอบใหกับเสื้อผา หรือผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติ
พิเศษในการซับเหงื่อและระบายความรอนไดดี ทำใหสวมใสสบาย ไมรอนอบอาว สามารถสวมใสใน
อาคารหรือหองที่มีอุณภูมิเครื่องปรับอากาศ 25˚C ไดโดยไมรูสึกอึดอัด เนื่องจากวัสดุที่ใช้ในการตัด
เย็บเปนผาที่มีการพัฒนาใหมีคุณสมบัติพิเศษในการซับเหงื่อจากผิวหนังและระเหยออกจึงช่วยรองรับ
การเปลี่ยนพฤติกรรมของผูบริโภคที่ตองการมีสวนช่วยลดการใช้กระแสไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ
129

และลดการปลอยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งทาง อบก. ไดรวมกับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ (สสท.)


โดยใหระยะเวลาการรับรองแก่ผูประกอบการเปนเวลา 3 ป
5. ฉลาก Carbon Offset / Carbon Neutral เป นฉลากที ่ ใ ห การรั บรองกั บกิ จกรรมที ่ มี
การซื้อคารบอนเครดิตมาชดเชยปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปลอยออกมาจากกิจกรรมขององค์กร หรือ
ผลิตภัณฑ หรือ เหตุการณงานอีเวนท หรือ บุคคล โดยหากมีการชดเชยเพื่อทำใหการปลอยก๊าซเรือน
กระจกลดลงบางสวนจะไดรับการรับรองฉลาก Carbon Offset และชดเชยทั้งหมดหรือลดลงเทากับ
ศูนยจะไดรับการรับรองฉลาก Carbon Neutral ซึ่งเทียบเทากับไมมีการปลอยก๊าซเรือนกระจกจาก
กิจกรรมมากมาย

ภาพที่ 3.8 ฉลากคารบอนฟุตปริ้นทในประเทศไทย


มาจาก: https://www.carethebear.com/article/detail/17
130

3.7.4 ฝุน PM 2.5 มลพิษทางอากาศสงผลกระทบตอระบบทางเดินหายใจ


ตั้งแตป 2562 ประเทศไทยประสบปญหามลพิษทางอากาศ เกิดปรากฏการณฝุน PM 2.5
พัชรศักดิ์ (2562) ไดกลาววา ฝุน PM 2.5 คือฝุนละอองในบรรยากาศที่อนุภาคของฝุนมีขนาดเล็กกวา
2.5 ไมโครเมตร เทียบกับขนาดของเสนผมมนุษย อนุภาคฝุน PM 2.5 มีขนาดเล็กกวาเสนผมประมาณ
20 เทา (ภาพที่ 3.9) เมื่ออยูภายใตสภาวะที่มีความชื้นในอากาศ อนุภาคเหลานี้สามารถดึงความชื้น
เข้ามารวมกับอนุภาคได เกิดการแขวนลอยอยูในอากาศ อยูในรูปของหมอก หรือสภาวะอากาศแหง
อนุภาคเหลานี้เปนฝุนละอองอยูในอากาศ อยูในรูปของควันในอากาศทำใหอากาศมัว ซึ่งตนเหตุของ
การเกิดอนุภาคฝุน PM 2.5 ในบรรยากาศ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2563) ไดอธิบายไว
อนุภาคฝุน PM 2.5 มีแหลงที่มามาจาก การเผาไหมของเชื้อเพลิงรถ ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม
การก่อสรางตึกอาคาร การสูบบุหรี่ จุดธูปไหวพระ เผากระดาษวัดจีน จุดพลุ ปงยางเตาถาน หรือ
การใช้เครื่องถายเอกสาร เปนตน (ภาพที่ 3.10)

ภาพที่ 3.9 เปรียบเทียบขนาด PM 2.5, PM 10 ไมโครเมตรกับขนาดเสนผมของมนุษย


มาจาก: https://www.chula.ac.th/wp-content/uploads/2019/10/Chula-PM25.pdf
131

ภาพที่ 3.10 แหลงที่มาของการเกิดอนุภาคฝุน PM 2.5


มาจาก: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2563)

เนื่องจากอนุภาคฝุน PM 2.5 มีขนาดเล็กมาก ขนจมูกของมนุษยไมสามารถกรองไวเบื้องตน


ได จึงผานทางเดินหายใจไปยังปอดและไปสะสมที่ปอด เมื่ออนุภาคฝุน PM 2.5 สะสมเปนเวลานานจึง
ก่อใหเกิดโรคมะเร็งปอดได (ภาพที่ 3.11) อนุภาคเหลานี้สงผลกระทบโดยตรงกับเด็กเล็ก ผูที่มีภาวะ
ภูมิแพ ผูที่เปนโรคหอบหืด ผูสูงอายุ หญิงตั้งครรภ และผูที่มีโรคประจำตัว จะสงผลกระทบตอรางกาย
ไดไวและแสดงอาการเจ็บปวยรุนแรง กลไกการเข้าทำลายรางกายของมนุษย อนุภาคฝุน PM 2.5 จะ
รบกวนสมดุลของสารตานอนุมูลอิสระในรางกาย กระตุนใหรางกายเกิดการอักเสบและเกิดการตาย
ของเนื้อเยื่อปอด จึงก่อใหเกิดความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจและหลอดเลือด ดวยสาเหตุนี้
มนุษยควรตระหนักถึงภัยคุกคามดานสุขภาพจากอนุภาคฝุน PM 2.5
132

ภาพที่ 3.11 การเข้าทำลายระบบทางเดินหายใจของอนุภาคฝุน PM 2.5


มาจาก: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2563)

ดังนั้นแนวทางในการปองกันการเกิดอนุภาคฝุน PM 2.5 ในบรรยากาศควรไดรับความรวมมือ


ทุกภาคสวนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน รวมมือกัน พัชรศักดิ์ (2562) และ วิจิตตราภรณ
และคณะ (2563) ไดอธิบายแนวทางในการปองกันไวดังนี้
แนวทางในการปองกันสวนภาครัฐ
1. มีกฎหมาย บทลงโทษที่รุนแรงและชัดเจนกับโรงงานที่ละเมิดการสรางอนุภาคฝุน PM 2.5
ควบคุมมลพิษทางอากาศจากการก่อสราง จากการเผาในที่โลง การปลอยก๊าซจากโรงงาน จะตองมี
การรายงานการปลอยก๊าซและมีการเข้าตรวจสอบเครื่องวัดในอยูในสภาพใช้งานไดจริงเปนไปตาม
มาตรฐาน
2. นโยบายภาษีรถยนตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สนับสนุนการใช้รถสาธารณะ ลดภาษีนำเข้า
รถประเภทรถที่ใช้ไฟฟา และรณรงค์การใช้รถที่ใช้พลังงานไฟฟา
133

3. นโยบายสนับสนุน เพิ่มการผลิตและใช้พลังงานหมุนเวียน เพิ่มการลงทุนพลังงานทดแทน


จากแหล งอื ่ นแทนน้ ำมั นดิ บและก๊ าซธรรมชาติ สำหรั บประเทศไทยควรสนั บสนุ นพลั งงานจาก
แสงอาทิตย พลังงานน้ำ และพลังงานลม
4. เพิ่มพื้นที่สีเขียวในองค์กร หรืออาคารใหมากขึ้น เช่น คอนโดมิเนียมควรมีโซนสีเขียวดวย
5. นโยบายลดขยะและแยกขยะนำกลับมาใช้ใหม โดยสนับสนุนการวิจัยพลังงานทดแทน
หรือวิธีการนำกลับมาใช้ใหม กำหนดพื้นที่หามเผาไหม และสนับสนุนการวิจัยบำบัดน้ำเสียดวยระบบ
ชีวภาพ
แนวทางในการปองกันสวนภาคเอกชนและภาคประชาชน
1. ภาคอุตสาหกรรม ตองดำเนินการตามนโยบายของภาครัฐอยางเครงครัดและรายงานการ
ปลอยก๊าซสูสิ่งแวดลอมดวยข้อมูลที่เปนจริง
2. ประชาชนรวมมือกันใช้รถขนสงสาธารณะ เดินทางดวยจักรยาน
3. ครัวเรือนลดการทำอาหารเผาปงยาง และใช้พลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสมแตละครัวเรือน
4. มีการใช้พลังงานจากแสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟาใช้ในบานหรือโรงงานอุตสาหกรรม
5. ใหความรวมมือลดปริมาณขยะในครัวเรือน แยกขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหมได ลดการ
เผาไหมขยะกลางแจ้ง เช่น เกษตรกรลดการเผาไหมซังข้าว ออย เปนตน รณรงค์การลดปริมาณขยะใน
องค์กร (องค์กรสีเขียว)
3.7.5 ปรากฏการณขี้ปลาวาฬ (Red tide)
ปรากฏการณน้ำทะเลเปลี่ยนสี เกิดจากสาหรายเซลลเดียวในทะเล ที่ถูกจัดกลุมอยูใน
แพลงตอนสัตว หรือโปรโตซัว เจริญเติบโตอยางรวดเร็วและมหาศาล จนทำใหสีน้ำทะเลเปลี่ยนสี
สาเหตุมาจากการแปรปรวนของสภาพอากาศที่รอนขึ้น ทำใหน้ำทะเลมีอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปดวย
เช่นกัน รวมทั้งกิจกรรมของมนุษย เช่น การใช้สารเคมีทางการเกษตร การปลอยน้ำเสียจากโรงงาน
อุตสาหกรรม การใช้น้ำยาลางจาน ผงซักฟอก น้ำยาปรับผานุม ยาสระผม ครีมอาบน้ำ ซึ่งมีสวนผสม
ของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสปนเปอนในแหลงน้ำ เกิดมลพิษทางน้ำ ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเปน
แหล ง อาหารของสาหร า ยชนิ ด นี ้ เจริ ญ เติ บ โตได อ ย า งรวดเร็ ว สาหร า ยกลุ  ม นี ้ เรี ย กว า
ไดโนแฟลกเจลเลต (Dinoflagellate) ซึ่งมีพิษ จึงเปนอันตรายตอสัตวน้ำในทะเล รวมทั้งสาหราย
เจริญเติบโตบังแสงแดดจากดวงอาทิตยที่สองมายังใตน้ำ ทำใหพืชน้ำตาย ไมสามารถสังเคราะหแสงได
สงผลตอระบบนิเวศ และคุณภาพแหลงน้ำทะเลเปนอยางมาก เมื่อสาหรายเหลานี้ตายลง แบคทีเรีย
134

ตองใช้ออกซิเจนในการยอยสลาย สงผลกระทบใหออกซิเจนในน้ำลดลง และค่าแอมโมเนียในน้ำสูง ซึ่ง


เปนสารที่ไมจำเปนตอการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้ำ ปรากฏการณนี้ถาวิเคราะหกันอยางถี่ถวนจะ
พบวา นอกจากเกิดมลพิษทางน้ำ เกิดปญหาสิ่งแวดลอมแลว ยังสงผลกระทบทางลบตอเศรษฐกิจ
สังคม การประมงอีกดวย
3.7.6 ปะการังฟอกขาว
ปะการังเปน สัตวน้ำชนิดหนึ่ง กินสัตวน้ำขนาดเล็กและตัวมันเองยังทำหนาที่เปนที่หลบภัย
ของสัตวน้ำ รวมทั้งเปนที่เกาะยึดของสาหรายในทะเลอีกดวย ประเทศไทยเปนประเทศที่มีทะเล
สวยงาม จึงมีสิ่งมีชีวิตใตน้ำที่หลากหลายชนิด ปรากฏการณปะการังฟอกขาว เกิดจากปะการังสูญเสีย
สาหรายเซลลเดียวที่อาศัยอยูภายในเนื้อเยื่อ ที่เรียกวา ซูแซนเทลลี (Zooxanthele) ปะการังไมไดมี
สีสันสวยงาม เปนเพียงเนื้อเยื่อใสเทานั้น สวนที่เห็นเปนสีสันจากปะการังสีนั้นมาจากสาหราย
ซูแซนเทลลีทั้งสิ้น สาหรายชนิดนี้ จะทำหนาที่สังเคราะหแสง ใหธาตุอาหารที่มีสวนช่วยใหปะการัง
เจริญเติบโต วงจรชีวิตของปะการังและสาหรายซูแซนเทลลี เปนภาวะพึ่งพาอาศัยกัน หากอุณหภูมิน้ำ
ทะเลเพิ่มสูงขึ้น 1-2 องศาเซลเซียส ติดตอกันเปนเวลานาน อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปนี้ จะทำให
ปะการังเกิดความเครียดและอาจปลอยพิษ จนสาหรายไมสามารถอยูไดตองเคลื่อนยายไปอยูอาศัยที่
อื่น สงผลใหเกิด ปรากฏการณปะการังฟอกขาว แตหากอุณหภูมิลดลง ปะการังอาจจะสามารถฟนฟู
ตนเอง กลับมาเจริญเติบโตได อยางไรตาม นับวันอุณหภูมิโลกไมเคยลดลง มีแตจะเพิ่มขึ้น จนเกิด
สภาวะโลกรอนขึ้น จากมลพิษทางอากาศ จากกิจกรรมของมนุษย สงผลใหเกิดมลพิษทางน้ำไปดวย
สิ่งแวดลอมหนึ่งเปลี่ยนแปลง ยอมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอื่น และระบบนิเวศเสียสมดุล
3.7.7 ผลกระทบตอโบราณสถาน
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีประวัติศาสตร มีแหลงอารยธรรมโบราณ ทุกสถานที่ลวนแลวแต
มีเรื่องเลา มีประวัติความเปนมาของชาติอันทรงคุณค่าควรอนุรักษไวใหแก่ชนรุนหลังไดศึกษาเรียนรู มี
อุทยานประวัติศาสตรมากมาย ในแตละจังหวัดในประเทศไทย รวมทั้งมีวัดวาอาราม แหลงโบราณคดี
เปนสถานที่ที่ถูกสรางขึ้นดวยฝมือมนุษยในสมัยก่อน ทำใหทราบถึงความก้าวหนาในยุคนั้น สำนักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
(2557) ไดอธิบายความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมที่มีตอมรดกโลกในประเทศ
ไทยไววา หากเกิดสภาวะโลกรอนขึ้น อาจทำใหอากาศเกิดความแปรปรวน เกิดพายุรุนแรง น้ำทวม
135

ฝนแลง ระดับน้ำทะเลหนุนสูงขึ้นจนผิดปกติ จะสงผลกระทบตอความเสียหายเกิดซากปรักหักพัง


ทางประวั ติ ศาสตร ทำให มี สภาพทรุ ดโทรมจนไม อาจฟ นฟู กลั บมาได จึ ง เป นที ่ น า เสี ยดายหาก
โบราณสถานเหล า นั ้ น จะต อ งสู ญ หายไปกั บ ภั ย ธรรมชาติ ท ี ่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมของมนุ ษ ย เช่ น
โบราณสถาน ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่เกิดน้ำทวมสูงทุกป ความเสียหายที่เกิดขึ้นนี้นอกจาก
จะทำใหข้อมูลความรูทางประวัติศาสตรสูญหายไปแลว ยังสงผลกระทบตอความหลากหลายทาง
ชีวภาพของระบบนิเวศในพื้นที่นั้นดวย อุณหภูมิที่สูงขึ้นหรือน้ำทวม สงผลตอการดำรงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิต จะตองปรับตัวใหมเพื่อตอบสนองตอปจจัยและเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป หากสิ่งมีชีวิต
บางชนิดไมสามารถปรับตัวได จะสูญพันธุไปในที่สุด เมื่อเกิดการสูญหายไปของสิ่งมีชีวิตหนึ่งยอม
กระทบตอหวงโซ่อาหารในระบบนิเวศ อาจเกิดการรุกรานของสิ่งมีชีวิตตางถิ่นได ซึ่งจะสงผลตอ
ความมั่นคงในการดำรงอยูของระบบนิเวศบริเวณนั้น
3.7.8 การแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ผลกระทบทางบวกที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอม จากการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
เปนเหตุการณดานสาธารณสุขและการแพทยของมนุษยเลยวาได ตั้งแตป พ.ศ. 2562 หรือ ค.ศ. 2019
ที่มีการรายงานข่าววา มีผูติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในประเทศจีน พบที่ เมืองอูฮั่นเปนที่แรก และเกิดการ
แพรระบาดของเชื้อไวรัสชนิดนี้อยางรุนแรงไปทั่วโลก จนทำใหผูคนลมตายเปนลานคน เปนการ
เปลี่ยนแปลงอยางกะทันหันในการดำรงชีวิตของมนุษย สันนิษฐานวาเชื้อไวรัสที่พบเกิดจากการที่
มนุษยนำสัตวปามารับประทานไมถูกสุขอนามัยแลวทำใหเชื้อไวรัสเข้าไปอยูในรางกายมนุษย
การติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ เปนหนึ่งในโรคอุบัติใหมของระบบทางเดินหายใจ เชื้อไวรัสมีความสามารถใน
การหลีกเลี่ยงระบบภูมิคุ้มกันในรางกายของมนุษยไดเปนอยางดี จนเชื้อไวรัสเพิ่มจำนวนมากและเข้า
ทำลายปอดของมนุษย แลวจึงแสดงอาการเจ็บปวยซึ่งไมสามารถรักษาใหหายไดทันทวงทีจนผูปวย
ตองเสียชีวิตลง ดังนั้นการปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสชนิดนี้ มนุษยตองปรับตัว มีการใช้ชีวิต
วิถีใหมเกิดขึ้น คือ การทำงานที่บาน (work from home) เมื่อมนุษยจำเปนตองออกเดินทางไปข้าง
นอกบ านจะต องพกแอลกอฮอล ฆ่ าเชื ้ อโรค และป ดจมู กด วยหน ากากอนามั ย ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและดิจิทัล เข้ามามีบทบาทในการใช้ชีวิตของมนุษยเพิ่มมากขึ้นแบบทวีคูณอยางเห็นไดชัด
การค้าขายตามรานตองปรับตัวมาใช้ระบบออนไลนในการรับออเดอรและสงสินค้า ในขณะเดียวกัน
กลับเกิดแง่มุมดีสำหรับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กลาวคือ เมื่อมนุษยอยูในพื้นที่เคหะสถาน
ของตนเอง การเข้าไปสรางความวุนวายใหกับทรัพยากรธรรมชาติลดลงตามไปดวย ไมวาจะเปน
136

อุทยานแหงชาติ ทะเล ภูเขา ปาชายเลน และแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติไดมีโอกาสฟนฟูตนเอง


ตนไมเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น สัตวบางชนิดที่มีแนวโนมสูญพันธุไปกลับมีใหพบเห็นอีกครั้ง แหลงอนุบาล
สัตวน้ำบริเวณปาชายเลนไดรับการฟนฟูอีกครั้ง ขยะในแหลงน้ำลดปริมาณลง รวมทั้งขยะที่เกิดขึ้น
ตามแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติลดลงไปดวย สัตวนานาชนิดไดออกมาใช้พื้นที่ปาไดเต็มที่ โดยไมตอง
กลัวมนุษยจะทำราย เหตุการณนี้เปนเหตุการณที่เปนบทลงโทษจากสิ่งแวดลอมที่มีตอการกระทำของ
มนุษยเปนได ทำใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศทั่วโลกไดมีโอกาสฟนฟูตนเอง
เพื่อกลับสูสภาวะสมดุลอีกครั้ง ตัวอยางเช่น ช้างและสัตวอื่นที่อาศัยในอุทยานแหงชาติเขาใหญ
จังหวัดนครราชสีมา สามารถออกมาเดินในพื้นที่ที่เคยเปนที่พักของนักทองเที่ยวไดอยางอิสระ

3.8 สถานการณปญหาขยะในประเทศไทยที่เกิดมาจากการใช้เทคโนโลยี
เมื่อประชากรของประเทศไทยเพิ่มขึ้น ความตองการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมี
มากตามไปดวย สิ่งแวดลอมของประเทศไทยกำลังเข้าสูสภาวะที่ตองการการแก้ไข ปรับปรุง และ
อนุ ร ั ก ษ เมื ่ อ มนุ ษ ย ม ี ค วามรู  ด  า นวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ม ากขึ ้ น มนุ ษ ย ไ ด น ำความรู  ม า
ประกอบการตัดสินใจเพื่อนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้สรางสิ่งอำนวยความสะดวก
ใหกับตนเอง เพื่อสรางความเจริญก้าวหนา มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายเกิดขึ้น นำเข้าเทคโนโลยี
จากตางประเทศหลายดาน จนลืมรักษาความสมดุลของสิ่งแวดลอมรอบตัว ความเจริญก้าวหนากลับ
สงผลกระทบทางลบกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อาทิเช่น ปญหาการแปรปรวนของ
อุณหภูมิโลก โลกมีอุณหภูมิรอนขึ้น ความเสื่อมของทรัพยากรธรรมชาติ ภัยธรรมชาติเกิดรุนแรง
รวมทั้งมลพิษสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นและสงผลกระทบกลับมายังคุณภาพชีวิตของมนุษย และการ
ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตอื่นดวย สำหรับประเทศไทย หนวยงานที่รับผิดชอบดานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม คือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีหนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ
สิ่งแวดลอมในสังกัด ไดแก่
1. สำนักงานรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
2. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
3. กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
4. กรมปาไม
5. กรมทรัพยากรธรณี
137

6. กรมทรัพยากรน้ำบาดาล
7. องค์การสวนสัตวในพระบรมราชูถัมภ
8. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
9. สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
10. กรมควบคุมมลพิษ
11. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
12. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
13. กรมทรัพยากรน้ำ
14. องค์การอุตสาหกรรมปาไม
15. องค์การสวนพฤกษศาสตร
16. สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
ข่าวดานสิ่งแวดลอมของประเทศไทยที่ติดอันดับ 1 คือข่าวมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนข้อมูล
จากกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2560) พบวา มลพิษทางดาน
ขยะสงผลตอการใช้ชีวิตของมนุษย การดำรงชีวิตของสัตว มีผลกระทบตอสังคม ชุมชน และเศรษฐกิจ
10 ปที่ผานมาประเทศไทยใช้ถุงพลาสติกจำนวนมาก มีบรรจุภัณฑเพิ่มขึ้นมากมายและหลากหลาย
คนสวนใหญใช้ครั้งเดียวแลวทิ้ง ไมนำกลับมาใช้ใหม หรือรีไซเคิล ทำใหขยะที่เกิดจากถุงพลาสติกสงผล
กระทบตอการจัดการ เมื่ออยูในน้ำทำใหสัตวน้ำเข้าใจผิดคิดวาเปนอาหาร สัตวน้ำกินลงไปตายในที่สุด
เมื่ออยูในทะเลทำใหสัตวทะเลกินเข้าไปตายเช่นกัน ทำใหหนวยงานที่เกี่ยวข้องดูแลตองออกมาตรการ
และแก้ปญหาขยะทะเลและพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งอยางจริงจังของรัฐบาล ควบคู่กับการสรางการ
รับรูใหกับประชาชนทั่วประเทศและนักทองเที่ยวตางชาติอยางตอเนื่อง สงผลใหประเทศไทยสามารถ
ปรับอันดับประเทศที่มีขยะทะเลสูงสุดในโลกในอับดับ 6 ลงมาอยูที่อันดับ 10 ไดสำเร็จ ถือวาเปน
สัญญาณที่ดีจากการแก้ปญหาขยะทะเลและและพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งของไทย ดูไดจากการที่
ภาคเอกชนที่เข้ารวมเปนพันธมิตรกับภาครัฐงดและหยุดแจกจ่ายถุงพลาสติกในหางสรรพสินค้า
ศูนยการค้า และตลาดสด ที่จะเริ่มอยางเข้มข้นในวันที่ 1 มกราคม 2563 โดยออกมาตรการยกเลิก
การใช้ถุงพลาสติก มีนโยบายการจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573 ที่มีเปาหมาย คือ การลดการ
ใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง ภายในป 2565 ดวยการใช้วัสดุทดแทนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ
การนำขยะพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน รอยละ 100 ภายในป 2570 ซึ่งนายวราวุธ ศิลปอาชา
138

รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดหารือรวมกับหางสรรพสินค้าและ
รานสะดวกซื้อรายใหญรวม 43 แหง ซึ่งจะมีการรณรงค์เรื่องสิ่งแวดลอมมาโดยตลอด การรณรงค์เรื่อง
การใช้พลาสติก สูกับปญหาขยะพลาสติก โดยพุงเปาไปยังพลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียวแลวทิ้ง
ปจจุบันหลายประเทศเริ่มพบกับปญหาขยะลนประเทศ จากการใช้พลาสติกที่ฟุมเฟอยใช้เพียงครั้ง
เดียวทิ้ง และการจัดการกับขยะที่ไมมีประสิทธิภาพ เพราะพลาสติกเปนวัสดุที่ตองใช้เวลาในการยอย
สลายถึง 450 ป นี่จึงเปนสาเหตุที่ทำใหขยะลนและลงสูทะเลมากขึ้นอยางตอเนื่อง ยกตัวอยางในป
2563 มีขยะไหลผานปากแมน้ำลงอาวไทยเฉลี่ย 25,741 ชิ้น/วัน นับวาเปนปริมาณที่เยอะมาก ขยะ
พลาสติกสวนใหญเปนพลาสติกแผนบาง เช่น ถุงพลาสติก จัดเปนพลาสติกแผนบางมีปริมาณมากถึง
รอยละ 62 (ภาพที่ 3.12) รวมทั้งขยะที่พบมากในทะเล เช่น ถุงพลาสติก เศษโฟม ถุงพลาสติกหูหิ้ว
ขวดเครื่องดื่ม หอบรรจุอาหาร เปนตน ขยะเหลานี้เปนตนเหตุของปญหาการตายของสัตวในทองทะเล
ทั่วโลก

ภาพที่ 3.12 ขยะพลาสติกและขยะอื่นในทะเล


มาจาก: https://www.tei.or.th/th/highlight_detail.php?event_id=1056

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (2566) ไดรายงานข้อมูลขยะทะเล ไววา ประเทศไทยติด


1 ใน 5 อันดับของปญหาการทิ้งขยะลงสูทะเล ซึ่งเกิดจากการบริหารจัดการที่ดอยประสิทธิภาพของ
หนวยงานที่ตองรับผิดชอบ สัตวน้ำไดรับผลกระทบทางลบ ไมวาจะเปนน้ำที่เนาเสียจากขยะจำนวน
139

มาก เตาตนุ เตาทะเลหายาก ตายจากการกินเศษเชือกและพลาสติก รวมทั้งขยะอื่นที่ถูกปลอยลงสู


ทะเล โดยเตาตนุไมสามารถแยกแยะไดวาเปนอาหารจริงหรือไม เมื่อนักวิชาการทางทะเลไดทำการ
ชันสูตรศพพบวาเศษขยะอัดแนนเต็มกระเพาะอาหาร ปูเสฉวนหยิบเอาฝาขวดน้ำมาเปนกระดอง
ปองกันตนเองแทนเปลือกหอย รวมไปถึง เจ้าวาฬนำรองครีบสั้น นอนตายเกยตื้นอยูบนหาด เมื่อทีม
แพทยทำการชันสูตรศพ พบขยะจำพวกพลาสติกในสวนตนของกระเพาะอาหารจำนวน 85 ชิ้น ขยะ
ในทองวาฬยังสงผลใหเจ้าวาฬตัวนี้มีความผิดปกติในระบบรางกาย เช่น ปอดอักเสบ หัวใจขาดเลือด
พบพยาธิในปอด ทอน้ำดีและลำไสอีกดวย
นอกจากขยะที่ถูกปลอยสูทะเลในปริมาณมากแลวนั้น เมื่อพิจารณาขยะที่เกิดขึ้นในประเทศ
ไทย ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2565) ไดระบุวา
ขยะทั้งหมดมีปริมาณเพิ่มขึ้นในทุกป ตั้งแตป 2560 มี 27.4 ลานตัน ป 2561 มี 27.9 ลานตัน
และป 2562 มี 28.7 ลานตัน อัตราการเพิ่มขึ้นของขยะมีอยางตอเนื่องทุกป โดยขยะสวนใหญเปน
ขยะที่มาจากครัวเรือน เปนขยะอินทรีย ถัดมาเปนกระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ยิ่งไปกวานั้นปริมาณ
ขยะที่เพิ่มมากขึ้นเปนขยะอันตรายจากชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งขยะเครื่องใช้ไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกส
ในขณะที่ปริมาณขยะทั้งหมดในป 2563 มี 25.4 ลานตัน ลดลงจากป 2562 ในขณะที่ป
2563 เปนปที่อยูในช่วงสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ซึ่งรัฐบาลมีคำสั่งใหทุกคน
ในประเทศอยูบ า น สวนใหญรา นค้า รานอาหาร สถานทีต่ า ง ๆ ใหบริการเฉพาะสัง่ กลับไปทีบ่ า น แมวา
ปริมาณขยะทั้งหมดจะมีปริมาณลดลง แตขยะประเภทอันตราย ขยะติดเชื้อ ขยะพลาสติก กลองบรรจุ
อาหารไดเพิ่มปริมาณขึ้น สำหรับขยะพลาสติกและกลองบรรจุอาหารมีปริมาณเพิ่มขึ้น 40%-45%
(ภาพที่ 3.13)
ปาริชาติ (2564) ไดใหข้อมูลวา การจัดการขยะพลาสติกของประเทศไทยโดยกรมควบคุม
มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พบวา ปจจุบันประเทศไทยมีขยะพลาสติก
2 ลานตันตอป ตั้งแตในช่วงก่อนโควิด-19 คนไทยสรางขยะพลาสติกเฉลี่ย 96 กรัม/คน/วัน หลังจากมี
โควิด-19 พบวา ช่วงเดือน มกราคม – ธันวาคม 2563 ขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นกวา 40% เฉลี่ย 134
กรัม/คน/วัน และลาสุด ในการระบาดระลอกใหม ตัวเลขเดือนเมษายน 2564 ขยะพลาสติกเพิ่มขึ้น
45% หรือเฉลี่ย 139 กรัม/คน/วัน แมนักทองเที่ยวหายไปมาก แตขยะพลาสติกไมไดลดลง เมื่อ
140

เปรียบเทียบกับช่วงก่อนโควิด-19 ประเทศไทยจึงตองมีแผนการจัดการขยะพลาสติกในป 2561-2573


ซึ่งมีเปาหมาย 2 ช่วง เปาหมายที่ 1 ตองการลด เลิกใช้พลาสติก 4 ชนิด ไดแก่ กลองโฟมบรรจุอาหาร

ภาพที่ 3.13 การจัดการขยะพลาสติกในช่วงการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19


ดัดแปลงจาก: https://www.bangkokbiznews.com/social/944120

ถุงพลาสติดหูหิ้วแบบบางนอยกวา 35 ไมครอน แก้วพลาสติกแบบบางนอยกวา 100 ไมครอน และ


หลอดพลาสติก สวนเปาหมายที่ 2 เปนแนวทางการนำขยะพลาสติก 7 ชนิดกลับมาใช้ใหมใหได 50%
ขยะติดเชื้อมาพรอมกับการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 อยางหลีกเลี่ยงไมได สมิตานัน
(2564) ไดรายงานวา สถิติของปริมาณขยะติดเชื้อโดยสำนักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร พบวา
ในช่วงวันที่ 28 กรกฎาคม 2564 ถึง 1 สิงหาคม 2564 มีแนวโนมเพิ่มขึ้น (ภาพที่ 3.14) ปริมาณขยะ
ติดเชื้อ ในวันที่ 28 กรกฎาคม 64 เทากับ 99,770 กิโลกรัม ผานไป 5 วัน ในวันที่ 1 สิงหาคม 2564
เทากับ 106,720 กิโลกรัม
141

110000
108000
106000
ปริมาณขยะติดเชื้อ (กิโลกรัม)

104000
102000
100000
98000
96000
94000
92000
90000
28กค64 29กค64 30กค64 31กค64 1สค64
วัน เดือน ป< ที่เก็บขBอมูล
ภาพที่ 3.14 แนวโนมปริมาณขยะติดเชื้อในช่วงในช่วงการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19
มาจาก: สำนักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร (2564)

จากปญหาขยะที่มีมากมาย นำไปสูปญหาการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทำให


เกิดสภาวะโลกรอน (global warming) ปจจัยที่ทำใหอุณหภูมิของโลกเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ขยะทำให
เกิดก๊าซเรือนกระจก ไดโดยการจัดการขยะโดยวิธีฝงกลบ (ภาพที่ 3.15) ซึ่งอยูในสภาวะที่มีออกซิเจน
น อย เกิ ดการทำงานของจุ ลิ นทรี ย ที ่ ไ ม ใ ช้ ออกซิ เ จนและผลิ ตก๊ า ซมี เ ทน (CH4) ออกมาสู  ผ ิ ว ของ
หลุมฝงกลบ จากนั้นก๊าซมีเทนทำปฏิกิริยากับออกซิเจน กลายเปนก๊าซคารบอนไดออกไซดเพิ่มอีกดวย
(ภาพที่ 3.16) เมื่อเวลาในการฝงกลบนานขึ้น จุลินทรียที่ไมใช้ออกซิเจนกลุมผลิตก๊าซมีเทนเพิ่มจำนวน
ขึ้น ทำใหก๊าซก๊าซมีเทนและก๊าซคารบอนไดออกไซดที่เกิดขึ้นมีปริมาณมากขึ้นตามไปดวย
142

ภาพที่ 3.15 วิธีการจัดการขยะโดยการทำหลุมฝงกลบขยะและปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น


ดัดแปลงจาก: https://www.dad.co.th/download/25620823%20คัดแยกขยะมูลฝอย%20
ธพส%20 (1).pdf

ภาพที่ 3.16 ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากขยะมูลฝอย


ดัดแปลงจาก: https://www.dad.co.th/download/25620823%20คัดแยกขยะมูลฝอย%20
ธพส%20 (1).pdf
143

3.9 ผลกระทบของขยะมูลฝอยตJอมนุษยM สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลBอม


ผลระทบที่เห็นไดชัดเจนจากการสะสมของขยะมูลฝอยคือดานสุขภาพ และสุขอนามัย ขยะ
มูลฝอยเปนแหลงเพาะพันธุเชื้อโรคและสัตวพาหะนำโรค ขยะที่มาจากเศษอาหารหรือขยะอินทรีย
สะสมเปนจำนวนมาก มีกระบวนการจัดการไมทันกับจำนวนขยะที่เพิ่มขึ้นทุกวัน นำไปสูการเกิดของ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา หรือไวรัสก่อโรคตอมนุษยและสัตว รวมทั้งเปนแหลงอาหารของแมลงสาบ หนู
แมลงวัน มด แมลงหวี่ ซึ่งเปนสัตวพาหะนำโรค และอาจแพรพันธุเชื้อโรคไปสูสัตวปาไดอีกดวย
นอกจากนี้ ขยะมูลฝอยที่สะสมไมมกี ารกำจัดใหหมดไปยังสงผลกระทบตอ
1. ดานทัศนียภาพและเศรษฐกิจการทองเที่ยว ประเทศใดมีแหลงทองเที่ยวที่สวยงามเปนที่
ดึงดูดนักทองเที่ยวใหหลั่งไหลเข้ามาชื่นชมธรรมชาติและความงามมากเทาไร ขยะมูลฝอยเกิดขึ้นมาก
เทานั้น หากประเทศนั้นมีการบริหารจัดการขยะที่ไมเหมาะสม จะเกิดการสะสมของขยะมูลฝอย
ดูไมนามอง สรางความรำคาญใหกับนักทองเที่ยวและประชากรที่อยูอาศัยในบริเวณนั้น สงผลตอ
ทัศนียภาพ ความไมมีระเบียบเรียบรอย เช่น หากมีขยะมูลฝอยจำนวนมากในอุทยานแหงชาติ
จะสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมดวย สัตวในเขตอุทยานอาจมารื้อค้นขยะ และกินขยะพลาสติกหรือ
ขยะยอยไมไดลงไป เปนอันตรายถึงชีวิตได
2. แหลงน้ำ หากขยะมูลฝอยถูกทิ้งลงสูแหลงน้ำ เมื่อเกิดการปนเปอนของขยะในแหลงน้ำเปน
จำนวนมาก ขยะอินทรียจะถูกจุลินทรียในน้ำยอยสลายโดยใช้ออกซิเจน ทำใหออกซิเจนในน้ำลดลง
สงผลใหน้ำเนาเสีย สวนขยะที่ไมยอยสลายจะปกคลุมผิวน้ำ ทำใหแสงแดดสองไมถึงใตน้ำ ซึ่งมีแพลง
ตอนหรือสาหรายที่ตองใช้แสงแดด คารบอนและออกซิเจนในการเจริญเติบโต เปนผูผลิตในสายใย
อาหาร หากแพลงตอนหรือสาหรายไมสามารถเจริญในน้ำได สิ่งมีชีวิตที่กินแพลงตอนหรือสาหรายจะ
ขาดอาหารจนตาย และสูญพันธุไปในที่สุด รวมทั้งจะสงผลกระทบทางลบดานอาหารกันเปนทอด ๆ
สิ่งมีชีวิตในน้ำจะตาย เหลือแตจุลินทรียที่ไมตองการใช้ออกซิเจน ซึ่งเปนจุลินทรียที่ก่อใหเกิดโทษ
ที่สำคัญหากน้ำเนาเสีย มนุษยจะมีน้ำสะอาดใช้นอยลง สัตวและพืชจะไดรับน้ำที่สกปรกเข้าไป
สงผลเสียตอสัตวอาจเจ็บปวย และพืชอาจไมแข็งแรง
3. ด า นระบบนิ เ วศและสิ ่ ง แวดล อ ม ขยะมู ล ฝอยที ่ ส ะสมเป น จำนวนมาก เกิ ด เป น ก๊ า ซ
คารบอนไดออกไซด ปลอยสูชั้นบรรยากาศ เกิดเปนปรากฏการณเรือนกระจก ทำใหเกิดผลตอการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั่วโลก ขยะพลาสติกเมื่อปนเปอนในน้ำ อยูบนผิวน้ำ ถูกแสงแดดยอย
สลาย กลายเปนสารพิษอยูในแหลงน้ำ ขยะอันตรายบางชนิดมีสารโลหะหนัก หากปนเปอนในดินหรือ
144

น้ำ สงผลเสียตอสิ่งมีชีวิตที่อยูในดินหรือน้ำ เกิดปญหาระบบนิเวศถูกทำลาย เชื่อมโยงกับสายใยอาหาร


ไดรับผลกระทบอยางรุนแรง
จะเห็นไดวา ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมหลากหลายของมนุษย สงผลกระทบทางลบตอ
มนุษย สัตว และสิ่งแวดลอม ดังนั้น แนวทางเสนอแนะเพื่อปองกันและแก้ไขปญหาขยะมูลฝอย มีดังนี้
1. ลดปริมาณขยะ และคัดแยกขยะมูลฝอย เพื่อใหง่ายตอการจัดการ
2. รณรงค์ สรางจิตสำนึก ลดการใช้ถุงพลาสติก
3. มีกฎหมาย บทลงโทษที่หนักแก่ผูที่กระทำความผิดเกี่ยวกับการทิ้งขยะมูลฝอย
4. มีวิธีการจัดการขยะ นำกลับมาใช้ใหม หรือรีไซเคิล หรือดัดแปลงเปนสิ่งของที่มีมูลค่า
5. มีวิธีการเปลี่ยนแปลงขยะอิเล็กทรอนิกสใหใช้ประโยชนไดตอในดานอื่น

เมื่อขยะมูลฝอยที่เปนสาเหตุหนึ่งของการเกิดก๊าซเรือนกระจก ที่สงผลกระทบตออุณหภูมิของ
โลกสูงขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมหลายชนิดไมสามารถปรับตัวในสภาพอุณหภูมิ
สูงได อาจทำใหลดจำนวนลงหรือสูญพันธุในที่สุด สำหรับประเทศไทย พอเข้าช่วงฤดูรอน จะมี
การพยากรณอากาศ จากกรมอุตุนิยมวิทยา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) มักมีอุณหภูมิสูงถึง
40 องศาเซลเซียส สาเหตุจากอุณหภูมิที่สูงจนเกินอุณหภูมิของรางกายมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นทำให
เกิดการเจ็บปวยจนเสียชีวิตในที่สุด

ภาพที่ 3.17 ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญา


มาจาก: อมร (2564)
145

ในขณะที่กลไกทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสำหรับควบคุมอุณหภูมิโลกจากดวงอาทิตย
มีกลไกการทำงานคือ ดวงอาทิตยจะใหพลังงานแสงทะลุชั้นบรรยากาศของโลกลงมายังพื้นดิน มีการ
ปลอยพลังงานความรอนออกไปทั่วพื้นผิวโลก โดยที่โลกมีกลไกในการถายเทพลังงานความรอน
กลับยังชั้นบรรยากาศ เกิดการหมุนเวียนอยูในน้ำทะเล ทำใหระดับความรอนของโลกอยูในระดับ
สมดุล เมื่อสมดุลถูกทำลาย โดยก๊าซเรือนกระจก ที่มีปริมาณมาก ลอยขึ้นไปอยูบนชั้นบรรยากาศของ
โลก แลวดูดซับความรอนเอาไวไมสะทอนกลับออกไปภายนอกโลก ความรอนจะสะสมอยูที่ชั้น
บรรยากาศอยางตอเนื่องเปนเวลานาน จนทำใหโลกรอนขึ้น การเกิดสภาวะโลกรอนยังมีผลกระทบตอ
สภาพภู ม ิ อ ากาศของโลกไปด ว ย ทราบได จ ากปรากฏการณ เ อลนี โ ญ (El Nino) และ ลานี ญ า
(La Nina) อมร (2564) ไดอธิบายไววา ปรากฏการณเอลนีโญ (ภาพที่ 3.17) เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
กระแสลมเปลี่ยนทิศทาง ทำใหกระแสน้ำอุนพัดเข้าหาชายฝงตะวันตกของประเทศเปรู ซึ่งเปนทิศทาง
ตรงกันข้ามกับการไหลเวียนของกระแสลมปกติ สงผลกระทบทางลบตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใตและออสเตรเลีย เกิดความแหงแลง ฝนไมตก นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของ
กระแสน้ำอุนยังสงผลตอกระแสน้ำเย็นใตมหาสมุทรไมสามารถลอยตัวขึ้นมาไดตามปกติ ทำใหชายฝง
ของประเทศเปรู สูญเสียความอุดมสมบูรณทางทะเลที่สำคัญ และรายไดจำนวนมากของชาวประมง
ทองถิ่นดวย ในขณะที่ปรากฏการณลานีญา เปนปรากฏการณที่เกิดสลับกันกับเอลนีโญ โดยกระแส
ลมสิ นค้ าที ่ พั ดไปทางทิ ศตะวั นออกมี กำลั ง แรงกว าปกติ ส ง ผลกระทบทางลบต อภู มิ ภาคเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงใตและออสเตรเลีย มีระดับน้ำทะเลและปริมาณน้ำฝนสูง ทำใหสภาพอากาศแปรปรวน
รุนแรง และในทางกลับกัน ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต เกิดความแหงแลงอยางรุนแรง และแนนอน
วา ปรากฏการณดังกลาว จะสงผลกระทบตอระบบนิเวศของโลกอยางรุนแรง
146

สรุปทายบท
มนุษยมีความสัมพันธกับสิ่งมีชีวิตอื่นและสิ่งแวดลอมอยางแยกจากกันไมได คือ มนุษยไม
สามารถดำรงชีวิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดีไดหากไมมีสิ่งมีชีวิตอื่นและสิ่งแวดลอมที่สมบูรณ ตั้งแตอดีต
จนถึงปจจุบัน เมื่อมีการกำเนิดก่อเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ และมนุษยขึ้นบนโลก แตละพื้นที่มีบริบท
ของระบบนิเวศที่แตกตางกัน มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนไปตามธรรมชาติ
เกิดเปนวิวัฒนาการ การเรียนรูวิวัฒนาการทำใหมนุษยไดทราบองค์ความรูทางดานวิทยาศาสตร
ชีวภาพทุกสาขา เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยและสรางเทคโนโลยีที่เปนประโยชนตอมนุษยและ
สิ่งมีชีวิต ดวยวิธีการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ทำใหทราบข้อมูลทางดานพันธุศาสตรและอณูโมเลกุล
มีโอกาสยอนอดีตไปค้นหาบรรพบุรุษของตนเองตามหลักฐานที่เหลือไวใหค้นพบ คือ ลักษณะรูปราง
หัวกะโหลก และโครงกระดูก การค้นพบมนุษยวานรซึ่งเปนบรรพบุรุษของมนุษยปจจุบัน เราเรียกเขา
วา ปาลูซี่ ชื่อวิทยาศาสตรของมนุษย คือ Homo sapiens มนุษยมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม
แตกตางกันไปตามยุคและความก้าวหนาของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยยุคแรก มนุษยอยูรวมกับ
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มนุษยยุคนี้มีการดำรงชีวิตอยูภายใตกฎเกณฑของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ยุคที่สอง มนุษยตอตานธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มนุษยยุคนี้ทำการดัดแปลงธรรมชาติ เปลี่ยนสภาพ
สิ่งแวดลอม เพื่อการดำรงชีวิตของตนเอง และยุคปจจุบัน หลังเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม มนุษยสราง
ปญหามลพิษใหกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นกับสิ่งแวดลอมจะอยูรวมกันอยาง
สมดุลไดดวยกลไกความสัมพันธเชิงระบบ สิ่งมีชีวิตทั้งหลายตองพึ่งพาอาศัยสิ่งแวดลอมเพื่อที่อยูอาศัย
และแหลงอาหาร ในขณะที่มนุษยตองพึ่งพาอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นและสิ่งแวดลอม เพื่อปจจัย 4 และปจจัย
เสริมสำหรับการดำรงชีวิตและสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดี มนุษยตองคำนึงถึงคุณประโยชนของสิ่งมีชีวิต
อื่นและสิ่งแวดลอม ไมนำมาใช้จนเกิดความเสียหาย และเกิดการเสียสมดุลของสิ่งแวดลอมไป เพราะ
สิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมจะสงผลโดยตรงตอการดำรงชีวิตของมนุษย และกระทบกับการใช้ชีวิตของ
สิ่งมีชีวิตอื่นดวย สิ่งมีชีวิตแตละชนิดรวมทั้งมนุษยที่อยูบนโลกใบนี้ มีวิวัฒนาการ มีการเปลี่ยนแปลง
หรือการปรับตัวไปตามสภาพแวดลอมเพื่อความอยูรอดและขยายพันธุ โดยรูปแบบการปรับตัวมีดังนี้
คือ 1. การปรับตัวทางรูปรางลักษณะปรากฏหรือทางสัณฐาน 2. การปรับตัวทางสรีรวิทยา และ
3. การปรับตัวทางพฤติกรรม สำหรับในประเทศไทย เมื่อมนุษยมีการนำเทคโนโลยีมากมายเข้ามาใช้
เพื่ออำนวยความสะดวกใหกับตนเอง จนเกิดความไมสมดุลกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปรากฏการณ
ทางธรรมชาติ เ กิ ดการเปลี ่ ยนแปลงไป เป นผลจากมลพิ ษด านต า ง ๆ ที ่ เ กิ ดจากกิ จกรรมการใช้
147

เทคโนโลยีของมนุษย จนก่อเกิดปญหาสิ่งแวดลอม ระบบนิเวศขาดความสมดุล การดำรงชีวิตของพืช


และสัตวเปลี่ยนแปลงไป คุณภาพชีวิตของมนุษยไดรับผลกระทบในทางลบ ที่นับวันความรุนแรงยังคง
ทวีคูณขึ้น ปรากฏการณที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีของมนุษย อาทิเช่น
ปรากฏการณเรือนกระจก จนสงผลตอสภาวะโลกรอนขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม คือ
อากาศเปลี่ยนแปลงสุดขั้ว เกิดคลื่นความรอนที่รุนแรงและเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต เกิดภัยแลงบอย
ขึ้นในรอบป เกิดเหตุการณหิมะตกปริมาณมากแบบผิดปกติ และเกิดหิมะถลมอยางรุนแรง เกิดพายุ
หมุนขนาดใหญทั้งบนบกและในทะเล เกิดน้ำทวมปริมาณมากแบบผิดปกติ กระแสน้ำมหาสมุทร
แปรปรวน พืชและสัตวหลายชนิดสูญพันธุไปอยางถาวร รวมทั้งเกิดโรคอุบัติใหมและโรคเดิมอุบัติซ้ำ
เรื่องนี้เปนเรื่องที่ใกลตัวเรามาก เพราะทุกสิ่งบนโลกใบนี้ ลวนตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทุกคนบน
โลกใบนี้ควรตระหนัก และเข้าใจถึงผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล อยาปลอยใหปญหา
ภาวะโลกรอน กลายเปนปญหาของใครคนใดคนหนึ่ง กลุมใดกลุมหนึ่ง หรือประเทศใดประเทศหนึ่ง
ซึ่งในประเทศไทยจะมีหนวยงานที่ดูแลเรื่องนี้ คือ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ
มหาชน) ไดสรางกลไกทางการตลาดเพื่อเปนแนวทางในการลดสภาวะโลกรอนขึ้นดวยการตรวจวัด
คารบอนเครดิต และคารบอนฟุตปริ้นทที่เกิดจากบริการและอุตสาหกรรมในประเทศไทย บริการและ
อุตสาหกรรมใดมีปริมาณคารบอนเครดิต และคารบอนฟุตปริ้นทในกระบวนการนอยลง จะไดรับการ
สนับสนุนจากภาครัฐและผูบริโภคเพิ่มขึ้น โดยฉลากคารบอนฟุตปริ้นท โดยแบงเปน 5 ประเภท คือ
1. คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ 2. คารบอนฟุตปริ้นทขององค์กร 3. ฉลากลดคารบอนฟุตพริ้นท
ของผลิตภัณฑ 4. ฉลากคูลโหมด 5. ฉลาก Carbon offset / Carbon neutral ถัดมาคือปรากฏการณ
ฝุน PM 2.5 มลพิษทางอากาศ ภัยรายใกลตัวสงผลกระทบตอระบบทางเดินหายใจ ปรากฏการณ
ขี้ปลาวาฬเปนปรากฏการณที่น้ำทะเลเปลี่ยนสี เกิดจากสาหรายเซลลเดียวในทะเล ที่ถูกจัดกลุมอยูใน
แพลงตอนสัตว หรือโปรโตซัว เจริญเติบโตอยางรวดเร็วและมหาศาล สาเหตุจากการใช้สารเคมีทาง
การเกษตร การปลอยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม การใช้น้ำยาลางจาน ผงซักฟอก น้ำยาปรับผา
นุ  ม ยาสระผม ครี ม อาบน้ ำ ซึ ่ ง มี ส  ว นผสมของไนโตรเจนและฟอสฟอรั ส ปนเป  อ นในแหล ง น้ ำ
ปรากฏการณปะการังฟอกขาว มีสาเหตุจากอุณหภูมิน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น 1-2 องศาเซลเซียส ติดตอกัน
เปนเวลานาน อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปนี้ จะทำใหปะการังเกิดความเครียดและอาจปลอยพิษ
จนสาหรายไมสามารถอยูไดตองเคลื่อนยายไปอยูอาศัยที่อื่น สถานการณสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นใน
ประเทศไทย ไม ใ ช่ ห น า ที ่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของหน ว ยงานหรื อ ของใครคนใดคนหนึ ่ ง แต เ ป น
148

ความตระหนักถึงผลกระทบโดยตรงตอการใช้ชีวิตของเรา ดังนั้น เราควรเปนสวนหนึ่งในการลดปญหา


สิ่งแวดลอม ใหสิ่งแวดลอมอยูในสภาพสมดุล เพื่อความเปนอยูที่ดีและยั่งยืนจนรุนลูกหลานตอไป
149

แบบฝกหัดทายบทที่ 3
1. การเรียนรูเกี่ยวกับวิวัฒนาการของมนุษย สิ่งมีชีวิตตาง ๆ บนโลก มีความสำคัญอยางไรตอมนุษย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

2. จงเปรียบเทียบการใช้ชีวิตของมนุษยและความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมในแตละยุค
ลักษณะปรากฏ ยุคมนุษยอยูรวมกับ ยุคมนุษยตอตาน ยุคที่มนุษยสรางปญหา
ธรรมชาติและ ธรรมชาติและ มลพิษใหกับธรรมชาติ
สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม และสิ่งแวดลอม

การดำรงชีวิต

แหลงที่มาของปจจัย 4

สิ่งอำนวยความสะดวก

กิจกรรมทางการเกษตร

กิจกรรมทาง
อุตสาหกรรม

ความก้าวหนาทาง
วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี

การเงิน
150

ความสัมพันธระหวาง
มนุษยกับมนุษย

ความสัมพันธระหวาง
มนุษยกับสิ่งมีชีวิตอื่น

มลพิษสิ่งแวดลอม

3. ปรากฏการณเรือนกระจก เกิดจากสาเหตุใด จงอธิบาย ปรากฎการณนี้สงผลตอการเกิดสภาวะโลก


รอน เปนผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดบางบนโลกใบนี้ จงสรุปมาเปนข้อ ๆ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

4. ประเทศไทยมีกลไกตลาดกับมาตรการลดโลกรอนดวยคารบอนเครดิต และคารบอนฟุตปริ้นท โดย


กำหนดสินค้าการใหบริการและองค์กรตองมีฉลากคารบอนฟุตปริ้นท แบงเปน 5 ประเภท อะไรบาง
จงอธิบาย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
151

_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
5.

จากภาพ ทานมีความรูสึกอยางไร องค์ประกอบที่เกิดขึ้นในภาพมาจากสาเหตุใดบาง สงผลกระทบ


อยางไร แลวทานมีแนวทางในการจัดการองค์ประกอบในภาพเพื่อแนะนำผูอื่นอยางไรบาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
152

เอกสารอางอิง
กิตติพัฒน อุโฆษกิจ. (2561). พันธุศาสตร. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร.
คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. (2557). สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต.
พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
จิราภรณ คชเสนี. มนุษยกับสิ่งแวดลอม. (2540). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ชยันต ตันติวัสดาการ, ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล, นิรมล สุธรรมกิจ, บัณฑูร เศรษฐศิโรตม, ศุภกร
ชินวรรโณ, สิริลักษณ เจียรากร, อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา และ อำนาจ ชิดไธสง. (2556). รับมือ
โลกรอนก่อน 4 องศา: สิ่งที่ประเทศไทยทำได. กรุงเทพฯ: บริษัท วิกิ จำกัด.
ธนิก เลิศชาญฤทธ. (2548). วิวัฒนาการของมนุษย. เอกสารคำสอน รายวิชา 300 214 Human
Evolution. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิจิตตราภรณ สุขเจริญ, พิชชากร ตั้งอารมณสุข, มุกตาภา สนธิอัชชรา, กชพร ไวทยกุล, จิรายุ
เศวตไกรพ, จิดาภา ภูพงศเพ็ชร, รตรัฐ เข่งคุ้ม, ศักรินทร ภูผานิล และ ศราวุธ ลาภมณีย. (2563).
การศึกษามาตรการจัดการปญหาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน ของประเทศไทยตาม
แนวทางองค์การอนามัยโลก. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตรเขตเมือง. 64(5): 345-356.
วิทยากร เชียงกูล. (2558). สิ่งแวดลอม-ระบบนิเวศสังคมที่ทุกคนควรรู. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแสง
ดาว จำกัด.
ลาวัณย วิจารณ. (2559). สิ่งแวดลอมศึกษา: แนวทางสูการปฏิวัติ. ปทุมธานี: สำนักพิมพมหาวิทยาลัย
รังสิต.
ศู น ย เ ครื อ ข่ า ยการจั ด การสารและของเสี ย อั น ตราย สถาบั น วิ จ ั ย สภาวะแวดล อ ม จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย. (2558). เหมืองสีเขียวเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัท เอสทีซี มีเดีย
แอนด มาเตติ้ง จำกัด.
สถาบันระหวางประเทศเพื่อการค้าและพัฒนา (องค์การมหาชน). (2557). การพัฒนาศักยภาพการ
ผลิตและสงออกสินค้าและบริการสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: บริษัท ออนปา จำกัด.
สำนักความรวมมือดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2556). อนาคตที่เราตองการ (The future we want).
กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน)
153

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม. (2557). ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก.
กรุงเทพฯ: บริษัท โมโนกราฟ สตูดิโอ จำกัด.
Jacquelyn A. Ottman (2554). Green Marketing พิ ม พ เ ขี ย วการตลาดวิ ว ั ฒ น โ ลก [The new
rules of green marketing] (วีระ มานะรวยสมบัติ, แปล). กรุงเทพฯ: บริษัท เออารไอพี จำกัด
(มหาชน).
Stringer, C.B. (2016). The origin and evolution of Homo sapiens. Philosophical
Transactions of The Royal Society B Biological Sciences. 371: 1-12.
Wiig, Q., Aars, J. and Born, E.W. (2008). Effects of climate change on polar bears. Science
Progress. 91: 151-173.
154

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2560). ยุทธศาสตรการจัดการ
มลพิ ษ 20 ป และแผนการจั ด การมลพิ ษ พ.ศ. 2560-2564 [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/04/pcdnew-2020-04-23_03-41-
12_505896.pdf วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2565). คพ. เผยป 2564 ขยะมูล
ฝอยลดลง ขยะติดเชื้อและขยะอันตรายเพิ่มขึ้น แนะจัดการอยางถูกวิธี [ออนไลน]. แหลงที่มา:
https://www.pcd.go.th/pcd_news/20802/ วันที่สืบค้น 10 กุมภาพันธ 2565.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. (2566). ขยะพลาสติกในทะเลไทยใครวาเรื่องเล็ก [ออนไลน].
แหล ง ที ่ ม า: http://tcc.dmcr.go.th/thaicoastalcleanup/publicRelations/content/38
วันที่สืบค้น 5 เมษายน 2566.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือฉบับประชาชน การเฝาระวัง PM 2.5 อยางไรให
ป ล อ ด ภ ั ย [อ อ น ไ ล น ]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า : https://hia.anamai.moph.go.th/web-
upload/12xb1c83353535e43f224a 05e184d8fd75a/filecenter/PM2.5/book103.pdf
วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2566.
กลุมเฝาระวังฝุน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2562). เรียนรู อยูกับฝุน PM 2.5 [ออนไลน]. แหลงที่มา:
https://www.chula.ac.th/wp-content/uploads/2019/10/Chula-PM25.pdf วั น ที ่ ส ื บ ค้ น
9 มีนาคม 2566.
ปาริชาติ บุญเอก. (2564). สองสถานการณขยะพลาสติกช่วงโควิด-19กับความทาทายโรดแมพป65
[ออนไลน]. แหลงที่มา: https://www.bangkokbiznews.com/social/944120 วันที่สืบค้น 30
ธันวาคม 2564.
พัชรศักดิ์ อาลัย. (2562). ปรากฏการณฝุน PM 2.5 และแนวทางแก้ไขที่ยั่งยืน [ออนไลน]. แหลงที่มา:
http://dept.npru.ac.th/rdi/data/files/Arlai_News_PM2.5_Nov_2562.pdf วันที่สืบค้น 9
มีนาคม 2566.
สมิตานัน หยงสตาร. (2564). โควิดกับขยะติดเชื้อ 5 เรื่องของการจัดการโดย กทม. [ออนไลน].
แหลงที่มา: https://www.bbc.com/thai/thailand-58114065 วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม 2564
155

สุ ร ั ต น ผลนารั ก ษ . (2566). ต น เหตุ ส ำคั ญ ของป ญ หาสิ ่ ง แวดล อ ม [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:


https://www.agi.nu.ac.th/nred/Document/lean-PDF/03_chapter2.pdf วันที่สืบค้น 11
มีนาคม 2566.
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (2562). กลไกตลาดกับมาตรการลดโลก
ร  อ น ด  ว ย ค า ร  บ อ น เ ค ร ด ิ ต แ ล ะ ค า ร  บ อ น ฟ ุ ต ป ร ิ ้ น ท  [อ อ น ไ ล น ]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า :
http://www.tgo.or.th/2020/ index.php/th/ วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม 2564.
อมร เพ็ชรสวาง. (2564). เอลนีโญ ลานีญา ปรากฏการณที่มีอิทธิพลตอสภาพภูมิอากาศของโลก
[ออนไลน ].. แหล ง ที ่ ม า: https://www.gistda.or.th/main/th/node/4758 วั น ที ่ ส ื บ ค้ น 30
ธันวาคม 2564.
156
157

บทที่ 4
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

4.1 บทนำ
มนุษยนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อความอยูรอดในการดำรงชีวิต สรางปจจัย 4 คือ
อาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค และที่อยูอาศัย มนุษยยังอาศัยอยูรวมกับสิ่งแวดลอมทั้งที่มีชีวิตและ
ไมมีชีวิต ดังนั้นปฏิสัมพันธระหวางมนุษย ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมจึงตองอยูในสภาวะ
สมดุ ล การเรี ย นรู  ท รั พ ยากรธรรมชาติ การจั ด ประเภททรั พ ยากรธรรมชาติ แหล ง กำเนิ ด
ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ สาเหตุของการเกิดปญหาความเสื่อม
โทรม และแนวทางการแก้ไขปญหาทรัพยากรธรรมชาติ ลวนแลวแตมีความสำคัญตอการดำรงชีวิต
ของมนุษย มนุษยจะดำรงชีวิตอยูไดอยางลำบาก หากไมมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในขณะ
ที ่ ค วามก้ า วหน า ทางวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี รวมทั ้ ง การพั ฒ นาประเทศทุ ก ด า น ต อ งใช้
ปจจัยพื้นฐานมาจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายในประเทศนั้น จะเห็นไดวาในยุคลา
อาณานิคม เปนยุคที่ประเทศที่มีอำนาจเข้ามาแยงชิงยึดพื้นที่ของประเทศผูแพ เมื่อเกิดการทำสงคราม
อาณานิคมที่ถูกยึดครองลวนแลวแตมีความมั่งคั่งทางทรัพยากรธรรมชาติ มีความหลากหลายทาง
ชีวภาพทั้งพืชและสัตว มีแรที่เปนสินค้าทำรายได ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณถือเปน
ทรัพยสินอันล้ำค่าของดินแดนประเทศนั้น หากปลอยใหทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมเสียหายถือเปน
ความหายนะของคนในประเทศ การปลูกฝง สรางจิตสำนึกและความตระหนักถึงผลเสียที่เกิดจาก
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ เปนเรื่องสำคัญที่ผูบริหารประเทศ ตองใสใจในการรณรงค์ให
คนในประเทศรูและเข้าใจการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติใหยั่งยืนและอยูในความสมดุลไปพรอมกับ
การพัฒนาประเทศดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
ในหลวงรัชกาลที่ 9 รวมทั้งการสรางและใช้เทคโนโลยีตองอยูบนพื้นฐานของความตองการของชุมชน
สังคม และบริบทของประเทศ เพื่อใหประชาชนในประเทศพึ่งพาตนเองใหมากที่สุด
158

4.2 ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย ตั้งแตมนุษยเริ่ม
กำเนิดขึ้นมาบนโลก มนุษยใช้ชีวิตอยูกับธรรมชาติ ใช้ประโยชนจากธรรมชาติ เปนอาหาร เปนที่อยู
อาศั ย เป น เครื ่ อ งนุ  ง ห ม เป น ยารั ก ษาโรค เป น ต น ในป จ จุ บ ั น สิ ่ ง ที ่ น  า เป น ห ว งมากที ่ ส ุ ด คื อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีไมเพียงพอตอความตองการของมนุษย รวมทั้งสิ่งแวดลอมเสื่อม
โทรมจากกิจกรรมของมนุษยดวย ดังนั้นจุดมุงหมายของการเรียนรูดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมเพื่อการรักษาสมดุลของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหอยูคงเดิมเพื่อมนุษยไดนำมาใช้
ประโยชน ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอมโลกกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว
ซึ่งสิ่งแวดลอมเปนศาสตรที่ศึกษาเรื่องราวทางภูมิศาสตร ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากร
ศึกษา นิเวศวิทยา วิทยาศาสตรสาขาตาง ๆ รวมทั้งปจจัยที่มีอิทธิพลหรือมีผลกระทบตอคุณภาพชีวิต
ของมนุษย ไมวาจะเปน สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การเกิดมลพิษสิ่งแวดลอมและการบริหาร
จัดการ ปจจัยเหลานี้มีความสัมพันธกันอยางซับซ้อนเชื่อมโยงกันเปนเครือข่าย ดังนั้นการศึกษาวิจัย
เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมจำเปนตองมองในมุมที่หลากหลายมิติ และทำความเข้าใจแตละประเด็น
ไปพรอมกัน สิ่งแวดลอมจึงเปนศาสตรเชิงบูรณาการ มีขอบเขตกวาง มีความสำคัญตอมนุษยทั่วโลก
การเข้าใจความเปนไปของธรรมชาติ อยูรวมกับธรรมชาติไดอยางสมดุลและยั่งยืน ถือเปนเปาหมาย
หลักของการศึกษาสิ่งแวดลอมของมนุษย การเรียนรูสิ่งแวดลอมไมมีวันสิ้นสุด
4.2.1 ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
ศศินา (2550) ไดอธิบายความหมายของ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองหรือมี
อยูแลวตามธรรมชาติ มนุษยนำมาใช้ประโยชนในดานใดดานหนึ่ง ไดแก่ ทรัพยากรดิน น้ำ อากาศ
สัตวปา ปาไม แรธาตุ พลังงาน ปะการังและชายฝง แสงอาทิตย เปนตน เพื่อการดำรงชีวิตของมนุษย
ทรัพยากรธรรมชาติเปนปจจัย 4 ในการดำรงชีวิตของพืชและสัตว ทรัพยากรธรรมชาติ เปนอาหาร
ที่อยูอาศัย ที่หลบภัย ในแง่เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติเปนปจจัยสำคัญในกระบวนการผลิต
เปนวัตถุดิบเริ่มตน การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ตองใช้ดวยความระมัดระวัง ประหยัดและไมใช้เกิด
ความจำเปน รวมทั้งตองมีแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไปพรอมกันดวย เพื่อความสมดุล
เมื่อมนุษยใหตนเองเปนจุดศูนยกลาง สิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวมนุษย อาจเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติ หรือเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นตาม เปนสิ่งไมมีชีวิตและสิ่งมีชีวิต ทั้งที่เปนรูปธรรมและ
159

นามธรรม ทุกอยางมีความสัมพันธเกี่ยวข้องกันอยางเปนระบบ เกิดวั ฏจักรการหมุนเวียนสาร


มีอิทธิพลตอการดำรงชีวิตของมนุษย สัตวและพืชทั้งทางตรงและทางออม
ดังนั้น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสิ่งเดียวกัน ขึ้นอยูกับการมองของผูเชี่ยวชาญ
ถามองเปนองค์รวมทรัพยากรธรรมชาติคือ สิ่งแวดลอมชนิดหนึ่ง รวมอยูในสิ่งแวดลอม ถามองถึงการ
ใช้สอย การมีประโยชน จะถูกเรียกวา ทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะที่มีคำศัพทคำวา ทรัพยากร
สิ่งแวดลอม คือ การรวมกันของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น
4.2.2 ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
ศศินา (2550) และ ณัฐญา (2562) ไดอธิบายวา ทรัพยากรธรรมชาติมีความสำคัญในการเปน
ปจจัย 4 สำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย เปนองค์ประกอบของสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ หากมนุษยรู
วิธีที่ถูกตองในการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ยอมช่วยใหเกิดความเปนอยูที่ดีแก่ตนเอง ครอบครัว
ชุมชน สรางความเจริญใหกับประเทศ อยางไรตาม วิธีการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ที่ถูกตอง มนุษย
ตองมีการเรียนรู มีสติปญญาอันชาญฉลาด รูวิธีการนำมาใช้อยางประหยัด รูจักการแบงปน และสราง
ประโยชนใหแก่ทุกคนในประเทศ รวมทั้งการอนุรักษใหอยูอยางยั่งยืน ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติ
สามารถสรางเครื่องอุปโภคบริโภค มนุษยนำทรัพยากรมาใช้สรางภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม
คมนาคมขนสง การสื่อสาร เขื่อน/ฝาย การชลประทาน สิ่งทอเครื่องนุงหม ยารักษาโรคและเครื่องมือ
ทางการแพทย ที่อยูอาศัย อาคารบานเรือน ที่พักผอนหยอนใจ เปนปจจัยสำคัญในการพัฒนา
ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงานวิจัย การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ ในขณะที่นักวิชาการสิ่งแวดลอมไดมองวา สิ่งแวดลอมมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา ดวยกระบวนการที่ซับซ้อนทางสิ่งแวดลอมและการเปลี่ยนแปลงของโลก ไดทำการแบงมิติ
ของทรัพยากรออกเปน 4 กลุม ไดแก่ ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรทางชีวภาพ คุณค่าการใช้
ประโยชนของมนุษย และคุณค่าคุณภาพชีวิตของมนุษย

4.3 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติมีมากมายหลากหลายชนิด หากไมมีการจัดแบงกลุมของทรัพยากร
อาจจะยากตอการเลือกและนำมาใช้ประโยชนไดอยางถูกตองเหมาะสมตามคุณลักษณะเฉพาะของ
ทรัพยากรธรรมชาตินั้น ดังนั้น ศศินา (2550) และ คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและ
ชีวิต (2557) ไดอธิบายถึงการจัดจำแนกทรัพยากรธรรมชาติตามลักษณะการใช้ประโยชน ดังนี้
160

1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมหมดสิ้น
เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อกำเนิดมาก่อนมนุษย เมื่อมนุษยกำเนิดขึ้นบนโลกตองใช้
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ เพื่อการดำรงชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติบางประเภทหากมนุษยขาดไป
เพียงช่วงระยะเวลาสั้นอาจเสียชีวิตได แตบางประเภทขาดไดเปนระยะเวลานานหรือมีมากเกินความ
ตองการของมนุษย แตถาทรัพยากรธรรมชาติเหลานั้นถูกนำมาใช้ผิดวิธี หรือขาดการบำรุงรักษาใหคง
เดิม ทำใหคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาตินั้นเกิดความเสื่อมโทรมลง จนไมเหมาะสมตอการนำมาใช้
งาน ซึ่งจะมีผลตอการดำรงชีวิตของมนุษยอยางแนนอน ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ คือ อากาศ น้ำ
ดิน แสงอาทิตย หากทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้หมดไป มนุษยไมสามารถมีชีวิตรอดไดแนนอน
ทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้มีใหฟรี ไมมีค่าใช้จ่าย ทำใหมนุษยรูสึกวาจะนำทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้
มาใช้อยางไรได มีคุณค่าลดนอยลง จนเกิดปญหามลพิษสิ่งแวดลอมกับทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวหมดไป
เปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจำกัด ไดแก่ น้ำมันปโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถานหิน
ลิ ก ไนต แร ธ าตุ การเกิ ด ทรั พ ยากรธรรมชาติ ป ระเภทนี ้ ใ ช้ ร ะยะเวลายาวนาน จึ ง เป น
ทรัพยากร ธรรมชาติที่ใช้แลวหมดไป ไมสามารถทดแทนไดในระยะเวลาอันสั้น บางชนิดอาจดัดแปลง
หรือนำกลับมาใช้ใหมไดบาง เช่น แรธาตุ ถานหิน ถานลิกไนต เปนตน ทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้มี
ความสำคัญนอยตอการดำรงชีวิตของมนุษย แตอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต ช่วยผอนแรง
เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานใหดีขึ้น ถาไมมีทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้มนุษยยังสามารถดำรงชีวิต
อยูได แตอาจจะใช้ชีวิตแบบลำบาก ไมสะดวกสบาย ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ตองใช้อยาง
ประหยัด มีวิธีนำมาใช้อยางถูกตองเหมาะสม และระมัดระวัง
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวสามารถสรางทดแทนได
เปนทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นใหมไดตลอดเวลา เมื่อมนุษยนำมาใช้ แลวรูจักบริหารจัดการ
รักษาหรือจัดการใหอยูในระดับที่มีความสมดุลกันตามธรรมชาติ หรือหากเสื่อมโทรมถูกทำลาย
สามารถช่วยกันอนุรักษฟนฟูขึ้นมาใหมได แตตองใช้ระยะเวลาเช่นกัน ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้
คือ ปาไม สัตวปา พืชพรรณ สัตวน้ำ ทุงหญา ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต
ของมนุษย เป นวั ตถุดิบในการสร างป จจัย 4 ทั ้งทางตรงและทางออม สรางความสะดวกสบาย
หากทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ขาดแคลน เสื่อมโทรม ไมสมบูรณ อาจสงผลกระทบตอการมีชีวิต
อยูของมนุษย
161

4.4 ทรัพยากรน้ำ
น้ำเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ฟาประทานมาใหแก่มนุษย สัตวและพืช น้ำมีความจำเปนตอการ
ดำรงชี ว ิ ต ของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต บนโลก ถ า ปราศจากน้ ำ ปราศจากสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต คุ ณ สมบั ต ิ ข องน้ ำ คื อ เป น
ตัวทำละลายที่ดี น้ำยังเปนตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดในกระบวนการเมตาบอลิซึมของ
รางกาย ปฏิกิริยาเคมีในรางกายเกือบทุกกระบวนการตองอาศัยน้ำ ไดแก่ การยอยอาหาร การดูดซึม
อาหาร การขับถายของเสียออกจากรางกาย น้ำที่เปนของเหลวในเลือด ทำหนาที่ขนสงอาหารและ
ออกซิเจนใหแก่เซลล ไมทำใหเลือดข้นหนืด นำของเสีย ก๊าซคารบอนไดออกไซด สารพิษและสารเคมี
ที่เปนอันตรายออกจากรางกาย โดยผานตับซึ่งเปนอวัยวะสำคัญในการทำลาย หรือเปลี่ยนแปลง
สารพิษดวยกลไกทางเคมี เปนอวัยวะที่ผลิตเอนไซมภายในรางกาย กระบวนการขับถายสารพิษเกิดขึ้น
รวมกับการขับถายทางปสสาวะและอุจจาระ น้ำยังช่วยควบคุมอุณหภูมิของรางกาย ช่วยรักษาระดับ
ความเปนกรดดางของเลือดและของเหลวในรางกาย น้ำช่วยระบายความรอนของรางกายในรูปของ
เหงื่อ รางกายมนุษยมีน้ำเปนสวนประกอบประมาณรอยละ 70 ในเลือดมีน้ำเปนองค์ประกอบรอยละ
92 ในสมองมีน้ำเปนองค์ประกอบรอยละ 85 ถาพิจารณาในแตละเซลลจะมีน้ำเปนองค์ประกอบรอย
ละ 60 นอกจากนี้น้ำเปนสวนประกอบสำคัญและจำเปนของเซลลทุกชนิด ไมวาจะเปนเซลลพืช และ
เซลลสัตว ทุกเซลลลวนประกอบดวยน้ำทั้งนั้น ในเซลลมนุษยและเซลลสัตวมีน้ำประมาณ 2 ใน 3 ของ
น้ำหนักรางกาย ในพืชบกมีน้ำประมาณรอยละ 50–75 ถาเปนพืชน้ำอาจมีน้ำมากกวารอยละ 95 โดย
น้ำหนัก ดังนั้น น้ำจึงเปนสิ่งที่ธรรมชาติสรางมาเพื่อมวลสิ่งมีชีวิตบนโลก น้ำที่อยูบนพื้นโลกมีอยู 3
สวน (ภาพที่ 4.1) น้ำมาจากแหลงน้ำทะเลและมหาสมุทรประมาณ 97% น้ำแข็งจากขั้วโลกเหนือและ
ขั้วโลกใตประมาณ 2.1% และน้ำจากใตดิน น้ำผิวดิน และน้ำในบรรยากาศ อีกประมาณ 0.63%
4.4.1 ประเภทของแหลงน้ำ
แหลงน้ำเปนบริเวณที่รองรับน้ำทั้งหมด ไมวาจะมาจาก ตนน้ำลำธาร หวย หนอง คลอง บึง
ทะเลสาบ น้ำใตดิน หรือ แมน้ำ แหลงน้ำสามารถจัดจำแนกได ดังนี้
1. แหลงน้ำผิวดิน ไดแก่ แมน้ำ ซึ่งประเทศไทยมีแมน้ำหลายสายไหลผาน ตัวอยางเช่น ภาคเหนือ มี
แม น ้ ำ ป ง แม น ้ ำ วั ง แม น ้ ำ ยม ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มี แ ม น ้ ำ ชี แม น ้ ำ มู ล ภาคกลาง
มีแมน้ำเจ้าพระยา แมน้ำลพบุรี แมน้ำปาสัก ภาคตะวันตก มีแมน้ำแควนอย แมน้ำแควใหญ ภาค
ตะวันออก มีแมน้ำจันทบุรี แมน้ำบางประกง แมน้ำปราจีนบุรี แมน้ำระยอง แมน้ำเวฬุ ภาคใต
มีแมน้ำตาป แมน้ำปากจั่น แมน้ำตรัง เปนตน เขื่อนและอางเก็บน้ำ แบงตามภาคไดดังนี้ ภาคเหนือ
162

มี เ ขื ่ อ นเก็ บ น้ ำ จำนวน 9 แห ง เช่ น เขื ่ อ นภู ม ิ พ ล จั ง หวั ด ตาก (ภาพที ่ 4.2) และเขื ่ อ นกิ ่ ว ลม
จังหวัดลำปาง เปนตน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเขื่อนและอางเก็บน้ำจำนวน 12 แหง เช่น เขื่อนลำ
ตะคอง จังหวัดนครราชสีมา และเขื่อนอุบลรัตน จังหวัดขอนแก่น เปนตน ภาคกลาง มีเขื่อนและ

ภาพที่ 4.1 แหลงน้ำตามธรรมชาติ


มาจาก: http://www.eledu.ssru.ac.th/kornkamol/pluginfile.php/208/
mod_resource/content/3/chapter%201.pdf

อางเก็บน้ำจำนวน 4 แหง เช่น เขื่อนพระราม 6 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ จังหวัด


ลพบุรี และเขื่อนกระเสียว จังหวัดสุพรรณบุรี เปนตน ภาคตะวันออก มีเขื่อนและอางเก็บน้ำจำนวน 6
แหง เช่น เขื่อนขุนดานปราการชล จังหวัดนครนายก เปนตน ภาคใต มีเขื่อนและอางเก็บน้ำจำนวน 4
แหง เช่น เขื่อนรัชชประภา จังหวัดสุราษฎรธานี เปนตน ภาคตะวันตก มีเขื่อนและอางเก็บน้ำจำนวน
2 แหง เช่น เขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี เปนตน บึงน้ำจืด หนองน้ำ ทะเลสาบ หรือบอ ไดแก่
ทะเลสาบสงขลา บึงบอระเพ็ด กวานพะเยา หนองหาร หนองหลวง หวยละหาน
163

ภาพที่ 4.2 เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก


มาจาก: https://www.facebook.com/pg/EGATBhumiboldam/posts/

2. แหลงน้ำใตดิน ไดแก่ น้ำบาดาล น้ำใตดิน การเลือกใช้น้ำใตดิน ไมใช่วาใครจะขุดได


ผูที่ตองการใช้ตองมีขั้นตอนการดำเนินการที่ถูกตอง ตั้งแตการขออนุญาตขุดเจาะเพื่อค้นหาน้ำใตดิน
จากกรมทรัพยากรน้ำบาดาล การเอาขึ้นมาใช้ตองเข้มงวด เพราะวาการขุดเจาะน้ำใตดินขึ้นมาใช้ไมวา
จะเปนความลึกระดับไหนตาม จะสงผลตอหนาดินบริเวณโดยรอบ หากการขุดทำอยางไมถูกวิธี
อาจจะทำใหหนาดินการเกิดพังทลายขึ้นมา ทำใหเกิดพื้นดินแตกจากแรงกระแทกขุดไดเช่นกัน รวมทั้ง
การสูบน้ำใตดินขึ้นมาใช้มากเกินไปจะทำใหเกิดผลเสียระยะยาวตอชั้นดิน ชั้นหินบริเวณโดยรอบอีก
สงผลกระทบตอคุณภาพดิน
3. แหลงน้ำจากทะเล เนื่องจากประเทศไทยมีพื้นที่ติดอาวไทยกับทะเลอันดามัน ไดแก่
หมูเกาะสิมิลัน หมูเกาะสุรินทร เกาะตาชัย อุทยานแหงชาติตะรุเตา เกาะหลีเปะ อุทยานแหงชาติ
หาดนพรัตนธารา เกาะสีชัง เกาะขาม สัตหีบ เปนตน ทะเลสวนใหญอยูในภาคกลาง ภาคตะวันออก
และภาคใต
4. แหลงน้ำฝนจากทองฟา ซึ่งเกิดจากน้ำที่ผิวโลกระเหยขึ้นไปสูชั้นบรรยากาศเรียกวา ไอน้ำ
ไอน้ำรวมตัวกันเปนเมฆ เมื่อหยดน้ำมากมายในเมฆเย็นตัวลงเกิดการควบแนนเปนของเหลว หยดน้ำ
จึงตกลงสูพื้นดินในรูปแบบฝน (ภาพที่ 4.3)
4.4.2 ประโยชนของทรัพยากรน้ำ
164

น้ำเปนปจจัยหลักในการดำรงชีวิตของมนุษย สัตวและพืช รางกายมนุษยตองการน้ำ 2 ใน 3


ของรางกาย อยูในน้ำเลือด น้ำถูกนำมาใช้ในการอุปโภคและบริโภค ใช้ในการทำประมง ใช้ใน
การเกษตร ปลูกพืช และเลี้ยงสัตว ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น ลางวัตถุดิบ เปนสวนหนึ่งใน
กระบวนการผลิต ระบบหลอเย็น ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟา ใช้เพื่อการคมนาคมขนสง ใช้เพื่อการ
พักผอนหยอนใจและนันทนาการ เช่น ตกปลา กีฬาทางน้ำ รวมทั้งประเพณีไทยที่มีความผูกพันทางน้ำ
มาแตโบราณและมีแหงเดียวในโลก เช่น ประเพณีเหเรือหลวง หรือกระบวนพยุหยาตราชลมารค เช่น
เรือพระที่นั่งนารายณทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 (ภาพที่ 4.4) การเหเรือเลน ประเพณีแหเทียนพรรษา
ทางน้ำ ประเพณีลอยเรือชาวเลของจังหวัดกระบี่ เปนตน

ภาพที่ 4.3 แหลงน้ำฝน


มาจาก: https://www.stkc.go.th/sites/default/files/infographic/1520925029.jpg
165

ภาพที่ 4.4 ประเพณีเหเรือหลวงทางน้ำดวยเรือพระที่นั่งนารายณทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9


มาจาก: https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Pages/256206SpecialScoop.aspx
4.4.3 ปญหาทรัพยากรน้ำ
ในปจจุบันปญหาที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ำเกิดขึ้นมากมายในทุกแหงหน ถึงแมน้ำจะจัดเปน
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมหมดสิ้น แตหากน้ำเปลี่ยนแปลงสภาพจากน้ำดีไปเปนน้ำเสีย มนุษยไม
สามารถนำน้ำเสียมาใช้ประโยชนได จะสงผลเสียตอการขาดแคลนน้ำในอนาคต ปญหาดานน้ำที่สงผล
เสียตอการดำรงชีวิตของมนุษย ไดแก่
1. ปญหาขาดแคลนน้ำ น้ำเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ไมหมดสิ้นจริงแตมีโอกาสเสื่อมโทรมจาก
การนำมาใช้งานที่ไมถูกตอง เมื่อปริมาณน้ำที่สามารถใช้ไดนอยกวาความตองการของผูใช้ จึงเกิดการ
แก่งแยง และการเสียชีวิตเกิดขึ้น การตัดไมทำลายปาเปนสาเหตุหนึ่งของการทำลายแหลงตนน้ำ ทำ
ใหขาดแคลนน้ำ น้ำแลง
2. ปญหาน้ำทวม เกิดจากพายุฝนจากมรสุม ทำใหฝนตกหนักและไมสามารถระบายออกได
จนเกิดการทวมขัง รวมทั้งเกิดจากขยะอุดตันช่องทางการไหลของน้ำ เมื่อฝนตกเพียงเล็กนอยเกิด
ปญหาน้ำทวม
3. ปญหาคุณภาพน้ำเนาเสีย เกิดเปนมลพิษทางน้ำ ปญหานี้เกิดจากกิจกรรมและวัสดุจาก
มนุษยโดยตรง เช่น ขยะจากกิจกรรมในการใช้ชีวิตและสิ่งอำนวยความสะดวกของมนุษย เมื่อเกิดการ
ชำรุดไมไดใช้แลว จึงกลายเปนขยะและปนเปอนในน้ำ ทำใหน้ำเนาเสีย ซึ่งปญหานี้แก้ไขไดยาก ดังนั้น
166

มนุษยทุกคนควรช่วยกันลดโอกาสการเกิดน้ำเนาเสียที่สามารถทำไดดวยตนเองและแนะนำวิธีการตอ
บุคคลในครอบครัวใหปฏิบัติตามได
4.4.4 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรน้ำ
เมื่อน้ำมีความสำคัญและมีความจำเปนตอการดำรงชีวิตของมนุษย สัตวและพืช เราทุกคน
ควรช่วยกันอนุรักษน้ำไวใหอยูในสภาพดี ไมทำใหเกิดน้ำเนาเสียจากกิจกรรมหลากหลายที่ไดกลาวไว
ข้างตน แนวทางการอนุรักษทรัพยากรน้ำเหลานี้เปนเพียงข้อเสนอแนะ แตหากตองอาศัยความรวมมือ
จากทุกคนช่วยกันดูแลทรัพยากรน้ำดวยวิธีที่ตนเองสามารถทำได ซึ่งแนวทางการอนุรักษทรัพยากรน้ำ
มีดังนี้
1. มีกฎหมายควบคุมการทิ้งขยะลงสูแหลงน้ำ จากชุมชน จากโรงงานอุตสาหกรรม
2. รณรงค์ใหประชาชนรูจักการใช้น้ำอยางประหยัด วิธีการใช้น้ำในปริมาณที่เพียงพอตอ
กิจกรรม และใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุด
3. ปลูกพืชใช้น้ำนอยตอจากการทำนา
4. การกักเก็บน้ำฝนไวใช้
5. มีการบริหารจัดการน้ำในชุมชน
6. ประหยัดน้ำ เช่น รองน้ำใสแก้วเวลาแปรงฟน ทอน้ำและก๊อกน้ำควรตรวจเช็คไมมีรอยรั่ว
หรือชำรุด อาบน้ำโดยใช้ฝกบัว ซักผาปริมาณมากในแตละครั้ง ใช้โถสุขภัณฑที่ผลิตดวยเทคโนโลยี
ประหยัดน้ำ อางลางมือมีเซนเซอรจำกัดปริมาณน้ำไหล
7. ช่วยกันปลูกตนไม อนุรักษปาไม
กรณีศึกษา การปองกันน้ำทวมและการบริหารจัดการน้ำทวมของสาธารณรัฐสิงคโปร อธิบาย
ไวโดย อินทนิล (2555) เนื่องจากเหตุการณน้ำทวมครั้งใหญของประเทศไทยในป พ.ศ. 2554 ที่ระดับ
น้ ำ ท ว มสู ง ครอบคลุ ม แทบทุ ก จั ง หวั ด ของประเทศไทย โดยเฉพาะจั ง หวั ด ในภาคกลาง รวมถึ ง
กรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯนั้นเปนพื้นที่ที่เกิดน้ำทวมขังเปนประจำเมื่อถึงฤดูฝน มีการสรุปสาเหตุหลัก
ที่ทำใหเกิดน้ำทวมขังวา มาจากสภาพภูมิศาสตรที่เปนพื้นที่ราบลุม พื้นที่รองรับน้ำถูกถมเปนตึกอาคาร
สถานที่อยูอาศัยและที่ทำงาน ทำใหการระบายน้ำสูพื้นที่รองรับน้ำลดลง ซึ่งเหตุการณน้ำทวมไดสงผล
กระทบวงกวาง สรางความเสียหายตอชีวิต ทรัพยสินและวิถีชีวิตความเปนอยู รวมทั้งสงผลเสียหายตอ
เศรษฐกิจและรายไดในภาพรวมของประเทศ ที่สำคัญที่สุด ทุกครั้งที่เกิดน้ำทวม จะพบวามีขยะจำนวน
มากลอยและอุดตันปดกันทางไหลของน้ำ ซึ่งสงผลกระทบตอระบบนิเวศ เกิดน้ำเนาเสียที่มาจากการ
167

ทวมขัง เชื้อโรคสามารถเจริญเติบโตไดดีทำใหคุณภาพดานสุขอนามัยต่ำ ผูคนในพื้นที่นั้นเจ็บปวย


แตอยางไรตาม ภัยน้ำทวมเปนภัยธรรมชาติที่เราไมสามารถหลีกเลี่ยงได แตเราสามารถวางแผน
มีนโยบายรับมือกับเหตุการณดังกลาวไวลวงหนาได จะทำใหเกิดความรุนแรงนอยลง เช่นเดียวกับ
สาธารณรัฐสิงคโปรที่เคยประสบปญหาน้ำทวม และมีกลยุทธในการบริหารจัดการน้ำทวม เปน 2 สวน
ไดแก่ การบรรเทาปญหาน้ำทวม โดยการลดจำนวนพื้นที่น้ำทวมลง ปรับปรุงระบบเสนทางการระบาย
น้ำ ใหลงสูทะเล รวมทั้งแตงตั้งคณะกรรมการบรรเทาปญหาน้ำทวมเพื่อใหประสานงานกับทุกฝายได
สะดวกและรวดเร็วที่สุด อีกสวนคือการปองกันน้ำทวมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สาธารณรัฐสิงคโปร
ไดมอบหมายใหเปนหนาที่การวางแผนของกระทรวงสิ่งแวดลอมและทรัพยากรน้ำ เพื่อพิจารณาพื้นที่
ที่เกิดน้ำทวมเปนประจำ และดำเนินการแก้ไขปญหาก่อน ไดแก่ ยกถนนใหสูงขึ้น และหาพื้นที่ในการ
ระบายน้ำออกได การปรับปรุงระบบระยาบน้ำบนถนน รวมทั้งมีการทำความสะอาดระบบระบายน้ำ
บนถนน จะเห็นไดวา สาธารณรัฐสิงคโปรเปนประเทศที่มีกฎหมายเครงครัดเรื่องการทิ้งขยะ เพราะ
ขยะเปนตัวการในการเกิดปญหาน้ำทวมขัง หากทุกคนในประเทศไทยตระหนักถึงปญหาน้ำทวมที่เกิด
จากขยะอุดตันทางระบายน้ำ ช่วยกันรณรงค์ลดปริมาณขยะ ทิ้งขยะใหเปนที่เปนทาง จะช่วยบรรเทา
น้ำทวมขังในฤดูฝนได

4.5 ทรัพยากรดิน
ประเทศไทยเปนประเทศที่ดินอุดมสมบูรณ อุดมไปดวยแรธาตุสารอาหารที่เหมาะแก่การ
เจริญเติบโตของพืชหลากหลายชนิด ดินจึงมีความสำคัญตอประชากรในประเทศไทย โดยเฉพาะ
เกษตรกรที่ตองทำการเพาะปลูกพืชทั้งไวรับประทานเองและค้าขาย ประเทศไทยเปนประเทศที่
สงออกสินค้าผลผลิตทางการเกษตรเปนจำนวนมาก นับไดวาอาชีพนี้สรางรายไดเข้าประเทศ และ
สนับสนุนดานเศรษฐกิจของประเทศอีกดวย ดินที่เหมาะตอการปลูกพืชมีองค์ประกอบ (ภาพที่ 4.5)
มีขั้นตอนกระบวนการเกิดดิน เริ่มตั้งแตหินและแรเกิดการผุพังสลายตัวไปตามกาลเวลาและปจจัยจาก
สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เกิดเปนวัตถุตนกำเนิดดิน เกิดกระบวนการการทำงานของสิ่งมีชีวิตใน
ดินและเกิดอินทรียวัตถุ สรางดิน (ภาพที่ 4.6) ซึ่งตองใช้เวลาพอสมควร ดังนั้นดินที่เหมาะสมตอการ
เจริญเติบโตของพืช มีสวนประกอบดังนี้คือ อินทรียวัตถุ 5% อนินทรียวัตถุ (แรธาตุ) 45% น้ำในดิน
25% อากาศในดิน 25% และสิ่งมีชีวิตและจุลินทรียกระจายอยูในดิน ดินแตละพื้นที่ในประเทศไทยมี
168

คุณสมบัติและเนื้อดินที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับ วัตถุตนกำเนิดดิน สภาพภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิตและชนิด


ของจุลินทรียในดิน สภาพภูมิประเทศ และระยะเวลาในการเกิดดิน

ภาพที่ 4.5 องค์ประกอบของดินที่เหมาะแก่การปลูกพืช


ดัดแปลงจาก: กรมพัฒนาที่ดิน (2560)

ภาพที่ 4.6 ขั้นตอนกระบวนการเกิดดิน


ดัดแปลงจาก: http://www.eledu.ssru.ac.th/kornkamol/pluginfile.php
/208/mod_resource/content/3/chapter%201.pdf

4.5.1 การจัดจำแนกเนื้อดิน
ข้อมูลเกี่ยวกับดิน อยูภายใตการดูแลของกรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานนี้มีหนาที่สำรวจดิน
รวบรวมลักษณะของดิน ทำแผนที่และชนิดของดินแตละพื้นที่ รวมทั้งวินิจฉัยคุณภาพของดิน เพื่องาน
ดานการเกษตรและวิศวกรรม นอกจากดินจะใช้ในการปลูกพืชแลว ดินยังมีประโยชนตอมนุษยในงาน
ดานวิศวกรรมดวย อาทิเช่น การสรางที่อยูอาศัยบนดิน ใช้เปนวัสดุก่อสราง การถมที่ทำถนน การขุด
บอ สรางพื้นที่อางเก็บน้ำ การสรางโรงงานอุตสาหกรรมบนพื้นที่ดิน เปนตน ดินจึงตองไดรับการ
169

ประเมินความเปนไปไดในการนำมาใช้ในการเพาะปลูกและงานดานวิศกรรรม เพื่อรักษาใหดินอยูใน
สภาพที่ดีไมพังทลายหรือสูญเสียคุณสมบัติที่ดีไป ซึ่งการจัดจำแนกเนื้อดิน นักวิทยาศาสตรจะพิจารณา
จากแผนภูมิภาพเปอรเซ็นตของ ดินเหนียว ดินรวน ดินทราย เปนหลัก ตัวอยางเช่น ดินในพื้นที่ไหน
มีดินทรายแปง 40% ดินเหนียว 30% และดินทราย 30% เปน clay loam เรียกวา ดินรวนเหนียว
หากผูสนใจตองการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับดิน สามารถเข้าไปดูไดที่เว็บไซด https://www.ldd.go.th/
thaisoils_museum/INDEX.HTM จัดทำโดยสำนักสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน
4.5.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพของดิน
จากการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและธาตุที่อยูในดิน รวมกับการทำงานของสิ่งมีชีวิตและ
จุ ล ิ น ทรี ย  ใ นดิ น ซึ ่ ง มี ผ ลทำให เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงชนิ ด ของพื ช ที ่ ส ามารถเจริ ญ เติ บ โตไปด ว ย
การเปลี่ยนแปลงสภาพของดิน มีอยู 2 แบบ คือ
1. การเปลี่ยนแปลงขั้นตน เปนการเปลี่ยนแปลงสภาพของดินในพื้นที่ที่มีดินแตไมมีสิ่งมีชีวิต
ใดอาศัยอยู เช่น การเกิดภูเขาไฟระเบิด ทำใหมีหินละลายและแรธาตุอื่น ปกคลุมรวมกันทับถมกันอยู
แลวใช้ระยะเวลาเปลี่ยนสภาพเปนดินที่มีพืชเจริญเติบโตได พืชที่สามารถขึ้นได เปนพืชพวกหญา และ
มีสัตวเข้ามาอยู แลวค่อย ๆ เกิดพัฒนาการมีตนไมชนิดอื่นขึ้น จากการปลิวมาตามลม จากการติดตัว
สัตวมา จากแมลงและสัตวที่มีปกบิน จนกลายสภาพเปนปา เปนสาเหตุใหสภาพของดินเปลี่ยนแปลง
ไป
2. การเปลี่ยนแปลงขั้นที่ 2 เปนการเปลี่ยนแปลงสภาพของดินในขั้นตนถูกทำลายไปดวยภัย
ธรรมชาติ และกิจกรรมการทำเกษตรกรรม และกิจกรรมอื่นที่มนุษยสรางขึ้น เช่น ภัยธรรมชาติจากไฟ
ไหมปา อุทกภัย พายุพัด การนำพื้นที่ดินมาใช้เพื่อการเกษตรกรรม ปลูกพืช และเลี้ยงสัตว จนทำให
พืชและสัตวในพื้นที่นั้นไมมีที่อยูอาศัย พืชเดิมถูกทำลาย และอาจเกิดพืชชนิ ดใหมขึ้นมาแทน
สัตวบางชนิดสูญพันธุ โอกาสที่จะเกิดขึ้นมาใหมถือวายาก
4.5.3 ประโยชนของทรัพยากรดิน
ดินมีประโยชนมากมาย ตั้งแตใช้ในการทำการเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว ใช้เปนที่ยึดเกาะของ
บานอาคารและที่อยูอาศัย เปนแหลงของตนน้ำและปาไม เปนแหลงกำเนิดปจจัย 4 คือ ปาไม พันธุพืช
นานาชนิด ประเทศใดมีพื้นที่ดินอุดมสมบูรณ สงผลใหประชากรในประเทศนั้นอยูดีกินดี เกิดความ
เจริญและความมั่นคงของชุมชน สังคม และประเทศชาติ เปนปจจัยเกื้อหนุนทรัพยากรอื่น ทั้งในแง่
ปริมาณและคุณภาพใหเพียงพอตอความตองการของผูบริโภค เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ควรไดรับการ
170

สนับสนุนเงินงบประมาณในการศึกษาวิจัย ลักษณะ การใช้ประโยชนที่คุ้มค่า และวิธีการอนุรักษที่


ถูกตอง
4.5.4 ปญหาทรัพยากรดิน
ปจจุบันเมื่อประชากรเพิ่มขึ้น ความตองการในการใช้ที่ดินมีเพิ่มขึ้นตามไปดวย ประชากรมี
ความเข้าใจไมถองแทในการนำดินมาใช้ใหถูกวิธี จึงทำใหดินเสื่อมโทรม ซึ่งปญหาที่เกิดขึ้นกับดิน
ไดแก่
1. เกษตรกรปลูกพืชเชิงอุตสาหกรรมและพืชเดี่ยวเพิ่มมากขึ้น แรธาตุในดินถูกใช้ไปกับพืช
ชนิดเดียวทำให ธาตุอาหารพืชในดินบางชนิดลดลงมาก ไมเพียงพอตอการปลูกพืชชนิดเดิมในรอบ
ถัดไป จึงทำใหเกษตรกรนำปุยสูตรเคมีมาใช้ในการปลูกพืชเชิงอุตสาหกรรม รวมทั้งใช้สารเคมีกำจัด
ศัตรูพืช และยาฆ่าหญา ซึ่งสารเคมีเหลานี้ตกค้างอยูในดิน ทำใหดินเสื่อมคุณภาพอยางมาก และสะสม
ในพืช ก่อใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค
2. ดินเปรี้ยว ดินเค็ม หรือดินเปนพิษจากขยะมูลฝอย ดินขาดอินทรียวัตถุ
3. ดินพังทลาย เกิดการชะลางหนาดิน สาเหตุจากการตัดไมทำลายปา ทำใหตนไมที่จะช่วย
ดูดยึดหนาดินไวลดลง
4. ดินทรุดตัวพังทลายจากการขุดเจาะน้ำบาดาล หรือการทำนาเกลือ
5. การสรางโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ดินสำหรับทำการเกษตร
4.5.5 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรดิน
ในหลวงรัชกาลที่ 9 ไดทรงพระราชดำริโครงการมากมายเพื่อเปนตนแบบในการอนุรักษ
ทรัพยากรดิน เช่น โครงการหญาแฝก ที่ช่วยยึดดินใหเกาะกันไมพังทลายหรือถูกชะลางหนาดินออกไป
ไดง่ายจากการเกิดฝนตก โครงการแกลงดิน เปนโครงการที่แก้ปญหาดินเสียดินเปรี้ยว ฟนฟูพื้นที่ที่ดิน
ไมสามารถปลูกพืชใดได พลิกฟนใหมีคุณภาพดีเหมาะแก่การปลูกพืชไดอีกครั้ง ดวยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร คือ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดิน ที่มีกำมะถันสูง จึงแกลงดินดวยการเปดน้ำ
ทวมขังช่วงระยะเวลาหนึ่ง และปลอยน้ำออกใหแหงช่วงระยะเวลาหนึ่ง ทำสลับกันไปมา จากนั้นใช้ปูน
ขาวปรับคุณสมบัติทางเคมีของดิน เนื่องจากปูนขาวมีคุณสมบัติเปนดาง ถือวาเปนนวัตกรรม เนื่องจาก
ไมเคยมีใครคิดวิธีแก้ไขปญหาดินเปรี้ยวดวยวิธีการแบบนี้มาก่อน ยังมีแนวทางในการอนุรักษดินอีก
มากมาย ไดแก่
171

1. รณรงค์ใหความรูแก่ประชาชนในประเทศเกี่ยวกับการนำดินมาใช้เพื่อประโยชนดาน
ตาง ๆ รวมทั้งวิธีการอนุรักษทรัพยากรดิน
2. ภาครัฐควรใหการสนับสนุนงบประมาณในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับดิน สิ่งแวดลอม และ
ผลกระทบครบทุกดาน
3. มีกฎหมายคุ้มครองการใช้พื้นที่ดินใหถูกตอง รวมทั้งตองมีหนวยงานรับผิดชอบการดูแล
การใช้ ด ิ น เพื ่ อ อำนวยความสะดวก ควรมี ผ ู  เ ชี ่ ย วชาญประเมิ น การนำดิ น ไปใช้ ใ นงานด า น
ตาง ๆ ก่อนดำเนินการ
4. ปลูกฝงเยาวชนใหเห็นคุณค่าของดิน ใหข้อมูลเกี่ยวกับโครงการพระราชดำริของในหลวง
รัชกาลที่ 9 และช่วยกันปลูกตนไมเพื่อรักษาดินใหคงสภาพเดิม
ตัวอยางการอนุรักษทรัพยากรดิน ใหเหมาะกับการเพาะปลูกในระยะยาว เปนรูปแบบในการ
ทำเกษตรยั่งยืน อธิบายไวโดย พิชญและดาวจรัส (2561) พิชญ และ อุทาน (2562) และ พิชญ และ
คณะ (2564) ได ทำงานวิ จ ั ย เชิ ง พื ้ น ที ่ ก ารปลู ก มั น เทศ (ภาพที ่ 4.7) อำเภอบางประหั น จั ง หวั ด
พระนครศรีอยุธยา การลงพื้นที่พูดคุยกับเกษตรกรปลูกมันเทศ ทำใหทราบวา เกษตรกรมีการใช้
ปุ  ยเคมี สารฆ่ า แมลงและสารฆ่ า วั ชพื ช เมื ่ อทำการเก็ บตั วอย า งดิ นไปวิ เ คราะห คุ ณภาพ พบว า
คุ ณลั กษณะดิ นทางกายภาพอยู ใ นระดั บต่ ำ ธาตุ อาหารในดิ น เช่ น ไนโตรเจน ฟอสฟอรั ส และ
โพแทสเซียมมีปริมาณต่ำมากเมื่อเทียบกับดินปลูกพืช จึงไดทำการทดลองโดยการปรับสภาพดินดวย
การใช้ปุยมูลไสเดือนดินที่ไดจากเศษวัสดุเหลือทิ้งในแปลงปลูกมันเทศ เทียบกับการปลูกแบบเดิมตาม
วิธีของเกษตรกรที่เคยทำมา จากนั้นนำดินทั้ง 2 พื้นที่ไปตรวจสอบคุณสมบัติของดินปลูกพืช พบวา
ดินแปลงปลูกมันเทศที่ใช้ปุยมูลไสเดือนดินมีคุณภาพดีเทียบเทากับดินปลูกพืช ในขณะที่ดินแปลงปลูก
มันเทศที่ใช้ปุยเคมีมีคุณภาพต่ำ รวมทั้งผลผลิตของมันเทศที่ไดจะมีน้ำหนักเฉลี่ยมากกวา ดินแปลง
ปลูกมันเทศที่ใช้ปุยเคมี อีกดวย จะเห็นไดวา การใช้ปุยมูลไสเดือนดิน ซึ่งเปนปุยอินทรียช่วยปรับปรุง
คุณภาพดินใหดีขึ้น เมื่อดินดีผลผลิตพืชดี รวมทั้งลดความเสี่ยงของการรับสารเคมีเข้าทางระบบ
ทางเดินหายใจของเกษตรกร สงผลตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นดวย
172

ภาพที่ 4.7 พื้นที่ปลูกมันเทศ อำเภอบางประหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4.6 ทรัพยากรปาไม
การเจริญเติบโตของตนไมตั้งแต เมล็ดงอกตองการน้ำและออกซิเจนจากอากาศ เมื่อแตกใบ
ออนตองการแสงแดด เจริญเติบโตเปนตนไมใหญตองการน้ำ ออกซิเจนจากอากาศ และแสงแดด เพื่อ
ช่วยในการสังเคราะหดวยแสง สะสมสารอาหารเพื่อการเจริญเติบโตที่สมบูรณและแข็งแรง ตานทาน
ตอโรคพืชและแมลงศัตรูพืชได เมื่อตนไมแตละชนิดเจริญเติบโตอยูในพื้นที่เดียวกันเปนบริเวณกวาง
ทำใหเกิดชุมชนตนไมจึงเรียกวา ปา โดยปาแตละพื้นที่จะเรียกตามชนิดพันธุไมหลักที่ขึ้นจำนวนมากใน
บริ เ วณนั ้ น ระดั บ ความสู ง ของพื ้ น ที ่ น ั ้ น ห า งจากระดั บ น้ ำ ทะเลและปริ ม าณน้ ำ ฝน ป า ไม เ ป น
ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เปนแหลงวัตถุดิบในการสรางปจจัย 4 ตนไมเปนลำดับแรกของหวงโซ่
อาหารและสายใยอาหาร เนื่องจากเปนผูผลิต หากปาไมถูกทำลายจะสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอื่น
เช่น สัตวปาไมมีที่อยูอาศัย ที่หลบภัย และอาจสูญพันธุไปในที่สุด ดินจะขาดตนไมช่วยยึดหนาดินไว
และเมื่อฝนตกลงมาปริมาณมาก น้ำฝนจะชะลางความอุดมสมบูรณบริเวณหนาดินไป ทำใหดินเสื่อม
คุณภาพ รวมทั้งขาดตนไมช่วยดูดซับน้ำไวเกิดน้ำปาไหลทวมพื้นที่บานเรือนเสียหาย พอฤดูแลงไมมี
น้ำซึมใตดินไวหลอเลี้ยงตนน้ำลำธาร ทำใหแมน้ำมีปริมาณน้ำนอย สงผลกระทบทางลบตอเศรษฐกิจ
และสังคม เช่น ขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตร ปศุสัตว โรงงานอุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟฟา
เปนตน อากาศเกิดมลพิษ เพราะตนไมเปนตัวช่วยดูดก๊าซคารบอนไดออกไซดและปลอยก๊าซออกซิเจน
ออกมา หากไมมีตนไม ในอากาศจะมีก๊าซคารบอนไดออกไซดในปริมาณมาก ลอยขึ้นสูชั้นบรรยากาศ
สงผลใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
173

หนวยงานที่รับผิดชอบดูแลปาไมของประเทศไทย คือ กรมปาไม เปนหนวยงานที่มุงมั่นรักษา


ผืนปา สงเสริมไมมีค่า ปาชุมชน คนอยูกับปา เพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยสรางกิจกรรมโครงการปลูกปารักษ
โลก เพื่อความเปนอยูที่เปนสุขของคนไทย นอกจากจะรับผิดชอบดานการรักษาปาแลวยังตองควบคุม
สาเหตุแหงการเกิดไฟปาและการบริหารจัดการไฟปาดวย มีสำนักวิจัยและพัฒนาการปาไม สนับสนุน
การวิจัยและพัฒนาการปาไมเพื่อการใช้ประโยชน ความหลากหลายทางชีวภาพดานปาไม ถายทอด
องค์ความรูและเทคโนโลยีดานปาไมใหกับประชาชนในประเทศ อุตสาหกรรมปาไม การปลูกปา
เศรษฐกิจ การคุ้มครองจริยธรรม ปาสงวนแหงชาติ ปานันทนาการ สำหรับสวนภูมิภาค จะมีสำนัก
จัดการทรัพยากรปาไมของแตละจังหวัดดูแล
เหตุการณสำคัญเกี่ยวกับทรัพยากรปาไม ไดแก่ เหตุการณ คุณสืบ นาคะเสถียร อดีตหัวหนา
เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี นักอนุรักษสิ่งแวดลอมไทย ข้าราชการผูเสียสละ
ชีวิตตนเองเพื่อปกปองผืนปาของประเทศไทย และที่อยูอาศัยของสัตวปา เขาไดตอตานการสรางเขื่อน
น้ำโจน เปนโครงการของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งอยูในพื้นที่เขตอนุรักษพันธุ
สัตวปาทุงใหญนเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี หากเกิดการสรางเขื่อน จะทำใหผืนปาแหงนี้ตองจมน้ำไป
ประมาณ 140,000 ไร และสัตวปาตองอพยพยายที่อยูอาศัยเปนจำนวนมาก การคัดค้านไมเปนผล
เขื่อนยังคงถูกสรางขึ้นเพื่อผลิตกระแสไฟฟา ดวยเหตุการณนี้ จึงเกิดมูลนิธิสืบนาคะเสถียรขึ้น เพื่อดูแล
ติดตามสถานการณปาไมของไทย และพิทักษปา
จากบทความ ความสำคัญของปาทุงใหญนเรศวรกับการก่อสรางเขื่อนน้ำโจน ที่เขียนบรรยาย
ไวโดย มูลนิธิสืบนาคะเสถียร (2560) ซึ่ง คุณสืบ นาคะเสถียร ไดกลาววา ถาไมมีปา ไมมีน้ำ ถาไมมีน้ำ
ไมมีอาหาร เพราะปาเปนจุดเริ่มตนของตนน้ำลำธาร และความอุดมสมบูรณของแหลงอาหารและ
ทรัพยากรธรรมชาติอื่น
4.6.1 การจัดจำแนกประเภทของปาไม
สำหรับประเทศไทยเราจัดจำแนกประเภทของปาออกเปน 2 ประเภท คือ ปาไมไมผลัดใบ
และ ปาไมผลัดใบ ซึ่งปาไมแตละประเภทจะมีลักษณะของปาไมในบริเวณนั้นที่แตกตางกัน โดยใช้
เกณฑวัดเทียบความสูงจากระดับน้ำทะเล (ภาพที่ 4.8)
1. ปาไมไมผลัดใบ คือ ปาที่มีตนไมใบเขียวตลอดป มองดูเขียวชอุม เพราะตนไมที่ขึ้นแทบ
ทัง้ หมดไมมีการผลัดใบทิ้งเพื่อใช้เวลาแตกใบใหม ชนิดของปาในปาไมไมผลัดใบ ไดแก่
174

1.1 ปาดิบเขา เปนปาที่เกิดขึ้นในพื้นที่สูงหรือบนภูเขา พบตั้งแตความสูง 1,000 - 1,200


เมตรขึ้นไปจากระดับน้ำทะเล เปนบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนระหวาง 1,000 - 2,000 มิลลิเมตร/ป สวน
ใหญอยูบนเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ และบางแหงในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พืชที่
สำคัญไดแก่ไมวงศก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูนอย อบเชย พวกไมขุนและสนสามพันป สวนไมชั้น
รอง ไดแก่ เปง สะเดาช้าง และขมิ้นตน และไมพื้นลางเปนพวกเฟรน กลวยไมดิน และมอส

ภาพที่ 4.8 ลักษณะปาไมในพื้นที่แตละบริเวณขึ้นอยูกับความสูงของระดับน้ำทะเล


มาจาก: https://www4.fisheries.go.th/dof/news_local/16/79956#img-link

1.2 ป า สนเขา เป น ป า ที ่ ข ึ ้ น ตามภู เ ขาสู ง ส ว นใหญ เ ป น พื ้ น ที ่ ท ี ่ ม ี ค วามสู ง ประมาณ


200-1800 เมตรขึ้นไป จากระดับน้ำทะเล พบมากในภาคเหนือ บางครั้งอาจปรากฏในพื้นที่สูง
200 - 300 เมตรจากระดับน้ำทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต บางครั้งพบขึ้นปนอยูกับปาแดงและ
ปาดิบเขา ปาสนเขามีลักษณะเปนปาโปรง ชนิดพันธุไมที่สำคัญของปาชนิดนี้คือ สนสองใบ และ
สนสามใบ เต็งรังบางชนิด
1.3 ปาดิบแลง เปนปาที่อยูในพื้นที่ค่อนข้างราบหรือตามหุบเขา มีความชุ่มชื้นนอย เช่น
ในแถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักอยูสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 600 - 800
เมตร และมี ป ริ ม าณน้ ำ ฝนระหว า ง 1,000 - 1,500 มิ ล ลิ เ มตร/ป ไม ท ี ่ ส ำคั ญ ได แ ก่ มะค่ า โมง
175

ยางนา ยางแดง พะยอม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสือ สวนพื้นที่ปาชั้นลางจะไมหนาแนน


และค่อนข้างโลงเตียน
1.4 ปาดิบชื้น เปนปารกทึบเขียวชอุมตลอดป มีพันธุไมนานาพรรณขึ้นเบียดกัน มักจะพบ
ตั้งแตความสูง 600 เมตรจากระดับน้ำทะเล อยูทั่วไปในทุกภาคของประเทศ เปนบริเวณที่มีปริมาณ
น้ำฝนไมนอยกวา 2,000 มิลลิเมตร/ป มักจะเรียกกันวาปาดงดิบ และพบปาชนิดนี้เยอะที่สุดบริเวณ
ชายฝงภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี และภาคใต ชนิดของพันธุไมสวนใหญเปนวงศยาง
เช่น ยางนา เปนตน พันธุไมอื่น เช่น ไมตะเคียน กะบาก อบเชย จำปาปา สวนไมชั้นรอง คือ
พวกไมกอ เช่น กอน้ำ กอเดือย และไมชั้นลางจะเปนพวกปาลม ไผ ระกำ หวาย บุกขอน เฟรน มอส
กลวยไมปาและ เถาวัลย
1.5 ปาพรุ ปาชนิดนี้ปรากฎในบริเวณที่มีน้ำจืด ดินระบายน้ำไมดี ปาพรุในภาคกลาง มี
ลักษณะโปรงและมีตนไมขึ้นหางกัน เช่น ครอเทียน สนุน จิก โมกบาน หวายน้ำ หวายโปรง ระกำ ออ
และแขม ในภาคใต ปาพรุขึ้นอยูตามบริเวณที่มีน้ำขังตลอดป ดินปาพรุมีเนื้อที่มากที่สุดอยูในบริเวณ
จั ง หวั ด นราธิ ว าส ดิ น เป น พี ท ซึ ่ ง เป น ซากพื ช ผุ ส ลายทั บ ถมกั น เป น เวลานาน ป า พรุ แ บ ง ออก
ได 2 ลักษณะ คือ ตามบริเวณที่เปนพรุน้ำกรอยใกลชายทะเล ตนเสม็ดจะขึ้นอยูหนาแนน พื้นที่มีตน
กก เรียก ปาพรุเสม็ด หรือ ปาเสม็ด อีกลักษณะเปนปาที่มีพันธุไมหลากหลายขึ้นปะปนกันชนิดพันธุไม
ที่สำคัญของปาพรุ ไดแก่ อินทนิล น้ำหวา จิก โสกน้ำ กระทุมน้ำ ไมพื้นลางประกอบดวย หวาย
ตะค้าทอง หมากแดง และหมาก
1.6 ปาชายหาด เปนปาโปรงขึ้นอยูตามบริเวณชายทะเล น้ำไมทวมตามฝงดินและชายเขา
ริมทะเล ตนไมสำคัญที่ขึ้นอยูตามชายทะเล ตองเปนพืชทนเค็ม และมักมีลักษณะไมเปนพุมลักษณะ
ตนคดงอ ใบหนาแข็ง ไดแก่ สนทะเล หูกวาง โพธิ์ทะเล กระทิง ตีนเปดทะเล หยีน้ำ มักมีตนเตยและ
หญา ขึ้นอยูเปนไมพื้นลาง ตามฝงดินและชายเขา มักพบไมเกตลำบิด มะคาแต กระบองเพชร เสมา
และไมหนาม เช่น ซิงซี่ หนามหัน กำจาย มะดันขอ เปนตน
1.7 ปาชายเลน หรือ ปาโกงกาง เปนปาที่มีตนไมขึ้นหนาแนน พันธุไมแตละชนิดมีราก
ค้ำจุนและรากหายใจ (ภาพที่ 4.9) ปาชนิดนี้ขึ้นตามที่ดินเลนริมทะเลหรือบริเวณปากแมน้ำ มีน้ำเค็ม
ทวมถึง มักพบที่ภาคใตฝงอาวไทยและอันดามันชายฝงทะเลทั้งสองดาน พื้นที่ที่มีปาชายเลนมากที่สุด
คือ จังหวัดพังงา และตามชายทะเลภาคตะวันออกมีอยูทุกจังหวัด พื้นที่ที่มีปาชายเลนมากที่สุดคือ
บริเวณปากน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี พันธุไมที่ขึ้นอยูตามปาชายเลน สวนมากเปนพันธุไมขนาดเล็กใช้
176

ประโยชนสำหรับการเผาถานและทำฟนไมชนิดที่สำคัญ คือ โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ ประสัก


ตะบูน แสมทะเล โพทะเล ลำพูนและลำแพน เปนตน สวนไมพื้นลางมักเปนพวก ปรงทะเล เหงือก
ปลายหมอ ปอทะเล และเปง เปนตน ปาชายเลน เปนระบบนิเวศที่มีความเฉพาะตัวและมีความ
หลากหลายทางชีวภาพสูง เปนทรัพยากรที่มีคุณค่ามหาศาลทั้งทางดานเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมของ
ประเทศ ปาชายเลนเปนแหลงพลังงานและแหลงวัตถุดิบ ก่อสรางในครัวเรือน แหลงพืชผัก พืช
สมุนไพร แหลงอนุบาลสัตวน้ำ แหลงอาหาร ที่อยูอาศัย หลบภัย สืบพันธุ และเจริญเติบโตของสัตวน้ำ
นานาชนิด ปาชายเลนช่วยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศชายฝงและพื้นที่ใกลเคียง โดยเฉพาะหญา
ทะเลและปะการัง ปองกันดินชายฝงพังทลาย

ภาพที่ 4.9 ปาชายเลน หรือปาโกงกาง


มาจาก: https://greennews.agency/?p=17714

2. ปาไมผลัดใบ คือ ปาที่มีตนไมที่สามารถทิ้งใบในช่วงหนาหนาว ทำใหปาโปรงขึ้น และ


สามารถแตกใบใหมไดในช่วงฤดูฝน ปาไมจะเขียวชอุมเหมือนเดิม เนื่องจากช่วงฤดูหนาวหรือหนาแลง
มักจะเกิดไฟไหมปา จะไหมแตใบไมและตนไมขนาดเล็ก ไมขยายวงกวาง
2.1 ปาเต็งรัง หรือเรียกวาปาแดง ปาแพะ ปาโคก ลักษณะทั่วไปเปนปาโปรง สภาพพื้นที่
แหงแลงดินเปนดินรวนปนทราย หรือกรวด พบอยูทั่วไปในที่ราบและที่ภูเขาในภาคเหนือ สวนมาก
ขึ้นอยูบนเขาที่มีดินตื้นและแหงแลงมาก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปาแดงหรือปาเต็งรังนี้มากที่สุด
177

ชนิดพันธุไมที่ สำคัญ ไดแก่ เต็ง รัง เหียงพลวง กราด พะยอม ติ้ว แตว มะค่า ประดูแดง มะขามปอม
มะกอก ผักหวาน สมอไทย ตะแบก เลือดแสลงใจ เปนตน สวนไมพื้นลางเปนหญา หญาเพ็ก ปรง
กระเจียวเปราะ มะพราวเตา ปุมแปง และหญาชนิดอื่น
2.2 ปาเบญจพรรณ มีลักษณะเปนปาโปรงและยังมีไมไผ ขึ้นอยูกระจัดกระจายทั่วไปพื้น
ที่ดินมักเปนดินรวนปนทราย ปาเบญจพรรณ ในภาคเหนือมักจะมีไมสักขึ้นปะปนอยูทั่วไปครอบคลุม
ลงมาถึ ง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ในภาคกลางในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคตะวั น ออก
มีปาเบญจพรรณนอยมากและกระจัดกระจาย พันธุไมชนิดสำคัญไดแก่ สัก ประดูแดง มะค่าโมง พยุง
ชิงชัน พี้ จั่นตะแบก เสลา ออยช้าง หอม มะเกลือ สมพง เดดำ เดแดง นอกจากนี้มีไมไผที่สำคัญ เช่น
ไผปา ไผบง ไผซาง ไผรวก ไผไร เปนตน
2.3 ปาทุงหญา เปนปาที่เกิดขึ้นในทุกพื้นที่ทั่วทุกภาค เปนบริเวณปาที่ถูกทำลายดินขาด
ความสมบูรณและถูกปลอยทิ้งไมไดรับการดูแลฟนฟู หญา จึงเกิดขึ้นทดแทนและพอถึงหนาแลงเกิดไฟ
ไหมทำใหตนไมบริเวณข้างเคียงไดรับผลกระทบจากไฟไหมปา ตายหมด พื้นที่ปาหญาจึงขยายมากขึ้น
ทุกป พืชที่มักพบมากที่สุดในปาหญาคือ หญาคา หญาขน แฝก ออ แขม ตาช้าง หญาโขมง หญาเพ็ก
และปุมแปง บริเวณที่พอจะมีความชื้นอยูบาง อาจจะพบไมพงและแขมขึ้นได
4.6.2 ประโยชนของทรัพยากรปาไม
ตนไมเปนตัวกลางของการสรางสมดุลในวัฏจักรของสาร ไดแก่ วัฏจักรของน้ำ ออกซิเจน
คารบอน และไนโตรเจนในระบบนิเวศ ทำใหเกิดความสมดุลในระบบการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
ตนไมเปนตัวช่วยในการอนุรักษดินและน้ำ เมื่อฝนตก ตนไมจะช่วยดูดซับน้ำไว น้ำจึงไมไหลเชี่ยวแรง
ค่อย ๆ ไหลลงสูผิวดิน อีกสวนหนึ่งจะซึมลงสูดินชั้นลาง ช่วยลดการพังทลายของดินไดเปนอยางดี
ลดการกัดเซาะหนาดินที่อุดมสมบูรณไปตามการไหลของน้ำ ปองกันการเกิดน้ำทวมฉับพลันและ
ลดความรุนแรง อีกทั้งยังช่วยปรับสภาพบรรยากาศ ปามีตนไมไวเก็บรักษาความชุ่มชื้น ตนไมช่วยให
รมเงา ปองกันแสงแดดจากดวงอาทิตยที่สองลงมายังพื้นโลก ตนไมมีกระบวนการคายน้ำออกสู
บรรยากาศ กลายเปนไอน้ำทำใหมีความชื้นปริมาณมาก เมื่ออุณหภูมิอากาศลดลง ไอน้ำจะกลั่นตัว
กลายเปนหยดน้ำเกิดเมฆจำนวนมาก ก่อตัวเปนหยดน้ำฝนตกกลับลงมาสูผืนปา สรางการเจริญเติบโต
ของตนไมนานาพรรณ ใหผืนปาอุดมสมบูรณ พื้นที่ใดมีปาไมเยอะ แมจะถึงฤดูรอน จะไมรอนระอุจน
ทนไมได เช่น เขาใหญ ดอยอินทนนท ภูกระดึง เปนตน ตนไมเปนแหลงปจจัย 4 ปามีตนไมเปนแหลง
ผลิตอาหาร เปนผูผลิต เปนจุดเริ่มตนของหวงโซ่อาหารและสายใยอาหาร ปาไมมีความผูกพันตอ
178

ความเป น อยู  ข องมนุ ษ ย ม าอย า งยาวนาน ไม ว  า จะนำไม ม าใช้ ใ นการก่ อ สร า งบ า นเรื อ น
เปนเครื่องตกแตงบาน เปนแหลงวัตถุดิบผลิตเชื้อเพลิงในการหุงตมอาหาร พืชเปนวัตถุดิบหลักใน
การผลิ ต อาหาร ส ว นประกอบของต น ไม ตั ้ ง แต เมล็ ด ลำต น ใบ ดอก ผล ถู ก ใช้ เ ป น อาหาร
ยารักษาโรค เรียกวาพืชสมุนไพร การนำพืชเสนใย มาผลิตเปนเครื่องนุงหม เอาไวปองกันรางกายจาก
สภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมที่เปนอันตราย จากสัตวและแมลงมีพิษ อันตรายจาก
สารเคมี และยังดูสุภาพ ปลอดภัยจากภัยอาชญากรรม เปนเชื้อเพลิงในการหุงตมทำอาหาร เรียกวา
ถาน เปนแหลงตนน้ำลำธารและที่อยูอาศัยของสัตวปา พื้นที่ที่มีปาไมอุดมสมบูรณ มีตนไมใหญมีราก
หยั่งลึกและชอนไชอยูในดิน อินทรียวัตถุที่อยูในดินจะช่วยปรับโครงสรางของดินใหมีรูพรุนสามารถ
เก็บกักน้ำไดดี เมื่อฝนตกเกิดการสะสมน้ำลงในดินและแผกระจายออกไปตามเสนทางรากที่แตกแขนง
ออกไป น้ำจึงถูกกักเก็บไวในทั่วทุกบริเวณค่อย ๆ ปลดปลอยสูชั้นใตดินเพื่อลงสูแหลงน้ำลำธาร
มีแหลงตาน้ำ เกิดน้ำตก ปาไมยังเปนที่อยูอาศัยและหลบภัยของสัตวปาอีกดวย ดังนั้นหากพื้นที่ปาไม
ถูกทำลาย แหลงตนน้ำและสัตวปาเหมือนถูกทำลายไปดวย ที่สำคัญเปนแนวปองกันลมพายุ ในขณะที่
ฝนตกมีลมพายุรุนแรง หากมีตนไมใหญเปนแนวกันปะทะความแรงของลมพายุ จะช่วยลดความ
เสียหายที่เกิดขึ้นได ปาไมนับวาเปนกำแพงธรรมชาติที่ช่วยปองกันความรุนแรงของลมพายุ ประโยชน
ทางออมของตนไมยังเปนที่พักผอนหยอนใจ เปนปอดของโลก ลดมลพิษทางอากาศ ตนไมเปน
สิ่งมีชีวิตที่สรางสีสันใหกับชีวิตมนุษย การพักสายตาจากความเหนื่อยลาจากการทำงาน ใหมองไปที่
ตนไมที่มีสีเขียว จะช่วยฟนฟูสภาพการมองเห็นของเราไดดีขึ้น ความเขียวชอุมรมเย็นจากเงาไม
ความสดใสของสีสันดอกไม ความชุ่มชื้นและแหลงตนน้ำลำธารใสสะอาด ความเงียบสงบที่ไดยินแต
เสียงธรรมชาติ ทำใหปาไมเปนที่พักผอนหยอนใจไดเปนอยางดี แตอยางไรตามมนุษยตองคำนึงถึง
ความปลอดภัยในการเข้าไปชมความงามของธรรมชาติปาไม และสัตวปา ตามอุทยานแหงชาติ ควรไป
ตามเสนทางที่เจ้าหนาที่แนะนำ และตองปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางเครงครัด ไมชะลาใจออกนอก
เสนทาง พื้นที่ปาไมจึงเปนแหลงทองเที่ยวที่สำคัญอีกที่หนึ่งและสรางรายไดจากการทองเที่ยวของ
ประเทศไทย รวมทั้งตนไมจะช่วยดูดซับก๊าซคารบอนไดออกไซดไว และปลอยก๊าซออกซิเจนออกมาให
สิ่งมีชีวิตไดใช้ในการดำรงชีวิต ดังนั้นหากตองการลดมลพิษทางอากาศ มนุษยตองช่วยกันปลูกตนไม
ทดแทนตนเดิมใหมากขึ้น รวมทั้งยังใช้ประโยชนจากตนไมเปนวัตถุดิบเข้าสูโรงงานอุตสาหกรรม
เฟอรนิเจอรผลิตจากไมดวย
179

4.6.3 ปญหาทรัพยากรปาไม
ปจจุบัน การเพิ่มจำนวนของประชากรของประเทศ ทำใหการใช้สอยพื้นที่เพิ่มขึ้น เกิดการ
บุกรุกพื้นที่ปา ปาถูกทำลาย มีการลักลอบโค่นตนไมใหญและเผาทำลายปาบริเวณตนน้ำลำธาร เพื่อ
ทำการเกษตร หรือทำไรเลื่อนลอย บางครั้งผูบุกรุกลักลอบตัดไม เพื่อเอามาใช้ประโยชนสวนตัว หรือ
เอาไปขายแลกเงิน ในปจจุบันมีเครื่องมืออุปกรณที่ทันสมัย ในการตัดไมในพื้นที่ปาไดอยางรวดเร็ว
ปญหาคนทับที่ปา ปาทับที่คนยังคงเปนปญหาที่ยังไมมีทางแก้ไขในปจจุบัน พื้นที่ปาไมของประเทศ
ไทยจึงมีอัตราลดลงอยางตอเนื่องทุกป (ภาพที่ 4.10) (สำนักจัดการที่ดินปาไม กรมปาไม, 2564) ซึ่ง
ปญหาเหลานี้เกิดจาก
1. การลั ก ลอบนำไม ม าใช้ เพื ่ อ กิ จ กรรมหลากหลายของมนุ ษ ย เช่ น ทำอุ ต สาหกรรม
โรงเลื่อยไม โรงงานกระดาษ ทำเฟอรนิเจอรไม สรางอาคารที่อยูอาศัย หรืออาคารพาณิชย ถึงแมจะมี
บางสวนที่ขออนุญาตตัดไมอยางถูกกฎหมาย แตสวนใหญการตัดตนไมมักถูกลักลอบตัด โดยมีนายทุน
หนุนหลังดานการประกันตัวเมื่อถูกจับ เนื่องจากกฎหมายไทยในการควบคุมการลักลอบตัดไมยังไม
เครงครัดและบทลงโทษไมรุนแรง สำหรับ พรบ.ปาไม ไดมีการปรับปรุงมาจนถึง พรบ.ปาไม ป 2562
มีใจความวาดวยการสงเสริมการปลูกไมมีค่า เช่น ไมสัก เปนตน เพื่อนำมาใช้ประโยชนมากขึ้น
โดยประเด็นของการเปลี่ยนแปลงนั้น เนนการเปดโอกาสใหเอกชน ประชาชน สามารถใช้ประโยชน
จากไมหวงหามไดมากขึ้น ประกอบไปดวย “มาตรา 7 ไมชนิดใดที่ขึ้นในปาจะใหเปนไมหวงหาม
ประเภทใด ใหกำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา สำหรับไมทุกชนิดที่ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ
ครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ไมเปนไมหวงหาม หรือไมที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่ไดรับอนุญาตให
ทำประโยชน ต ามประเภทหนั ง สื อ แสดงสิ ท ธิ ท ี ่ ร ั ฐ มนตรี ป ระกาศกำหนดโดยความเห็ น ชอบของ
คณะรัฐมนตรี ใหถือวาไมเปนไมหวงหาม”
ความของมาตรา 7 นี้ คือการใหไมทุกชนิด ที่ปลูกในดินที่มีกรรมสิทธิ์ถูกตองไมเปนไมหวง
หามอีกตอไป ประชาชน-เจ้าของสามารถนำมาประโยชนได แตตองเนนย้ำคำวา “ที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์”
หรือ “สิทธิครอบครอง” หรือ “ปลูกขึ้นในที่ดินที่ไดรับอนุญาต” ปลูกไมมีค่าที่เคยหาม ในที่ดินตนเอง
ได แตเลื่อยยนตยังตองขออนุญาต หากทำใหการเคลื่อนยายไปยังนอกพื้นที่ จะตองยื่นขอใบอนุญาต
เคลื่อนยายดวย ซึ่งกรณีที่เคลื่อนยายออกนอกพื้นที่โดยไมแจ้งเจ้าหนาที่ จะมีความผิด จำคุกไมเกิน 1
ป ปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
180

ภาพที่ 4.10 สถิติพื้นที่ปาไมป พ.ศ.2516 ถึง 2564


มาจาก: สำนักจัดการที่ดินปาไม กรมปาไม (2564)

2. การสงเสริมการปลูกพืชและสัตวเศรษฐกิจเพื่อการค้าและสงออก สงผลกระทบตอการใช้
พื้นที่ปาอยางมาก ตองใช้พื้นที่บริเวณกวางในการปลูกพืชและสัตวเชิงอุตสาหกรรม จึงตองบุกรุกพื้นที่
ปาไม
3. การบริหารจัดการดานสาธารณูปโภคของรัฐ ภัยเงียบที่คาดไมถึง คือการสูญเสียพื้นที่ปาไม
ของประเทศไปอยางถูกตองตามกฎหมาย รัฐบาลอนุญาตใหหนวยงานของรัฐบริหารจัดการพื้นที่ปาได
เช่น หนวยงานที่รับผิดชอบดำเนินการสรางเขื่อน อางเก็บน้ำ สรางถนนหนทางคมนาคมขนสง ทั้งหมด
ตองบุกรุกพื้นที่ปาไมทั้งสิ้น
4. การเกิดไฟไหมปา จะเกิดไดเองตามธรรมชาติในช่วงฤดูแลง และเกิดจากการกระทำของ
มนุษย ซึ่งโดยมากมักจะเกิดจากการกระทำของมนุษย ทำใหเกิดการสูญเสียพื้นที่ปาไม ดินเสื่อมสภาพ
ลง ตนไมที่เหลือเจริญเติบโตช้า และอาจเกิดโรคพืชระบาดกับตนไมได ในป พ.ศ. 2564 ศูนย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมปาไม ไดเก็บสถิติการเกิดไฟไหมปา ของป 2563 ถึง 2564
พบวา เกิดขึ้นในช่วงเดือน มกราคม ไปถึง เดือนพฤษภาคม ดังนั้น ในช่วงเดือนนี้ จึงมีมาตรการในการ
ปองกันไมใหเกิดไฟไหมปาไวลวงหนา
5. การทำเหมืองแร ตองไดรับการอนุญาตจากรัฐใหเข้าพื้นที่ปา เพื่อสำรวจแหลงแร ขุดเจาะ
พังทลายภูเขา รวมทั้งการโค่นตนไมใหญ
181

6. ขาดความรู ความตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรปาไมของประชาชนในประเทศ
ทำใหทรัพยากรปาไมถูกนำมาใช้ในปริมาณมาก และไมมีการปลูกทดแทน ทำใหพื้นที่ปาไมลดลงไป
จะเห็นไดวา ปญหาที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรปาไมเกิดจากการกระทำของมนุษยเปนสวนใหญ
ดังนั้น เราควรปลูกฝง ใหความรูและสรางจิตสำนึกถึงความสำคัญของปาไมใหกับเด็กและเยาวชน ให
รูจักคุณค่าของตนไม รูวิธีการนำตนไมมาใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอตนเองและมหาชน รวมทั้งการ
อนุรักษทรัพยากรปาไมใหคงอยูอยางสมดุลในระบบนิเวศ เพื่อใหมนุษยมีใช้ตอไปอยางยั่งยืน
4.6.4 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรปาไม
เมื่อปาไมเปนแหลงก่อกำเนิดความหลากหลายทางชีวภาพบนโลก การดูแลรักษาปาไมใหดำ
ลงอยูจึงเปนสิ่งสำคัญสำหรับมนุษยทุกคน สำหรับประเทศไทย มีการกำหนดนโยบายปาไมแหงชาติ
กำหนดใหมีพื้นที่ปาไมทั่วประเทศอยางนอย อัตรารอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศเพื่อประโยชน 2
ประการ ดังนี้ คือ 1) ปาเพื่อการอนุรักษ กำหนดไวเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม ดิน น้ำ พันธุพืช พันธุสัตว
ที ่ ห ายากและป อ งกั น ภั ย ธรรมชาติ อ ั น เกิ ด จากน้ ำ ท ว มและการพั ง ทลายของดิ น ตลอดทั้ ง
เพื่อประโยชนในการศึกษาวิจัย และนันทนาการของประชาชนใน อัตรารอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ
ไดแก่ เขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติ วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร สวนรุกขชาติ เขตหามลา
สัตวปา พื้นที่สงวนที่ชีวาลัย พื้นที่มรดกโลก พื้นที่ปาลุมน้ำชั้นหนึ่ง พื้นที่ควรอนุรักษธรรมชาติ
พื้นที่อนุรักษปาชายเลน เปนตน 2) ปาเพื่อเศรษฐกิจ กำหนดไวเพื่อการผลิตไมและ ของปาเพื่อ
ประโยชนในทางเศรษฐกิจในอัตรารอยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ ไดแก่ พื้นที่พัฒนาปาธรรมชาติ
พื้นที่พัฒนาปาทรัพยากรปาไม พื้นที่พัฒนาตามหลักวนศาสตรชุมชน พื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
อื่น เช่น พื้นที่ระเบิดหิน เปนตน ยังมีแนวทางในการอนุรักษปาไมอีกมากมาย ที่มนุษยสามารถเลือก
ปฏิบัติไดตามความถนัดและเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวันของตนเอง ไดแก่
1. สำหรับผูที่รับผิดชอบภาครัฐ มีการกำหนดแนวทางการจัดการและการพัฒนาทรัพยากร
ปาไมในระยะยาว อันจะทำใหประเทศไดรับประโยชนอยางคุ้มค่าทางสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง
และสิ่งแวดลอมมากที่สุด โดยเนนใหมีการประสานกันระหวางทรัพยากรปาไมและทรัพยากรธรรมชาติ
อื่น การสงเสริมสนับสนุนเงินงบประมาณสำหรับงานวิจัย
2. สำหรั บ ผู  ท ี ่ ร ั บ ผิ ด ชอบภาครั ฐ ต อ งมี แ ผนพั ฒ นาป า ไม ไว เ ป น ส ว นหนึ ่ ง ของ
แผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติโดยบรรจุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
182

3. สำหรับผูที่รับผิดชอบภาคการศึกษาและภาคเอกชน วิธีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไมดวย
การจัดการปาไมทั้งในระบบวนวัฒนแบบเลือกตัด และระบบวนวัฒนแบบตัดหมด ตามหลักวิชาการ
โดยเฉพาะในระบบตัดหมดนี้ เมื่อตัดแลวใหปลูกทดแทนในพื้นที่ที่ถูกตัดทันที
4. สำหรับผูที่รับผิดชอบภาครัฐ กำหนดใหมีการวางแผนทรัพยากรมนุษย และการตั้งถิ่นฐาน
ในทองถิ่น ใหสอดคลองกับการใช้ทรัพยากรและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
5. สำหรั บ ผู  ท ี ่ ร ั บ ผิ ด ชอบภาครั ฐ และภาคเอกชน สนั บ สนุ น ให ม ี โ รงงานอุ ต สาหกรรม
แบบตอเนื่องและโรงงานเยื่อกระดาษครบวงจร ตั้งแตตนน้ำถึงปลายน้ำ เพื่อนำทุกสวนของไมมาใช้
ประโยชน และสงเสริมใหมีการใช้วัสดุอื่นทดแทนไม
6. สำหรับผูที่รับผิดชอบภารเอกชนและประชาชนทุกคน เพื่อเปนการปลูกฝงใหประชาชนมี
ความรูสึก รักและหวงแหน รูจักใช้ทรัพยากรปาไมอยางประหยัด ตองใหความรู ทัศนคติ ความสำนึก
ความรูสึก และทักษะ แก่ประชาชนเกี่ยวกับผลประโยชนที่จะไดรับจากทรัพยากรปาไมและผลเสียจาก
การตัดไม ทำลายปา การทำไรเลื่อนลอย การใช้สอยไมอยางฟุมเฟอย จัดใหมีการเผยแพรความรูและ
ความเข้าใจแก่ประชาชน เกี่ยวกับความสำคัญของทรัพยากรปาไมที่มีตอสวนรวม
ตัวอยางการอนุรักษทรัพยากรปาไม สงผลดีตอทรัพยากรธรรมชาติอื่นดวย ไดแก่ จังหวัด
ระนองเป น หนึ ่ ง ในจั ง หวั ด ของประเทศไทยที ่ ไ ด ร ั บ พิ จ ารณาเป น แหล ง มรดกของชาติ ไ ทย
(กองบรรณาธิการ วารสารธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2555) เนื่องจากจังหวัดนี้มีทรัพยากรปาไมที่โดด
เดน และยังมีทรัพยากรธรรมชาติอื่นรวมดวย มีความหลากหลายทั้งบนบกและทางทะเล มีอุทยาน
แหงชาติแหลมสน อุทยานแหงชาติน้ำตกหงาว มีน้ำพุรอนสวนสาธารณะรักษะวาริณ รวมทั้งมีการ
กำหนดพื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง มีเสนทางศึกษาธรรมชาติแหลงเรียนรูชุมชนสูการศึกษาวิจัย
นานาชาติ และปาชายเลนที่เปนแหลงอนุบาลสัตวน้ำตามธรรมชาติ บริบทเหลานี้เกิดขึ้นจากทัศนคติ
และความภาคภูมิใจของผูวาราชการจังหวัดระนอง ประสานทุกฝายที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น หัวหนา
ศูนยวิจัยปาชายเลนระนอง สำนักอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ ่ ง แวดล อ ม ประธานชมรมเพลิ น ไพรศรี นาคา ผู  แ ทนอาวุ โ ส
หอการค้าจังหวัดระนอง กรรมการบริหารสมาคมธุรกิจการทองเที่ยวจังหวัดระนอง และที่ขาดไมไดคือ
ประชาชนในจังหวัดระนองทุกคนที่ใหความสำคัญกับการหวงแหน รวมกับการอนุรักษทรัพยากรปาไม
และทรัพยากรธรรมชาติอื่นใหดำรงอยูตามธรรมชาติ ไปพรอมกับการใช้ชีวิตประจำวันของคนใน
183

จังหวัด ซึ่งสิ่งเหลานี้กลายเปนจุดเดนที่ดึงดูดนักทองเที่ยว กระตุนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษไดเปน


อยางดี

4.7 ทรัพยากรสัตวปา
สัตวเปนสิ่งมีชีวิตที่มีตนกำเนิดมาจากการผสมพันธุของพอแมสัตวแตละชนิด เปนสิ่งมีชีวิต
หลายเซลลอยูในกลุมยูคาริโอตเช่นเดียวกับมนุษย สัตวบางกลุมเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมคลายมนุษย
เช่นกัน ดังนั้นการดำรงชีวิตของสัตวจะตองการอาหาร ที่อยูอาศัยเพื่อหลบภัยธรรมชาติและศัตรู
รวมทั้งมีกลไกธรรมชาติในการรักษาตนเองจากการเจ็บปวยดวยการกินพืชบางชนิดในปา สัตวปา
อาศัยอยูในปา ปาไมจึงเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา หากจะจัดจำแนกกลุมของสัตวอยางง่ายไมซับซ้อน
สามารถแบงกลุมสัตวได 2 กลุม คือ 1) สัตวมีกระดูกสันหลัง ประกอบดวย สัตวพวกปลา หายใจดวย
เหงือก สัตวครึ่งบกครึ่งน้ำ อาศัยอยูไดทั้งในน้ำและบนบก วางไข่เปนกลุมในน้ำ เช่น กบ เปนตน
สัตวเลื้อยคลาน สัตวปกและนก และสัตวเลี้ยงลูกดวยนม 2) สัตวไมมีกระดูกสันหลัง เช่น แมลง
เปนตน แมลงเปนสัตวที่มีชนิดมากที่สุดในบรรดาสัตวทุกชนิด
สัตวปา หมายถึง สัตวทุกชนิดไมวาสัตวบก สัตวน้ำ สัตวปก แมลงหรือแมง ซึ่งโดยสภาพ
ธรรมชาติยอมเกิดและดำรงชีวิตอยูในปาหรือในน้ำ และหมายความรวมถึงไข่ของสัตวปาเหลานั้นทุก
ชนิดดวย แตไมหมายความรวมถึงสัตวพาหนะที่ไดจดทะเบียน ตามรูปพรรณตามกฎหมายวาดวยสัตว
พาหนะแลว และสัตวพาหนะที่ไดมาจากการสืบพันธุของสัตวพาหนะดังกลาว (ศศินา, 2550)
นันทรพัช (2563) ไดอธิบายการใช้ประโยชนจากสัตวปา จึงก่อใหเกิดกระบวนการลักลอบค้า
สัตวปาในประเทศไทย รวมทั้งปญหาการบังคับใช้กฎหมายและข้อทาทาย ไวดังนี้ ยอนอดีตประเทศ
ไทยไปเมื่อ 20 ปที่แลว กลาวไดวา ความอุดมสมบูรณของสัตวมีมากมาย มีสัตวหลากหลายสายพันธุที่
ดำรงชีวิตอยูในปาที่อุดมสมบูรณมากกวาในปจจุบัน เมื่อผืนปาถูกบุกรุกทำลาย สัตวปาจะไปอยูที่ไหน
บางชนิดยายที่อยูได บางชนิดเคลื่อนยายยากตองสูญพันธุไป เปนเรื่องที่นาเสียดาย ที่ประเทศไทยจะ
สูญเสียสัตวหลากหลายชนิด เหลือแค่รูปภาพใหเด็กรุนลูกหลานไดดูเทานั้น สัตวปาเปนสิ่งมีชีวิตที่
มนุษยไมค่อยใหความสนใจในการดูแลรักษา เนื่องจากมนุษยอาจมองวา สัตวปาเปนสิ่งไกลตัว และ
มองไมเปนประโยชนที่ชัดเจนสำหรับการดำรงชีวิตในแตละวัน จนในปจจุบันสัตวปาบางชนิดเริ่มเข้า
ข่ายใกลสูญพันธุเพิ่มขึ้นเช่นกัน ถึงแมประเทศไทยจะออก พระราชบัญญัติในการคุ้มครองและสงวน
พันธุสัตวปาตาม ในอดีตเริ่มตั้งแตสมัยรัตนโกสินทร ซึ่งประเทศไทยเริ่มเปดรับการค้าขายกับ
184

ตางประเทศมากขึ้น มีการนำสัตวปามาขายและตัดไมขายดวย เช่น การนำช้างมาใช้งาน หรือขาย


หรือฆ่าเอางาช้างขาย ทำใหจำนวนของช้างลดลงอยางรวดเร็ว เนื่องจากช้างเปนสัตวที่ผสมพันธุ
ติดลูกยาก ตกลูกไดครั้งละ 1 ตัว และระยะเวลาในการตั้งทองนานถึง 22 เดือน จึงตองหาวิธีแก้ไขกัน
อยางเรงดวน ประเทศไทยจึงออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสัตวปา โดยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจ้าอยูหัว ทรงเล็งเห็นถึงปญหาที่ตามมา จึงไดทรงตราพระราชบัญญัติสำหรับรักษา
ช้างปา รศ. 119 (พ.ศ. 2443) ขึ้น เพื่อใหช้างปาไมถูกทอดทิ้งใหอดอยากหรือไดรับการทรมาน จนถึง
ยุ ค มื ด ของสั ต ว ป  า ช่ ว งหลั ง สงครามโลกครั ้ ง ที ่ 2 อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ อ ั น ทั น สมั ย ที ่ ใ ช้ ใ นสงคราม
ไดถูกแปรเปลี่ยนมาเปนอาวุธของผูชอบลาสัตวปา ขณะที่การพัฒนาประเทศและการเพิ่มจำนวน
ประชากร ทำใหเกิดการบุกรุกพื้นที่ปามากขึ้น ปจจัยเหลานี้จึงทำใหจำนวนของสัตวปาลดลงอยาง
รวดเร็ ว จนถึ งขั ้ นที ่ สั ตว ป าบางชนิ ด เช่น สมั น ต องสู ญพั นธุ  ไปจากประเทศไทย ด วยพระมหา
กรุณาธิคุณของสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย พระยศของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีใน
ขณะนั้น เปนผูสำเร็จราชการแทนพระองค์ ไดลงนามในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ตราพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตวปา พ.ศ. 2503 ขึ้น เมื่อวันที่ 26
ธันวาคม 2503 เพื่อเปนกฎหมายแมบทในการปกปองทรัพยากรสัตวปาฉบับแรกของประเทศไทย ซึ่ง
ภายหลังไดมีการปรับปรุงเปนพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ประกาศในราช
กิจจานุเก็บกษา เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2535 เพื่อใหทันตอสมัยและเหตุการณที่เปลี่ยนแปลงไป
ดังนั้นถือวาวันที่ 26 ธันวาคม ของทุกป เปน "วันคุ้มครองสัตวปาแหงชาติ" ซึ่งการปกปองรักษาสัตว
ปาและผืนปาของประเทศไทย อยูภายใตการดูแลของ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานนี้มี ข้อมูลข่าวสาร คู่มือการจัดจำแนกชนิด
สัตวปา แหลงอุทยานแหงชาติ ข้อกำหนดกฎหมาย พระราชบัญญัติและอื่น ๆ ที่ประชาชนสนใจ ผาน
เว็ บไซด http://portal.dnp.go.th/p/citesdnp เพื ่ อให ประชาชนเข้ าถึ งความรู  ความเข้ าใจและ
ตระหนักถึงความสำคัญของสัตวปา รวมทั้งรูจักการอนุรักษทรัพยากรสัตวปาที่ถูกวิธี ในปจจุบัน
นอกจากสัตวปาสงวนและสัตวปาคุ้มครองตามพระราชบัญญัติแลว ยังมีการออกประกาศคุ้มครองสัตว
ปา ฉบับ พ.ศ. 2560 เพิ่มเติมอีกหลายรายการ
เมื่อประชากรของประเทศไทยเพิ่มขึ้น การลาสัตวเพื่อนำมาทำเปนอาหาร ฆ่าสัตวเอาหนังมา
ทำเสื้อผาเครื่องนุงหม นำสัตวมาเปนพาหนะ และกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวข้องกับการนำสัตวมาใช้ประโยชน
ของมนุษย จนสงผลกระทบรายแรงอยางชัดเจนตอจำนวนสัตวปาที่ลดลง และสัตวบางชนิดสูญพันธุ
185

ไป ในประเทศไทยจึงมีการรวมกลุมกันของกลุมคนที่เห็นความสำคัญของสัตว เกิดเปนกลุมอนุรักษ
สัตวกลุมแรกของประเทศไทย ใช้ชื่อกลุมวา กลุมอนุรักษนิยมไพรสมาคม เพื่อทำหนาที่รณรงค์
เรียกรองใหประชาชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของสัตวปาและปาไม
4.7.1 ประเภทของสัตวปา
ตาม พรบ.สัตวปาสงวนและสัตวปาคุ้มครอง พ.ศ. 2535 แบงสัตวออกเปน 2 ประเภท ไดแก่
1) สัตวปาสงวน คือ สัตวปาหายาก 15 ชนิด ไดแก่ แมวลายหินออน พะยูน เก้งหมอ นก
กระเรียน เลียงผา กวางผา ละองหรือละมั่ง สมัน กูปรี ควายปา แรด กระซู่ สมเสร็จ นกแตวแลวทอง
ดำ และนกเจ้าฟาหญิงสิรินธร (ภาพที่ 4.11) ข้อหามข้อบังคับบางประการจากพระราชบัญญัติฉบับนี้ที่
ควรทราบมีดังนี้
1. สัตวปาสงวนและสัตวปาคุ้มครอง เปนสัตวปาที่หามลา พยายามลา หามค้า หามนำเข้า
หรือสงออก เวนแตจะไดรับอนุญาต ผูฝาฝนมีโทษจำคุกไมเกิน 4 ป หรือปรับไมเกิน 40,000 บาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
2. หามครอบครองสัตวปาสงวนและสัตวปาคุ้มครอง เวนแตจะไดรับอนุญาต ผูฝาฝนมีโทษ
จำคุกไมเกิน 3 ป หรือปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ในกรณีที่สัตวที่ครอบครองเปนสัตว
ที่มาจากการเพาะพันธุที่ไมถูกตอง จะตองโทษจำคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือ
ทั้งจำทั้งปรับ
3. หามเพาะพันธุสัตวปาสงวนและสัตวปาคุ้มครอง เวนแตจะไดรับอนุญาต ผูฝาฝนมีโทษ
จำคุกไมเกิน 3 ป หรือปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4. ในกรณีที่การลาเปนการลาเพื่อปกปองตนเองหรือผูอื่นหรือทรัพยสิน หรือเหตุอื่นที่เห็นวา
เปนการกระทำที่ควรแก่เหตุ ไมตองรับโทษ
5. การหามการครอบครองและหามค้า รวมไปถึงไข่และซากของสัตวเหลานั้นดวย
6. หามเก็บหรือทำอันตรายรังของสัตว ยกเวนรังนกอีแอน (นกแอนกินรัง) ซึ่งตองไดรับ
อนุญาตเช่นกัน
2) สั ต ว ป  า คุ ้ ม ครอง หมายถึ ง สั ต ว ป  า ที ่ ก ฎกระทรวงกำหนดเป น สั ต ว ป  า คุ ้ ม ครอง โดย
แบงออกเปน 7 จำพวก ดังนี้
1. สัตวปาจำพวกเลี้ยงลูกดวยน้ำนม จำนวน 189 ชนิด เช่น เสื้อลายเมฆ เสือโครง ช้าง
ค้างคาวคุณกิตติ ชะนีมือขาว ลิง กระทิง หมาใน เก้ง กวาง อน เมน หมี เปนตน การ
186

2. สัตวปาจำพวกนก มี 181 อันดับ จำนวน 771 ชนิด เช่น นกกาบบัว นกขมิ้น นกขุนทอง
นกแก้ว นกกระสาคอดำ เปดหงส เปดก่า ไก่นวล ไก่ฟาพญาลอ นกเงือก นกยูง เหยี่ยว แรง นก
ขุนแผน นกหัวขวาน เปนตน
3. สัตวปาจำพวกเลื้อยคลาน มี 64 อันดับ จำนวน 91 ชนิด เช่น ตุกแกปาไทย เตาปูลู
เตาตนุ เตากระ เตามะเฟอง ตะพาบมานลาย จระเข้น้ำจืด ตะโขง งูเหา งูจงอาง กิ้งก่าหัวสีฟา ตะกวด
เปนตน
4.สัตวปาจำพวกสะเทินน้ำสะเทินบก จำนวน 12 ชนิด เช่น กะทั่ง เขียดแลว กบทูด กบอก
หนาม เปนตน
5. สัตวปาจำพวกปลา จำนวน 4 ชนิด เช่น ปลาเสือตอลายใหญ ปลาเทพา ปลาสายยู
ปลาตะพัด เปนตน
6. สัตวปาจำพวกแมลง มี 13 อันดับ เช่น ผีเสื้อภูฐาน แมลงทับ ผีเสื้อนางพญากอดเฟรย
ดวงกวาง ดวงคีมยีราฟ เปนตน
7. สัตวปาจำพวกไมมีกระดูกสันหลัง มี 13 อันดับ เช่น ปูราชินี ปูแมฟาหลวง แมงมุมยักษ
แมงปอง บึง เปนตน
นอกจากสัตวปาจะสูญพันธุไปตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเกิดการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติแลวนั้น การบุกรุกพื้นที่ปาไมซึ่งเปนที่อยูของสัตวปาเปนอีกสาเหตุหนึ่งของการสูญพันธุของ
สัตวปา รวมไปถึงกิจกรรมนันทนาการของกลุมคนบางกลุมที่ชอบลาสัตวดวยอาวุธ เพื่อความบันเทิง
ทำใหสัตวตาย และสูญพันธุไปในที่สุด ยังมีสัตวอีกหลายชนิดที่กำลังจะสูญพันธุไปในยุคดิจิทัลที่
ทันสมัยนี้ เช่น เสือดาวอามูร แรดดำ กอลลิลาภูเขา เตากระ เตามะเฟอง แรดชวา ซาวลา ช้าง
สุมาตรา อุรังอุตังสุมาตรา เสือโครงสุมาตรา กระซู่ โลมาและโลมาไรครีบหลังแบบแยงซี เปนตน และ
ยังเปนยุคแหงการระบาดของเชื้อไวรัสอุบัติใหม โคโรนาสายพันธุใหม เรียกวา โควิด-19 ซึ่งคาดการณ
วามีสาเหตุมาจากการจับสัตวปามากินโดยนำมาทำอาหารแบบไมถูกวิธีและติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ทำให
ปอดอักเสบเข้าไปสูมนุษย ที่เมืองอูฮั่น ประเทศจีน
187

ภาพที่ 4.11 สัตวปาสงวน


ดัดแปลงจาก: https://sites.google.com/site/wichakarxnuraks/prapheth-khxng-satw-pa
188

4.7.2 ประโยชนของทรัพยากรสัตวปา
มนุษยนำสัตวปามาใช้ประโยชนเพื่อเปนสินค้าที่ใช้ในการค้าขายแลกเปลี่ยนในประเทศสราง
รายไดหมุนเวียนเศรษฐกิจของประเทศ เปนที่พักผอนหยอนใจของคนในครอบครัวและเด็ก ไปดูสัตวที่
สวนสั ต ว จึ ง เกิ ด การสนั บ สนุ น โครงการวิ จ ั ย ในการศึ ก ษาเกี ่ ย วกั บ สั ต ว ด ว ยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร และองค์ความรูทางชีววิทยา สัตวปาสรางธุรกิจใหกับผูค้าและการค้าระหวางประเทศ
สัตวปาอยูในปา เมื่อเราไปเที่ยวตามอุทยานแหงชาติจะเห็นสัตวปาที่อยูในพื้นที่นั้น เข้ามามีปฏิสัมพันธ
กับธรรมชาติ ทำใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสกับวิถีธรรมชาติโดยแทจริง นำมาใช้เพื่อการศึกษา นักเรียน
นักศึกษาไดเรียนรูทรัพยากรสัตวปา เพื่อตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญ รวมทั้งสรางจิตสำนึกใน
การอนุรักษสัตวปาของประเทศไทย ช่วยกันเปนหูเปนตาเมื่อพบเห็นการนำสัตวปามาใช้ประโยชน
ในทางที่ผิดกฎหมาย ไมลามากิน ไมลาเพื่อซือ้ ขาย ไมลามาเพื่อชื่นชมความงาม ไมลาเพื่อความสนุก
4.7.3 ปญหาทรัพยากรสัตวปา
การเพิ่มจำนวนของประชากรของประเทศมากขึ้น การบุกรุกพื้นที่ปาจึงเพิ่มขึ้นตามไปดวย
สงผลใหพื้นที่อยูอาศัยของสัตวปาถูกคุกคามและยึดพื้นที่โดยมนุษยตั้งรกรากที่อยูอาศัยแทน สัตวจึง
ตองอพยพหาที่อยูใหม ในขณะที่ที่อยูใหมจำกัด สัตวไมมีที่อยูอาศัย สงผลกระทบใหสัตวปาบางชนิด
ใกลสูญพันธุ หรือสูญพันธุไป รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพของสัตวปาเปลี่ยนแปลงไปในทาง
ลบอีกดวย ปญหาเหลานี้มีสาเหตุมาจาก
1. กิจกรรมของมนุษยที่เบียดเบียนการดำรงชีวิตของสัตวปา การลาสัตวอยางทารุณ โดยที่
กฎหมายมีบทลงโทษสถานเก็บา
2. การเกิดไฟไหมปาจากธรรมชาติเองและมนุษยเปนผูก่อใหเกิดไฟไหมปา
3. การเข้าไปศึกษาสัตวปาในเขตพื้นที่ที่ไมไดรับอนุญาต ถือเปนการบุกรุก และหากนำสัตว
ปาออกมาไวในครอบครองถือวาผิดกฎหมาย
4. สภาพพื้นที่อยูอาศัยของสัตวปามีการปนเปอนของสารพิษอันตราย เชื้อโรค หรือศัตรูของ
สัตว
5. การนำสัตวจากถิ่นอื่นเข้ามา จึงเกิดการแก่งแยงแหลงอาหารและที่อยูอาศัย ที่หลบภัย
หากสัตวที่อยูเดิมสูไมได แพอาจเสียชีวิตได หรือตองอพยพไปหาที่อยูใหม
189

4.7.4 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรสัตวปา
เมื่อสัตวปาเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญตอมนุษย มนุษยจึงควรนำสัตวปามาใช้ใน
ปริมาณนอยแตเกิดประโยชนสูงสุดตอมหาชน และไมทำลายธรรมชาติของสัตวปา หรือลดจำนวนสัตว
ปาลง มนุษยทุกคนตองช่วยกันรักษาจำนวนสัตวปาใหอยูในสภาพสมดุลกับระบบนิเวศ เพื่อการใช้
ประโยชนที่ยั่งยืน ดวยแนวทางปฏิบัติในการอนุรักษทรัพยากรสัตวปา ดังนี้
1. กำหนดกฎหมายและวิธีการปฏิบัติอยางเครงครัด เพื่อใหปาเปนแหลงอาหารที่อยูอาศัย
ของสัตวปา อาทิเช่น เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา เขตเพาะพันธุสัตวปา เปนตน ใหมีมาก
เพียงพอ
2. การรณรงค์เผยแพรประชาสัมพันธ ใหเห็นความสำคัญในการอนุรักษสัตวปาอยางจริงจัง
3. การไมลาสัตวปา ไมควรมีการลาสัตวปาทุกชนิด ทั้งสัตวปาสงวนสัตวปาคุ้มครองเพราะ
ปจจุบันสัตวปาทุกชนิดไดลดจำนวนลงอยางมากทำใหขาดความสมดุลทางธรรมชาติ
4. การปองกันไฟปา ไฟปานอกจากจะทำใหปาไมถูกทำลายแลวยังเปนการทำลายแหลง
อาหารและที่อยูอาศัยของสัตวปาดวย
5. การปลูกฝงการใหความรัก และเมตตาตอสัตวอยางถูกวิธีสัตวปาทุกชนิดมีความรักชีวิต
เหมือนกับมนุษย การฆ่าสัตวปา การนำสัตวปามาเลี้ยงไวในบานเปนการทรมานสัตวปา ซึ่งมักไมมีชีวิต
รอด
6. ภาครัฐควรมีงบประมาณสนับสนุนการเพาะพันธุเพิ่มสัตวปาที่กำลังจะสูญพันธุหรือมี
จำนวนนอยลง ควรมีการเพาะพันธุขยายพันธุใหมีจำนวนเพิ่มขึ้น เพื่อเปนการทดแทนและเรงใหมีสัตว
ปาเพิ่มมากขึ้น
กรณี ศ ึ ก ษา ประชากรช้ า งป า ลดลง ทรงธรรม (2558) ได อ ธิ บ ายไว ว  า ช้ า งป า ได รั บ
ความคุ้มครองตามกฎหมายวาดวยการสงวนและคุ้มครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ช้างปามีความสำคัญใน
ระบบนิ เ วศของป า เขตร อ น เช่ น ประเทศไทย เพราะช่ ว ยสร า งแหล ง อาหารให แ ก่ ส ั ต ว ช นิ ด อื่ น
ช่วยกระจายพันธุไมบางชนิดที่เปนอาหารของสัตวปาชนิดอื่น และเปนดัชนีชี้วัดความสมบูรณของปา
เพราะธรรมชาติของช้างปาจะดำรงชีวิตอยูเปนฝูงเฉพาะในปาใหญ ที่มีแหลงอาหารและแหลงน้ำ
สมบูรณเทานั้น สำหรับประเทศไทย มีการสำรวจพบวา ช้างปาไดลดจำนวนลง และสูญหายไปจาก
พื้นที่อนุรักษถึง 17 แหง ซึ่งเหตุการณนี้มีสาเหตุมาจาก การลักลอบลาลูกช้างมาใช้งานในเมือง ลาช้าง
โตเต็มวัยเพื่อเอางามาใช้ประโยชนทางเศรษฐกิจ ในขณะที่การขยายพันธุของช้างปาเกิดขึ้นช้า และมี
190

การตายตามธรรมชาติดวย ปจจุบันช้างปาไดประสบปญหาความขัดแยงกับคน เพราะคนบุกรุกพื้นที่


ปา บุกรุกพื้นที่อยูอาศัยเดิมของช้างปาและสัตวปาอื่น เพื่อการคมนาคม โดยตัดถนนหนทาง ที่เปน
เสนทางช้างปาเดินหากินและเคยใช้เปนประจำ ทำใหช้างปาถูกจำกัดเสรีภาพในการเคลื่อนไหว
ตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวิถีชีวิตตามธรรมชาติที่เคยปฏิบัติกันมาหลายชั่วอายุช้างสิ้นสุดลง รวมทั้งปา
สวนใหญในประเทศไทยไมมีเขตตอเนื่องกัน ทำใหโอกาสของช้างจะอพยพยายถิ่นไปแลกเปลี่ยน
พันธุกรรมกับช้างในพื้นที่อื่นจึงทำไดยาก ปญหาของความขัดแยงระหวางคนกับช้างเกิดขึ้นในพื้นที่ใน
เขตอุทยานแหงชาติของประเทศไทย เช่น อุทานแหงชาติเขาใหญ และอุทยานแหงชาติทับลาน
จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีการตัดถนนเพื่อการคมนาคมที่สะดวกของมนุษย และการทองเที่ยวเข้าไปชม
สัตวปา ซึ่งเปนเสนทางเดินของช้างปาและสัตวปาอื่น จนทำใหเกิดเหตุการณที่ช้างทำรายยานพาหนะ
(ภาพที่ 4.12)

ภาพที่ 4.12 เหตุการณขัดแยงกันของช้างปาและมนุษย


มาจาก: ทรงธรรม (2558)

จากกรณีดังกลาวจะเห็นไดวา ช้างปาซึ่งเปนทรัพยากรสัตวปาชนิดหนึ่งมีแนวโนมสูญพันธุไป
จากพื้นที่ปาของประเทศไทย ดังนั้นเราควรช่วยกันปองกันและสนับสนุนการอนุรักษช้างปาและสัตว
ปาชนิดอื่น ดวยการปลูกจิตสำนึกรักทรัพยากรสัตวปา มีทัศนคติที่ดีตอสัตวปา หาความรูที่ถูกตองใน
191

การอยูรวมกันของช้างปา สัตวปาและมนุษย และเราตองเปนกระบอกเสียงไปถึงหนวยงานภาครัฐ


เพื่อใหรัฐไดเปนหนวยงานหลักเข้าแก้ไขปญหานี้อยางเรงดวนและจริงจัง
4.8 ทรัพยากรแรธาตุ
ทรัพยากรแรเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ผานกระบวนการทางธรณีวิทยาเกิดขึ้นภายใน
โลก และบนผิวโลก ประเทศไทยเปนประเทศที่มีทรัพยากรแรที่หลากหลาย และอุดมสมบูรณมากกวา
หลายประเทศในภูมิภาคเดียวกัน แรและหินเปนทรัพยากรธรรมชาติพื้นฐานที่จำเปนในการดำรงชีวิต
ของมนุษยมาทุกยุคทุกสมัย การนำแรมาใช้ประโยชนนั้น มีมาตั้งแตเริ่มวิวัฒนาการของมนุษยแลว
โดยช่วงแรกจะใช้ประโยชนจากแรและหินโดยตรงเพียงไมกี่ชนิด เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค และทำ
เครื่องใช้สอยที่จำเปนสำหรับการดำรงชีวิต เช่น ทำเกลือสินเธาวจากเกลือหิน เครื่องมืออาวุธหิน
ถวยชาม เครื่องปนดินเผา เปนตน ตอมาการใช้ประโยชนจากแรค่อย ๆ เพิ่มและทวีความซับซ้อนขึ้น
ตามพัฒนาการความก้าวหนาของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปจจุบันทรัพยากรแรยิ่งเพิ่มความสำคัญ
ตอการดำรงชีวิตของมนุษย เปนวัตถุดิบเริ่มตนสำหรับสินค้าอุปโภคบริโภค ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค
และสิ่งอำนวยความสะดวก
กรมทรัพยากรธรณี (2559) ไดอธิบายความหมายของ แร ไววา แร หมายถึง ธาตุหรือ
สารประกอบอนินทรียที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีโครงสรางผลึกที่คงที่ มีสูตรเคมีที่แนนอน และ
มีคุณสมบัติทั้งทางกายภาพและเคมีเฉพาะตัว สำหรับประเทศไทยเริ่มมีการทำเหมืองแรตั้งแตสมัย
รัชกาลที่ 4 โดยเริ่มจากการทำเหมืองแรดีบุกเพียงอยางเดียว จนมาถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ป พ.ศ. 2544
ได มี การกำหนดพระราชบั ญญั ติ การทำเหมื องแร หรื อ ร.ศ. 120 เป นกฎหมายคุ ้ ม ครองการใช้
ทรัพยากรและการทำเหมืองแร ในปจจุบันแรเปนทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถสรางรายไดเข้า
ประเทศเปนอันดับที่ 2 รองจากข้าวเลยทีเดียว การดูแลรับผิดชอบและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแรของ
ประเทศไทย การบริหารจัดการทรัพยากรธรณีของประเทศ เพื่อใช้เปนเครื่องมือสำหรับการวางแผน
และการบริหารจัดการทรัพยากรแร ตลอดจนการเผยแพรข้อมูลดานทรัพยากรแรของประเทศให
ป ร ะ ช า ช น ผ ู  ส น ใ จ ท ร า บ แ ล ะ น ำ ไ ป ใ ช ้ ป ร ะ โ ย ช น  อ ย ู  ภ า ย ใ ต  ก ร ม ท ร ั พ ย า ก ร ธ ร ณี
กระทรวงทรั พยากรธรรมชาติ และสิ ่ ง แวดล อม ผู  สนใจสามารถเข้ าไปศึ กษาข้ อมู ลได ที ่ เ ว็ บไซด
http://www.dmr.go.th/index_.php ตัวอยางลักษณะแร เช่น แรแบไรต (ภาพที่ 4.13) ถูกนำมาใช้
ประโยชนในการเจาะสำรวจน้ำมันและน้ำบาดาล ใช้ในการตรวจระบบทางเดินอาหารและขับถายทาง
รังสีวิทยา
192

ภาพที่ 4.13 แรแบไรต


มาจาก: https://www.dmr.go.th/barite/

4.8.1 ประเภทของแร
ณัฐญา (2562) ไดอธิบายทรัพยากรประเภทแรไววา แหลงกำเนิดแร มาจากการเย็นตัวของ
หินอัคนีที่ประกอบอยูเปนภูเขา เช่น ดีบุก ฟลูออไรด เปนตน ถาหินอัคนีเกิดการผุพัง แรที่แทรกอยู
ตามชั้นหินแตกเปนก้อนเล็กและเกิดการทับถมกันบริเวณที่ราบเชิงเขา เรียกวา ลานแร เปนพวกดีบุก
แหลงแรที่เกิดจากการตกตะกอนหรือทับถมกันแลวแทรกอยูในชั้นหิน เช่น ถานหิน เปนตน หรืออยูใต
ทะเลลึก เช่น น้ำมันปโตรเลียม เปนตน ดังนั้นแร สามารถจัดจำแนกประเภทไดเปน 2 กลุม คือ
1. แรประกอบหิน หินทุกชนิดที่อยูบนพื้นโลก บางสวนอาจมีดินกรวดทรายที่เกิดจากการ
ผุพังของหินปดทับไว ประกอบดวยแรที่หลาหลาย แตกระบวนการนำแรแตละชนิดออกมาใช้ไมคุ้มทุน
ตอการลงทุน
2. แรที่มีประโยชนทางเศรษฐกิจ แรกลุมนี้มีปริมาณไมมาก แตนักลงทุนมีการวิเคราะหความ
คุ้มค่าในการใช้กระบวนการนำแรออกมาใช้ มีความคุ้มทุน จึงเกิดอุตสาหกรรมถลุงเหมืองแร แต
ทรัพยากรแรธาตุเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวหมดไป ไมมีสิ่งใดสามารถทดแทนได กระบวนการ
การเกิดแรใช้เวลายาวนานมาก อาจถึงเวลาหลายสิบลานปเลยทีเดียว ซึ่งแรในกลุมนี้สามารถจัด
ประเภทตามคุณสมบัติของแรธาตุได 3 ประเภท คือ
193

2.1 แรโลหะ มีคุณสมบัติเฉพาะตัว คือ มีลักษณะเหนียว แข็ง ทำเปนแผนได ทึบแสง นำ


ความรอน นำไฟฟาไดดี เคาะเสียงดังกังวาน ไดแก่ ดีบุก เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง สังกะสี ทังสเตน เปน
ตน พื้นที่ศักยภาพทางแรตะกั่วและสังกะสี มีเนื้อที่รวม 320 ตารางกิโลเมตร ไดแก่ จังหวัดแมฮองสอน
เชียงใหม ตาก กาญจนบุรี เชียงราย ลำปาง แพร สุโขทัย ชลบุรี นครศรีธรรมราช พัทลุง ยะลา พื้นที่
ศักยภาพทางแรดีบุกและทังสเตน ไดแก่ จังหวัดแมฮองสอน ตาก กาญจนบุรี อุทัยธานี ราชบุรี
ประจวบคีรีขันธ ชุมพร เชียงใหม เชียงราย ลำปาง แพร นครศรีธรรมราช พังงา สงขลา ยะลา
2.2 แรอโลหะ มีคุณสมบัติเฉพาะตัว คือ มีลักษณะเปราะ แตกหักง่าย แสงหรือรังสีผานได
ไมนำความรอน ไมนำไฟฟา เคาะไมมีเสียงดังกังวาน ไดแก่ ฟลูออไรด ยิปซัม แบไรต ควอตซ์ แคลไซต
เกลือหิน ฟอสเฟต เปนตน พื้นที่ศักยภาพทางแรแบไรตและฟลูออไรด ไดแก่ แมฮองสอน เชียงใหม
ตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี พะเยา เชียงราย ลำพูน ลำปาง
แพร อุตรดิตถ สุโขทัย เลย อุดรธานี หนองคาย ชลบุรี นครศรีธรรมราช สุราษฎรธานี สตูล สงขลา
ตรัง กระบี่
2.3 แรพลังงานเชื้อเพลิง เปนแรที่มีธาตุคารบอนและธาตุไฮโดรเจน เปนแรที่มีคุณสมบัติ
ในการเปนวัตถุดิบเริ่มตนผลิตเชื้อเพลิง สรางพลังงานใหกับสิ่งอำนวยความสะดวกที่มนุษยสรางขึ้น
เช่น เชื้อเพลิงยานพาหนะ เตาหุงตมอาหาร พลังงานความรอนในโรงงานอุตสาหกรรม ไดแก่ ถานหิน
น้ำมันปโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ
4.8.2 ประโยชนของทรัพยากรแรธาตุ
แรถูกนำมาใช้ประโยชนดานเชื้อเพลิงและพลังงาน ไดแก่ น้ำมันปโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ
ถานหิน แรธาตุกัมมันตรังสี สามารถเปลี่ยนเปนพลังงานความรอนที่ใช้ในการหุงตมอาหาร ใช้ใน
โรงงานอุตสาหกรรม ขับเคลื่อนยานพาหนะ ผลิตกระแสไฟฟา แรยังมีประโยชนหลากหลายดาน ไดแก่
1. ใช้สรางเครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับ อุปกรณไฟฟาและเครื่องใช้ไฟฟา มีทองแดงเปน
องค์ประกอบเกือบทุกชนิด เงินใช้ผสมทำเหรียญกษาปณ เครื่องประดับเครื่องเงิน เครื่องใช้ ชุบโลหะ
ทองคำ แรรัตนชาติ นำมาใช้ทำเครื่องประดับ เรียกวา อัญมณี ถูกแบงกลุมออกเปน 9 ชนิด รูจักกันใน
ชื่อวา นพรัตน นพเก้า หรือ แก้วเก้าประการ “เพชรดี (เพชร) มณีแดง (ทับทิม) เขียวใสแสงมรกต
(มรกต) เหลืองใสสดบุษราคัม (บุษราคัม) แดงแก่ก่ำโกเมนเอก (โกเมน) สีหมอกเมฆนิลกาฬ (ไพลิน)
มุกดาหารหมอกมัว (มุกดาหาร) แดงสลัวเพทาย (เพทาย) สังวาลสายไพฑูรย (ตาแมว)” อัญมณีเปนที่
194

ภาพที่ 4.14 อัญมณี


มาจาก: https://www.penninjewelry.com/article/6/นพเก้า-ที่สุดแหงอัญมณีเสริมมงคล

สนใจของคนไทยมาแตสมัยอดีต ใช้เปนเครื่องประดับเพื่อบงบอกฐานะ ซึ่งอัญมณีมีราคาสูง


คนไทยมีความเชื่อเรื่องเสริมสิริมงคลดวยอัญมณี (ภาพที่ 4.14)
2. ใช้สรางเครื่องจักรกล เครื่องทุนแรงและยานพาหนะ เช่น เหล็ก โมลิบดีนัมที่ผสมเหล็กทำ
เหล็กกลามีคุณสมบติพิเศษผลิตรถไถนา อุปกรณเครื่องมือทางการแพทย เช่น แบไรท ใช้บดละเอียด
ในน้ำยาสำหรับตรวจโรคทางกระเพาะอาหารและลำไสผานเครื่องฉายเอกซเรย เครื่องมือทางการ
ศึกษาในหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร เครื่องตรวจวัดมลพิษ เครื่องวัดรังสี เปนตน
3. ใช้ในการผลิตเครื่องมือขุดสำรวจหาแหลงแร เช่น เพชร ใช้ติดหัวสวานเจาะพื้นดิน-หิน ใช้
ทำใบเลื่อยตัดหินตัดพลอย แบไรท ใช้ผสมโคลนในการเจาะสำรวจ โดยเปนตัวหลอลื่นกันไมใหหัวเจาะ
รอนจัด ปองกันไมใหหลุมเจาะพัง
4. เปนปุยในดินใหกับพืช เช่น ยิปซัม ฟอสเฟต ใช้ทำปุยเพื่อเพิ่มธาตุอาหารที่จำเปนตอการ
เจริญเติบโตของพืช ทำใหพืชมีผลผลิตสูง
5. สรางอาชีพใหกับคนในประเทศและสรางรายไดเข้าประเทศ จากกิจกรรมทำเหมืองแร ตอง
มีพนักงานหลากหลายอาชีพในธุรกิจการทำเหมืองแร ตั้งแตวิศวกร พนักงานใช้แรงงาน เจ้าหนาที่ดาน
ต า ง ๆ พนั ก งานบั ญ ชี นั ก คอมพิ ว เตอร แร ธ าตุ ท ี ่ ไ ด นำมาผลิ ต สิ ่ ง ของเกิ ด เป น อุ ต สาหกรรม
มีการค้าขาย สรางอาชีพตออีกมากมาย แรธาตุเปนวัตถุดิบที่เกิดธุรกิจการค้าขายระหวางประเทศ
สรางรายไดเข้าประเทศไทยเปนอันดับ 2 รองจากข้าว เช่น ดีบุก เปนตน
195

6. แรธาตุกัมมันตรังสี แรที่ใหพลังงานมหาศาลและสรางประโยชนที่หลากหลายใหกับมวล
มนุษยชาติ หากมนุษยมีความรอบคอบ ระมัดระวังและรูจักนำมาใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุด ไมนำแร
ธาตุกัมมันตรังสีมาใช้เพื่อสรางปรมาณูนิวเคลียรมาทำลายลางกันและกันในรูปแบบสงครามดวยระเบิด
นิ ว เคลี ย ร สำหรั บ ประเทศไทยมี ห น ว ยงานที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบดู แ ลด า นการใช้ ป ระโยชน จ ากแร ธ าตุ
กัมมันตรังสี ไดแก่ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ เปนตน ปจจุบัน
มนุษยนำแรธาตุกัมมันตรังสีมาใช้ประโยชน ดังนี้
6.1 ดานการแพทย ใช้เพื่อการฉายเอกซเรยอวัยวะภายในรางกาย เช่น ปอด ฟน กระดูก เปน
ตน ใช้เพื่อตรวจการทำงานของอวัยวะตำแหนงเฉพาะ เช่น ไอโอดีน-131 ตรวจการทำงานของตอม
ไทรอยด เปนตน ใช้เพื่อบำบัดรักษาโรค เช่น การรักษาโรคมะเร็งดวย ฟอสฟอรัส-32 โคบอลต-60
แทนทาลัม-182 เปนตน รวมทั้งใช้เพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรียที่ปนเปอนในผลิตภัณฑทางการแพทย เปนการ
ทำปลอดเชื้อ ก่อนนำผลิตภัณฑทางการแพทยไปใช้รักษาผูปวย หรือกำจัดออกสูสิ่งแวดลอม
6.2 ดานการเกษตรและอาหาร ใช้เพื่อปรับปรุงพันธุพืชเศรษฐกิจ ไมดอกไมประดับ ใหมี
คุณสมบัติที่ดีกวาพันธุเดิม เช่น การฉายรังสีแกมมาเพื่อปรับปรุงพันธุฝายสีใหตานทานตอแมลง
ศัตรูพืช และเพิ่มคุณภาพเสนใยฝายใหดีขึ้นกวาเดิม เพื่อใช้ผลิตสิ่งทอในอุตสาหกรรมผาและสิ่งทอ
การฉายรั งสี แกมมาแบบเฉี ยบพลั นและแบบโครนิ กเพื ่ อปรั บปรุ งพั นธุ  ดาหลาไม ดอกไม ประดั บ
เศรษฐกิจรวมกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เปนการคัดเลือกสายพันธุที่มีคุณภาพดีในทางการค้าและเปน
ที่ตองการของตลาดไมดอกไมประดับ อธิบายไวในหนังสือการกลายพันธุเพื่อการปรับปรุงพันธุพืช โดย
อรุณี (2549) เปนตน ใช้เพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรียในอาหารหมักจากภูมิปญญาทองถิ่นของไทย เช่น ปลาสม
แหนม ใช้เพื่อตรวจสอบปริมาณรังสีที่เหมาะสมในกาฆ่าเชื้อจุลินทรียที่ปนเปอนในผลิตภัณฑอาหาร
โดยทำการฉายรังสีปริมาณที่แตกตางกันและวิเคราะหจำนวนจุลินทรียหลังฉายรังสีแลว
6.3 ดานอุตสาหกรรม ใช้เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของตึกอาคารที่มีอายุการใช้งานเยอะ
โดยไมตองทำลายตึกอาคารทิ้ง แตใช้วิธีการฉายรังสีตรวจสอบรอยราวรอยรั่วเปนภาพถายดวยรังสี ใช้
เพื่อวิเคราะหองค์ประกอบธาตุที่อยูในตัวอยางเชิงนิวเคลียร ใช้เพื่อวิเคราะหประสิทธิภาพของหอกลั่น
น้ำมันปโตรเลียมและตรวจสอบความผิดปกติของโครงสรางภายในหอกลั่นเชิงนิวเคลียรดวยรังสี
แกมมา
6.4 ดานอัญมณี ใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าของอัญมณีใหมีความสวยงามเปนที่ตองการของผูชื่นชอบ
อัญมณี ดวยการฉายรังสีนิวตรอน รังสีแกมมา และรังสีอิเล็กตรอน
196

6.5 ดานสิ่งแวดลอม ใช้เพื่อตรวจหาอายุของวัตถุโบราณ ซากสิ่งมีชีวิตโบราณ วัสดุทาง


ธรณีวิทยา และโบราณคดี (radiometric dating) ดวยคารบอน-14 เมื่อรวมตัวกับ ออกซิเจนใน
อากาศ เกิดเปนคารบอนไดออกไซดที่มีคารบอน-14 จากนั้น คารบอนไดออกไซดที่มีคารบอน-14 และ
คารบอนไดออกไซดทั่วไปที่มีคารบอน-12 เข้าสูหวงโซ่อาหารโดยพืชนำไปใช้ในการสังเคราะหแสง
ตอมาสัตวกินพืช คนกินทั้งพืชและสัตว จึงไดรับคารบอน-14เข้าไปสะสมอยูในรางกาย เมื่อสิ่งมีชีวิต
ตายลง คารบอน-14 และคารบอน-12 เริ่มการสลายตัวไปเปนไนโตรเจนตอไปในบรรยากาศ จึง
สามารถหาอายุการตายของสิ่งมีชีวิตได โดยตรวจวัดปริมาณคารบอน-14 ที่เหลืออยู ใช้เพื่อวิเคราะห
สารกัมมันตรังสีปนเปอนในน้ำ เช่น น้ำดื่ม น้ำผิวดิน น้ำใตดิน น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ำทิ้ง
จากโรงพยาบาล น้ำทิ้งจากหนวยงานที่ใช้รังสี ในดิน หรือในสิ่งแวดลอม
4.8.3 ปญหาของทรัพยากรแรธาตุ
ปญหาหลักของการสูญเสียแรธาตุในประเทศไทย คือการทำเหมืองแรเพื่ออุตสาหกรรม เมื่อมี
การสำรวจพื้นที่ขุดเจาะหาแร เช่น ตะกั่ว สังกะสี แมงกานีส โครเมียม มักเกิดการรั่วไหลปนเปอนไป
กับน้ำ ไปกับดิน และเกิดการถายทอดสารพิษไปตามหวงโซ่อาหาร เมื่อพืชดูดแรที่ปนเปอนในดิน ดูด
น้ำที่ปนเปอนแร แลวไปสะสมอยูในตนพืช สัตวรับประทานเข้าไป เกิดอันตราย คนนำพืชและสัตวมา
รับประทานตอเกิดการสะสมสารพิษ สงผลตอระบบประสาทสมอง และสวนประกอบของรางกาย
ทำงานบกพรอง จนก่อใหเกิดโรงมะเร็ง เสียชีวิตในที่สุด รวมทั้งยังมีอีกหลายสาเหตุและสงผลกระทบ
ตอสิ่งแวดลอมที่ทำใหเกิดปญหาการสูญเสียแรธาตุ ไดแก่
1. ผลกระทบตอทรัพยากรดิน การทำเหมืองแร ตองระเบิดหนาดิน ความอุดมสมบูรณของ
ธาตุอาหารพืชที่อยูหนาดินถูกทำลาย ชะลางไปกับน้ำ พื้นที่บริเวณนั้นไมสามารถปลูกพืชได และไม
สามารถใช้ประโยชนไดอีกเลย การฟนฟูใช้ระยะเวลานาน
2. ผลกระทบตอทรัพยากรปาไม การทำเหมืองแร ตองมีการบุกรุกพื้นที่ปาไม ถางปาเพื่อ
สำรวจแหลงขุดเจาะแรตาง ๆ ดวยวิธีการระเบิด ทำใหพื้นที่ปาถูกทำลายในพื้นที่กวาง และการทำ
เหมืองแรสวนใหญมักผิดกฎหมาย เมื่อมีการจับไดจากทางการ นายทุนจะหลบหนี เหลือไวเพียง
เศษซากเหมืองที่ถูกระเบิดเปนหลุมกินบริเวณกวางแลว ไมมีพืชใดเจริญไดอีก
3. ผลกระทบตอทรัพยากรน้ำ การทำเหมืองแร น้ำที่ออกมาจะมีลักษณะขุ่นมากจากการ
ปนเปอนของแร พืชและสัตวนำไปใช้เกิดการสะสมสารพิษ ทำใหพืชและสัตวน้ำสูญพันธุ ทำลาย
197

แหลงวางไข่ แหลงอาหาร แหลงที่อยูอาศัย น้ำที่ขุ่นและปนเปอนแร มนุษยไมสามารถนำมาใช้ในการ


อุปโภคบริโภคได
4. ผลกระทบตอทรัพยากรอากาศ การทำเหมืองแร สรางฝุนละอองจากการระเบิดพื้นที่เพื่อ
ขุดเจาะหาแรที่ลงไปในดินมาก ฝุนละอองเหลานี้ฟุงกระจายไปตามอากาศ เมื่อสูดดมเข้าไปเปน
อันตรายตอระบบทางเดินหายใจและปอด
5. กฎหมายในการควบคุมการขออนุญาตทำเหมืองแร มีบทลงโทษและข้อบังคับสถานเก็บา
4.8.4 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรแรธาตุ
จะเห็นไดวา การกำเนิดแรตองใช้เวลายาวนาน แรยังเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวหมดไป
และยังหาสิ่งอื่นทดแทนไมได ซึ่งแรธาตุที่เกิดตามธรรมชาติในประเทศไทย มีประโยชนหลากหลาย
ดาน ดังนั้นการปลูกฝงความรักและหวงแหนทรัพยากรแรธาตุใหประชากรในประเทศตั้งแตเด็กและ
เยาวชนจึงมีความสำคัญตอการดำรงอยูของทรัพยากรแรธาตุใหมีใช้ตอไปยังชั่วลูกชั่วหลาน ดังนั้น
แนวทางการอนุรักษทรัพยากรแรธาตุ ตองพึ่งพาทุกภาคสวน ทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ประชาชนทุกคนในประเทศ มีวิธีการบริหารจัดการ ดังตอไปนี้
1. รัฐควรมีกฎหมายที่เข้มงวดและชัดเจนสำหรับการขออนุญาตทำเหมืองแร รวมทั้งตองมี
การกำกับดูแลเปนระยะจากเจ้าหนาของภาครัฐ
2. ผู  เ ชี ่ ย วชาญหรื อ นั ก วิ จ ั ย ควรได ร ั บ การสนั บ สนุ น เงิ น งบประมาณในการวิ จ ั ย และ
งานทางดานวิชาการเกี่ยวกับแรในประเทศไทยอยางมาก
3. กรมทรัพยากรธรณี สงเสริมสนับสนุนการประชาสัมพันธใหความรูดานการใช้ประโยชน
และการอนุรักษแรที่ถูกวิธีกับประชาชนในประเทศ
4. ควรมีข้อมูลแนะนำแลเผยแพรใหกับประชาชนทุกคนไดทราบวา แรชนิดใดสามารถนำ
กลับมาใช้ไดอีก ดวยวิธีการที่ถูกตองเหมาะสม รวมทั้งวิธีการในการยืดอายุการใช้งานของแรให
ยาวนาน
5. เลือกนำการใช้เทคโนโลยีดานรังสีมาประยุกตใช้กับการสำรวจพื้นที่ขุดเจาะแรแบบไม
ทำลาย
6. วิธีการในการค้นหาวัสดุอื่นทดแทนแร
7. สงเสริมการใช้แรอยางมีประสิทธิภาพ เพิ่มมูลค่า และใช้ความรูดานเศรษฐศาสตรมา
บริหารจัดการทรัพยากรแรใหเกิดประโยชนสูงสุด คุ้มทุนที่สุด
198

ตัวอยางการสำรวจธรณีฟสิกสเพื่อหาแหลงแร โดยกองเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2565) ไดใช้องค์ความรูวิทยาศาสตรดานฟสิกสมาช่วย
สำรวจแหลงแร ดวยการใช้สนามแมเหล็กไฟฟา สภาพตานทานไฟฟาแบบ 2 มิติ ความเหนี่ยวนำไฟฟา
รวมทั้งความโนมถวงของโลก โดยยึดคุณสมบัติของแรแตละประเภทเปนหลัก เช่น การสำรวจแหลงแร
ทองคำ ด ว ยวิ ธ ี ท ดสอบสภาพต า นทานไฟฟ า และความเหนี ่ ย วนำไฟฟ า ณ พื ้ น ที ่ เขานมสาว
อำเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร ข้อมูลที่ไดถูกนำมาใช้ในการวางแผน การขุดเจาะใหตรงตำแหนง เกิด
การคาดเคลื่อนนอยที่สุด รวมทั้งประเมินปริมาณแหลงแรสำรองตอไปในอนาคตดวย จะเห็นไดวา
กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร ส ามารถนำมาใช้ ใ นการสำรวจแหล ง ทรั พ ยากรแร แ ละ
ทรัพยากรธรรมชาติอื่น เพื่อประโยชนในการวางแผนการนำทรัพยากรนั้นมาใช้ ปองกันและประเมิน
ปริมาณที่มีใช้ปจจุบันและอนาคตได หากเรามีความรูที่ถองแท และรูจักบูรณาการองค์ความรูทาง
วิทยาศาสตร เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับทรัพยากรธรรมชาติแตละชนิด จะช่วยใหเรานำ
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อประโยชนสูงสุด และไมทำใหทรัพยากรธรรมชาตินั้นถูกทำลายและ
สูญหายไป

4.9 ทรัพยากรพลังงาน
พลังงาน คือ ความสามารถในการทำงาน โดยการทำงานนี้อาจจะอยูในรูปของการเคลื่อนที่
หรือเปลี่ยนรูปของวัตถุ นั่นคือ ผลผลิตของงานที่เกิดจากพลังงานรูปแบบที่หลากหลาย พลังงานมี
ความสามารถในการเปลี่ยนรูปไปเปนพลังงานรูปแบบอื่นได เช่น พลังงานความรอน พลังงานแสง
พลั ง งานเสี ย ง พลั ง งานกล พลั ง งานไฟฟ า เป น ต น หน ว ยงานที ่ ด ู แ ลเกี ่ ย วกั บ ด า นพลั ง งานของ
ประเทศไทย ไมวาจะเปนข้อมูลแหลงกำเนิดพลังงาน ความตองการใช้พลังงานของคนในประเทศ
สนับสนุนเงินทุนวิจัยดานพลังงานทดแทน สงเสริมและใหความรูดานการอนุรักษพลังงาน รวมไปถึง
ประเมินสถานการณพลังงาน หากไมเพียงพอตองบริหารจัดการอยางไร จัดหาจากที่ไหน ข้อมูลเหลานี้
มีใหเราสืบค้นไดในเว็บไซดของ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน
https://www.dede.go.th/main.php?filename=index
199

4.9.1 การจัดจำแนกและแหลงพลังงาน
หนังสือวิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต (ทิพยวัลย, 2554) วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
(ณัฐญา, 2556) และ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ณัฐญา, 2562) ไดอธิบายหลักใน
การจัดจำแนกพลังงานที่นำมาใช้ในปจจุบัน และแนวโนมพลังงานในอนาคต พรอมทั้งอธิบายแหลง
พลังงาน ไววา พลังงานที่มีบนโลกใบนี้ถูกจัดจำแนกตามลักษณะการทำงาน ออกเปน 3 ประเภท คือ
1. พลังงานสะสม เปนพลังงานที่ถูกเก็บสะสมไวในวัตถุตนกำเนิด เช่น พลังงานเคมีที่เก็บ
สะสมไวในอาหาร เมื่อมนุษยรับประทานอาหารเข้าไปจะเกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมี มีเอนไซมยอยอาหาร
ใหมีขนาดเหมาะสมตอการสรางพลังงานใหแก่รางกายมนุษย เพื่อขับเคลื่อนใหเกิดงาน มนุษยมีแรง
เดิน นั่ง กิน ทำงาน วิ่ง เลน และทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือ พลังงานเคมีที่เก็บสะสมไวในถาน
หิน ก้อนน้ำมันดิบ ไมทำฟน เมื่อเกิดการปฏิกิริยาการเผาไหมจะไดพลังงานความรอนออกมา เปนตน
2. พลังงานศักย เปนพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุอยูบนที่สูงและสามารถเคลื่อนที่ไดจากแรงโนม
ถวงของโลก
3. พลังงานจลน เปนพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ เช่น รถกำลังวิ่ง ธนูกำลังพุงออกไป
หาเปาหมาย เปนตน
ในขณะที่ แหลงพลังงาน สามารถแบงตามการใช้ประโยชนและการนำกลับมาใช้ใหม ได
2 ลักษณะ คือ
1. แหลงพลังงานที่นำมาใช้แลวหมดไป ไดแก่ 1) ถานหิน เกิดจากพืชถูกทับถมในหนองน้ำใต
ดินและโคลนในสภาพที่ไมเนาเปอย แตเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบไมใช้ออกซิเจนโดยแบคทีเรีย ถาน
หินแบงเปน 4 ชนิดตามคุณสมบัติทางดานเคมีและการใหความรอน ไดแก่ พีท ลิกไนต บิทูมินัส และ
แอนทราไซต สำหรับถานหิน การสำรวจถานหินในประเทศไทย พบวาสวนใหญเปนประเภทลิกไนต
แหล ง ถ า นหิ น สำคั ญ ที ่ พ บอยู  ท ี ่ อ ำเภอแม เ มาะ จั ง หวั ด ลำปาง ตำบลบางปู ด ำ จั ง หวั ด กระบี่
อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน 2) น้ำมันปโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของ
ซากพืชและซากสัตวในทะเลที่เกิดขึ้นหลายลานปก่อนในภาวะที่มีความดันและอุณหภูมิสูงมาก จนเกิด
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เปนน้ำมันปโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ การสำรวจน้ำมันปโตรเลียมใน
ประเทศไทย เริ่มตนมาตั้งแตป 2464 กรมรถไฟหลวง มีการสำรวจแหลงน้ำมันที่จังหวัดกาฬสินธุ ซึ่งมี
ลักษณะภูมิประเทศเปนแหลงสะสมปโตรเลียมอยูใตดิน ตอมา ป 2466 กรมรถไฟหลวง ขุดเจาะ
สำรวจพบน้ำมันดิบในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม ป 2499 รัฐบาลมีมติจัดตั้งโรงกลั่นน้ำมันแหงแรก
200

ของประเทศไทยที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม ป 2516 บริษัท ยูโนแคลไทยแลนด จำกัด สำรวจพบ


ก๊าซธรรมชาติในอาวไทยเปนครั้งแรกที่แหลงเอราวัณ ป 2521 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน จัดตั้ง
ปตท. (การปโตรเลียมแหงประเทศไทย) ขึ้นโดยรวมองค์การเชื้อเพลิงและองค์การก๊าซธรรมชาติแหง
ประเทศไทย ซึ่งตรงกับระยะที่ทั่วโลกกำลังเกิดภาวะน้ำมันขาดแคลน ก๊าซธรรมชาติมีองค์ประกอบ
ของมีเทนเปนหลัก 70-80% และองค์ประกอบอื่น เช่น เอทานอล โพรเพน บิวเทน เปนตน ซึ่งลำดับ
สวนในกระบวนการทางวิทยาศาสตรเมื่อเกิดกระบวนการกลั่นน้ำมันปโตรเลียม ไดสารประกอบ
ไฮโดรคารบอนออกมาตามจุดเดือดของสาร (ภาพที่ 4.15) เริ่มจากสวนที่อยูดานบนสุดของหอกลั่น ซึ่ง
มีคุณสมบัติเปนก๊าซ เรียกวา ก๊าซเชื้อเพลิงหรือก๊าซหุงตมในครัวเรือน ถัดมาเปนสวนที่จุดเดือดสูงขึ้น
ไดแก่ น้ำมันเก็บนซีน แนฟทา น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหลอลื่น ตามลำดับ จนถึง
สวนที่มีจุดเดือดสูง คือ บิทูเมน (ยางมะตอย) ซึ่งมีคุณสมบัติเปนของเหลวกึ่งแข็ง 3) หินน้ำมัน
เกิดจากการทับถมของซากพืชและซากพืชบริเวณที่เคยเปนทะเลสาบมาก่อน เมื่อผสมกับหินดินทราย
และถูกอัดแนนเปนเวลานานหลายลานปกลายเปนหินน้ำมันซึ่งมีลักษณะคลาย หินชนวน มีสีดำแข็ง
และ 4) พลังงานนิวเคลียร เปนพลังงานที่ไดจากขบวนการแตกตัว (fission) ของธาตุกัมมันตรังสี โดย
การแตกตัวนี้จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและปลอยพลังงานเปนจำนวนมาก เพื่อใหตัวมันเองเสถียร ซึ่ง
พลังงานนี้ถูกนำมาใช้ในการผลิตไฟฟา

ภาพที่ 4.15 การกลั่นลำดับสวนและผลิตภัณฑจากปโตรเลียม


มาจาก: https://learnneo.in.th/กระบวนการกลั่นน้ำมันดิ/
201

2. แหลงพลังงานที่นำมาใช้แลวเกิดขึ้นใหมได เรียกวา พลังงานหมุนเวียน พลังงานทดแทน


หรือ พลังงานสะอาด มีความหมายไปในทางเดียวกัน คือ เปนแหลงพลังงานที่ปลอดภัย เปนพิษตอ
สิ่งแวดลอมนอยมาก สามารถใช้ทดแทนพลังงานที่ใช้แลวหมดไปได เปนแหลงพลังงานที่เกิดขึ้นมาใหม
ไดตลอดเวลา (ภาพที่ 4.16) ไดแก่ พลังงานชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย พลังงานน้ำ พลังงานลม
พลังงานความรอนใตพื้นพิภพ พลังงานไฮโดรเจนเชื้อเพลิง จากสาหราย พลังงานไฟฟาชีวภาพ จาก
จุลินทรียในน้ำเสียของโรงงานอุตสาหกรรม ไบโอดีเซล จากปาลมน้ำมัน น้ำมันพืช หรือน้ำมันเหลือใช้
จากครัวเรือน รวมทั้งไบโอเอทานอล จากวัสดุอินทรียเหลือทิ้งทางการเกษตร รวมกับการทำงานของ
จุลินทรียที่เปลี่ยนน้ำตาลไปเปนแอลกอฮอล เช่น ยีสต และแบคทีเรียบางชนิด แหลงพลังงานเหลานี้
ไดจากธรรมชาติจึงเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เหมาะสมที่จะนำมาใช้เปนพลังงานในปจจุบันและอนาคต
ทดแทนน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่มีโอกาสหมดไป

ภาพที่ 4.16 แหลงพลังงานที่นำมาใช้แลวเกิดขึ้นใหมได


มาจาก: https://hilight.kapook.com/view/208539
202

4.9.2 สถานการณความตองการใช้พลังงานในประเทศไทย
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2561) รายงานวา ป
2561 ประเทศไทยมีการใช้พลังงานรวมทั้งสิ้น 83,691 พันตัน เทียบเทาน้ำมันดิบ ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น
อยางตอเนื่องมากกวา 10 ป และเพิ่มขึ้นจากป 2560 รอยละ 3.7 โดยใช้พลังงานเชิงพาณิชย (รอยละ
84.6) อันประกอบดวยน้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซธรรมชาติ ถานหิน และไฟฟา เพิ่มขึ้นรอยละ 3.9 และใช้
พลังงานหมุนเวียน (รอยละ 15.4) อันประกอบดวย ฟน ถาน แกลบ กากออยและวัสดุเหลือใช้จาก
การเกษตร เพิ่มขึ้นรอยละ 2.2 คาดวาแนวโนมการใช้พลังงานในอนาคตจะยังคงเพิ่มขึ้นตอไป ตาม
การขยายตัวของการบริโภค จำนวนประชากร และเศรษฐกิจ ไมวาราคาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป
ในตลาดจะมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องเพียงใด ความตองการใช้พลังงานภายในประเทศไมเคย
ลดลง (ภาพที่ 4.17)

ภาพที่ 4.17 สถานการณพลังงานของประเทศไทยป 2561


ดัดแปลงจาก: http://adeq.or.th/พลังงาน/

ประเทศไทยมีแหลงผลิตพลังงานไมเพียงพอตอความตองการของคนในประเทศ จึงตองมีการ
นำเข้าจากตางประเทศ รวมทั้งสิ้น 83,055 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากปก่อนรอยละ 2 โดย
เปนการนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชยกวารอยละ 99.9 ของการนำเข้าพลังงานทั้งหมด และพลังงาน
หมุนเวียนรอยละ 0.1 รวมทั้งแนวโนมความตองการใช้พลังงาน ป 2563 เพิ่มขึ้นดวยเช่นกัน (ภาพที่
4.18) โดยแหลงพลังงานที่มีแนวโนมความตองการเพิ่มขึ้นรอยละ 1.0-1.4 ไดแก่ น้ำมันดิบ ก๊าซ
ธรรมชาติ ถานหิน ลิกไนต ในขณะที่ ความตองการพลังงานทดแทนซึ่งเปนวัสดุที่ไดจากธรรมชาติ
203

เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 3.9 รวมทั้งพลังงานน้ำและไฟฟานำเข้า รอยละ 7.3 จะเห็นไดวาแนวโนมการเลือก


แหลงพลังงานไดมุงเปาไปที่วัสดุธรรมชาติหรือพลังงานที่ไดจากธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น เปนแนวทาง
ปฏิบัติที่ดีทางดานการใช้ประโยชนจากพลังงานหมุนเวียน พลังงานทดแทนที่นำมาใช้เพื่อตอบสนอง
ความตองการการใช้พลังงานในประเทศไทย (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
กระทรวงพลังงาน, 2563)

ภาพที่ 4.18 สถานการณพลังงานของประเทศไทยป 2563


มาจาก: https://www.electricityandindustry.com/แนวโนมทิศทางพลังงาน-2563/

4.9.3 ประโยชนของพลังงาน
ใช้เปนเชื้อเพลิงในการขับเคลื่อนยานพาหนะ ผลิตกระแสไฟฟาใช้ทั่วทั้งประเทศทั้งใน
ครั ว เรื อ น โรงงานอุ ต สาหกรรม ห า งสรรพสิ น ค้ า และอาคารมากมาย เป น เชื ้ อ เพลิ ง ในโรงงาน
อุตสาหกรรม ใช้ในอุตสาหกรรมปโตรเคมี รวมทั้งใช้เปนก๊าซหุงตมในครัวเรือน ปจจุบันพลังงานเปน
สิ่งจำเปนที่มนุษยขาดไมได ดังนั้นเราควรตระหนักถึงความสำคัญของแหลงพลังงาน การนำมาใช้อยาง
204

ถูกวิธี การสรางทดแทน การหาสิ่งอื่นมาทดแทน การพัฒนาวิธีการทางวิทยาศาสตรและนำเทคโนโลยี


มาใช้สรางพลังงานทางเลือก รวมทั้งแนวทางการอนุรักษแหลงพลังงานใหอยูอยางสมดุลและยั่งยืน
4.9.4 ปญหาของพลังงาน
การนำแหลงพลังงานที่ใช้แลวหมดไป เช่น ถานหิน น้ำมันปโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ มาใช้
กลับมีการศึกษาวิจัยพบวา แหลงพลังงานเหลานี้เปนตัวการที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศ และยังสงผล
กระทบตอการเกิดปรากฏการณเรือนกระจก จนนำไปสูสภาวะโลกรอนขึ้นดวย เชื้อเพลิงพลังงานสวน
ใหญเปนพวกฟอสซิลซึ่งประกอบดวยไฮโดรเจนและคารบอน เมื่อมีการเผาไหมไดพลังงานหรือความ
รอนออกมา จะมีการปลอยคารบอนในรูปของก๊าซเรียกวาก๊าซคารบอนไดออกไซดสะสมรวมกับ
ก๊าซเรือนกระจกอื่น (ก๊าซมีเทน ไนตรัสออกไซด โอโซน ซีเอฟซี) บนชั้นบรรยากาศ เรียกวา ชั้นเรือน
กระจก โดยชั้นเรือนกระจกจะดูดซับรังสีความรอนหรือที่เรียกวารังสีอินฟราเรด ทำใหอุณหภูมิของ
โลกเพิ่มสูงขึ้น การที่มีโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น ทำใหระดับน้ำทะเลสูงขึ้นและที่สำคัญคือทำใหภูมิอากาศ
ของโลกเปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกทำใหเกิดผลกระทบตอระบบไหลเวียน
ตามธรรมชาติของน้ำ ไอน้ำ ลม และอื่น ๆ สงผลกระทบทางลบตอระบบนิเวศในวงกวาง ปจจุบัน
ระดับความรุนแรงของภัย ธรรมชาติที่เกิดขึ้นบนโลกมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพภูมิอากาศโลกที่ถูกรบกวนโดยกิจกรรมของมนุษย และหนึ่งในกิจกรรมนั้นคือ การใช้
พลังงานของมนุษย นอกจากนี้ ปญหาของทรัพยากรพลังงานยังมีสาเหตุมาจาก
1. การใช้ พลั งงานอย างไม รู  คุ ณค่ าของมนุ ษย ไม คำนึ ง ถึ ง การสู ญเสี ยพลั ง งาน ร วมกั บ
ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สรางเครื่องมืออำนวยความสะดวกที่ตองใช้พลังงาน
ไฟฟาทั้งสิ้นในการขับเคลื่อน
2. การเผาไหมถานหินซึ่งมีสวนประกอบของกำมะถัน(ซัลเฟอร) จากโรงงานหรือโรงไฟฟาที่มี
การใช้ถานหินเปนเชื้อเพลิงจะทำใหเกิดสารมลพิษหลักคือ ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) ในขณะที่การ
เผาไหมน้ำมันเชื้อเพลิงของรถยนตทำใหเกิดออกไซดของไนโตรเจน (NOX) ซึ่งเมื่อสารมลพิษทั้ง 2
ชนิดลอยขึ้นไปในอากาศจะรวมตัวกับไอน้ำกลายเปนกรดซัลฟูริกและกรดไนตริกและเกิดปฏิกิริยาทาง
เคมีเปลี่ยนเปนสารประกอบซัลเฟตและไนเตรทสะสมในอากาศ จนในที่สุดรวมตัวกับน้ำฝน ตกลงสู
พื้นดินกลายเปน “ฝนกรด” ซึ่งเปนปญหาสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบทั้งตอระบบนิเวศ สุขภาพมนุษย
และสิ่งมีชีวิตอื่น เมื่อฝนที่ตกลงมามีสภาพเปนกรดทำใหสามารถกัดกรอนสิ่งก่อสรางรวมทั้งตนไมและ
พืชพันธุหลายชนิดลมตาย น้ำฝนที่ซึมลงดินหรือไหลบนผิวดินจะทำใหทั้งดินและแหลงน้ำมีสภาพเปน
205

กรด มีผลกระทบตอพืชและสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูบริเวณนั้น จนเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทั้ง


บนบกและในน้ำ
3. ขาดบุคลากรเชี่ยวชาญในการเลือกใช้วิธีการที่ถูกตองเหมาะสมนำแหลงพลังงานแตละ
ประเภทมาใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุด ใช้วัตถุดิบนอย แตไดประโยชนแก่คนหมูมาก
4. ขาดการประเมินรอบดานถึงผลดีผลเสียของการนำแหลงพลังงาน หรือวิธีการนำแหลง
พลังงานมาใช้ รวมทั้งวิธีการพัฒนาและการสรางแหลงพลังงานนั้นทดแทนใหอยูในสภาวะสมดุล
4.9.5 แนวทางการอนุรักษพลังงาน
เมื่อพลังงานกลายเปนปจจัยสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย การอนุรักษทรัพยากรพลังงาน
จึงควรเปนหนาที่ของทุกหนวยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทุกคน เห็นถึงคุณค่า
ตระหนักถึงความสำคัญ และศึกษาข้อมูลที่ถูกตองและวิธีการที่เหมาะสมในการใช้พลังงานแตละ
ประเภท ซึ่งแนวทางการอนุรักษทรัพยากรพลังงานมีมากมาย เราควรเลือกใช้ใหเหมาะสมตามการใช้
ชีวิตประจำวันของเรา แนวทางการอนุรักษ มีดังนี้
1. รั ฐควรสนั บสนุ นเงิ นงบประมาณในการศึ กษาวิ จั ย ทดลองเกี ่ ยวกั บพลั งงานทดแทน
พลังงานทางเลือก พลังงานจากจุลินทรีย ที่คุ้มค่าดานการเงินตอการลงทุน คือ ใช้งบประมาณนอยแต
ไดพลังงานมาก
2. มีหนวยงานรับผิดชอบอยางชัดเจนในการรณรงค์ใหความรู สรางจิตสำนึกในการใช้
พลังงานอยางรูคุณค่า วิธีการใช้พลังงานอยางประหยัดใหแก่ประชาชนในประเทศ
3. มีการคิดค้นนวัตกรรม หรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการสรางแหลงกำเนิดพลังงานที่เหมาะสม
เช่น เครื่องทำความเย็นประหยัดไฟ หรือลดการปลอยก๊าซพิษสูบรรยากาศโลก
4. ปรับปรุงระบบขนสงมวลชนใหมีประสิทธิภาพ เช่นการสรางรถไฟฟา BTS หรือ MRT ตาม
พื้นที่ที่ผูคนเดินทางกันแออัด ลดการใช้รถบนทองถนน
5. มีกฎหมายควบคุมการใช้พลังงานที่ชัดเจนและเข้มงวด
6. การวางผังเมืองที่ดี ช่วยแก้ไขปญหาจราจรและลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

ตัวอยางเช่น มหาวิทยาลัยมีนโยบายอนุรักษพลังงาน โดยการใช้หลอดไฟแบบประหยัดไฟ


รวมกับการใช้ระบบควบคุมการเปด-ปดไฟอัตโนมัติ รวมไปถึงการเปด-ปดเครื่องปรับอากาศ สนับสนุน
การใช้จักรยานในรั้วมหาวิทยาลัยหรือรถไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย (โซลาเซลล) ขับขี่ภายในรั้ว
206

มหาวิทยาลัย โถสุขภัณฑเปนระบบกดน้ำอัตโนมัติ และน้ำทิ้งจากอาคารถูกนำไปรวมกันเพื่อผานการ


บำบั ด ด ว ยวิ ธ ี ท างชี ว ภาพ ก่ อ นปล อ ยสู  ส ิ ่ ง แวดล อ ม หรื อ นำกลั บ มาใช้ ใ นการรดน้ ำ ต น ไม ใ นรั้ ว
มหาวิทยาลัยได

4.10 ทรัพยากรชายฝงและแนวประการัง
ทรัพยากรชายฝงที่สำคัญจะกลาวถึง แนวปาชายเลน และแนวปะการัง ซึ่งปาชายเลนเปน
บริเวณที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ มีลักษณะเชื่อมตอกับพื้นดินและพื้นน้ำทะเล ทำใหน้ำ
บริเวณนี้เปนน้ำกรอย ระบบนิเวศที่มีตนไมและสัตวน้ำเชื่อมตอกับทะเล ปาชายเลน พืชที่เจริญเติบโต
ไดสวนใหญจะเปนไมไมผลัดใบ มีลักษณะทางสรีรวิทยาและการปรับตัวทางโครงสราง ที่คลายคลึงกัน
และการขึ้นของพรรณไมในปาชายเลน จะขึ้นอยูกับแนวเขต ซึ่งแตกตางไปจากสังคมพืชปาบก เพราะ
อิทธิพลจากลักษณะของดิน ความเค็มของน้ำทะเลและการขึ้นลงของน้ำทะเลเปนสำคัญสำหรับ
แนวเขตที่เดนชัด ของปาชายเลน ไดแก่ โกงกาง ทั้งโกงกางใบเล็กและโกงกางใบใหญ จะขึ้นอยู
หนาแนนบนพื้นที่ใกลฝงทะเล ไมแสมและประสัก จะอยูถัดจากแนวเขตของโกงกาง ไมตะบูน จะอยู
ลึกเข้าไปจากแนวเขตของไมแสมและประสัก เปนพื้นที่ที่มีดินเลน แตมักจะแข็ง สวนบนพื้นที่ดินเลนที่
ไมแข็งมากนักและมีน้ำทะเลทวมถึงเสมอ ไมเสม็ด จะขึ้นอยูแนวเขตสุดทาย ซึ่งเปนพื้นที่เลนแข็งที่มี
น้ำทะเลทวมถึงเปนครั้งคราว เมื่อระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดเทานั้น และแนวเขตนี้ถือวาเปนแนวติดตอ
ระหวางปาชายเลนกับปาบก ปรง จะพบทั่วไปในปาชายเลน สำหรับประเทศไทยมีแนวปาชายเลนอยู
ในหลายจังหวัด เช่น จังหวัดจันทบุรี มีการสรางสวนพฤกษศาสตรปาชายเลนรัชกาลที่ 9 แหงแรกของ
ประเทศไทยและเปนแหงแรกของโลก (ภาพที่ 4.19) เพื่อรักษาสมดุลของธรรมชาติฝงบกและฝงน้ำได
เปนที่อนุบาลสัตวทะเล และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ไปพรอมกับการดูแลสิ่งแวดลอมใหอยูอยางสมดุล
ไมถูกทำลายไปดวยกิจกรรมของมนุษย
4.10.1 ความสำคัญของปาชายเลน
จากหนั ง สื อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ ม (ศศิ น า, 2550) และ นิ เ วศวิ ท ยาเพื่ อ
สิ่งแวดลอม (จิราภรณ และนันทนา, 2558) ไดอธิบายความสำคัญของปาชายเลนไว ดังนี้
1. ดานระบบนิเวศ บริเวณปาชายเลนเปนพื้นที่ที่เชื่อมตอบนบกกับน้ำทะเล จึงเปนที่ที่
สัตวน้ำจะมาวางไข่อยางปลอดภัย นับเปนแหลงอนุบาลสัตวน้ำที่เหมาะสมที่สุด เนื่องจากพื้นที่มี
บางสวนอยูบนบกมีดินที่อุดมสมบูรณเปนแหลงธาตุอาหารพืช มีอินทรียวัตถุ และเปนแหลงอาหาร
207

ของสัตวนานาชนิด แนวปาชายเลน ตนไมที่ขึ้นจะมีรากค้ำจุน ช่วยพยุงลำตนใหแข็งแรงสูกับแรงปะทะ


ของคลื่นน้ำทะเลที่พัดเข้ามา รวมทั้งยังช่วยกรองกักเก็บตะกอนของเสียไมใหปนเปอนไปสูทะเล แนว
ปาชายเลนช่วยลดความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงสภาพทางธรรมชาติใหอยูในสภาวะสมดุล ช่วย
รักษาความชุ่มชื้นของผิวดินใหมีน้ำเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืชอยูตลอดเวลา ยังเปนบริเวณที่มี
ผลผลิตสูง มีความหลากหลายทางชีวภาพ

ภาพที่ 4.19 สวนพฤกษศาสตรปาชายเลนรัชกาลที่ 9


มาจาก: https://news.thaipbs.or.th/content/292289

2. ดานการศึกษาและสังคม เปนบริเวณที่ผูคนสามารถอยูอาศัยได เปนแนวบริเวณการ


ติดตอสื่อสารของผูคนชุมชนชายฝง และยังเปนแหลงศึกษาวิจัย ความหลากหลายของพืช สัตว
สัตวน้ำ และระบบนิเวศไดดีมากอีกพื้นที่หนึ่งดวย รวมทั้งความสัมพันธของการใช้ชีวิตชองมนุษยกับ
ระบบนิเวศปาชายเลน หนวยงานที่ดูแลเกี่ยวกับปาชายเลนและบริหารจัดการปาชายเลนของประเทศ
ไทย คือกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
3. ดานเศรษฐกิจ เปนพื้นที่ในการทำประมง เพาะเลี้ยงสัตวน้ำชายฝง เก็บพืชผลจากปาชาย
เลน มีไมทำฟนเผาถาน มีพันธุไมหลากหลายที่สรางมูลค่าทางเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร ประเทศที่มีแนว
208

ปาชายเลนจะสามารถลดเงินงบประมาณในการบริหารจัดการการปองกันคลื่นน้ำทะเลกัดเซาะชายฝง
ได รวมทั้งปาชายเลนยังเปนแหลงทองเที่ยวที่สวยงามและนาสนใจอีกดวย
ตัวอยางการศึกษาวิจัยพันธุพืชปาชายเลนในประเทศไทย โดย แสงจันทร และคณะ (2561)
ไดศึกษาความหลากหลายและโครงสรางของสังคมพืชปาชายเลน จังหวัดชลบุรี พบวา ปาชายเลน
บริเวณที่อยูติดกับชุมชน และบริเวณที่อยูติดชายฝงทะเล มีพันธุไมหลากหลายชนิด ไดแก่ แสมขาว
แสมทะเล ตาตุมทะเล โพทะเล ตะบูนขาว ตะบูนดำ โปรงแดง โกงกางใบเล็ก ลำพู ลำแพน ซึ่งพืช
เหลานี้เปนสมุนไพรไทยที่สามารถนำมาใช้รักษาโรคได รวมทั้งโครงสรางของพืชปาชายเลนในพื้นที่ที่มี
การใช้ประโยชนมีความแตกตางกัน 2 รูปแบบ คือ พื้นที่ปาชายเลนที่อยูติดกับชุมชน พืชปาถูก
นำมาใช้ประโยชนมากกวา ที่อยูติดชายฝงทะเล การศึกษาโครงสรางปาชายเลน เปนสิ่งจำเปนตอการ
เก็บข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญตอการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่อยูในระบบนิเวศปาชายเลน และ
ความสัมพันธของคนในชุมชนนั้น ใหสามารถดำรงชีวิตอยูไดดวยการพึ่งพิงปาชายเลน มีความรูสึกรัก
และหวงแหน ไมทำลายระบบนิเวศปาชายเลนบริเวณที่ตนอยูอาศัย ในขณะที่ ภัทรา และคณะ
(2562) ไดใหความสำคัญของการนำพืชปาชายเลนมาใช้ประโยชน โดยทำการศึกษาพืชปาชายเลน
จังหวัดจันทบุรี ที่สามารถผลิตสีธรรมชาติได นำมาหาวิธีการในการสกัดสีจากพืช เพื่อตอยอด
ภู มิ ป ญญาการย อ มสี ผ  า ธรรมชาติ จ ากพื ช ในท อ งถิ ่ น ร ว มกั บการมี ส  ว นร ว มของคนในชุ ม ชนนั้ น
ผลการวิจัยพบวา มีพืชปาชายเลน 14 ชนิด ไดแก่ ผักบุงทะเล โกงกางใบใหญ ขลู มะเขือคัน เหงือก
ปลาหมอไก่เตี้ย โปรงแดง ตะบูน จาก ประสัก หวายลิง แสมขาว ลำพู ลำแพน โดยไดโทนเฉดสี
ธรรมชาติ คื อ สี น้ ำตาล ไม ว าจะเป นน้ ำตาลอมแดง น้ ำตาลอมเหลื อง และน้ ำตาลอมเขี ยว เมื่ อ
เปรียบเที่ยบพืชปาชายเลนจาก 2 งานวิจัย เห็นไดวา พืชปาสวนใหญเปนพืชชนิดเดียวกัน เปนพืช
สมุนไพรไทยที่สามารถนำมาใช้ในการรักษาโรคได รวมทั้งมีประโยชนในดานอื่นอีกดวย ดังนั้นความ
หลากหลายของพืชปาชายเลนซึ่งเปนปาที่มีลักษณะเฉพาะ จึงมีความสำคัญตอการอนุรักษไวใหคงอยู
จำเปนตองไดรับความรวมมือจากคนที่อาศัยอยูตามชายฝงปาชายเลน ผูที่ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และ
หนวยงานที่เกี่ยวข้อง
4.10.2 ปญหาของทรัพยากรชายฝง
ปจจุบันปาชายเลนของประเทศไทย ซึ่งขึ้นอยูตามบริเวณชายฝงทะเลที่เปนโคลนตมและ
บริเวณที่เชื่อมตอกับแมน้ำลำธารในบริเวณชายฝงของอาวไทย ภาคกลาง ไดแก่ บางขุนเทียน
กรุงเทพฯ สมุทรปราการ สมุครสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชายฝงทะเลดาน
209

ตะวันออก ไดแก่ ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ดานตะวันออกของภาคใต ไดแก่ ชุมพร
สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี และดานตะวันตกของภาคใต ไดแก่ ระนอง
พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล นับแตจะลดพื้นที่ลงเนื่องจากกิจกรรมที่ใช้ประโยชนพื้นที่ปาชายเลน จน
ทำใหเกิดความเสื่อมโทรมทำลายปาชายเลน ซึ่งพอจะจำแนกไดดังนี้
1. การอนุญาตทำไมสัมปทาน ตามวิธีการที่รัฐกำหนดการทำปาไมในเขตสัมปทาน แต
หลีกเลี่ยงไมทำตามข้อกำหนดของรัฐ รวมทั้งการบุกรุกทำลายปา โดยตัดฟนไมเพื่อนำมาใช้ประโยชน
2. การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เฉพาะการทำบอเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ การทำนากุ้ง การทำนาเกลือ
และสถานีเพาะพันธุสัตวน้ำในพื้นที่ปาชายเลนบริเวณพื้นที่โครงการ
3. การเกษตรกรรมในพื้นที่ปาชายเลน
4. การทำเหมืองแรในพื้นที่ปาชายเลน
5. การขยายตัวของชุมชน
6. การก่อสรางทาเทียบเรือทุกขนาด การก่อสรางอูตอเรือและสะพานปลา
7. การก่อสรางถนน รวมทั้งสายสงไฟฟา
8. การก่อสรางโรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟา
9. การขุดลอกรองน้ำ
4.10.3 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรชายฝง
การอนุรักษทรัพยากรชายฝง และปาชายเลนควรเปนหนาที่ของทุกหนวยงาน ทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน และประชาชนทุกคน เห็นถึงคุณค่า ตระหนักถึงความสำคัญ และศึกษาข้อมูลที่ถูกตอง
และวิธีการที่เหมาะสมในอยูรวมกัน การนำทรัพยากรชายฝงมาใช้ประโยชน ซึ่งแนวทางการอนุรักษ
ทรัพยากรชายฝงมีมากมาย มีดังนี้
1. กฎหมายตองเข้มแข็งชัดเจน จับกุมทุกคนที่เข้ามาบุกรุกพื้นที่ปาชายเลนโดยไมกลัว
อิทธิพลของนายทุน
2. รณรงค์ใหความรูสรางความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของปาชายเลน การสูญเสีย
อยางยิ่งใหญถาปาชายเลนถูกทำลาย วิธีการอนุรักษปาชายเลนที่ถูกวิธี แก้ประชาชนทุกคนในประเทศ
3. ช่วยกันปลูกตนไมที่เจริญเติบโตไดในพื้นที่ปาชายเลนทำแนวกั้นปองกันแรงปะทะของลม
และคลื่นน้ำชายฝง
4. ควบคุมการปลอยของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสูปาชายเลน
210

5. ไมอนุญาตใหประชาชนตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัยบุกรุกพื้นที่ปาชายเลนมากจนเกินเขตกำหนด
6. ไมจับสัตวน้ำดวยวิธีที่อันตรายตอสัตวน้ำอนุบาลขนาดเล็ก
7. สนับสนุนเงินงบประมาณในการศึกษาเกี่ยวกับปาชายเลนใหครบทุกดาน พิจารณา
ผลกระทบจากการใช้ประโยชนจากปาชายเลน
4.10.4 แนวปะการัง
หนั ง สื อ Essentials of Biology โดย อิ ศ นั น ท และคณะ (2562) ได เ รี ย บเรี ย งเรื ่ อ งราว
เกี่ยวกับปะการัง ไววา ปะการัง เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก มีโครงสรางหินปูนหอหุมตัว
ออนนุมไวชั้นนอก ดำรงชีพ 2 แบบ คือ อยูตัวเดียว หรืออยูรวมกันเปนกลุม มีรูปทรงเปนแผน เปน
ก้อนหรือกิ่งก้าน ซึ่งเกิดจากปะการังนับลานตัวที่มาเกาะกันอยู โดยมีการสรางโครงสรางหินปูน
แผขยายออกไปกลายเปนแนวปะการัง ปะการังจะเติบโตไดดีเฉพาะบริเวณน้ำทะเลที่มีอุณหภูมิตั้งแต
18-27 องศาเซลเซียส มีแสงแดดพอประมาณไมใช่แดดจัด น้ำไมขุ่นและมีความลึกของน้ำไมเกิน 50
เมตร ดังนั้นแนวปะการังจะเจริญเติบโตและมีอยูเ ฉพาะนานน้ำเขตอบอุนของโลกเทานั้นตัวประการังมี
รูปเปนทรงกระบอก มีขนาดเพียง 1 มิลลิเมตร ถึง 1 เซนติเมตร มีสวนประกอบ 3 สวน คือ สวนฐาน
ซึ่งอยูติดกับโครงสรางแข็ง สวนลำตัวรูปทรงกระบอกและสวนปากที่มีหนวดลอมรอบ ในตอนกลางวัน
ปะการังจะเก็บตัวอยูในโครงแข็ง พอกลางคืนจะแผขยายหนวดออกดักจับเหยี่อที่ลองลอยมากับ
กระแสน้ำ แนวปะการัง (ภาพที่ 4.20) เปนภาพแนวปะการังเกรตแบรริเออรรีฟประเทศออสเตรเลียที่
ปจจุบันไดเกิดความเสียหาย เกิดปรากฏการณปะการังฟอกขาวจากสภาวะโลกรอนขึ้น
ปะการังตัวหนึ่ง เมื่อโตเต็มที่จะขยายพันธุโดยใหกำเนิดปะการังตัวเล็ก ที่สามารถลองลอยไป
ตามกระแสน้ำ และไปเกาะจับกับก้อนหินในทะเล จากนั้นปะการังจะเริ่มสรางโครงสรางที่เปนหินปูน
หอหุมตัวไวและขยายพันธุไปเรื่อย ๆ จนเจริญเติบตัวเปนกลุมก้อนรูปทรงตาง ๆ ตามประเภทของ
ปะการังนั้นในแตละป กลุมประการังจะสามารถสรางโครงสรางหินปูนไดเพียง 6-7 มิลิเมตรเทานั้น
กิ่งก้านสาขาของปะการังที่เราเห็นยาวประมาณ 10 เซนติเมตร นั้นตองใช้เวลานานถึง 10-15 ป
นอกจากนี้แนวปะการังยังเปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต เปนที่หลบภัย ไดแก่
1. สาหรายเซลลเดียว มีความสำคัญมากเพราะทำหนาที่เปนผูผลิต เปนแหลงอาหารใหกับ
สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
2. หญาทะเล รากของหญาทะเลจะยึดตะกอนหนาดินเหนียวเข้าดวยกัน จึงช่วยปองกัน
การกัดเซาะหนาดินใตทะเล เปนอาหารของเตาทะเล ปลาลางชนิด และพะยูน
211

ภาพที่ 4.20 ปรากฏการณปะการังฟอกขาว


มาจาก: https://ngthai.com/environment/34857/coral-reefs-climate-change/

3. ฟองน้ำ เปนสัตวขนาดเล็ก มีลักษณะรูปรางและสีสันสวยงามแตกตางกันไปฟองน้ำจะผลิต


สารที่มีคุณค่าใหแก่เพรียง หญาทะเล และสัตวน้ำอื่น
4. ปะการังออน ปะการังประเภทนี้ จะไมมีโครงรางหินปูนแข็งหอหุมภายนอก แตจะสรางอยู
ข้างในตัว และสามารถสะบัดไหวไปมาตามกระแสน้ำได ปะการังออนนี้จะมีสีสันสวยงาม มีทั้งเปนตน
เปนกอ และเปนแผ
5. กัลปงหา เปนปะการังชนิดหนึ่งที่มีหลายสี รูปทรงแผเปนกิ่งก้านสาขาคลายตนไมก้านหนึ่ง
อาจยาวตั้งแต 2-3 นิ้ว ไปจนถึงเปนเมตร
6. ดอกไมทะเล เปนสัตวขนาดเล็ก มีรูปรางทรงกระบอก ดานลางเปนฐานยึดติดกับก้อนหินมี
หนวดอยูดานบน หนวดนี้จะมีเข็มพิษสำหรับจับปลาตัวเล็กกินเปนอาหาร ดอกไมทะเลมีสีสวยงาม
มากตั้งแตสีมวง ชมพู เขียว น้ำเงิน แมดอกไมทะเลมีหนวดที่มีเข็มพิษ แต จะมีปลาชนิดหนึ่งที่อาศัย
อยูในดงดอกไมทะเลคือ ปลาการตูนซึ่งจะคอยกินเศษอาหารที่เหลือจากดอกไมทะเล
7. สัตวอื่นที่อาศัยในแนวปะการัง ไดแก่ หอย เช่น หอยเบี้ย หอยมือเสือ และหอยสังข์แตร
หมึกทะเล กุ้งและปู ปลา เช่นปลาสิงโต ปลานกแก้ว ปลาการตูน ปลาเก๋า นอกจากนั้น ยังมีพวก
ปลิงทะเล หอยเมน ดาวทะเล อีกดวย
212

หากแนวปะการังตองเสียหายดวยสาเหตุจากกิจกรรมของมนุษยที่ก่อใหเกิดสภาวะโลกรอน
ขึ้น และสงผลกระทบใหน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้น จะเกิดผลกระทบอยางมากเพียงใดกับสิ่งมีชีวิต
จำนวนมากในทะเล ดังกลาวมาแลวข้างตน
4.10.5 ประเภทของแนวปะการัง
ปะการังเกิดการจัดเรียงตัวกันขึ้นตามสภาพธรรมชาติของการหมุนเวียนน้ำทะเล และเกิดเปน
รูปรางหลากหลาย จึงมีการจัดประเภทของแนวปะการัง ไวดังนี้
1. แนวปะการังชายฝง เปนแนวปะการังที่ก่อตัวติดกับชายฝง อยูหางจากชายฝงไมเกิน 1
กิโลเมตร หรือรอบเกาะ พบทั่วไปตามชายฝงทะเล ในประเทศไทยพบเฉพาะแนวปะการังชายฝง
2. แนวปะการังแบบกำแพง เปนแนวปะการังที่ก่อตัวเปนสันอยูหางชายฝงออกไป โดยมีรอง
น้ำลึกกวางคั่นระหวางแนวปะการังชนิดนี้กับชายฝง (lagoon) มักพบบริเวณคลื่นลมสงบ ที่รูจักกันดี
คือ แนวปะการังเกรตแบรริเออรรีฟของประเทศออสเตรเลีย แนวปะการังที่ใหญที่สุดในโลก (ภาพที่
4.21) มีความยาวประมาณ 1370 ไมล
3 ปะการังรูปเกือกมา เปนแนวปะการังที่ก่อตัวคลายรูปวงแหวนลอมรอบ lagoon พบตาม
หมูเกาะในมหาสมุทร เช่น หมูเกาะมัลดีฟส อยูลึกลงไปในทะเลไกลจากชายฝงมาก

ภาพที่ 4.21 แนวปะการังเกรตแบรริเออรรีฟประเทศออสเตรเลีย


มาจาก: https://www.instyletravels.com/เกรตแบรริเออรรีฟgreat-barrier-reef-38225.page
213

การก่อตัวของแนวปะการังแบบกำแพง และแบบรูปเกือกมา เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลง


ของ แนวปะการังชายฝงรอบภูเขาไฟที่จมตัวลง โดยที่ปะการังจะเริ่มก่อตัวเปนแนวชายฝงรอบภูเขาไฟ
ก่อน จากนั้น เมื่อภูเขาไฟที่จมตัวลง แนวปะการัง โดยเฉพาะบริเวณขอบนอกจะค่อย ๆ เจริญยกตัว
ขึ้ น เพื ่ อ ให ค งอยู  ใ กล ร ะดั บ น้ ำ ทะเล ในระยะนี ้ จ ะ เกิ ด เป น Lagoon ระหว า งเกาะภู เ ขาไฟและ
แนวปะการัง จึงเกิดแนวปะการังแบบกำแพง ตอมาภูเขาไฟจมตัวลงหมด สวนแนวปะการังยังคงเจริญ
ยกตัวขึ้นสูระดับน้ำทะเล จึงเกิดเปนแนวปะการังแบบรูปเกือกมา
4.10.6 ความสำคัญของแนวปะการัง
แนวปะการังบริเวณชายฝงและแนวปะการังแบบกำแพงจะทำหนาที่ปองกันชายฝงจากการ
กัดเซาะของคลื่น กระแสน้ำโดยตรง ถาไมมีแนวปะการังนี้ชายฝงทะเลจะถูกคลื่นลมทะเลทำลายอยาง
รุนแรง ก่อใหเกิดความเสียหายตอชายฝง และระบบนิเวศ แนวปะการังเปนตัวสรางทรายใหกับ
ชายหาด โดยเกิดจากการสึกกรอนของโครงสรางหินปูนจากคลื่นลมและสัตวบางชนิด-แนวปะการัง
เปนแหลงอาหารมนุษย เพราะมีสัตวที่อยูในแนวปะการังมากมาย เช่น ปลาหมึก หอย กุ้ง แมงกะพรุน
เปนตน-สารพิษบางอยางที่สัตวทะเลในแนวปะการังสรางเพื่อปองกันตนเองนั้น สามารถนำมาสกัดใช้
ทำยาได เช่น ยาตานมะเร็ง เปนตน รวมทั้งแนวปะการังและสิ่งมีชีวิตที่สวยงามใตทองทะเล เปนแหลง
ทองเที่ยวดึงดูดนักทองเที่ยว สรางรายไดทางเศรษฐกิจใหกับประเทศนั้น
4.10.7 ปญหาของแนวปะการัง
ปจจุบัน สภาพภูมิอากาศทั่วโลกไดเกิดการเปลี่ยนแปลงไปมาก การเสื่อมโทรมของปะการัง
เมื่อเกิดปรากฏการณเอลนีโญ เหตุการณนี้ทำใหน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้นจากเดิมมากจนผิดปกติ เกิด
ปรากฏการณปะการังฟอกขาว รวมทั้งปะการังถูกทำลายโดยพายุหมุนใตน้ำที่พัดรุนแรง หรือการถูก
สัตวทะเลบางชนิดกัดกินเปนอาหาร และยังมีสาเหตุอื่นอีก เช่น
1. การทำประมง เรือประมงจับสัตวน้ำ มีการทิ้งสมอเรือและการถอนสมอเรือทำลายแนว
ปะการัง
2. โรงงานอุตสาหกรรมปลอยน้ำเสีย ขยะมูลฝอยลงสูทะเล สารพิษจากน้ำเสียทำลายปะการัง
3. การทองเที่ยว สรางสถานที่ทองเที่ยวทางทะเลลึกลงไปบริเวณชายหาด
4. กิจกรรมการดำน้ำดูปะการัง มีการจับ หัก หยิบปะการังเลน
5. การทำเหมืองแร
214

ภาพที่ 4.22 ปะการังฟอกขาว


มาจาก: http://www.marinerthai.net/forum/index.php?topic=9711.0

6. สภาวะโลกรอนที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย ทำใหน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้นตามไปดวย ทำ
ใหปะการังฟอกขาว (ภาพที่ 4.22)
4.10.8 แนวทางการอนุรักษแนวปะการัง
ปะการังเปนสัตวทะเลที่เปนดัชนีบงบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของน้ำไดดี และเปน
สวนหนึ่งของการอธิบายวา อุณหภูมิโลกที่รอนขึ้นทำใหอุณหภูมิของน้ำทะเลรอนขึ้นดวย จึงไปสงผล
กระทบตอการดำรงชีวิตของปะการัง รวมไปถึงพืชและสัตวทะเล สงผลใหระบบนิเวศทางทะเลมีการ
เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นแนวทางการอนุรักษปะการัง จึงตองการความรวมมือของทุกหนวยงาน และทุก
คนใหความสำคัญ ศึกษาข้อมูลวิธีการที่ถูกตองในการรักษาแนวปะการัง รวมทั้งปองกัน ฟนฟูแนว
ปะการังใหกลับมามีสภาพดังเดิม ดวยแนวทาง ดังตอไปนี้
1. ออกกฎหมายคุ้มครองปะการังและสิ่งมีชีวิตในทองทะเล กำหนดพื้นที่ควบคุมที่ชัดเจน
ไมใหมีผูบุกรุก
2. รณรงค์ ประชาสัมพันธใหความรู สรางความเข้าใจ ปลูกจิตสำนึกในการรักปะการังและ
สิ่งมีชีวิตในทองทะเล รวมทั้งการอนุรักษฟนฟูแนวปะการังที่ถูกวิธี
3. ยกเลิกกิจกรรมการดำน้ำเพื่อดูปะการัง เปลี่ยนมาใช้เรือทองกระจกเพื่อใหดูปะการังแทน
215

4. ไมทิ้งสมอเรือในแนวปะการัง การทอดสมอเรือในแนวปะการังเพื่อจอดเรือในแตละครั้งจะ
สรางความเสียหายใหกับปะการัง ปจจุบันไดมีการแก้ไขโดยการวางทุนเพื่อผูกเรือแทนการทอดสมอ
เรือ เพื่อปองกันปะการังไดรับอันตรายเสียหาย
5. ไมจับ หัก หยิบปะการังเลน
6. ไมทิ้งขยะลงสูทะเล เช่น กระปอง เหล็ก ขยะที่มีน้ำหนัก อาจกระแทรกทำใหปะการัง
เสียหายแตกหัก เสียชีวิต
7. ลดกิจกรรมที่ก่อใหเกิดสภาวะโลกรอนขึ้นทุกรูปแบบ
216

สรุปทายบท
ทรัพยากรธรรมชาติมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย เปนวัตถุดิบสำหรับปจจัย 4 คือ
อาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค และที่อยูอาศัย รวมทั้งมีความสำคัญตอการใช้ชีวิตของสัตวและพืช
มนุษยตองอาศัยอยูรวมกับสิ่งแวดลอมทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ จึงหมายถึง สิ่งที่
เกิดขึ้นเองหรือมีอยูแลวตามธรรมชาติ มนุษยนำมาใช้ประโยชนในดานใดดานหนึ่ง ไดแก่ ทรัพยากร
ดิน น้ำ อากาศ สัตวปา ปาไม แรธาตุ พลังงาน ปะการังและชายฝง แสงอาทิตย เปนตน การจัด
ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ไดแก่ ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมหมดสิ้น ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้
แลวหมดไป ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวสามารถสรางทดแทนได ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของ
ประเทศไทย การเรียนรูแหลงกำเนิดทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ
สาเหตุของการเกิดปญหาความเสื่อมโทรม และแนวทางการแก้ไขปญหาทรัพยากรธรรมชาติ ลวน
มีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณถือเปนทรัพยสินอัน
ล้ ำ ค่ า ของดิ น แดนประเทศนั ้ น หากปล อ ยให ท รั พ ยากรธรรมชาติ เ สื ่ อ มโทรมเสี ย หายถื อ เป น
ความหายนะของคนในประเทศนั้น การปลูกฝง สรางจิตสำนึกและตระหนักถึงผลเสียที่เกิดจากความ
เสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ไมวาจะเปนทรัพยากรน้ำที่มนุษยจำเปนตองใช้เพื่อความอยูรอด
ในการดำรงชีวิต การอุปโภคบริโภค น้ำเปนองค์ประกอบที่อยูภายในรางกาย มนุษยขาดน้ำไมได
ทรัพยากรดินที่จำเปนตออาชีพทางการเกษตร การผลิตอาหารสำหรับบริโภคของสิ่งมีชีวิต การสรางที่
อยูอาศัย เปนตน การอยูรวมกันระหวางมนุษยกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตองเปนไปตาม
ความสมดุลของธรรมชาติ เมื่อมนุษยนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้แลวควรสรางคืนทดแทนของเดิม
อยางถูกวิธีและยั่งยืน
217

แบบฝกหัดบทที่ 4
1. ทรัพยากรธรรมชาติมีความสำคัญตอมนุษยอยางไร จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

2. ทรัพยากรธรรมชาติแบงออกเปน 3 ประเภทตามการใช้ประโยชน คือ


1) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมหมดสิ้น
2) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวหมดไป และ
3) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวสามารถสรางทดแทนได
จงวิเคราะหทรัพยากรธรรมชาติแตละประเภท ดังตอไปนี้
ปจจัย ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติที่
ที่ใช้แลวไมหมดสิ้น ที่ใช้แลวหมดไป ใช้แลวสามารถสราง
ทดแทนได
ตัวอยางทรัพยากร
ความสำคัญตอการ
ดำรงชีวิตของมนุษย
เปนทรัพยากรที่จำเปน
หรือ ทรัพยากรเกิน
ความจำเปน
คุณภาพของทรัพยากร
218

ผลกระทบตอการ
ดำรงชีวิตของมนุษย
หากเกิดเหตุการณ
ทรัพยากรขาดแคลนไม
เพียงพอตอความ
ตองการ
ความสามารถในการ
ฟนฟูขึ้นมาใหม

3. เมื่อทานไปเที่ยวอุทยานแหงชาติแหงหนึ่งดวยการขับรถยนตตั้งแตเช้า พอไปถึงอุทยานแหงชาติพบ
พระอาทิตยขึ้นสองแสงสวาง ทางเข้าพบทอนไมขนาดใหญมีการแกะสลักชื่ออุทยานแหงชาติแหงนั้นไว
เมื่อขับไปบนถนน 2 ข้างทางจะพบแนวตนไมทั้งขนาดใหญ ตนไมขนาดกลาง ไมพุมขนาดเล็กและ
ตนหญามากมายเขียวขจี อยูบนพื้นดิน มีเสียงนกรอง เสียงน้ำไหล มีก้อนเมฆสีขาวเปนปุยนุนลอยอยู
บนทองฟาสวยงาม อากาศเย็นสบาย เมื่อขับไประยะทางหนึ่ง ทานตองหยุดรถ เพราะมีฝูงช้างโครง
ใหญกำลังเดินข้ามฝงเข้าไปในปา เมื่อทานขับรถตอไปจะพบลิงหลายตัว พบสัตวปาอีกหลากหลาย
ชนิด พอถึงเวลาค่ำพระอาทิตยตก ทานเข้าพักในพื้นที่ที่อุทยานแหงชาติอนุญาต ทานกางเตนทนอน
ชมดาว อากาศค่อนข้างหนาวและแหง พอถึงกลางดึก เกิดไฟปาไหมเปนแทบในระยะทางยาว กวาไฟ
ปาจะสงบลงใช้เวลานานหลายชั่วโมง เมื่อถึงตอนเช้าของอีกวันทานเดินทางดวยการขับรถยนตกลับ
บานดวยความปลอดภัย จากเหตุการณดังกลาว จงวิเคราะหวาในเหตุการณนี้ มีทรัพยากรธรรมชาติ
ใดบาง เกิดเหตุการณความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติใดบาง ทานมีแนวทางการปองกันแก้ไข
ความเสียหายที่เกิดกับทรัพยากรธรรมชาตินั้นอยางไร จงบอกมาอยางนอย 2 ข้อ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
219

4. จงยกตัวอยางการใช้ประโยชนจากทรัพยากรแรธาตุกัมมันตรังสี
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

5. ประโยชนของแนวปะการังมีอะไรบาง จงอธิบาย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
220

เอกสารอางอิง
กองบรรณาธิการ. (2555). จังหวัดระนองจังหวัดนำรองแหลงมรดกของชาติไทย. วารสารธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม. 1 (2): 6-25.
คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. (2557). สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต.
พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
จิราภรณ คชเสนี และนันทนา คชเสนี. (2558). นิเวศวิทยาเพื่อสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ณัฐญา อัมรินทร. (2556). วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
ณัฐญา อัมรินทร. (2562). พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
ทิพยวัลย เรืองขจร. (2554). วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ทรงธรรม สุขสวาง. (2558). ความขัดแยงของคนกับช้างปาในประเทศไทย. วารสารธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม 4(2): 4-13.
นันทรพัช ไชยอัครพงศ. (2563). การลักลอบค้าสัตวปาที่เกิดขึ้นในไทย: ปญหาการบังคับใช้กฏหมาย
และข้อทาทาย. วารสารกระบวนการยุติธรรม. 13(3): 21-36.
เบญจวรรณ ชิวปรีชา และวิชญา กันบัว. (2565). ความหลากชนิดและลักษณะสังคมพืชปาชายเลน
บริเวณโรงไฟฟาบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิจัยนิเวศวิทยาปาไมเมืองไทย 6(1): 49-
62.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร และดาวจรัส เกตุโรจน. (2561). คุณภาพปุยมูลไสเดือนดินจากเถามันเทศเหลือ
ทิ้งตอการเจริญเติบโตของผักกวางตุง. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ. 6(2): 124-133.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร และอุทาน บูรณศักดิ์ศรี. (2562). ปุยหมักมูลไสเดือนดิน: เทคโนโลยีชีววิถียุค
ดิจิทัลเพื่อการอนุรักษดินและการจัดการขยะอินทรียในประเทศไทย. วารสารวิจัยราชภัฎพระนคร
สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 14(2): 170-182.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร อุทาน บูรณศักดิ์ศรี และกิตติ บุญเลิศนิรันดร. (2564). ผลของปุยมูลไสเดือนดิน
รวมกับแหนแดงตอการเจริญเติบโตของผักสลัดกรีนโอค. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลศรีวิชัย. 13(2), 343-356.
221

ภัทรา ศรีสุโข ณภัค แสงจันทร ธนกฤต ใจสุดา และกรชนก บุญฑร. (2562). การศึกษาสีธรรมชาติ
จากพันธุพืชปาชายเลน ตำบลบอ อำเภอลุง จังหวัดจันทบุรี โดยกระบวนการมีสวนรวมของ
ชุมชน. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 13(1): 64-73.
ศศินา ภารา. (2550). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท.
แสงจันทร วายทุกข์ นภวรรณ ฐานะกาญจน พงษเขียว และลดาวัลย พวงจิตร. (2561). ความ
หลากหลายและโครงสรางของสังคมพืชปาชายเลนของชุมชนตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง
จังหวัดชลบุรี. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 10(2): 307-323.
อินทนิล อินทชยะนันท. (2555). การปองกันน้ำทวมและการบริหารจัดการน้ำทวมของสาธารณรัฐ
สิงคโปร. วารสารธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1(1): 18-25.
อรุณี วงศปยะสถิต. (2549). การกลายพันธุ: เพื่อการปรับปรุงพันธุพืช. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร.
Ibanga, D.A. (2017). Patterns, trends, and issues of illicit wildlife hunting and trade:
analysis based on African environmental ethics. International Journal of
Development and Sustainability. 6 (11): 1865-1890.
Mader, S.S. and Windelspecht, M. Essentials of Biology. (2562). แปลโดย อิ ศ นั น ท วิ ว ั ฒ น
รัตนบุตร, พหล โกสิยะจินดา, ระพี บุญเปลื้อง และ ณัฐพล ออนปาน. พิมพครั้งที่ 4. เลมที่ 2.
กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล อินเตอรเนชั่นแนล เอ็นเตอรไพรส แอลแอลซี.
222

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
กรมทรัพยากรธรณี. (2559). แร [online] แหลงที่มา: https://www.dmr.go.th/แร/ความรูทั่วไป
เกี่ยวกับทรัพยากรแร/ วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2561). สถานการณพลังงานไทย
ป 2561 [online] แหล ง ที ่ ม า: https://www.dede.go.th/download/stat62/sit_2_61
_dec.pdf. วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2563). สถานการณพลังงานไทย
ป  2 5 6 3 [online] แ ห ล  ง ท ี ่ ม า : https://www.dede.go.th/download/general_63/
sit2_jan2020.pdf. วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม 2564.
กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2565). การ
สำรวจธรณี ฟ  ส ิ ก ส เ พื ่ อ หาแหล ง แร [online] แหล ง ที ่ ม า: https://www.dmr.go.th/wp-
content/uploads/2022/09/1-Poster-ธรณี ฟ  ส ิ ก ส เ พื ่ อ หาแหล ง แร . pdf วั น ที ่ ส ื บ ค้ น 11
เมษายน 2566.
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. (2560). ความสำคัญของปาทุงใหญนเรศวรกับการก่อสรางเขื่อนน้ำโจน
[online] แหลงที่มา: https://www.seub.or.th/บทความ/ความสำคัญของปาทุงใหญ/ วันที่
สืบค้น 6 เมษายน 2566.
สำนักจัดการที่ดินปาไม กรมปาไม. (2564). บทสรุปสำหรับผูบริหารโครงการจัดทำข้อมูลสภาพพื้นที่
ป า ไม ป  พ.ศ.2564 [online] แหล ง ที ่ ม า: https://forestinfo.forest.go.th/Content/file/
ForestArea/ForestArea_2564.pdf วันที่สืบค้น 6 เมษายน 2566.
223

บทที่ 5
มลพิษสิ่งแวดลอมในประเทศไทย

5.1 บทนำ
มลพิษสิ่งแวดลอม ผลกระทบที่มีสาเหตุมาจากการกระทำของมนุษย สัตว เชื้อจุลินทรีย
ก่อโรค และปรากฏการณทางธรรมชาติหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งสาเหตุสำคัญของปญหามลพิษ
สิ ่ ง แวดล อ มนั ้ น มาจากมนุ ษ ย ม ากกว า สาเหตุ อ ื ่ น เมื ่ อ ประชากรโลกเพิ ่ ม ขึ ้ น ความต อ งการนำ
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้มีเพิ่มขึ้นดวย รวมทั้งความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใน
ศตวรรษที่ 21 ที่ก้าวกระโดดอยางรวดเร็ว มนุษยสรางสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย จนลุกล้ำ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทำใหความสมดุลถูกทำลาย อีกทั้งการนำทรัพยากรธรรมชาติมา
ใช้อยางฟุมเฟอย สิ้นเปลืองเกินความจำเปน ในขณะที่ธรรมชาติสรางขึ้นทดแทนไมเพียงพอ ที่สำคัญ
ยังมีการปลอยของเสียสูสิ่งแวดลอม กลายเปนปญหามลพิษหลายดาน ไมวาจะเปนมลพิษขยะ มลพิษ
ทางน้ำ มลพิษทางดิน มลพิษทางอากาศ มลพิษทางความรอน มลพิษทางเสียงและการสั่นสะเทือน
รวมไปถึงมลพิษทางอาหาร การตระหนักรูถึงสาเหตุของการเกิดมลพิษ มลสารซึ่งเปนตัวการก่อใหเกิด
มลพิษ ปญหาจากการเกิดมลพิษ ตลอดจนแนวทางการปองกันแก้ไขปญหามลพิษ มีความจำเปนอยาง
ยิ่งสำหรับทุกคนบนโลก มลพิษไมเพียงแตจะสรางความเสียหายโดยตรงใหกับทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม เกิดการเสียสมดุลแลว มลพิษยังสงผลกระทบทางลบตอคุณภาพชีวิตของมนุษยอีกดวย
ดังนั้นความรูความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ควรเกิดควบคู่ไปกับการรักษาสมดุลของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปองกันการเกิดมลพิษดานตาง ๆ

5.2 ความหมายของมลพิษและมลสารสาเหตุที่ก่อใหเกิดมลพิษ
ปญหาสิ่งแวดลอมในปจจุบันที่เห็นไดชัดเจน ไดแก่ ทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสื่อมโทรม
ลดปริมาณลงและหมดไป ภาวะการเกิดมลพิษสิ่งแวดลอมหรือคุณภาพของสิ่งแวดลอมไมดี สงผล
กระทบต อ สุ ข ภาพอนามั ย ของมนุ ษ ย ทั ้ ง สุ ข ภาพกายและสุ ข ภาพจิ ต รวมไปถึ ง การเกิ ด มลพิ ษ
สิ่งแวดลอมทางสังคม ไมวาจะเปนการไมเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน เกิดอาชญากรรม ความไมเปน
ระเบียบของสังคม แมกระทั่งสื่อออนไลนที่สงผลกระทบตอจิตใจมนุษย ทำใหจิตใจออนแอ หรือการ
224

เปลี่ยนแปลงระบบทางการเมือง เศรษฐกิจ มีผลกระทบตอความเปนอยูของมนุษยและสุขอนามัยดวย


เช่นกัน
5.2.1 ความหมายของมลพิษ
มลพิษ (pollution) คือสภาพแวดลอมที่เสื่อมโทรมลง ที่มักเกิดจากการกระทำของมนุษยทั้ง
ตั้งใจและไมตั้งใจ เนื่องจากมีมลสารหรือสารก่อใหเกิดมลพิษ (pollutant) ไดแก่ ของเสีย วัตถุ
อันตราย กากตะกอน สิ่งตกค้างจากแหลงกำเนิดมลพิษ ปริมาณมากถูกปลอยออกสูสิ่งแวดลอม ทำให
สิ่งแวดลอมที่เคยมีสภาพดี เกิดความเสื่อมโทรมลง ก่อใหเกิดผลเสียตอสุขภาพอนามัยของมนุษย
ก่อใหเกิดผลกระทบตอการดำรงชีวิตของสัตว และพืช (คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี
และชีวิต, 2557)
ดังนั้น มลพิษสิ่งแวดลอม จึงหมายถึง สิ่งแวดลอมที่ทำใหสุขภาพรางกาย จิตใจ สังคมเสื่อม
โทรมลง เกิดการเจ็บปวย ไมมีความปลอดภัย เปนสาเหตุใหเกิดโรคระบาดได และสงผลกระทบวง
กวางถึงเศรษฐกิจของประเทศ
5.2.2 มลสารหรือสารก่อใหเกิดมลพิษ
มลสารอาจอยูในรูปของผสมที่เปนแก๊ส ของแข็งหรือของเหลวได มลสารนี้อาจเกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติหรือเกิดมาจากกิจกรรมของมนุษย เปนไดทั้งสารอินทรียหรือสารอนินทรีย ดังนั้น
มลสารจึงเปนสิ่งอันตรายหรือเปนภัยตอสิ่งมีชีวิตที่อยูอาศัยอยูในสิ่งแวดลอมบริเวณนั้น ปญหาของ
มลสารจะเกิดผลกระทบมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับปจจัย ตอไปนี้
1. ชนิดและความเข้มข้นของมลสาร
2. สิ่งแวดลอมที่มลสารเข้าไปเกี่ยวข้อง เช่น มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางดิน มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางอากาศ แมกระทั่งมลสารบางชนิดที่ก่อใหเกิดมลพิษหลายดานรวมกัน เช่น ก๊าซที่ปลอยจาก
โรงงานอุตสาหกรรม ก่อใหเกิดมลพิษทางดิน ทางน้ำ และทางอากาศ เปนตน
3. ลักษณะความเจริญของทองถิ่นหรือประเทศนั้น เช่น ประเทศพัฒนาแลว จะมีกลไกการ
ควบคุมมลพิษจึงเกิดปญหามลพิษรุนแรงนอยกวาประเทศที่กำลังพัฒนา จะเห็นไดวา ประเทศที่กำลัง
พัฒนา เกิดปญหามลพิษสะสมเรื้อรัง และเกิดโรคติดตอจากเชื้อจุลินทรียก่อโรค เปนเหตุมาจาก
ประเทศที่กำลังพัฒนา ประชากรสวนใหญยังยากจน ขาดการศึกษา รูเทาไมถึงการณ จึงมีวิธีกำจัดสิ่ง
สกปรกปฏิกูลไมถูกสุขลักษณะ รวมทั้งข้อสำคัญกฎหมายควบคุมดานสิ่งแวดลอมของประเทศไม
เข้มแข็ง คนในประเทศขาดการปลูกจิตสำนึกและตระหนักรูในเรื่องของการรักษาสิ่งแวดลอมใหยั่งยืน
225

ลักษณะที่บอบอกวาเปนมลสาร พิจารณาจาก สารนั้นมีผลกระทบทางชีววิทยาอยางมี


นัยสําคัญที่ความเข้มข้นต่ำ สารนั้นมีการกระจายตัวสม่ำเสมอตลอดเวลาในอากาศ หรือละลายในน้ำ
ได รวมทั้งมีแนวโนมที่จะสะสมอยูในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต หรือสวนใหญละลายไดดีในไขมันไดดวย
สารนั้นมีคุณสมบัติคงตัวในสิ่งแวดลอม สามารถแตกตัวหรือรวมกับสารอื่นไดดี ทําใหเกิดสารที่มีพิษ มี
คุณสมบัติคงตัว และ สามารถเข้าสูรางกาย หรืออาจสะสมอยูในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตได มีผลกระทบ
ตอสิ่งมีชีวิตอยางกวางขวาง ทั้งมนุษย พืช สัตว และสมดุลของระบบนิเวศโลก เปนผลจากการผลิต
เปนจํานวนมากขององค์ประกอบที่สําคัญของสังคม ผลเสียที่เกิดขึ้น กับสิ่งแวดลอมถูกละเลยจากการ
ประเมินค่าในแง่ของตนทุนและผลประโยชนทางเศรษฐกิจ
5.2.3 ประเภทของมลสาร
หนังสือ Environmental pollution and control (Peirce et al., 1998) ไดอธิบายเกี่ยวกับ
ประเภทของมลสาร สามารถสรุปไดดังนี้ มลสารที่แบงตามการยอยสลายดวยวิธีทางชีววิทยา ไดแก่
1. มลสารประเภทที่ยอยสลายตัวไมไดดวยวิธีการทางชีววิทยา (nondegradable หรือ
nonbiodegradable pollutants) ไดแก่ โลหะหนัก หรือสารวัตถุอันตรายจาก เช่น ปรอท ตะกั่ว
สารหนู แคดเมียม สารเคมีทางการเกษตร เปนตน
2. มลสารประเภทที ่ ย  อ ยสลายได ด  ว ยวิ ธ ี ก ารทางชี ว วิ ท ยา (degradable หรื อ
biodegradable pollutants) ไดแก่ ขยะมูลฝอยชนิดสารอินทรีย น้ำทิ้งจากโรงงาน บานเรือน ชุมชน
เปนตน มลสารแยกยอยเฉพาะตามลักษณะของการเกิดภาวะมลพิษไดหลายแบบ เช่น มลสารทาง
อากาศ มลสารทางน้ำ มลสารทางดิน มลสารทางอาหาร มลสารทางเสียง เปนตน
มลสารที่แบงตามสถานะของสาร ไดแก่
1. มลสารที่มีสถานะเปนก๊าซ เช่น ก๊าซคารบอนไดออกไซด ก๊าซซัลเฟอรไดออกไซด กลุมก๊าซ
ไนโตรเจนออกไซด ก๊าซมีเทน รวมทั้งไอระเหยของสารพิษ เปนตน
2. มลสารที่มีสถานะเปนของเหลวหรือละลายน้ำได เช่น สารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืช ปุยเคมี
ชนิดน้ำ ผลิตภัณฑอุปโภคในชีวิตประจำวันที่ถูกชะลางไดดวยน้ำ ยากำจัดวัชพืช ไขมันและน้ำมันในน้ำ
เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน
3. มลสารที่มีสถานะเปนของแข็ง เช่น ปุยเคมีที่ใช้ในการเกษตร มูลสัตว ของเสียจากฟารม
วัสดุเหลือทิ้งจากการทำเกษตรกรรม ขยะอินทรียจากครัวเรือน ชุมชน ขยะอันตรายจากโรงงาน
อุตสาหกรรม โลหะหนัก เปนตน
226

5.2.4 ปจจัยที่ก่อใหเกิดมลพิษสิ่งแวดลอม
สิ่งปนเปอนหรือมลสารที่ปนเปอนในสิ่งแวดลอม มีผูกระทำใหเกิดมลสารและกระจายมลสาร
ออกไปสูสิ่งแวดลอม และมีผูอื่นไดรับผลกระทบในทางลบเกิดการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตไป โดย
แหลงกำเนิดมลพิษสิ่งแวดลอม สวนใหญมากจากการกระทำของมนุษย ไมวาจะเปน การทิ้งขยะจาก
อาคารบานเรือน ชุมชน ควันที่เกิดจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมกลายเปนฝุนลอยไปใน
อากาศ (ภาพที่ 5.1) สิ่งเหลือทิ้งจากการทำเกษตร การเผาวัสดุเหลือทิ้งจากการทำเกษตร การทหาร
บริเวณก่อสราง วัสดุตดิ เชือ้ และขยะจากโรงพยาบาล การเผาไหมเชื้อเพลิงของยานพาหนะ ในบางครั้ง
มลพิษสิ่งแวดลอมมาจากภัยทางธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิด เปนตน

ภาพที่ 5.1 แหลงกำเนิดมลพิษสิ่งแวดลอมที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม

สำหรับมลพิษสิ่งแวดลอมในประเทศไทย เมื่อจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่มีสิ่งแวดลอม
จำกัด การแข่งขันจึงเกิดขึ้น ความตองการปจจัย 4 ที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติและมีอยู
อยางจำกัด และลดลงเมื่อถูกนำมาใช้ หากมนุษยไมช่วยกันรักษาหรือสรางทดแทนทรัพยากรธรรมชาติ
จะหมดไป ทรั พ ยากรธรรมชาติ ท ี ่ เ คยสมดุ ล ถู ก ทำลายเกิ ด ความเสื ่ อ มโทรมและหมดไปในที ่ สุ ด
สิ่งเหลานี้จะสงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพชีวิตความเปนอยูของมนุษยแนนอน รวมทั้งสงผลกระทบ
ตอสัตวและพืชดวย มลพิษที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้นกลายเปนปญหาสิ่งแวดลอม สงผลกระทบ
โดยตรงตอคุณภาพชีวิตของคนในประเทศ และสงผลกระทบทางออมตอสภาพเศรษฐกิจและสังคมอีก
ดวย
227

5.3 มลพิษทางน้ำ
น้ำ เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ไมมีวันหมด แตหากนำมาใช้โดยไมดูแลรักษามีโอกาสเสื่อม
โทรมได สิ่งที่บงบอกวาน้ำมีการเปลี่ยนแปลงไปจากธรรมชาติ พิจารณาไดจาก คุณภาพน้ำ การนำ
ตัวอยางน้ำจากหลายแหลง มาเปรียบเทียบกับน้ำสะอาด โดยมีเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ำดื่ม น้ำใช้
หรือคุณภาพน้ำทิ้ง ตามมาตรฐานคุณภาพน้ำ ของกองจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
5.3.1 คุณลักษณะและดัชนีคุณภาพน้ำ
คุณลักษณะของน้ำผิวดินที่มนุษยนำมาใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค มีเกณฑใหพิจารณา ดังนี้
1) คุณลักษณะทางกายภาพ ไดแก่ สี ตองใสไมมีสี รส ตองไมมีรส กลิ่น ตองไมมีกลิ่น ความขุ่น ตองไม
มี ค วามขุ ่ น ความเป น กรด-ด า ง ต อ งอยู  ใ นช่ ว ง pH 6.5-8.5 ถื อ ว า อยู  ใ นเกณฑ ค ุ ณ ภาพน้ ำ ที ่ ดี
2) คุณลักษณะทางเคมี ไดแก่ ปริมาณของแข็งทั้งหมด (total solids) เหล็ก แมงกานีส ทองแดง
สังกะสี แคลเซียม แมกนีเซียม ซัลเฟต คลอไรด ฟลูออไรด ไนเตรต 3) คุณลักษณะของการปนเปอน
สารเปนพิษ ไดแก่ ปรอท ตะกั่ว อารเซนิก ซิลิเนียม โครเมียม ไซยาไนด แคดเมียม แบเรียม และ
4) คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา ไดแก่ จุลินทรียทั้งหมดอาจพบไดแตตองไมเกินเกณฑที่กำหนด
แบคทีเรีย Escherichia coli ตองไมพบ และ แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม ตองนอยกวา 2.2 ดวยวิธี
MPN ตามหลักทางจุลชีววิทยา
สำหรับการพิจารณาคุณภาพน้ำแหลงน้ำผิวดิน ตามมาตรฐานที่กองจัดการคุณภาพน้ำ
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2562) กำหนด สามารถสรุป
ดัชนีบงชี้คุณภาพน้ำ ไดดังนี้
1. ความเปนกรด-ดาง (pH) น้ำสะอาดจะมีค่า pH อยูในช่วง 6.5-8.5
2. ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (dissolved oxygen) หรือค่า DO ถาปริมาณออกซิเจน
ในน้ำมาก แหลงน้ำนั้นจัดอยูในคุณภาพดี สิ่งมีชีวิตในน้ำสามารถดำรงชีวิตอยูได น้ำในธรรมชาติจะมี
ปริมาณออกซิเจนประมาณ 5-7 มิลลิกรัม/ลิตร หากค่า DO นอยกวา 3 มิลลิกรัม/ลิตร ถือวาน้ำใน
แหลงน้ำนั้นเนาเสีย สิ่งมีชีวิตในน้ำไมสามารถดำรงชีวิตอยูได โดยมีเครื่องมือวัดออกซิเจนในน้ำ
เรียกวา เครื่อง DO meter
3. ค่า BOD (Biochemical oxygen demand) เปนค่าที่บอกถึงจุลินทรียที่ใช้ออกซิเจนเพื่อ
ยอยสลายสารอินทรีย หากแหลงน้ำมีสารอินทรียปนเปอนมาก จุลินทรียตองการใช้ออกซิเจนมากใน
228

การยอยสลายตามไปดวย ค่า BOD เปนดัชนีในการบอกค่าความสกปรกของน้ำเสีย กระบวนการ


วิเคราะหค่า BOD จะใช้เวลา 5 วัน หากค่า BOD สูง แสดงวาแหลงน้ำนั้นเนาเสีย ตามมาตรฐาน
องค์การอนามัยโลกน้ำในธรรมชาติ มีค่า BOD ไมเกิน 4 มิลลิกรัม/ลิตร สำหรับกระทรวงอุตสาหกรรม
กำหนดมาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและชุมชน ควรมีค่า BOD ไมเกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร
4. ค่า COD (Chemical oxygen demand) เปนค่าที่บอกถึงปริมาณออกซิเจนที่ถูกใช้เพื่อ
ยอยสลายสารอินทรียดวยสารเคมี หากแหลงน้ำมีสารอินทรียปนเปอนมาก การใช้สารเคมีในการยอย
สลายสารอินทรียจะตองมากตามไปดวย ค่า COD จะมากกวา BOD เสมอ ซึ่งเปนดัชนีในการบอกค่า
ความสกปรกของน้ำเสียทั้งคู่ กระบวนการวิเคราะหค่า COD จะใช้เวลา 2-3 ชั่วโมง หากค่า COD สูง
แสดงวาแหลงน้ำนั้นเนาเสีย ตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก น้ำกินน้ำใช้ ควรมีค่า COD ไมเกิน 25
มิลลิกรัม/ลิตร
5. ปริมาณของแข็ง (Total solids) คือปริมาณของสารที่ไมละลายน้ำที่ปนเปอนอยูในน้ำเสีย
หากแหลงน้ำมีปริมาณของแข็งตกตะกอนอยูปริมาณมาก จะสงผลกระทบใหแหลงน้ำนั้นตื้นเขิน หรือ
บังแสงแดดที่สองมายังน้ำ ไปไมถึงทองน้ำ สำหรับปริมาณของแข็งหรือสารแขวนลอยที่เจอปนในน้ำ
จะตองไมเกิน 30 มิลลิกรัม/ลิตร ตามมาตรฐานน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ดังนั้น มลพิษทางน้ำ คือ การประเมินคุณภาพน้ำวามีคุณภาพต่ำกวาเกณฑที่กำหนด โดยมี


คุณลักษณะเปลี่ยนไปจากธรรมชาติ มีสารปนเปอน ไมวาจะเปน อินทรียสาร อนินทรียสาร สิ่งมีชีวิต
ปะปนในน้ำ จุลินทรีย โลหะหนัก ขยะจากบานเรือน ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม หรือภาคสวนอื่น
รวมทั้งสารกัมมันตรังสี สงผลทำใหน้ำเนาเสีย ไมสามารถนำน้ำมาใช้ในการอุปโภคบริโภคได โดยมี
แหลงกำเนิดมลพิษทางน้ำมาจาก ครัวเรือน ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสราง โรงพยาบาล
การสาธารณสุข เกษตรกรรม ฟารมปศุสัตว การทหาร การเผาไหมน้ำมันเชื้อเพลิง และกิจกรรม
การพักผอนหยอนใจ จะเห็นไดวา มลพิษทางน้ำเกิดจากการกระทำของมนุษยทั้งนั้น
5.3.2 มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางน้ำ
สาเหตุที่ก่อใหเกิดปญหามลพิษทางน้ำ มาจากหลายสาเหตุ ซึ่งเราเรียกสาเหตุที่ทำใหเกิด
มลพิษทางน้ำวา มลสาร เช่น
229

1. จุลินทรียที่ปนเปอนในน้ำ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัว ยีสต ซึ่งมีโอกาสเปนจุลินทรีย


สาเหตุโรคในมนุษย คน และพืช ในบางกรณี นักวิจัยสามารถใช้จุลินทรียเหลานี้เปนดัชนีวิเคราะห
คุณภาพน้ำในแหลงน้ำ เช่น แมน้ำ เปนตน
สำหรับแบคทีเรีย ซึ่งถูกจัดกลุมสิ่งมีชีวิตในโลกใบนี้วาเปนจุลินทรีย และพบมากที่สุดในน้ำ
เมื่อเทียบกับจุลินทรียชนิดอื่น โดยแบคทีเรียสามารถยอยสลายสารอินทรียที่มาจากกิจกรรมของ
มนุษยแลวปลอยลงสูแหลงน้ำ ทำใหน้ำเกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี สามารถแบงแบคทีเรียได 3
ประเภท (นงลักษณ และปรีชา, 2557) คือ
1.1 แบคทีเรียที่ตองใช้ออกซิเจนในการดำรงชีวิต เรียกวา aerobic bacteria แบคทีเรีย
กลุ  ม นี ้ จะย อ ยสลายสารอิ น ทรี ย  เป น กลุ  ม แบคที เ รี ย ที ่ ส ามารถบำบั ด น้ ำ เสี ย ได ด  ว ย
วิธีแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (activated sludge process) นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
1.2 แบคทีเรียที่ไมตองการออกซิเจนในการดำรงชีวิต เรียกวา anaerobic bacteria
แบคที เ รี ย กลุ  ม นี้ จะย อ ยสลายสารอิ น ทรี ย  แล ว ได ก ๊ า ซมี เ ทน คาร บ อนไดออกไซด ไฮโดรเจน
แอมโมเนีย ไฮโดรเจนซัลไฟด เปนก๊าซที่มีกลิ่นฉุน ติดไฟง่าย
1.3 แบคทีเรียที่เจริญไดทั้งมีออกซิเจนและไมมีออกซิเจน เรียกวา facultative bacteria
แบคทีเรียกลุมนี้ จะยอยสลายสารอินทรีย แลวไดก๊าซที่มีกลิ่นฉุน ถาแหลงน้ำมีสารอินทรียสูง
แบคทีเรียกลุมนี้จะใช้ออกซิเจนในน้ำไปยอยสลายสารอินทรีย ทำใหแหลงน้ำขาดออกซิเจน สงผลให
แบคทีเรียที่ไมตองการออกซิเจนเจริญไดดี ทำใหแหลงน้ำเนาเสียมาก
2. สารอิ น ทรี ย ที ่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมในครั ว เรื อ น ชุ ม ชน การเกษตรกรรม และโรงงาน
อุตสาหกรรมบางประเภท โรงงานผลิตอาหาร โรงงานนม โรงงานผลิตภัณฑจากสัตว โรงงานกระดาษ
เปนตน มักปลอยสารอินทรีย ประเภท ไขมัน โปรตีน และคารโบไฮเดรต ปนเปอนลงแหลงน้ำ
3. สารอนินทรีย มักเกิดจากกิจกรรมในครัวเรือน ชุมชน การเกษตรกรรม และโรงงาน
อุตสาหกรรมบางประเภท เช่น เกลือของโลหะ เกลือซัลเฟต เกลือคลอไรด ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
ยากำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหญาและวัชพืช ยกตัวอยาง เมื่อไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ปนเปอนใน
แหล ง น้ ำ ทำให พ ื ช น้ ำ เจริ ญเติ บ โตอย า งรวดเร็ ว ปกคลุ ม ผิ ว น้ ำ ทำให แ หล ง น้ ำ ไม ไ ด ร ั บ แสงแดด
ขาดออกซิเจน เมื่อพืชเหลานี้เสียชีวิตลง ทำใหน้ำเนาเสีย จะสงผลใหแบคทีเรียที่ไมตองการออกซิเจน
ในการดำรงชี ว ิ ต ย อ ยสลายพื ช ที ่ เ สี ย ชี ว ิ ต แล ว ได ก ๊ า ซพิ ษ เกิ ด ขึ ้ น ในแหล ง น้ ำ ทำให ส ั ต ว น้ ำ
ขาดออกซิเจน ไมสามารถดำรงชีวิตอยูได เสียชีวิตในที่สุด
230

4. ตะกอน อาจเกิดเองโดยธรรมชาติ แตสวนใหญมักเกิดจากกิจกรรมของมนุษยทำใหเกิด


ตะกอนปนเป  อนในแหล งน้ ำ ส งผลให น้ ำขุ ่ น เป นผลให การส องผ านของปริ มาณแสงแดดลดลง
เมื่อแสงแดดสองผานนอยลง แพลงตอนพืชจะเจริญเติบโตช้า แหลงอาหารของสัตวน้ำจะลดปริมาณ
ลง สงผลกระทบตอเนื่องในระบบสายใยอาหาร รวมทั้งแหลงน้ำเนาเสียอีกดวย
5. สารกัมมันตรังสี เปนธาตุที่ไมเสถียร ไมเปนกลาง ทำใหตองปลอดปลอยพลังงานออกมา
เรียกวา แผรังสี จนกวาธาตุชนิดนั้นจะเสถียรหรือเปนกลาง มักเกิดจากโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย
หรือหนวยงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารรังสี สารรังสีที่มีใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น โคบอลต-60
รังสีเอ็กซ์ ไอโอดีน-131 โพแทสเซียม-40 ยูเรเนียม-238 เปนตน สารเหลานี้ใช้เวลาในการสลายตัว
ยาวนานมาก หากเกิดการปนเปอนในน้ำ เปนอันตรายตอการเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอ พันธุกรรมของ
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้
6. ของเสียจากโรงพยาบาล ขยะมูลฝอยทั่วไป เชื้อก่อโรคจากผูปวย ขยะอันตรายจาก ยาเก่า
หมดอายุ สารเคมีที่ใช้ในโรงพยาบาล วัสดุอุปกรณ เครื่องมือที่ชำรุดทางการแพทย ขยะเหลานี้
หากปะปนในแหลงน้ำจะเกิดอันตรายมากตอการดำรงชีวิตของพืชน้ำ สัตวน้ำ รวมไปถึง สัตวและ
มนุษยหากตองนำแหลงน้ำนั้นมาใช้อุปโภคบริโภค
5.3.3 ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางน้ำ
เมื่อน้ำเปนปจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตชองมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่น หากน้ำเกิดสภาวะเสื่อม
โทรม น้ำเนาเสีย คุณภาพน้ำไมดีดังเดิม ยอมสงผลกระทบทางลบตอกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น
ดานการประมง แหลงน้ำเปนที่อยูอาศัยของพืชน้ำ และสัตวน้ำ การซื้อ-ขาย สัตวน้ำ กิจกรรมที่สราง
รายไดใหกับเศรษฐกิจของประเทศไดรับผลกระทบดวย หากแหลงน้ำเนาเสีย กิจกรรมดานการประมง
ไดรับผลกระทบดานลบอยางเห็นไดชัด เพราะพืชน้ำ และสัตวน้ำไมสามารถดำรงชีวิตอยูในแหลงน้ำ
นั้นได ทำใหเสียชีวิตไป สัตวน้ำบางชนิดสูญพันธุ เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศทางน้ำ
ชาวประมงไมสามารถจับสัตวน้ำขาย หรือสงออกไดเปนผลใหเศรษฐกิจของประเทศเกิดความเสียหาย
อีกดวย นอกจากปญหามลพิษทางน้ำจะสงผลโดยตรงกับการประมงแลว ยังสงผลกระทบตอดานอื่น
ดวย ไดแก่
1. ดานการอุปโภคบริโภค เมื่อแหลงน้ำเนาเสีย มนุษยไมสามารถนำน้ำมาใช้อุปโภคบริโภคได
เนื่องจากน้ำไมไดมาตรฐานตามที่กำหนด
231

2. ดานการเกษตรกรรม เมื่อแหลงน้ำเนาเสีย ไมสามารถนำน้ำมาใช้ในการปลูกพืชเลี้ยงสัตว


ได
3. ดานการสาธารณสุข เมื่อแหลงน้ำเนาเสีย จะมีการปนเปอนของเชื้อจุลินทรียก่อโรค หาก
มนุษยนำน้ำจากแหลงน้ำนั้นมาใช้ อาจก่อใหเกิดการติดเชื้อและเจ็บปวย สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิต
ของมนุษย
4. ระบบนิเวศ เมื่อแหลงน้ำเนาเสีย สงผลตอการเจริญเติบโตของพืช ทำใหแพลงตอนพืชและ
พืชเสียชีวิตลดจำนวนลง จะสงผลตอหวงโซ่อาหาร สัตวน้ำมีอาหารไมเพียงพอตอการบริโภค เกิดการ
แก่งแยงแข่งขันกัน อาจทำใหสัตวน้ำลดจำนวนลงตามไปดวย ระบบนิเวศเกิดการเสียสมดุล
5. ดานการทองเที่ยวและการพักผอนหยอนใจ น้ำเนาเสียมีขยะมูลฝอย พืชน้ำ ลอยอยูที่
ผิวหนาปกคลุมผิวหนาแหลงน้ำ ทำใหทัศนียภาพไมนาดู และอาจเกิดกลิ่นเหม็น สงผลกระทบตอการ
ทองเที่ยวและการพักผอนหยอนใจของมนุษย
5.3.4 แนวทางการแก้ไขปญหามลพิษทางน้ำ
การแก้ไขปญหามลพิษทางน้ำ ตองไดรับความรวมมือจากทุกคน โดยเฉพาะประชาชนทุกคน
ในประเทศ ตองไดรับการปลูกฝง รณรงค์ใหช่วยกันอนุรักษทรัพยากรน้ำดวยวิธีการที่ถูกตอง และ
สามารถปฏิบัติไดทุกคน เพื่อใหมีน้ำใช้ไดยาวนาน รวมไปถึงการใหความรูและการตระหนักถึงความ
เสื่อมโทรมของทรัพยากรน้ำตองใหตั้งแตเด็กและเยาวชน ดังนั้นแนวทางที่เสนอแนะในการแก้ไข
ปญหามลพิษทางน้ำ มีดังนี้
1. รัฐตองออกกฎหมายบังคับใช้การทิ้งขยะ ของเสีย จากแหลงกำเนิดมลพิษทางน้ำใหชัดเจน
และมีบทลงโทษที่รุนแรง โดยเฉพาะกฎหมายกำกับควบคุมการบำบัดน้ำเสียที่เกิดจากโรงงาน
อุตสาหกรรม
2. ใหความรูสรางความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของน้ำ ปลูกฝงการรักษาคุณภาพน้ำกับ
เด็กและเยาวชน วิธีการใช้น้ำอยางรูคุณค่า วิธีการลดการปนเปอนของขยะในน้ำ วิธีการอนุรักษ
ทรัพยากรน้ำ ใหกับประชาชน
3. มี ก ารบริ ห ารจั ด การระบบบำบั ด น้ ำ ทิ ้ ง น้ ำ เสี ย จากแหล ง ชุ ม ชน ครั ว เรื อ น โรงงาน
อุตสาหกรรม รวมทัง้ สถานที่ที่มีการใช้น้ำเพื่อชำระลางแลวปลอยออกสูสิ่งแวดลอม
4. สนับสนุนการศึกษาวิจัยเรื่องคุณภาพน้ำ การบำบัดน้ำเสีย และถายทอดองค์ความรู วิธีการ
จัดการน้ำเสียที่เหมาะสมแก่ประชาชน
232

5. หากแหลงน้ำนั้นเนาเสียมาก ตองประกาศเขตควบคุมมลพิษทางน้ำ เช่น คลองแสนแสบ


แมน้ำเจ้าพระยา เปนตน
6. ใช้กระบวนการทางชีวภาพ คือการใช้จุลินทรีย หรือพืชน้ำที่มีคุณสมบัติดูดซับธาตุและ
โลหะหนักในน้ำ เช่น ผักตบชวา เปนตน รวมกับทางกายภาพ เช่น การใช้ตะแกรงดักจับใหตกตะกอน
หรือรวมกับทางเคมี เช่นใช้สารเคมีจับกับสารแขวนลอยใหตกตะกอน เปนตน ในการบำบัดน้ำเสียจาก
แหลงตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ
กรณีศึกษา วิกฤตปลากระเบนราหูในแมน้ำแมกลอง จังหวัดสมุทรสงคราม ที่เสียชีวิตจำนวน
มากกว า 50 ตั ว มานานกว า 3 เดื อ น (https://www.thaipbs.or.th/news/content /259059,
2566) เมื่อซากปลากระเบนราหูน้ำจืดที่อาศัยอยูในแมน้ำในจังหวัดสมุทรสงคราม จำนวนมากกวา 50
ตัว ลอยเสียชีวิตใหเห็น จนเกิดการรองเรียนใหตรวจสอบสาเหตุการเสียชีวิต เพราะกลายเปนวิกฤต
สิ่งแวดลอมทางน้ำ เมื่อสัตวแพทยไดทำการตรวจซากปลากระเบนราหูแลวพบวา อวัยวะภายในถูก
ทำลายจากสารพิษที่ปบเปอนในน้ำที่อาจมากกวา 1 ชนิด และสารที่พบมากคือไซยาไนดที่ทำใหปลา
ชนิดนี้เสียชีวิตเฉียบพลัน รวมทั้งเมื่อนำน้ำไปตรวจสอบคุณภาพ พบวาคุณภาพน้ำต่ำกวาเกณฑ
มาตรฐานกำหนด ซึ่งเจ้าหนาที่ไดตรวจสอบหาสาเหตุแหลงกำเนิดมลสารที่ก่อใหเกิดเหตุการณนี้
พบวา มีสาเหตุมาจากการปลอยของเสียจากโรงงานเอทานอลที่ไมผานการบำบัดลงสูแหลงน้ำและเกิด
การรั่วไหลลงสูแมน้ำปนเปอน ทำใหสัตวน้ำและพืชน้ำไดรับผลกระทบเกิดการเสียชีวิต รวมทั้งปลา
กระเบนราหูนี้เปนดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ำ เนื่องจากธรรมชาติของปลาชนิดนี้ จะกินแพลงตอนสัตว ปลา
หลายชนิดในแหลงน้ำจืด หากในน้ำมีการปนเปอนของสารพิษ จะสงผลเดนชัดตอการดำรงชีวิตของ
ปลาชนิดนี้ เมื่อแหลงน้ำเกิดการเนาเสีย มีการปนเปอนของมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษอันตรายตอสัตว
น้ำ ปลาชนิดนี้มีแนวโนมที่จะสูญพันธุ ยอมสงผลตอระบบนิเวศน้ำจืดอยางแนนอน จะเห็นไดวา การ
ดูแลอนุรักษทรัพยากรน้ำเปนหนาที่ของทุกคนในประเทศ เราควรเปนสวนหนึ่งของการช่วยอนุรักษน้ำ
สามารถปฏิบัติไดเองที่บาน อาทิเช่น การเลือกใช้ผลิตภัณฑชำละลางที่มีสวนผสมจากสารธรรมชาติ
เพราะเมื่อปลอยสูสิ่งแวดลอมจะสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมนอยที่สุด การใช้น้ำอยางประหยัด
หรือนำน้ำที่ใช้มารดน้ำตนไม รวมไปถึงกรณีศึกษานี้ ภาครัฐตองเข้ามาควบคุมและกำกับดูแลการ
บำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมอยางเครงครัด และมีกฎหมายลงโทษที่ชัดเจนและรุนแรง
เพื่อใหผูที่เกี่ยวข้องกับการบำบัดน้ำเสียของโรงงานตระหนักและใสใจก่อนปลอยน้ำเสียลงสูแหลงน้ำ
233

รวมทั้งโรงงานควรจัดฝกอบรมวิธีการบำบัดน้ำเสียดวยวิธีชีวภาพที่ถูกตองเหมาะสมใหกับพนักงานทุก
คนไดรับรูรับทราบเพื่อนำไปปฏิบัติ

5.4 มลพิษทางอากาศ
อากาศและบรรยากาศมีความสำคัญ คือ มีก๊าซที่จำเปนตอการดำรงชีวิตของมนุษย สัตวและ
พืช สงผลตอทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่น เช่น ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรแรธาตุ เกิดฝนและลม ช่วย
ปรับอุณหภูมิของโลก ใหเหมาะกับการดำรงชีวิตอยูของสิ่งมีชีวิตบนโลก บรรยากาศเหมือนบานที่
โอบอุมคนในบานในอยูอยางเปนสุข ทำใหความแตกตางของอุณหภูมิของกลางวันและกลางคืนไม
แตกตางกันมาก ฤดูรอนและฤดูหนาวไมแตกตางกันจนสิ่งมีชีวิตไมสามารถปรับตัวดำรงชีวิตอยูได
ทำใหบริเวณผิวโลกมีความอบอุน ช่วยปองกันรังสี UV จากดวงอาทิตย ซึ่งมีผลกระทบตอผิวสัมผัส
ของสิ่งมีชีวิตบนโลก เช่น ผิวหนังของมนุษย หากมนุษยไดรับรังสี UV ที่สามารถทะลุผานชั้นผิวหนังลึก
จนทำใหเปนมะเร็งผิวหนัง และหากกระทบดวงตาอาจเปนตอกระจกได รวมทั้งสรางทัศนียภาพการ
มองเห็นทองฟาสีสีนสดใส โดยอนุภาคที่ปะปนอยูกับก๊าซในบรรยากาศ จะทำใหแสงหักเห ทำให
ดวงตาของเรามองเห็นทองฟามีแสงสีที่งดงามแทนที่จะเห็นเปนสีดำมืด นอกจากนี้ ก๊าซโอโซนมีแสงสี
น้ำเงินยังช่วยใหเรามองเห็นทองฟาเปนสีฟาสดใส
อากาศ เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ไมมีวันหมด แตอาจเสื่อมโทรมได อากาศมีความจำเปนตอ
การดำรงชีวิตของมนุษย สัตว และพืช ไดมาโดยไมเสียค่าใช้จ่าย ปจจุบันอากาศไดรับผลกระทบจาก
มลสารที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย คุณภาพอากาศจึงมีความแตกตางกันไปตามสภาพทองถิ่น และ
ปริมาณมลสารทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีน่ น้ั เช่น พืน้ ทีใ่ ดมีจำนวนประชากรมาก มีสง่ิ อำนวยความสะดวกสบาย
เยอะ อยางเช่น พื้นที่ในเมืองหลวง คุณภาพอากาศจะดอยกวาพื้นที่ในตางจังหวัดหรือชนบท อากาศ
บริ ส ุ ท ธิ ์ จ ะไม ม ี ส ี ไม ม ี ก ลิ ่ น ไม ม ี ห มอกควั น อากาศ มี อ งค์ ป ระกอบเป น ก๊ า ซหลายชนิ ด คื อ
ก๊าซไนโตรเจนรอยละ 78.00 ออกซิเจนรอยละ 20.94 และก๊าซผสม อีกรอยละ 1.06
ดังนั้น มลพิษทางอากาศ คือ อากาศที่มีคุณภาพต่ำกวาเกณฑที่กำหนด โดยมีคุณลักษณะ
เปลี่ยนไปจากธรรมชาติ มีหมอกควัน มีสี มีกลิ่น และอาจมีอนุภาคขนาดเล็กปนเปอนลอยอยูใน
อากาศ ทั้งที่มนุษยสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา และมองไมเห็นดวยตาเปลา ตองมีเครื่องมือวัด
ปริมาณ ฝุนละอองในอากาศเข้ามาช่วย โดยแหลงกำเนิดมลพิษทางอากาศมาจาก เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ และกิจกรรมของมนุษย เช่นการเผาไหมเชื้อเพลิงของยานพาหนะ การเผาไหมของวัสดุทาง
234

การเกษตร การหุงตมในครัวเรือน โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสราง ฟารมปศุสัตว โรงงานไฟฟา และ


กิจกรรมการพักผอนหยอนใจ เห็นไดวา มลพิษทางอากาศเกิดจากการกระทำของมนุษยทั้งนั้น
5.4.1 มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศ
สาเหตุที่ก่อใหเกิดปญหามลพิษทางอากาศ มาจากหลายสาเหตุ ซึ่งเราเรียกสาเหตุที่ทำใหเกิด
มลพิษทางอากาศวา มลสาร สามารถเกิดจากแหลงกำเนิด 2 ลักษณะคือ มลสารที่มาจากการกระทำ
ของมนุ ษ ย และ มลสารที ่ เ กิ ด จากธรรมชาติ โดยกรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ ่ ง แวดล อ ม กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (https://datacenter.deqp.go.th/knowledge/อากาศ/มลพ-
ษทางอากาศ/, 2566) ไดอธิบายไว สามารถสรุปไดดังนี้
มลสารที่มาจากการกระทำของมนุษย ไดแก่
1. การเผาไหมเชื้อเพลิงของยานพาหนะในการคมนาคม ปฏิเสธไมไดวาประเทศไทยมีปริมาณ
รถยนต รถจักรยานยนต ที่วิ่งบนทองถนนทั้งในเมืองหลวงและตางจังหวัดเปนจำนวนมาก กรมการ
ขนสงทางบก มีสถิติการจดทะเบียนรถยนตใหมปายแดงทั่วประเทศในป 2563 พบวา มีจำนวน
2,638,466 คัน ในขณะที่รถจักรยานยนตมีสถิติเปนอันดับ 1 ในการจดทะเบียนสูงถึง 21 ลานคัน
ข้อมูล 3 ปยอนหลังจากป 2563 ยานพาหนะแตละชนิดที่มีใช้ในประเทศไทย เปนสาเหตุหลักของการ
สรางมลพิษทางอากาศ ซึ่งเกิดการเผาไหมสันดาปของเชื้อเพลิง ทั้งเบนซินและดีเซล มลสารที่ปลอย
ออกมาทางท อ ไอเสี ย เป น อั น ตรายและมี ป ริ ม าณมากไปตามจำนวนยานพาหนะ มลสาร ได แ ก่
คาร บ อนมอนออกไซด สารประกอบไฮโดรคาร บ อน สารอะโรมาติ ก ไฮโดรคาร บ อน
ก๊าซไนตริกออกไซด และเขมาควันดำ เปนตน มลสารเหลานี้มีขนาดอนุภาคเล็กมาก สามารถลอยขึ้น
ไปบนชั ้ น บรรยากาศ ปกคลุ ม ชั ้ น บรรยากาศ เป น สาเหตุ แ สงอาทิ ต ย ส ะท อ นกลั บ ได น  อ ยลง
เกิดปรากฏการณเรือนกระจก ทำใหโลกรอนขึ้น จึงสงผลกระทบทางลบตอระบบนิเวศ
2. การเผาไหมเชื้อเพลิงในบานเรือน สาเหตุมาจากกิจวัตรประจำวันในการทำอาหาร เพื่อการ
ดำรงชีวิตและสุขอนามัยที่สะอาด จึงตองใช้ความรอนจากก๊าซหุงตมทำใหอาหารสุกก่อนรับประทาน
ลดการปนเปอนของเชื้อจุลินทรียก่อโรคทางเดินอาหาร ที่อาจปนเปอนมากับอาหารที่ยังไมปรุงสุก
การเผาไหม แ บบนี้ ส ร า งมลสาร ได แ ก่ คาร บ อนมอนออกไซด สารประกอบไฮโดรคาร บ อน
ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด และควัน เปนตน
3. การเผาขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ไมวาจะประเทศใดในโลก เมื่อมีประชากร มีปญหา
ปริมาณขยะมากจนเกินกำลังการกำจัดของประเทศนั้น เนื่องจากความตองการการบริโภคสินค้าของ
235

ประชากรที ่ ม ี เ พิ ่ ม มากขึ ้ น ตามจำนวนประชากรที ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น ทั ้ ง ป จ จั ย 4 และป จ จั ย เสริ ม ความ


สะดวกสบายในชีวิต ปกติแลวถาเปนขยะอินทรีย ขยะครัวเรือน มักจะใช้วิธีการฝงกลบหรือเผาใน
เตาเผาขยะ วิธีการเหลานี้ จะสรางมลสาร ไดแก่ มีเทน สารประกอบไฮโดรคารบอน ออกไซดของ
ไนโตรเจน ออกไซดของกำมะถัน คารบอนไดออกไซด สงกลิ่นเหม็นลอยไปในบรรยากาศ หากเปนขยะ
จากโรงงานอุตสาหกรรม จะตองผานการบำบัดกำจัดบางสวนตามมาตรการการควบคุมของเสียก่อน
ปลอยออกสูสิ่งแวดลอม
4. โรงไฟฟา เปนอีกแหลงกำเนิดหนึ่งของมลพิษทางอากาศ เนื่องจากในกระบวนการผลิต
กระแสไฟฟา ตองมีวัตถุดิบเริ่มตน เปนถานหิน น้ำมันเตา หรือเชื้อเพลิงอื่น และเกิดกระบวนการ
เผาไหม เ พื ่ อ ให ไ ด ค วามร อ น นำไปผลิ ต กระแสไฟฟ า มลสารที ่ เ กิ ด จากโรงไฟฟ า ได แ ก่
ก๊าซซัลเฟอรไดออกไซด ก๊าซไนโตรเจนออกไซด และอนุภาคขนาดเล็ก
5. โรงงานอุตสาหกรรม เปนแหลงกำเนิดมลสารอีกแหลงหนึ่งของมลพิษทางอากาศ เพราะ
กระบวนการในโรงงานอุตสาหกรรม มักมีการเผาไหมของเชื้อเพลิง ทั้งเชื้อเพลิงของแข็ง ของเหลว
หรือก๊าซ ในประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรมมากมาย อาทิเช่น โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร
โรงงานผลิตเนื้อสัตว โรงงานผลิตน้ำตาล โรงงานผลิตสารเคมี โรงงานผลิตสารเคมีในการเกษตร
โรงงานผลิตกระดาษ โรงงานผลิตยาและวัคซีน โรงงานทำสีทาบาน โรงงานฟอกสียอมผา โรงงานผลิต
พลาสติก โรงงานผลิตรถ โรงงานผลิตแบตเตอรี่ โรงงานผลิตเหล็กและโลหะ โรงงานผลิตเสื้อผา
โรงงานผลิตเครื่องดื่ม โรงงานผลิตรองเทา โรงงานผลิตยางรถ โรงงานทหารผลิตอาวุธ เปนตน มลสาร
ที่เกิดขึ้นไดแก่ ก๊าซคารบอนมอนออกไซด ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด ก๊าซซัลเฟอรไดออกไซด
ก๊ า ซคาร บ อนไดออกไซด ก๊ า ซ chlorofluoro carbons (CFCs) ควั น ขาวและควั น ดำ รวมทั้ ง
ฝุนละออง (PM) ที่สงผลกระทบตอทางเดินหายใจของมนุษยและสัตว และอาจเปนปจจัยหนึ่งที่
กระตุนการเกิดมะเร็งปอด อีกดวย
มลสารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
1. ภูเขาไฟระเบิด แรงประทุความรอนจากภายใตพื้นพิภพ ระเบิดออกมาสูภายนอก จะมี
เถาถาน ควันที่มีอนุภาค ฝุนละอองลองลอยสูชั้นบรรยากาศปริมาณมาก และอยูในอากาศไดนานเปน
สิบปกวาจะตกกลับคืนสูพื้นโลก
236

2. ไฟปา เปนมลสารหนึ่งที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศแตไมสำคัญเทากับการเผาไหม
เชื้อเพลิง ถึงจะมีฝุนควัน ฟุงกระจายสูอากาศ แตจำกัดพื้นที่ที่เกิดไฟไหมปาเทานั้น มีผลกระทบตอ
ทัศนียภาพของผูที่อยูในบริเวณนั้น
3. ละอองเกสรดอกไม มีน้ำหนักเบา สามารถลอยไปตามอากาศ สำหรับคนที่เปนภูมิแพ
สูดดมเข้าไปอาจเกิดอาการรุนแรง เปนผื่นแดง หรืออาจหายใจติดขัด
4. จุลินทรีย เปนกลุมสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ถูกจัดจำแนกบนโลกใบนี้ เปนสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก
มองไมเห็นดวยตาเปลา ตองใช้กลองจุลทรรศนใช้แสงแบบเลนสประกอบ จุลินทรีย ไดแก่ แบคทีเรีย
ยีสต โปรโตซัว รา และไวรัส เนื่องจากจุลินทรียมีขนาดเล็กจึงแพรกระจายไดง่ายไปตามอากาศ และ
เข้าสูระบบทางเดินหายใจของสิ่งมีชีวิตไดง่าย ในปจจุบัน เชื้อไวรัสซึ่งมีอนุภาคเล็กมาก จนตองใช้
กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนในการตรวจสอบดูรูปรางเซลล เปนเชื้อก่อโรคที่มีความรุนแรงมากตอ
คุณภาพชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ เช่น ไวรัสสาเหตุโรคไข้หวัดใหญ เปนตน สำหรับป 2562 พบ
การติดเชื้อไวรัสรุนแรงในมนุษย คือเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ซึ่งเกิดขึ้นที่แรกที่ประเทศจีน
เมืองอูฮั่น และมีการแพรระบาดอยางรุนแรงไปทั่วโลก เชื้อไวรัสไดคราชีวิตมนุษยโลกใหเสียชีวิตเปน
จำนวนมาก และยังคงแพรระบาดมาจนถึงปปจจุบัน 2563 โดยมีแนวโนมที่จะยังคงมีความรุนแรงของ
การแพรระบาดของโรค ถึงแมจะมีการควบคุม แนะนำวิธีปองกัน หรือมีวัคซีนฉีดตาม เห็นไดวา ไวรัส
เปนจุลินทรียที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศและสงผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบทางเดินหายใจ
5. สารอินทรียจากสิ่งมีชีวิตที่เสียชีวิตแลวเนาเปอยผุพัง เปนมลสารอีกชนิดหนึ่งที่ก่อใหเกิด
มลพิษทางอากาศ เมื่อสิ่งมีชีวิตเสียชีวิตลงเกิดการทับถมกัน การเกิดขยะอินทรีย ขยะมูลฝอยจำพวก
เศษอาหาร เมื่อถูกนำมากองทับถมกันจะเกิดการเจริญของแบคทีเรียตามธรรมชาติ ยอยสลายสิ่ง
เหลานี้ และสรางก๊าซแอมโมเนีย มีเทน ก๊าซซัลเฟอรไดออกไซด ซึ่งสงกลิ่นเหม็น สรางความรำคาญใจ
แก่ผูที่อยูบริเวณนั้น
5.4.2 ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ
PM 2.5 ฝุนขนาดเล็กที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศที่อันตรายและนากลัวอยางยิ่งตอระบบ
ทางเดินหายใจ เกิดจากกิจกรรมของมนุษยหลากหลายกิจกรรม ซึ่งในภาพรวมมลพิษทางอากาศที่
เกิ ดขึ ้ นในประเทศไทย มี สาเหตุ หลั กมาจาก 2 สาเหตุ ใหญ ๆ คื อ จากยานพาหนะ และโรงงาน
อุตสาหกรรม ที่ผลิตฝุนปลอยสูบรรยากาศ เกิดวิกฤตทางอากาศไปทั่วประเทศไทย มลพิษทางอากาศ
สงผลกระทบมากมายในหลายดาน อาทิเช่น
237

1. ดานอุณหภูมิโลก เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่แยลง เมื่อเกิดมลพิษทางอากาศที่มี


มลสารเป น ก๊ า ซและอนุ ภ าคขนาดเล็ ก สามารถลอยสู  ช ั ้ น บรรยากาศ ก่ อ ให เ กิ ด ปรากฏการณ
เรือนกระจก ทำใหแตละปอุณหภูมิของโลกรอนเพิ่มขึ้น ปญหาสภาวะโลกรอนสรางความเสียหาย
อยางมากตอระบบนิเวศ หวงโซ่อาหาร และคุณภาพชีวิตของมนุษย เช่น น้ำแข็งขั้วโลกละลาย สัตวขั้ว
โลกต อ งปรั บ เปลี ่ ย นพฤติ ก รรมความเป น อยู  แ ละการหาอาหาร น้ ำ ท ว ม ภั ย แล ง ไฟไหม ป า
การเจริญเติบโตของพืชไมเปนไปตามธรรมชาติ พืชและสัตวบางชนิดสูญพันธุ ไมสามารถปรับตัวได
2. ดานการเกษตรกรรม เมื่ออุณหภูมิของโลกมีการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิดินรอนขึ้น การ
เจริญเติบโตของพืชแยลง รวมทั้งจุลินทรียที่มีประโยชนตอพืชในดินอาจมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนและ
ชนิดของประชากรไป การดูดซึมธาตุอาหารของพืชไมดีเทาที่ควร ทำใหพืชออนแอ และเกิดการเข้า
ทำลายของโรคพืชและแมลงศัตรูพืช
3. ดานการสาธารณสุข เมื่ออากาศรอน สงผลกระทบตอสุขภาพรางกาย จิตใจ รวมไปถึง
ประสิทธิภาพการทำงานต่ำลง ผิวหนังไดรับรังสี UV จากแสงแดดเกินความจำเปน เหงื่อออกง่าย
สูญเสียน้ำออกจากรางกาย ทำใหรางกายออนเพลีย และอาจเกิดการติดเชื้อจุลินทรียที่ผิวหนัง เกิด
การแพรระบาดของเชื้อก่อโรคเขตรอน เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอหิวาตกโรค ทองรวง โรคไข้หวัด
ใหญ รวมทั้งโรคโควิด-19 เปนตน อุณหภูมิที่สูงขึ้น อากาศที่รอนขึ้นสงผลอันตรายตอการดำรงชีวิต
ของเด็กและคนชรา มีโอกาสเสียชีวิตไดง่าย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศตอนกลางวันกับ
ตอนกลางคืนแตกตางกัน
4. ดานเศรษฐกิจและสังคม เมื่ออากาศรอน มนุษยไมสามารถปรับตัวใหเข้ากับอากาศรอนได
มีการใช้เครื่องปรับอากาศอำนวยความสะดวกดานความเย็น เครื่องปรับอากาศตองใช้ไฟ ทำใหใช้
ทรัพยากรในการสรางกำลังผลิตไฟฟาของประเทศเพิ่มมากขึ้น ดินเสื่อมคุณภาพสงผลใหพืชมีผลผลิต
ตกต่ำ การผลิตพืชและสัตวมีตนทุนสูง ทำใหขายไมไดกำไร จึงมีแนวโนมลดอัตราการจ้างงาน เมื่อพืช
บางชนิดปลูกไมได ทำใหประเทศขาดแคลนพืชอาหาร สงผลใหการพัฒนาประเทศเปนไปดวยความ
ลาช้า และตองใช้งบประมาณมากในการแก้ไขปญหาข้างตน
5. ดานการทองเที่ยวและการพักผอนหยอนใจ สถานที่ทองเที่ยวใดมีมลพิษทางอากาศ ยอม
สงผลใหมีผูทองเที่ยวนอย ไมวาจะ ควัน หมอก ก๊าซพิษ PM2.5 กลิ่นเหม็น อากาศรอน ลวนไมเปนที่
พึงประสงค์ของผูคน
238

5.4.3 แนวทางการแก้ไขปญหามลพิษทางอากาศ
การแก้ไขปญหามลพิษทางอากาศ ควรเปนวาระแหงชาติ และตองไดรับการแก้ไขอยาง
เรงดวนจากภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งประชาชนทุกคนในประเทศ ตองไดรับข้อมูลในการช่วยกัน
อนุรักษทรัพยากรอากาศดวยวิธีการที่ถูกตอง และสามารถปฏิบัติไดทุกคน เพื่อใหปญหามลพิษทาง
อากาศลดลง เพราะมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นตองการอากาศที่ดี ไมมีการปนเปอนของฝุนละออง รวมไป
ถึงการตระหนักถึงความเสื่อมโทรมตองใหความรูตั้งแตเด็กและเยาวชน ดังนั้นแนวทางที่เสนอแนะใน
การแก้ไขปญหามลพิษทางอากาศ มีดังนี้
1. รัฐตองออกกฎหมายบังคับใช้การควบคุมมลสาร จากแหลงกำเนิดมลพิษทางอากาศให
ชัดเจนและมีบทลงโทษที่รุนแรง โดยเฉพาะกฎหมายกำกับควบคุมการปลอยก๊าซและควันดำจากการ
เผาไหมเชื้อเพลิง
2. ใหความรูสรางความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของอากาศ ปลูกฝงการรักษาอากาศให
บริสุทธิ์กับเด็กและเยาวชน วิธีการลดปริมาณก๊าซและควันดำ หรือมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทาง
อากาศ วิธีการอนุรักษทรัพยากรอากาศ ใหกับประชาชน
3. รณรงค์ช่วยกันปลูกตนไม รักษาผืนปาไมใหคงอยู เพราะตนไมมีคุณสมบัติในการดูดซับ
ก๊าซคารบอนไดออกไซด ที่ก่อใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก และนำไปสูสภาวะโลกรอน นอกจากนี้
ตนไมยังช่วยกรองฝุนละอองที่เปนมลสาร ทำใหอากาศไมบริสุทธิ์ รวมทั้งตนไมใช้เปนแนวกั้นลดแรง
ปะทะของลมพายุได
4. สนับสนุนการศึกษาวิจัยเรื่องคุณภาพอากาศ เครื่องมือในการวิเคราะหคุณภาพอากาศ
วิธีการตรวจสอบอากาศ และถายทอดองค์ความรู วิธีการบริหารจัดการทรัพยากรอากาศที่เหมาะสม
แก่ประชาชน รวมทั้งแนวทางการปองกันแก้ไขมลพิษทางอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศ
ตอมนุษย และสัตว
5. ทำตามสนธิสัญญาที่เกิดขึ้นตามข้อตกลงของประชาคมโลก เช่น พิธีสารมอนทริออล เปน
ตน การลดหรือเลิกใช้สารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศ ที่อยูเปนองค์ประกอบของเครื่องอำนวย
ความสะดวกแก่ ม นุ ษ ย เช่ น สาร CFC ที ่ เ ป น องค์ ป ระกอบหนึ ่ ง ของเครื ่ อ งทำความเย็ น ได แ ก่
เครื่องปรับอากาศ ตูเย็น เปนตน ใหใช้สารชนิดอื่นแทน เพราะ CFC จะลอยไปสูชั้นบรรยากาศ
ก่อใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
239

ภาพที่ 5.2 เด็กเปนโรคภูมิแพเมื่อไดรับฝุน PM 2.5 จากโรงงานอุตสาหกรรม

กรณีศึกษา ไมตองสูบบุหรี่เปนมะเร็งปอดได จากการรายงานของสำนักงานกองทุนสนับสนุน


การสรางเสริมสุขภาพ (2565) ระบุวา ฝุน PM 2.5 ถูกจัดเปนสารก่อมะเร็งปอด สถิติของคนไทยที่
เสียชีวิตจากฝุน PM 2.5 ระบุวา มีสูงถึง 70,000 คนตอป ซึ่งสาเหตุการเสียชีวิตที่เกิดจากมะเร็งปอด
นั้นเปนสาเหตุอันดับ 2 ของการเสียชีวิตของคนไทย รองจากมะเร็งตับ ในขณะที่การตรวจการคัดกรอง
การพบมะเร็งปอดในระยะแรกทำไดยาก กวาจะตรวจพบอาการของโรค จะอยูในขั้นเกือบสุดทายและ
แสดงอาการปรากฏถึงความเจ็บปวยใหเห็นเดนชัด ทำใหเมื่อมาพบแพทยทำการรักษาไดตามอาการ
เทานั้น ที่สำคัญฝุนชนิดนี้ยังสงผลกระทบตอระบบทางเดินหายใจของเด็กสวนใหญในประเทศไทย มี
สถิติพบวา เด็กเปนโรคภูมิแพ เมื่อไดรับฝุน PM 2.5 จากโรงงานอุตสาหกรรมบริเวณใกลเคียงที่อยู
อาศัย (ภาพที่ 5.2) จากเหตุการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำใหประชาชนทุกคนตอง
สวมใสหนากากอนามัยเพื่อปองกันการติดเชื้อโรคจากการหายใจหรือไอของผูปวย จึงเปนข้อดีที่ช่วย
ลดการรับฝุน PM 2.5 เข้าสูระบบทางเดินหายใจ แตสิ่งเหลานี้เปนแค่การปองกันที่ปลายเหตุ จะเห็น
ไดวา ปญหามลพิษทางอากาศควรไดรับการแก้ไขอยางเรงดวนที่สุด เพราะมนุษยตองออกจากบานไป
ทำกิจกรรมตางๆ ภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมควรใหความสำคัญตอมาตรการในการควบคุม ดูแล
และการปลอยควันพิษออกสูสิ่งแวดลอม โรงงานอุตสาหกรรมตองมีเครื่องมือในการตรวจวัดฝุนละออง
240

ระหวางกระบวนการผลิต ตลอดเสนทางการผลิตจนไดผลิตภัณฑ เราควรเปนสวนหนึ่งในการลด


ปญหามลพิษทางอากาศดวยการปฏิบัติตามแนวทางที่ตนเองและครอบครัวสามารถทำได เช่น ใช้
จักรยานเดินทางในรั้วมหาวิทยาลัย หากเสนทางใกลใช้วิธีการเดินดวยเทา ลดการใช้ลิฟท หากตอง
เดินทางแค่ชั้นเดียว ถือเปนการออกกำลังกายดวย ใช้เครื่องปรับอากาศตามความเหมาะสม ไมเปดทิ้ง
ไวเมื่อในหองไมมีคนอยูหรือมีคนอยูเพียง 1-3 คน สามารถเปดพัดลมแทนได หรือ เวลานอน เราเปด
เครื่องปรับอากาศไว 1 ชั่วโมง และหลังจากนั้นเปดพัดลมแทน

5.5 มลพิษทางดิน
จากหนังสือปรับปรุงโครงสรางดินอยางยั่งยืนตามแนวโครงการพระราชดำริ (วิสันต, 2558)
และดินแบบไหนตนไมเติบโต (พจน, 2559) ไดอธิบายเกี่ยวกับความหมายของดิน องค์ประกอบของ
ดินปลูกพืช ความสำคัญและการใช้ประโยชนจากดิน รวมทั้งการจัดจำแนกประเภทของดิน สรุปได
ดังนี้
ดิน เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ไมมีวันหมด แตมีโอกาสเสื่อมโทรมได ดินมีความผูกพันกับวิถี
การดำรงชีวิตของมนุษยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน มนุษยนำดินมาใช้เพื่อการเพาะปลูก สรางที่อยูอาศัย
เลี้ยงสัตว ดิน หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลก เกิดจากการแปลงสภาพหรือสลายตัวของ
หิน แรธาตุและอินทรียวัตถุผสมคลุกเคลากันตามธรรมชาติรวมตัวกันเปนชั้น ๆ เมื่อมีน้ำและอากาศที่
เหมาะสม จะทำใหพืชเจริญเติบโตงอกงามดีใหผลผลิตที่สมบูรณ ดินสำหรับเพาะปลูกพืชประกอบดวย
น้ำ 25% อากาศหรือช่องวาง 25% อินทรียวัตถุ 5% อนินทรียวัตถุและแรธาตุ 45%
5.5.1 ความสำคัญและการใช้ประโยชนของดิน
ดิน ถูกนำมาใช้เปนปจจัย 4 สำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย ดินเปนแหลงผลิตอาหาร เปนที่
ที่ใหผูผลิตคือพืชยึดเกาะเพื่อการเจริญเติบโต มนุษยนำพืชมาทำเปนเครื่องนุงหม สรางที่อยูอาศัยให
ตนเองและสัตวเลี้ยง ตองอาศัยพื้นดินเปนที่ตั้ง รวมทั้ง พืชยังสามารถใช้เปนยารักษาโรคได เช่น พืช
สมุนไพร เปนตน ดินทำหนาที่เปนตัวกลางในการใหพืชยึดเกาะ ยืนตน และเจริญเติบโต ช่วยเก็บกัก
น้ำ ใหพืชไดดูดไปใช้ เก็บกักอากาศ รวมทั้งในดินที่สมบูรณยังเปนแหลงธาตุอาหารที่สำคัญตอการ
เจริญเติบโตของพืช ดินเปนที่อยูของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก จุลินทรียมีประโยชน จึงเปนแหลงสะสม
ทรัพยากรที่มีคุณค่าตอการรักษาสมดุลธรรมชาติไว และยังเปนที่พักผอนหยอนใจของมนุษยอีกดวย
241

เมื่อดินเสื่อมโทรม ดินถูกทำลาย คุณภาพของดินต่ำ ทำใหพืชไมสามารถเจริญเติบโตได เกิด


มลพิษทางดิน ดังนั้น มลพิษทางดิน คือ ดินที่มีคุณภาพไมดีเปลี่ยนไปจากธรรมชาติ พิจารณาจากสี
ของดิน ผิวหนาดิน การปนเปอนของสารที่ก่อใหเกิดอันตรายตอสิ่งมีชีวิต ลักษณะของเม็ดดิน
เปลี่ยนแปลงไป ดินแนน ดินเค็ม ดินเปรี้ยว การใช้ปุยเคมี พืชไมสามารถเจริญเติบโตไดตามปกติ หรือ
พืชไมสามารถเจริญเติบโตไดเลยในดินที่เสื่อมคุณภาพ องค์ประกอบของดินเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง
พิจารณาจากจุลินทรียในดิน
5.5.2 การจัดประเภทของดิน
การจำแนกดินตามลักษณะของดิน สามารถแบงดินออกเปน 3 ประเภท คือ
1. ดินทราย เม็ดดินมีขนาดใหญ มีความพรุนมาก น้ำซึมผานไดง่าย ไมเก็บกักน้ำ
2. ดินเหนียว เม็ดดินมีขนาดเล็ก เนื้อแนนละเอียด มีความพรุนนอย น้ำซึมผานไดยาก เก็บกัก
น้ำไวไดดี น้ำซึมผานยาก
3. ดินรวน เม็ดดินประกอบดวย ทราย โคลน และดินเหนียว เนื้อดินมีความพรุนมากค่อนข้าง
โปรง น้ำซึมผานไดง่ายกวาดินเหนียว เก็บกักน้ำไดดีกวาดินทราย จึงเปนประเภทดินที่เหมาะสมแก่
การเพาะปลูกพืช
การจำแนกดินตามการใช้ประโยชน สามารถแบงดินออกเปน 5 ประเภท คือ
1. ดินเพื่อการเกษตรกรรม ดินที่เหมาะตอการปลูกข้าว ดินที่เหมาะตอการปลูกพืชไร พืชยืน
ตน พืชสวน และดินที่ไมเหมาะตอการปลูกพืช เช่น ดินเค็ม ดินเปรี้ยว เปนตน
2. ดินเพื่อเปนปาไม ไดแก่ ปาไมเพื่อตนน้ำลำธาร มักเปนภูเขาที่สูงชัน มีความอุดมสมบูรณไม
มาก จึงตองอนุรักษไว กับ ปาไมเพื่อการผลิตไม พื้นที่มีความลาดชันนอยกวาบริเวณปาไมเพื่อตนน้ำ
ลำธาร มีความอุดมสมบูรณไมมาก เช่นกัน และควรปลูกปาทดแทนเมื่อตัดไมไปใช้ ไมเหมาะแก่การใช้
เพาะปลูก เพราะดินบริเวณนี้พังทลายไดง่าย
3. ดินเพื่อการอุตสาหกรรม สภาพดินสามารถปลูกสรางโรงงาน หรือ นิคมอุตสาหกรรมได มี
หนาดินเรียบและแข็ง ไมจำเปนตองเปนดินที่อุดมสมบูรณ เพราะไมไดใช้สำหรับการเพาะปลูกพืช
4. ดินเพื่อเปนที่อยูอาศัย ควรเปนดินที่ระบายน้ำดี ดินควรแข็งในระดับที่สามารถขุดเจาะ
สรางเสนทางคมนาคมขนสงเชื่อมโยงกับพื้นที่อื่นไดง่าย ดินไมถลม
5. ดินเพื่อการพักผอนหยอนใจ ทรัพยากรธรรมชาติที่อยูกับดิน และเปนพื้นที่ที่มีอากาศ
บริสุทธิ์ เช่น อุทยานแหงชาติในประเทศไทย ภูเขา แมน้ำ ชายทะเล เกาะ ถ้ำ เปนตน
242

5.5.3 มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางดิน
มนุษยใช้ประโยชนจากดินเพื่อการปลูกพืชเปนหลัก พืชเปนสิ่งมีชีวิตที่ตองการอาหารและน้ำ
ซึ่งอาหารที่พืชตองการคือธาตุอาหารที่อยูในดิน เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น ความตองการพืชอาหารเพิ่มขึ้น
ตามไปดวย ในขณะที่พืชอาหารมีระยะเวลาในการเจริญเติบโต สงผลใหพืชอาหารไมเพียงพอตอคาม
ตองการของมนุษย มนุษยจึงใช้ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการคิดค้นผลิตปุย
จากเคมีสังเคราะห เปนการเลียนแบบธาตุอาหารพืชในดิน คุณสมบัติเดนของปุยเคมี คือ มนุษย
สามารถใหในปริมาณที่มากเกินพอสำหรับการนำไปใช้ของพืช ทำใหพืชเจริญเติบโตไวกวาการไดรับ
ธาตุอาหารจากดิน แตหากใช้ติดตอกันเปนเวลานาน อนุภาคของเม็ดปุยเคมีจะไปแทรกอยูในช่องวาง
ของดิน เกิดผลใหช่องวางในดินลดลง ดินแนน น้ำไหลผานไดยาก สงผลกระทบใหรากพืชไดรับน้ำไม
เพียงพอตอการเจริญเติบโต ทำใหตนพืชแคระแกรน ทั้งยังทำใหดินเปรี้ยวมีความเปนกรดสูง ทำให
คุณสมบัติของดินเสีย ไมเหมาะสมแก่การปลูกพืช นอกจากการใช้ปุยเคมีแลว ยังมีมลสารอื่นที่
ก่อใหเกิดมลพิษทางดินอีก ไดแก่
1. การใช้น้ำที่มีคุณภาพไมดีมาใช้ในการรดน้ำตนไม เช่นการนำน้ำเสียจากแหลงน้ำมาใช้ใน
การรดพืชผัก น้ำเสียจากกระบวนการผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญมีการปนเปอนของ
สารเคมีที่ก่อใหเกิดอันตราย ทำใหจุลินทรียในดินเสียชีวิต ดินเสื่อมคุณภาพอยางรุนแรง
2. การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และกำจัดวัชพืช สารเหลานี้ มีสวนประกอบที่เปนอันตราย มี
ฤทธิ์ทำลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด นอกจากศัตรูพืชจะเสียชีวิตแลว เกษตรกรผูใช้สูดดมสารพิษเหลานี้เข้าไป
จะก่อใหเกิดอันตราย และอาจเปนมะเร็ง หรือเสียชีวิตได สารเคมีเหลานี้สลายตัวช้า ตกค้างในดินได
นาน เมื่อเกษตรกรรดน้ำ สารพิษเหลานี้จะถูกชะลางไหลไปสูแหลงน้ำ ก่อใหเกิดมลพิษทางน้ำ ทำให
พืชน้ำและสัตวน้ำไดรับสารพิษดวย เมื่อมนุษยจับสัตวน้ำมาทาน จึงไดรับสารพิษเหลานี้เข้าไปสู
รางกาย สารพิษเหลานี้ไมสามารถทำลายไดดวยความรอนจากการทำอาหาร
3. ขยะมูลฝอย เปนมลสารสำคัญของการเกิดมลพิษหลายดาน รวมทั้งมลพิษทางดินดวย
หากมีการทิ้งชยะลงดินเกิดการทับถมในดิน ทำใหดินไมสามารถใช้ในการเพาะปลูกได เช่น พลาสติก
กระดาษ หลอด แก้ว กระปอง เปนตน
4. สารกัมมันตรังสี เปนธาตุที่ไมเสถียร ไมเปนกลาง ทำใหตองปลอดปลอยพลังงานออกมา
เรียกวา แผรังสี จนกวาธาตุชนิดนั้น จะเสถียรหรือเปนกลาง มักเกิดจากโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย
243

หรือหนวยงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารรังสี หากเกิดการปนเปอนในดิน เปนอันตรายตอพืช สัตวและ


จุลินทรียในดินอยางแนนอน
5. สัตวและจุลินทรียที่เปนโทษ เช่น พยาธิในดิน แบคทีเรีย ไวรัส ที่ก่อโรคกับพืชและสัตว จะ
สงผลกระทบตอการเกิดโรคตอมนุษยดวย เมื่อมนุษยนำพืชและสัตวที่มีพยาธิหรือจุลินทรียปนเปอน
อยูมากิน โดยปรุงอาหารไมถูกสุขลักษณะ
5.5.4 ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางดิน
ดิ น เป น ทรั พ ยากรธรรมชาติ ท ี ่ ส ำคั ญ ประเภทหนึ ่ ง ดิ น ส ว นใหญ ถ ู ก ทำลายให เ สี ย ความ
อุดมสมบูรณ หนาดินถูกทำลาย ทำใหมนุษยไมสามารถใช้ประโยชนจากดินไดอยางเต็มประสิทธิภาพ
ยอมสงผลกระทบตอการดำรงชีวิตของมนุษย และสิ่งมีชีวิตอื่น ดังนี้
1. ดานเกษตรกรรมเพาะปลูก ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่จำเปนตอการเจริญเติบโตของพืช
สัตวขนาดเล็กในดิน จุลินทรียในดินที่สงเสริมการเจริญเติบโตของพืช หากดินเสื่อมคุณภาพ มี
องค์ประกอบเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม สงผลใหพืชเจริญเติบโตช้า หรือไมเจริญเติบโต จะสงผลตอ
ผลผลิตที่ลดลง หรือคุณภาพผลผลิตต่ำ มนุษยและสัตวอาจขาดแหลงอาหาร เนื่องจากพืชเปนผูผลิต
ในระบบนิ เวศ รวมทั ้ งดิ นเสื ่ อมคุ ณภาพ สั ตว ขาดเล็ ก เช่ น ไส เดื อนดิ นที ่ มี หน าที ่ ช่ วยพรวนดิ น
ยอยสลายอินทรียสารใหเปนธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมตอพืชนำไปใช้ ไมสามารถดำรงชีวิตอยูได หรือ
จุลินทรียที่เปนประโยชนตอการเจริญเติบโตของพืชอาจลดจำนวนประชากรลง สงผลกระทบเปนวง
กวางในระบบนิเวศ
2. ดานเศรษฐกิจและสังคม ประเทศไทยเปนประเทศที่ผลิตพืชสงออกเปนจำนวนมาก หาก
ดินเสื่อมคุณภาพ จะสงผลกระทบทางลบตอผลผลิต ผลผลิตตกต่ำ คุณภาพผลผลิตไมดี ไมสามารถ
สงออกได หรือ ขายไดในราคาต่ำ ทำใหเกษตรกรผูเพาะปลูกขาดทุน
3. ดานการทองเที่ยวและการพักผอนหยอนใจ ดินมีขยะมูลฝอยปกคลุมอยู คงดูไมนามอง ทำ
ใหทัศนียภาพไมนาดู และอาจเกิดกลิ่นเหม็น สงผลกระทบตอการทองเที่ยวและการพักผอนหยอนใจ
ของมนุษย
5.5.5 แนวทางการแก้ไขปญหามลพิษทางดิน
วิธีการในการแก้ไขปญหาดินเสื่อมโทรมมีอยูมากมาย ผูอานสามารถเลือกนำไปใช้ไดตามที่
ตนเองสามารถปฏิบัติไดในชีวิตประจำวัน เพื่อช่วยกันลดปญหามลพิษที่เกิดขึ้นกับดิน เราตองช่วยกัน
244

ปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้นกับดิน รวมทั้งช่วยฟนฟูดินใหมีคุณภาพดีเหมาะแก่การเพาะปลูก
แนวทางการแก้ไขปญหามีดังนี้
1. รณรงค์การปลูกปา ไมใหหนาดินถูกชะลางพังทลายเมื่อมีฝนตกหนัก
2. ใหความรูสรางความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของดิน ปลูกฝงการรักษาดินกับเด็ก
และเยาวชน วิธีการใช้ดินอยางรูคุณค่าและเกิดประโยชนสูงสุด วิธีการอนุรักษทรัพยากรดิน ใหกับ
ประชาชน
3. มีการบริหารจัดการทรัพยากรดิน ไมใหใครบุกรุกเข้าไปใช้พื้นดินในพื้นที่ควบคุมเพื่อ
ประโยชนสวนตัว
4. สนับสนุนการศึกษาวิจัยเรื่องคุณภาพดิน การแก้ปญหาดินเสื่อมคุณภาพ และถายทอดองค์
ความรู วิธีการใช้ดินอยางถูกวิธี วิธีการปรับปรุงคุณภาพดินที่เหมาะสมแก่ประชาชน
5. จำกัดพื้นที่ดินในการทำเหมืองแร
6. ลดการใช้ปุยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืช กำจัดวัชพืช
7. ปองกันการปนเปอนของสารพิษ ขยะมูลฝอย หรือมลสารจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ทำให
ดินเสื่อมคุณภาพ
8. ปรับเปลี่ยนกระบวนการการปลูกพืช ไมปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำหลายรอบในพื้นที่นั้นเปน
เวลานานติดตอกัน เพราะธาตุอาหารบางชนิดที่พืชตองการจะหมดไปจากดิน ทำใหดินเสื่อมคุณภาพ
ไมปลูกพืชที่เปนการทำลายดิน เช่น ยูคาลิปตัส หรือ มันสำปะหลัง เปนตน รวมทั้งปจจุบันมีการ
สนับสนุนเทคโนโลยีการปลูกพืชปลอดภัย ใช้ปุยหมักมูลไสเดือนดิน จำกัดการใช้สารเคมี ปลูกพืชที่
เพิ่มธาตุอาหารแก่ดิน เช่น พืชตระกูลถั่ว ปอเทือง เปนตน
9. ปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยแบงพื้นที่ดิน เปนสัดสวน
ปลูกบาน ปลูกไมยืนตน พืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว ขุดบอน้ำ รวมทั้งการปลูกพืชหมุนเวียน หรือไรนา
สวนผสม การปลูกพืชคลุมดิน และรูวิธีการแก้ปญหาดินเสื่อมคุณภาพที่ถูกวิธี

5.6 มลพิษทางความรอน
ความรอน เปนพลังงานรูปหนึ่งที่สามารถทำงานได สามารถเปลี่ยนเปนพลังงานรูปอื่นได
ความรอนจะเกี่ยวข้องกับอุณหภูมิ ซึ่งการเปลี่ยนรูปของความรอน สามารถเปลี่ยนใหอยูในรูป
พลังงานเคมี พลังงานไฟฟาได อุณหภูมิ คือปริมาณที่บอกระดับความรอน โดยมีเครื่องมือวัดอุณหภูมิ
245

เรียกวา เทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิดวยหนวยองศาเซลเซียส สำหรับระบบสากล SI ใช้ เคลวินเปน


หนวยที่บอกอุณหภูมิ ซึ่ง องศาเซลเซียส (°C) เทากับ เคลวิน (K) -273
มลพิษทางความรอน คือ สภาวะที่อุณหภูมิของโลกรอนจนเกินความสามารถในการปรับตัว
ของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต บนโลก ทั ้ ง มนุ ษ ย สั ต ว และพื ช รวมทั ้ ง ส ง ผลกระทบทางลบต อ ระบบนิ เ วศและ
สิ่งแวดลอม เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่แยลง คุณภาพชีวิตของมนุษยดอยลง ปญหามลพิษ
สิ่งแวดลอมเกิดมาพรอมกับความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในยุคปฏิบัติอุตสาหกรรม
มนุษยมีความรูเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ สรางสิ่งอำนวยความสะดวกใหแก่การดำรงชีวิตของตนเองเปน
จำนวนมาก สิ่งเหลานี้สงผลกระทบตอการเกิดปรากฏการณเรือนกระจก หรือสภาวะโลกรอน
5.6.1 มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางความรอน
ฝุน ควันจากรถยนต โรงงานอุตสาหกรรม ก๊าซที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต เปนมลสารชนิดหนึ่งที่เปน
ตัวการก่อใหเกิดปญหามลพิษความรอน ชนิดของก๊าซพิษที่ปลอยจากแหลงกำเนิดสูบรรยากาศ ก๊าซ
คารบอนไดออกไซดและคารบอนมอนอกไซดรวมตัวกัน กลุมก๊าซนี้จะสกัดความรอนที่สะทอนจากวัตถุ
บนผิวโลก ทําใหผิวโลกรอน การสกัดกั้นความรอนไวได เกิดจากแสงแดดที่สองจากดวงอาทิตย เปน
รังสีคลื่นสั้นสามารถผานกลุมหรือชั้นของก๊าซลงมาได เมื่อรังสีคลื่นสั้นกระทบผิววัตถุบนผิวโลก รังสี
คลื่นสั้นจะเปลี่ยนเปนรังสีคลื่นยาวสะทอนกลับขึ้นไป รังสีคลื่นยาวที่สะทอนกลับขึ้นไปนี้ไมสามารถ
ผ านกลุ  มหรื อชั ้ นของก๊ าซไปได จึ งเกิ ดสะสมปกคลุ มอยู  ที ่ ชั ้ นบรรยากาศ เรี ยกว า เรื อนกระจก
(Greenhouse effect) เพราะเหมือนกับที่ ปรากฏในเรือนกระจกที่มีวัตถุโปรงแสง เหมือนพลาสติก
ปกคลุม นับวันปรากฏการณนี้มีแนวโนมรุนแรงขึ้น เนื่องจากมีการปลอยก๊าซคารบอนไดอออกไซดสู
บรรยากาศเพิ่มขึ้นปละ 20-25% จากกิจกรรมของมนุษย จากโรงงานอุตสาหกรรม สิ่งนี้เปนแค่ตัวการ
หนึ่งเทานั้น มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางความรอน ยังมีอีกหลายปจจัย เช่น
1. สารคลอโรฟลูออโรคารบอน (Chlorofluoro carbon หรือ CFC ) ซึ่งมนุษยนํามาใช้ ใน
กระปองสเปรย อุตสาหกรรมหลอเย็น โฟม รวมทั้งใช้ในการทําความสะอาดชิ้นสวนขนาดเล็กของ
เครื่องอิเล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอร สารตัวนี้เปนก๊าซเฉื่อย (Inert gas) มีความคงตัวสูง สามารถ
ลอยอยูในบรรยากาศจนถึงชั้นโอโซนซึ่งอยูเหนือพื้นโลก ทําใหโมเลกุลของโอโซนกลายเปนออกซิเจน
และสารประกอบอื่น ซึ่งจะทําใหชั้นของโอโซนบางลง สงผลกระทบใหปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย
รวมทั้งรังสีอินฟราเรดที่เปนรังสีความรอนสามารถผานชั้นโอโซนมายังโลกไดมากขึ้น ทําใหโลกรอนขึ้น
246

2. ความรอนจากดินและสิ่งก่อสราง ที่ไดรับอิทธิพลจากแสงดวงอาทิตยที่สองลงมาในตอน
กลางวัน ความรอนที่คายออกมาเปนไปในอัตราต่ำ เมื่อไมมีแสงอาทิตย ความรอนในอากาศลดลง
ความรอนจากดิน และสิ่งก่อสรางจึงคายออกมาในอัตราที่สูง
3. ความรอนจากเครื่องทําความเย็น ตูเย็น เครื่องทําน้ำแข็ง เครื่องปรับอากาศ และโรงงาน
อุตสาหกรรม การทํางานของตูเย็น เครื่องทําน้ำแข็งและเครื่องปรับอากาศ ตางอาศัยหลักการทํางาน
เดียวกัน คือดูดความรอนจากภายในแลวคายความรอนออกสูสิ่งแวดลอมภายนอก ทําใหอุณหภูมิ ของ
บรรยากาศภายนอกสูงขึ้น ความรอนจากโรงงานอุตสาหกรรมและสถานที่ที่มีการเผาไหมอื่น เกิด
เนื่องจากการใช้พลังงานในการเผาไหม การจุดระเบิดของเครื่องทุนแรง
4. ความรอนแฝง ในบริเวณเขตรอนมักมีเมฆมากและก่อตัวเปนเวลานานทําใหบรรยากาศ
รอนอบอาว ความรอนนี้เรียกวา ความรอนแฝง เกิดเนื่องจากความรอนที่คายออก มาขณะที่ไอน้ำกลั่น
ตัวเปนของเหลวก่อนที่จะรวมตัวเปนหยดน้ำตกลงเปนฝน
5.6.2 ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางความรอน
เมื่ออุณหภูมิโลกสูงขึ้น โลกไดรับความรอนจากดวงอาทิตยที่สองมายังพื้นโลก แลวสะทอน
กลับไปไดบางสวน เนื่องจากมีอนุภาคฝุน ควัน ปดกั้นชั้นบรรยากาศโลกไว ทำใหความรอนที่เหลืออยู
ที่พื้นโลกถูกสะสมไว เหตุการณนี้สงผลกระทบใหภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง การดำรงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิตรวมทั้งมนุษยตองปรับตัวตามไปดวย โลกรอนขึ้น สิ่งมีชีวิตบางชนิดสามารถปรับตัวไดสามารถ
อยูรอดได แตหากสิ่งมีชีวิตใดไมสามารถปรับตัวได ตองสูญพันธไปในที่สุด เช่น หมีขั้วโลก ไมสามารถ
อยูไดในสภาวะน้ำแข็งขั้วโลกละลาย ฝนตก พายุเข้าไมเปนไปตามฤดูกาล ควบคุมไมได เปนตน
ผลกระทบนี้เปนเพียงผลกระทบดานหนึ่งยังมีผลกระทบดานอื่นอีก เช่น
1. ดานการเกษตร พืชตองการน้ำ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น พืชเกิดกระบวนการคายน้ำมากขึ้น
สงผลใหพืชเหี่ยวเฉาง่าย และเกษตรกรผูปลูกพืชตองใช้น้ำในปริมาณที่มากขึ้นตามไปดวยเพื่อดำรง
ผลผลิตไมใหเสียหาย ขาดทุน
2. ดานแหลงน้ำ อุณหภูมิของน้ำสงผลตอการดำรงชีวิตของพืชน้ำ สัตวน้ำ ในแตละระดับ
ความลึกของน้ำ ทั้งน้ำจืดและน้ำทะเล ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นจากการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก สัตวน้ำ
บางชนิดไมสามารถปรับตัวไดเมื่ออุณหภูมิของน้ำสูงขึ้น จนเสียชีวิตและสูญพันธุไปในที่สุด เช่น
ปะการังเกิดการฟอกขาว เปนตน
247

3. ดานสุขภาพของมนุษย อากาศรอน รางกายขาดน้ำ ทําใหระบบขับถายน้ำจากรางกาย


ทํางานหนักผิดปกติ ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร ออนเพลีย กระเพาะอาหารทําหนาที่ไมปกติ ความรอน
ทําใหอารมณหงุดหงิด โกรธง่าย ประสิทธิภาพในการทํางานลดต่ำลง
4. ดานสาธารณสุขและการระบาดของเชื้อก่อโรค อุณหภูมิเพิ่มขึ้น เหมาะแก่การเจริญของ
เชื้อก่อโรคเขตรอนมากมาย เช่น โรคทองรวง อหิวาตกโรคมีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่
ปนเปอนในอาหาร หรือมือที่ไมสะอาด โรคไข้สมองอักเสบมีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัสจากโดนยุงกัด
โรคปอดบวมในเด็กมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือรา ไขหวัดใหญมีสาเหตุมาจาก
เชื้อไวรัส ไข้เลือดออกมีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัสจากโดนยุงลายกัด เปนตน
5. ดานระบบนิเวศ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น สงผลตอการเจริญเติบโตของพืช ทำใหแพลงตอนพืช
และพืชเสียชีวิตลดจำนวนลง จะสงผลตอหวงโซ่อาหาร สัตวน้ำมีอาหารไมเพียงพอตอการบริโภค เกิด
การแก่งแยงแข่งขันกัน อาจทำใหสัตวน้ำลดจำนวนลงตามไปดวย ระบบนิเวศเกิดการเสียสมดุล
6. ดานวัสดุที่สรางสถานที่ตาง ๆ ความรอนสงผลตอการเสื่อมสภาพของสิ่งปลูกสราง อาคาร
บานเรือน ที่สำคัญคือ โบราณสถานและโบราณวัตถุ ที่เปนประวัติศาสตรในการศึกษาหาความรู
จะตองเสื่อมโทรมและเสียสภาพไป อาจไมหลงเหลือของเดิมใหไดศึกษาเรียนรูสำหรับเยาวชนรุน
ลูกหลาน
5.6.3 แนวทางการแก้ไขปญหามลพิษทางความรอน
สภาวะโลกรอน สงผลกระทบตอมนุษยทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เช่นเดียวกันกับสัตว
และพืชไดรับผลกระทบตอการดำรงชีวิตไปดวย เมื่อสิ่งมีชีวิตไดรับผลกระทบและเกิดการเสียชีวิต
จึงสงผลกระทบตอไปยังระบบนิเวศบริเวณนั้น ดังนั้นมนุษยทุกคนควรตระหนักและใหความสำคัญเพื่อ
แก้ปญหามลพิษทางความรอนอยางเรงดวน แนวทางในการแก้ไขปญหา มีดังนี้
1. รณรงค์รวมกันปลูกปาเพิ่มพื้นที่สีเขียว
2. ตระหนักถึงผลเสียที่เกิดขึ้นจากมลพิษทางความรอน และรวมกันลดแหลงกำเนิดมลพิษ
เช่น ลดการใช้รถยนตสวนตัวในบางครั้ง โดยใช้รถโดยสารสาธารณะ
3. กำหนดกฎหมายควบคุ ม ที ่ เ ข้ ม งวดเกี ่ ย วกั บ การปล อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกจากโรงงาน
อุตสาหกรรม
4. ศึกษาวิจัยเทคโนโลยีที่ช่วยแก้ไขปญหามลพิษทางความรอนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
5. สรางพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดมาใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิง
248

6. ยกเลิกการผลิต หรือการใช้สาร CFC หรือสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางความรอน และ


แสวงหาสารชนิดอื่นมาทดแทนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
7. การรวมมือกันของประเทศตาง ๆ ทั่วโลกในการจัดทำข้อตกลงระหวางประเทศเพื่อลดก๊าซ
เรือนกระจก ที่เปนสาเหตุของการเกิดมลพิษทางความรอน สำหรับประเทศไทย สำนักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2563)
ไดมีการจัดตั้งกลไกและกำหนดแผนดำเนินการเพื่อใหประเทศบรรลุเปาหมายการลดก๊าซเรือนกระจก
ตามที่ไดกำหนดไว โดยไดจัดตั้งคณะทำงานจัดทำแผนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ภายใต
คณะอนุกรรมการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดานการบูรณาการนโยบายและแผน เพื่อพิจารณา
และจัดทำรางแผนที่นำทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ป พ.ศ. 2564 – 2573 (Thailand’s
Nationally Determined Contribution Roadmap on Mitigation 2021 – 2030 ห ร ื อ NDC
Roadmap on Mitigation 2021 – 2030) สำหรับข้อตกลงอื่น ที่อธิบายไวโดย สำนักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2553)
ไดแก่
อนุสัญญาเวียนนา วาดวยการปองกันชั้นโอโซนในบรรยากาศมิใหถูกทำลาย และรวมกันแก้ไข
ปญหาสิ่งแวดลอม ที่เกิดจากช่องโหวของชั้นโอโซน โดยสนับสนุนใหเกิดการวิจัย และความรวมมือ
ในการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหวางประเทศตาง ๆ นอกจากนี้อนุสัญญายังประกอบดวยข้อตกลง
ระหวางประเทศที่จะลดและเลิกการใช้สารเคมีที่ก่อใหเกิดการทำลายชั้นโอโซนดวย
พิธีสารมอนทรีออล วาดวยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน สนธิสัญญาสากลที่กำหนดขึ้น
เพื่อควบคุม ยับยั้ง และรณรงค์ใหลดการผลิต ลดการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้น
บรรยากาศโอโซนที ่ เ ริ ่ ม จะสู ญ สลายไปเนื ่ อ งจากสารเหล า นี้ โดยมุ  ง ไปที ่ ก ารจำกั ด การใช้ ก ลุ ม
สารประกอบประเภทไฮโดรคารบอน-ฮาโลเจน ซึ่งพบวามีสวนสำคัญในการทำลายชั้นบรรยากาศ
โอโซน โดยสารทำลายชั้นโอโซนทั้งหมดนี้ มีสวนผสมของคลอรีนหรือโบรมีนประกอบอยูดวย (ในขณะ
ที่สารที่ประกอบดวยฟลูออรีนเทานั้นจะไมทำลายชั้นโอโซน) สนธิสัญญาไดจำแนกสารทำลายชั้น
โอโซนออกเปนกลุม ๆ โดยแบงเปนตารางเวลาที่ระบุถึงจำนวนปที่การผลิตสารเหลานี้จะตองยุติลง
และหมดสิ้นลงไปในที่สุด
พิ ธ ี ส ารเกี ย วโต ว า ด ว ยเรื ่ อ งการลดการปล อ ยแก๊ ส เรื อ นกระจก ลดปริ ม าณการปล อ ย
ก๊าซเรือนกระจก ซึ่งพิธีสารเกียวโตมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 1997 ในเมืองเกียวโต ประเทศ
249

ญี่ปุน และมามีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2548 กำหนดใหกลุมประเทศอุตสาหกรรม


ลดปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งประกอบดวย คารบอนไดออกไซด มีเทน ไนตรัสออกไซด
ซัลเฟอรเฮกซะฟลูออไรด ก๊าซในกลุมไฮโดรฟลูโอโรคารบอน (HFCs) และเปอรฟลูออโรคารบอน
(PFCs) ในป พ.ศ. 2553 ก๊าซเรือนกระจก ลดลง 5.2%

5.7 มลพิษทางขยะ
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2560) ไดอธิบายเกี่ยวกับ
ขยะมูลฝอย ความหมายของมลพิษขยะ การจัดแบงประเภทขยะมูลฝอย และปจจัยที่ก่อใหเกิดปญหา
มลพิษทางขยะไว ดังนี้ ขยะมูลฝอย (waste) หมายถึง สิ่งใดตามที่เหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต
บริโภคและอุปโภค แลวมนุษยไมตองการ หรือสิ่งที่เสื่อมสภาพจนใช้การไมไดแลว ขยะมีทั้งของแข็ง
ของเหลว หรือกากของเสีย มีกลิ่นเหม็น สงผลกระทบทางลบตอคุณภาพชีวิต สุขภาพทางกายและใจ
เนื่องจากขยะมีลักษณะสกปรก เปนแหลงเพาะพันธุแมลง สัตวพาหะนำโรค และเชื้อจุลินทรียก่อโรค
ทำใหเกิดมลพิษและทัศนียภาพไมสวยงามไมนามอง
มลพิษทางขยะ จึงหมายถึง สภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสมอันเนื่องมาจากขยะมูลฝอย เช่น
เศษอาหารเหลือทิ้งจากครัวเรือน ขยะปนเปอนในแหลงน้ำ เปนตน ซึ่งขยะมีแหลงกำเนิดมาจาก
สถานที่ใดตาม ไดแก่ ครัวเรือน ชุมชน ที่พักอาศัย รานค้า สถานที่ทองเที่ยว สถานศึกษา สถานที่
ราชการ โรงพยาบาล สถานที่ก่อสราง โรงงานอุตสาหกรรม การทำเกษตรกรรม รวมทั้งระบบบำบัด
ของเสียตามที่ตาง ๆ เปนตน
5.7.1 ประเภทของขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอยสามารถจัดจำแนกตามลักษณะได 3 ลักษณะ คือ 1) ตามการเกิดอันตรายตอ
มนุษยและสิ่งแวดลอม 2) ตามลักษณะของขยะ หรือ 3) ตามลักษณะทางกายภาพ ซึ่งพิจารณาโดย
สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม (2559) ไวดังนี้
1. จำแนกตามการเกิดอันตรายตอมนุษยและสิ่งแวดลอม
1.1 ขยะทั่วไป คือ ขยะมูลฝอยที่ก่อใหเกิดอันตรายนอย เช่น เศษอาหาร เศษกระดาษ
เศษผา เศษใบไม เปนตน
250

1.2 ขยะอันตราย คือ ขยะที่มีภัยอันตรายตอคนและสิ่งแวดลอม อาจมีสารพิษ ติดไฟง่าย


หรือระเบิด ปนเปอนเชื้อโรค เช่น ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ ไฟแช็ก กระปองสเปรย สารฆ่าแมลง ยาเบื่อ
หรือวัสดุอุปกรณจากคลินิกและสถานพยาบาล เปนตน
2. จำแนกตามลักษณะของขยะ
2.1 ขยะเปยก คือ ขยะที่มีความชื้นมากกวารอยละ 50 ติดไฟไดยาก ไดแก่ เศษอาหาร
เศษผักและเปลือกผลไม ซากพืชซากสัตวที่เสียชีวิตแลวเนาเปอย ขยะประเภทนี้เกิดการหมักหมม
สงกลิ่นเหม็นจากการทำงานของแบคทีเรียยอยสลายอินทรียสาร รวมทั้งเปนแหลงเพาะพันธุแมลงและ
สัตวพาหะนำโรค
2.2 ขยะแหง คือ ขยะที่มีความชื้นนอย
2.2.1 ขยะที่ก่อใหเกิดเชื้อเพลิง เช่น เศษกระดาษ เศษใบไม เปนตน
2.2.2 ขยะที่ไมก่อใหเกิดเชื้อเพลิง เช่น เศษแก้ว เศษพลาสติก เศษแก้ว เศษก้อนอิฐ
เปนตน
3. จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ
การจัดจำแนกดวยลักษณะนี้เปนที่นิยมมากในปจจุบัน เพราะเปนการจัดกลุมของขยะตาม
สีของถังขยะเพื่อนำไปกำจัดดวยวิธีการที่ถูกตองและเหมาะสม หนวยงานที่เกี่ยวข้องสามารถให
คำแนะนำแก่ประชาชน ประชาชนสามารถทิ้งขยะแตละชนิดลงถังขยะตามสีของถังไดอยางถูกตอง
(ภาพที่ 5.3)
3.1 ขยะทั่วไป คือ ขยะมูลฝอยที่มีลักษณะยอยยากและไมคุ้มค่าสำหรับการนำกลับมาใช้
ใหม เช่น หอพลาสติกใสขนมขบเคี้ยว ลูกอม ถุงผงซักฟอก ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป โฟมบรรจุอาหาร
ฟลม ถนอมอาหาร เปนตน ขยะประเภทนี้มีปริมาณ ประมาณ 3% ของปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดใน
กองขยะ
3.2 ขยะอินทรีย คือ ขยะมูลฝอยที่มีลักษณะเนาเสียและยอยสลายง่าย สามารถนำมาทำ
ปุยหมักได เช่น เศษอาหาร เศษผักและเปลือกผลไม เศษเนื้อสัตว มูลสัตว เศษใบไม วัสดุอินทรียเหลือ
ทิ้งจากการเกษตร เปนตน ขยะประเภทนี้มีปริมาณมากที่สุด ถึง 64% ของปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด
ในกองขยะ
3.3 ขยะรีไซเคิล คือ ของที่ไมตองการแลวจากการบรรจุภัณฑ หรือ วัสดุเหลือใช้ สามารถ
นำกลับมาใช้ใหมได เช่น ขวดแก้ว กระดาษ พลาสติก ยางรถ กลองนม กระปองน้ำอัดลม เหล็ก
251

อลูมิเนียม เปนตน ขยะประเภทนี้มีปริมาณ ประมาณ 30% ของปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดใน


กองขยะ
3.4 ขยะอันตราย คือ ขยะมูลฝอยที่มีองค์ประกอบหรือมีการปนเปอนวัตถุอันตรายชนิด
ตาง ๆ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ได วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำใหเกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุ
ที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกรอน วัตถุที่ก่อใหเกิดการระคายเคือง รวมทั้ง
เคมี ภ ั ณฑ ท ี ่ ก ่ อ ให เ กิ ด อั น ตรายต อ มนุ ษ ย แ ละสิ ่ ง แวดล อ ม เช่ น ถ า ยไฟฉาย แบตเตอรี ่ อุ ป กรณ
อิเล็กทรอนิกส สมารทโฟน บรรจุภัณฑสารพิษทางการเกษตร กระปองสเปรย สีทาบาน ขยะประเภท
นี้มีปริมาณ ประมาณ 3% ของปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดในกองขยะ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2559) ถึงแมขยะประเภทนี้จะมีนอย แตก่อใหเกิดอันตรายมาก

ภาพที่ 5.3 การจัดจำแนกประเภทของขยะมูลฝอย


มาจาก: https://esc.doae.go.th/มาตรการลด-และคัดแยกขยะ/

5.7.2 มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางขยะ
สิ่งใดตามที่เหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต บริโภคและอุปโภค แลวมนุษยไมตองการ หรือสิ่งที่
เสื่อมสภาพจนใช้การไมไดแลว ลวนเปนมลสารที่ก่อใหเกิดปญหามลพิษทางขยะทั้งหมด ไดแก่
1. ผัก ผลไมและเศษอาหาร เกิดจากเศษอาหาร เศษผัก เศษผลไมและเปลือกผลไม เปนขยะ
อินทรีย ถึงแมจะนำมาทำปุยหมักได แตขยะอินทรียมีปริมาณมากจนใช้เวลาผลิตเปนปุยไมทัน เกิด
การสะสมเกิดการทำงานของแบคทีเรียยอยสลายอินทรียสาร เกิดกลิ่นเหม็น เปนแหลงสะสมของ
แมลงและสัตวพาหะนำโรค และเชื้อจุลินทรียก่อโรค
252

2. กระดาษ นอกจากจะเปนขยะแลว ยังทำลายทรัพยากรปาไม และทรัพยากรดินอีกดวย


เนื่องจากกระดาษถาไมทำมาจากตนไมชนิดตาง ๆ จะทำมาจากตนยูคาลิปตัส ซึ่งเปนตนไมที่ตองการ
ธาตุอาหารพืชปริมาณมากในการเจริญเติบโตเปนตนใหญเพื่อนำมาทำเปนกระดาษ เมื่อปลูกในดิน
หนึ่งครั้ง ดินจะเสื่อมคุณภาพลงทันที
3. พลาสติก วัสดุที่ทำมาจากเม็ดพลาสติก ที่ยอยสลายไดยากตามสภาพธรรมชาติ
4. ผา ไมวาจะเปนเศษผา หรือผาที่เราทิ้งไมใช้แลว เปนขยะที่ยอยสลายยากทั้งสิ้น รวมทั้งยัง
มีสารเคมีในกระบวนการผลิตผาเปนลวดลายตาง ๆ สียอมผา ซึ่งเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม
5. ยางและหนัง วัสดุหรือผลิตภัณฑที่ทำจากยางหรือหนัง เปนขยะที่ยอยสลายยากตามสภาพ
ธรรมชาติ
6. แก้ว โลหะ เหล็ก วัสดุอุปกรณที่ใช้สำหรับบรรจุภัณฑ ยานพาหนะ อุปกรณอิเล็กทรอนิกส
เสาไฟฟาที่ชำรุด วัสดุก่อสรางบาน ลวนแลวแตเปนขยะที่ยอยสลายยาก
7. อุปกรณคอมพิวเตอร สมารทโฟน หลอดไฟ แบตเตอรี่ เครื่องอุปโภคที่ทำจากสารเคมี
เปนขยะอันตรายตอมนุษยและสิ่งแวดลอม ซึ่งนาวิตกเปนอยางมากในปจจุบัน
8. ขยะติดเชื้อจากคลินิกและสถานพยาบาล โรงพยาบาล เปนขยะที่มีเชื้อก่อโรค มีสิ่งสกปรก
ของเสียจากตัวผูปวย เช่น น้ำมูก น้ำหนอง เลือด ซึ่งเปนอันตรายตอมนุษยและสิ่งแวดลอม
5.7.3 ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางขยะ
ประชากรเพิ่มจำนวนมากขึ้น ทำใหปริมาณขยะเพิ่มขึ้นตามไปดวย เปนผลมาจากพฤติกรรม
การบริโภค การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ขยะที่เกิดขึ้นบางชนิดถูกผลิตขึ้นมากจากวัสดุที่ยอยยาก
ใช้เวลานานหลายปกวาจะยอยสลายไปในสภาพธรรมชาติ ขยะหลากหลายถูกหนวยงานที่เกี่ยวข้อง
เก็บและนำมากองรวมกัน ขยะเกิดขึ้นทุกวัน และกองทับถมกัน ทำใหทัศนียภาพไมนามอง (ภาพที่
5.4) พื้นที่มีขยะกองอยู ดูสกปรก ไมนามอง ไมมีความเปนระเบียบ เปนที่นารังเกียจตอผูที่พบเห็น
และสรางความไมประทับใจใหกับนักทองเที่ยวอีกดวย
นอกจากนี้ขยะยังสงผลตอสุขภาพของมนุษย สัตวและพืช ขยะเปนแหลงเพาะเชื้อจุลินทรีย
ก่อโรค แมลงหรือสัตวพาหะนำโรค ไมวาจะเปน แมลงวัน แมลงสาบ หนู หรือสุนัขที่มาคุ้ยเขี่ยกอง
ขยะเพื่อหาเศษอาหาร เชื้อก่อโรคจากขยะติดเชื้อจากสถานพยาบาล หากเกิดการฟุงกระจายใน
อากาศ อาจเปนเหตุใหเกิดการแพรกระจายเชื้อโรคไปสูมนุษย จนเกิดอาการเจ็บปวยได รวมทั้ง
ผลกระทบดานอื่นที่พบ ไดแก่
253

ภาพที่ 5.4 ขยะที่กองรวมกันทำใหทัศนียภาพไมนามอง


มาจาก: https://www.krungsri.com/th/plearn-plearn/zero-waste-lifestyle

1. ทำใหเกิดมลพิษทางดิน ขยะกองอยูบนดิน ทำใหดินเสื่อมคุณภาพ ทำใหสมบัติทาง


กายภาพของดินเปลี่ยนแปลงไป ไมสามารถเพาะปลูกได
2. ทำใหเกิดมลพิษทางน้ำ ขยะที่ลอยอยูในน้ำ ปกคลุมแสงแดดดไมสามารถสองถึงผิวน้ำและ
ใตน้ำได สงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืชน้ำ แพลงตอนพืช ซึ่งเปนผูผลิตในหวงโซ่อาหาร ทำ
ใหสัตวน้ำไมมีอาหารบริโภค และอาจเสียชีวิตในที่สุด ขยะทำใหแหลงน้ำนั้นเนาเสีย ไมสามารถ
นำมาใช้ในการอุปโภคบริโภคได หนวยงานที่รับผิดชอบตองสิ้นเปลืองงบประมาณในการกำจัดขยะทาง
น้ำ
3. ทำใหเกิดมลพิษทางอากาศ ขยะที่กองทับถมกันอยูจำนวนมาก เมื่อไมมีระบบการจัดการที่
เหมาะสม เกิดการยอยสลายโดยจุลินทรีย สงกลิ่นเหม็นฟุงกระจายลอยไปในอากาศ ทำใหไมเปนที่พึง
ประสงค์ของผูคนทั่วไป
254

5.7.4 แนวทางการแก้ไขปญหามลพิษทางขยะ
มลพิษทางขยะ เปนปญหาที่ตองไดรับการแก้ไขอยางเรงดวนเช่นกัน ประชาชนทุกคนใน
ประเทศ ตองไดรับข้อมูลในการช่วยกันจัดการคัดแยกขยะดวยวิธีการที่ถูกตอง และสามารถปฏิบัติได
ทุกคน ดังนั้นแนวทางที่เสนอแนะในการแก้ไขปญหามลพิษทางขยะ มีดังนี้
1. รณรงค์ สรางความรูความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการลดปริมาณขยะ ตระหนักถึงผลเสียของ
มลพิษจากขยะมูลฝอยตอการดำรงชีวิต คุณภาพชีวิตของมนุษย และการเจริญเติบโตของสัตวและพืช
2. กำหนดกฎหมายควบคุมการทิ้งขยะจากแหลงกำเนิดตาง ๆ และมีบทลงโทษที่รุนแรง
สำหรับผูที่ทิ้งชยะไมถูกตองตามกฎหมายกำหนด
3. ลดปริมาณการใช้กระดาษในสำนักงาน โดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิกสในการสงข้อมูลภายใน
องค์กร เช่น แจ้งเวียนหนังสือเอกสารผานอีเมล line application รวมทั้งปจจุบันมีเทคโนโลยีบล็อก
เชนในการสรางระบบเวียนเอกสารในหนวยงาน ทำใหผูทำงานในหนวยงานนั้น ๆ ไดรับข้อมูลข่าวสาร
รวดเร็วทันเวลา
4. หนวยงานที่เกี่ยวข้องใหความรูสรางความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะอยางถูกวิธีและ
เพิ่มมูลค่า ใช้หลักในการบริหารจัดการขยะ 3R และปจจุบันมีเพิ่มมาอีก 3R เปน 6R คือ
4.1 Reduce ลดการใช้ หรือใช้ใหนอยลง
4.2 Reuse นำกลับมาใช้ซ้ำ โดยไมมีการเปลี่ยนรูปสิ่งนั้น
4.3 Recycle นำกลับมาใช้ใหม โดยการแปรรูปไปเปนสิ่งอื่น เช่น ฝากระปองน้ำอัดลม
เปนอลูมิเนียมสามารถรีไซเคิลเปนขาเทียมได เปนตน
4.4 Repair ซ่อมแซมและนำกลับมาใช้อีกครั้ง
4.5 Reject ปฏิเสธการใช้สิ่งนั้น สิ่งที่มีสารพิษเปนองค์ประกอบอยู
4.6 Recovery การไดประโยชนกลับคืนจากขยะ เช่น การนำขยะมูลฝอยไปเปนวัตถุดิบใน
การผลิตกระแสไฟฟา เปนตน
5. สนับสนุนการศึกษาวิจัยวิธีการกำจัดขยะที่เหมาะสมและเกิดประโยชน วิธีการแก้ไขปญหา
ขยะ ผลเสียที่เกิดจากมลพิษขยะมูลฝอย และถายทอดองค์ความรูใหแก่ประชาชน
6. มีการจัดตั้งศูนยบริการกำจัดขยะหรือกากของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
255

5.8 มลพิษทางอาหาร
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2558) ไดอธิบายถึงความหมายและความสำคัญของ
อาหาร ปญหาของการเกิดมลพิษทางอาหาร ปจจัยที่สงผลกระทบตอการเกิดมลพิษทางอาหาร ดังนี้
อาหารเปนปจจัยหลักในการดำรงชีวิตของมนุษย เพื่อการเจริญเติบโต และสุขภาพแข็งแรง
ของรางกาย อาหาร 5 หมู คือ โปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร ถูกนำมาประกอบเปน
เมนูอาหารที่หลากหลายเพื่อใหมนุษยบริโภค อาหารเมื่อเข้าสูรางกายมนุษย จะมีกลไกการทำงานของ
เอนไซมยอยอาหารแตละประเภท แลวไดพลังงาน เพื่อสรางอวัยวะตาง ๆ ภายในรางกายใหสมบูรณ
และซ่อมแซมสวนที่สึกหรอ ดังนั้น อาหารที่มนุษยรับประทานเข้าไปนอกจากจะใหความอรอย
มีคุณประโยชนตอรางกายแลว คุณภาพของอาหารจะตองมีความปลอดภัยและสะอาด ปราศจาก
สิ่งสกปรกและเชื้อก่อโรคทางเดินอาหาร
มลพิษทางอาหาร หมายถึง อาหารที่เรารับประทานเข้าไปมีสารพิษเจือปนและสารนั้นก่อโทษ
ใหกับรางกาย บางครั้งอาจทำใหเสียชีวิตไดโดยฉับพลัน บางครั้งจะสะสมไวในรางกายจนมากพอ
จนเกิดโทษแก่รางกาย เช่น โรคมะเร็ง เปนตน มลพิษทางอาหารอาจเกิดมาจากธรรมชาติเองหรือ
เกิดการปนเปอนโดยบังเอิญ
5.8.1 มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอาหาร
มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอาหาร มีปจจัยมาจากแหลงกำเนิดหลายแหลง ไดแก่ 1) สารพิษ
จากพืชหรือสัตวที่มีตามธรรมชาติ 2) สารพิษจากเชื้อจุลินทรียที่ปนเปอนมาในกระบวนการผลิต
อาหาร 3) สารพิษจากยาหรือสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร 4) สารพิษจากวัตถุเจือปนอาหาร และ
5) โลหะหนัก จะเห็นไดวา การบริโภคอาหารของมนุษยมีปจจัยมากมายที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอาหาร
ที่สงผลกระทบตอสุขอนามัย ดังนั้น ผูเขียนจะขยายความเพิ่มเติมเกี่ยวกับมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษ
ทางอาหาร เพื่อใหผูอานไดเรียนรูและระมัดระวังในการเลือกบริโภคอาหารใหถูกสุขลักษณะ ดังนี้
1. สารพิษจากพืชหรือสัตวที่มีตามธรรมชาติ เช่น
ผักบอน มีเกลือออกซาเลต ที่มีรูปรางเปนผลึกรูปเข็ม เมื่อรับประทานเข้าไปอาจเกิดการ
แพ มีผื่นคันตามตัว
ผักหนาม/ผักเสี้ยน/มันสำปะหลัง มีไซยาโนเจเนติกไกลโคไซด เมื่อรับประทานเข้าไป มีผล
ตอระบบทางเดินหายใจ หายใจติดขัด ชาตามมือและเทา จนอาจเสียชีวิตได
256

กะหล่ำปลีดิบ มีสารกอยโตรเจน สารตัวนี้จะไปกันการจับไอโอดีนของตอมไทรอยด ไม


สามารถสรางฮอรโมนไทรอกซิน ทำใหเปนโรคคอหอยพอก ขาดไอโอดีน เวลารับประทานตองทำให
สุกก่อน
มันฝรั่งดิบ มีสารโซลานีน สารพิษไกลโคแอลคาลอยด เปนสารที่พืชสรางขึ้นมาปองกัน
ตนเองจากแมลงศัตรูพืช เมื่อรับประทานเข้าไป ทำใหเกิดอาการปวดหัว คลื่นไส อาเจียน ใจสั่น หัวใจ
ลมเหลว อาจเสียชีวิตได
ถั่วฝกยาวดิบ มีคารบอนไดออกไซดสูง เมื่อรับประทานเข้าไป ทำใหทองอืด คนที่มีปญหา
การยอยอาหารและผูสูงอายุไมควรทาน ก่อนทานตองลางใหสะอาดและปรุงสุก
คางคก มี ต  อ มพิ ษ อยู  ข ้ า งหู ซึ ่ ง ทำหน า ที ่ ผ ลิ ต สารพิ ษ ได แ ก่ บู โ ฟทอกซิ น บู ฟ าจิ น ส
อะกลูโคน และบูโฟธาลิน เปนตน สารพิษเหลานี้ทนตออุณหภูมิสูงกวา 100 องศาเซลเซียสยังไม
สลายตัว ถึงแมจะปรุงสุก ไมสามารถทำลายสารพิษเหลานี้ได ถารับประทานเข้าไป จะมีอาการ
คลื่นไส อาเจียน ปวดทองรุนแรง วิงเวียนศีรษะ มีอาการทางประสาทหลอน ชัก ระบบไหวเวียนเลือด
ผิดปกติ และอาจเสียชีวิต
ปลาปกเปา มีสาร เทโทรโดทอกซิน ถารับประทานเข้าไป จะมีอาการ คลื่นไส อาเจียน
ปวดทองรุนแรง วิงเวียนศีรษะ และอาจเสียชีวิต
แมงดาถวย/แมงดาไฟ แมงดาทะเล คนทั่วไปนิยมทานไข่แมงดา ซึ่งไข่แมงดามีสารพิษ
ปนเปอนจากการที่แมงดากินตัวแพลงก์ตอนที่มีพิษ หรือกินหอยหรือหนอนที่กิน แพลงก์ตอนที่มีพิษ
เข้าไป ทำใหสารพิษไปสะสมอยูในเนื้อและไข่ของแมงดา และแบคทีเรียในลำไสของตัวแมงดาสราง
สารพิษ ถึงแมจะปรุงสุก ไมสามารถทำลายสารพิษเหลานี้ได อาการขึ้นอยูกับปริมาณที่กินเข้าไปมาก
หรือนอย มีอาการชาที่ริมฝปาก มือและเทา เวียนศีรษะ คลื่นไส อาเจียน แขนขาไมมีแรง หายใจ
ติดขัด กลามเนื้อเกี่ยวกับการหายใจเปนอัมพาต เนื่องจากพิษของ แมงดาทะเลเปนพิษตอระบบ
ประสาทที่ควบคุมการหายใจ ในเด็กเล็กจะมีอาการรุนแรงมากกวาผูใหญ
2. สารพิษจากเชื้อจุลินทรียท ี่ปนเปอนมาในกระบวนการผลิตอาหาร สารพิษเหลานี้จะทำใหผู
ที่รับประทานอาหารเข้าไป มีอาการ ปวดทอง อาเจียน ทองรวง ระบบหายใจลมเหลว และอาจ
เสียชีวิตในที่สุด เช่น
แบคทีเรีย Escherichia coli หรือ กลุมโคลิฟอรม เปนแบคทีเรียที่อาจปนเปอนมากับ
วัตถุดิบที่นำมาทำอาหาร เช่นผักและเนื้อสัตวที่ไมสะอาด
257

แบคทีเรีย Clostridium botulinum เปนแบคทีเรียที่พบในอาหารกระปองที่เสื่อมสภาพ


กระปองชำรุด
แบคทีเรีย Salmonella sp. เปนแบคทีเรียที่พบมากในผลิตภัณฑสัตว เนื้อสัตวสด
แบคที เ รี ย Staphylococcus aureus เป น แบคที เ รี ย ที ่ พ บได บ นผิ ว หนั ง มนุ ษ ย และ
ปนเปอนมาจากกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑที่มีการปนปอนของเชื้อชนิดนี้ เช่น ผลิตภัณฑเนื้อสัตว ไก่
ไข่ ทูนา มักกะโรนี ผลิตภัณฑที่มีแปงเปนสวนประกอบ และผลิตภัณฑนม เปนตน
รา Aspergillus flavus มักพบในถั่ว หัวหอม ขนมปงหมดอายุ ราชนิดนี้สรางสาร อะฟลา
ทอกซิน เปนสารพิษที่มีผลทำลายตับ ไต ปอด และอาจเสียชีวิตได
ไวรัส เชื้อชนิดนี้มักพบในอาหารทะเล เช่น หอยแครง หอยแมงภู เปนตน ถารับประทาน
อาหารทะเลที่ไมสุกเข้าไป จะมีอาการ คลื่นไส อาเจียน ปวดทองรุนแรง ตับอักเสบ และอาจเสียชีวิต
3. สารพิษจากยาหรือสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร เช่น ปุยเคมี สารฆ่าแมลงศัตรูพืช ยากำจัด
วัชพืชและหญา เมื่อมีการใช้สารเหลานี้ในการปลูกพืช อาจเกิดการตกค้างในพืชได เมื่อมนุษยและสัตว
กินพืชที่มีสารพิษเหลานี้เข้าไป สงผลตอระบบทางเดินอาหาร หรืออาจเปนเนื้องอก และมะเร็งได
เกษตรกรผูใช้ไดรับผลกระทบทางลบตอรางกายอีกดวย
4. สารพิษจากวัตถุเจือปนอาหาร เช่น ผงชูรส สารปรุงแตงสี สีสังเคราะห สารใหความหวาน
น้ำตาลเทียม น้ำสมสายชู บอแรกซ์ สารกันบูด สารฟอกสี หรือสารฟอรมาลีนปองกันการเสียสภาพ
ของอาหารทะเล สารพิษเหลานี้ มีหลากหลายบริษัทผลิตขึ้นมาวางจำหนาย หากมนุษยรับประทาน
เข้าไป ผูที่แพ จะมีอาการ คลื่นไส อาเจียน ปวดทองรุนแรง วิงเวียนศีรษะ และอาจเสียชีวิต สำหรับ
ผูที่กินสะสมเปนเวลานาน อาจเกิดเนื้องอก ตับอักเสบ ไตวาย หรือเปนมะเร็งได
5. โลหะหนัก มักปนเปอนมากับพืช เนื้อสัตว และอาหารทะเล โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท
แคดเมียม สารหนู แมงกานีส มีแหลงกำเนิดมาจากโรงงานอุตสาหกรรม ปลอยออกสูสิ่งแวดลอม
ปนเปอนมากับแหลงน้ำ ผูไมรูนำน้ำมาใช้อุปโภคบริโภค และใช้ทำการเกษตร ปศุสัตว สงผลใหเกิด
การสะสมอยูในพืช สัตว และอาหารทะเล
5.8.2 ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางอาหาร
อาหารเปนปจจัยสำคัญที่สรางพลังงานใหกับมนุษย มนุษยสามารถทำงานได ทำกิจกรรมใน
แตละวันได เพราะอาหารที่มนุษยไดรับเข้าไปผานกระบวนการยอยอาหาร กลายเปนพลังงาน และ
สารอาหารที่ไปซ่อมแซมสวนที่สึกหรอในรางกายของมนุษย มนุษยควรเลือกรับประทานอาหารที่มี
258

ประโยชนตอรางกาย และหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำใหเกิดความเจ็บปวย แตหากมนุษยไมมีความรู และกิน


อาหารที่ก่อใหเกิดอันตรายตอรางกาย ทำใหเกิดผลกระทบหลากหลายดาน ไดแก่
1. ดานสุขภาพอนามัย เมื่อมนุษยรับสารพิษที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอาหารเข้าไป จะมีอาการ
เจ็บปวย สงผลตอคุณภาพชีวิต เมื่อมนุษยเจ็บปวย จะตองไปพบแพทย มีค่าใช้จ่ายในการรักษาตนเอง
มีผลกระทบตอการทำงาน ตองลางานเพื่อพักผอนใหรางกายดีขึ้น สงผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคม
เมื่อการทำงานในสวนที่รับผิดชอบของผูปวยตองหยุดชะงัก จะมีผลกระทบตอระบบการทำงานเดินไป
อยางลาช้า หรือผูปวยอาจเสียชีวิต
2. ดานเศรษฐกิจและสังคม ผลิตภัณฑทางการเกษตร อาหารหากมีการปนเปอนสารพิษ
ผลิตภัณฑทางเศรษฐกิจสงผลกระทบทางลบตอการสงออก มีผลเสียหายทางการค้าระหวางประเทศ
รัฐบาลขาดรายไดเข้าประเทศ เศรษฐกิจเกิดการตกต่ำ เช่น ปญหาการสงออกสินค้าข้าว ข้าวโพด
ถั่วลิสง เนื่องจากการปนเปอนเชื้อราที่สรางสารอะฟลาทอกซิน เปนตน
3. การเกิดโรคและความเจ็บปวย จากการรับโลหะหนักเข้าสูรางกายเกินความสามารถรับได
เช่น
3.1 ตะกั่ว มีผลกระทบทางลบตอทารกในครรภมารดา ทำลายเม็ดเลือด เกิดโลหิตจาง มีผล
ตอระบบประสาท ระบบสืบพันธุ
3.2 ปรอท มีผลกระทบทางลบตอทารกในครรภมารดา มีผลตอระบบประสาท ทำลายตับ ไต
โรคที่เกิดจากปรอท เรียกวา โรคมินามาตะ เกิดขึ้นที่ประเทศญี่ปุน ปรอทถูกปลอยออกสูแหลงน้ำจาก
โรงงานอุตสาหกรรม
3.3 แคดเมียม มีผลกระทบทางลบตอทารกในครรภมารดา ทำลายตับ ไต มีผลตอกระดูก
เปราะบาง กระดูกผิดปกติ โรคที่เกิดจากแคดเมียม เรียกวา โรคอิไต-อิไต เกิดขึ้นที่ประเทศญี่ปุน
3.4 สารหนู มีผลกระทบทางลบตอทารกในครรภมารดา ทำลายเม็ดเลือด เกิดโลหิตจาง เม็ด
เลือดขาวถูกทำลาย ทำลายตับ ไต โรคที่เกิดจากสารหนู เรียกวา โรคไข้ดำ
3.5 แมงกานีส ทำลายระบบการเคลื่อนไหวทรงตัวของรางกาย ออนเพลียเปนตะคริวง่าย
และอาจเสียชีวิตในที่สุด
259

5.8.3 แนวทางการแก้ไขปญหามลพิษทางอาหาร
มลพิษทางอาหารที่เกิดขึ้นกับมนุษย สงผลกระทบตอมนุษยทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต
ดังนั้นมนุษยทุกคนควรตระหนักและใหความสำคัญเพื่อแก้ปญหามลพิษทางอาหาร แนวทางในการ
แก้ไขปญหา มีดังนี้
1. มีการกำหนด พระราชบัญญัติอาหาร การควบคุมกระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย และ
การคุ้มครองผูบริโภค ผลิตภัณฑที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคของมนุษยและสัตวเลี้ยง ตองมีการรับรอง
จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กฎหมายเกี่ยวกับสถานที่ผลิตอาหาร Food safety GMP
GAP HACCP CoC รวมทั้ง มาตรฐาน ISO/IEC 17065
2. รณรงค์ สรางความรูความเข้าใจเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากอาหาร การเลือกซื้ออาหารที่
สะอาดปลอดภัย วิธีการปองกันการปนเปอนของสารพิษจากอาหารเข้าสูรางกาย การปลูกพืชผักสวน
ครัวกินเองในบาน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9
3. รูวิธีปฐมพยาบาลเบื้องตน
4. สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยทางอาหาร การลดการ
ปนเปอนของมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอาหาร และเผยแพรประชาสัมพันธใหประชาชนไดรับ
ความรู
5. มีการจัดตั้งศูนยบริการการตรวจวิเคราะหความปลอดภัยของอาหาร ตรวจสอบการ
ปนเปอนของมลสารในอาหาร

5.9 มลพิษทางเสียงและการสั่นสะเทือน
จากหนังสือสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต (คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี
และชีวิต, 2557) และ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ศศินา, 2550) ไดอธิบายเรื่องเสียง ระดับ
ความดังของเสียง มลพิษทางเสียง และประเภทของมลพิษทางเสียง ไวดังนี้
เสียง เปนพลังงานรูปหนึ่งที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุตนกำเนิดผานตัวกลางไปสู
อวัยวะรับฟง เปนเสียงที่ฟงแลวไมก่อใหเกิดความรำคาญ สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีความสุข
ระดับความดังของเสียง มีหนวยวัดเปน เดซิเบล มาจากเครื่องวัดเสียงเลียนแบบลักษณะการ
ทำงานของหูมนุษย องค์การอนามัยโลกไดกำหนดไววา ระดับเสียงที่ดังเกิน 85 เดซิเบล เปนเสียงที่
อันตรายตอการไดยินของมนุษย ปจจุบันพบวา ระดับเสียงที่ดังเกินกำหนดมักเกิดขึ้นในโรงงาน
260

อุตสาหกรรมที่มีเครื่องจักรทำงาน และก่อใหเกิดผลเสียตอการทำงานของพนักงาน เปนอันตรายตอ


สุขภาพกายและจิตใจของพนักงาน เปนผลใหเกิดความเจ็บปวย
ดังนั้น มลพิษทางเสียง หมายถึง เสียงที่ฟงแลวก่อใหเกิดความรำคาญ เสียงรบกวน และอาจ
ก่อใหเกิดอันตรายตอหูซึ่งเปนอวัยวะรับฟง และรางกาย หูมีคุณสมบัติในการรับฟงเสียงตาง ๆ และ
อดทนกับความดังของเสียงไดแตกตางกันไปแตละบุคคล จึงตองมีการกำหนดมาตรฐานระดับเสียงที่
คนทั่วไปยอมรับไดไมเกิดอันตรายในขณะทำงาน เพื่อประสิทธิภาพที่ดีของการทำงานดวย
โดยมลพิษทางเสียงมีแหลงกำเนิดหรือปจจัยที่ก่อใหเกิดมลพิษทางเสียงมาจาก 1) เสียงจาก
บานเรือน ชุมชน ที่อยูอาศัย เช่น เสียงดังจากการพูดคุย เสียงดังจากการทะเลาะวิวาท เสียงโทรทัศน
วิทยุ เสียงเด็กทารกรองงอแง เปนตน 2) เสียงจากแหลงอุตสาหกรรม เกิดจากการทำงานของ
เครื่องมือ เครื่องจักร 3) เสียงจากการคมนาคมขนสง เช่น รถบรรทุกที่กำลังวิ่งการสตารทรถ เสียงจาก
ทอไอเสียรถ เปนตน 4) เสียงจากสถานประกอบการ เช่น เสียงเพลงทีเปดดัง เปนตน 5) เสียงจากการ
ก่อสราง และ 6) เสียงจากเครื่องเครื่องบินและทาอากาศยาน (ภาพที่ 5.5)

ภาพที่ 5.5 แหลงกำเนิดเสียงและปจจัยที่ก่อใหเกิดมลพิษทางเสียง


มาจาก: กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแลดลอม
https://www.nationtv.tv/news/378876089
261

5.9.1 ประเภทของมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง สามารถแบงตามลักษณะการเกิดเสียงได 3 ลักษณะ คือ
1. เสียงดังแบบตอเนื่อง เปนเสียงดังที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องในขณะทำงาน มี 2 แบบ คือ เสียง
ดังตอเนื่องแบบคงที่ เช่น เสียงเครื่องทอผา เสียงพัดลม เปนตน และ เสียงดังตอเนื่องแบบไมคงที่
เสียงเครื่องเจียร เปนตน
2. เสียงดังเปนช่วง เปนเสียงที่ดังไมตอเนื่อง มีความเงียบหรือดังเปนระยะสลับไปมา เช่น
เสียงเครื่องปม เสียงเครื่องบินที่บินผาน เปนตน
3. เสี ย งดั ง กระทบ หรื อ กระแทก เป น เสี ย งที ่ เ กิ ด ขึ ้ น และสิ ้ น สุ ด อย า งรวดเร็ ว มี ก าร
เปลี่ยนแปลงเสียงมากกวา 40 เดซิเบล เช่น เสียงตอกเสาเข็มก่อสราง การปมชิ้นงาน การทุบเคาะ
ทำลายอาคาร เสียงโลหะกระแทก เปนตน
5.9.2 ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางเสียง
การทำงานในพื้นที่มีเสียงดังเกิน 85 เดซิเบล เปนเวลาติดตอกันมากกวา 8 ชั่วโมงตอวันเปน
ระยะเวลานานเปนป อาจสงผลกระทบทางลบตอมนุษย ดังตอไปนี้
1. ผลเสียดานสุขภาพ โดยเฉพาะระบบประสาทหู มีผลตอการไดยินทั้งแบบชั่วคราวและแบบ
ถาวร จนอาจเกิดความพิการ หูหนวก ไมไดยินได
2. ผลเสียดานจิตใจ การไดยินเสียงที่เกินเกณฑกำหนด นอกจากจะสรางความรำคาญใจแลว
ก่อใหเกิดความเครียดเปนโรคประสาท เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานอารมณ สงผลตอระบบการยอย
อาหาร ความดันโลหิตสูง ได
3. ผลเสียดานประสิทธิภาพการทำงาน เสียงที่ดังเกินความสามารถในการรับไดของแตละ
บุคคล ทำใหเสียสมาธิในการทำงาน บุคคลที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ควบคุมการทำงานของ
เครื่องจักรเครื่องยนต อาจเกิดอุบัติเหตุในการทำงานได เมื่อเกิดอุบัติเหตุ เกิดความเจ็บปวย ทำให
ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง
5.9.3 แนวทางการแก้ไขปญหามลพิษทางเสียง
วิธีการปองกันอันตรายจากมลพิษทางเสียง เสียงรบกวนตองควบคุมแหลงกำเนิดเสียง ใช้
อุปกรณปองกันเสียง ควบคุมทางผานของเสียง และยังมีวิธีการอื่นในการปองกันอันตรายจากเสียงที่
เกินความสามารถรับไดของหูมนุษยอีก ไดแก่
262

1. ผูปฏิบัติงานที่ตองทำงานในที่ที่มีเสียงดังตอเนื่องตลอดเวลา ควรมีเครื่องวัดระดับเสียง
(noise dosimeter) เพื่อปองกันอันตรายที่เกิดจากการไดยิน
2. กรณีโรงงานอุตสาหกรรมที่ตองมีเสียงดังจากเครื่องจักร ตองมีหมวกสวมครอบหูลดเสียง
3. กฎหมายบังคับเรื่องเสียง ในกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และ
ดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทำงานเกี่ยวกับความรอน
แสงสวาง และเสียง
4. หลีกเลี่ยงการอยูในพื้นที่เสียงดังหรือมีแหลงกำเนิดมลพิษทางเสียง
5. ลดความดังจากแหลงกำเนิดเสียง เพิ่มระยะหางระหวางผูปฏิบัติงานกับแหลงกำเนิดเสียง
การสรางกำแพงกั้น ใช้วัสดุเก็บเสียงบุผนังหอง ปลูกตนไมช่วยลดความดังของเสียง เปนตน

5.10 หลักการปองกันและแนวทางในการสงเสริมการปองกันมลพิษทางสิ่งแวดลอม
หลักการปองกันมลพิษทางสิ่งแวดลอม หมายถึง กระบวนการที่ลดหรือกำจัดการเกิดมลพิษ
หรื อ ของเสี ย จากจุ ด กำเนิ ด การลดปริ ม าณการใช้ ส ารทั ้ ง ที ่ เ ป น อั น ตรายและไม เ ป น อั น ตราย
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การรูจักวิธีใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุดและใช้ทรัพยากรนั้นนอยที่สุด
เพื่อลดความเสี่ยงตอสุขภาพอนามัยของมนุษยและผลกระทบทางลบตอสิ่งแวดลอม โดยพิจารณาจาก
แหลงกำเนิดมลพิษ สาเหตุของการเกิดมลพิษ สภาวะสนับสนุนและช่วงเวลาในการเกิดมลพิษ ชนิด
ปริมาณ และลักษณะของมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษ รวมทั้งมาตรการวิธีปองกันไมใหเกิดหรือลด
ปริมาณมลพิษ ไดแก่ การลดปริมาณของเสียใหมีนอยที่สุด การใช้เทคโนโลยีสะอาด การผลิตที่สะอาด
การลดแหลงกำเนิดมลพิษ การบำบัดแหลงกำเนิดมลพิษ ประสิทธิผลเชิงวัสดุ ประสิทธิผลสีเขียว
แนวทางในการสงเสริมการปองกันมลพิษทางสิ่งแวดลอม ควรเปนความรับผิดชอบของทุก
ภาคสวน โดยเริ่มตนจากหนวยงานภาครัฐ มีนโยบายระดับชาติเพื่อสงเสริมการปองกันมลพิษ ที่มา
จากการแสดงความคิดเห็นของประชาชนทุกคนในประเทศ เพื่อออกกฎหมายและข้อบังคับในการ
จัดการมลพิษทางสิ่งแวดลอม จากนั้นหนวยงานจัดเจ้าหนาที่ผูเชี่ยวชาญใหความรูแก่ประชาชน
หนวยงานที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนงานวิจัย และถายทอดความรูทางวิชาการสูผูประกอบการ โรงงาน
อุตสาหกรรมจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบประชาสัมพันธความรูสูประชาชน ที่สำคัญการปลูกฝง สราง
จิตสำนึก มีกิจกรรมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหแก่เยาวชน สรางความ
263

ตระหนักถึงผลกระทบใหแก่ประชาชน จะสงผลในระยะยาวในการปองกันมลพิษทางสิ่งแวดลอม
รวมทั้งควรสนับสนุนใหมีโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการปองกันมลพิษกับตางประเทศ
ดังนั้น ประโยชนของการปองกันมลพิษ คือ ลดปญหามลพิษที่เกิดขึ้นในหลายดานใหลดลง
เปนการช่วยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประหยัดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ
งบประมาณของรัฐและภาคเอกชน สำหรับกระบวนการผลิตช่วยลดตนทุน ลดปริมาณการสูญเสียดาน
ตาง ๆ ทั้งคุณภาพชีวิตของมนุษย การดำรงชีวิตของสัตว พืช จุลินทรีย ระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม
เพิ่มคุณภาพ ประสิทธิภาพ และเพิ่มผลผลิตในกระบวนการตาง ๆ เพิ่มความปลอดภัยในชีวิตความ
เปนอยูและความมั่นคง สรางภาพพจนที่ดีใหกับประเทศที่มีมลพิษนอย เปนแรงจูงใจในการมา
ทองเที่ยวของนักทองเที่ยวทั่วโลก นำไปสูการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน เปน
แนวทางในการกำหนดระบบ ISO 14000 สำหรับดานการจัดการสิ่งแวดลอม

5.11 ตัวอยางงานวิจัยที่เปนแนวทางในการจัดการปญหาสิ่งแวดลอม
แนวทางการจัดการทรัพยากรดินและทรัพยากรน้ำ ในงานวิจัยนี้ ไดนำแนวพระราชดำริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 เรื่องของการนำหญาแฝกมาปลูก
เพื่อช่วยรักษาหนาดินและดูดซับน้ำไวไดดี เนื่องจากหญาแฝกมีระบบรากลึก แผกระจายลงไปในดินได
โดยตรงเปนแผงเหมือนกำแพง จะช่วยกรองตะกอนดิน รักษาหนาดินไวไดดี ลดอัตราการพังทลายของ
หนาดินในพื้นที่ลาดเอียงภูเขาในยามที่มีฝนตกหนักน้ำฝนไหลแรง รวมทั้งยังช่วยรักษาความชุ่มชื้นของ
น้ำไวไดดีอีกดวย นับเปนนวัตกรรมทางการอนุรักษทรัพยากรดินและน้ำอันชาญฉลาดของในหลวง
รัชกาลที่ 9 จากการศึกษาธรรมชาติของหญาแฝกแลวนำมาใช้ประโยชนในการปรับปรุงโครงสรางดิน
ฟนฟูดินใหอุดมสมบูรณอีกครั้ง เปนการแก้ไขปญหาดินเสื่อมโทรมไดเปนอยางดี นอกจากรากของ
หญาแฝกจะใช้ประโยชนในการจัดการดินและน้ำแลวนั้น ใบของหญาแฝกสามารถนำมาทำผลิตภัณฑ
หัตถกรรมไดอยางแข็งแรงและสวยงาม เปนที่ชื่นชอบของผูบริโภค (กิตติมา, 2558)
แนวทางการจัดการปญหามลพิษทางน้ำ โดยการใช้พืชดูดซับสารพิษ (phytodegradation)
งานวิจัยนี้ใช้วัชพืชที่มีชี่อวา กกสามเหลี่ยม มีชื่อวิทยาศาสตรวา Scirpus grossus ซึ่งเปนวัชพืชที่ขึ้น
ไดง่ายในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมทั้งประเทศไทย ในงานวิจัยพบวา เนื้อเยื่อภายใน
กกสามเหลี่ยม สามารถดูดซับน้ำมันดีเซลที่ปนเปอนในแหลงน้ำไดสูงถึง 80% ในเนื้อเยื่อลำตนและใบ
264

สามารถดูดซับน้ำมันดีเซลปนเปอนไดสูง 223.56 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม คิดเปน 93.72% รวมทั้ง


แบคทีเรียที่รากของกกสามเหลี่ยมสามารถผลิตเอนไซมยอยโครงสรางของน้ำมันดีเซลใหเล็กลง ทำให
กกสามเหลี่ยม ดูดซับน้ำมันดีเซลที่ปนเปอนไดปริมาณมากดวย งานวิจัยนี้เปนแนวทางของการใช้สิ่งที่
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและมีตนทุนต่ำมาช่วยในการบำบัดน้ำที่มีการปนเปอนของน้ำมัน วิธีการนี้
สามารถนำไปใช้ในการปองกันการปนเปอนของน้ำมันจากอุตสาหกรรมน้ำมันที่มีโอกาสรั่วไหลออกสู
สิ่งแวดลอมได (Al-Baldawi et al., 2015)
แนวทางการป อ งกั น มลพิ ษ ทางความร อ นและมลพิ ษ ทางเสี ย ง ด ว ยการใช้ เ ทคโนโลยี
หลังคาเขียว รวมกับหลังคาเหล็กรีดลอนสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากหลังคาเหล็กรีดลอน
สามารถเกิดปญหาเรื่องของความรอนที่สงผานหลังคา และเสียงน้ำฝนที่ตกกระทบบนหลังคา ซึ่งเปน
ปญหาจากวัสดุที่ทำดวยโลหะ มีการนำความรอนสูง และเกิดการสั่นสะเทือนมากเวลามีสิ่งใดตก
กระทบ โดยงานวิจัยของ กันติทัต และคณะ (2562) ไดทดสอบประสิทธิภาพของหลังคาเขียวประเภท
น้ำหนักเบาแบบไมใช้สอย ซึ่งมีพืชที่ปลูกเปนพืชขนาดเล็ก ไมตองการความสวยงามมากนัก มีความ
ทนทานตอความแหงแลง เช่น หญา เปนตน หลังคาเขียวที่ใช้มีน้ำหนักเบานำมาคลุมบนหลังคาเหล็ก
รีดลอนของอาคารโรงงานอุตสาหกรรม ผลการทดลองพบวา การใช้หลังคาเขียวช่วยลดอุณหภูมิที่ผิว
หลังคาลง 30 องศาเซลเซียส ลดอุณหภูมิภายในหองใตหลังคาลง 2-3 องศาเซลเซียสในช่วงเวลา
กลางวัน รวมทั้งการใช้หลังคาเขียวยังช่วยลดเสียงตกกระทบของน้ำฝนลงถึง 14.5 เดซิเบลอีกดวย พืช
ที่ปลูกบนหลังคาเขียวทำหนาที่ดูดซับความรอนจากแสงอาทิตย และก๊าซคารบอนไดออกไซด เพื่อใช้
ในกระบวนการสังเคราะหแสง และปลอยก๊าซออกซิเจนออกสูบรรยากาศ จึงช่วยลดความรอนและ
ก๊าซพิษซึ่งเปนมลสารทางอากาศใหนอยลงได
แนวทางการจัดการปญหามลพิษขยะมูลฝอย แนวทางการจัดการขยะอินทรียเหลือทิ้งจาก
การเกษตรและโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ปจจุบันชนิดของขยะที่มีปริมาณมากที่สุดคือ ขยะอินทรีย
จากครัวเรือน การทำการเกษตรและปศุสัตว รวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรมทางดานอาหารในประเทศ
ไทยมีจำนวนมาก งานวิจัยนี้ไดนำวัสดุอินทรียเหลือทิ้งจากการเกษตรและโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
รวมกับเทคโนโลยีการผลิตปุยหมักมูลไสเดือนดิน โดยเลียนแบบธรรมชาติการใช้ชีวิตของไสเดือนดินที่
มีในประเทศไทย เพราะมีคุณสมบัติทนตออุณหภูมิในประเทศไทยไดดี เมื่อสรางสภาวะแวดลอมที่
เหมาะสมตอความเปนอยูของไสเดือนดินแลว วัสดุอินทรียเหลือทิ้งจากการเกษตรและโรงงาน
อุตสาหกรรมอาหาร คือ มูลวัว ขี้เลื่อย ฟางข้าว เปลือกไข่บดละเอียด กระดาษที่ใช้แลว และวัสดุเพาะ
265

เห็ดที่ใช้ไมได และเปลือกผักและผลไม มาใช้เปนอาหารของไสเดือนดิน และใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร


การวัดอุณหภูมิความชื้น การวัดความเปนกรด-ดาง มาช่วยในกระบวนการผลิตปุยหมักรูปแบบนี้ดวย
ในงานวิจัยพบวา ไสเดือนดินในสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมสามารถยอยวัสดุอินทรียตาง ๆ ไดดี และ
ขยายพันธุเพิ่มจำนวนมากขึ้น นอกจากนี้ ปุยมูลไสเดือนดินที่ไดมีคุณสมบัติทางเคมีเชิงฟสิกสเปนไป
ตามมาตราฐานของปุยอินทรีย ที่กำหนดโดยกรมวิชาการเกษตร และยังพบวา ในปุยมูลไสเดือนดินมี
ธาตุอาหารที่จำเปนตอการเจริญเติบโตของพืช คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม มีปริมาณ
มากกวาเกณฑมาตรฐานถึง 3 เทา เทคโนโลยีการผลิตปุยมูลไสเดือนดิน จึงเปนวิธีทางเลือกอีกวิธีหนึ่ง
ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นอกจากจะลดปริมาณขยะอินทรียแลวยังสงเสริมการทำเกษตรปลอดภัยอีก
ดวย (Tangsombatvichit et al., 2016)
แนวทางการจัดการมลพิษทางอาหาร อาหารเปนปจจัย 4 ที่มนุษยตองการเพื่อสรางพลังงาน
ใหสามารถทำกิจกรรมตาง ๆ ในแตละวันไดอยางมีประสิทธิภาพและไมเหนื่อยลา คุณภาพและ
สุขอนามัยของอาหารที่รับประทานจึงเปนเรื่องสำคัญที่มนุษยตองใสใจในการเลือกสวนประกอบและ
ความปลอดภัยของอาหาร การเกิดมลพิษทางดานอาหารกับมนุษย มีสาเหตุหลักมาจากการปนเปอน
ของเชื้อจุลินทรียก่อโรคทางเดินอาหาร ทำใหมนุษยเกิดอาการทองเสีย อาเจียน และอาจถึงเสียชีวิตได
ดังนั้นอาหารที่ผลิตควรตองปรุงสุก แตดวยสถานการณการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัลที่ตองแข่งขันกันทำมา
หากิน ยากที่มนุษยสวนใหญจะใช้เวลาเข้าครัวเพื่อทำอาหารปรุงสุกทานเอง จำเปนตองซื้ออาหารปรุง
สำเร็จมารับประทาน การตรวจสอบคุณภาพดานจุลชีววิทยาของอาหารจึงเข้ามาเปนสิ่งที่ควบคุม
ผูผลิตใหผลิตอาหารที่ถูกสุขอนามัย ในงานวิจัยนี้ ทำการศึกษาคุณภาพดานจุลชีววิทยาของอาหารปรุง
สำเร็จที่จำหนายในโรงอาหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม 2554 เพราะ
โรงอาหารเปนสถานที่ที่จำหนายอาหารแก่นักศึกษา บุคลากรในมหาวิทยาลัย จึงตองมีการตรวจสอบ
การปนเปอนของเชื้อจุลินทรียในอาหาร ผลการทดลองพบวา จากการสุมอาหาร 23 ตัวอยาง จาก
รานอาหาร 5 ราน พบวา มีอาหารบางชนิดที่ไมผานเกณฑมาตรฐานกำหนด โดยมีการปนเปอนของ
แบคทีเรียทั้งหมด Escherichia coli ยีสตและรา ซึ่งเชื้อจุลินทรียเหลานี้สามารถก่ออันตรายดาน
สุขภาพของผูบริโภค และสงผลกระทบตอการเรียนของนักศึกษาและการทำงานของบุคลากรใน
มหาวิทยาลัย รวมทั้งตองเสียค่ารักษาพยาบาลอีกดวย ดังนั้น การควบคุมคุณภาพดานจุลชีววิยาของ
อาหารจึ ง เป น สิ ่ ง จำเป น ต อ การควบคุ ม ผู  ผ ลิ ต ในทุ ก ขั ้ น ตอนของกระบวนการผลิ ต หน ว ยงานที่
266

รับผิดชอบจะตองมีแนวทางการปองกันเสนอแนะผูผลิตเมื่อเกิดการปนเปอนของเชื้อจุลินทรียก่อโรค
ทางเดินอาหารเกินเกณฑมาตรฐานกำหนด (บุญเลี้ยง และคณะ, 2560)
267

สรุปทายบท
ปญหามลพิษสิ่งแวดลอม เปนผลจากการกระทำของมนุษยมากกวาเกิดจากธรรมชาติ ซึ่ง
กิจกรรมที่เกิดขึ้นจะมีสิ่งเจือปนหรือปนเปอนในสิ่งแวดลอมทั้งในรูปของสสารและพลังงาน ทำให
สิ่งแวดลอมเกิดความเสื่อมโทรม ปริมาณมลสารมากจนก่อใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัยของ
มนุษยหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศ การเกิดมลพิษจะดำเนินไปตามวิถีทางของมลสารจากแหลงที่
ผานสิ่งแวดลอมตาง ๆ จนกระทั่งถึงมนุษยหรือสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ระดับของปญหามลพิษ
สิ่งแวดลอมจะขึ้นอยูกับผลกระทบตอกลุมเปาหมายตาง ๆ ไดแก่ มนุษย ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ
ระบบนิเวศ หากสงผลกระทบตอมนุษยมาก มนุษยมักจะเริ่มเห็นความสำคัญ แลวทำการหาวิธีอนุรักษ
ฟนฟูสิ่งแวดลอมนั้น ๆ อยางเรงดวน ไมวาจะเปนมลพิษทางขยะ มลพิษทางอาหาร และมลพิษทาง
เสียงและการสั่นสะเทือน มนุษยจึงคิดหาวิธีในการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ใหอยูในสภาพดี
ลดความเสื่อมโทรม รวมทั้งการจัดตั้งโครงการใด ๆ ตองผานการพิจารณาจากผูเชี่ยวชาญในการ
ประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะคุณภาพชีวิตของมนุษย
ทุกคนบนโลกใบนี้ มีหนาที่ในการอนุรักษสิ่งแวดลอมใหอยูอยางสมดุล
268

แบบฝกหัดทายบทที่ 5
1. มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษสิ่งแวดลอมมีลักษณะอยางไร จงอธิบาย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

2. ปญหาน้ำเนาเสียเกิดจากสาเหตุใดบาง จงอธิบาย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

3. ทานมีแนวทางช่วยปองกันน้ำเนาเสียไดอยางไรบาง จงบอกมา 3 ข้อ


_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
269

4. จงยกตัวอยางมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอาหาร ที่เกิดจากจุลินทรีย มา 1 ตัวอยาง พรอมอธิบาย


รายละเอียด
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

5. กรณีการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ตั้งแตป 2562 เปนตนมา นับวาเปนมลพิษสิ่งแวดลอม


ดานใด และมีวิธีปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสไดอยางไรบาง จงบอกมา 2 ข้อ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
270

เอกสารอางอิง
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2559). คู่มือประชาชนการคัดแยก
ขยะมูลฝอยอยางถูกวิธีและเพิ่มมูลค่า. พิมพครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ: บริษัท ฮีซ์ จำกัด.
กิตติมา ศิวอาทิตยกุล. (2558). เอกสารวิชาการ การบริหารจัดการการใช้หญาแฝกอยางยั่งยืน. กอง
วิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
กันติทัต ทับสุวรรณ พาสินี สุนากร และชนิกานต ยิ้มประยูร. (2562). ประสิทธิภาพในการลดอุณหภูมิ
และเสียงรบกวนของระบบหลังคาเขียวบนหลังคาเหล็กรีดลอน. วารสารวิชาการสถาปตยกรรม
ศาสตร. 68: 99-114.
คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. (2557). สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต.
พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
บุญเลี้ยง สุพิมพ, ปยะพงษ ชุมศรี และอรทัย ปานเพชร. (2560). คุณภาพดานจุลชีววิทยาของอาหาร
ปรุ ง สำเร็ จ ในโรงอาหารมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เลย. วารสารวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 19: 72-81.
พจน อินทรนันท. (2559). ดินแบบไหนตนไมเติบโต. กรุงเทพฯ: คอรฟงก์ชั่น.
ศศินา ภารา. (2550). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท.
วิสันต ทาวสูงเนิน. (2558). ปรับปรุงโครงสรางดินอยางยั่งยืนตามแนวโครงการพระราชดำริ. นนทบุรี:
บุตร-บอส บุคเซ็นเตอร.
Al-Baldawi, I.A., Abdullah, S.R.S., Anuar, N., Suja, F. and Mushrifah, I. (2015).
Phytodegradation of total petroleum hydrocarbon (TPH) in diesel-contaminated
water using Scirpus grossus. Ecological Engineering. 74: 463-473.
Peirce, J.J., Vesilind, P.A. and Weiner R.F. (1998). Environmental pollution and control.
4th ed. United States of America: Butterworth-Heinemann.
Tangsombatvichit, P., Chupong, S., Ketrot, D. and Boonlerthirun, K. (2016). The
management of organic wastes produced vermicompost using earthworm Eudrilus
eugeniae and effects of vermicompost on growth of Helianthus annuus. 5th
International conference on food, Agricultural and Biological Sciences (ICFABS2016),
Dec 25-26, 2016, Thailand.
271

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2560). ยุทธศาสตรการจัดการ
มลพิ ษ 20 ป และแผนการจั ด การมลพิ ษ พ.ศ. 2560-2564 [online] แหล ง ที ่ ม า:
https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/04/pcdnew-2020-04-23_03-41-
12_505896.pdf วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2562). มาตราการการจัดการ
ปญหามลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะ [online] แหลงที่มา: https://www.pcd.go.th/
airandsound/คู่มือมาตราการการจัดกา วันที่สืบค้น 23 เมษายน 2566.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2558). รายงานสถานการณสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประเทศ
ไทย ป 2557 [online] แหล ง ที ่ ม า: http://203.157.71.148/hpc6/planning/รายงานการ
สำรวจดานสุขภาพ/สถานการณอนามัยสิ่งแวดลอม%202557.pdf. วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม
2564.
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2566). มลพิษทาง
อากาศ [online] แหล ง ที ่ ม า: https://datacenter.deqp.go.th/knowledge/อากาศ/มลพ-
ษทางอากาศ/ วันที่สืบค้น 14 เมษายน 2566.
กองจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2562).
รายงานการดำเนิ น งาน กองจั ด การคุ ณ ภาพน้ ำ พ.ศ. 2562 [online] แหล ง ที ่ ม า:
https://www.pcd.go.th/publication/3929 วันที่สืบค้น 14 เมษายน 2566.
บริษัทเฮลธแอนดเอ็นไวเทคจำกัด. (2562). สารมลพิษทางอากาศคืออะไรและสงผลกระทบตอสุขภาพ
อยางไร [online] แหลงที่มา: https://healthenvi.com/how-air-pollution-affects-health/
วันที่สืบค้น 14 เมษายน 2566.
สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม. (2566). ทำความรูจักกับปลากระเบนราหูน้ำจืดสัตวน้ำใกลสูญ
พันธุ [online] แหลงที่มา: https://adeq.or.th/กระเบนราหูน้ำจืด/ วันที่สืบค้น 14 เมษายน
2566.
272

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ ่ ง แวดล อ ม. (2553). ความรู  เ บื ้ อ งต น เกี ่ ย วกั บ พิ ธ ี ส ารเกี ย วโต [online] แหล ง ที ่ ม า:
https://www.law.cmu.ac.th/law2011/ journal/e1506546359.pdf วันที่สืบค้น 3 เมษายน
2563.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม. (2563). แผนที่นำทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ป พ.ศ. 2564-2573
[online] แหลงที่มา: http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER38/DRAWER027/
GENERAL/DATA0000/ 00000853.PDF วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ. (2565). ฝุน PM 2.5 เปนสารก่อมะเร็งเสี่ยง
เสียชีวิตสูงตายปละ 7 หมื่นคน [online] แหลงที่มา: https://resourcecenter.thaihealth.
or.th/article/ฝุน-pm2-5-เปนสารก่อมะเร็ง-เสี่ยงเสียชีวิตสูง-ตายปละ-7-หมื่นคน วันที่สืบค้น
14 เมษายน 2566.
โรงพยาบาลพญาไท. (2563). ฝุนควันในเมือง ทำเสี่ยงมะเร็งปอดจริงไหมนะ [online] แหลงที่มา:
https://www.phyathai.com/article_detail/2889/th/ฝุนควันในเมือง_ทำเสี่ยงมะเร็งปอด
จริงไหมนะ??branch=PYT2 วันทีส่ ืบค้น 14 เมษายน 2566.
Thai PBS. (2559). ข่ า วเด น 2559: วิ ก ฤตปลากระเบนราหู แ ม ก ลองตายกว า 50 ตั ว [online]
แหลงที่มา: https://www.thaipbs.or.th/news/content/259059 วันที่สืบค้น 14 เมษายน
2566.
273

บทที่ 6
เทคโนโลยีและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิต

6.1 บทนำ
ในยุคดิจิทัล ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ.2544-2643) ยุคที่วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามา
เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษยมากขึ้น รวมทั้งการมีระบบทุนนิยม คือการแลกเปลี่ยนสิ่งของกัน
ดวยเงินตรา จะเห็นไดวา มนุษยมีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ความเปนอยู กลิ่นอายวัฒนธรรม และ
ประเพณี ไปจากดั้งเดิมมาก โดยยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม มนุษยใช้ชีวิตตามธรรมชาติ กลมกลืนไป
กับธรรมชาติ เช่น อาศัยอยูในถ้ำ หาของปากิน ใช้ไมฝนก่อไฟ ใช้ไมเขียนบนถ้ำ นำใบไมมาปกคลุม
รางกายตนเองปองกันจากการเปลี่ยนแปลงสภาพถูมิอากาศ มีการลาสัตว แลกเปลี่ยนของกิน หรือ
สิ่งของระหวางกันโดยไมมีการใช้เงินเปนตัวกลาง จนมาถึงยุคหลังปฏิวัติอุตสาหกรรม เปนยุคที่มีการ
พัฒนาหลากหลายดานอยางรวดเร็ว มีการใช้เงินเปนตัวกลางในการแลกเปลี่ยนสิ่งของตามความ
ตองการของมนุษย มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่สมองขนาดใหญที่สุดเมื่อเทียบกับสิ่งมีชีวิตอื่น ดังนั้น มนุษย
จึงมีความชาญฉลาดที่สุด มนุษยมีความนึกคิด มีความรูสึก มีความซับซ้อนของมิติทางความคิด
หลากหลายดาน มนุษยสามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดลอมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไดดี มนุษยยังมี
ความสามารถในการพั ฒ นาทั ้ ง ป จ จั ย 4 และป จ จั ย เสริ ม เพื ่ อ การดำรงชี ว ิ ต และอำนวยความ
สะดวกสบายของมนุษย การใช้ชีวิตของมนุษยในแตละมิติมีการเชื่อมโยงกันอยางซับซ้อน ซึ่งเกิด
ความสัมพันธกันระหวางมนุษยกับมนุษย มนุษยกับสิ่งมีชีวิตอื่น มนุษยกับสิ่งแวดลอม มนุษยกับ
ทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อมนุษยสรางสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มมากขึ้นเทาไร สิ่งเหลานี้กระตุนให
มนุษยมีความตองการใช้มากขึ้นตามไปดวย การใช้ชีวิตในยุคเทคโนโลยีทันสมัย จำเปนตองใช้สติและ
การไตรตรองอยางมีเหตุมีผล สำหรับประคับประคองการใช้ชีวิตของมนุษยแตละคนแตละครอบครัว
ใหอยูอยางมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีตามกำลังของตนดวยการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการนี้มนุษยทุกคนสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตของตนเองตามความเหมาะสม จะช่วยเสริมความ
แข็งแรงทางจิตใจ ใช้ชีวิตดวยความไมประมาท สามารถบริหารจัดการความมั่นคงทางการเงินของ
ครอบครัว เพื่อไมเกิดการสรางหนี้สินจากความตองการที่เกินความจำเปนของมนุษยในยุคที่ตองใช้เงิน
แลกเปลี่ยนสิ่งของเพื่อใหไดมา
274

6.2 เทคโนโลยีสะอาดเพื่อคุณภาพชีวิต
ปจจุบัน ศตวรรษที่ 21 มนุษยทั่วโลกเริ่มมีการตื่นตัวมากขึ้นในเรื่องของปญหาทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่กำลังจะหมดสิ้น หรือเกิดความเสียหายเสื่อมโทรม ไมสามารถนำมาใช้ได
ซึ่งสงผลใหทรัพยากรธรรมชาติมีไมเพียงพอตอความตองการของมนุษยทั่วโลก ในสมัยอดีตมนุษยมี
การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ดวยการผานวิธีการและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตรที่มนุษยคิดค้นขึ้น
โดยไมไดคำนึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เมื่อเทคโนโลยีถูกนำมาใช้กับทรัพยากรธรรมชาติ จึงเปน
ผลใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเกิดความเสื่อมโทรม ดังนั้น ในยุคปจจุบัน เทคโนโลยีสะอาด
จึงก่อกำเนิดขึ้น เทคโนโลยีนี้ คือ เทคโนโลยีที่ถูกคิดค้นและประดิษฐขึ้นเพื่อเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
อธิบายคือ ไมก่อใหเกิดมลพิษสิ่งแวดลอม ไมทำลายใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม
เสียหาย เปนสิ่งที่สรางภายใตกระบวนการวิทยาศาสตร เพื่อทดแทนทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้
แลวหมดไปหรือสิ้นเปลือง เปาหมายหลักแลวทรัพยากรธรรมชาติกลุมนี้เปนกลุมที่ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อ
นำมาใช้ประโยชนดานน้ำมันเชื้อเพลิง ขับเคลื่อนยานพาหนะ และผลิตกระแสไฟฟา ดังนั้นเทคโนโลยี
สะอาดอาจเรียกไดวาเปน พลังงานทดแทน คือ ทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิงจากฟอสซิล ก๊าซธรรมชาติ
ถานหิน หรือเรียกวาเปน พลังงานทางเลือก คือ เปนอีกทางเลือกหนึ่งที่มนุษยสามารถเลือกนำมาใช้
แทนทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แลวหมดไปหรือสิ้นเปลือง ซึ่งแหลงพลังงานทดแทนจะมีคุณสมบัติ
พิเศษคือ เปนทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่มีอยางไมจำกัดบนโลก เปนของฟรี หรือเปนขยะอยูแลว
นำมาแปรสภาพใหเหมาะสมในกระบวนการผลิต ดวยองค์ความรูดานวิทยาศาสตรผานการคิดและ
พัฒนาเปนเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดกับมนุษยและสิ่งมีชีวิตบนโลก
เนื่องจากแหลงเทคโนโลยีสะอาดมีตนทุนต่ำ เช่น พลังงานน้ำ ก่อกำเนิดขึ้นตั้งแตเมื่อ 2000 กวาปที่
แลว โดยชาวกรีกไดประดิษฐวงลอเหมือนวงลอหมุนน้ำ สำหรับบดข้าวสาลีใหเปนผงแปงสาลี เพื่อใช้
ในการทำขนมปง ตอมามีการนำวงลอหมุนน้ำมาใช้ในการดึงน้ำมาผลิตกระแสไฟฟา เปนตน
6.2.1 หลักการของเทคโนโลยีสะอาด
จากหนังสือวิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต (ทิพยวัลย, 2554) และ พลังงาน ทรัพยากรและ
สิ ่ ง แวดล อ ม (ณั ฐ ญา, 2562) ได อ ธิ บ ายเกี ่ ย วกั บ หลั ก การของเทคโนโลยี ส ะอาด ขั ้ น ตอนการนำ
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ดวยเทคโนโลยีสะอาด ประโยชนของเทคโนโลยีสะอาด ไวดังตอไปนี้
1. การลดมลพิษจากแหลงกำเนิด ไดแก่ 1) การปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ คือ การพัฒนาหรือ
ปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑใหมีสวนผสมที่มาจากธรรมชาติ สารสกัดจากธรรมชาติใหมากที่สุด เมื่อ
275

ผลิตภัณฑถูกปลอยออกสูสิ่งแวดลอม จะตองเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด จากการประเมิน


ผลิตภัณฑในช่วงคิดค้นทดลองก่อนการผลิตจริง รวมทั้งพัฒนาผลิตภัณฑใหมีอายุการใช้งานยาวนาน
ขึ้น กลายเปนขยะที่เกิดขึ้นช้าและยอยสลายไดดวยวิธีทางธรรมชาติหรือจุลินทรีย 2) การปรับเปลี่ยน
กระบวนการผลิต เช่น การเปลี่ยนวัตถุดิบที่นำมาใช้ การเปลี่ยนเทคโนโลยีที่ใช้อยูเดิม การบริหาร
จัดการของหนวยงานที่ผลิต เปนการเลือกใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ ลด จำกัด หรือเลิกการใช้
สารเคมีอันตรายในทุกขั้นตอนการผลิต เกิดของเสียที่ตองกำจัดในกระบวนการผลิตใหนอยที่สุด หรือมี
วิธีบำบัดของเสียที่ไมใช้สารเคมีตกค้างเปนระยะเวลานานในสิ่งแวดลอม
2. การนำกลับมาใช้ซ้ำ ไดแก่ 1) การใช้ผลิตภัณฑหมุนเวียน หรือแปรเปลี่ยนสวนประกอบ
บางสวนใหนำกลับมาใช้ได 2) การใช้เทคโนโลยีเพื่อการหมุนเวียนของผลิตภัณฑ โดยนำผลพลอยได
(byproducts) หรือของเสียที่เกิดขึ้นระหวางกระบวนการผลิต มาแปรรูปเปนสิ่งอื่นที่ใช้ประโยชนได
ดวยเทคโนโลยีสะอาด
ตัวอยางผลิตภัณฑจากแนวคิดและเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (ภาพที่ 6.1) ไดแก่
ซองจดหมายจากกระดาษที่มีสวนผสมของเมล็ดดอกไม สามารถนำไปฝงดิน รดน้ำ เมล็ดดอกไม
สามารถงอกมาเปนตนไมสวยงาม น้ำยาปรับผานุมที่มีสวนผสมมาจากธรรมชาติและบรรจุภัณฑที่ยอย
สลายได ฝาพลาสติกสามารถนำไปรีไซเคิลได โถสุขภัณฑที่ประหยัดน้ำโดยใช้น้ำจากอางลางมือ แก้ว
คลายพลาสติกที่ทำจากพืชลวน นำกลับมาใช้ซ้ำได ยอยสลายไดตามธรรมชาติ ถวยกาแฟที่ผลิตจาก
กากกาแฟและสวนผสมจากธรรมชาติ นำกลับมาใช้ซ้ำได ยอยสลายไดตามธรรมชาติ ช้อน สอม มีด
หลอด ที่คลายพลาสติกแตทำมาจากเมล็ดอโวกาโดและสวนผสมจากธรรมชาติ นำกลับมาใช้ซ้ำได
หลายครั้ง ยอยสลายไดตามธรรมชาติ เปนตน
6.2.2 ขั้นตอนการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ดวยเทคโนโลยีสะอาด
การนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้ประโยชนดวยเทคโนโลยีสะอาดที่เหมาะสม
ตองมีการดำเนินงานภายใตหัวข้อดังตอไปนี้
1. ขั ้ น ตอนการวางแผนและจั ด ตั ้ ง ที ม งาน การพั ฒ นาเทคโนโลยี ท ี ่ เ หมาะสมกั บ การนำ
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในปริมาณนอยและเกิดประโยชนมากที่สุด กับคนในประเทศ สิ่งแรกที่
หนวยงานที่รับผิดชอบจะตองดำเนินการคือ คัดเลือกบุคคลที่มีความรูความเชี่ยวชาญ หลายสาขาวิชา
ทีเ่ กี่ยวข้อง มารวมกันหารือ แสดงความคิดเห็น เพื่อวางแผนโครงการ ปดช่อโหวงที่อาจจะเกิดขึ้นกับ
276

ภาพที่ 6.1 ตัวอยางผลิตภัณฑจากแนวคิดเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม


มาจาก: https://www.catdumb.tv/eco-friendly-ideas-174/

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากเทคโนโลยีที่สรางขึ้น เนนการใช้เทคโนโลยีจากภูมิปญญา


ทองถิ่นก่อน เพื่อใหเกิดความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่นั้น
2. ขั ้ น ตอนการตรวจประเมิ น เบื ้ อ งต น การจะพั ฒนาเทคโนโลยี ท ี ่ เ หมาะสม ต องมี ก าร
ประเมินผลกระทบตอมนุษย สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอมโดยรอบในบริเวณที่จะมีการเกิดเทคโนโลยีที่นำ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้ วาเกิดผลกระทบทางบวก ทางลบในดานใดบาง
3. ขั้นตอนการประเมินอยางละเอียด เปนการประเมินเชิงจิตใจ วัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม
ความเปนอยูในสังคม มาพิจารณารวมดวย เช่น การสรางรถไฟฟาในเมืองหลวง ที่ตองตัดผานวัด
เก่าแก่ วัดนั้นตองทุบโบสถทิ้งเพื่อขอพื้นที่มาสรางช่องทางใหรถไฟฟาวิ่ง เพื่อความสะดวกสบายของ
คนในเมืองในการคมนาคมขนสง เปนสิ่งที่ถูกตองเหมาะสมแลวหรือไม มีแนวทางอื่นที่สามารถ
ดำเนินการไดหรือไม หรือ แนวทางการเยียวยา แก้ไขปญหาใหลงตัวทุกฝายไดอยางไร
4. ขั้นตอนศึกษาความเปนไปได เปนการนำผลการประเมินเบื้องตน และการประเมินอยาง
ละเอียด มาพิจารณาโดยผูเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ รวมกันแสดงความคิดเห็น และสรุปผลความเปนไป
ไดในการนำเทคโนโลยีมาใช้
277

5. ขั ้ นตอนลงมื อปฏิ บั ติ และติ ดตามผล เมื ่ อพิ จารณาแล วว าการนำเทคโนโลยี มาใช้ กับ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนไปได และเกิดประโยชน สำหรับสรางสิ่งอำนวยความสะดวก
ใหกับคนในประเทศ จะไดรับการอนุมัติใหดำเนินการได และจะตองมีการติดตามผลการปฏิบัติงาน
ตลอดระยะเวลาในการดำเนินงานจนเสร็จสิ้น และหลังเสร็จสิ้นโครงการดวย
6.2.3 ประโยชนของเทคโนโลยีสะอาด
เทคโนโลยีสะอาดเปนเทคโนโลยีที่ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเปนหลัก เมื่อ
สิ่งแวดลอมรอบตัวมนุษยอยูในสภาวะที่ไมเปนมลพิษ ผลดีจึงเกิดกับ
1. ผลดีเกิดตอมนุษย คือ 1) เมื่อใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ มนุษยยอมมีสุขภาพแข็งแรง
ประหยั ด ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการรั ก ษาพยาบาล 2) สิ น ค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก าร มี ค ุ ณ ภาพที ่ ดี 3)
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดรับการดูแล ฟนฟู สภาพแวดลอมดี สงผลใหคุณภาพชีวิตของ
มนุษยดีตามไปดวย 4) ปลูกฝงความภาคภูมิใจในการมีสวนรวมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม 5) ครอบครัว สังคม ชุมชน และประเทศชาติปราศจากมลพิษสิ่งแวดลอม ทำใหชีวิตนาอยู
มากขึ้น
2. ผลดีเกิดตอภาคอุตสาหกรรมและโรงงาน คือ 1) สินค้า ผลิตภัณฑและบริการ มีคุณภาพที่
ดี เปนที่ยอมรับของผูบริโภค ทำใหเพิ่มยอดขายไดกำไร 2) มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการประหยัดน้ำ
ไฟฟา พลังงาน และช่วยลดมลพิษสิ่งแวดลอม 3) ไมมีมลภาวะเสียในที่ทำงาน ทำใหพนักงานมี
ประสิทธิภาพในการทำงาน สุขอนามัยดี 4) เมื่อมีเทคโนโลยีสะอาดที่เหมาะสม มากำจัด บำบัดของ
เสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการ โรงงานเปนสวนหนึ่งที่ช่วยอนุรักษสิ่งแวดลอม เกิดของเสียนอยลง เพราะ
ทุกคนในโรงงานเปนประชากรในประเทศ
3. ผลดีเกิดตอประเทศชาติ คือ 1) เมื่อมีเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ในภาคอุตสาหกรรมและ
โรงงาน ทำใหหนวยงานที่เกี่ยวข้องติดตามดูแลเรื่องมลพิษจากโรงงาน ทำงานไมหนัก 2) สนับสนุน
เปาหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ลดมลพิษสิ่งแวดลอม สงเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี
ของคนในประเทศและสิ่งมีชีวิตอื่นในสิ่งแวดลอม 3) สงเสริมภาพลักษณของประเทศในทางที่ดี คนใน
ประเทศเห็นคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4) เพิ่มประสิทธิภาพในการสงออกสินค้า
ผลิตภัณฑและบริการ มีคุณภาพที่ดี
278

6.3 พลังงานทดแทน
พลังงานประเภทนี้ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อแก้ไขปญหา แหลงวัตถุดิบเชื้อเพลิงที่กำลังลดปริมาณลง
เช่น น้ำมันดิบ ถานหิน และก๊าซธรรมชาติ วัตถุดิบเหลานี้นำมาใช้เปนเชื้อเพลิงขับเคลื่อนยานพาหนะ
และผลิตกระแสไฟฟาใช้ในประเทศ ที่ผานมาประเทศไทยมีแหลงวัตถุดิบไมเพียงพอตอความตองการ
ใช้งาน จึงมีการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซธรรมชาติจากตางประเทศ รวมทั้งมีการเก็บข้อมูลวิจัย
และพบวา น้ำมันดิบ ถานหิน และก๊าซธรรมชาติ เมื่อผานกระบวนการใช้งานแลว เกิดการปลอยก๊าซ
เรือนกระจก สาเหตุใหญของการเกิดสภาวะโลกรอนขึ้นในปจจุบัน และยังคงเปนปญหาที่ไมสามารถ
แก้ไขได (มณฑาสินี, 2561) พลังงานทดแทน จึงเปนพลังงานทางเลือกรูปแบบใหมที่จะช่วยแก้ไข
ปญหาข้างตนดวยการนำทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แลวไมหมดสิ้นมาเปนวัตถุดิบเริ่มตนรวมกับ
กระบวนการเทคโนโลยีสะอาด สำหรับประเทศไทยศักยภาพดานพลังงานทดแทนที่มีการนำมาใช้ใน
ประเทศไทย มีดังตอไปนี้
6.3.1 พลังงานแสงอาทิตย
ดวยตนทุนที่ดีมากของประเทศไทยที่อยูใกลเสนศูนยสูตร ทั่วทุกจังหวัดของประเทศไทย มี
พระอาทิตยขึ้นในช่วงเวลาประมาณ 6 โมงเช้า และสาดแสงสองสวางอยูนานถึง 12 ชั่วโมง จนพระ
อาทิตยตกในช่วงเวลาประมาณ 6 โมงเย็น เปนช่วงเวลาที่มากพอสำหรับตัวดูดซับรังสีจากดวงอาทิตย
ที่เหมาะสมเพื่อเก็บพลังงานแสงไว แปรเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน หรือเพื่อผลิตประแสไฟฟา
ประเทศไทยได เ ริ ่ ม มี ก ารผลิ ต ไฟฟ า โดยใช้ เ ซลล แ สงอาทิ ต ย ในป 2519 โดยหน ว ยงาน
กระทรวงสาธารณสุขและมูลนิธิแพทยอาสาฯ เริ่มตนที่ประมาณ 300 แผงโซลาเซลล แตละแผงมี
ขนาด 15/30 วัตต รวมทั้งไดมีการบรรจุนโยบายและแผนงานดานเซลลแสงอาทิตย ลงในแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) ซึ่งการติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตย ไดติดตั้ง
ใช้งานอยางเปนรูปธรรมในช่วงทายของ แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534) โดยมีกรมพัฒนา
และสงเสริมพลังงาน (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานในปจจุบัน) กรมโยธาธิการ การ
ไฟฟาสวนภูมิภาค และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ที่เปนหนวยงานหลัก ในการนําเซลล
แสงอาทิตยใช้ผลิตพลังงานไฟฟา เพื่อใช้งานในดานแสงสวาง ระบบ โทรคมนาคม และเครื่องสูบน้ำ
ในปจจุบันมีการประเมินความเปนไปไดตอการลงทุนในโครงการพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทย มี
พื้นที่ที่สามารถลงทุนไดคุ้มทุน เช่น นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ รอยเอ็ด ยโสธร
อุบลราชธานี อุดรธานี สุพรรณบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา และลพบุรี เปนตน ตัวอยางโรงไฟฟา
279

พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ใ นประเทศไทยที ่ พ ั ฒ นาโดยบริ ษ ั ท พั ฒ นาพลั ง งานธรรมชาติ จำกั ด ณ


อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เปนโรงไฟฟาที่ใช้เทคโนโลยีแผลโซลาเซลลแบบฟลมบาง ที่มีขนาด
ใหญที่สุดติดอันดับโลก มี 640,000 แผง บนพื้นที่กวา 1,400 ไร (ภาพที่ 6.2) พลังงานประเภทนี้มี
ข้อดีและข้อจำกัด แสดงในตารางที่ 6.1

ภาพที่ 6.2 โรงไฟฟาที่ใช้เทคโนโลยีแผลโซลาเซลลดูดซับรังสีจากดวงอาทิตยจังหวัดลพบุรี


มาจาก: https://www.ned.co.th/th/generation-th.html

6.3.2 พลังงานน้ำ
น้ำ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก นอกจากน้ำจะถูกใช้ใน
การอุปโภค บริโภคแลว น้ำยังถูกใช้ในการผลิตกระแสไฟฟาไดอีกดวย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566) ไดใหรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับการนำน้ำมาผลิตไฟฟา ไว
ดังนี้ ประเทศไทยมีการนำเทคโนโลยีพลังงานน้ำมาใช้ตั้งแต 2507 และสิ่งที่ตองทราบคือ โรงผลิต
ไฟฟาพลังงานน้ำที่มีอยูทั่วประเทศไทยนั้น ไมใช่ทุกแหงที่จะใช้วิธีการผลิตไฟฟาเหมือนกันทั้งหมด
รวมทั้งพลังงานประเภทนี้มีข้อดีและข้อจำกัด แสดงในตารางที่ 6.1 โรงผลิตไฟฟาพลังน้ำที่ติดตั้งอยู
ตามเขื่อนทั่วประเทศไทยนั้น แบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ
280

1. โรงไฟฟาพลังน้ำจากอางเก็บน้ำ ซึ่งเปนที่นิยมอยางแพรหลายมากที่สุดในประเทศไทย
โดยมีหลักการทำงาน คือ เปนสถานที่กักเก็บน้ำไวที่บริเวณอางเก็บน้ำของเขื่อน วิธีสราง คือ การ
ปลอยน้ำจากอางเก็บน้ำ ใหไหลผานเครื่องกำเนิดไฟฟา เพราฉะนั้นจึงจำเปนตองมีความสูงระหวาง
อางเก็บน้ำ และทายน้ำใหมีความลดหลั่นกัน สำหรับโรงไฟฟาประเภทนี้ เพื่อการชลประทานเปนหลัก
โรงไฟฟาประเภทนี้ในประเทศไทยมีอยูหลายแหงดวยกัน เช่น เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก เขื่อนสิริกิติ์
จังหวัดอุตรดิตถ และเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี เปนตน
2. โรงไฟฟาพลังน้ำแบบน้ำไหลผานตลอดป โดยไมไดมีการกักเก็บน้ำไว ไมมีอางเก็บน้ำ
แตจะมีการปลอยใหน้ำไหลผานเครื่องกำเนิดไฟฟา ดังนั้นเมื่อน้ำไหลผาน จะมีการผลิตไฟฟาไดทันที
ทำใหในขณะเดียวกัน ถามีการไหลของน้ำปริมาณมาก เกิดปริมาณพลังงานไฟฟา ที่สามารถผลิตไฟฟา
ไดมากจนเกินไป จะไมอาจกักเก็บพลังงานไฟฟาไวได เช่น เขื่อนปากมูล จังหวัดอุบลราชธานี เปนตน
3. โรงไฟฟาพลังน้ำแบบสูบกลับ วิธีการผลิตไฟฟา เสมือนกับโรงไฟฟาจากอางเก็บน้ำ แต
แตกตางตรงที่เครื่องกำเนิดไฟฟาประเภทนี้จะสูบน้ำกลับขึ้นไปยังอางเก็บน้ำบริเวณดานบนแทน เพื่อ
ทำการลำเลียงน้ำลงมาผลิตไฟฟาอีก วนลูปแบบนี้ สำหรับโรงไฟฟาที่ใช้ระบบนี้ จะขอยกตัวอยาง
โรงไฟฟ า ลำตะคองชลภาวั ฒ นา จั ง หวั ด นครราชสี ม า ซึ ่ ง เป น โรงไฟฟ า แบบสู บ กลั บ ทุ ก เครื ่ อ ง
(ภาพที่ 6.3) หลักการคือ มีอางเก็บน้ำอยูในระดับที่สูงกวา โรงไฟฟา โดยโรงไฟฟาอยูตรงกลาง และมี
อางเก็บน้ำอีกที่อยูในระดับต่ำกวาโรงไฟฟา ในช่วงที่มีความตองการใช้ไฟฟาสูง เช่นในช่วงฤดูรอนของ
ประเทศไทย ในเดือน มีนาคม เมษายน ถึง พฤษภาคม ในแตละปจะมีการใช้ไฟฟาสูง อางเก็บน้ำที่อยู
ในระดับที่สูงกวา โรงไฟฟา จะปลอยน้ำออกมา ผลิตไฟฟาและจ่ายไฟฟาออกไป ในขณะที่มีการใช้
ไฟฟานอย โรงไฟฟาจะทำหนาที่สูบน้ำจากอางเก็บน้ำอีกที่อยูในระดับต่ำกวาโรงไฟฟา กลับไปสู
อางเก็บน้ำดานบน
หลักการติดตั้งโรงไฟฟาแตละประเภท ตองคำความคำนึงถึงภูมิประเทศที่ก่อสราง รวมทั้ง
การชลประทานดวย เพราะการสรางเขื่อนหรืออางเก็บน้ำนั้น จำเปนตองใช้พื้นที่ที่มีความกวางขวาง
มาก และตองเปนพื้นที่อันมีความเหมาะสมตามหลักอีกดวย เพราะมิเช่นนั้นอาจเกิดผลกระทบ
เสียหายตอระบบนิเวศในบริเวณนั้นได
6.3.3 พลังงานลม
ลมจัดวาเปนพลังงานสะอาดอีกประเภทหนึ่งที่มีศักยภาพผลิตไฟฟาในประเทศไทย โดย
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566) ไดอธิบายไววา การนำลม
281

มาสรางเปนพลังงานจำเปนตองมีอุปกรณที่เรียกวา กังหันลม กังหันที่มีแกนหมุนขนานกับการเคลื่อนที่


ของลมในแนวราบโดยมีใบพัดเปนตัวตั้งฉากรับแรงลม การใช้เทคโนโลยีจากลมนี้ ตองมีการพิจารณา
ทิศทางลม ปริมาณลมในแตละวัน มีการบันทึกปริมาณลมในแตละเดือน แตละป เพื่อนำมาวิเคราะห

ภาพที่ 6.3 โรงไฟฟาพลังงานน้ำแบบสูบกลับ ณ ลำตะคองชลภาวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา


มาจาก: http://www.securitysystems.in.th/2021/04/154/

ความเปนไปไดในการสรางพลังงานลมเพื่อผลิตไฟฟา ซึ่งผูที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสราง
พลังงานลม จะตองมีความรูเรื่องการเกิดลม ลมเกิดจากดวงอาทิตยมีการแผรังสีความรอนมายังพื้น
โลก และแตละตำแหนงของพื้นโลกไดรับปริมาณความรอนและดูดซับความรอนไวไดไมเทากัน จึงเกิด
ความแตกตางของอุณหภูมิและความกดอากาศในแตละตำแหนงของพื้นที่ พื้นที่ใดมีอุณหภูมิสูงหรือ
ความกดอากาศต่ำ ทำใหอากาศบริเวณนั้นจะลอยตัวขึ้นสูง ในขณะที่อากาศจากบริเวณที่มีความกด
อากาศสูงเคลื่อนที่เข้ามาแทน เกิดการเคลื่อนที่ของมวลอากาศ จึงเกิดลมขึ้นนั่นเอง พลังงานประเภท
282

นี้มีข้อดีและข้อจำกัด แสดงในตารางที่ 6.1 สำหรับประเทศไทยมีการสรางกังหันลมที่ใช้เพื่อสูบน้ำทำ


การเกษตร และปศุสัตวอยูแลว
สำหรับกังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟา (ภาพที่ 6.4) จะมีรูปแบบใบพัดที่แตกตางกับกังหันลม
ที่สูบน้ำเพื่อการเกษตรและปศุสัตว จะเห็นไดวา กังหันมีใบพัดแค่ 3 ใบ แตขนาดใบพัดใหญเพื่อรองรับ
การปะทะของลมใหหมุนตลอดเวลา กังหันลมจะทำหนาที่เปลี่ยนพลังงานลมในรูปของพลังงานจลนให
เปนพลังงานกลโดยการหมุนของใบพัด แรงจากการหมุนของใบพัดนี้จะถูกสงผานแกนหมุนทำใหเฟอง
เกียรที่ติดอยูกับแกนหมุนเกิดการหมุนตามไปดวย พลังงานกลที่ไดจากการหมุนของเฟองเกียรจะตอ
เครื่องกำเนิดไฟฟาเข้าไป ซึ่งเมื่อเฟองเกียรของกังหันลมเกิดการหมุนจะไปขับเคลื่อนใหแกนหมุนของ
เครื่องกำเนิดไฟฟาหมุนตามไปดวย ดวยหลักการนี้เครื่องกำเนิดไฟฟาสามารถผลิตกระแสไฟฟาได
ประเทศไทย มีการนำเทคโนโลยีพลังงานลมมาใช้ผลิตกระแสไฟฟา มีอยู 2 พื้นที่ดวยกัน จากข้อมูล
ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ป 2562 คือ กังหันลมแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเต
กำลังผลิต 0.19235 เมกะวัตต และกังหันลมลำตะคอง จังหวัดนครราชสีมา กำลังผลิต 2.50 เมกะ
วัตต

ภาพที่ 6.4 รูปแบบกังหันลมสำหรับพลังงานลมเพื่อผลิตไฟฟา


มาจาก: https://ppprime.co.th/tluxepower/wind-japan-1-2/
283

6.3.4 พลังงานชีวมวล
กลุมพลังงานชีวมวล สำนักวิจัยค้นควาพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ
พลังงาน (2566) ไดอธิบายเกี่ยวกับพลังงานชีวมวล ไวดังตอไปนี้ พลังงานที่ไดจากวัสดุอินทรียเหลือ
ทิ้งทางการเกษตร ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว ตลอดจนของเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร
นำมาแปรสภาพดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมและปศุสัตวอยูแลว
จึงไดเปรียบในเรื่องของปริมาณของวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและปศุสัตว ซึ่งประเภทของชีวมวล
กำหนดตามแหลงที่มาสามารถแบงได 4 ประเภท คือ
1. พืชผลทางการเกษตร ไดแก่ ออย มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าวฟางหวาน เปนแหลงวัตถุดิบ
ที่มีโครงสรางภายในเปนคารโบไฮเดรต แปงและน้ำตาล รวมถึงพืชน้ำมัน เช่น ปาลมน้ำมัน และสบูดำ
2. เศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ไดแก่ ฟางข้าว ชานออย ซังข้าวโพด และเหง้ามัน
สำปะหลัง เปนตน
3. ไมและเศษไม ไดแก่ ไมยูคาลิปตัส ไมยางพารา กระถินณรงค์ เศษไมจากโรงงานผลิต
เครื่องเรือน และโรงงานผลิตกระดาษ เปนตน
4. ของเหลือจากครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม เช่น น้ำมันเหลือทิ้ง เปลือกผักและผลไม
กากน้ำตาล ชานออย แกลบ ขยะอินทรีย รวมทั้งน้ำเสียที่มีไขมันและน้ำมันเปนองค์ประกอบ
ดังนั้น การเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญมากตอกระบวนการผลิตพลังงานชีว
มวลแตละประเภท รวมทั้งวิธีการแปรสภาพวัสดุอินทรียก่อนเข้าสูกระบวนการ ทำใหเปนเชื้อเพลิง
ชีวภาพ ที่เรียกวา ไบโอเอทานอล ไบโอดีเซล หรือก๊าซชีวภาพ (ก๊าซมีเทน) การผลิตไฟฟาจากพลังงาน
ชีวมวลจะตองคำนึงถึงการผลิตตามฤดูกาล หรือมีเฉพาะบางภูมิภาค การนำชีวมวลมาใช้ผลิตพลังงาน
มีปจจัยอื่นประกอบ ไดแก่ แหลงชีวมวล ปริมาณรวมของชีวมวล และเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจาก
ชีวมวลที่เหมาะสม เปนตน ซึ่งกระบวนการผลิตไฟฟาจากชีวมวล (ภาพที่ 6.5) เปนการอธิบายการนำ
วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร สงเข้าโรงไฟฟา เข้าสูขั้นตอนการเผาชีวมวล เกิดความรอน ความรอนที่ได
นำไปผลิตไอน้ำอุณหภูมิและความดันสูง จากนั้นนำไอน้ำรอนไปผานกังหันผลิตเปนไฟฟา อยางไรตาม
ความตองการใช้ชีวมวลเพื่อผลิตเปนพลังงานไฟฟายังมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ชีวมวลเปนแหลง
วัตถุดิบที่มีราคาไมแพงเมื่อเทียบกับวัตถุดิบผลิตเชื้อเพลิงชนิดอื่น ในปริมาณความรอนที่เทากัน การ
เกิดผลกระทบปญหาดานสิ่งแวดลอมจากก๊าซคารบอนไดออกไซด (CO2) ไมมี สามารถใช้เปนพลังงาน
284

ทดแทนในเชิงพาณิชย เปนพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมทั้งสนับสนุนแนวปฏิบัติขยะเปน


ศูนย พลังงานประเภทนี้มีข้อดีและข้อจำกัดดังแสดงในตารางที่ 6.1
6.3.5 พลังงานขยะ
ปญหาขยะลนโลก เปนสิ่งที่มนุษยทุกคนตองตระหนักและใสใจ เพราะขยะก่อใหเกิดมลพิษ
มากมาย ทั้งทางตรงก่อใหเกิดโรคกับมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่น และทางออมเปนปจจัยที่ทำใหเกิดมลพิษ
สิ่งแวดลอมดานอื่นดวย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566)
ไดใหข้อมูลดานขยะและการนำขยะมาสรางเปนพลังงานไววา ประเทศไทยประสบปญหาขยะมูลฝอย
เพิ ่ มขึ ้ นอย างมากจากการขยายตั วของชุ มชนเมื อง การเปลี ่ ยนแปลงพฤติ กรรมการบริ โ ภคของ
ประชาชนและจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่การรับรูข้อมูลการจัดการขยะที่ถูกวิธี

ภาพที่ 6.5 กระบวนการผลิตไฟฟาจากชีวมวลในประเทศไทย


มาจาก: https://today.line.me/th/v2/article/1ze83B
285

ของประชาชนยังไดรับไมทั่วถึง หนวยงานรับผิดชอบในการบริหารจัดการขยะยังขาดความ
พรอมทั้งงบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ บุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญ และสถานที่ที่ใช้กำจัดขยะ
อยางเหมาะสม รวมไปถึงขาดการวิจัยวิธีการจัดการขยะที่เหมาะสมแตละประเภทขยะดวย จึงทำให
การจัดการขยะไมถูกตอง จนสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขอนามัยของประชาชน ดังนั้นการนำ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมเข้ามาช่วยกำจัดขยะใหเปลี่ยนเปนพลังงาน ถือวาเปนสิ่งที่จะช่วยในการบริหาร
จัดการขยะ การวางแผนการดำเนินการใหประเทศไทยไรขยะ สงเสริมดานงานวิจัยในการสราง
เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่จะแปรเปลี่ยนขยะใหเปนสิ่งที่มีประโยชน สำหรับประเทศไทย กระทรวง
พลังงานไดทำการประเมินความเปนไปไดจากการนำขยะที่เกิดขึ้นจากหลายแหลงในประเทศมาผลิต
ไฟฟา ดวยเทคโนโลยีหลาหลาย เช่น เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากขยะโดยใช้เตาเผาขยะมูลฝอยไร
มลพิษทางอากาศ เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะชุมชน เทคโนโลยีการนำพลังงานกลับมา
ใช้ เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากขยะดวยกระบวนการทางชีวภาพ หรือ เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิง
ขยะ จนไดแนวทางการสรางโรงไฟฟาพลังงานขยะ เมื่อมีข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอยในแตละพื้นที่ของ
แตละจังหวัดในประเทศไทย ไดนำมาพิจารณาการลงทุนศักยภาพและเทคโนโลยีที่เหมาะสมตอการนำ
ขยะมาผลิตไฟฟา พบวา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีศักยภาพในการผลิตไฟฟาจากขยะมากที่สุด และ
เปนที่มาของการสรางโรงไฟฟาพลังงานขยะชุมชนไรมลพิษแหงแรกในประเทศไทย สรางขึ้นที่จังหวัด
ขอนแก่น (ภาพที่ 6.6) อยูภายใตการดำเนินงานโดยบริษัท แอบโซลูท คลีน เอ็นเนอรยี่ จำกัด
(มหาชน) หรือ ACE มีแนวคิดการใช้เทคโนโลยีใกลเคียงกับพลังงานชีวมวล เริ่มตน ป 2559 โรงไฟฟา
พลังงานขยะแหงนี้เปนการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ปลอดภัย และไม
สรางความรบกวนแก่คนในชุมชนมากที่สุด สามารถเผาขยะที่มีความชื้นสูงไดมากถึง 80% (มีปริมาณ
น้ำ 80 สวน และเชื้อเพลิงขยะ 20 สวน) และที่สำคัญไมมีการปลอยของเสียออกสูธรรมชาติ (zero
discharge) ไมวาจะเปนมลภาวะทางกลิ่น ฝุนละออง หรือแมกระทั่งน้ำเสี ย ไดมีการทำ water
treatment โดยการบำบัดดวยระบบ reverse osmosis (RO) ใหกลายเปนน้ำใสที่สามารถเอาไปใช้
ประโยชนตอได พลังงานประเภทนี้มีข้อดีและข้อจำกัดดังแสดงในตารางที่ 6.1
6.3.6 พลังงานความรอนใตพื้นพิภพ
ความรอนใตพื้นพิภพ เปนความรอนที่ถูกเก็บอยูภายใตผิวโลก เมื่อชั้นแตละชั้นภายใตผิวโลก
มีความหนาแนน ความกดอากาศ และอุณหภูมิที่แตกตางกัน ยิ่งลึกลงไปอุณหภูมิยิ่งสูงขึ้น
286

ซึ่งอยูบริเวณแกนกลางของโลก ความรอนที่อยูภายใตผิวโลกมีแรงดันสูง จะดันตัวออกจากผิว


โลกตามรอยแยก ทำใหบริเวณดานลางที่มีอุณหภูมิสูงถูกดันขึ้นมาดานบน เกิดพลังงานความรอนจาก
ธรรมชาติใตดิน (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2566) ดังนั้น
พลังงานความรอนใตพื้นพิภพ จึงเปนแหลงพลังงานอีกประเภทหนึ่งที่สามารถนำมาผลิตกระแสไฟฟา
ได โดยใช้พลังงานความรอนตามธรรมชาติใตผิวโลก เปนพลังงานทดแทนที่มีแบบไมจำกัด ตนทุนต่ำ
และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พลังงานรูปแบบนี้เกิดจากน้ำไหลซึมเข้าไปในบริเวณรอยแตกชั้นหินใตผิว
โลก ไดรับความรอนจากชั้นหิน จนเกิดเปนน้ำรอนและไอน้ำรอน ขึ้นมาบนผิวดิน อยูในรูปแบบ บอน้ำ
รอน น้ำพุรอน ไอน้ำรอน บอโคลนเดือด เปนตน จากคู่มือพลังงานความรอนใตพื้นพิภพ ภายใต
โครงการถายทอดและเผยแพรการใช้พลังงานทดแทน (2 หลักสูตร) โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทน

ภาพที่ 6.6 โรงไฟฟาพลังงานขยะจากชุมชนไรมลพิษสูสิ่งแวดลอม


มาจาก: https://techsauce.co/tech-and-biz/waste-to-energy-ace-electricity

และอนุ ร ั ก ษ พ ลั ง งาน กระทรวงพลั ง งาน (2566) ได ส รุ ป รู ป แบบการใช้ ง านน้ ำ พุ ร  อ นอย า งมี
ประสิทธิภาพมากที่สุด คือ การใช้งานแบบขั้นบันได มีดังตอไปนี้
1. น้ำพุรอนอุณหภูมิมากกวา 90 องศาเซลเซียส ใช้ในการผลิตไฟฟาผานวัฏจักรแรงคิน
สารอินทรีย ในการแลกเปลี่ยนความรอนเพือ่ ใช้ในการผลิตไฟฟา
2. น้ำพุรอนอุณหภูมิ 70 – 90 องศาเซลเซียส เปนช่วงอุณหภูมิที่นำมาใช้ประโยชนได
หลากหลาย ทั้งการผลิตความเย็น ผานระบบทำคาวมเย็นแบบดูดกลืน สำหรับระบบปรับอากาศ การ
287

อบแหง ผานระบบอบแหงแบบรวมศูนย และการเพิ่มคุณภาพความรอนใหสูงขึ้น โดยตัวแปลงความ


รอน เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟารวมกับการผลิตไฟฟาผานวัฏจักรแรงคินสารอินทรีย
3. น้ำพุรอนอุณหภูมิ 50 – 70 องศาเซลเซียส เปนช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเพิ่ม
คุณภาพความรอนโดยระบบปมความรอนแบบอัดไอ เพื่อใช้ในการอบแหง
4. น้ำพุรอนอุณหภูมินอยกวา 50 องศาเซลเซียส เปนช่วงอุณหภูมิที่ใช้ประโยชนดาน
นันทนาการและพักผอนหยอนใจของประชาชน เช่น แช่น้ำพุรอน เปนตน
เทคโนโลยีที่ใช้ในการนำความรอนใตพื้นพิภพมาใช้ คือ นำน้ำรอนมาแยกสิ่งเจือปนออก แลว
ทำให น ้ ำ เย็ น ตั ว ลง กลายเป น ไอน้ ำ จากนั ้ น สร า งแรงอั ด ของไอน้ ำ ไปหมุ น กั ง หั น น้ ำ เพื ่ อ ผลิ ต
กระแสไฟฟา สำหรับพลังงานความรอนใตพื้นพิภพที่คุ้มทุนในการนำมาใช้ผลิตกระแสไฟฟาของ

ภาพที่ 6.7 การผลิตไฟฟาจากพลังงานความรอนใตพื้นพิภพ


มาจาก: https://www.thebangkokinsight.com/news/environmental-
sustainability/562287/
288

ประเทศไทย จากการประเมินความเปนไปได มีอยู 5 พื้นที่ คือ อำเภอสันกำแพง อำเภอฝาง อำเภอ


แมจัน อำเภอเหลานี้อยูในจังหวัดเชียงใหม อำเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย และอำเภอวังชิ้น
จังหวัดแพร (ภาพที่ 6.7) สำหรับในป 2532 โรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพื้นพิภพแหงแรกของ
ประเทศไทยไดก่อตั้งขึ้นที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม ผลพลอยไดที่ไดจากการนำน้ำรอนมาใช้ในการ
ผลิตกระแสไฟฟา น้ำรอนจะมีอุณหภูมิเย็นลงอยูที่ประมาณ 80 องศาเซลเซียส สามารถนำไป
ประยุกตใช้ในการอบแหงผลผลิตทางการเกษตร และสงเสริมดานการทองเที่ยว บำบัดรางกายดวย
การแช่บอน้ำรอน พลังงานประเภทนี้มีข้อดีและข้อจำกัดดังแสดงในตารางที่ 6.1
6.3.7 พลังงานเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน
เซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเปนพลังงานทดแทนอีกรูปแบบหนึ่งที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ช่วย
ลดปญหามลพิษสิ่งแวดลอม จากการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง รวมทั้งยังช่วยลดปญหาสภาวะโลกรอนขึ้นดวย
จึงเปนนวัตกรรมใหมและสนับสนุนความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ พลังงานไฮโดรเจนสามารถใช้
เปนเชื้อเพลิงรถยนต เชื้อเพลิงขับเคลื่อนจรวด เชื้อเพลิงเตาหุงตมในครัวเรือน ไฮโดรเจนเปนธาตุชนิด
หนึ่งบนโลกที่มีปริมาณมากที่สุด ไฮโดรเจนเปนสวนประกอบทางเคมีของน้ำ ข้อมูลพลังงานทดแทน
ประเภทเซลลเชื้อเพลิง ไดอธิบายไวโดย สำนักหอสมุดและศูนยสารสนเทศวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2562) กลาวถึงหลักการทำงานของ
เซลลเชื้อเพลิง วาคืออุปกรณที่ผลิตพลังงานไฟฟาผานวิธีการทางเคมีไฟฟา เปนการเปลี่ยนไฮโดนเจน
และออกซิเจนที่เปนสวนประกอบของน้ำ ไมผานปฏิกิริยาเผาไหม กลายเปนพลังงานไฟฟา โดยใช้
หลักการทำงานของประจุไฟฟาขั้วบวกขั้วลบ เมื่อสารตั้งตนไหลเข้าสูระบบ สารผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นจะ
ไหลออกจากระบบ เปนวงจรตอเนื่อง จึงเปนพลังงานสะอาด ไมก่อใหเกิดมลพิษทางอากาศ แต
อยางไรตาม เทคโนโลยีนี้ยังคงไมเปนที่นิยมในประเทศไทย เพราะการผลิตไฮโดรเจนจำนวนมากยัง
ตองใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยุงยาก ตนทุนสูง หากตองนำไปใช้งานรวมกับเซลลเชื้อเพลิง ตองมี
ตัวเรงปฏิกิริยาภายในที่ราคาแพง พลังงานเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจนนี้จึงมีตนทุนสูงกวาพลังงาน
ทดแทนรูปแบบอื่นเมื่อเปรียบเทียบกัน ความสนใจพลังงานทดแทนชนิดนี้ยังคงมีอยู และมีงานวิจัย
ทดลองอยางตอเนื่อง ปจจุบันประเทศไทยจะมีการนำพลังงานเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจนมาใช้ในรูปแบบ
โรงไฟฟาเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน เปนแหงแรกในประเทศไทย ณ โรงไฟฟากังหันลม ลำตะคอง
289

จังหวัดนครราชสีมา โดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้ กังหันลมผลิตกระแสไฟฟา แตมีความไมเสียร การ


ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยจึงมีการเพิ่มเครื่องแยกน้ำดวยกระแสไฟฟาจากกังหัน ไดไฮโดนเจน
และออกซิเจน จากนั้นไฮโดรเจนถูกนำมาเก็บไวในถังเพื่อเข้าสูกระบวนการเซลลเชื้อเพลิง ได
กระแสไฟฟาจ่ายสูศูนยการเรียนรูการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ลำตะคอง
จะเห็นไดวา โรงไฟฟากังหันลม ลำตะคอง เปนศูนยตนแบบการใช้พลังงานทดแทนที่เปน
พลังงานหมุนเวียนแบบผสมผสาน (ภาพที่ 6.8) จัดเปนนวัตกรรมพลังงานรูปแบบใหมที่แก้ปญหา
ความไมเสถียรของการผลิตกระแสไฟฟาจากกังหันลม ซึ่งไมสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดอยาง
สม่ำเสมอ หวังวาในอนาคตพลังงานรูปแบบนี้จะมีความเหมาะสมและผลิตใช้ในประเทศไทยเพิ่มขึ้น
พลังงานประเภทนี้มีข้อดีและข้อจำกัดดังแสดงในตารางที่ 6.1

ภาพที่ 6.8 โรงไฟฟาเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจนแหงแรกของประเทศไทยเพื่อผลิตกระแสไฟฟา


มาจาก: https://www.fuelcell.co.th/home/article?article_id=150
290

ตารางที่ 6.1 ข้อดีและข้อจำกัดของเชื้อเพลิงแตละประเภทที่มีใช้ในประเทศไทย


ประเภทแหลง ข้อดี ข้อจำกัด
เชื้อเพลิง
น้ำมัน -เปนเชื้อเพลิงที่ใช้งานไดง่าย -เปนแหลงพลังงานที่ใช้แลวหมดไป สรางขึ้นมา
-หาซื้อง่าย ใหมใช้เวลายาวนานมาก
-เป น พลั ง งานที ่ ส ร า งมลพิ ษ ทางอากาศและ
สภาวะโลกร อ นขึ ้ น จากปรากฏการณ เ รื อ น
กระจก
-ราคาไมคงที่ ควบคุมไมได
-เปนเชื้อเพลิงราคาแพง
ถานหิน -ราคามีเสถียรภาพและถูกกวา -ต อ งมี เ ทคโนโลยี ร ะบบควบคุ ม มลพิ ษ ราคา
เชื้อเพลิงชนิดอื่น แพง เพื่อไมใหเกิดฝนกรดและสภาวะโลกรอน
-การขนสงและจัดเก็บไมยุงยาก ขึ้น สรางมลพิษตอสิ่งแวดลอม
แสงอาทิตย - เ ป  น พ ล ั ง ง า น ส ะ อ า ด ไ ม -ตองมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ก่อใหเกิดมลพิษสิ่งแวดลอม -ตองมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแล
-ไมมีค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบ -ความเข้มของแสงไมคงที่ ควบคุมไมได
เชื้อเพลิง -ใช้พื้นที่มากในการติดตั้งแผงโซลาเซลล และมี
-เสริ ม ความมั ่ น คงในการผลิ ต ราคาแพง
ไฟฟา -แบตเตอรี่ที่ใช้เก็บพลังงานแสงอาทิตยมีอายุ
-เปนแหลงพลังงานขนาดใหญที่ การใช้งานไมยาวนาน
ไมมีวันหมด
-สามารถใช้ผลิตไฟฟาในพื้นที่
หางไกลที่ไฟฟายังเข้าไมถึงได
291

ตารางที่ 6.1 ข้อดีและข้อจำกัดของเชื้อเพลิงแตละประเภทที่มีใช้ในประเทศไทย (ตอ)


ประเภทแหลง ข้อดี ข้อจำกัด
เชื้อเพลิง
ลม -เปนพลังงานสะอาดไมก่อใหเกิด -ต องใช้ แบตเตอรี ่ ราคาแพงเป นแหล ง เก็ บ
มลพิษสิ่งแวดลอม พลังงาน
-ไมมีค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบ -ตองมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแล
เชื้อเพลิง -ใช้ตนทุนสูง
-จำกัดเฉพาะพื้นที่ที่มีลมแรง
-ปริมาณลมไมสม่ำเสมอ ควบคุมไมได
-ตองใช้พื้นที่มาก
น้ำ -เปนพลังงานสะอาดไมก่อใหเกิด -จำกัดพื้นที่ในการผลิตไฟฟา ตองเปนแหลง
มลพิษสิ่งแวดลอม น้ำขนาดใหญเทานั้นถึงจะคุ้มทุน
-ไมมีค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบ -การสรางเขื่อนสงผลกระทบทางลบตอระบบ
เชื้อเพลิง นิเวศในพื้นที่กวาง รวมทั้งสงผลกระทบตอที่
-เสริ ม ความมั ่ น คงในการผลิ ต อยูอาศัยของคนและสิ่งมีชีวิตที่อยูในบริเวณ
ไฟฟา สรางเขื่อน
-ใช้ตนทุนสูง
-ตองมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแล
-ตองมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ชี ว มวลและ -เปนพลังงานสะอาดไมก่อใหเกิด -ปริมาณชีวมวลไมคงที่ ควบคุมไมได
ก๊าซชีวภาพ มลพิษสิ่งแวดลอม -การบริหารจัดการเชื้อเพลิงยุงยาก
-ไมมีค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบ -ตองมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมและราคาแพง
เชื้อเพลิง -ตองมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแล
-ช่วยแก้ปญหาการจีดการของเสีย
ลดตนทุนการบำบัดของเสีย
-สรางธุรกิจในประเทศ
292

ตารางที่ 6.1 ข้อดีและข้อจำกัดของเชื้อเพลิงแตละประเภทที่มีใช้ในประเทศไทย (ตอ)


ประเภทแหลง ข้อดี ข้อจำกัด
เชื้อเพลิง

ขยะ -เปนแหลงพลังงานที่มีมากจนลน -ตองมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมและราคาแพง


โลก จะช่วยลดปญหาการกำจัด ในการกำจัดควันที่เกิดจากการเผาขยะเปน
ขยะ ความรอน
-เปนแหลงพลังงานราคาถูก -ตองมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแล
-โรงไฟฟ า จากขยะไร ม ลพิ ษ จะ -ใช้ตนทุนสูงดานเทคโนโลยี และการจัดการ
ช่วยลดสภาวะโลกรอน ขยะก่อนนำไปแปรรูปเปนพลังงาน
-มักถูกตอตานจากคนในชุมชน
ความรอนใตพื้น -เปนพลังงานทดแทนที่มีไมจำกัด -มีจำนวนพื้นที่ในการนำพลังงานรูปแบบนี้
พิภพ -ตนทุนต่ำ มาใช้นอย
-เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม -ใช้ตนทุนสูง
-ประโยชน ท างอ อ มใช้ ใ นการ -ตองมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแล
อบแหงผลผลิตทางการเกษตร
-เป น แหล ง ท อ งเที ่ ย ว บำบั ด
รางกายดวยการแช่บอน้ำรอน
ไฮโดรเจน -เปนพลังงานสะอาดไมก่อใหเกิด -เทคโนโลยีซับซ้อนยุงยาก
มลพิษขณะใช้ -ใช้ตนทุนสูง
- ป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ ก า ร ใ ช ้ ง า น -ตองมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดูแล
เทียบเทาน้ำมันเชื้อเพลิง -อยู  ใ นช่ ว งทดลองวิ จ ั ย เสถี ย รภาพการ
-ประยุ กต ใ ช้ กั บเชื ้ อเพลิ ง อื ่ นได นำมาใช้งาน
หลากหลาย
293

6.4 แนวทางการใช้ประโยชนเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม เปนศาสตรหนึ่งในสาขาวิทยาศาสตรเกี่ยวข้องกับการลดผลกระทบที่
เกิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษยและเกิดจากธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเองตอมนุษยและสิ่งแวดลอม
ดวยความก้าวหนาทางเทคโนโลยี แนวทางการปรับปรุง การพัฒนา เทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมที่มีอยู
เดิมใหดีขึ้น รวมกับการลดการใช้พลังงานที่มีอยูอยางจำกัด ลดความเสียหายที่มนุษยสรางขึ้นกับ
สภาพแวดลอม แนวทางการลดของเสีย แนวทางการวิจัยในสาขายังเกี่ยวข้องกับแหลงพลังงานสะอาด
พลังงานทดแทน การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานในการขนสงและอาคาร วิธีการที่จะลดหรือ
ปองกันมลพิษ เทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมเปนสาขาวิชาที่ใช้วิทยาศาสตรหลายแขนงมาบูรณาการ
รวมกัน เปนวิทยาศาสตรประยุกต ทั้งศาสตรดานเคมี จุลชีววิทยา นิเวศวิทยาและชีววิทยา นวัตกรรม
และความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมอาจมีการใช้งานเชิงพาณิชยประหยัดเงินหรือไดรับการ
ออกแบบใหสอดคลองกับกฎระเบียบของรัฐบาล
แนวทางการดำเนินงานดานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมคือการค้นหาและพัฒนาแหลงพลังงาน
สะอาดที่เหมาะสมตอสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการขนสงการผลิตไฟฟา
อย า งประหยั ด และรั บ ผิ ด ชอบในการปล อ ยอนุ ภ าคที ่ เ รี ย กว า หมอกควั น การปล อ ยก๊ า ซ
คารบอนไดออกไซด ที่เปนผลใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ หรือการเกิดมลพิษที่
จะเปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นผานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การค้นหา
แหลงพลังงานทางเลือกที่สามารถทดแทนแหลงพลังงานที่ก่อใหเกิดมลพิษ เพื่อลดมลพิษดานตาง ๆ
โดยเฉพาะมลพิ ษทางอากาศจากก๊ าซคาร บอนไดออกไซด รวมทั ้ งการประยุ กต ใช้ วิ ทยาศาสตร
สิ่งแวดลอมเปนอีกแนวทางหนึ่งเพื่อการผลิตไฟฟา การปรับปรุงประสิทธิภาพกำลังการผลิตหรือความ
พรอมใช้งานของแหลงพลังงานที่ใหมกวา เช่น กังหันลมหรือแผงเซลลแสงอาทิตย เปนตน การพัฒนา
แหลงพลังงานที่ค่อนข้างใหม เช่น พลังงานคลื่นหรือเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน เปนตน
การขับเคลื่อนประเทศใหพัฒนาไปข้างหนาและเกิดความยั่งยืน ปจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
เปนสิ่งกระตุนใหเกิดความก้าวหนาทางเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม การแก้ไขปญหาวิธีการหนึ่งที่มีผลตอ
การตัดสินใจของมนุษยคือ การประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้ชีวิตประจำวัน มักเกิดประสิทธิภาพมาก
ที่สุด คือ การเพิ่มตนทุนของเชื้อเพลิงน้ำมันเบนซินในการขับเคลื่อนยานพาหนะ นำไปสูการกระตุนให
คิดค้นเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมที่มุงลดการใช้เชื้อเพลิง แสวงหาวัสดุอื่นและกระบวนการอื่นมา
ทดแทนในกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงโดยอาศัยหลัก ขยะเหลือศูนย รวมทั้งวิธีในการสรางอาคารใหมี
ประสิทธิภาพดานพลังงานมากขึ้นเปนแนวทางหนึ่งของเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม การลดตนทุนพลังงานที่
294

เกี่ยวข้องกับการใหแสงสวางความรอนและความเย็นและการใช้น้ำ การออกแบบที่ยั่งยืนหรือที่เรียกวา
พลังงานสีเขียว พลังงานสะอาด หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสิ่งแวดลอมในการก่อสรางอาคารใหมที่มี
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด และรวมไปถึงการศึกษาดานอื่นที่หลากหลายเกี่ยวข้องกับสุขภาพ
ของมนุษยและสิ่งแวดลอม เช่น การจัดการของเสีย พิษวิทยา และการปองกันสัตวปา อนุรักษพันธุไม
การดำรงไวซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ สมดุลระบบนิเวศ เปนตน
6.4.1 หลักการที่จะนำไปสูความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม
การพัฒนาที่ยั่งยืน มีความหมายวา การพัฒนาที่ตองคำนึงถึงผลกระทบทั้งทางบวกและทาง
ลบที่จะเกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตองมีวิธีการปกปองรักษา แก้ไขปญหาที่อาจ
เกิดกับสิ่งแวดลอมดวยความรูที่ชาญฉลาด กรณีที่จำเปนจะตองเกิดความสูญเสียจะตองพิจารณา
ขอบเขตของการสูญเสียใหเกิดนอยที่สุด และเพิ่มอัตราการเกิดใหมของทรัพยากรธรรมชาติใหอยูใน
สภาพเดิมหรือมากกวาความตองการของมนุษย (ทรงศิริ และคณะ, 2551) ซึ่งการพัฒนาเปนการ
ปรับปรุงในเชิงคุณภาพใหดีขึ้น จะแตกตางจากการเจริญเติบโต ที่เปนการปรับปรุงในเชิงปริมาณให
สูงขึ้น ดังนั้นการใช้วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เปนสิ่งจำเปนแต
ตองดำเนินการควบคู่ในกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมดวย มีการ
จัดการที่ดี ทั้งดานวัตถุ และการยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตเทากับความเจริญทางเศรษฐกิจ
เพราะหากมนุษยมุงเนนเฉพาะการพัฒนาทางดานวัตถุอยางเดียว มนุษยจะไมสามารถมีคุณภาพชีวิตที่
ดีและมีความสุขได เพราะยังตองเผชิญกับปญหามลพิษสิ่งแวดลอมดานตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน
เช่น อากาศเสีย น้ำเนา เสียงดัง อากาศรอน ดินเสื่อมคุณภาพ ตนไมลดลง สัตวปาสูญพันธุ เปนตน
ดังนั้น วิธีปฏิบัติที่เปนแนวทางการสรางความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม มีดังนี้
1. รักษาและกระตุนใหเกิดความหลากหลาย การพัฒนาดานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมที่จะ
นำไปสูความยั่งยืนมีหลายแนวทางทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มนุษยจึงควรรักษาและ
กระตุนใหเกิดความหลากหลายโดยไมผูกขาดเฉพาะรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งของวัฒนธรรม จริยธรรม
ศาสนา และสังคม เพียงแนวทางใดทางหนึ่งเทานั้น จึงตองเกิดการบูรณาการหลายศาสตร
2. มีการดำเนินการพัฒนาจากหนวยงานที่รับผิดชอบ หนวยงานที่เกี่ยวข้อง และบุคลากรทุก
ภาคส ว น ที ่ ม ี ก ารนำสิ ่ ง แวดล อ มมาใช้ เ พื ่ อ ประโยชน ต อ งนำมาพิ จ ารณาผลกระทบทางลบใน
กระบวนการตัดสินใจเสมอ
295

3. รัฐตองสนับสนุนเงินงบประมาณเพื่อการวิจัยและพัฒนา แสวงหาแนวทางในการใช้
เทคโนโลยีสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน อยูบนพื้นฐานของการมีอยูอยางจำกัดของสิ่งแวดลอม สภาพสังคม
วัฒนธรรม และศีลธรรม และปฏิบัติการจริงโดยไมเกรงกลัวผูมีอิทธิพล
6.4.2 แนวทางในการปฏิบัติเพื่อนำไปสูการพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
การนำเทคโนโลยีที่ผานกระบวนการคิดค้นทางวิทยาศาสตรมาใช้ในการพัฒนาสิ่งแวดลอม
เปนสิ่งที่ไมผิด หากแตการนำเทคโนโลยีใดมาใช้กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูปฏิบัติงาน
ตองคำนึงถึงผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นอยางรอบคอบและครอบคลุมทุกดาน ในที่นี้ผูเขียนสรุปแนว
ทางการปฏิบัติสำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมใหดำรงความยั่งยืน ไวดังนี้
1. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของมนุษย
1.1 ลดการใช้พลังงานสิ้นเปลือง ใช้ยามจำเปน และแสวงหาแหลงพลังงานทดแทนที่มา
จากสวนที่เหลือทิ้งในประเทศเพื่อใหเกิดกระบวนการขยะเปนศูนย
1.2 เปลี่ยนพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภค ลดปริมาณขยะและของเสีย โดยการใช้หลัก
R ลดการใช้ (reduce) การใช้แลวใช้อีก (reuse) และการแปรรูปใช้ใหม (recycle)
1.3 สงวนรักษาแหลงทรัพยากรธรรมชาติ โดยการสรางความรูความเช้าใจที่ถูกตองใหแก่
คนในชุมชน เพื่อใหเห็นคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและเกิดจิตสำนึกที่จะมีสวนรวม
ในการรักษาแหลงทรัพยากรธรรมชาติ
1.4 ใช้ เ ทคโนโลยี อ ย า งชาญฉลาด เน น เทคโนโลยี ภ ู ม ิ ป  ญ ญาท อ งถิ ่ น ลดการนำเข้ า
เทคโนโลยีที่ไมจำเปนตอบริบทของชุมชน สังคม และประเทศ เพื่อใหไดทั้งผลผลิตทางอุตสาหกรรมที่
มีปริมาณสูงและคุณภาพดี รวมทั้งยังรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมดวย
2. การกระจายความมั่นคงทางอาชีพสูชนบทอยางทั่วถึง เพื่อลดปญหาความเหลื่อมล้ำทาง
สังคม และลดการแออัดในชุมชนเมือง
3. ควบคุมจำนวนประชากรและคุณภาพทางดานการศึกษาของประชากรใหทั่วถึง
3.1 มีวิธีการคุมกำเนิดอยางเหมาะสมและถูกตอง
3.2 ใหการศึกษาดานเพศศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษา
3.3 การขยายโอกาสทางการศึกษา ดวยระบบการศึกษาทางไกล สนับสนุนการเรียนรูแบบ
โฮมสคูล
4. การนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้อยางมีประสิทธิภาพ
296

4.1 สรางระบบยุติธรรม ใครตองการใช้ คนนั้นจ่ายเงิน


4.2 ใหการชดเชยกับผูที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมในพื้นที่นั้น
เช่น ผูที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อน
4.3 สนับสนุนสถานประกอบการหรือธุรกิจที่สรางก๊าซเรือนกระจกนอยที่สุด
4.4 กระจายสิทธิและรับรองสิทธิในการใช้ทรัพยากรใหแก่กลุมคนในสังคมอยางเสมอภาค
4.5 มีกฎหมายคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูที่จะสรางเทคโนโลยี
สิ่งแวดลอมตองมีมาตรการควบคุมกำกับดูแล ตองมีผูเชี่ยวชาญที่มีความรูทองแทในการสราง
เทคโนโลยีสิ่งแวดลอมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
4.6 ดำเนินการค้นควาทางวิทยาศาสตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในทางเทคนิค
4.7 สงเสริมและกระตุนการหมุนเวียนผลผลิตที่เลิกใช้แลว แปรรูปกลับมาใช้ใหม รวมกับ
หาวิธีการยืดอายุผลิตภัณฑ ใช้ผลิตภัณฑที่มีสวนผสมสวนใหญมาจากธรรมชาติ หรือมาจากธรรมชาติ
100%
5. การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหดีคงเดิม
5.1 หาสิ่งอื่นมาทดแทนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่สิ้นเปลืองและใช้แลวหมดไป
5.2 มาตรการการควบคุมคุณภาพอากาศดวยเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 มาตรการการควบคุมคุณภาพน้ำดวยระบบทางกายภาพรวมกับชีวภาพ (จุลินทรียและ
สาหราย)
5.4 มาตรการการควบคุมคุณภาพดินดวยวิธีตามแนวพระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9
5.5 มาตรการการรักษาพันธุพืชและสัตวปา ไมใหใครนำออกมาเพื่อผลประโยชนสวนตัว
และขายเพื่อเอาเงิน
5.6 สรางเจตคติที่ดีของสังคมตอสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

ในปจจุบันดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประชาชนของประเทศสวน
ใหญสามารถเข้าถึงแหลงข้อมูลออนไลน เพื่อไปเรียนรูดานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมไดจาก เว็บไซดของ
กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ ่ ง แวดล อ ม http://e-learning.deqp.go.th/lrs_deqp/coursesall ซึ ่ ง เป น
ระบบการเรียนรูออนไลน ภายใตกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
297

6.5 คุณภาพชีวิต
คุณภาพชีวิต ตามความหมายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ไดใหคำจำกัดความของคำวา
คุณภาพชีวิต ไววา การรับรูหรือความเข้าใจของบุคคลที่มีตอสถานภาพชีวิตของตนเอง ตามบริบท
พื้นที่ วัฒนธรรม และค่านิยมที่ดำเนินชีวิตอยู มีความสัมพันธกับเปาหมาย ความคาดหวัง มาตรฐาน
และความกังวลที่มีตอสิ่งรอบข้าง ครอบคลุมเรื่องราวมากมาย อาทิเช่น สุขภาพทางกาย สภาวะทาง
จิต ระดับความเปนตัวของตนเอง การยอมรับตัวตน ความสัมพันธเชิงสังคม ความเชื่อสวนบุคคล
รวมทั้งความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมในพื้นที่นั้น (ณัชร และวรประภา, 2561)
ในขณะที่องค์การสหประชาชาติ (UN) ไดกลาววา คุณภาพชีวิตเปนความรูสึกที่เปนสุขของ
มนุษยที่วัดดวยตัวชี้วัดวัดทางสังคม มากกกวาการวัดเชิงปริมาณเกี่ยวกับรายไดและผลผลิต
กระทรวงพัฒนาการสังคมและความมั่นคงของมนุษยในประเทศไทย ไดนิยามคำวา คุณภาพ
ชีวิต หมายถึง ระดับการดำรงชีวิตของมนุษยที่เปนผลรวมทั้งในเชิงสิ่งพื้นฐานที่ตองไดรับ และความ
ตองการ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยมนุษยมีคุณภาพชีวิตระดับใดนั้น เปรียบเทียบไดจากค่ามาตรฐาน
หรือช่วงเวลาในอดีตของตนใช้เปนฐาน
สำหรับประเทศไทย ไดใหความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคน จากแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ที่เนนการพัฒนาประเทศอยางองค์รวมแบบบูรณาการ ที่มีคน
เปนศูนยกลางของการพัฒนา และมีรัฐธรรมนูญระบุถึงความสำคัญของคุณภาพชีวิต ในรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ฉบับปจจุบัน
มีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตรวม 3 มาตรา ไดแก่ มาตรา 37 ใหบุคคลมีสิทธิไดรับข้อมูล คำ
ชี้แจง และเหตุผลจากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการสวนทองถิ่น ก่อนการ
อนุญาตหรือดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่มีผลกระทบตอคุณภาพของสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย
คุณภาพชีวิต มาตรา 67 สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนใน 9 การอนุรักษ บำรุงรักษา
และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อใหดำรงชีพอยูได
อย า งปกติ แ ละต อ เนื ่ อ ง ในสิ ่ ง แวดล อ มที ่ จ ะไม ก ่ อ ให เ กิ ด อั น ตรายต อ สุ ข ภาพอนามั ย
สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน และมาตรา 80 ที่กำหนดใหรัฐตองดำเนินการตามนโยบาย ดาน
สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ซึ่งเปนการกำหนดใหรัฐตองดำเนินการในสวนที่
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนไทย นอกจากนี้ ประเทศไทยไดตั้งเปาหมายตาม
กลุมสหประชาชาติที่ประเทศไทยเปนสมาชิกหนึ่งในนั้น มีใจความการพัฒนาไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน
298

ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม สงเสริมการพัฒนากำลังคน และลดช่องวางของการพัฒนา มี


ทั้งสิ้น 8 เปาหมาย ดังนี้
เปาหมายที่1 : ขจัดความยากจนและความหิวโหย
เปาหมายที่2 : ใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาระดับประถมศึกษา
เปาหมายที่3 : สงเสริมบทบาทสตรี และความเทาเทียมกันทางเพศ
เปาหมายที่4 : ลดอัตราการตายของเด็ก
เปาหมายที่5 : พัฒนาสุขภาพสตรีมีครรภ
เปาหมายที่6 : ตอสูโรคเอดส มาเลเรีย และโรคสำคัญ รวมทั้งโรคอุบัติใหม เช่น ไวรัส
โควิด-19 เปนตน
เปาหมายที่7 : รักษาและจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
เปาหมายที่8 : สงเสริมการเปนหุนสวนเพื่อการพัฒนาในประชาคมโลก
จะเห็นไดวาการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น องค์ประกอบสำคัญ คือ การพัฒนาคนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี
เพื่อผลักดันชุมชน สังคม และประเทศชาติเจริญรุงเรืองอยางยั่งยืนตามไปดวย

6.6 มาตรฐานคุณภาพชีวิต
จากหนังสือยิ่งใหยิ่งสุข (ณัชร และวรประภา, 2561) และ เศรษฐกิจพอเพียงกับยุทธศาสตร
Thailand 4.0 (ฝายวิชาการสถาพรบุคส, 2561) ไดอธิบายเกี่ยวกับมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี ตัวชี้วัด
คุณภาพชีวิตที่ดี และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ไวดังนี้
6.6.1 มาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี
มนุษยทุกคนควรไดรับความตองการพื้นฐานที่เทาเทียมกัน คือ ไดรับสารอาหารจากอาหารทั้ง
5 หมู มีครอบครัวที่ครบองค์ประกอบ คือ มีพอ มีแมและมีลูก มีสภาวะจิตใจที่เข้มแข็ง มีสุขภาพกาย
และสุขภาพใจที่ดี รวมทั้งไดรับการศึกษาในระดับที่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได ดังนั้น
มาตรฐานที่บงชี้ถึงคุณภาพชีวิตที่ดี คือ
1. รางกายดี คือ มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณแข็งแรง ไมขาดสารอาหาร ทางอาหารครบ 5
หมู โดยทานโปรตีนเปนหลัก เพื่อช่วยซ่อมแซมสวนที่สึกหรอ ไมมีโรคภัยไข้เจ็บ ไมมีความพิการ
สามารถดำเนินชีวิตไดตามปกติ ทำงานไดเต็มศักยภาพ ไมเหนื่อยลาง่าย มีการสงเสริมการเจริญเติบโต
ของเด็กอยางสมวัย การดูแลตนเองอยางเหมาะสมในแตละช่วงวัย
299

2. จิตใจดี คือ มีสภาวะทางจิตใจที่เข้มแข็ง มั่นคง ไมหวั่นไหวกับสิ่งเราทางลบที่เข้ามากระทบ


มีสติอยูกับสถานการณปจจุบัน ไมยอนนึกแตเรื่องอดีต
3. อารมณดี คือ เปนสิ่งที่สืบเนื่องจากจากจิตใจดี ทำใหเปนคนคิดในแง่บวก ไมเครียดกับ
ปญหาที่เข้ามากระทบในชีวิต มีอารมณเบิกบานแจ่มใส จะมีสมองที่ปลอดโปรง แก้ไขปญหาที่เกิดขึ้น
ไปไดดวยเหตุและผล
4. สติปญญาดี คือ เปนผูใฝรู มีสัมมาคารวะ นอบนอม รูจักเข้าหานักปราชญหรือผูที่เปน
พหูสูต เพื่อขอรับคำแนะนำ สามารถใช้ปญญาและความรูที่มีแก้ไขปญหาที่เกิดขึ้นไปไดดวยเหตุและ
ผล เช่น การตูนจากประเทศญี่ปุน เรื่องเณรนอยเจ้าปญญา ชื่อ อิคคิวซัง
5. สิ่งแวดลอมดี คือ การมีปจจัย 4 อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค พรอม
สมบูรณ ไมมีสิ่งใดขาดแคลน ประเทศสามารถแก้ไขปญหาที่เกิดจากการขาดแคลนปจจัย 4 ไดอยาง
รวดเร็ว การไดรับการศึกษา การปลูกฝงจิตสาธารณะ คุณธรรม จริยธรรม การไมเห็นแก่ตัว เห็นแก่
ประโยชนสวนรวมเปนหลัก สถาบันครอบครัวเข้มแข็ง ที่อยูอาศัย ที่ทำงาน มีสภาพเหมาะสม มีความ
ปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน ประสบความสำเร็จในชีวิต มีสิ่งแวดลอมที่ดีเอื้ออำนวยตอความเปนอยู
การเดินทางไปที่ตาง ๆ การติดตอสื่อสารระหวางบุคคลและธุรกิจ ความพรอมดานการเงิน
6.6.2 ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต หมายถึง สิ่งบงชี้ระดับคุณภาพชีวิต แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก่
ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตระดับปจเจกบุคคล และตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตระดับสังคม พิจารณาไดจาก
1. ดานครอบครัว การใช้ชีวิตในครอบครัวมีความอบอุน มีความสุข พอแมเลี้ยงดูบุตรดวย
ความรัก สั่งสอนอบรม ใหเจริญเติบโตสมวัย ใหการศึกษา มีอัตราการหยารางต่ำ จำนวนผูติดยาเสพ
ติดหรือการพนันในครอบครัว
2. ด า นการทำงาน ภาวะการมี ง านทำ มี ค วามพอใจกั บ ตำแหน ง งาน หาความรู  เ พื่ อ
ความก้าวหนา มีรายไดที่มั่นคง สภาพแวดลอมในที่ทำงานสนับสนุนใหสรางสรรค์งานที่มีคุณภาพและ
ช่วยพัฒนาประเทศ จำนวนหนี้สินของตนเองและครอบครัว หลักประกันชีวิต อัตราการวางงาน
สัดสวนการทำงานของเพศหญิงและเพศชาย
3. ดานสุขภาพ ไมมีโรคภัยไข้เจ็บ มีระบบสาธารณสุข ไมขาดแคลนยารักษาโรค น้ำมีคุณภาพ
ดี น้ำสะอาดเหมาะแก่การบริโภค อายุขัยเฉลี่ยของคนในประเทศ อัตราผูปวยทางจิต การยอมรับเพศ
สภาพของคนในสังคม การใช้เวลาวางเพื่อนันทนาการ
300

4. ดานความเปนอยูประจำวัน มีผลิตภัณฑ เครื่องมือ สิ่งอำนวยความสะดวกในการสนับสนุน


การใช้ ชี วิ ตประจำวั น มี สิ นค้ าและบริ การ มี หน วยงานรั บผิ ดชอบควบคุ มราคา มี อั ตราการเกิ ด
อาชญากรรมต่ำ มีถนนหนทางและยานพาหนะที่พาไปที่ตาง ๆ ไดอยางสะดวกสบาย
5. ดานสิ่งแวดลอม สาธารณูปโภค ประปา ไฟฟา การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ปญหา
มลพิษสิ่งแวดลอม แนวทางการจัดการ การลดลงของปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในประเทศ มีการ
ประดิษฐคิดค้นเทคโนโลยีมาใช้ในการกำจัด บำบัดมลพิษ และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ความมั่นคง
ทางการเมือง ความเสี่ยงในการลงทุน การเสียภาษี สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ภูมิอากาศเหมาะสม
ตอการใช้ชีวิต
การใช้ชีวิตของมนุษยในศตวรรษที่ 21 สังคมอุตสาหกรรมเข้ามามีบทบาทอยางมาก ทำให
การเกษตรกรรมไดรับความสนใจนอยลง มีการรวมเกษตรกรรมเปนกึ่งอุตสาหกรรม การสรางอุปกรณ
เครื่องมือและสิ่งอำนวยความสะดวกเกิดขึ้นมากมายสำหรับการใช้ชีวิตประจำวันของมนุษยทุกเพศทุก
วัย ในสังคมยุคดิจิทัล เครื่องมือมีการพัฒนาเปนสิ่งที่ตองใช้ไฟฟา เปนสมารทอิเล็กทรอนิกส ใช้งาน
ง่ายขึ้นกวาเดิม เพื่อรองรับคุณภาพชีวิตที่ดี แตมนุษยตองคำนึงถึงผลกระทบทางลบตอสิ่งแวดลอม
ดวย อุปกรณและเครื่องมือที่ทันสมัยและมีวิวัฒนาการ ยกตัวอยาง เช่น การทำข้าวใหสุก อดีตมีการ
ทำข้าวใหสุกดวยหมอดินก่อกองไฟดวยไมฟน ตอมามีการสรางหวดนึ่งข้าวทำมาจากไมไผ มีภาชนะ
แยกสวนสำหรับก่อไฟ ยังคงใช้ไมฟน ตอมามีการพัฒนาหมอหุงข้าวทำดวยสแตนเลสมีฝาปด แยกกับ
เตาที่ใช้ไมฟนก่อไฟ จนปจจุบันมีการคิดค้นประดิษฐหมอหุงข้าวไฟฟา ตองมีปลั๊กเสียบไฟมีขดลวด
สรางความรอนอยูรอบหมอ มีฝาปดมิดชิด ตัวหมอหุงข้าวสามารถแยกออกมาลางทำความสะอาดง่าย
ใช้ซ้ำไดหลายครั้ง
ดังนั้นรากฐานของคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย คือการรูจักนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ใหเกิด
ประโยชนสูงสุด เปนปจจัย 4 และปจจัยเสริมตามที่มนุษยตองการ ดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร
และความก้าวหนาทางเทคโนโลยี อยางสรางสรรค์ เพื่อนำไปสูการสรางนวัตกรรมที่เอื้ออำนวย
ประโยชนตอมวลมนุษยชาติ และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อริสโตเติล ไดกลาววา มนุษยเปนสัตวสังคม
คือ มนุษยจะใช้ชีวิตอยูรวมกันเปนกลุม ครอบครัว มีการปฏิสัมพันธกับมนุษยดวยกัน กับสัตว พืช
และสิ่งแวดลอม มนุษยไมสามารถดำรงชีวิตอยูโดยลำพังโดดเดี่ยวคนเดียวได จากครอบครัวหลาย ๆ
ครอบครัว กลายเปนคนในชุมชน เกิดเปนสังคม และเปนประเทศ เมื่อการอยูรวมกันของคนหมูมากจะ
มีการติดตอสื่อสารดวยภาษา มีการแลกเปลี่ยนปจจัย 4 ในการดำรงชีวิต และอาจเกิดการแข่งขันแยง
301

ชิงปจจัยบางอยางระหวางกัน ถือเปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม และในบางครั้งมนุษย


มีความเห็นแก่ตัว ทำอะไรตามใจตนเอง ซึ่งการกระทำนั้นเปนเหตุใหคนอื่นในสังคมไมพอใจ จน
ก่อใหเกิดการทะเลาะวิวาทขัดแยงขึ้นในสังคม จนกลายเปนความบาดหมาง มนุษยจึงตองมีกฎเกณฑ
กฎระเบียบตาง ๆ เพื่อมาควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม เราเรียกวา กฎหมาย มีข้อบังคับและมี
บทลงโทษที่ชัดเจน ลดการเกิดอาชญากรรม รวมทั้งมีกฎหมายควบคุมสิ่งแวดลอมในอยูในสภาพเดิม
ไมเสื่อมโทรมจากการทำกิจกรรมของมนุษย
6.6.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต
องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีคือ สุขภาพดี รวมสุขภาพกายและ
สุขภาพจิตใจ การเปนคนมองทุกอยางรอบตัวในแง่ดี การตั้งเปาหมายชีวิตไปในทางที่ดี จะนำพาชีวิต
ใหไปอยูในสภาพแวดลอมที ่ดี ส งเสริมใหคุณภาพชีวิตดี และยังนำไปสูการพัฒนาประเทศให
เจริญรุงเรืองอยางยั่งยืน การมีคุณภาพชีวิตที่ดีไดนั้น พุทธสุภาษิตหนึ่งไดแนะนำไววา “อเสวนา จ พา
ลานัง” หมายความวา การไมคบคนพาล คนที่ไมรักษาศีล 5 เพราะคนพาล นับรวมทั้งคนชั่ว คนเกเร
คนเห็นแก่ตัว คนโง่ที่อวดรู ไมรูจริงแลวพูด พูดข้อมูลที่เปนเท็จ คนกินเหลา สูบบุหรี่ ติดอบายมุก
คนที่คิดในแง่ลบ คนที่มีจิตใจขุ่นมัว คนที่ชอบนินทาใหรายคนอื่น คนที่ชอบสรางความรำคาญความ
เดือดรอนใหกับคนอื่น คิดปองรายคนอื่น พูดคำหยาบคาย พูดสอเสียด ลักทรัพยผูอื่น คนที่ประกอบ
อาชีพทุจริต เปนตน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ไดทรงใหพระ
บรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยไววา “การรักษาความสมบูรณแข็งแรง
ของรางกาย เปนปจจัยของเศรษฐกิจที่ดีและสังคมที่มั่นคง เพราะรางกายที่แข็งแรงนั้น โดยปกติ
อำนวยผลใหสุขภาพจิตใจสมบูรณดวย และเมื่อสุขภาพสมบูรณดีพรอมทั้งกายและจิตใจแลว ยอมมี
กำลังทำประโยชนสรางสรรค์เศรษฐกิจและสังคมของบางเมืองไดอยางเต็มที่ ทั้งไมเปนภาระแก่สังคม
ดวย คือ เปนผูสราง มิใช่ผูถวงทำลาย” ดังนั้นการมีสุขภาพที่ดี คือ มีรางกายที่พรอมกิจกรรม
ประจำวันไดดวยความกระปรี้กระเปรา มีพัฒนาการดานรางกายที่สมวัย ไมมีความพิการ ปราศจาก
โรคภัยไข้เจ็บ เพราะฉะนั้นปจจัยที่สงเสริมการมีสุขภาพดีนั้น มีดังนี้
1. มีแรงกายที่สามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได ไมเหนื่อยลา
2. การมีช่วงเวลาพักผอนอยางเพียงพอ
3. มีอาหารที่สะอาดปลอดเชื้อจุลินทรียก่อโรค มีโภชนาการที่ดี เหมาะสมตามช่วงวัย
302

4. รูปรางการทรงตัวที่สมดุล ไมเปนโรคอวน
5. ไมติดยาเสพติด
6. มีการออกกำลังกายทุกวัน และเสริมสรางภูมิคุ้มกันโรค
7. มีการตรวจสุขภาพประจำป
8. คนวัยทำงานไปจนถึงผูสูงอายุตองระวังโรคที่เกิดจากความเสื่อมภายในรางกาย
9. การขับถายของเสียออกจากรางกายที่เหมาะสม
10. มีสติปญญาควบคุมอารมณของตนเองในในสถานการณตาง ๆ ที่เข้ามากระทบ
11. มีความรูสึกรักตนเอง รักพอแม
12. รูผิด ชอบ ชั่ว ดี ยอมรับความคิดเห็นผูอื่น
13. มีทักษะในการจัดการบริหารความเครียดที่เกิดขึ้นโดยไมคาดคิด
14. มีพัฒนาการทางจิตวิญญาณ การเลนเสริมพัฒนาการความรู ทักษะทางปญญา การ
ทำงาน การอยูรวมกับผูอื่น ความสามัคคี ความเมตตา ความรักธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตอื่น
15. รูจักเลือกบริโภคสินค้าที่มีวางจำหนายตามทองตลาด โดยพิจารณาฉลากโภชนาการ

6.7 การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9
พอเพียงกับความทันสมัยสามารถเกิดขึ้นพรอมกันอยางสมดุลได เมื่อโลกมีการเปลี่ยนแปลง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปอยางรวดเร็ว ความทันสมัยหลากหลายดานเข้ามามีบทบาทตอการใช้
ชีวิตของมนุษยมากขึ้น นอกจากปจจัย 4 แลว การดำรงชีวิตของมนุษยมีปจจัยเสริมเพิ่มขึ้นอีกมากมาย
ซึ่งการไดมาซึ่งปจจัยเสริมคุณภาพชีวิตตองแลกมาดวยเงินที่หามาไดอยางสุจริต ดังนั้นการใช้ชีวิตอยาง
มีสติ เราตองประมาณตนเอง วาความตองการปจจัยเสริมเทียบกับจำนวนเงินที่เรามี มีความสมดุลกัน
หรือไม นักศึกษายังอยูในวัยเรียน ยังไมไดทำงานเต็มเวลา การไดมาซึ่งเงินใช้จ่ายสวนใหญไดมาจาก
ผู  ป กครอง ดั ง นั ้ น การบริ ห ารจั ด การด า นการเงิ น ตามวิ ถ ี เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งนั ้ น สำคั ญ อย า งยิ่ ง
แนวความคิดของในหลวงรัชกาลที่ 9 นี้ไมใช่จะใช้สำหรับเกษตรกรเทานั้น แตเปนแนวคิดสำหรับคน
ทุกคน ใหตั้งมั่นอยูในความไมประมาทในการใช้ชีวิต รูจักเก็บออมไวใช้ยามจำเปน อดกลั้นตอสิ่งเรา
สิ่งกระตุนความอยากไดอยากมี จนอาจนำพาความคิดและการกระทำของเราใหไปในทางที่ไมดีได
การใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงจะสงผลใหประชากรในประเทศสามารถพัฒนาไปสูความทันสมัย ยังคง
อยูบนพื้นฐานการใช้ชีวิตแบบดั้งเดิมและยอมรับกับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปในทุกดาน เราสามารถ
303

เดินทางข้ามประเทศในเวลาอันสั้นดวยเครื่องบิน เราพูดคุยกับคนตางชาติไดดวยระบบสารสนเทศ
ไรสาย เรามีสมารทโฟนที่ทำหนาที่ไดหลากหลายฟงก์ชัน ไมใช่แค่โทรศัพทที่โทรออก หรือ รับเข้า
เทานั้น เรามีเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถพกพาไปไหนตอไหนไดทั่วโลก เรามีสิ่งเสริมความสวยความ
งามทางการแพทยมากมายเพื่อลดการเกิดความชรา ทำใหเราดูหนุมสาวออนกวาวัย สิ่งเหลานี้เปน
กิเลสที่มนุษยตองแลกมาดวยเงินจำนวนมาก หากใครใช้ชีวิตอยูบนความโลภ อยากไดอยากมีเหมือน
คนอื่น โดยที่จำนวนเงินมีนอยกวาคนอื่น จนตองเกิดเปนหนี้เปนสิน เหตุการณนี้แสดงวาเราใช้ชีวิต
อยางประมาณ ไมพอเพียง จนอาจสงผลกระทบตอชีวิตของตนเอง ครอบครัว รวมทั้งทำใหการพัฒนา
ประเทศดอยลง และอาจก่อใหเกิดการโจรกรรมและปญหาอาชญากรรมตามมาในที่สุด
6.7.1 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป น ปรั ช ญาที ่ ช ี ้ ถ ึ ง แนวการดำรงอยู  แ ละปฏิ บ ั ต ิ ต นของ
ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร
ประเทศใหดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหก้าวทันตอโลกยุคดิจิทัล
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเปนที่จะตองมีระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการกระทบใดอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้
จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนำวิชาการตาง ๆ มาใช้
ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของ
คนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสำนึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ
ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและ
กวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ภาพที่ 6.9)
เศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบดวยคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
1. ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดี ท ี ่ ไ ม น  อ ยเกิ น ไปและไม ม ากเกิ น ไป โดยไม
เบียดเบียนตนเองและผูอื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ
304

2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยาง


มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการ
กระทำนั้นอยางรอบคอบ

ภาพที่ 6.9 องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. การมีภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดาน


ตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเปนไปไดของสถานการณที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมใหอยูในระดับพอเพียง 2 ข้อ คือ
1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวข้องรอบดาน
ความรอบคอบที่จะนำความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ
ระมัดระวังในการปฏิบัติ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปญญาในการดำเนินชีวิต
6.7.2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้ชีวิตในยุคทุนนิยมที่ความก้าวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นวัตกรรมตาง
ๆ เกิดขึ้นอยางมากมาย และมีวิวัฒนาการเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมถูก
305

นำมาใช้ เ พื ่ อ ตอบสนองความต อ งการของมนุ ษ ย อ ย า งมาก ตามจำนวนประชากรที ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น จน


ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ มลดปริ ม าณลงมาก เกิ ด ความเสี ย หายเสื ่ อ มโทรม
ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดรอยหรอ สูญพันธุไป ฟนฟูกลับมาใหมไมได ทำใหความหลากหลายทาง
ชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในประเทศลดลงอยางมาก นี่คือความสูญเสียที่ยิ่งใหญของประเทศนั้น ดังนั้นการ
พัฒนา เปนการปรับปรุงของเดิมใหดีขึ้นจากเดิมดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่
ก้าวหนาดวยสมองของมนุษย เปนวิธีการเชิงบวก เพื่อความเปนอยูที่ดี และคุณภาพชีวิตที่ดีของมนุษย
แตการพัฒนานั้นจะอยูยั่งยืนไดอยางไร ตองขึ้นอยูกับจิตสาธารณะของประชากรแตละคนในประเทศ
ที่มีจิตใจที่จะช่วยกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม ใหอยูอยางยั่งยืน เพื่อการดำรงชีวิตที่มั่นคง
ของประชากรในแตละพื้นที่ทั่วประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางการดำเนินชีวิตตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมหา
ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 แหงราชอาณาจักไทย ไดเล็งเห็นถึงผลกระทบ
ทางลบที่เกิดขึ้นจากการนำวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย
แตกระบวนการนี้กลับสรางความเหลื่อมล้ำอยางมากของการใช้ชีวิตของคนในสังคมไทย เกิดความ
แตกตางระหวางชุมชนเมืองกับชุมชนชนบทอยางมาก ทำใหสังคมไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยาง
มากในทุ กด า น ไม ว  า จะเป นด า นเศรษฐกิ จ การเมื อ ง วั ฒนธรรม สั ง คมและสิ ่ ง แวดล อ ม อี ก ทั้ ง
กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ
ได เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดตางเปนปจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน แนนอนเมื่อความทันสมัยดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการพัฒนา ในดานดีนั้น ทำใหประเทศมีการพัฒนา
เพิ ่ ม ขึ ้ น ของอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ความเจริ ญ ทางวั ต ถุ และสาธารณู ป โภค
ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยางทั่วถึงมากขึ้น แตดานดี
เหลานี้กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูดอยโอกาสในสังคมนอยมาก อยางไรตาม กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากการพัฒนาประเทศ เกิดผลลบมามากมาย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้า
ไปในชนบท ไดสงผลใหชนบทเกิดความออนแอในหลายดาน ทั้งการตองพึ่งพิงตลาด นายทุนและ
พอค้าคนกลางในการสั่งสินค้า ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธแบบ
เครือญาติ และการรวมกลุมกันตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยูแตเดิมหายไป ภูมิ
ปญญาทองถิ่นความรูจากปราชญชาวบานที่เคยใช้แก้ปญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาในพื้นที่นั้น
ถูกลืมเลือนและสูญหายไป
306

ความพอเพี ยงในการดำรงชี วิ ต มี ความสำคั ญต อการใช้ ชี วิ ตที ่ จะทำให คนไทยสามารถ


พึ่งตนเอง และดำเนินชีวิตไปไดอยางมีศักดิ์ศรีภายใตอำนาจและความมีอิสระในการกำหนดชะตาชีวิต
ของตนเอง หลุดพนจากการจองจำของระบบทุนนิยม มีความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อให
ตนเองไดรับการสนองตอบตอความตองการตาง ๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปญหาตาง ๆ
ไดดวยตนเองอยางมีสติและเหตุผล สิ่งเหลานี้เปนศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแต
เดิม เมื่อทั่วโลกเกิดวิกฤตเศรษฐกิจจากปญหาฟองสบูและปญหาความออนแอของชนบท รวมทั้ง
ปญหาอื่นที่เกิดขึ้น ลวนแตเปนข้อพิสูจนและยืนยันปรากฎการณนี้ไดเปนอยางดี วาคนในประเทศไทย
ที่ไมไดใช้ชีวิตอยูดวยหลักเศรษฐกิจพอเพียงจะไดรับผลกระทบอยางรุนแรง เกิดการลมละลายดาน
เศรษฐกิจ จนอาจคิดสั้นฆ่าตัวตายไดในที่สุด
แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวคิดที่สนับสนุนใหคนไทยเดินบนทางสายกลาง ใช้ชีวิต
ดานการเงินดวยความไมประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุ้มกันใน
ตนเอง ตลอดจนใช้ความรูและคุณธรรม เปนพื้นฐานในการดำรงชีวิต ที่สำคัญจะตองมี สติ ปญญา
และความเพียร ซึ่งจะนำไปสูความสุข ในการดำเนินชีวิตอยางแทจริง คุณภาพชีวิตที่ดีของตนเองและ
ครอบครัว
ในที่นี้ขอยกตัวอยางนักศึกษาคนหนึ่งที่เรียนจบเปนบัณฑิตแลวจากคณะวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ พื้นฐานครอบครัวของนักศึกษามีฐานะทาง
การเงินนอย ไมมีเงินพอสำหรับการจ่ายค่าเลาเรียน ในระหวางเรียน นักศึกษามีความพยายามและใฝ
เรียนรูที่เพิ่มพูนทักษะดานที่ตนเองกำลังศึกษาอยู เมื่อตนเองมีทักษะปฏิบัติที่ดี จึงรับทำงานในสาย
งานที่ตนเชี่ยวชาญ เพื่อหารายไดมาสูตนเอง นักศึกษาคนนี้เปนเด็กขยันเรียน เรียนไดผลการศึกษาดี
ทุกภาคการศึกษา เปนเด็กที่มีจิตสาธารณะ และมีน้ำใจตอเพื่อนรวมชั้นเรียน จากการสังเกตและ
สอบถามจากเพื่อนรวมชั้นเรียน พบวา นักศึกษานำอาหารกลางวันที่ผูปกครองทำใหมาทานที่
มหาวิทยาลัยทุกวัน ไมใช้จ่ายฟุมเฟอย เพื่อนชวนไปเที่ยว เขาไมเคยไปกับเพื่อน เพราะกลัววาเงินที่
ไดมาจากผูปกครองจะไมเพียงพอตอการใช้จ่ายที่จำเปน เมื่อนักศึกษาคนนี้จบเปนบัณฑิตแลว มีบริษัท
ชั้นนำรับเข้าทำงานเลย เพราะเขามีทักษะปฏิบัติในสายงานที่ผานการฝกฝนในช่วงระหวางเรียนมา
อยางดี ทำใหคุณภาพชีวิตของเขาและครอบครัวดีขึ้น มีเงินเดือนจากการทำงานเข้ามาจุนเจือ
ครอบครัว จะเห็นไดวา คุณภาพชีวิตที่ดีเกิดขึ้นไดจากการความคิดของตนเอง ถึงแมวาเด็กนักศึกษา
คนนี้จะเกิดมาในครอบครัวที่มีฐานะยากจน แตเขามีจิตใจที่ดี มีภาวะทางอารมณที่ดี ใฝเรียนรู มี
307

สติปญญาดีนำพาตนเองไปอยูในสภาพแวดลอมที่ดี จะสงผลตอรางกายที่ดี ทั้งหมดเปนวิธีการในการ


สรางคุณภาพชีวิตที่ดีของตนเอง

6.8 ประเทศไทยกับการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง ใจความสำคัญ คือตองการใหประชากรในประเทศพึ่งพาตนเองได มุงเนน
ใหเปนผูผลิต หรือผูบริโภค เริ่มตนผลิตเองในครัวเรือนและบริโภคภายใตขอบเขต ข้อจำกัดของเงิน
รายได หรือทรัพยากรที่มีอยู เนนการลดการพึ่งพาจากเศรษฐกิจภายนอก คือการซื้อสิ่งของตาง ๆ เพิ่ม
ขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตไดดวยตนเอง และลดภาวการณเสี่ยงจากการไมสามารถ
ควบคุมระบบตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพ ทำความเข้าใจใหถองแท เศรษฐกิจพอเพียงไมใช่ ใหใช้ชีวิต
แบบตระหนี่ กระเบียดกระเสียนการใช้จ่ายเงินจนตนเองและครอบครัวเดือนรอน อาจฟุมเฟอยไดเปน
ครั้งคราวตามอัตภาพ แตในความเปนจริง คนสวนใหญของประเทศ มีการใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะทาง
การเงินที่หามาได จนเกิดระบบบัตรเครดิต สินเชื่อจากธนาคาร การกู้เงินทั้งในระบบ และนอกระบบ
นำมาซึ่งการเกิดหนี้สินลนพนตัว และในที่สุดไมสามารถหาเงินมาจ่ายคืนไดทัน จนตองคิดสั้นฆ่าตัว
ตาย กลายเปนเรื่องเศราของครอบครัวที่เกิดจากเศรษฐกิจและความไมพอเพียงในการใช้ชีวิตของ
ประชากรในประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยนำพา ผูปฏิบัติตามไปสูเปาหมายของการสรางความมั่นคงทางการ
เงิ น ของตนเองและครอบครั ว ในทางเศรษฐกิ จ เช่ น โดยพื ้ น ฐานแล ว ประเทศไทยเป น ประเทศ
เกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเนนที่เศรษฐกิจการเกษตร เนนความมั่นคงทางอาหาร เปน
การสรางความมั่นคงใหเปนระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเปนระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดความเสี่ยง
หรือความไมมั่นคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกตใช้ไดในทุกระดับ
ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไมจำเปนจะตองจำกัดเฉพาะแตภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแต
ภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย และการค้าการลงทุนระหวางประเทศ โดยมีหลักการที่คลายคลึงกัน
คือ เนนการเลือกปฏิบัติอยางพอประมาณ มีเหตุมีผล และสรางภูมิคุ้มกันใหแก่ตนเองและสังคม
การดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวรัชกาลที่ 9 ทรง
เข้าใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น พระราชดำริ หรือพระบรมราโชวาทในดานตาง ๆ จะทรงคำนึงถึงวิถี
ชีวิต สภาพสังคมของประชาชนดวย เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางความคิด ที่อาจนำไปสูความขัดแยง
ในทางปฏิบัติได ซึ่งแนวพระราชดำริในการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง มีดังตอไปนี้
308

1. ยึดความประหยัด ลดปริมาณค่าใช้จ่ายที่ไมจำเปนตอการดำรงชีวิตตามปจจัย 4 ในทุกดาน


ลดละความฟุมเฟอยในการใช้ชีวิต
2. ยึดถือการประกอบอาชีพที่ถูกตอง ซื่อสัตยสุจริต
3. ละเลิกการแก่งแยงผลประโยชนและแข่งขันกันในทางการค้าแบบตอสูกันอยางรุนแรง หัน
มาเอื้อเฟอเผือ่ แผกัน ตามวิถีชีวิตของคนไทยในสมัยอดีต มีข้าวแลกปลา มีผักแลกไก่
4. ไมหยุดนิ่งที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกข์ยากจากเศรษฐกิจ ดวยการขวนขวาย
ใฝหาความรูใหมีเงินรายไดเพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสำคัญ
5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักคำสอนทางศาสนา

ในยุคปจจุบันโลกดิจิทัล มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย ลอจิตใจใหมนุษยเกิดกิเลสความ


อยากไดอยากมี ดวยกลไกทางการตลาดก่อใหเกิดโลกการค้าออนไลน ในยุคนี้ทำใหการตัดสินใจของผู
ซื้อเกิดขึ้นอยางรวดเร็วโดยขาดความยั้งคิดไตรตรอง ดวยเหตุและผล รวมกับการประเมินสภาพทาง
การเงินของตนเองและครอบครัว จนเกิดการใช้จ่ายฟุมเฟอยและเกินกำลังทรัพยของตนเอง การทำ
อาชีพของประชากรในยุคปจจุบันมีแนวคิดที่เปลี่ยนแปลงไป คนสวนใหญสนใจทำงานบริษัท เปน
มนุษยเงินเดือน มีระบบการประเมินงาน มีการแข่งขันกัน เกิดการแยงชิงตำแหนงงานที่จำกัด ใครที่มี
ศักยภาพไมถึงเกณฑที่กำหนด จะถูกเชิญออก ไปหางานทำที่ใหม รวมทั้งในยุคนี้ความรูทางดาน
เทคโนโลยีมีการพัฒนาก้าวหนาอยางมาก บริษัทมีการนำเทคโนโลยีตาง ๆ มาใช้ในกระบวนการผลิต
แทนแรงงานคน ผลกระทบนี้ทำใหเกิดปญหาการวางงานเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งในป 2562 เริ่มมี
การระบาดของเชื้อโรคอุบัติใหม เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 เชื้อไวรัสตัวนี้แพรกระจายจาก
คนหนึ่งสูคนหนึ่งไดง่ายมาก หากไมระมัดระวังใหดี เมื่อเกิดเหตการณเหลานี้ขึ้นยิ่งตอกย้ำถึงความ
ลำบากในการใช้ชีวิต การประกอบอาชีพที่ไมไดอยูบนพื้นฐานพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของประชากรในประเทศไทย รวมทั้งการบริหารงานของรัฐไมมีประสิทธิภาพในการควบคุม
เชื้อ ระบบสาธารณสุข การแพทย ยารักษาโรค และวัคซีน ทำใหประชากรไทยตายดวยโรคนี้อยางมาก
และมีการแพรระบาดของเชื้อโรคนี้มาอยางตอเนื่องถึง ป 2564 ทั้งประเทศไทยและประเทศอื่น
ทั่วโลกยังไมสามารถควบคุมการแพรระบาดของเชื้อไวรัสชนิดนี้ได ดวยเหตุการณนี้ ทำใหธุรกิจหลาย
ประเภทตองปดกิจการลง เจ้าของรานขาดรายได เกิดปญหาคนวางงานมากขึ้นอยางมาก ประกอบกับ
มี ค นติ ด เชื้ อ ไวรั ส เพิ ่ ม ขึ ้ น อย า งต อ เนื ่ อ งอี ก ด ว ย เมื ่ อ พิ จ ารณาให ด ี หากคนไทยดำเนิ น ชี ว ิ ต ตาม
309

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รูจักปลูกพืชผักสวนครัวไวกินเอง ตั้งถิ่นฐานอยูในภูมิลำเนาของตน ไม


ไปแข่งขันแยงชิงงานในสังคมเมือง และประกอบอาชีพตามบริบทของพื้นที่ มีการเก็บออมเงินไวใช้จ่าย
ยามจำเปน รูจักข่มใจตนเองในการซื้อสินค้าและบริการจากระบบออนไลน รับรูข้อมูลข่าวสาร
ออนไลนดวยสติไตรตรอง รูเทาทันสื่อ แยกแยะข่าวจริง ข่าวเท็จไดดวยวิจารณญาณที่เหมาะสม คน
ไทยจะสามารถอยูรอดไดในสถานการณที่ย่ำแย และใช้ชีวิตอยูเปนสุขอยางยั่งยืน สรุปไดวา เปาหมาย
ของแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนะนำใหคนไทยดำรงชีวิตบนทางสายกลาง เชื่อมโยงวิถี
ชีวิตแบบที่เคยอยูอยางเปนสุขในอดีต ภูมิปญญาทองถิ่น บริบทของชุมชน สังคม สิ่งแวดลอม
การเมือง ใหเข้ากับการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ช่วยกันสรางความสมดุลของการใช้
ชีวิตทุกดานใหมั่นคง ยั่งยืน โดยรัฐมีความเปนธรรม และสามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ไดดวยความมีสติปญญา
การแบงระดับของเศรษฐกิจพอเพียงตามบริบทของการจัดการ สามารถแบงได 2 ระดับ คือ
1. เศรษฐกิจพอเพียงพื้นฐาน เปนแนวทางการใช้ชีวิตดวยความพอเพียงในระดับบุคคลและ
ครอบครัว โดยใช้หลักทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 เหมาะกับบริบทของประเทศไทยที่เปนประเทศเกษตรกรรม
ทฤษฎีใหมนี้ มุงเนนแก้ไขปญหาใหกับเกษตรกรและผูที่สนใจประกอบอาชีพทางการเกษตร เพราะ
ผลผลิตทางการเกษตร ตองพึ่งพาทรัพยากรน้ำและทรัพยากรดิน เปนหลัก
2. เศรษฐกิจพอเพียงพัฒนาก้าวหนา เปนแนวทางการใช้ชีวิตดวยความพอเพียงในระดับ
ชุมชน สังคม องค์กร และระดับประเทศ โดยใช้หลักทฤษฎีใหมขั้นที่ 2 เปนการขยายผลจากทฤษฎี
ใหมขั้นที่ 1 ไปสูการรวมตัวกันของประชากรแตละครัวเรือนในชุมชน องค์กร จัดตั้งกลุมวิสาหกิจ
ชุมชน หรือสหกรณ เมื่อชุมชนเข้มแข็งสามารถขยายผล โดยใช้หลักทฤษฎีใหมขั้นที่ 3 ใหกลุมชมชน
สรางเครือข่ายในการพัฒนาระดับประเทศ

แนวทางการดำเนินงานของทฤษฎีใหม เปนตัวอยางที่เปนรูปธรรมของการนำแนวคิดหลักการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เกิดประโยชนไดชัดเจนที่สุด เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรของประเทศไทย
ใหสูกับวิกฤตภัยธรรมชาติและปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบตอการทำการเกษตร ลดความเสี่ยงในการ
ทำการเกษตรใหนอยลง เช่น
1. ความเสี่ยงดานราคาสินค้าทางการเกษตร
2. ความเสี่ยงจากการกำหนดราคากลางและการพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ
310

3. ความเสี่ยงดานน้ำขาดแคลน
4. ความเสี่ยงของภัยธรรมชาติอื่น
5. ความเสี่ยงดานการผลิต โรคและศัตรูพืช แรงงานทางการเกษตร
6. ความเสี่ยงในการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว
7. ความเสี่ยงดานหนี้สินและการสูญเสียที่ดินของเกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็ก

6.9 ความสำคัญและประโยชนของหลักทฤษฎีใหมตอคุณภาพชีวิต
6.9.1 ความสำคัญของทฤษฎีใหม
เมื่อประเทศไทยเกิดวิกฤตทางดานเศรษฐกิจ ทำใหประชาชนในประเทศไดรับผลกระทบ
ทางดานการเงินกันอยางถวนหนา สิบเนื่องมาจากประเทศไทยใหความสำคัญกับภาคอุตสาหกรรมมาก
เกินไป ประชาชนไมสามารถพึ่งพาตนเองได สวนใหญประชาชนตองใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าอุปโภค
บริโภค จนในที่สุดประชาชนสวนใหญของประเทศกลายเปนมนุษยเงินเดือน ประชาชนบางสวนจาก
ตางจังหวัดเดินทางเข้ามาหางานทำหาเงินในเมืองหลวง สงผลกระทบใหเกิดความเหลื่อมล้ำทางอาชีพ
และรายได หลังจากเกิดสภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ประชาชนผูใช้แรงงานสวนใหญถูกเลิกจ้างงาน
ทำใหประชาชนจำนวนมากวางงานและตัดสินใจกลับภูมิลำเนาเดิม กลุมจัดการฟารมและเกษตรกรรม
ยั่งยืน กองวิจัยและพัฒนางานสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร (2566) ไดอธิบายหลักการ
ปฏิบัติตามหลักเกษตรทฤษฎีใหมไววา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัส
ใหหนวยงานของรัฐเข้าช่วยเหลือประชาชนที่ประสพปญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจ โดยใหความรู และ
สนับสนุนแนวปฏิบัติหลักทฤษฎีใหม โดยเริ่มจากดานการเกษตรเปนดานแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อให
ประชาชนสามารถทำงานในภูมิลำเนาเดิมของตนดวยการทำเกษตร ปลูกพืช เลี้ยงสัตวที่เหมาะสมตาม
สภาพภูมิอากาศในจังหวัดของตน ประชาชนสามารถอยูไดดวยการดำเนินชีวิตอยางยั่งยืนและพึ่งพา
ตนเองเปนหลัก จะเห็นไดวา หลักทฤษฎีใหมมีความสำคัญและมีแนวปฏิบัติดังนี้
1. มีการบริหารและจัดแบงที่ดินแปลงเล็กออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน เพื่อประโยชนสูงสุดของ
เกษตรกร ซึ่งไมเคยมีใครคิดมาก่อน เปนแนวคิดแรกจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวรัชกาลที่ 9
2. มี ก ารคำนวณโดยใช้ ห ลั ก วิ ช าการเกี ่ ย วกั บ ปริ ม าณน้ ำ ที ่ จ ะกั ก เก็ บ ให พ อเพี ย งต อ
การเพาะปลูกไดอยางเหมาะสมตลอดป
311

3. มีการวางแผนที่สมบูรณแบบสำหรับเกษตรกรรายยอย โดยมีแนวปฏิบัติ 3 ขั้นตอน คือ


หลักทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 หลักทฤษฎีใหมขั้นที่ 2 และ หลักทฤษฎีใหมขั้นที่ 3
6.9.2 ประโยชนของทฤษฎีใหม
หากประชาชนสามารถดำเนินชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม โดยนำแนวปฏิบัติมาปรับใช้ให
เหมาะสมกับการดำเนินชีวิตของตนเอง จะเกิดประโยชนตอตนเอง ครอบครัว และสังคม ดังตอไปนี้
1. ทำใหประชาชนพออยูพอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่ประหยัด ไมอดอยาก และเลี้ยง
ตนเองไดตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”
2. ในหนาแลงมีน้ำนอย สามารถเอาน้ำที่เก็บไวในสระมาปลูกพืชผักที่ใช้น้ำนอยได โดยไมตอง
กังวลระบบชลประทาน
3. ในปที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้ำดีตลอดป ทฤษฎีใหมนี้สามารถสรางรายไดใหแก่เกษตรกร
ไดโดยไมเดือดรอนในเรื่องค่าใช้จ่าย
4. ในกรณีที่เกิดอุทกภัย เกษตรกรสามารถที่จะฟนตัวและช่วยตนเองไดในระดับหนึ่ง โดยทาง
ราชการไมตองช่วยเหลือมากนัก ซึ่งเปนการประหยัดงบประมาณของประเทศดวย

ภาพที่ 6.10 แนวทางเกษตรทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


มาจาก: https://alro.go.th/ewtadmin/ewt/alro_th/download/Knowledge/2562/
Knowledge/ Knowledge62-07.pdf

6.9.3 ทฤษฎีใหมขั้นที่ 1
หลักทฤษฎีขั้นที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อสรางเสถียรภาพของการผลิตอาหารประจำวัน ความ
มั่นคงของรายได ความมั่นคงของชีวิต แก้ปญหาความยากจนของเกษตรกรที่มีพื้นที่ทำการเกษตรนอย
เปนเศรษฐกิจพึ่งพาตนเอง ใหแบงพื้นที่ออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30:30:30:10 (ภาพที่ 6.10)
312

พื้นที่สวนที่หนึ่ง ประมาณ 30% ใหขุดสระเก็บกักน้ำเพื่อใช้เก็บกักน้ำฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการ


ปลูกพืชในฤดูแลง ตลอดจนการเลี้ยงสัตวและพืชน้ำตาง ๆ พื้นที่สวนที่สอง ประมาณ 30% ใหปลูก
ข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เปนอาหารประจำวันสำหรับครอบครัวใหเพียงพอตลอด ป เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและ
สามารถพึ่งตนเองได พื้นที่สวนที่สาม ประมาณ 30% ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืช
สมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เปนอาหารประจำวัน หากเหลือบริโภคนำไปจำหนาย และพื้นที่สวนที่สี่
ประมาณ 10% เปนที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่น
6.9.4 ทฤษฎีใหมขั้นที่ 2
หลักทฤษฎีขั้นที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อเกษตรกรสามารถดำเนินชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ได
แลวจำนวนหลายครัวเรือน แตละครัวเรือนทำการรวมกลุมกัน เปนวิสาหกิจชุมชนหรือสหกรณ เกิด
ชุมชนรวมกลุมพึ่งตนเองได เพื่อดำเนินการในดานตาง ๆ (ภาพที่ 6.11) ดังนี้
1. การผลิต เกษตรกรมีความชำนาญปลูกพืชชนิดใดใหปลูกพืชชนิดนั้นใหไดผลผลิตที่ดี มี
คุณภาพสูง ใหสอดคลองกับความตองการของตลาด
2. การตลาด เมื่อมีผลผลิตแลว จะตองวางแผนการใช้ในครัวเรือน สวนที่เหลือสงขายไมผาน
พอค้าคนกลาง สมาชิกในกลุมติดตอการขายเอง หรือแปรรูปดวยวิธีการถนอมอาหาร
3. ความเปนอยู เกษตรกรแตละครัวเรือนตองมีความเปนอยูที่ดี มีปจจัย 4 ครบถวนสมบูรณ
4. สวัสดิการ เมื่อสมาชิกในชุมชนเกิดการรวมกลุมกันผลิตผลผลิตทางการเกษตร ควรมี
สวัสดิการและบริการที่จำเปนพื้นฐานไวบริการทุกคนในครัวเรือน
5. การศึกษา มีการตั้งโรงเรียนขั้นพื้นฐาน ชุมชนมีบทบาทในการสงเสริมการศึกษาใหกับคน
ทุกเพศทุกวัยในชุมชน ไดใช้เวลาวางใหเกิดประโยชน
6. สังคมและศาสนา ชุมชนเปนศูนยรวมของคนหลากหลายครัวเรือน ผูนำชุมชนตองเปนหลัก
ในการธรรมาภิบาลใหคนในชุมชนอยูรวมกันอยางมีความสุข ทั้งรางกายและจิตใจ ทำนุบำรุงศาสนา
6.9.5 ทฤษฎีใหมขั้นที่ 3
หลักทฤษฎีขั้นที่ 3 เมื่อสมาชิกในชุมชนดำเนินการผานพนทฤษฎีใหมขั้นที่ 2 แลว เกษตรกร
หรื อ กลุ  ม เกษตรกรควรพั ฒ นาตนเองไปสู ท ฤษฎี ใ หม ข ั ้ น ที ่ 3 โดยทำการติ ด ต อ ประสานงานกั บ
หนวยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย จัดหาองค์ความรูทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี จัดหาทุน หรือแหลง
เงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท หางรานเอกชน มาช่วยในการลงทุนสำหรับการยกระดับพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของคนในชุมชน (ภาพที่ 6.11) ประโยชนที่จะไดรับ คือ
313

ภาพที่ 6.11 แนวทางปฏิบัติตามหลักเกษตรทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 2 และ 3


มาจาก: https://www.77kaoded.com/news/rewatr/402503

1. เกษตรกรขายผลผลิตทางการเกษตรไดราคาสูง (ไมถูกกดราคา)
2. ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อผลผลิตทางการเกษตรบริโภคในราคาต่ำ (เช่น ซื้อ
ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)
3. เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคไดในราคาต่ำ เพราะรวมกันซื้อเปนจำนวนมาก (เปนราน
สหกรณราคาขายสง)
4. ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดำเนินการในกิจกรรมตาง
ๆ ใหเกิดผลดียิ่งขึ้น
ในปจจุบันมีหนวยงานสนับสนุนและนำเอาเกษตรทฤษฎีใหมไปทำการทดลองจริงและขยาย
ผล ณ ศูนยการศึกษาการพัฒนาและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กรมวิชาการเกษตรจัดทำ
แปลงสาธิตเพื่อเปนแนวทางใหเกษตรกรในพื้นที่ทำตาม กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงกลาโหม กระทรวงศึกษาธิการ หนวยงานมหาวิทยาลัย รวมทั้ง
กรมราชทัณฑ ไดมีการดำเนินงานกันอยางกวางขวางขึ้น
314

6.10 ตัวอยางกรณีศึกษาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิต
สำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ มีพันธกิจในการนำองค์ความรูในดาน
ตาง ๆ มาบูรณาการ เพื่อสรางสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม โดยพื้นที่ชุมชน
รั บ ผิ ด ชอบของมหาวิ ท ยาลั ย อยู  ใ นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สุ พ รรณบุ ร ี และนนทบุ ร ี ดั ง นั้ น
กรณีศึกษาการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน
ชุมชน ผูสอนขอยกตัวอยางการนำความรูจากงานวิจัยของผูสอนรวมกับอาจารยทานอื่น ที่เชี่ยวชาญ
ดานต าง ๆ ในการฝ กอบรมให ความรู  กั บสมาชิ กในชุ มชน เข้ าถึ งการบริ หารจั ดการของสมาชิ ก
เกษตรกรในชุมชน
ตัวอยางชุมชนที่จะนำเสนอ คือ ชุมชนทับน้ำ-บานมา อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรี-
อยุธยา หนวยงานทองถิ่นที่มีสวนไดสวนเสียกับการพัฒนาชุมชน คือ องค์การบริหารสวนตำบลทับน้ำ
ชุมชนนี้เข้ารวมโครงการวิจัยเชิงบูรณาการของมทร.สุวรรณภูมิตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชุมชนนี้มีจุดเดนเรื่องของทรัพยากรดิน การปลูกมันเทศเปนพืชเศรษฐกิจหลักของชุมชน การทำ
เกษตรอิ น ทรี ย  โดยนายกองค์ ก ารบริ ห ารส ว นตำบล มี แ นวคิ ด ในการบริ ห ารชุ ม ชนด ว ยหลั ก
ธรรมาภิบาล และยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนใหเกษตรกรและคนในชุมชน เห็น
ความสำคัญของการปลูกพืช เลี้ยงสัตว เพื่อนำมาแลกเปลี่ยนกันในชุมชน ลดการใช้จ่ายดวยเงิน
สงเสริมใหเกษตรกรและคนชุมชนปลูกพืชผักไวกินเองในครัวเรือน สวนที่เหลือนำมาขายใหกับคนใน
ชุมชนดวยกันเองในราคาถูก และสงเสริมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในชุมชนใหเปนผลิตภัณฑ
เดนของชุมชนเพื่อจำหนายสูตลาดภายนอก ซึ่งงานวิจัยจากอาจารยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลสุวรรณภูมิที่นำไปฝกอบรมใหกับเกษตรกรและคนในชุมชน มีตั้งแต การผลิตปุยมูลไสเดือนดิน
จากวัสดุอินทรียเหลือทิ้งจากการปลูกมันเทศ เปนปุยอินทรียที่มีธาตุอาหารพืชสูง สงเสริมใหเกษตรกร
ปลูกพืชปลอดภัย ลดอัตราการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพื่อความปลอดภัยของตัวเกษตรกรผูปลูก
มันเทศเองและใสใจสารเคมีตกค้างในผลผลิตตอผูบริโภค การแปรรูปมันเทศเปนผลิตภัณฑข้าวเกรียบ
มัฟฟน หรือการแปรรูปพืชสมุนไพรในชุมชนเปนผลิตภัณฑสบู การทำเครื่องจักรสานโอทอปตำบล
บานมา เปนตน ผลิตภัณฑเหลานี้เกิดการรวมกลุมกันของสมาชิกในชุมชน เปนวิสาหกิจชุมชนกลุม
เกษตรกรบานทับน้ำ วิสาหกิจชุมชนปลูกมันเทศทับน้ำ-บานมา และวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตทาง
การเกษตร ทับน้ำ-บานมา เปนตน เกษตรกรผูปลูกมันเทศและพืชผัก เห็นความสำคัญของการ
ดำรงชีวิตที่พึ่งพาตนเองได จึงรวมกลุมกันทำการเกษตรตามแนวพระราชดำริของในหลวงรัชการที่ 9
315

การทำเกษตรทฤษฎี ใ หม บ า นทั บ น้ ำ มี ศ ู น ย ส าธิ ต เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื ่ อ นพึ่ ง (ภาฯ) ยามยาก
บานทับน้ำ (ภาพที่ 6.12)

ภาพที่ 6.12 ตัวอยางการดำเนินชีวิตตามวิถีเกษตรทฤษฎีใหมชุมชนทับน้ำ-บานมา

มีการถายทอดความรูดานการจัดการน้ ำ เพื่อชลประทานจากอาจารยผูเชี่ยวชาญของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ทำให ชุมชนทับน้ำ-บานมา มีน้ำใช้เพื่อการอุปโภค
บริโภค และทำการเกษตรอยางเพียงพอ ไมขาดแคลนตลอดป มีการขุดคลองเปนอางเก็บน้ำตาม
ธรรมชาติเพื่อเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เช่น ปลา กุ้ง กบ เพื่อใหสมาชิกในชุมชนไดมีไวกินอยางเพียงพอ
รวมทั้งมีการสงเสริมการสรางตลาดออนไลนเพื่อจำหนายสินค้าและบริการตาง ๆ ของวิสาหกิจชุมชน
ทับน้ำ-บานมา (ภาพที่ 6.13)
การใช้ชีวิตในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลแบบพอเพียง มีเรื่องของเงินเข้ามาเกี่ยวข้องกับการไดมาซึ่ง
ป จ จั ย 4 และป จ จั ย ฟุ  ม เฟ อ ย คนไทยจะมี แ นวทางการดำเนิ น ชี ว ิ ต อย า งไร พระบาทสมเด็ จ
พระเจ้าอยูหัวรัชกาลที่ 9 ไดทรงพระราชดำริสอนไววา เมื่อเราไดรับเงินเดือนในแตละเดือน ใหแบง
เงินเดือนออกเปน 4 สวน 1 สวนไวเก็บออม อีก 3 สวนไวใช้จ่ายสิ่งที่จำเปน หากใครสามารถปฏิบัติได
ตามนี้ มีความมั่นใจไดวาผูนั้นและครอบครัวจะมีเงินสวนหนึ่งไวใช้ยามจำเปนเรงดวนแนนอน หรือใน
316

สภาวะวิกฤติที่คนอื่นเดือดรอนเรื่องการเงิน ผูนั้นจะมีเงินมาบริหารจัดการในครอบครัวไดอยางไม
ขัดสน โดยการปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบริหารจัดการดานการเงินในยุคทุนนิยมนี้
มีหลักสำคัญ ดังตอไปนี้

ภาพที่ 6.13 ตัวอยางช่องทางการจำหนายสินค้าและผลิตภัณฑออนไลน


มาจาก: https://www.facebook.com/วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร-ทับน้ำ-บาน
มา-330044927413984/

1. พอมีพอกิน ครอบครัวหนี่งสอนลูกใหรูจักปลูกผักสวนครัว ไมผล ไวกินเองในพื้นที่บาน


โดยคุณพอคุณแมลงมือปลูกผักสวนครัว กลวย มะมวง เปนตน ใหลูกดูเปนแบบอยาง เมื่อมีเหลือกิน
จากคนในครอบครัว แบงปนใหเพื่อนบาน หรือเอาไปขาย
2. พออยูพอใช้ ทำความสะอาดบานดวยตนเอง ไมซื้อของที่คิดไตรตรองแลววาไมจำเปนเข้า
บานมาใหรก ใช้ของที่ผลิตขึ้นจากธรรมชาติ ลดค่าใช้จ่ายฟุมเฟอย มีวิธีการดูแลสุขภาพใหตนเองและ
คนในครอบครัวแข็งแรง จะประหยัดค่าหมอ ค่ารักษาพยาบาล ใช้ไฟฟาและประปาเทาที่จำเปน ไม
เปดทิ้งขวาง ปดทุกครั้งหลังเลิกใช้งาน ไมวาเราจะอยู ณ สถานที่ใด บาน โรงเรียน หรือที่อื่น ๆ
317

3. พอใจ รูจักประมาณตนเอง ไมแข่งขันดานวัตถุกับคนอื่น ไมนอยใจวาคนอื่นมีแตเราไมมี


จงพอใจในสิ่งที่เรามี เราเปนอยู ทำใหจิตใจเราเปนสุข ใช้ชีวิตราบรื่นตามทางสายกลาง รูจักเก็บออม
4. แบ งส วนรายได เ งิ นเดื อนแต ละเดื อน แบ งใช้ จ่ าย 3 ส วน ค่ าน้ ำ ค่ าไฟ ค่ าโทรศั พท
ค่าอินเทอรเน็ต ค่าจิปาถะ ค่าอาหาร ค่าเสื้อผา ค่าซ่อมแซมสิ่งของชำรุด เปนตน และ แบงเก็บเงิน 1
สวน
ตัวอยางอีกชุมชนที่อยูในพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ศูนยพื้นที่สุพรรณบุรี คือ ชุมชนวังยาง อำเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบุรี ชุมชนนี้มีจุดเดน คือ
การทำนาแหวที่ใหญที่สุดของจังหวัดสุพรรณบุรี แหวเปนพืชเศรษฐกิจของชุมชนนี้ ในปจจุบัน
แหวถูกเปลี่ยนชื่อมาเรียกวา สมหวัง รวมทั้งมีการปลูกเผือก พืชผัก พืชสมุนไพร กลวย ข้าว และเลี้ยง
ไก่ดวย การทำเกษตรอินทรีย โดยนายก อบต. มีแนวคิดในการบริหารชุมชนดวยหลักธรรมาภิบาล
และยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนใหเกษตรกรและคนในชุมชน เห็นความสำคัญของ
การปลูกพืช เลี้ยงสัตว แลวนำมาแลกเปลี่ยนกันในหมูบาน ลดการใช้จ่ายดวยเงิน สงเสริมใหเกษตรกร
และคนชุมชนปลูกพืชผักไวกินเองในครัวเรือน สวนที่เหลือนำมาขายใหกับคนในชุมชนดวยกันเองใน
ราคาถูก และสงเสริมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในชุมชนใหเปนผลิตภัณฑเดนของชุมชนเพื่อ
จำหนายสูตลาดภายนอก งานวิจัยจากอาจารยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิที่
นำไปฝกอบรมถายทอดความรูใหกับเกษตรกรและคนในชุมชน มีแนวทางการปลูกสมหวังดวยเกษตร
ปลอดภัย มีการนำสวนเหลือทิ้งจากการปลูกสมหวังและวัสดุอินทรียในชุมชนมาทำปุยมูลไสเดือนดิน
แลวนำกลับไปใช้ในการปลูกสมหวังตอได เพิ่มธาตุอาหารในดินที่สมหวังตองการ เปนการอนุรักษ
ทรัพยากรดิน และยังสงเสริมผลผลิตของสมหวังใหมีคุณภาพดีอยูเสมอ ทุกรอบการปลูกเปนวัฏจักร
เกิดกระบวนการขยะอินทรียเปนศูนยในชุมชน มีการนำงานวิจัยจากอาจารยผูเชี่ยวชาญเรื่องการใช้
สารธรรมชาติไปใช้ในการลางสมหวังปอกเปลือก หรือสมหวังตม ลดการเกิดกระบวนการออกซิไดซ์ที่
ผิวของสมหวังทำใหผิวสมหวังไมเปนสีดำ ดูนากินมากขึ้นแทนการใช้สารเคมีโซเดียมไฮโดรเจนซัลไฟต
ซึ่งตกค้างอยูในสมหวัง ถึงจะดูขาวสะอาด นากิน แตเปนอันตรายตอสุขภาพของผูบริโภค รวมทั้งมีการ
นำงานวิจัยจากอาจารยผูเชี่ยวชาญเรื่องการแปรรูปสมหวังไปเปนผลิตภัณฑเดนของชุมชน เช่น ข้าว
เกรียบสมหวัง สมหวังทอดสูญญากาศ น้ำสมสายชูจากสมหวัง ชาเปลือกสมหวัง ถานที่ผลิตจาก
เปลือกสมหวัง สมหวังอบแหงดวยเครื่องอบแผงโซลาเซลล สมหวังบรรจุกระปอง คุกกี้แปงสมหวัง
ทับทิมกรอบสมหวัง รวมทั้งการนำสมหวังมาประกอบเมนูอาหาร เปนตน ผลิตภัณฑเหลานี้เกิดการ
318

รวมกลุมกันของสมาชิกในชุมชน เปนวิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรบานวังยาง วิสาหกิจชุมชนกลุมสตรี


แมบาน อสม. แปรรูปผลิตภัณฑแหว เกษตรกรผูปลูกสมหวังและพืชผัก เห็นความสำคัญของการ

ภาพที่ 6.14 ตัวอยางการดำเนินชีวิตตามวิถีเกษตรทฤษฎีใหมชุมชนวังยาง


ดัดแปลงจาก: http://ppp.energy.go.th/สำนักงานพลังงาน-จ-สุพรรณ/

ดำรงชีวิตที่พึ่งพาตนเองได จึงรวมกลุมกันทำการเกษตรตามแนวพระราชดำริของในหลวงรัชการที่ 9
การทำเกษตรทฤษฎีใหม บานวังยาง มีศูนยสาธิตแปรรูปผลิตภัณฑแหว (ภาพที่ 6.14) “สมหวังมีคุณ
อนันต ที่ปลูกในบานฉัน สมหวัง@วังยาง” มีการสรางพื้นที่นาสมหวังวังยาง เปนแหลงทองเที่ยวของ
นักทองเที่ยวที่ชื่นชอบกับธรรมชาติ
รวมทั้งมีการนำงานวิจัยมาถายทอดความรูดานการจัดการน้ำ เพื่อชลประทานจากอาจารย
ผูเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ทำให ชุมชนวังยาง มีน้ำใช้เพื่อการ
อุปโภค บริโภค และทำการเกษตรอยางเพียงพอ ไมขาดแคลนตลอดปอีกดวย
ตัวอยางการนอมนำเอาแนวพระราชดำริหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต โครงการช่วยเหลือผูกระทำความผิดไดฝกทักษะอาชีพ และสอนแนวปฏิบัติเกษตรทฤษฎี
ใหม โดย รัฐมนตรีวาการกระทรงยุติธรรม ไดนำแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟา
319

พัชรกิติยาภาฯ มาดำเนินการจัดโครงการ Cook&Coff ณ เขาพริก อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา


ในพื้นที่ของหนวยงาน มีชื่อวา ทัณฑสถานเกษตรอุตสาหกรรมเขาพริก (ภาพที่ 6.15) เปนแหลง
ทองเที่ยวเชิงเกษตรวิถีใหม สนับสนุนใหผูกระทำผิดไดเรียนรูเกษตรอุตสาหกรรมและเกษตรแบบ
เศรษฐกิจพอเพียงควบคู่กันไป มีการฝกอาชีพดานเกษตรกรรม สอนการปลูกพืช เช่น ฟกทอง พืชผัก
สอนการเลี้ยงไก่ และการฝกอาชีพอีกหลายดาน ใหผูกระทำผิดไดเลือกเรียนตามที่ตนเองสนใจและ
ถนัด เพื่อหวังวาผูกระทำผิดพนโทษ จะไมกลับมากระทำผิดซ้ำ ผูพนโทษจะมีทักษะอาชีพติดตัวไป
ประกอบอาชีพสุจริต เปนบุคคที่มีคุณค่าตอครอบครัวและสังคมตอไป นอกจากทัณฑสถานแหงนี้แลว
ยังมีการขยายผลไปสูทัณฑสถานอื่นอีกดวย

ภาพที่ 6.15 ทัณฑสถานเกษตรอุตสาหกรรมเขาพริก

เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวรัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานแนวปฏิบัติหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงใหแก่เกษตรกรและคนไทยทั้งประเทศไดนอมนำไปปฏิบัติ เพื่อการดำเนินชีวิตที่
สามารถพึ่งพาตนเองได ในขณะเดียวกันพระองค์ทรงเห็นถึงความสำคัญและความจำเปนที่จะตองมี
หนวยงานรับผิดชอบดูแลการถายทอดองค์ความรูเรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้ชีวิต
ไปสูคนไทยทั้งประเทศอยางทั่วถึง และเกิดผลดีในระยะยาวอยางตอเนื่อง เนนหวงใยเกษตรกรใน
320

ตางจังหวัด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว พระราชทานพระราชดำริใหจัดตั้ง "มูลนิธิชัยพัฒนา" ขึ้น


เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2531 โดย ทรงดำรงตำแหนงเปนนายกกิตติมศักดิ์ และทรงพระกรุณาโปรด
เกลาฯ ใหสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เปนองค์ประธาน เพื่อสนับสนุน
ช่วยเหลือประชาชนในลักษณะของการดำเนินงานพัฒนาตาง ๆ ในกรณีที่ตองถูกจำกัดดวยเงื่อนไข
ของกฎเกณฑ ระเบียบ หรืองบประมาณที่ระบบราชการไมสามารถดำเนินการไดทันที จนเปนเหตุให
การแก้ไขปญหาไมสอดคลอง หรือทันกับสถานการณที่จำเปนเรงดวนที่จะตองกระทำโดยเร็ว การที่
มูลนิธิชัยพัฒนาเข้ามาดำเนินการเช่นนี้ สงผลใหประชาชนไดรับประโยชนอยางแทจริง โดยตรง
รวดเร็วฉับพลัน โดยไมตกอยูภายใตข้อจำกัดใด ๆ ทั้งสิ้น การดำเนินงานของมูลนิธิชัยพัฒนาเปนการ
ช่วยใหกระบวนการ พัฒนาเกิดขึ้นอยางสมบูรณและยั่งยืน เจ้าหนาที่ที่สังกัดในมูลนิธิไดถายทอดองค์
ความรูหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การทำเกษตรทฤษฎีใหมไปสูเกษตรกรทั่วทุกภูมิภาค ไดใหการ
ช่วยเหลือเกษตรกร จนสามารถพึ่งพาตนเองได เพราะสิ่งนี้คือ เปาหมายที่สำคัญของการจัดตั้งมูลนิธินี้
ตามแนวพระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 เพื่อสงเคราะหช่วยเหลือประชาชนใหมีความรมเย็นเปน
สุข และอยูดีกินดี อันจะนำไปสูความมั่นคงของประเทศ คือ ชัยชนะแหงการพัฒนา โดยมูลนิธิได
สนับสนุนการดำเนินงานภายใตโครงการตาง ๆ อยูในการดูแลหลายสิบโครงการ ในพื้นที่ภาคเหนือ
ตอนบน ภาคเหนือตอนลาง ภาคกลางตะวันออก ภาคกลางตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง และภาคใต ซึ่งแตละภูมิภาคมีทรัพยากรธรรมชาติ และ
ปญหาของทรัพยากรธรรมชาติที่แตกตางกันไปแตละพื้นที่ ดังนั้น การแก้ไขปญหาจะใช้วิธีการ
ดำเนินการแก้ไขที่แตกตางกันตามองค์ความรูทางวิทยาศาสตรอยางง่ายและใช้เทคโนโลยีภูมิปญญา
ทองถิ่นเปนหลัก โดยผูที่สนใจสามารถหาข้อมูลของมูลนิธิชัยพัฒนา ขอคำปรึกษา เยี่ยมชมแปลงสาธิต
ทฤษฎี ใ หม ข องมู ล นิ ธ ิ ได จ ากเว็ บ ไซด https://www.chaipat.or.th/ about-the-chai-pattana-
foundation/objective.html
321

สรุปทายบท
วิวัฒนาการการใช้ชีวิตของมนุษยไดมีการพัฒนาองค์ประกอบดานตาง ๆ มาอยางตอเนื่อง
ดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ในยุคดิจิทัลที่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การติดตอสื่อสารแบบไรพรมแดน เข้ามามีอิทธิพลตอการใช้ชีวิตของคนในสังคมไทย และคนทั่วโลก
ทำใหการใช้ชีวิตของคนสวนใหญพึ่งพาเทคโนโลยีสัญญาณ wifi การเชื่อมตออินเทอรเน็ตแบบไรสาย
โดยใช้คลื่นวิทยุ ไมวาจะเปนการเรียนการสอนออนไลน การทำงานที่บานผานการจัดการประชุมทาง
วีดีโอแบบออนไลน สมารทโฟน คอมพิวเตอร ไอแพด ยานพาหนะอัจฉริยะ สมารทคาร รถไฟฟา
หุนยนต ระบบปญญาประดิษฐ เครื่องจักรเครื่องยนตควบคุมดวยคอมพิวเตอร เทคโนโลยีความสวย
ความงาม เครื่องสำอาง และปฏิเสธไมไดวาในช่วงป 2556 เริ่มมี 3G สมารทโฟน แทบเล็ต เกิด
วิวัฒนาการการตลาด ทำใหการค้าขายสินค้าและบริการเกิดรูปแบบออนไลนมากขึ้น ประกอบกับการ
เกิดยุคที่มีการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ซ้อนทับกันอยูในช่วงป 2562 คนสวนใหญอยูบาน
ยิ่งทำใหธุรกิจการค้าขายแบบออนไลนในทุกมุมโลกขยายตัวขึ้นเปนทวีคูณ สงผลใหธุรกิจขนสงพัสดุ
ไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้นดวย การใช้ชีวิตของมนุษยจึงตองอยูบนความไมประมาท และมีสติในการ
สั่งซื้อสินค้าและบริการ เพราะการซื้อสินค้าและบริการออนไลนทำใหมนุษยตัดสินใจเร็ว รวมทั้ง
ช่องทางการจ่ายเงินมีหลากหลาย สามารถใช้เครดิตได ยิ่งทำใหเกิดพฤติกรรมการใช้จ่ายเกินตัว จน
อาจไมเหลือเงินเก็บไวยามจำเปนจริง ๆ แนนอนในยุคดิจิทัลนี้มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายที่
สนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แตอีกแง่มุมหนึ่งของความก้าวหนาดานเทคโนโลยี สงผลใหมนุษยตอง
แข่งขันกันทำงานเพื่อหาเงินมาเพื่อใช้จ่ายในสิ่งที่ตนเองตองการ ทำใหเกิดความเครียดและเกิดโรคติด
เชื้อตามมา เกิดปญหาคุณภาพชีวิตดานสุขภาพ ซึ่งเปนดานที่สำคัญที่สุด ดังนั้นหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ความพอประมาณตน ความมีเหตุผล ความจำเปนที่จะตองมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร
ตอการกระทบใดอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง เปนแนวทางสำหรับการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล ผูที่ปฏิบัติ
ตามจะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนำวิชาการตาง ๆ มา
ใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน รัฐจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจ้าหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย
สุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญา และความ
รอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งดานวัตถุ สังคม
สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ถือเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีอยาง
322

แทจริงและพัฒนาประเทศใหเจริญรุงเรืองยั่งยืน การเลือกใช้เทคโนโลยีและการสรางนวัตกรรมเปน
เรื่องจำเปนสำหรับบุคลากรในประเทศ ที่ตองคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม การนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้เปนแนวทางหนึ่งในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมใหยั่งยืน เพราะเทคโนโลยีสะอาด มีลักษณะพิเศษ คือไมก่อใหเกิดก๊าซพิษ หรือมลพิษใด
ออกสูสิ่งแวดลอม วัตถุดิบที่เลือกมาใช้ในกระบวนการผลิตดวยเทคโนโลยีสะอาดเปนวัตถุดิบที่เปน
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูฟรี เทคโนโลยีสะอาดมีประโยชนตอมนุษยทุกคนบนโลกดานสุขภาพและ
คุณภาพชีวิตที่ดี มีประโยชนตอภาคอุตสาหกรรมและโรงงานดานการยอมรับจากผูบริโภคที่สินค้า
ผลิตภัณฑและบริการ มีคุณภาพที่ดี มีประโยชนตอภาครัฐและประเทศ พื้นฐานประเทศไทยเปน
ประเทศเกษตรกรรม แนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการพัฒนาประเทศไทย สูความสมดุลและยั่งยืนให
สอดคลองกับสถานการณโลกปจจุบัน คือ การพัฒนาดานการเกษตรใหเปนเลิศดวยเทคโนโลยีจากภูมิ
ปญญาทองถิ่นและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัดความสำเร็จของการนำแนวทางหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิตสำหรับคนในประทศไทย คือคนไทยมีความเปนอยูที่ดี มี
คุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพกายและใจที่เปนสุข มีสวัสดิการพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกตอการ
ดำรงชีวิต มีสิ่งแวดลอมที่ดี และตัวชี้วัดสำคัญตัวหนึ่งคือ คนไทยไมมีหนี้สิน ผูใดนำหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติยอมสงผลดีตอความเปนอยูคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว สงผลดี
ไปสูสังคม ชุมชน และการพัฒนาประเทศชาติ “พอเพียงเริ่มที่ตน ไมขัดสนอยูอยางยั่งยืน”
323

แบบฝกหัดทายบทที่ 6
1. คุณภาพชีวิตที่ดีมีองค์ประกอบดานใดบาง จงอธิบาย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
2. ประเทศที่มีคนยากจนจำนวนมาก มีอัตราการวางงานสูง มีจำนวนหนี้สินของตนเองและครอบครัว
เปนข้อมูลที่บงชี้ถึงตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตดานใด
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

3. ประเทศที่มีวัตดุดิบและผลิตภัณฑทางอาหารจำกัด มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการสนับสนุนการใช้
ชีวิตประจำวันต่ำ มีอัตราการเกิดอาชญากรรมสูง เปนข้อมูลที่บงชี้ถึงตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตดานใด
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
324

4. แนวทางการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาปฏิบัติ
เพื่อการใช้ชีวิตของเรา ประกอบดวยคุณสมบัติใดบาง จงอธิบาย
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

5. สำหรับประเทศไทย ซึ่งมีรากฐานเปนประเทศเกษตรกรรม แนวทางการดำเนินงานของทฤษฎีใหม


เปนตัวอยางที่เปนรูปธรรมของการนำแนวคิดหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เกิดประโยชนได
ชัดเจนที่สุด เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรของประเทศไทยใหสูกับวิกฤตภัยธรรมชาติและปจจัยภายนอกที่มี
ผลกระทบตอการทำการเกษตร แนวทางนี้สามารถลดความเสี่ยงดานใดบาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
325

เอกสารอางอิง
ณัชร สยามวาลา และวรประภา นาควัชระ. (2561). ยิ่งใหยิ่งสุข. กรุงเทพฯ: อมรินทรธรรมะ.
ณัฏยาณี บุญทองคำ และ พระครูปลัดสุวัฒนพุทธิคุณ ดร.สุเทพ ดีเยี่ยม. 2563. คุณภาพชีวิตที่ดีตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายใตภาวะโรคระบาด “โควิด-19” วารสารการบริหารนิติบุคคล
และนวัตกรรมทองถิ่น. 6(4): 235-246.
ณัฐญา อัมรินทร. (2562). พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
ทิพยวัลย เรืองขจร. (2554). วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ทรงศิริ วิชิรานนท, สุทธิพร บุญสง, สุวิมล จุลวานิช, อนุรีย แก้วแววนอย และโรจนรวี พจนพัฒพล.
(2551). การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น จำกัด
ฝายวิชาการสถาพรบุคส. (2561). เศรษฐกิจพอเพียงกับยุทธศาสตร Thailand 4.0. กรุงเทพฯ: บริษัท
สถาพรบุคส จำกัด
วรนุช แจ้งสวาง. (2551). พลังงานหมุนเวียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
326

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
กองศึกษาและพัฒนาโรงไฟฟาฐาน กระทรวงพลังงาน. (2564). พลังงานขยะ [ออนไลน]. แหลงที่มา:
https://ppp.energy.go.th/wp-content/uploads/2021/07/เอกสารพลังงานขยะ.pdf วันที่
สืบค้น 29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ลงทุ น ผลิ ต พลั ง งานทดแทน ชุ ด ที ่ 1 ไฟฟ า พลั ง งานลม [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
https://webkc.dede. go.th/testmax/sites/default/files/ไฟฟาพลังงานลม.pdf วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดที่ 3 ไฟฟาพลังน้ำ [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://webkc.dede.
go.th/testmax/sites/default/files/ไฟฟ า พลั ง น้ ำ %20%281%29.pdf วั น ที ่ ส ื บ ค้ น 29
เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ลงทุ น ผลิ ต พลั ง งานทดแทน ชุ ด ที ่ 4 พลั ง งานชี ว มวล [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
https://webkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/พลั ง งาน%20ชี ว มวล.pdf วั น ที่
สืบค้น 29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ล ง ท ุ น ผ ล ิ ต พ ล ั ง ง า น ท ด แ ท น ช ุ ด ท ี ่ 6 พ ล ั ง ง า น ข ย ะ [อ อ น ไ ล น ]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า :
https://webkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/พลังงาน%20ขยะ.pdf วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือพลังงานความรอน
ใตพื้นพิภพ โครงการถายทอดและเผยแพรการชพลังงานทดแทน (2 หลักสูตร) [ออนไลน].
แหลงที่มา: http://www.tdetlab.com/uploads/publications//E80VHnlIaOqZg2OYY4IIQ
74Ib2RyOGoR30HPgIPZ.pdf วันทีส่ ืบค้น 29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือความรูดานพลังงาน
ไฮโดรเจน [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www2.dede.go.th/kmmf/download/นวัตกรรม/
สวค/คู่มือพลังงานไฮโดรเจน.pdf วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
327

กลุมพลังงานชีวมวล สำนักวิจัยค้นควาพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน


(2566.) พลั ง งานชี ว มวล [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: http://www2.dede.go.th/kmmf/
download/นวัตกรรม/สวค/คู่มือพลังงานชีวมวล.pdf วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
กลุมจัดการฟารมและเกษตรกรรมยั่งยืน กองวิจัยและพัฒนางานสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริม
การเกษตร. (2566). เกษตรทฤษฎี ใ หม ต ามแนวพระราชดำริ [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
http://www.ictc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/newtheory.pdf วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
มณฑาสินี หอมหวาน. (2561). พลังงานทดแทนพลังงานทางเลือกใหมสำหรับอนาคต [ออนไลน].
แหลงที่มา: https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/ jan_mar_12/
pdf/aw014.pdf วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
นพนั น ต เมื อ งเหนื อ (2564). พลั ง งานลม [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: https://eit.bsru.ac.th/wp-
content/uploads/2021/09/ผศ.ดร.-นพนันต-เมืองเหนือ-พลังงานลม.pdf วันที่สืบค้น 29
เมษายน 2566.
บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด (มหาชน). (2566). พลังงานแสงอาทิตย [ออนไลน].
แหลงที่มา: https://www.gpscgroup.com/th/news/1158/พลังงานแสงอาทิตย วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
บุญเพ็ญ สิทธิวงษา, พระมหาพงศทราทิตย สุธีโร, อาทิตย แสงเฉวก, พรอมพล สัมพันธโน, มนตรี
รอดแก้ว, และ ธนวัฒน ชาวโพธิ์. (2565). การประยุกตใช้นวัตกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน
ตามหลักทฤษฎีใหม โคกหนองนาโมเดลในจังหวัดอุดรธานี. วารสารสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย. 5(2): 67-82.
สมาคมนิวเคลียรแหงประเทศไทย. (2566). การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของโรงไฟฟานิวเคลียร
กั บ โรงไฟฟ า ที ่ ใ ชเชื ้ อ เพลิ ง ชนิ ด อื ่ น [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: https://www.nst.or.th/
powerplant/pp04.htm วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
สำนั ก หอสมุ ด และศู น ย ส ารสนเทศวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี กรมวิ ท ยาศาสตร บ ริ ก าร
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2562). พลังงานทดแทนเซลลเชื้อเพลิง [ออนไลน].
แหล ง ที ่ ม า: http://siweb1.dss.go.th/repack/fulltext/IR48.pdf วั น ที ่ ส ื บ ค้ น 29 เมษายน
2566.
328
329

บทที่ 7
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

7.1 บทนำ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่เกิดขึ้นตามสภาพธรรมชาติ ซึ่งตองใช้เวลาการ
บ ม เพาะ และเป น ของที ่ ม นุ ษ ย ไ ม ต  อ งใช้ เ งิ น ซื ้ อ นอกจากมนุ ษ ย แ ล ว สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต อื ่ น ต อ งพึ ่ ง พา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวยเช่นกัน เมื่อมนุษยนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ แตกลับไมเห็น
คุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ จนทำใหทรัพยากรธรรมชาติเกิดความ
เสียหาย เสื่อมโทรม เหตุการณนี้จะสงผลกระทบทางลบตอมนุษย ดังนั้นมนุษยควรมีจิตสำนึกและคิด
หาวิธีการอยางชาญฉลาด ในการนำทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยางจำกัดมาใช้ใหเกิดประโยชนสูงสุดแก่
มหาชน โดยไดรับความเสียหาย หรือเสื่อมโทรมนอยที่สุด การสรางจิตสำนึกของมนุษยไมวาจะดวย
วิธีการใด ควรปลูกฝงเด็กและเยาวชนใหเล็งเห็นถึงคุณค่าและรูจักวิธีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่
ถูกตอง มนุษยทุกคนควรช่วยกัน เพราะเราอยูบนโลกผืนเดียวกัน ใช้ทรัพยากรรวมกัน ดังนั้นไมวาจะ
เปนวิธีการรณรงค์ใหช่วยกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ จนถึงขั้นออกกฎหมายควบคุม มีบทลงโทษที่
ชัดเจน จำกัดจำนวนการใช้ การปองกันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไมใหเสียหายในวงกวาง
รวมทั้งวิธีการฟนฟูสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสมลวนแลวแตมีความจำเปน
ทั้งนั้น

7.2 ความหมายและความสำคัญของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การอนุรักษ มีผูใหความหมายของคำวา อนุรักษ ไววา เปนการใช้อยางสมเหตุสมผล เพื่อใหมี
ใช้ ต ลอดไป (เกษม และคณะ, 2545) การอนุ ร ั ก ษ คื อ การรู  จ ั ก นำทรั พ ยากรมาใช้ ป ระโยชน
อยางชาญฉลาดเพื่อใหเกิดประโยชนตอมหาชนมากที่สุด สูญเสียนอยที่สุด ใช้ไดนานและตองกระจาย
การใช้ประโยชนใหทั่วถึงกันโดยถูกตองตามกาลเทศะดวย (นิวัติ, 2537) จากความหมายข้างตน
การอนุรักษ หมายถึง การรูจักใช้ ใช้อยางชาญฉลาด ใช้อยางสมเหตุสมผล ใช้อยางรูคุณค่า ระมัดระวัง
ดูแลรักษา จึงเปนแนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อการมีใช้ในอนาคต (ศศินา,
2550; ณัฐญา, 2562)
330

7.2.1 ความหมายของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงหมายถึง การรูจักนำทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ ่ งแวดล อมมาใช้ อย างชาญฉลาด ใช้ ตามความจำเป นด วยความสมเหตุ สมผล รั กษาสมดุ ล
สิ่งแวดลอม การนำมาใช้ตองใหเกิดประโยชนสูงสุดแก่คนหมูมาก เกิดการสูญเสียนอยที่สุด เพื่อใหมีใช้
ตอไปในวันข้างหนา ขณะเดียวกันตองมีการสรางทดแทน ดูแลรักษา ฟนฟู หรือหาทางเลือกมาใช้ให
เกิดความยั่งยืน
7.2.2 ความสำคัญของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เมื ่ อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ มมี ค วามสำคั ญ ต อ การดำรงชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย
เปนปจจัย 4 และยังนำมาใช้สรางปจจัยเสริมคุณภาพชีวิตของมนุษย รวมทั้งมีความจำเปนตอการ
ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตอื่นบนโลก ดังนั้นการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงมี
ความสำคัญ ดังนี้
1. ทรัพยากรธรรมชาติมีใหใช้อยางจำกัด โดยไมเสียค่าใช้จ่าย เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นรวมกับ
ความตองการสิ่งอำนวยความสะดวกสบายที่มากขึ้นจนทำใหมนุษยตองการใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน
ปริมาณมาก ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติมีจำนวนจำกัด ณ ขณะนั้น ทรัพยากรธรรมชาติมีความ
จำเปนตอการดำรงชีวิตของมนุษยเนื่องจากเปนวัตถุดิบหลักของปจจัย 4 ตลอดจนการประกอบอาชีพ
ทำใหทรัพยากรธรรมชาติมีไมเพียงพอตอความตองการของมนุษย นอกจากนี้ทรัพยากรธรรมชาติยัง
เปนที่ตองการของสิ่งมีชีวิตอื่นดวย ไดแก่ พืช สัตว จุลินทรีย
2. ข้ อ จำกั ด ของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละความเสื ่ อ มโทรมจากกิ จ กรรมของมนุ ษ ย
ทรัพยากรธรรมชาติบางประเภทใช้แลวหมดไป ใช้เวลานานมากกวาจะสรางขึ้นมาใหม เช่น ทรัพยากร
พลังงาน ทรัพยากรแรธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติบางประเภทใช้แลวไมหมดไป แตเกิดความเสื่อมโทรม
เสียหายจากกิจกรรมของมนุษย เช่น ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรสัตวปา
จนทำใหทรัพยากรเหลานี้ไมสามารถถูกนำมาใช้สำหรับมนุษยได อาจสงผลกระทบใหมนุษยเกิดการ
แยงชิงกันเอง จึงจำเปนตองอนุรักษ ดูแลรักษา ฟนฟูใหอยูในสภาพที่ดีดังเดิม เพื่อปองกันการขาด
แคลนในอนาคต
3. การพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคม ประเทศใดมีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ
สมบูรณ ประเทศนั้นมีโอกาสพัฒนาสรางความเจริญทางดานเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตของ
คนในสังคมใหอยูดีกินดี ไมมีโรคภัยไข้เจ็บ แตการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อการพัฒนาประเทศ
331

โดยไมถูกวิธี จะเกิดผลกระทบทางลบตอทรัพยากรธรรมชาติ สงผลใหเกิดมลพิษดานตาง ๆ ทำให


สิ่งแวดลอมเสียหาย
4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่แสดงถึงความเจริญทางวัฒนธรรม เพราะ
ประเทศใดสามารถดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพคงเดิมได แสดงวา
ประเทศนั้นมีแนวความคิด มีวัฒนธรรม มีความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม

7.3 หลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีหลักการที่สำคัญ 8 ประการ (ภาพที่ 7.1)
คือ
1. รูจักใช้ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยางไรใหอยูอยางยั่งยืน การเลือกใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อใหไดผลิตผลมาก
แตสรางของเสียหรือมลพิษนอย การใช้อยางยั่งยืนจะก่อใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมนอยที่สุด ทำใหทรัพยากรและสิ่งแวดลอมมีช่วงเวลาฟนตัวหรือเกิดขึ้นมาใหมไดทันกับ
ความตองการใช้งานของมนุษย วิธีการรูจักใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนนั้น นอกจากจะตอง
เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมแลว ยังตองเปนเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพที่สุด และนำเทคโนโลยีมาใช้
ในการฟนฟูสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวย ตองคำนึงถึงการจัดหาและเลือกเทคโนโลยี
การบริหารจัดการของเสีย นำมาแปรสภาพใหเกิดประโยชนดวย เพื่อลดของเสียใหเปนศูนย ของเสีย
และมลพิษสิ่งแวดลอมลดนอยลงใหมากที่สุด
2. การเก็บรักษา เปนรวบรวมและเก็บรักษาทรัพยากรที่มีแนวโนมที่จะขาดแคลน หรือ
หมดสิ้นไปในบางเวลาหรือมีการคาดการณวาจะเกิดวิกฤตการณเกิดขึ้น หนวยงานผูดูแลรับผิดชอบ
ทรัพยากรธรรมชาติตองประกาศงดใช้ทรัพยากรธรรมชาติ หรือเก็บไวเพื่อการนำไปใช้ประโยชนใน
ปริมาณที่สามารถควบคุมได การเก็บทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเอาไวใช้ในอนาคต หรือเพื่อ
เอาไวใช้ในการสรางกิจกรรมใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ตั้งแต อดีตจนถึงปจจุบันการพัฒนา
ความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทำใหมนุษยมีความรู ประสบการณและทักษะในการ
เก็บรักษามา เปนเวลานานแลว ตัวอยางเช่น การถนอมอาหาร การตากแหง และการอบแหง เปนตน
เก็บเพราะตองการหนีภัยธรรมชาติที่คาดวาจะเกิดขึ้น เช่น ความหิวโหย อุทกภัย วาตภัย และ
332

อาชญากรรม เปนตน เนื่องจากทรัพยากรบางชนิดหรือบางประเภทจะมีมากเกินไปในบางเวลา แต


ขาดแคลนในบางเวลาเช่นกัน มนุษยจึงพยายามหาวิธีการเก็บทรัพยากรเหลานั้นไวใช้ในช่วงเวลา
ที่ขาดแคลนดวยวิธีการตาง ๆ กรณีศึกษา การเก็บทรัพยากรน้ำ ตองเลือกวิธีการกักเก็บใหเหมาะสม
กับวัตถุประสงค์ และกิจกรรมในการใช้ เช่น การใช้โองน้ำกักเก็บน้ำไวใช้ประโยชนในครัวเรือน
การก่อสรางอางเก็บน้ำ เพื่อ กักเก็บน้ำเพื่อใช้ประโยชนในการเปนแหลงสำรองน้ำของประเทศเพื่อใช้
ในการประปา อุ ต สาหกรรม และ การเกษตร รวมทั ้ ง การสร า งเขื ่ อ นเพื ่ อ ประโยชน ใ นการผลิ ต
กระแสไฟฟา เปนตน วิธีการเลือกการกับเก็บน้ำจำเปนตองคำนึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมดวย

ภาพที่ 7.1 หลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน


ดัดแปลงจาก: ปยะดา (2562)

3. การซ่อมแซม หลักการนี้จะเกิดขึ้นหลังจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดรับ


ผลกระทบทางลบจากกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย จนเกิดความเสียหาย เสื่อมโทรมแลว เกิดปญหา
มลพิษสิ่งแวดลอมแลว ซึ่งเราคาดหวังวาจะตองซ่อมแซมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไมบอย
นัก การซ่อมแซมนี้ตองใช้ผูเชี่ยวชาญที่มีความรูเฉพาะดานนั้น ๆ นำความรูดานวิทยาศาสตรและ
333

เทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการซ่ อ มแซม ปรั บ ปรุ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ มให ก ลั บ ฟ  น ตั ว
ให ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเหมื อ นเดิ ม เนื ่ อ งจากสิ ่ ง แวดล อ มมี ค ุ ณ สมบั ต ิ ไ ม อ ยู  โ ดดเดี ่ ย ว ดั ง นั ้ น เมื่ อ
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใดประเภทหนึ่งเกิดความเสียหายเสื่อมโทรม ทรัพยากรธรรมชาติประเภท
อื่นจะไดรับผลกระทบไปดวยแนนอน สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ สุดทายจึงเกิดความ
รุนแรงที่เรียกวา มลพิษสิ่งแวดลอม ตัวอยางเช่น เมื่อมีโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมาก เกิดของเสีย
น้ำเสียจากกระบวนการ ดังนั้น การใช้เทคโนโลยีในการบำบัดหรือการแก้ไขในการจัดการ น้ำเสีย
อาจจะใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยบำบัดโดยใช้เครื่องเติมอากาศในแหลงน้ำเสีย หรือในบอบำบัดน้ำเสีย
รวมกับการใช้จุลินทรียที่ไมก่อโรคกับสิ่งมีชีวิตมาช่วยเสริมการกำจัดของเสียอินทรียที่ปนเปอนมาใน
น้ำเสีย กรณีปะการังฟอกขาว อาจใช้วิธีสรางแนวปะการังเทียมดวยวัสดุที่เหมาะสม จึงตองใช้
ผูเชี่ยวชาญทางทะเลและนักวิทยาศาสตรในการสรางแนวปะการังเทียมดวยวัสดุที่สามารถทน
ความเค็มของน้ำทะเลและอยูไดยาวนานไมเปนขยะในทะเลในอนาคต (ภาพที่ 7.2)

ภาพที่ 7.2 วัสดุสรางแนวปะการังเทียม


มาจาก: https://thaipublica.org/2019/05/artificial-coral-chevron/
334

4. ฟนฟู เช่นเดียวกัน เมื่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดรับผลกระทบทางลบจาก


กิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย จนเกิดความเสียหาย เสื่อมโทรมแลว เกิดปญหามลพิษสิ่งแวดลอมแลว เรา
จึ ง คิ ด วิ ธ ี ก ารในการฟ  น ฟู หน ว ยงานที ่ ด ู แ ลรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ของแต ล ะทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ ่ ง แวดล อ มจะเข้ า มามี บ ทบาทในการรณรงค์ ส  ง เสริ ม ให ป ระชาชนในประเทศช่ ว ยกั น ฟ  น ฟู
ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ไมอนุญาตใหนำทรัพยากรธรรมชาตินั้น ๆ มาใช้ เพื่อใหทรัพยากรธรรมชาติ
นั้น ๆ ไดฟนฟูตนเองจนมีประสิทธิภาพดีเหมือนเดิมก่อน แลวจึงอนุญาตใหนำมาใช้ได แตในบางกรณี
ธรรมชาติไมสามารถฟนฟูตนเองได จึงจำเปนตองใหมนุษยใช้ความรูความสามารถฟนฟูดวยเทคโนโลยี
ที่ถูกตองเหมะสม เช่น การฟนฟูพื้นที่ที่ถูกทำไรเลื่อนลอย ดวยการปลูกพืชคลุมดิน ปรับสภาพดินให
อุดมสมบูรณเหมือนเดิม และปลูกหญาแฝก ปลูกพืชที่เพิ่มธาตุอาหารในดิน การฟนฟูพื้นที่ที่เกิดไฟปา
ทำลายเสียหาย สัตวปาลมตาย ตนไมนานาชนิดตายหมด คุณภาพดินเสีย ตองมีเทคโนโลยีในการ
ปองกันไฟปา เมื่อเกิดเหตุตองมีการแจ้งไปยังเจ้าหนาที่ผูรับผิดชอบทันที เพื่อใหดับไฟปาไดอยาง
รวดเร็ว ลดจำนวนพื้นที่เสียหายใหไดมากที่สุด การฟนฟูน้ำเนาเสีย แก้ไขไดดวยการเพิ่มออกซิเจนใน
น้ำใหมากขึ้น ดวยกังหันปนน้ำ ในขณะเดียวกันเมื่อเปดการทำงานของกังหันปนน้ำ ตอเชื่อมกับการ
สรางกระแสไฟฟาไปดวย เปนตน รูปแบบการฟนฟูเหลานี้ตองใช้เวลาทั้งสิ้น ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับชนิดของ
ทรัพยากรธรรมชาติ ความเสื่อมโทรมหรือมลพิษที่เกิดขึ้นอยางรุนแรงหรือไม รวมถึงประเภทของ
เทคโนโลยีที่นำมาใช้ใน การฟนฟูเพื่อใหสิ่งแวดลอมยั่งยืนได สรางประโยชนตอไปไดเช่นเดิมในอนาคต
5. พัฒนา การพัฒนาประเทศที่ดี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตองมีการบรรจุ
หัวข้อในการสนับสนุนการพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต การศึกษา สาธารณสุขและ
การแพทย สิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติดวย เพื่อใหเกิดการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนและลดการ
พึ่งพาจากภายนอกใหนอยที่สุด ดังนั้นการพัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติจะสงผลตอ
มนุษยไดอยางถาวรและมั่นคง โดยมุงใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาด ถูกตองตามหลักวิชาการ
โดยมี ก ารบำรุ ง รั ก ษา และใช้ ใ นอั ต ราที ่ จ ะเกิ ด การทดแทนได ท ั น ความต อ งการ รองรั บ การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นในอนาคตดวย การพัฒนาวัสดุอื่นที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มาทดแทน
ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้ง ปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมกับคุณภาพชีวิตที่ดีของ
ประชากรในประเทศ ซึ่งแตละประเทศจะมีบริบทการพัฒนาดานตาง ๆ ที่แตกตางกัน เช่น ประเทศ
ไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ดังนั้นการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีควรมุงเนนทางดาน
การเกษตร ปศุสัตว มากกวาเทคโนโลยีเพื่อโรงงานอุตสาหกรรม เช่น การปรับปรุงพันธุพืชใหทนตอ
335

สภาวะแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงและเพิ่มผลผลิตหรือคุณภาพใหสูงขึ้นจากเดิม เปนตน อยางไรตามการ


พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใด ๆ ตองคำนึงถึงความเสียหาย ความเสื่อมโทรมที่จะเกิด
กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวย วิธีการปองกันความเสียหายจากเทคโนโลยีที่ทันสมัยดวย
6. การปองกัน คุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวยมาตรการดานกฎหมาย
สนับสนุนการศึกษาวิจัยการนำวัสดุอื่นมาใช้ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แลวหมดไป การ
ปองกันทรัพยากรที่มีแนวโนมจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วใหอยูในระดับที่เหมาะสม ไมเกิดการลุกลามจน
ทำให ร ะบบนิ เ วศเสี ย สมดุ ล การป อ งกั น นอกจากจะใช้ ก ฎหมายแล ว อาจทำได โ ดยการใช้
มาตรการตาง ๆ รวมดวย การประชาสัมพันธใหความรู สรางความเข้าใจแก่ประชาชนในการใช้
ทรัพยากรอยางเหมาะสม เพื่อไมใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมถูกบุกรุกหรือถูกทำลาย เช่น
การออกกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ทบทวนบทเรียนจากความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม การประชาสัมพันธ สรางขอบเขต และติดปายประกาศ เปนตน
7. การสงวน เป น การเก็ บ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ไ ว ใ ห ด ำรงความหลากหลายทางชี ว ภาพ
เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมนั้นกำลังจะหมดไปหรือสูญพันธุไป ทรัพยากรบางชนิด
เมื่อมีการสงวนไวในระยะเวลาหนึ่ง ทำใหเกิดการเพิ่มขึ้นของจำนวนจนสามารถนำมาใช้ใหมได เมื่อ
ทรัพยากรธรรมชาตินั้น ๆ มีมากพอตามความตองการของมนุษยแลว สามารถยกเลิกการสงวนได แต
ตองอยูภายใตการควบคุม ไดแก่ สัตวปาสงวน สัตวปาคุ้มครอง พืชชนิดหายาก พื้นที่ปาไม การสงวน
อาจจะดำเนินการกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนพื้นที่ เช่น อุทยานแหงชาติ และเขต
สงวนเพื่อการอนุรักษของโบราณสถาน เปนตน
8. กำหนดแบงเขตทรัพยากรธรรมชาติอยางชัดเจน เปนการบริหารจัดการพื้นที่ใหมนุษยเข้า
มาใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ อ ย า งจำกั ด และเหมาะสม เพื ่ อ รองรั บ การเปลี ่ ย นแปลงของ
ทรัพยากรธรรมชาตินั้น ๆ ดวย นอกจากนี้การแบงเขตยังช่วยใหการควบคุมดูแลเปนไปไดง่าย ตาม
หนวยงานที่ดูแลรับผิดชอบ การแบงเขตถือวาเปนการอนุรักษขั้นสุดทายของหลักการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากการแบงเขตมีการกำหนดเขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษอาจจะตองมีการใช้
กฎระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย คุ้มครองเขตพื้นที่ เช่น เขตอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา
เขตควบคุมมลพิษ เขตปาสงวน เขตวนอุทยาน และเขตหามลาสัตวปา เปนตน และมีบทลงโทษ
สำหรับผูบุกรุกทรัพยากรธรรมชาติในเขตพื้นที่กำหนด เช่น การแบงเขตพื้นที่ลุมน้ำของประเทศไทย
ซึ่งสามารถแบงไดเปน 25 เขต โดยใช้อาณาเขตปาไมแนวสันเขา ความลาดชันของพื้นที่ หรือตาม
336

ลักษณะการใช้ประโยชน ที่ดิน เปนตน การแบงเขตพื้นที่จะก่อใหเกิดประโยชนในดานการดูแลรักษา


หรือเปนการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดเปนอยางดีวิธีการหนึ่ง
ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตามหลักการทั้ง 8 ประการนั้นไมสามารถ
ใช้ เ พี ยงข้ อใดข้ อหนึ ่ ง ได ต องมี การบู ร ณาการแต ละข้ อร วมกั นสำหรั บทรั พยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดลอมแตละชนิด ที่มีคุณลักษณะเฉพาะที่แตกตางกัน เพื่อใหการบริหารจัดการเปนไปดวยวิธีการ
ที่ถูกตองและเหมาะสม รวมไปถึงการใช้ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยตอง
คำนึงถึงผลกระทบที่เกิดดานลบกับทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมเปนอันดับแรก
กรณีศึกษาเมื่อเกิดการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในป 2562 เหตุการณนี้ไดสงผล
กระทบกับความหลากหลายทางชีวภาพ เชื้อไวรัสมาจากสัตวที่เปนพาหะนำโรค ตนกำเนิดทางภูมิ
ประเทศของการเริ่มตนแพรระบาดของเชื้อไวรัสชนิดนี้ และการแพรระบาดเปนวงกวางอยางรวดเร็ว
ผานระบบทางเดินหายใจ ซึ่งสาเหตุคาดการณวามาจากมนุษยนำสัตวพาหะมารับประทานและเกิด
การติ ด เชื ้ อ ชนิ ด นี ้ ร ว มกั บ สภาพแวดล อ มที ่ เ อื ้ อ อำนวยต อ การเจริ ญ เติ บ โตของเชื ้ อ ไวรั ส และ
แพรกระจายไปอยางรวดเร็วทั่วโลกดวย เหตุการณนี้ไดสงผลกระทบตอการใช้ชีวิตของมนุษย
สัตวทั้งหลาย และสิ่งแวดลอมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยางเห็นไดชัด ซึ่งสงผลตอเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศทั่วโลก เบญจมาภรณ และคณะ (2564) ไดอธิบายวา ปจจัยหลักที่นำไปสูการเกิดโรค
อุบัติใหม มาจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชนที่ดิน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ
การค้าสัตวปาอยางไมเหมาะสม เพราะการใช้ประโยชนที่ดินคือการบุกรุกพื้นที่ปา ตัดไมทำลายปาเพื่อ
สรางถิ่นฐานของมนุษย แนนอนวาสงผลกระทบทางลบตอที่อยูอาศัยของสัตวปา ตนไม และจุลินทรีย
ในบริเวณนั้น การขยายตัวของเขตเมือง หรือแมกระทั่งการใช้ที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมเพาะปลูก
ปลูกพืชชนิดเดียวเปนบริเวณกวางซ้ำกันอยางตอเนื่อง ทำใหคุณภาพดินเสื่อมโทรม ธาตุอาหารใช้ดิน
ถูกนำไปใช้สำหรับพืชชนิดเดียว เกิดการระบาดของแมลงศัตรูพืชและโรคพืชกับพืชปลูกชนิดนั้น โดย
ไม ส ามารถป อ งกั น การเข้ า ทำลายผลผลิ ต ได ส ง ผลให ผ ลผลิ ต ตกต่ ำ และอุ ต สาหกรรมปศุ ส ั ต ว
เช่นเดียวกัน เมื่อพื้นที่ปาไมเกิดการสูญเสีย ปรากฎการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงเกิดขึ้น
อุ ณ หภู ม ิ ใ นพื ้ น ที ่ น ั ้ น เพิ ่ ม สู ง ขึ ้ น เกิ ด ความร อ นขึ ้ น ผิ ด ปกติ ไ ปจากเดิ ม สิ ่ ง นี ้ จ ะส ง ผลต อ พื ช และ
สัตวบางชนิดไมสามารถทนตอสภาพอากาศที่รอนขึ้นได เกิดการสูญพันธุไปในที่สุด ซึ่งเปนการสูญเสีย
ความหลากหลายทางชีวภาพอยางนาเสียดาย ในขณะที่การค้าสัตวปาและผลิตภัณฑจากปาเพื่อสราง
รายไดใหกับมนุษยเกิดขึ้นมาตั้งแตสมัยอดีต ไมวาจะเปนการค้าสัตวปาแบบถูกกฎหมาย หรือการค้า
337

สัตวปาแบบผิดกฎหมายมักพบเปนสวนใหญ มีการเก็บสถิติสัตวปาที่ติดอันดับการถูกลักลอบซื้อขาย
มากที่สุด ในเขตพื้นที่พรมแดนระหวางประเทศไทย ลาว และพมา ไดแก่ เสือโครง ช้าง หมี ตัวลิ่ม
แรด เลียงผา นกเงือก กระทิง เสือดาว และเตา (ภาพที่ 7.3) ทั้งหมดเปนสัตวปาหายากและใกล
สูญพันธุ ถึงแมจะมีหนวยงานทางวิทยาศาสตรที่พยายามเพาะเลี้ยงสัตวปาใหมีเพิ่มมากขึ้น แตเพื่อ
การค้าขาย การบริโภคผลิตภัณฑของสัตวปา ในรูปแบบของอาหารเสริม และยา เปนตน จึงเปนเหตุ
ใหเกิดการสูญเสียความหลากหลายของทรัพยากรสัตวปา รวมทั้งยังเปนไปไดของสาเหตุการเกิดโรค
อุบัติใหม เช่น เชื้อไวรัสโควิด-19 จะเห็นไดวา หากมนุษยไมใช้หลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม 8 ประการข้างตน คือ ไมรูจักใช้อยางถูกวิธีและเหมาะสม ไมมีการเก็บรักษา ไม
ซ่อมแซม ไมฟนฟู ไมพัฒนา ไมปองกัน ไมสงวนและไมแบงเขตทรัพยากรธรรมชาติอยางชัดเจน
จะสงผลเสียในวงกวางตอมนุษย สัตวและสิ่งแวดลอมดวย

ภาพที่ 7.3 สัตวปาที่ถูกลักลอบซื้อขายมากที่สุด


มาจาก: https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นรอน/68729

7.4 แนวคิดในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ข้อมูลจากหนังสือพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (ณัฐญา, 2562) และ การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ (ปยะดา, 2562) ไดอธิบายหลักในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
338

ตามประเภทของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ ม โดยมี แ นวคิ ด หลั ก ในการอนุ ร ั ก ษ


ทรัพยากรธรรมชาติ ดังนี้
1. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมรูจักหมด เช่น น้ำ อากาศ ดิน และแสงอาทิตย
เปนตน แตหากใช้ทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ผิดวิธี อาจเสื่อมโทรม และเกิดปญหามลพิษได ดังนั้น
หลักในการดำเนินการมีดังนี้ คือ ตองควบคุมและปองกันไมใหทรัพยากรประเภทนี้มีสิ่งปนเปอน จน
เกิดมลพิษ ตองควบคุมและปองกันไมใหเกิดมลพิษจากกิจกรรมของมนุษย ถาที่ใดมีมลสารที่เปนพิษ
ปนเปอนในอากาศหรือสกัดกั้นแสงอาทิตยตองกำจัดใหหมดสิ้น ควรใหการศึกษาแก่ประชาชนถึง
วิธีการควบคุมและปองกัน ตลอดจนผลดีและผลเสีย รวมทั้งมีกฎหมายควบคุมอยางจริงจังและชัดเจน
มีบทลงโทษที่รายแรง
2. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่มีการทดแทนเมื่อใช้ไปแลว เช่น ปาไม สัตวปา เปนตน มี
หลักในการดำเนินการมีดังนี้ คือ จัดสรรองค์ประกอบ เช่น ชนิด ปริมาณ สัดสวน และการกระจายตัว
ของทรัพยากรธรรมชาติใหเหมาะสมกับระบบนิเวศ ตองทำใหระบบสิ่งแวดลอมแข็งแรงมีศักยภาพใน
การผลิตทรัพยากรธรรมชาติออกมาอยางตอเนื่องใหมนุษยนำไปใช้ มีการเลือกใช้เทคโนโลยีที่
เหมาะสมและมีกฎเกณฑและข้อบังคับที่ดี ยึดหลักการทางอนุรักษเปนสำคัญ ใช้ตามความเหมาะสม
ประหยัด ปรับปรุง ซ่อมแซม และฟนคืนสภาพสวนที่เสื่อมโทรมก่อนแลวจึงนำมาใช้ ควรใหการศึกษา
แก่ประชาชนถึงวิธีการอนุรักษที่ถูกตอง ตลอดจนผลดีและผลเสีย
3. การจัดการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่ที่ใช้แลวหมดไป ไดแก่ แรธาตุ ถานหิน น้ำมัน
เชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ เปนตน หลักการในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ คือ “ประหยัด
เทานั้น” มีหลักในการดำเนินการมีดังนี้ คือ ปองกันใหเกิดการสูญเสียใหนอยที่สุด ใช้เทาที่จำเปน นำ
สวนของเสียหรือเหลือทิ้งที่เกิดขึ้นในระบบมาใช้ คิดค้นนำสิ่งอื่นมาใช้ทดแทน ใช้เทคโนโลยีที่มี
ประสิทธิภาพและเหมาะสม ใหการศึกษาแก่ประชาชนถึงวิธีการอนุรักษที่ถูกตอง ตลอดจนผลดีและ
ผลเสีย

7.5 วิธีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสามารถกระทำไดจากหลากหลายวิธี โดยใช้
หลักความรูในแตละศาสตร ดังนี้
339

1. ใช้ความรูดานวิทยาศาสตร เพื่อประดิษฐคิดค้นเทคโนโลยีที่เหมาะสมตอการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพคงเดิม การนำองค์ความรูทางวิทยาศาสตรเข้า
มาใช้เปนเครื่องมือในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตินั้น ตองพิจารณาคุณลักษณะของ
ทรัพยากรธรรมชาตินน้ั ๆ ก่อนสรางอุปกรณเครือ่ งมือทีเ่ หมาะสมในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม เช่น เครื่องซักผาประหยัดน้ำ ลดการสูญเสียน้ำ การขาดแคลนน้ำและลดการปลอย
สิ่งสกปรกสูสิ่งแวดลอมภายนอก จักรยานออกกำลังกายที่ปนไฟฟาไดในตัว โซลาเซลลกับการกักเก็บ
พลังงานแสงอาทิตยเพื่อผลิตกระแสไฟฟา เทคโนโลยีบล็อกเชนสงเอกสารเวียนในสำนักงานแทนการ
ใช้กระดาษ ลดการตัดตนไม การสรางโรงเรือนควบคุมการเจริญเติบโตของพืชเศรษฐกิจ และระบบให
น้ำดวยเทคโนโลยี IOT กระถางปลูกผักแนวตั้ง ควบคุมการใหน้ำและประหยัดพื้นที่ การดัดแปลง
พันธุกรรมพืชและสัตวใหมีคุณภาพดีสรางผลผลิตสูงกวาเดิม การคิดค้นวัสดุทดแทนทรัพยากรพลังงาน
ที่ใช้แลวหมดไป โดยใช้ชีวมวลจากวัสดุอินทรียทางการเกษตร ชีวภาพจากของเสียมูลสัตวเศษพืชผัก
ทำงานรวมกับจุลินทรียไมใช้ออกซิเจน (ภาพที่ 7.4) มีหลักการทำงานคือ นำวัสดุอินทรียชีวมวลมาใส
ในบอและใสจุลินทรีย ประเภทแบคทีเรียที่ไมใช้ออกซิเจน จากนั้นคลุมพลาสติกสีดำเพื่อใหเกิด
กระบวนการหมั ก จุ ล ิ น ทรี ย  ก ิ น วั ส ดุ อ ิ น ทรี ย  ช ี ว มวล และปล อ ยก๊ า ซมี เ ทน 60-70% และมี
ก๊าซอื่นๆ 30-40% เปนก๊าซชีวภาพ สามารถนำไปผลิตเชื้อเพลิง หรือไฟฟาได เปนตน

ภาพที่ 7.4 การคิดค้นวัสดุทดแทนทรัพยากรพลังงานที่ใช้แลวหมดไป


มาจาก: https://energynext.co.th/พลังงานชีวมวลคืออะไร-พล/
340

พลาสติก ปญหาขยะยอยสลายยากในปจจุบัน มีนักวิจัยหลายทานพยายามคิดค้นนำวัตถุดิบ


ธรรมชาติมาผลิตพลาสติกชีวภาพ และศึกษากระบวนการยอยสลายดวยวิธีทางชีวภาพดวย เปน
วิธีการหนึ่งในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดวยการใช้ความรูดานวิทยาศาสตร มา
ช่วยลดปญหาขยะพลาสติก โดยการผลิตวัสดุชีวภาพมาใช้ประโยชนแทน ตัวอยางเช่น ดวงฤทัย และ
คณะ (2565) ไดผลิตพลาสติกชีวภาพที่ทำจากแปงมันสำปะหลังและแปงสาคู ซึ่งเปนวัตถุดิบที่มี
ปริมาณมากในประเทศไทย แปงมันสำปะหลังและแปงสาคูถูกนำมาผสมกับน้ำมันพืช ผานความรอน
70-80 องศาเซลเซียส รวมกับการเติมกลีเซอรีน ซึ่งวัตถุดิบทั้งหมดหาไดง่าย ราคาถูก จากนั้นนำแผน
พลาสติกชีวภาพที่ได มาทดสอบการยอยสลายไดดวยการใช้จุลินทรียในดิน ประเภทแบคทีเรีย ซึ่งเปน
จุลินทรียกลุมที่มีความสามารถผลิตเอนไซมอะไมเลส ยอยแปงได และยังพบวา วิธีการนี้ปลอย
ก๊าซคารบอนไดออกไซดออกสูบรรยากาศภายนอกในปริมาณที่นอย
2. ใหการศึกษาและสรางคุณธรรมจริยธรรม เพื่อเปนการปลูกฝงสรางจิตสำนึกใหแก่เด็กและ
เยาวชนของประเทศที่จะเติบโตไปเปนผูใหญเปนกำลังสำคัญของชาติ การบรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับ
สิ่งแวดลอมเข้าไปในรายวิชาเรียนถือเปนหัวใจสำคัญ การถายทอดความรูของผูสอนมีสวนช่วยในการ
สงเสริม สรางค่านิยมใหกับเด็กไดเห็นคุณค่า ข้อเท็จจริงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การ
ใช้ ป ระโยชน การได ร ั บ ความเสี ย หายเสื ่ อ มโทรม สาเหตุ ท ี ่ ท ำให เ กิ ด ความเสื ่ อ มโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางการแก้ไข ฟนฟู ปรับปรุง ใหคงสภาพเดิมอยางยั่งยืน
เด็ ก เยาวชน นั ก ศึ ก ษาควรได เ รี ย นรู  แ ละทราบถึ ง ป ญ หาที ่ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดลอม ในปจจุบันทั่วโลก และเปนสวนหนึ่งในการลดปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
โดยผูสอนยกกรณีศึกษาเปนตัวอยางใหผูเรียนไดปรับใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและแนะนำคนใน
ครอบครัว การใช้หลักการทางจริยธรรมมาช่วยขัดเกลาจิตใจมนุษยใหลดความโลภ ไมเห็นแก่ตัว
แยกแยะการกระทำดีชั่ว เพื่อนำมาประยุกตใช้กับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
กรณี ใ ช้ ห ลั ก ธรรม ได แ ก่ ทำกุ ศ ลกรรม โดยการปลู ก ต น ไม การเก็ บ ขยะที ่ ท ิ ้ ง ไม ล งถั ง เป น ต น
กตัญูกตเวที รูคุณแผนดิน รักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยูในชุมชน ทองถิ่นของตนเอง
และประเทศชาติ เมตตากรุณา เสียสละแบงปนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไมยึดครองไวคน
เดียวจำนวนมาก เปนการยกระดับจิตใจขั้นสูงใหมนุษยมีคุณธรรมจริยธรรมในตนเองและแนะนำผูอื่น
ตอได
341

3. ใช้องค์ความรูทางเศรษฐศาสตร เพื่อนำมาใช้ในการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ใช้นอยแตคุ้มค่า คุ้มทุน สูญเสียนอย สรางใหมทัน มีเผื่ออนาคต ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมเมื่อมองในมุมการตลาด ปจจัยที่ทำใหสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมลงอยางรวดเร็วมาจาก
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสินค้นสาธารณะหรือฟรี ไมตองเสียเงินซื้อ การเกิดผลกระทบ
ภายนอกและผลกระทบข้ า งเคี ย ง มี ล ั ก ษณะเป น ทรั พ ย ส ิ น ร ว ม ดั ง นั ้ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดลอมจึงเปนสิ่งที่มีคุณค่านอย นำมาใช้อยางไรได ไมมีใครเปนหัวหนาหลักในการรับผิดชอบดูแล
รักษา แตละประเทศจึงตองจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตละ
ชนิดอยางชัดเจน
4. ใช้กฎหมาย เปนกลไกในการสรางระเบียบวินัยใหกับคนในสังคม เนื่องจากมนุษยมีทั้งคนดี
และคนไมดี ดังนั้น ประเทศที่มีประชากรจำนวนมาก การดูแลใหทั่วถึง จำเปนตองมีกฎหมายมาบังคับ
ใช้ เปนกฎเกณฑ ข้อบังคับที่ใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษยในสังคม กฎหมาย มีลักษณะเปน
คำสั่ง ข้อหาม ที่มาจากผูมีอำนาจสูงสุดในสังคม ใครฝาฝนจะตองไดรับโทษหรือสภาพบังคับอยางใด
อยางหนึ่ง มีบทลงโทษที่ชัดเจน แตอยางไรตาม กฎหมายมักถูกคนบางกลุมฝาฝนเพราะคิดวามีผูมี
อิทธิพลหนุนหลังคุ้มครอง ในฐานะที่เราทุกคนเปนเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เราจึง
ตองช่วยกันสอดสองดูแลไมใหคนใดคนหนึ่งฝาฝนบุกรุกทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทำ
ใหเราไมมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้ไดดวยเช่นกัน จะเห็นไดวา กฎหมายมาบังคับไมให
มีผูทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไมดีเทากับการมีสวนรวมของคนในสังคมมีจิตสำนึกรัก
และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กฎหมายสิ่งแวดลอมเริ่มมีใช้ขึ้นเปนครั้งแรกในยุค
ปฏิวัติอุตสาหกรรมประมาณ พ.ศ. 2503 จะเห็นไดวาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
มีมานานเกิน 60 ปแลว และในปจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายและพระราชบัญญัติหลายฉบับที่
เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดลอม (กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2563; ป
ยะดา, 2562; อุดมศักดิ์, 2556; โสภารัตน, 2551; อำนาจ, 2550; กอบกุล, 2550) ไดแก่
1. พระราชบัญญัติกฎหมายและมาตรฐาน
1.1 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
1.2 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
1.3 นโยบายปองกันและกำจัดมลพิษ ภายใตนโยบายและแผนการสงเสริม และรักษา
คุณภาพ สิ่งแวดลอมแหงชาติ
342

1.4 กฎหมายทีเ่ กี่ยวกับการควบคุมมลพิษ


1.5 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ
1.6 กฎหมายและมาตรฐานคุณภาพอากาศและเสียง
1.7 กฎหมายและมาตรฐานดานคุณภาพน้ำ
1.8 มาตรฐานคุณภาพดิน
2. กฎหมายเกี่ยวกับการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม EIA (Environmental Impact
Assessment) และ EHIA (Environmental and Health Impact Assessment) (กรมควบคุมมลพิษ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2563)
2.1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกำหนดโครงการ กิจการ
หรือการดำเนินการ ซึ่งตองจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2564
2.2 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกำหนดโครงการ กิจการ
หรือการดำเนินการ ซึ่งตองจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2564
2.3 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกำหนดโครงการ กิจการ
หรือการดำเนินการ ซึ่งตองจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
2.4 ประกาศสำนั กงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ ม เรื ่ อ ง
แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม พ.ศ.
2562
2.5 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกำหนดโครงการ กิจการ
หรือการดำเนินการ ซึ่งตองจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม และหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2561
3. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคุณภาพอากาศและการควบคุมมลพิษทางอากาศ
3.1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดใหโรงไฟฟาใหม
เปนแหลงกำเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ
343

3.2 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2552) เรื่อง


กำหนดมาตรฐานค่ า ก๊ า ซคาร บ อนมอนอกไซด แ ละก๊ า ซไฮโดรคาร บ อนจากท อ ไอเสี ย ของ
รถจักรยานยนต
3.3 ประกาศกระทรวงอุ ต สาหกรรม ฉบั บ ที ่ 2 (พ.ศ.2536) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่องกำหนดค่าปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
โรงงาน
3.4 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศ
คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2538) เรื่องกำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศใน
บรรยากาศโดยทั่วไป
3.5 ประกาศกรมเจ้าทาที่ 177/2527 เรื่อง ใช้เครื่องวัดควันและเสียงของเรือกล
3.6 ประกาศกระทรวงพาณิชย ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2538) เรื่องกำหนดคุณภาพของน้ำมัน
เบนซิน
3.7 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดใหรถโดยสารเปน
แหลงกำเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยควันดำออกสูบรรยากาศ
3.8 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีตรวจวัดค่าเฉลี่ยของฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5
ไมครอน
3.9 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดค่าเฝาระวังสำหรับสารอินทรียระเหยง่ายใน
บรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง
3.10 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานกลั่นน้ำมันปโตรเลียม
3.11 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดใหเตาเผามูล
ฝอยเปนแหลงกำเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ
3.12 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดใหโรงแยกก๊าซ
ธรรมชาติเปนแหลงกำเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ
4. กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพน้ำและการควบคุมมลพิษทางน้ำ
4.1 พระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526
4.2 พระราชบัญญัติรักษาคลองรัตนโกสินทรศก 121 พ.ศ. 2445
344

4.3 พระราชบัญญัติน้ำบาดาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535


4.4 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2539
เรื่อง กำหนดประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรมเปนแหลงกำเนิดมลพิษ ที่จะตอง
ถูกควบคุมการปลอยน้ำเสียลงสูแหลงน้ำสาธารณะ หรือออกสูสิ่งแวดลอม
4.5 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (ฉบับที่ 20) พ.ศ. 2543 เรื่อง กำหนด
มาตรฐานคุณภาพน้ำใตดิน
4.6 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2549 เรื่อง กำหนด
มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล
4.7 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดอาคารประเภท
ค. เปนแหลงกำเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุม การปลอยน้ำเสียลงสูแหลงน้ำสาธารณะหรือออกสู
สิ่งแวดลอม พ.ศ. 2564
4.8 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กำหนดใหสถานี
บริการน้ำมันเชื้อเพลิงเปนแหลงกำเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยน้ำเสีย ลงสูแหลงน้ำ
สาธารณะหรือออกสูสิ่งแวดลอม
5. กฎหมายเกี่ยวกับคุณภาพระดับเสียงและการควบคุมมลพิษทางเสียง
5.1 ประกาศกรมการขนสงทางบก ฉบับที่ 78/2527 เรื่อง เกณฑของระดับเสียงที่เกิดจาก
เครื่องกำเนิดพลังงานของรถ
5.2 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องกำหนดตำแหนง ระยะ และวิธีการหันแกนไมโครโฟน
ของมาตรระดับเสียง สำหรับตรวจสอบระดับเสียงของเรือ
5.3 ประกาศกรมเจ้าทา ที่ 177/2527 เรื่อง การใช้เครื่องวัดควันและเสียงของเรือกล
5.4 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่องกำหนดระดับเสียง
ของเรือ
6. กฎหมายเกี่ยวกับขยะมูลฝอย
6.1 พระราชบัญญัติการรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง
พ.ศ. 2535
6.2 พระราชบัญญัติการรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
345

6.3 กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ.2560


6.4 กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการสิ่งปฏิกูล พ.ศ.2561
6.5 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดการมูลฝอย พ.ศ.2560
6.6 กฎกระทรวงการจัดการมูลฝอยที่เปนพิษหรืออันตรายจากชุมชน พ.ศ.2563
6.7 กฎกระทรวงวาดวยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564
6.8 กฎกระทรวงการดำเนินการจัดการมูลฝอยติดเชื้อรวมกันระหวางราชการสวนทองถิ่น
กับราชการสวนทองถิ่นอื่นหรือหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2564
7. กฎหมายเกี่ยวกับสารพิษ สารเคมี วัตถุอันตราย วัตถุมีพิษ และการควบคุม
7.1 กฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
7.2 กฎกระทรวง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2537 ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
พ.ศ. 2535
7.3 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณเรื่อง การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรม
วิชาการเกษตรเปนผูรับผิดชอบ พ.ศ. 2538
7.4 ประกาศกระทรวงพาณิชย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2538 เรื่องกำหนดคุณภาพของน้ำมัน
ดีเซล สำหรับใช้กับเครื่องยนตหมุนเร็ว
7.5 ประกาศกระทรวงพาณิชย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2538 เรื่องกำหนดคุณภาพของน้ำมัน
เบนซิน
7.6 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 95) พ.ศ. 2539 เรื่องระบุชื่อและประเภทวัตถุ
ออก ฤทธิ์ที่หามการนำเข้าไปยังประเทศหนึ่งประเทศใด (เพิ่มเติม)
7.7 พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535
7.8 ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง แนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยดวยเตาเผาอยาง
มีประสิทธิภาพ
8. กฎหมายที่เกี่ยวกับทรัพยากรที่ดิน
8.1 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (ฉบับที่ 25) พ.ศ. 2547 เรื่อง กำหนด
มาตรฐานคุณภาพดิน
8.2 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องกำหนดพื้นที่เพื่อการระเบิดและยอยหินในที่ดินของ
รัฐ
346

8.3 ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม วาดวยการใหเกษตรกรและ


สถาบัน เกษตรกรผูไดรับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าทำประโยชน
ในที่ดิน พ.ศ. 2535
8.4 พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม พ.ศ. 2518
8.5 พระราชบัญญัติการผังเมือง พุทธศักราช 2518
8.6 พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543
8.7 พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543
8.8 พระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535
8.9 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526
8.10 พระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524
8.11 พระราชบัญญัติกำหนดเขตจังหวัดในอาวไทยตอนใน พ.ศ. 2502
9. กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ
9.1 พระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526
9.2 พระราชบัญญัติรักษาคลอง รัตนโกสินทรศก 121 พ.ศ. 2445
9.3 พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485
9.4 พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510
9.5 พระราชบัญญัติการประปาสวนภูมิภาค พ.ศ. 2522
9.6 พระราชบัญญัติน้ำบาดาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
10. กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรปาไม ปาชายแลน และสัตวปา
10.1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติสงวนและ
คุ้มครอง สัตวปา พ.ศ. 2535
10.2 พระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ. 2535 มาตราที่ 1-28
10.3 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตวปา พ.ศ. 2535
10.4 พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504
10.5 พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484
10.6 พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติพ.ศ. 2507
10.7 พระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตวและจำหนายเนื้อสัตว มาตราที่ 1-35
347

11. กฎหมายเกี่ยวกับพลังงาน
11.1 พระราชกำหนดแก้ไขและปองกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2516
11.2 พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2535
11.3 พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540
11.4 พระราชบัญญัติการพัฒนาและการสงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535
11.5 พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ พ.ศ. 2535
11.6 พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535
11.7 พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
11.8 พระราชบัญญัติการค้าน ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543
11.9 พระราชบัญญัติวาดวยความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปโตรเลียมในทะเล พ.ศ. 2530
12. กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรแร
12.1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 77 (พ.ศ. 2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติแร พ.ศ.
2530
12.2 พระราชบัญญัติแร พ.ศ. 2510
12.3 พระราชบัญญัติควบคุมแรดีบุก พ.ศ. 2514
มีกฎหมายมากมายที่เกิดขึ้นในประเทศไทยที่ใช้ควบคุมและดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม แตปญหามลพิษสิ่งแวดลอมยังคงเพิ่มขึ้น จนกลายเปนปญหาที่แก้ไขไดยาก ปญหามลพิษ
มีสาเหตุมาจากความเห็นแก่ตัว ไรจิตสำนึกของมนุษยทั้งนั้น รายวิชานี้จึงมีวัตถุประสงค์หลักใหผูเรียน
ไดรับความรูเกี่ยวกับทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ปญหามลพิษสิ่งแวดลอม แนวทางการแก้ไขปญหา ตลอดจนการมีสวนรวมของผูเรียนที่
จะมีวิธีการช่วยลดมลพิษสิ่งแวดลอมดานตาง ๆ ใหเปนสวนหนึ่งของกิจวัตรการใช้ชีวิตประจำวัน
5. ใช้การประชาสัมพันธ สื่อสารมวลชน สื่อออนไลน สื่อดิจิทัล และการจัดตั้งกลุมสมาคม
มูลนิธิ วิธีการเหลานี้จะเปนการรวมกลุมของคนที่มีใจรักทรัพยากรและสิ่งแวดลอมและตั้งใจอนุรักษ
ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมอยางแทจริงมารวมตัวกันเพื่อเปนกระบอกเสียงในการแจ้งข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับทรัพยากรและสิ่งแวดลอมของประเทศในปจจุบัน การประชาสัมพันธเปนอีกช่องทางหนึ่งที่จะ
ช่วยรณรงค์การอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมที่ไดผลดี อาจใช้ผูที่ประชาชนชื่นชอบชื่นชม เช่น
ศิลปน ดารา นักรอง นักแสดง มาเปนสวนหนึ่งในการประชาสัมพันธ สื่อสารมวลชน เปนอีกช่องทางที่
348

สามารถเข้าถึงคนสวนใหญของประเทศ ผานโทรทัศน และในปจจุบันการใช้สื่อออนไลน สื่อดิจิทัลเปน


ช่องทางสำคัญในยุคศตวรรษที่ 21 ผานสมารทโฟน คอมพิวเตอร รวมกับอินเทอรเน็ต เว็บไซด หรือ
สัญญาณไรสาย ที่จะกระจายข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ปญหาความเสื่อมโทรม
ของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม วิธีการปองกันแก้ไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอมใหกับประชาชนไดเข้าถึง
ไดง่ายและทันถวงที

7.6 แนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เมื่อมนุษยนำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาใช้ประโยชนเพื่ออำนวยความสะดวกใน
การดำรงชีวิตของตนเอง ดังนั้นการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจึงเปนหนาที่ของ
มนุษยทุกคนในการมีจิตสำนึก ใหความรวมมือกัน เลือกวิธีการอนุรักษอยางชาญฉลาดและมีความ
ยั่งยืน ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตละประเภท มีเอกลักษณมีคุณสมบัติเฉพาะตัว การ
เลือกวิธีการอนุรักษจึงตองเหมาะสมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตละประเภทดวย เพื่อ
ดำรงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ มให ม ี ใ ช้ ไ ปในอนาคต ดั ง นั ้ น แนวทางการอนุ ร ั ก ษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจะไดผลดีตองอาศัยทุกภาคสวน ประชาชนทุกคนและองค์กรที่
เกี่ยวข้อง สามารถทำไดโดย
1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่งจะตองคำนึงถึงทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่นและ
ผลกระทบที่เกิดขึ้นดวย เพราะทรัพยากรธรรมชาติแตละชนิดมีความสัมพันธในเชิงระบบนิเวศ รวมทั้ง
คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งแวดลอมจะเกี่ยวข้องกันและไมอยูโดดเดี่ยว
2. การวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มนุษยตองไมใช้ตนเองเปน
ศูนยกลางในการมองสิ่งแวดลอมรอบตัว แตมนุษยจะตองเปนสวนหนึ่งของสิ่งแวดลอมดวย เนื่องจาก
มนุ ษย มี การพั ฒนาสิ ่ งแวดล อมทางสั งคม วั ฒนธรรมไปตามสภาพของทรั พยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดลอมของประเทศนั้น ๆ
3. โครงการที่มนุษยสรางขึ้น ยอมมีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้ง
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศก้ตองอาศัยทรัพยากรธรรมชาติ เปนวัตถุดิบหลัก ดังนั้น
ผูจัดทำโครงการตองมีความรูความเชี่ยวชาญที่ถองแทและลึกซึ้งเกี่ยวกับเนื้อหาในโครงการที่ตนเอง
รั บ ผิ ด ชอบ ต อ งมี ผ ู  ร  ว มโครงการที ่ ม ี ค วามรู  ค รอบคลุ ม หลายแขนงวิ ช า รู  จ ั ก วิ ธ ี ก ารจั ด การ
349

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางชาญฉลาดเพื่อใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมนอยที่สุด แตเกิดประโยชนกับประชาชนมากที่สุด
4. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนเรื่องที่จำเปนที่ตองใหความรูแก่เด็ก
เยาวชน นั ก ศึ ก ษาและประชาชนทั ่ ว ไป เนื ่ อ งจากเป น พื ้ น ฐานสำคั ญ ของการบริ ห ารจั ด การ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เมื่อมีการวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การทำโครงการที ่ มี ผลกระทบต อทรั พยากรธรรมชาติ และสิ ่ งแวดล อม จึ งต องมี วิ ธี การอนุ รั กษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมควบคู่กันไปดวย
5. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การดำเนินงานโครงการ ตองไดรับความ
คิดเห็นจากการมีสวนรวมของคนทุกเพศทุกวัยที่อาศัยอยูในพื้นที่นั้น ตองไดรับความเห็นชอบจากคน
ทุกภาคสวน ไมใช่แค่ความเห็นของผูบริหารหรือกลุมคนใดกลุมคนหนึ่งเทานั้น ดังนั้นในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตองมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผลดีและผลเสียจากการจัดการ
หรือโครงการที่จะดำเนินการ เพื่อใหเกิดความผาสุกของคน สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอมในพื้นที่
6. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศที่อุดมสมบูรณ ไมเสียหายเสื่อมโทรม
ยังคงสภาพเดิม บงบอกถึงความเจริญทางวัฒนธรรม ความคิด ทักษะทางปญญา นิสัยใจคอของคนใน
ชาติ
7. ผูที่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไมวาจะดวยวิธีการใดตาม ดวยความตั้งใจ
หรือไมตั้งใจดี นับเปนผูที่ทำลายมรดกอันล้ำค่าของชาติ
8. ไม ว า มนุ ษ ย จ ะมี ส มอง มี ท ั ก ษะทางความรู  ทั ก ษะทางป ญ ญา มี ค วามก้ า วหน า ทาง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากแค่ไหน มนุษยไมสามารถเนรมิตทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดที่ใช้แลว
หมดไปขึ้นมาไดใหมในช่วงเวลาสั้น หรือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหากเสื่อมโทรมเสียหาย
แลว การกลับมาดีเหมือนเดิมตองใช้ระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นมนุษยจึงควรอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมไวเพื่ออนาคตดวย
9. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคงอยูในสภาพเดิมและยั่งยืน จะสงผล
ตอชีวิตความเปนอยูที่ดีของมนุษย และคุณภาพชีวิตทั้งดานรางกายและจิตใจจะดีตามไปดวย การ
พัฒนาชุมชนของตนและประเทศชาติมีแนวโนมไปในทางเจริญ
10. การทำงานใดในดานตาง ๆ ไมใช่แค่ดานสิ่งแวดลอม หากผูกระทำขาดความรูที่แทจริง
มักจะเกิดปญหาขึ้นกับชิ้นงานนั้น ๆ การเรียนรูใหถองแทเปนสิ่งจำเปนของประชากรเพื่อการพัฒนา
350

ประเทศ ดังนั้นครอบครัว โรงเรียน สถานศึกษา มหาวิทยาลัย จึงเปนฟนเฟองหนึ่งในการขับเคลื่อน


ชี้แนะปลูกฝงการเรียนรูที่ถูกตองเหมาะสม เพื่อใหผูเรียนรูมีกระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร ไมเชื่อสิ่ง
ตาง ๆ ที่ไดยิน ไดฟง โดยง่าย ตองมีการคิดไตรตรอง ผลที่เกิดขึ้นดวยความรูจริง การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเช่นกัน ตองเรียนรูวิธีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมอยางถูกตองและเหมาะสม หรืออาจลงมือทำดวยตนเองเพื่อทดสอบความถูกตอง

7.7 อุปสรรคในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม


ข้อมูลจากหนังสือพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (ณัฐญา, 2562) และ การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ (ปยะดา, 2562) ไดกลาวถึงปญหาดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมของประเทศไทย มีสาเหตุมาจาก
1. หนวยงานที่รับผิดชอบดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมยังไมทันสมัย เกิดจาก
ข้ อ กำหนด ข้ อ บั ง คั บ กติ ก าในการควบคุ ม ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ มส ว นใหญ ย ั ง ไม
ปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในปจจุบัน
2. การประชาสัมพันธดานสิ่งแวดลอมของประเทศยังมีนอยและเข้าถึงคนในประเทศเฉพาะ
บางกลุม เมื่อเทียบข้อมูลการเสพข่าวความรูดานสิ่งแวดลอมของคนในประเทศกับละครซีรียใน
ประเทศไทย ตอบไดอยางไมรีรอเลยวา ละครซีรียนั้นเปนอันดับ 1 ยอดฮิตในการเข้าถึงของประชาชน
เกือบทั้งประเทศ ในขณะที่ข่าวดานสิ่งแวดลอมนั้นยังคงอยูในอันดับทาย ๆ การใหความสำคัญของ
การประชาสั ม พั น ธ ด  า นสิ ่ ง แวดล อ มยั ง มี น  อ ย หน ว ยงานที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ ่ ง แวดล อ มแต ล ะชนิ ด ยั ง ไม ม ี ม าตรการในการสนั บ สนุ น การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ความรู  ด  า น
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประชาชนในประเทศ
3. การมีกฎหมายบังคับใช้ที่ไมเข้มงวด ไมวาจะเกิดขึ้นจากการแทรกแซงกฎหมายของอำนาจ
ทางบริหารและการเมืองของประเทศ การเห็นแก่ประโยชนสวนตัวและพวกพองโดยการใช้ช่องโหว
ของกฎหมายเอาตัวรอด โดยไมคำนึงถึงผลเสียที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและ
ประชากรสวนใหญของประเทศ รวมทั้ง การออกกฎหมายซ้อนทับกันเอง ทำใหหนวยงานที่รับผิดชอบ
ไมกลาใช้กฎหมายบางกรณไดอยางเต็มที่ เพราะกลัวจะไปก้าวก่ายกฎหมายของอีกหนวยงานหนึ่ง
เปนผลใหประสิทธิภาพของกฎหมายลดนอยลง
351

7.8 วิธีการจัดการและมาตรการในการจัดการสิ่งแวดลอม
ข้อมูลจากหนังสือ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (ปยะดา, 2562) และนโยบายและการ
จัดการสิ่งแวดลอม (โสภารัตน, 2551) ไดอธิบายถึงวิธีการจัดการและมาตรการในการจัดการไววา การ
บริหารจัดการสิ่งแวดลอมในปจจุบันทั้งประเทศไทยและประเทศทั่วโลก เห็นชอบเปนประเด็นสำคัญ
เนื่องจากความทันสมัยของวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีสิ่งอำนวยความสะดวก
ตอการดำรงชีวิตของมนุษยอยางมากมาย แตกลับสงผลกระทบทางลบกับสิ่งแวดลอม ดังนั้น การ
จัดการสิ่งแวดลอมจึงตองมีกระบวนการ การศึกษา มีข้อมูล มีการวางแผน การวิเคราะหข้อมูล และ
นำไปใช้ในการแก้ไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอม การจัดการจะตองไดรับความรวมมือจากหนวยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนในประเทศ รวมทั้งการนำความรูและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพื่อให
เกิดประสิทธิภาพของการจัดการสิ่งแวดลอมไดอยางเหมาะสม และถูกตอง
7.8.1 วิธีการจัดการสิ่งแวดลอม
การจัดการสิ่งแวดลอม หมายถึง กระบวนการกระจายทรัพยากรที่สำคัญที่เกิดขึ้นโดย
ธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น เพื่อสนองความพอใจในการนำสิ่งแวดลอมไปใช้อยางเหมาะสม ในการ
เปนปจจัยหลักและปจจัยรองในอนาคต (ศศินา, 2550) การจัดการสิ่งแวดลอมจึง แบงออกไดเปน 3
ลักษณะ ดังนี้
1. การใช้ทรัพยากรอยางยั่งยืน การใช้ทรัพยากรหรือสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนจะมีหลักการ
และวิธีการเฉพาะตัว เช่น ปาไม อากาศ แรธาตุ สัตวปา เปนตน ผูจัดการหรือผูบริหารตองใช้
เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพและใช้ทรัพยากรที่ทดแทนไดเฉพาะในสวนที่สามารถเพิ่มพูน ทรัพยากรที่
ใช้แลวหมดไปตองเกิดของเสียและมลพิษนอยที่สุด และตองควบคุมไมใหทรัพยากรที่ใช้แลวหมดไปให
สะอาดปราศจากมลพิษ
2. การบำบัด และฟนฟูของเสียและมลพิษ หมายถึง การทำการใด ๆ ที่สามารถ ขจัดของเสีย
และมลพิษใหหมดไปหรือเสื่อมสภาพไปหรือหมดฤทธิ์ เช่น การกำจัดขยะ (ขยะชุมชน ขยะติดเชื้อ
และกากของเสียอันตราย) การบำบัดน้ำเสีย และมลพิษตาง ๆ ในระบบสิ่งแวดลอม โดย เข้าสูสภาวะ
ปกติแลวสามารถสรางสภาวะปกติของโครงสรางและบทบาทหนาที่ของระบบสิ่งแวดลอม ใหปกติและ
สุดทายสรางความสมดุลของระบบสิ่งแวดลอม
3. การควบคุมกิจกรรมจากแหลงกำเนิดมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษ เช่น โรงอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม หรือชุมชน อาจทำลายโครงสรางทรัพยากรธรรมชาติ สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
352

บทบาทหนาที่ ของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม หลังจากนั้นกิจกรรมตาง ๆ จะผลิตของเสียและมลพิษ


จากเทคโนโลยี ทำใหระบบสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่แยลง ดังนั้น การจัดการสิ่งแวดลอม
คือ การใช้ทรัพยากรหรือการบำบัด และการฟนฟู หรือเปนการควบคุมกิจกรรมการจัดการสิ่งแวดลอม
ทั้งหมด ซึ่งชี้ใหเห็นวา มนุษยสามารถใช้ทรัพยากรสิ่งแวดลอมไดแตตองเปนการใช้แบบยั่งยืน
(Sustainability) การใช้ทรัพยากรแตละครั้งยอมสรางของเสียและมลพิษ
7.8.2 มาตรการในการจัดการสิ่งแวดลอม
การจัดการสิ่งแวดลอม เปนแนวทางในการปองกันการเกิดความเสียหายและความเสื่อมโทรม
ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตละชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกตางกัน การปองกัน
จึงตองมีวิธีที่แตกตางกัน ผูปฏิบัติตองเลือกวิธีที่ถูกตองและเหมาะสมกับการปองกันความเสียหายที่จะ
เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลดโอกาสการเกิดมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งมาตรการใน
การจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดความยั่งยืน มีดังนี้
1. เทคโนโลยี ควรมีการศึกษาวิจัยและนำเทคโนโลยีทีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมาใช้ หรือใช้
เทคโนโลยีสะอาด เพื่อลดมลสารจากแหลงกำเนิดมลพิษสิ่งแวดลอม ใช้ทรัพยากรใหคุ้มค่า มีการ
วางแผน ออกแบบครบวงจรเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม และรูจักนำของเหลือทิ้งมารีไซเคิล นำกลับมา
ใช้ใหมจากกระบวนการแปรรูปดวยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในปจจุบัน ในที่นี้จะ
ยกตัวอยาง การนำจุลินทรียมาใช้ประโยชนในระบบเกษตรกรรมแบบยั่งยืน (อรุณ และคณะ, 2559;
พิ ช ญ และอุ ท าน, 2562) ได อ ธิ บ ายถึ ง กลุ  ม ของจุ ล ิ น ทรี ย  ท ี ่ ม ี ป ระโยชน ใ นทางการเกษตร และ
ความสำคัญของจุลินทรียตอการทำการเกษตรแบบยั่งยืน แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรดิน ดวย
การลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร หันมาเลือกใช้จุลินทรียแทน จุลินทรียเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อยู
รอบตัวมนุษย และอยูในตัวมนุษยดวย การปรับปรุงคุณภาพดินดวยจุลินทรียเข้ามามีบทบาทเพิ่มมาก
ขึ้น เพื่อลดปญหาคุณภาพดินเสื่อมโทรม และสงผลทางออมในการช่วยลดปญหาภาวะโลกรอนอีกดวย
การทำเกษตรยั่งยืนใหความสำคัญกับความสมบูรณของดิน และระบบนิเวศรอบข้าง ไมวาจะเปน
จุลินทรียที่ผลิตปุยชีวภาพ การใช้จุลินทรียปฏิปกษ คือจุลินทรียที่ฆ่าจุลินทรียก่อโรคพืชและแมลง
ศัตรูพืช การใช้กระบวนการควบคุมโรคพืชดวยชีววิธี เช่น การใช้สารสกัดจากดาวเรืองเพื่อยับยั้งการ
เข้าทำลายของหนอนกระทูผัก จุลินทรียที่ผลิตปุยชีวภาพ ไดแก่ จุลินทรียช่วยตรึงไนโตรเจนในอากาศ
ซึ่งไดอธิบายละเอียดไวในบทที่ 1 เรื่องวัฏจักรของไนโตรเจน กลาวพอสังเขปวามีแบคทีเรียหลากหลาย
กลุมที่ทำหนาที่ตรึงไนโตรเจนในอากาศมาไวในดิน เช่น แบคทีเรียไรโซเบียมที่อยูในรากพืชตระกูลถั่ว
353

แบคทีเรียอะโซโตแบคเตอร แบคทีเรียอะโซสไปริลลัม เพื่อใหพืชไดใช้เพื่อการเจริญเติบโตและแข็งแรง


จุลินทรียควบคุมโรคพืช เปนวิธีทางชีวภาพ ดวยคุณสมบัติเฉพาะตัวของจุลินทรียบางชนิดที่สามารถ
สรางสารปฏิชีวนะออกมาควบคุมเชื้อจุลินทรียก่อโรคพืช ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย
ก่อโรคพืช เปนไปตามความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันในระบบนิเวศ ไดอธิบายละเอียดไวใน
บทที่ 1 เรียกวา ภาวะการหลั่งสารยับยั้งการเจริญ หรือจุลินทรียปฏิปกษ เปนการแข่งขันแยงพื้นที่
และอาหาร เรียกวา ภาวะการแข่งขัน หรือการใช้ภาวะปรสิตของเชื้อจุลินทรียชนิดหนึ่ง ควบคุม
เชื้อจุลินทรียก่อโรคอีกชนิดหนึ่ง เช่น ราไตรโคเดอรมา จะเห็นไดวา หากเกษตรกรนำวิธีการทางชีววิธี
มาใช้ประโยชนจะทำใหดินถูกปรับปรุงมีคุณภาพดีขึ้น ซึ่งเปนการจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และ
ปลอดภัยตอสุขภาพของผูใช้วิธีการนี้ดวย
2. เศรษฐกิจ มีการเก็บภาษีจากผลิตภัณฑที่ถูกประเมินแลววาก่อใหเกิดมลพิษ เก็บภาษีจากผู
ที่ปลอยมลพิษ เช่น เจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม มีการคิดค่าบริการในการบำบัดของเสีย สนับสนุน
การสรางกลไกตลาดในการรับซื้อของเหลือทิ้ง ของเสียไปบำบัด เช่น วงษพาณิชย เปนตน มีการ
กำหนดการวางเงินประกันในการปลอยมลพิษ เมื่อมีการบำบัดและลดปริมาณมลพิษลงแลวจะไดรับ
เงินคืน
3. สังคม สรางจิตสำนึก ใหความรู กระตุนการมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม เห็นคุณค่าของสิ่งแวดลอม และผลกระทบตอการดำรงชีวิตหากเกิดมลพิษสิ่งแวดลอม
ในทีนี้ขอยกตัวอยางกรณีศึกษา ของทิพยอนงค์ (2563) ไดกลาวถึง การเสียชีวิตของพะยูน จัดเปน
สัตวปาสงวนชนิดหนึ่งตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ซึ่งเริ่มตนจาก
ชาวบานบริเวณแหลงหญาทะเลคุ้งอาวทึง-ปอดะ จังหวัดกระบี่ ไดพบลูกพะยูนเพศเมีย ขึ้นมาเกยตื้น
ซึ่งคาดวาพลัดหลงกับแมพะยูน และไมสามารถดูแลตัวเองในทะเลลึกได เจ้าหนาที่ศูนยวิจัยและ
พัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอันดามัน ไดนำตัวพะยูนนอยไปอนุบาลในพื้นที่เขตหามลาฯของ
เกาะลิบง เมื่อพะยูนนอยไดรับการอนุบาล เพื่อที่จะกลับสูสภาพธรรมชาติ แตสุดทายพะยูนนอยตัวนี้
ไมสามารถกลับสูสภาพธรรมชาติได เมื่อมาเรียมมีอาการลอยนิ่ง สัตวแพทยไดเข้าช่วยเหลือดูแลอยาง
ใกลชิด แตไมสามารถตรวจเจอสัญญาณชีพและการตอบสนองได รางของพะยูนนอยไดถูกสงไปตรวจ
พิสูจน พบวา “มีเศษพลาสติกจำนวนแปดชิ้นอัดแนนอยูในลำไสใหญสวนปลาย” สงผลใหพะยูนเกิด
สภาวะการขาดน้ำ การบีบตัวของทางเดินอาหารลดลง เกิดการสะสมของแก๊สในทางเดินอาหาร จึง
เปนที่มาของการเสียชีวิตทันที เนื่องจากธรรมชาติของพะยูนเปนสัตวที่กินสาหราย และสายตา
354

มองเห็นเฉพาะดานข้างเพื่อปองกันศัตรู เมื่อมีพลาสติกลอยมาใกลปาก พะยูนจึงเข้าใจวาเปนสาหราย


และใช้ปากงับพลาสติกเข้าไป เหตุการณนี้ ไดรับความสนใจจากสื่อและสังคมเปนอยางมาก ปญหา
ขยะพลาสติก กระแสการเลิกใช้ถุงพลาสติกถูกจัดเปนวาระแหงชาติ หนวยงานที่เกี่ยวข้องใหความรู
และกระตุนจิตสำนึกแก่เด็ก เยาวชนและคนในสังคมใหมีสวนรวมในการลดใช้ถุงพลาสติก มีการ
รณรงค์อยางจริงจัง จากการรวมตัวกันของคนในสังคมมีความเห็นที่ตรงกัน รวมทั้งหนวยงานภาครัฐ
เสนอกฎหมายการงดใช้พลาสติก และหนวยงานภาคเอกชนมีสวนรวมในการงดใช้ถุงพลาสติก ข้อมูล
ข่าวสารการรณรงค์งดใช้ถุงพลาสติกถูกสงผานสื่อออนไลน สังคมเครือข่าย จึงรวดเร็วและเข้าถึงกลุม
คนไดจำนวนมาก
4. กฎหมาย
-พรบ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535
-พรบ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดลอมแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
-พรบ.รักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง
-พรบ.สุขาภิบาล
-กฎหมายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
-กฎหมายสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ เช่น อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ
กรอบอนุสัญญาแหงสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ เปนตน
-ราง พรบ.การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกของภาคอุตสาหกรรม
เปนตน

7.9 โครงการเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา
โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) มหาวิทยาลัยเปนสถาบันการศึกษาที่ทำ
หนาที่ ใหความรู ฝกปฏิบัติ บมเพาะบัณฑิตที่จะออกไปเปนกำลังสำคัญของประเทศ สรางบัณฑิตที่มี
จิ ตสำนึ กดี มี จิ ตสาธารณะ รั กษ สิ ่ งแวดล อม โครงสร างองค์ ประกอบต าง ๆ ของระบบนิ เวศใน
มหาวิทยาลัย มีทั้งสิ่งไมมีชีวิต และสิ่งมีชีวิต มีอาคารสถานที่ สำนักงาน มีอาจารย บุคลากร เจ้าหนาที่
นักศึกษา มีตนไม แหลงน้ำ ถนน การคมนาคม ระเบียบปฏิบัติข้อบังคับของมหาวิทยาลัย เมื่อมีคนอยู
ในแหลงพื้นที่ใด พื้นที่นั้นจะมีขยะ ของเหลือทิ้ง ของเสีย เช่น ขยะจากอาหาร กระดาษที่มีหมึกจาก
สำนักงาน สารเคมีตาง ๆ ที่ใช้ในหองปฏิบัติการ การเผาไหมเชื้อเพลิง การใช้น้ำ ใช้ไฟฟา ลวนแลวเปน
355

สิ่งแวดลอม ดังนั้นการพัฒนาดานความเปนเลิศการเรียนการสอนใหแก่นักศึกษา ควรมีควบคู่ไปกับ


นโยบายในการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ภายในมหาวิทยาลัยดวย เพื่อเปนสวนหนึ่งในการลดปญหา
สิ่งแวดลอมของประเทศ แตละมหาวิทยาลัยจึงมีการจัดตั้งโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว
7.9.1 แนวคิดการจัดตั้งโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว
ในปจจุบันไดมีการใช้คำวา “สีเขียว” ในหลากหลายมิติ สีเขียวเปนสีที่ถูกนำมาใช้แทน
ความหมายของ การอนุรักษทรัพยากรน้ำ พลังงาน การลดขยะ การลดสารพิษ รวมทั้งนำไปใช้กับ
ผลิตภัณฑ เรียกวา ผลิตภัณฑสีเขียว หมายถึง ผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติพิเศษกวา ผลิตภัณฑอื่นในดาน
การอนุรักษสิ่งแวดลอม โดยเปนผลิตภัณฑที่ไมใช้สารพิษที่เปนอันตรายตอมนุษยและสัตว หรือ
เศรษฐกิจสีเขียว เปนตน ดังนั้น ขอบเขตของมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) คือ การที่
มหาวิทยาลัยมีการพัฒนา ฟนฟู อนุรักษ และสรางการมีสวนรวม ตลอดจนการบูรณาการองค์ความรู
และกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติพลังงานและสิ่งแวดลอม การพัฒนาแบบพึ่งพา
ตนเองบนพื้นฐานของความสมดุล ระหวางระบบนิเวศของคนอยางมีความสุข การพัฒนาระบบการ
เรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ ตลอดจนสนับสนุนกิจกรรมของมหาวิทยาลัยที่ตอบสนอง
ตอการอนุรักษสิ่งแวดลอม พลังงาน บนพื้นฐานของการมีสวนรวมของผูบริหาร บุคลากร เจ้าหนาที่
นักศึกษา และบุคลากรทุกภาคสวนในมหาวิทยาลัย สำหรับในป 2564 มีการเพิ่มแนวปฏิบัติของการ
พัฒนาที่ยั่งยืนรวมดวย ในช่วงเวลาที่กำลังเผชิญกับสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19
ซึ่งมีตัวชี้วัดเพิ่มขึ้น โดยลักษณะของมหาวิทยาลัยสีเขียวมีหลายมิติ ไดแก่
1. สิ่งแวดลอมสีเขียว (Green Environment) คือ การพัฒนาและอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอม
พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติการจัดสภาพแวดลอมที่ดีของอาคารและสถานที่ภายในองค์กรใหมี
สภาพแวดลอมที่ดีการพัฒนา พื้นที่สีเขียวบริการใหมีภูมิทัศนที่สวยงามและมีความสมดุลตอระบบ
นิเวศ
2. การบริการสีเขียว (Green Service) คือ การสรางและพัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน
ระบบการ บริการ และระบบการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และ
สามารถนำไปสูการลดมลภาวะ และปญหาโลกรอน
3. กิจกรรมสีเขียว (Green Activities) คือ การสงเสริมกิจกรรมของคนในองค์กรและชุมชน
ทองถิ่นใหมี จิตส านึกและพฤติกรรมที่สงเสริมตอการอนุรักษธรรมชาติพลังงาน และสิ่งแวดลอมอยาง
ยั่งยืน
356

4. เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) คือ การสงเสริมและพัฒนาการสรางเศรษฐกิจสีเขียว


ภายใน มหาวิทยาลัย ที่น าไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน การเพิ่มประสิทธิภาพดานการใช้ทรัพยากรและ
พลังงาน สงเสริมรูปแบบการผลิตเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม ในการแก้ไขปญหา ดูแลสิ่งแวดลอม
การสรางแหลง ตลาดสีเขียวเพื่อการผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน
7.9.2 การประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว
คะแนนในการจัดอันดับพิจารณาจากปจจัยดานตาง ๆ 6 ดานในป 2563 มีรายละเอียดแสดง
ดังตารางที่ 7.1 ประกอบดวยหัวข้อหลักดังนี้ คือ
1. สถานที่และโครงสรางพื้นฐาน: SI (การจัดการพื้นที่ในมหาวิทยาลัย เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่
ซึมซับน้ำ)
2. พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: EC (การจัดการพลังงาน และการลดการ
ปลอยก๊าซเรือนกระจก)
3. ของเสีย: WC (การจัดการขยะและของเสีย)
4. น้ำ: WR (การจัดการน้ำ)
5. การขนสง: TR (การจัดการระบบขนสง)
6. การศึกษาและวิจัย: ED (การเรียนการสอน การวิจัย ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องของสิ่งแวดลอม
และความยั่งยืน)
สำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เปนสถานศึกษาหนึ่งที่ตระหนัก ให
ความสำคัญอยางมากกับการดำเนินการดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมภายในมหาวิทยาลัยและชุมชน
รอบมหาวิทยาลัย ดวยแนวคิดการมีสวนรวมของทุกคนในมหาวิทยาลัย ตอการสรางสรรค์กิจกรรมตาง
ๆ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นักศึกษาจึงเปนสวนหนึ่งที่สำคัญในการขับเคลื่อนโครงการมหาวิทยาลัย
สีเขียว แค่ ทิ้งขยะลงในถังที่กำหนดไว โดยมีการคัดแยกขยะแตละประเภทใหชัดเจน การใช้รถใน
มหาวิทยาลัย เมื่อถึงอาคารเรียนแลวควรดับเครื่องยนต ถาเปนไปไดควรใช้จักรยานขี่ในมหาวิทยาลัย
ช่วยกันอนุรักษตนไมที่ปลูกในมหาวิทยาลัย ไมทำลาย ใช้น้ำอยางประหยัด ลดการใช้กระดาษ ลดการ
ใช้ถุงพลาสติก แก้วน้ำพลาสติก กลองโฟม เปนตน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ไดใหข้อมูลวา มหาวิทยาลัยมีความ
มุงมั่นในการสรางแบบอยางและเตรียมพรอมก้าวสูการเปนมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University)
357

ตารางที่ 7.1 ตัวชี้วัดและหมวดตาง ๆ สำหรับการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ป 2563


ข้อ หมวดและตัวชี้วัด
1 สถานที่และโครงสรางพื้นฐาน: SI
สัดสวนของพื้นที่เปดโลงตอพื้นที่ทั้งหมด
พื้นที่ปกคลุมดวยพรรณไมปา
พื้นที่ปกคลุมดวยพืชปลูก
พื้นที่ดูดซับน้ำ (ยกเวนพื้นที่ปาและพืชปลูก)
สัดสวนพื้นที่วางตอประชากรทั้งหมด
รอยละของงบประมาณของมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนความยั่งยืน
2 พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: EC
การใช้อุปกรณประหยัดพลังงาน
การดำเนินงานโครงการอาคารอัจฉริยะ
จำนวนแหลงพลังงานทดแทนที่ผลิตได
สัดสวนการใช้ไฟฟาทั้งหมดตอประชากร (กิโลวัตต-ชั่วโมง/คน)
สัดสวนพลังงานทดแทนที่ผลิตไดตอการใช้พลังงานทั้งหมดตอป
องค์ประกอบของการดำเนินการอาคารสีเขียวตามนโยบายการก่อสรางและปรับปรุงทั้งหมด
โครงการลดการปลอยก๊าซเรือนกระจก
สัดสวนคารบอนฟุตปริ้นทตอจำนวนประชากรทั้งหมด (เมตริกตัน/คน)
3 ของเสีย: WC
โครงการนำของเสียในมหาวิทยาลัยกลับมาใช้ใหม
โครงการลดการใช้กระดาษและพลาสติกในวิทยาเขต
การจัดการของเสียอินทรีย
การบำบัดของเสียอนินทรีย
การบำบัดของเสียเปนพิษ
การบำบัดน้ำเสีย สิ่งปฏิกูล
358

ตารางที่ 7.1 ตัวชี้วัดและหมวดตาง ๆ สำหรับการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ป 2563 (ตอ)


ข้อ หมวดและตัวชี้วัด
4 น้ำ: WR
โครงการอนุรักษน้ำ
โครงการนำน้ำเสียกลับมาใช้ใหม
การใช้อุปกรณประหยัดน้ำ
การใช้น้ำที่บำบัดแลว
5 การขนสง: TR
สัดสวนของยานพาหนะ (รถยนตและรถจักรยานยนต) ตอจำนวนประชากรทั้งหมด
บริการรับสงสาธารณะ
นโยบาย/มาตรการมลพิษเปนศูนย (จากยานพาหนะ)
จำนวน zero emission vehicles/จำนวนประชากรทั้งหมด
สัดสวนพื้นที่จอดรถ/พื้นที่ของมหาวิทยาลัย
โครงการเพื่อลดพื้นที่จอดรถในระยะเวลา 3 ปที่ผานมา (2560- 2562)
จำนวนความคิดริเริ่มที่จะลดยานพาหนะสวนตัวในมหาวิทยาลัย
ทางเดินเทาภายมหาวิทยาลัย
6 การศึกษาและวิจัย: ED
สัดสวนของรายวิชาเกี่ยวกับความยั่งยืนตอจำนวนรายวิชาทั้งหมด
สัดสวนของทุนวิจัยดานความยั่งยืนตอทุนวิจัยทั้งหมด
จำนวนผลงานวิชาการ/การตีพิมพดานความยั่งยืน
จำนวนกิจกรรมดานความยั่งยืน
จำนวนองค์กรนักศึกษาที่เกี่ยวกับความยั่งยืน
เว็บไซตดานความยั่งยืนของมหาวิทยาลัย
รายงานผลการดำเนินงานดานความยั่งยืน
ที่มา: UI GreenMetric secretariat (2563)
359

โดยเนนการใช้ทรัพยากรอยางประหยัด คุ้มค่าและยั่งยืน Green University คือ การบริหารจัดการ


ทรัพยากรและการพัฒนาเพื่อไปสูความยั่งยืน จึงไดจัดทำโครงการสำรวจสภาพปญหาผังโครงการก่อน
เข้าสูมหาวิทยาลัยสีเขียว ตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัย พ.ศ. 2560-2564 ตามประเด็น
ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยที่ 5 คือการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความมั่นคงและการ
บริหารจัดการตนเองได มีเปาหมายการดำเนินโครงการอยู 2 ประเด็นหลักที่สำคัญ ประเด็นแรก เพื่อ
สำรวจสภาพปญหาทางกายภาพของมหาวิทยาลัย และประเมินตนเองตามเกณฑมาตรฐานสากล UI
Green Metric ประเด็นที่สอง เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการ และการเตรียมความ
พรอมก่อนเข้าสูมาตรฐานมหาวิทยาลัยสีเขียวสากล โดยการสำรวจสภาพปญหาทางกายภาพของ
มหาวิทยาลัยเพื่อประเมินตนเองตามเกณฑมาตรฐานสากล โดยมหาวิทยาลัยไดเพิ่มพื้นที่สีเขียว โดย
การปลูกหญา ปลูกตนไม และไดเริ่มตนใช้พลังงานแสงอาทิตยเปนอาคารแรก ณ อาคารจัดการบริหาร
เชิงบูรณาการ นอกจากนั้น การดำเนินงานอาคารสีเขียวของมหาวิทยาลัย มีการกำหนดเปนนโยบาย
การก่อสรางและปรับปรุงอาคารใหสามารถระบายอากาศไดดี ใช้แสงธรรมชาติตลอดทั้งวัน มีระบบ
การจัดการพลังงานในอาคาร ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน การจัดการของเสีย มหาวิทยาลัยอยูไดมี
การวางแผนนโยบาย เพื ่ อ ลดการใช้ ก ระดาษและพลาสติ ก และส ง เสริ ม โครงการนำของเสี ย ใน
มหาวิทยาลัย กลับมาใช้ใหม ใช้สื่อในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส หรือการประชาสัมพันธที่ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศแทน ลดปริมาณการเกิดก๊าซคารบอนไดออกไซดในมหาวิทยาลัย การกำจัดของเสียอินทรีย
และอนินทรีย รวมถึงโครงการจัดทำปุยหมัก การจัดการน้ำ ไดดำเนินการโครงการอนุรักษการนำ
น้ำเสียกลับมาใช้ใหมในระยะเริ่มตนที่อาคารโรงอาหาร RUS Food Center และโครงการเปลี่ยน
อุปกรณประหยัดน้ำ โดยในปที่ผานมา มหาวิทยาลัยมีปริมาณการใช้น้ำประปา และปริมาณการใช้น้ำ
จากแหลงน้ำธรรมชาติ ลดการใช้น้ำประปา สวนดานการขนสง ระบบการขนสงเปนปจจัยสำคัญใน
เรื่องการปลอยก๊าซคารบอนไดออกไซด และมลพิษในมหาวิทยาลัย มีนโยบายสงเสริมการเดินเทา มี
การรณรงค์การใช้รถจักรยานภายในมหาวิทยาลัยแทนรถยนตหรือรถจักยานยนต มีระบบขนสง
สาธารณะและจัดที่จอดรถอยางเปนระบบ กำหนดโซนที่จอดรถหรืออาคารที่จอดรถใหง่ายตอการ
บริหารจัดการมลภาวะทางอากาศ สำหรับดานการศึกษา มหาวิทยาลัยไดสอดแทรกรายวิชาเกี่ยวกับ
สิ่งแวดลอมและความยั่งยืนในหลักสูตร และสนับสนุนทุนวิจัยใหแก่นักวิจัย ทำงานเกี่ยวกับดาน
สิ่งแวดลอม (ภาพที่ 7.5)
360

ภาพที่ 7.5 มทร.สุวรรณภูมิ วางระบบบริหารจัดการเตรียมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสีเขียว


มาจาก: https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_121305

7.10 มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม (ISO 14000)


ISO ยอมาจาก International Organization for Standardization เปนองค์การระหวาง
ประเทศที่วาดวยมาตรฐานตางๆ ก่อตั้งขึ้นที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด เริ่มตนในป
พ.ศ.2539 มีสมาชิกทั่วโลกมากกวา 110 ประเทศ ประเทศไทยเปนหนึ่งในสมาชิกขององค์กร โดยมี
หน ว ยงานที ่ ร ั บผิ ดชอบดู แล คื อ สำนั กงานมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ อุ ตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวง
อุตสาหกรรม สำหรับ ISO 14000 เปนระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (environmental management
system) เปนที่ยอมรับทั่วโลก เนื่องจากผูบริโภคทั่วโลกไดใหความสำคัญกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม
ไมยอมรับสินค้าหรือผลิตภัณฑที่ทำลายสิ่งแวดลอม สินค้าและผลิตภัณฑในปจจุบันที่เปนที่ยอมรับของ
ผูบริโภคมากขึ้น ตองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตามมาตรฐานของ ISO 14000 กำหนด ผูผลิตตอง
คำนึงถึงความปลอดภัยและคุณภาพสิ่งแวดลอมเปนหลัก ตั้งแตกระบวนการผลิต การบรรจุภัณฑ การ
จำหนาย การยอยสลายของบรรจุภัณฑที่เหลือของเสียนอยที่สุด รวมถึงการกำจัดของเสียในระบบดวย
เมื่อผูผลิตปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนด เปนการรับรองสินค้าและผลิตภัณฑวามีมาตรฐานและมีการ
จัดการสิ่งแวดลอมดี มาตรฐานนี้ไมบังคับใหดำเนินการตาม แต ISO 14000 เปนแนวทางหนึ่งสำหรับ
องค์กรทางธุรกิจอุตสาหกรรมบริการตาง ๆ นำไปใช้ในการจัดการสิ่งแวดลอม เพื่อใหไดมาซึ่ง
ประโยชนในการใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่า ลดอัตราความเสี่ยง ลดมลพิษสูสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการ
361

จัดการของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการ การนำกลับมาใช้ใหม เพื่อใหการดำเนินการเกิดผลกระทบทาง


ลบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุดจนเปนศูนย
โครงสรางของ ISO 14000 มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม ไดแก่ 1) มาตรฐานของระบบ
การจัดการสิ่งแวดลอม มาตรฐานผลิตภัณฑ และมาตรฐานการตรวจสอบ มีรายละเอียด ดังนี้ คือ
มาตรฐานของระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ใช้ในการควบคุมระบบการจัดการสิ่งแวดลอมขององค์กร
ทั้งทางดานนโยบาย การวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ คือ ISO 14001 ข้อกำหนดของระบบการ
จัดการสิ่งแวดลอมและแนวทางในการนำข้อกำหนดไปใช้ในองค์กร ISO 14004 หลักเกณฑและ
ข้อแนะนำเปนแนวทางในการนำระบบการจัดการสิ่งแวดลอม 2) มาตรฐานของระบบการจัดการ
สิ่งแวดลอม ISO 14001 เปนมาตรฐานที่องค์กร หรือบริษัทสวนใหญนำมาใช้เปนเครื่องมือในการ
จัดการสิ่งแวดลอม ประกอบดวยหลักการ 5 ประการ (ภาพที่ 7.6)

ภาพที่ 7.6 หลักการของระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001


มาจาก: http://huexonline.com/uploads/downloads/EnviMgt_1.pdf
362

ประโยชนที่หนวยงาน องค์กร หรือบริษัทที่ดำเนินงานภายใตมาตรฐาน ISO 14001 จะไดรับ


การรับรองมาตรฐานและไดรับความไววางใจจากผูบริโภค ผูมีสวนไดสวนเสียจะมีอยู 3 สวน คือ ความ
ปลอดภัย สุขภาพ และสิ่งแวดลอม ดังนี้
1. ก่อใหเกิดภาพลักษณที่ดีขององค์กร หมายถึง ผลิตภัณฑและสินค้าขององค์กรไดรับการ
ยอมรับวาเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ผลิตภัณฑสามารถแข่งขันมีศักยภาพสูงในเชิงธุรกิจ ผลิตภัณฑจะ
ไดรับการยอมรับเปนที่นิยมในตลาดมากขึ้น
2. ลดตนทุนในการประกอบกิจการ หมายถึง ลดการใช้ปจจัยในการผลิต วัตถุดิบ สารเคมี
เชื้อเพลิง พลังงาน บรรจุภัณฑ สามารถดำเนินงานในการผลิตไดอยางคุ้มค่า สามารถควบคุมค่าใช้จ่าย
ในการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ประเมินเปนตนทุนคงที่ได
3. ดานการจัดการของเสีย จะช่วยลดการเกิดของเสียในกระบวนการใหนอยที่สุด ของเสียที่
เกิดขึ้นมีกระบวนการนำกลับมาใช้ประโยชน รวมถึงการกำจัดของเสียอยางมีประสิทธิภาพและ
เหมาะสม ไมก่อใหเกิดมลพิษกับสิ่งแวดลอม

7.11 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment: EIA)


เปนกระบวนการที่ตองใช้ผูเชี่ยวชาญในหลายองค์ความรูมาบูรณาการรวมกันวิเคราะห เพื่อ
คาดการณผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการตอคุณภาพชีวิต
ของผูอยูในบริเวณนั้น โดยอวิการัตน (2553) ไดอธิบายการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ไวดังนี้วา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งโครงการใด ๆ จะตองมีการเสนอแนวทางมาตรการที่จะ
ลดหรือปองกันความเสี่ยง หรือผลกระทบทางลบที่อาจจะเกิดขึ้นในการดำเนินโครงการ พรอมทั้งมี
แผนเฝาระวังผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการดำเนินโครงการดวย
7.11.1 การประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 4 ดาน
สำหรับ EIA ของประเทศไทย เมื่อมีโครงการคาดการณวาจะสรางขึ้น จำเปนตองมีการศึกษา
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และตองไดรับการยอมรับจากผูที่อาศัยอยูในบริเวณนั้น ไดแก่
1. ทรัพยากรทางกายภาพ เช่น ดิน น้ำ อากาศ แรธาตุ ธรณีวิทยา เปนตน
2. ทรัพยากรทางชีวภาพ เช่น การดำรงชีวิตของมนุษย สัตว พืช จุลินทรีย รวมทั้งระบบนิเวศ
3. คุณค่าตอคุณภาพชีวิต เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม เศรษฐกิจ สังคม
สุนทรียภาพ ประวัติศาสตร เปนตน
363

4. คุณค่าการใช้ประโยชนที่มนุษยจะไดรับ เช่น การใช้ประโยชนที่ดิน ไฟฟา พลังงาน ความ


สะดวกสบาย การคมนาคมขนสง เปนตน
7.11.2 ประเภทและขนาดของโครงการที่ตองทำการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม
สำหรั บ การกำหนดประเภทและขนาดของโครงการที ่ ต  อ งทำการประเมิ น ผลกระทบ
สิ่งแวดลอม ตามหลัก EIA ของประเทศไทย มีดังนี้
1. เขื่อนเก็บกักน้ำหรืออางเก็บน้ำ ตั้งแต 100,000,000 ลบ.ม.ขึ้นไป หรือมีพื้นที่เก็บกักน้ำ
ตั้งแต 15 ตารางกิโลเมตรขึ้นไป
2. การชลประทาน ตั้งแต 80,000 ไรขึ้นไป
3. สนามบินพาณิชย ทุกขนาด
4. โรงแรมหรือที่พักตากอากาศที่ตั้งอยูริมแมนำ้ ฝงทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาดหรืออยูใกล
หรือในอุทยานแหงชาติ 80 หองขึ้นไป
5. ระบบทางพิเศษ ทุกขนาด
6. การทำเหมืองแร ทุกขนาด
7. นิคมอุตสาหกรรม ทุกขนาด
8. ทาเรือพาณิชย ขนาดตั้งแต 500 ตันกรอสขึ้นไป
9. โรงไฟฟาพลังความรอน ตั้งแต 10 เมกกะวัตตขึ้นไป
10. การอุตสาหกรรม ปโตรเคมีคัล 100 ตันตอวันขึ้นไป
11. โรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม ทุกขนาด
12. โรงแยกแก๊ส ทุกขนาด
13. อุตสาหกรรมคลอ-อัลคาไลนที่ใช้ NaCl เปนวัตถุดิบในการผลิต Na2CO3, NaOH, HCl,
Cl2, NaOCl และปูนคลอรีน 100 ตันตอวันขึ้นไป
14. อุตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกลา 100 ตันตอวันขึ้นไป
15. อุตสาหกรรมปูนซีเมนต ทุกขนาด
16. โรงถลุงหรือหลอมโลหะ 50 ตันขึ้นไป
17. อุตสาหกรรมการผลิตเยื่อกระดาษ 50 ตันตอวันขึ้นไป
18. การจัดสรรที่ดิน เกินกวา 100 ไรหรือ 500 แปลง
364

19. โรงพยาบาล ขนาด 60 เตียง ยกเวนที่ตั้งริมแมนา ฝงทะเล ทะเลสาบ ชายหาด ขนาด 30


เตียง
20. การถมที่ดินในทะเล ทุกขนาด
7.11.3 ประโยชนของการดำเนินการ EIA และข้อจำกัดของ EIA
ประเทศไทยเปนประเทศที่กำลังพัฒนา การดำเนินการธุรกิจหลากหลายเกิดเพิ่มขึ้นเพื่อ
สนับสนุนเศรษฐกิจของประเทศใหมีการหมุนเวียนอยูตลอดเวลา มีโครงการมากมายถูกสรางขึ้นเพื่อ
อำนวยความสะดวกใหกับผูคนในประเทศ แตอยางไรตามการสรางโครงการตองมองผลกระทบใน
หลากหลายมิติ ดังนั้นประเทศไทยที่มีการดำเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามหลัก EIA ซึ่ง
มีประโยชนดังตอไปนี้
1. ทำใหเจ้าของโครงการพัฒนาโครงการดวยความรอบคอบมากยิ่งขึ้น
2. เพื่อบรรเทา ลด และปองกันผลกระทบที่เสียหาย
3. ช่วยใหการใช้ทรัพยากรเกิดประโยชนสุงสุด
4. เพื่อใหผูประกอบการเตรียมมาตรการลดผลกระทบ ติดตามตรวจสอบและลดผลกระทบ
5. เพื่อช่วยในการพิจารณาทางเลือกของโครงการใหเหมาะสม
6. เพื่อสนับสนุนใหมีการพิจารณาประเด็นทางสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
7. เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
8. ช่วยในการตัดสินใจ
9. ทำให ประชาชนมีความเข้าใจ ผลดี ผลเสียของโครงการ ลดการโตแยง
10. ช่วยใหคุณภาพชีวิตของผูเกี่ยวข้องไดรับการคุ้มครอง ทำใหประชาชนผูมีรายไดนอยที่
อาจไดรับผลกระทบจากโครงการไดรับการพิจารณาชดเชย
เมื่อมีนโยบายในการประเมินความเสี่ยงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในการขออนุญาตทำ
โครงการใดๆ ที ่ มี การสร า งอาคาร มี ข้ อจำกั ด คื อ มี ค่ า ใช้ จ่ าย ในการทำประเมิ นผลกระทบต อ
สิ่งแวดลอม ใช้เวลานานในการพิจารณาประเมิน เนื่องจากการประเมินผลกระทบตองใช้อาศัย
ความเชี ่ ย วชาญและความรอบคอบ เช่ น โครงการเขื ่ อ นแม ว งก์ นครสวรรค์ ขาดผู  เ ชี ่ ย วชาญ
ทำบัญชีสัตวปา การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเปนการคาดคะเน การคาดคะเนอาจไมมีผลสำหรับ
การดำเนินงานระยะยาวได เช่นโครงการพัฒนาแหลงน้ำใหผลตอบแทนดานเศรษฐกิจ ประชาชนมี
พื้นที่เกษตรมากขึ้นแตในความเปนจริงอาจไมทำการเกษตรกรรมตามที่วิเคราะหไวหรืออาจคาดการณ
365

วาจะเกิดโรคระบาดทางน้ำเพราะแหลงน้ำเพิ่ม พาหะของโรคพยาธิใบไมในเลือด โรคมาเลเรียจะเพิ่ม


แตการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ สุขอนามัยสวนบุคคลและการเฝาระวังโรค การรณรงค์ใหความรูกับ
ประชาชน ทำใหไมเกิดการเพิ่มของโรค
กรณีศึกษา การสรางรถไฟฟาเปนโครงการประเภทคมนาคม ตองมีการดำเนินงานดาน
สิ่งแวดลอม และสุขภาพของผูเกี่ยวข้องทั้งหมดในการสรางรถไฟฟา (HIA) โดยตองมีคู่มือการ
ปฏิบัติงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการรถไฟฟาในความรับผิดชอบของ
การรถไฟฟาขนสงมวลชนแห งประเทศไทย (รฟม.) ในที่นี้จะขอยกตัวอยางการดำเนินงานดาน
สิ่งแวดลอมของรถไฟฟามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ซึ่งตองมีการเปดเผยตอสาธารณชน แหลงข้อมูล
การสรางโครงการรถไฟฟาของประเทศไทยกับมาตรการ EIA-HIA ซึ่งมีข้อมูลนโยบายดานความ
รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม สืบค้นไดจากเว็บไซต https://www.mrta.co.th/th/strategic-
sustainability-development?category_id=482 ซึ่งการพิจารณาดำเนินโครงการ ประกอบดวย
องค์ประกอบของการพิจารณาโครงการ ไดแก่ รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA-EHIA)
มีประเด็นสิ่งแวดลอมและสุขภาพพิจารณา ดังนี้
1. คุณภาพอากาศ ตองมีการตรวจสอบคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ออนไหว เช่น สถานศึกษา
สวนสาธารณะ เปนตน เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป
2. ก๊าซหรือไอเสียที่ปลอยออกจากรถและหัวรถจักรและยานพาหนะ
3. เสียง ที่เกิดขึ้นจากสถานี และแตรรถไฟ
4. แรงสั่นสะเทือน ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของรถไฟ
5. คุณภาพน้ำทิ้ง ตองมีการจัดระบบบำบัดน้ำเสียรวมระบบก่อนปลอยออกสูสาธารณะ
6. สารเคมีที่ใช้ในระบบทำความเย็น จะตองมีพื้นที่สำหรับจัดเก็บเปนสัดสวนและหากตอง
กำจัดจะตองแยกประเภทสารเคมีก่อนนำไปกำจัดโดยบริษัทรับกำจัดของเสียจากสารเคมีที่ไดรับ
ใบอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
7. ชีวอนามัยและความปลอดภัย ไมวาจะเปนการตรวจสอบความพรอมของขบวนรถไฟฟา
พนักงานควบคุมรถและพนักงานตำแหนงอื่น ๆ ความพรอมของบันไดเลื่อนและลิฟทสำหรับอำนวย
ความสะดวกใหแก่บุคคลทั่วไปและคนพิการ ความปลอดภัยของอุโมงค์รถไฟฟา การรักษาความ
ปลอดภัยโดยเจ้าหนาที่รักษาความปลอดภัย และเจ้าหนาที่กู้ภัย มีคู่มือการจัดการเหตุการณฉุกเฉิน
แผนการอพยพผูคนเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน ลดผลกระทบตอผูปฏิบัติงานและผูใช้บริการรถไฟฟา
366

รายงานการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการ
ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม และ รายงานการประชุมคณะกรรมการควบคุม กำกับ และ
ดูแลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม
367

สรุปทายบท
เมื่อโลกมีใบเดียว มนุษยเกิดมาตองพึ่งพาอาศัยโลกเพื่อความอยูรอดและการดำรงชีวิต มนุษย
เปนสวนหนึ่งของสิ่งแวดลอมภายในโลก เหตุใดมนุษยตองทำลายเพื่อนรวมโลกดวย ทั้ง ๆ ที่เพื่อนรวม
โลกกับมนุษยคือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมลวนแลวแตใหคุณประโยชนมากมายใหแก่มนุษย
ทำใหมนุษยคิดค้นประดิษฐสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อตอบสนองความตองการของตนเองอยางไมมีที่
สิ้นสุด แตสุดทายเมื่อทุกอยางไดมาฟรี มนุษยกลับไมเห็นคุณค่า นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้โดยไม
คำนึงถึงความเสียหายเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งมนุษยยังสรางมลพิษ
สิ่งแวดลอมมากมาย หากมนุษยยังไมใสใจในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สุดทาย
ความหายนะจะสะท อ นกลั บ มายั ง มนุ ษ ย ท ุ ก คนบนโลก การอนุ ร ั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดลอม มีหลักการ 8 ประการ การนำมาใช้ไมสามารถใช้ข้อใดข้อหนึ่งไดผลดี จะตองเลือกใช้แตละ
ข้อใหเหมาะสมกับทรัพยากรธรรมชาตินั้น ๆ รวมทั้งแนวทางอนุรักษสิ่งแวดลอมตามพระราชดำริของ
ในหลวงรัชกาลที่ 9 จะเปนประโยชนตอชุมชน สังคมและประเทศ นอกจากนั้นการใช้ศาสตรดานตาง
ๆ เป น แนวทางในการส ง เสริ ม การอนุ ร ั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ได แ ก่ การใช้ ว ิ ท ยาศาสตร แ ละ
เทคโนโลยีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การใหการศึกษาและสรางคุณธรรมจริยธรรมในจิตใจมนุษย การ
ใช้ความรูทางเศรษฐศาสตร การใช้สื่อประชาสัมพันธ สื่อออนไลน สื่อดิจิทัล การใช้ผูที่ประชาชนชื่น
ชอบชื่นชมมาช่วยประชาสัมพันธวิธีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหคงสภาพเดิม
อยางยั่งยืน และที่สำคัญการใช้กฎหมายบังคับและมีบทลงโทษที่เข้มแข็งชัดเจนเพื่อการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมคงเปนสิ่งที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการบริหารจัดการประชากร
จำนวนมากในประเทศ โรงงานอุตสาหกรรมตองปฏิบัติตามข้อบังคับตามมาตรฐานการจัดการ
สิ่งแวดลอม (ISO 14000) เพื่อการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนทั้งใน
ประเทศและโลกของเรา
368

แบบฝกหัดทายบทที่ 7
1. เพราะเหตุใดมนุษยจึงตองอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

2. หลักในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมรูจักหมด มีการดำเนินการอยางไรไดบาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

3. อุปสรรคในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีสาเหตุมาจากสิ่งใดบาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
369

4. วิธีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนมีอะไรบาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

5. การประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เมื่อตองการดำเนินการสรางโครงการใดโครงการหนึ่งขึ้นใน
ประเทศไทยสำหรับโครงการภาครัฐ จะตองมีการศึกษาผลกระทบหลักดานใดบาง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
370

เอกสารอางอิง
กอบกุล รายะนาคร. (2550). กฎหมายกับสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพวิญูชน จำกัด.
กอบกุล รายะนาคร. (2558). การปฏิรูประบบสถาบันและกฎหมายเพื่อแก้ไขปญหาขยะพิษจาก
อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ.
เกษม จันทรแก้ว, สนิท อักษรแก้ว, สมพร อิศวิลานนท, สามัคคี บุณยะวัฒน, สากล สถิตวิทยานันท,
จำนง อดิวัฒนสิทธิ์, มณจันทร เมฆธน, ปราโมทย ประจนปจจนึก, ธีรภาพ เจริญวิริยะภาพ, พุทธ
พร ส อ งศรี และ สารั ฐ ประไพ. (2545). สิ ่ ง แวดล อ ม เทคโนโลยี แ ละชี ว ิ ต . กรุ ง เทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. (2557). สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต.
พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ธเนศ ศรี ส ถิ ต . (2549). เทคโนโลยี ส ะอาดและการนำไปใช้ เ พื ่ อ ลดต น ทุ น การผลิ ต . กรุ ง เทพฯ:
สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ณัฐญา อัมรินทร. (2562). พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
ดวงฤทัย เขมะไชเวช, ชนกชนม แสงจันทร, พลพัฒน รวมเจริญ และ สุชีวรรณ ยอยรูรอบ. (2565).
การยอยสลายทางชีวภาพของแผนพลาสติกชีวภาพจากแปงมันสำปะหลังและแปงสาคู. วารสาร
หนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู. 13 (1): 60-70.
ทิพยอนงค์ จินตวิจิต. (2563). จากความตายของมาเรียมสูการเลิกใช้พลาสติกในประเทศไทย. วารสาร
นิเทศศาสตรธุรกิจบัณฑิตย. 14 (2): 241-269.
นิวัติ เรืองพานิช. (2537). การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรงเทพฯ:
สหมิตรออฟเซท.
เบญจมาภรณ วัฒนธงชัย, พุทธธิดา รัตนะ และไพราณี สุขสุเมฆ. (2564). วารสารธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม. 10 (3): 12-18.
ปยะดา วชิระวงศกร. (2562). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ภาณี คูสุวรรณ. (2545). การัจดการสิ่งแวดลอมเบื้องตน. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพเอมพันธ
จำกัด.
ศศินา ภารา. (2550). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท.
371

สำนักงานกองทุนสิ่งแวดลอม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.
(2556). จากตนสายสูปลายน้ำ. นนทบุร:ี บริษัทอัพทรูยู ครีเอท นิว จำกัด.
โสภารั ต น จารุ ส มบั ต ิ . (2551). นโยบายและการจั ด การสิ ่ ง แวดล อ ม. กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
อรุณ ชาญชัยเชาววิวัฒน, สุวินัย เกิดทับทิม และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2559). การนำจุลินทรียมา
ใช้ประโยชนในระบบเกษตรกรรมแบบยั่งยืน. วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ
สิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู. 7(2): 398-413.
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ. (2556). กฎหมายวาดวยความเสียหายทางสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ
แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
อำนาจ วงศบัณฑิต. (2550). กฎหมายสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ
วิญูชน จำกัด.
Wilson, E.O. and Peter Frances M. (1988). Biodiversity. Washington, D.C.: National
Academy Press.
372

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2563). กฎหมายและมาตรฐาน
[online]. แหลงที่มา: https://www.pcd.go.th/laws/ วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม 2564.
ชาญวิทย (2562). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม [online]. แหลงที่มา: https://www.onep.
go.th/การประเมินผลกระทบสิ่งแ/ วันที่สืบค้น 12 มีนาคม 2566.
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. (2562). การค้าสัตวปาทั่วโลกกำลังนำไปสูการลดลงของสัตวปาหลากหลาย
สายพันธุ [online]. แหลงที่มา: https://www.seub.or.th/bloging/news/การค้าสัตวปาทั่ว
โลก-ก/ วันที่สืบค้น 5 เมษายน 2566.
อวิ ก ารั ต น นิ ย มไทย. (2553). การประเมิ น ผลกระทบสิ ่ ง แวดล อ ม [online]. แหล ง ที ่ ม า:
http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/refor
m/reform12.pdf วันที่สืบค้น 12 มีนาคม 2566.
PPTV online. (2560). 10 สัตวปาที่ถูกลักลอบซื้อขายมากที่สุดในเขตสามเหลี่ยมทองคำ. [online].
แหลงที่มา: https://www.pptvhd36.com/news/ประเด็นรอน/68729 วันที่สืบค้น 5 เมษายน
2566.
373

บทที่ 8
การประยุกตใช้วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิต

8.1 บทนำ
เมื่อมนุษยพยายามเรียนรูธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มนุษยบางกลุมยอมอยูภายใตกฎเกณฑ
ของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เมื่อใดเกิดภัยธรรมชาติขึ้น มนุษยกลุมนี้ไดรับผลกระทบและเกิดการ
สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสิน ในขณะที่มนุษยบางกลุมไมตองการอยูภายใตกฎเกณฑของธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม จึงพยายามคิดหาวิธีการมากมาย ผานกระบวนการการเรียนรูทางวิทยาศาสตร ทำการ
ทดลอง เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียที่เกิดจากภัยธรรมชาติ จึงเกิดเปนความก้าวหนาทางวิทยาศาสตร
เพื่อสรางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในดานตาง ๆ โดยมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนฐาน
เนื่องจากมนุษยตองพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในการสรางปจจัย 4 เมื่อเวลาผานไป
วิวัฒนาการของความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง อาทิเช่น
ความก้าวหนาทางการศึกษา ความก้าวหนาทางการแพทย ความก้าวหนาของคอมพิวเตอรและระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรประยุกต ความก้าวหนาทางศิลปะวัฒนธรรม
ความก้าวหนาทางการตลาดและบริการสินค้าแบบออนไลน ความก้าวหนาทางการบริหารและระบบ
ขนส ง โลจิ ส ติ ก ส ความก้ า วหน า ทางดาราศาสตร แ ละอวกาศ ความก้ า วหน า ทางด า นความสวย
ความงามและศาสตรชะลอวัย เปนตน ความคิดสรางสรรค์ของมนุษยจึงมีความสำคัญตอการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวย มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่มีสมองและสามารถคิดค้นกระบวนการ
ที่จะนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ใหนอย แตเกิดประโยชนมาก ดังนั้นการดูแลรักษาสมดุลของระบบ
นิเวศและสิ่งแวดลอมใหเกิดความยั่งยืน บูรณาการองค์ความรูทางวิทยาศาสตรเพื่อสรางเทคโนโลยี
และนวัตกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม แก้ไขปญหาสิ่งแวดลอม เพื่อใหทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ ่ ง แวดล อ มคงอยู  ใ นสภาพที ่ ด ี ด ั ง เดิ ม ล ว นต อ งพึ ่ ง พากระบวนการคิ ด ของมนุ ษ ย ท ั ้ ง หมด ซึ่ ง
สิ่งเหลานี้สงผลโดยตรงตอคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของมนุษย
374

8.2 กรณีศึกษาโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริดานทรัพยากรน้ำ
เปนที่ทราบทั่วกันวา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรง
มี พ ระปรี ช าสามารถด า นการคิ ด เชิ ง วิ ท ยาศาสตร พระองค์ ท รงคิ ด ค้ น วิ ธ ี ก ารด ว ยหลั ก การทาง
วิทยาศาสตรอยางง่ายและทรงสามารถสรางเทคโนโลยีที่เหมาะสมตอการใช้งานเพื่อแก้ไขปญหา
มลพิษทางน้ำที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
8.2.1 นวัตกรรมกังหันน้ำชัยพัฒนา
สำหรับการแก้ไขปญหามลพิษทางน้ำ มูลนิธิมั่นพัฒนา (2566) และ นุศวดี (2561) ไดอธิบาย
เกี่ยวกับการสรางกังหันน้ำชัยพัฒนา เพื่อช่วยแก้ไขปญหาน้ำเสียไววา นวัตกรรมนี้ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อ
แก้ปญหาน้ำเนาเสียที่เกิดจากการขาดออกซิเจนในน้ำ โดยมีกลไกการทำงานที่เรียบง่าย แตมี
ประสิทธิภาพในการทำงานสูงในการบำบัดน้ำเสีย ดวยรูปแบบของกังหันน้ำชัยพัฒนา สามารถนำไปใช้
ไดทุกพื้นที่ที่ประสบปญหาน้ำเนาเสีย ทั้งแหลงชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม บอเพาะเลี้ยงสัตวน้ำทาง
การเกษตร เนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดำรัสตอ
ปญหาน้ำเสียวา ภายใน 10 ปที่ผานมา พระองค์ไดเสร็จดวยเฮลิคอปเตอรวนกรุงเทพฯหลายครั้ง แลว
สังเกตพบวา บริเวณที่มีคลอง โดยเฉพาะคลองพระโขนงตรงสวนปลาย คลองผดุงกรุงเกษมสีของน้ำ
เปนสีดำ รวมไปถึงแมน้ำเจ้าพระยาน้ำกลายเปนสีดำ และมีขยะสิ่งสกปรกปนเปอน ซึ่งสิ่งสกปรก
เหลานั้นไดไหลไปตามเสนทางลงไปในทะเล ทำใหทะเลมีสิ่งสกปรกปนเปอนไปดวย เปนสาเหตุหลักที่
ทำใหสัตวน้ำ สัตวทะเลเสียชีวิต (พระราชดำรัส, 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2532) จากพระราชดำรัสของ
พระองค์ พบวาสาเหตุหนึ่งของปญหาสิ่งสกปรกปนเปอนในแหลงน้ำคือ การทิ้งสิ่งปฏิกูลลงไปในแหลง
น้ำจนเกิดมลพิษทางน้ำ ทำใหน้ำเสื่อมคุณภาพ เกิดเปนน้ำเสีย น้ำมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพ
ธรรมชาติ จนไมสามารถนำมาใช้เพื่อการดำรงชีวิตของมนุษย และสิ่งมีชีวิตอื่น เนื่องจากมีการ
ปนเปอ น ของสารอินทรีย และสารอนินทรียอยูมาก น้ำที่มีสีผิดปกติไปจากเดิม มีกลิ่นเหม็น มีเศษขยะ
ลอยอยูบนผิวน้ำ รวมทั้งน้ำที่มีอุณหภูมิสูงผิดปกติจะทำใหไมเหมาะตอการอยูอาศัยของสัตวน้ำ ไม
เหมาะตอการบริโภคและอุปโภคของมนุษย
การแก้ไขปญหาน้ำเนาเสียมีหลากหลายวิธี ในหนังสือ บึงประดิษฐบำบัดน้ำเสีย: หลักพื้นฐาน
และกรณีศึกษา (พันธทิพย, 2565) และคู่มือ ระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน (กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2560) ไดอธิบายไววา การบำบัดน้ำเสียมีวิธีการบำบัดทาง
กายภาพ เปนวิธีที่ใช้อุปกรณ เช่น ตะแกรงตักขยะ หรือ ถังดักไขมันและน้ำมัน เปนตน การบำบัดทาง
375

เคมี เปนวิธีที่ใช้สารเคมีช่วยใหมลสารในน้ำที่มีลักษณะแขวนลอยขนาดเล็กเกิดการตกตะกอน คัดแยก


ออกจากน้ำไดง่าย เปนตน และการบำบัดทางชีวภาพ เปนวิธีที่ใช้จุลินทรีย หรือพืชมาช่วยในการดูด
ซับมลสารในน้ำ และเก็บไปกำจัดตอไดง่าย เปนตน กรณีการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพดวยวิธีธรรมชาติ
โดยใช้ผักตบชวาช่วยกรองของเสียที่ปนเปอนในน้ำไปสะสมไวในผักตบชวา เปนอีกวิธีหนึ่งที่เปนมิตร
กับสิ่งแวดลอม แตปญหาของการใช้ผักตบชวานั้น ตองมีวิธีควบคุมการแพรกระจายตัวของผักตบชวา
ไมใหเต็มแหลงน้ำดวย ไมเช่นนั้น ผักตบชวาที่เจริญปกคลุมผิวน้ำจะบดบังแสงแดด เพราะหาก
ผักตบชวาตายลง กลายเปนขยะอินทรียที่อยูในแหลงน้ำแทน รวมทั้งไมสามารถปลอยออกซิเจนให
แบคทีเรียที่ใช้ออกซิเจนยอยสลายสารอินทรียในน้ำเสียไดอยางเพียงพอ วิธีธรรมชาตินี้จึงใช้ไมค่อย
ไดผลดีในระยะยาว ตอมาในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงไดรับแรงบันดาลใจในการสรางกังหันน้ำชัยพัฒนา
จาก หลุก กังหันวิดน้ำที่ทำดวยไมไผจากภูมิปญญาทองถิ่นทางภาคเหนือของประเทศไทย กังหันน้ำที่
สร า งขึ ้ น จะช่ ว ยเติ ม ออกซิ เ จนให ก ั บ แหล ง น้ ำ ใช้ ว ั ส ดุ ท ี ่ ห าง่ า ยต อ การสร า ง วั ส ดุ ท ี ่ ใ ช้ เ ป น วั ส ดุ
ภายในประเทศ มีความแข็งแรง ใช้งานไดนานโดยไมเปนสนิมเพราะอยูในน้ำ ง่ายตอการประกอบ
ขนสง ติดตั้ง ใช้งาน การซ่อมบำรุงรักษา ใช้ประโยชนไดอเนกประสงค์ รวมทั้งมีราคาไมแพง มีการ
ออกแบบตนแบบกังหันน้ำและหลักการการเติมอากาศ ทั้งหมด 9 รูปแบบ แตละรูปแบบมีหลักการ
การเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสระหวางอากาศกับน้ำเสียใหไดมากที่สุด เพื่อเพิ่มการละลายออกซิเจนใหกับ
แหลงน้ำและสามารถทำงานรวมกับจุลินทรียที่มีคุณสมบัติช่วยบำบัดน้ำเสียไดดวย มีการวางแผนเพื่อ
ทดลองใช้จริงในแหลงน้ำ โดยติดตั้งในสถานที่หลากหลายเพื่อศึกษาวิจัย และพัฒนากังหันน้ำใหได
ตนแบบที่ดีและเหมาะสมตอการใช้งานมากที่สุด มีการตรวจวัดค่าที่ระบุคุณภาพน้ำก่อนและหลังการ
ติดตั้งกังหันน้ำ ไดแก่ ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรียตองการใช้ในการยอยสลายสารอินทรียในน้ำ
(BOD) ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO) จากนั้นทำการประเมินผล กังหันน้ำที่เหมาะสมตอการ
ใช้งานมากที่สุด มีลักษณะดังภาพที่ 8.1 และมีกลไกของระบบการทำงานเครื่องกลเติมอากาศในแหลง
น้ำ กังหันน้ำชัยพัฒนา ดังภาพที่ 8.2
ประโยชนของนวัตกรรมกังหันน้ำชัยพัฒนา
1. ช่วยเพิ่มออกซิเจนในน้ำ ทำใหสัตวน้ำดำรงชีวิตอยูได รวมทั้งจุลินทรียดีในน้ำสามารถเจริญ
และรักษาสมดุลไมใหจุลินทรียสาเหตุที่ทำใหเกิดน้ำเนาเสียเจริญได
2. ช่วยบำบัดน้ำเสียใหเปนน้ำที่มีคุณภาพดีเหมาะแก่การอุปโภคบริโภค
3. ช่วยลดโอกาสการเกิดโรคระบาดที่มาจากแหลงน้ำเนาเสีย
376

ภาพที่ 8.1 เครื่องกลเติมอากาศในแหลงน้ำ กังหันน้ำชัยพัฒนา


มาจาก: นุศวดี (2561)

ภาพที่ 8.2 กลไกของระบบการทำงานเครื่องกลเติมอากาศในแหลงน้ำ กังหันน้ำชัยพัฒนา


มาจาก: นุศวดี (2561)

8.2.2 ฝนหลวงพระราชทาน
หลายพื้นที่ของจังหวัดในประเทศไทยประสบกับปญหาภัยแลง ขาดแคลนน้ำ น้ำไมเพียงพอ
ตอการอุปโภคบริโภค ทำปศุสัตว และทำการเกษตร เมื่อเกิดภัยพิบัตินี้ติดตอกันนานหลายป ไมมี
วิธีการแก้ไขปญหา สมฤทัย (2549) และ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร (2560) ไดอธิบายเรื่องราว
377

เกี่ยวกับ ตำราฝนหลวง ไววา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรง


หวงใยราษฎรที่ประสบปญหาดานทรัพยากรน้ำ ดวยพระปรีชาสามารถจึงมีพระราชดำรัสกับผูที่มี
หนาที่รับผิดชอบในการดูแลเรื่องน้ำวา ทำอยางไรเราจะดึงเมฆลงมาได เราทำฝนได ในหลวงรัชกาลที่
9 ทรงประยุ ก ต อ งค์ ค วามรู  ท างวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ท ั ้ ง ด า นฟ ส ิ ก ส เคมี อุ ต ุ น ิ ย มวิ ท ยา
วิ ศ วกรรมศาสตร แ ละการใช้ ป ระโยชน จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ ม าบู ร ณาการเข้ า ด ว ยกั น เพื่ อ
ทำการค้นควาหาวิธีในการทำฝนไดเอง ซึ่งเรียกวา ฝนเทียม การทำฝนเทียมเริ่มมีการทดลองครั้งแรก
ในป 2512 มีการทดลองและปรับแก้ไข พัฒนาจนประสบความสำเร็จเกิดฝนไดจริงในป 2514 ในวันที่
14 พฤศจิกายนของทุกป ถือใหเปนวันพระบิดาแหงฝนหลวง ในป 2542 ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงแนะ
กรรมวิธีในการทำฝนเทียมที่เรียกวา ซุปเปอรแซนวิช ที่เกิดจากการคิดค้นและพัฒนากรรมวิธีขึ้นมา
ใหมรวมกับการใช้คอมพิวเตอรออกแบบ บันทึกเนื้อหาเปนตำราฝนหลวงพระราชทาน มีขั้นตอนการ
ทำ 6 ขั้นตอน ดังภาพที่ 8.3 ประกอบดวย
1. ขั้นตอนที่ 1 เรียกวา ก่อกวน เริ่มตนขั้นตอน จะใช้เกลือโซเดียมคลอไรด (NaCl) ชนิดผง
ละเอียด โปรยที่ระดับความสูง 7,000 ฟุต ในบริเวณที่ทองฟาโปรง หรือมีเมฆเล็กนอย มีความชื้น
สัมพัทธไมนอยกวารอยละ 60 ผงเกลือจะดูดความชื้นไดอยางมีประสิทธิภาพเปนแกนกลั่นตัว
ความชื้นและไอน้ำจะไปเกาะรอบแกนเกลือกลายเปนเม็ดน้ำเร็วกวาธรรมชาติ แลวรวมตัวกันเปนก้อน
เมฆขยายขนาดใหญ ขั้นตอนนี้เปนวิธีดัดแปรสภาพอากาศ เรงใหเกิดเมฆขนาดใหญเพื่อเกิดเปนน้ำฝน
2. ขั้นตอนที่ 2 เรียกวา เลี้ยงใหอวน ขั้นตอนนี้ จะใช้แคลเซียมคลอไรด (CaCl2) ชนิดผง
ละเอียด โปรยเข้าไปในกลุมเมฆที่สรางขึ้นที่ระดับความสูง 8,000 ฟุต ผงแคลเซียมคลอไรดจะดูดซับ
ความชื้นและเม็ดน้ำขนาดเล็กในก้อนเมฆจนเกิดเปนเม็ดน้ำขนาดใหญ ในขณะเดียวกันผงแคลเซียม
คลอไรดจะคลายความรอนและมีไอน้ำเกิดขึ้น ยิ่งช่วยเรงแรงยกตัวของมวลอากาศภายในก้อนเมฆให
สูงขึ้น พรอมทั้งเรงการกลั่นตัวของไอน้ำและการรวมตัวกันของเม็ดน้ำภายในก้อนเมฆทำใหก้อนเมฆมี
ขนาดใหญยกตัวสูงขึ้นถึงระดับ 15,000 ฟุต เรียกวา เมฆอุน หากก้อนเมฆมีขนาดใหญมีแรงยกตัว
สูงขึ้นถึงระดับ 20,000 ฟุต เรียกวา เมฆเย็น
3. ขั้นตอนที่ 3 เรียกวา โจมตีเมฆอุน แบบแซนวิช เมื่อก้อนเมฆมีขนาดใหญพอเหมาะและ
ยอดเมฆอยูที่ระดับ 10,000 ฟุต แลว จะใช้เครื่องบิน 2 ลำ ลำแรกจะทำการบินโปรยผงเกลือ
โซเดียมคลอไรดทับยอดเมฆทางดานเหนือลมของก้อนเมฆ ลำที่ 2 โปรยผงยูเรียที่ระดับชิดฐานเมฆ
ทางดานใตลม โดยเครื่องบินแตละลำจะมีแนวโปรยทำมุมกัน 45 องศา ผงเกลือโซเดียมคลอไรดทำให
378

เกิดเม็ดน้ำ สวนผงยูเรียจะดูดความรอนทำใหอุณหภูมิโดยรอบเย็นลง เรงเม็ดน้ำใหมีขนาดใหญขึ้น


อยางรวดเร็ว และตกลงมาที่ฐานเมฆ
4. ขั้นตอนที่ 4 เรียกวา เสริมการโจมตี เมื่อฝนใกลตกแลวแตยังตกลงไปไมถึงพื้นดิน จึงตองมี
วิธีการเรงใหฝนตกดวยการใช้เกล็ดน้ำแข็งแหง (CO2) ในรูปของแข็ง โปรยที่บริเวณต่ำกวาฐานเมฆ
ประมาณ 1,000 ฟุต เพื่อใหอุณหภูมิบริเวณนี้ลดลง ฐานเมฆลอยต่ำลงมา ทำใหฝนตกทันที น้ำระเหย
ออกจากเม็ดฝนนอยลง ทำใหฝนตกตอเนื่องนานขึ้นและหนาแนนมากขึ้นดวย
5. ขั้นตอนที่ 5 เรียกวา โจมตีเมฆเย็น แบบธรรมดา กรณีเมฆในขั้นตอนที่ 2 ก่อตัวสูงจนเกิด
เปนก้อนเมฆเย็น จะใช้ซิลเวอรไอโอไดด (AgI) ยิงเปนพลุเข้าสูยอดเมฆที่ระดับ 21,500 ฟุต ทำใหเกิด
ผลึกน้ำแข็งบริเวณยอดเมฆมากขึ้น ความรอนแฝงที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของสารที่ใช้ทำใหเกิดกระแส
อากาศแปรปรวน ผลึกน้ำแข็งจะขยายขนาดใหญขึ้นแลวกลายเปนหยดน้ำฝนตกลงสูพื้นดิน
6. ขั้นตอนที่ 6 เรียกวา โจมตีแบบซุปเปอรแซนวิช กรณีเมฆในขั้นตอนที่ 2 มีทั้งเมฆอุนที่อยู
ดานลาง และเมฆเย็นที่อยูดานบน จะตองใช้เครื่องบินอยางนอย 3 ลำ โดยลำบนสุดจะยิงพลุ
ซิลเวอรไอโอไดดเข้าสูยอดเมฆที่ระดับ 21,500 ฟุต ลำที่ 2 จะทำการบินโปรยผงเกลือโซเดียมคลอไรด
ทับยอดเมฆทางดานเหนือลมของก้อนเมฆที่ระดับ 9,000 ถึง 10,000 ฟุต ลำที่ 3 โปรยผงยูเรียที่ระดับ
ชิดฐานเมฆทางดานใตลม โดยเครื่องบินลำที่ 2 และลำที่ 3 จะมีแนวโปรยทำมุมกัน 45 องศา หากใต
ฐานเมฆยังรอนเกินไป สามารถใช้เครื่องบินอีกลำเสริมการโจมตีดวยเกล็ดน้ำแข็งแหงโปรยที่บริเวณต่ำ
กวาฐานเมฆประมาณ 1,000 ฟุต เพื่อใหอุณหภูมิบริเวณนี้ลดลง ฐานเมฆลอยต่ำลงมา ทำใหฝนตก
ทันที
379

ภาพที่ 8.3 แผนภาพวิธีการทำฝนหลวงพระราชทาน


มาจาก: กรมฝนหลวงและการบินเกษตร (2560)

กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการทำฝนเทียมนี้ เปนนวัตกรรมของประเทศ
ไทย เปนเทคนิคที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวรัชกาลที่ 9 ทรงคิดค้นขึ้นและพัฒนาอยางตอเนื่อง
ดวยความวิริยะอุตสาหะ จนสามารถใช้ไดจริงในพื้นที่ฝนแลงในประเทศไทย จึงไดรับการทูลเกลาฯ
ถวายสิทธิบัตรเลขที่ 13898 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2545
380

ประโยชนของฝนหลวง
1. ดานการเกษตร มีการรองขอฝนหลวงเพื่อแก้ไขปญหาขาดแคลนน้ำในช่วงที่เกิดฝนแลง
หรือฝนทิ้งช่วงยาวนาน ซึ่งมีผลกระทบตอพื้นที่ผลิตทางการเกษตรที่กำลังใหผลผลิต
2. ดานการอุปโภค บริโภค การทำฝนหลวงไดช่วยตอบสนองภาวะความตองการ น้ำกิน น้ำใช้
ที่ทวีความรุนแรงมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากคุณสมบัติของดินในภูมิภาคนี้ เปน
ดินรวนปนทรายไมสามารถอุมซับน้ำได จึงไมสามารถเก็บกักน้ำไวได
3. ดานการแก้ไขปญหาคุณภาพน้ำ พื้นดินของภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแหลงหินเกลือเปน
จำนวนมากและครอบคลุมพื้นที่กวางขวาง หากอางเก็บน้ำขนาดเล็กและขนาดกลางเกิดมีปริมาณน้ำ
เหลือนอย สงผลใหน้ำมีสภาพเปนน้ำกรอยหรือน้ำเค็ม ไมสามารถนำมาใช้ได การทำฝนหลวงมี
ความจำเปนมากในการช่วยบรรเทาปญหานี้
4. ดานการเสริมสรางเสนทางคมนาคมทางน้ำ เมื่อปริมาณน้ำในแมน้ำลดต่ำลง จนไมสามารถ
สัญจรไปมาทางเรือได จึงตองมีการทำฝนหลวงเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำใหกับแมน้ำ เนื่องจากปริมาณน้ำมี
ความจำเปนตอการคมนาคม เพราะการขนสงสินค้าทางน้ำเสียค่าใช้จ่ายนอยกวาทางอื่น และ
การจราจรทางน้ำยังเปนอีกช่องทางหนึ่ง สำหรับผูที่ตองการหลีกเลี่ยงปญหาการจราจรทางบก
5. ดานการปองกันและบำบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดลอม หากน้ำในแมน้ำเจ้าพระยาลด
นอยลงเมื่อใด น้ำเค็มจากทะเลอาวไทยจะหนุนเข้าไปแทนที่ทำใหเกิดน้ำกรอย และสรางความเสียหาย
แก่เกษตรกรเปนจำนวนมาก ดังนั้นการทำฝนหลวง จึงช่วยบรรเทาภาวะดังกลาว และยังช่วยในเรื่อง
ของสิ่งแวดลอมที่เปนพิษอันเกิดจากการระบายน้ำเสียทิ้งลงสูแมน้ำเจ้าพระยา โดยปริมาณน้ำจาก
ฝนหลวงจะช่วยผลักน้ำเสียที่เปนพิษใหออกสูทองทะเล ทำใหมลพิษจากน้ำเสียเจือจางลง
6. ดานการเพิ่มปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์เพื่อผลิตกระแสไฟฟา เมื่อเกิดปญหา
การขาดแคลนพลังงานไฟฟาใช้ เนื่องจากมีความตองการใช้ไฟฟาในปริมาณที่สูงมาก ดังนั้นเมื่อเกิด
ภาวะวิกฤติ โดยระดับน้ำเหนือเขื่อนมีระดับต่ำมากจนไมเพียงพอตอการใช้พลังงานน้ำในการผลิต
กระแสไฟฟา การทำฝนหลวงจึงมีความสำคัญในการเพิ่มปริมาณน้ำใหกับเขื่อน
381

8.2.3 โครงการแก้มลิง
เหตุการณน้ำทวมในกรุงเทพมหานครเมืองหลวงของประเทศไทย ก่อใหเกิดปญหาน้ำทวมขัง
รอการระบาย เกิดขึ้นเสมอในช่วงฤดูฝน เปนปญหาที่มีมานาน ยังไมมีแนวทางในการแก้ไขปญหานี้ได
อยางมีประสิทธิภาพ มีเพียงวิธีที่ช่วยบรรเทาน้ำทวมขัง เหตุการณน้ำทวมในกรุงเทพมหานคร
เมืองหลวงของประเทศไทย ฉันทนา (2539) ไดกลาววา ดวยความหวงใยความทุกข์ยากของราษฎร
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำริจัดทำโครงการ
แก้มลิง เพื่อแก้ปญหาน้ำทวมในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล โดยมีแนวคิดคือ เวลาลิงไดรับกลวย
ลิงจะรีบกินเข้าปาก และเมื่อมีคนใหกลวยอีก ถึงแมลิงจะยังกินไมหมดจะเก็บไวที่แก้มก่อน รับกลวย
ลูกใหมมากินจนเต็มกระพุงแก้ม จากนั้นจะนำออกมาเคี้ยวและกลืนตอจนหมดภายหลัง แนวคิดนี้
เลียนแบบธรรมชาติของการกินของลิง มาเก็บกังน้ำฝนที่ไหลเอาไวก่อน เพื่อรอเวลาระบายออก ดัง
ภาพที่ 8.4 ขั้นตอนวิธีการมีดังนี้ คือ
1. เมื่อฝนหยุดตกแลวมีน้ำทวมขัง เจ้าหนาที่จะทำการระบายน้ำออกจากพื้นที่ตอนบนให
ไหลไปตามคลองในแนวเหนือ-ใต ลงคลองพักน้ำขนาดใหญบริเวณชายทะเล ทำหนาที่เปนบอเก็บน้ำ
ขนาดใหญ เสมือนแก้มลิง
2. เมื่อระดับน้ำทะเลลดต่ำลงกวาระดับน้ำในคลอง ทำการระบายน้ำจากคลองผานประตู
ระบายน้ำ อาศัยทฤษฎีแรงโนมถวงของโลก ทำใหน้ำไหลจากพื้นที่สูงลงสูพื้นที่ต่ำ ตามธรรมชาติ
3. ทำการสูบน้ำออกจากคลองพักน้ำใหระบายออกไปสูทะเลใหไดมากที่สุด เพื่อรับน้ำทาง
ตอนบนใหค่อย ๆ ไหลลงมาเพิ่มเองอยางตอเนื่อง ทำใหปริมาณน้ำที่ทวมขังในพื้นที่ลดนอยลง
4. หากระดับน้ำทะเลสูงกวาระดับน้ำในคลองพักน้ำ ใหทำการปดประตู ปองกันไมใหน้ำ
ทะเลไหลกลับมายังคลองพักน้ำ อาศัยหลักน้ำไหลทางเดียว
ประโยชนของโครงการแก้มลิง
1. ช่วยบรรเทาอุทกภัยน้ำทวมขังไมสามารถระบายไปทางไหนไดในพื้นที่กรุงเทพฯ และ
ปริมณฑล
2. ในช่วงฤดูฝน จะช่วยระบายน้ำจากภาคเหนือลงสูอาวไทย และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ
ระบายน้ำตามคูคลองธรรมชาติไดอีกดวย
3. ปองกันการไหลเข้าของน้ำเค็มจากทะเลในช่วงฤดูแลง ปองกันความเสียหายไมใหไหลเข้าสู
แมน้ำลำคลองและพื้นที่การเกษตร ช่วยเก็บกักน้ำจืดไวดานเหนือประตูระบายน้ำ ทำใหมีน้ำเพียงพอ
382

ภาพที่ 8.4 ลักษณะและวิธีการแก้มลิงช่วยระบายน้ำทวมขัง


มาจาก: https://sites.google.com/site/kaemling05/laksna-laea-withi-kar-khxng-
khorngkar-kaem-ling

ตอความตองการของประชาชนในประเทศ มีน้ำกินน้ำใช้ เพื่อการอุปโภคบริโภค ทำการเกษตรปศุสัตว


และอุตสาหกรรม
4. ช่วยอนุรักษน้ำและสิ่งแวดลอม เมื่อน้ำถูกกักเก็บไวที่แก้มลิง ถึงเวลาระบายสูคูคลอง
ธรรมชาติจะไปช่วยเจือจางน้ำเนาเสียใหลดลง จนผลักดันใหน้ำเนาเสียที่มีอยูเดิมถูกระบายออกไปจน
หมดในที่สุด

8.3 กรณีศึกษาโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริดานทรัพยากรดิน
ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษย สัตว และพืช โดยเฉพาะพืช
ตองการดินเปนที่ยึดเกาะและดูดธาตุอาหารพืชที่มีอยูในดินเพื่อการเจริญเติบโต ผลิดอกออกผล และ
383

ขยายพันธุเพื่อดำรงสายพันธุไว เมื่อดินเกิดความเสียหาย จนเกิดเปนมลพิษทางดิน พระบาทสมเด็จ


พระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงหวงใยและเล็งเห็นถึงผลกระทบที่ตามมาหาก
ดินเกิดความเสื่อมโทรม พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถดานการคิดเชิงวิทยาศาสตร จึงทรงคิดค้น
วิธีการอยางง่าย เปนเทคโนโลยีที่เหมาะสมตอการใช้งานเพื่อแก้ไขปญหามลพิษทางดินที่เกิดขึ้นใน
ประเทศไทย
8.3.1 โครงการแกลงดิน
ดิน ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและจำเปนตอการดำรงชีวิตของมนุษย ประเทศไทยมีอาชีพ
หลักทำเกษตรกรรม ดินจึงมีความจำเปนตอการใช้ประโยชนเพื่อการปลูกพืช หากดินเสื่อมโทรม
เสียคุณภาพไมสามารถเพาะปลูกพืชได เกษตรกรไมมีผลผลิตพืชเพื่อการยังชีพสงผลใหเกษตรกรเกิด
ความยากจน ดินแตละภูมิภาคในประเทศไทยมีองค์ประกอบภายในที่แตกตางกัน ดินแตละจังหวัดมี
องค์ประกอบที่แตกตางกันอีกเช่นกัน สำนักพิมพสถาพรบุคส (2564) ไดอธิบายเรื่องราวเกี่ยวกับ
โครงการพระราชดำริ แกลงดิน ไววา ดวยความหวงใยราษฎรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว
ภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงเสด็จไปทั่วทุกที่ในประเทศไทย แลวพบวา พื้นที่ดิน
ในจังหวัดนราธิวาสจำนวนมากเปนที่ลุมต่ำ มีน้ำทวมขังตลอดป ดินมีคุณภาพต่ำ เมื่อระบายน้ำออก
จากพื้นที่จนหมด ดินยังไมสามารถใช้ประโยชนเพื่อการปลูกพืชได เพราะดินมีสารประกอบไพไรท ทำ
ใหเกิดกรดกำมะถัน เมื่อดินแหงทำใหดินเปรี้ยว จึงตองหาแนวทางแก้ไขดินเปรี้ยวและปรับปรุงดินใหดี
ขึ้น ใหเหมาะสมตอการปลูกพืช จึงเปนที่มาของการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ โครงการแกลง
ดิน เมื่อในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงทราบปญหาวา ดินเปรี้ยว จึงพระราชดำริใหจัดตั้งศูนยศึกษาเพื่อแก้ไข
ปญหาเรื่องดิน และพัฒนาเปนดินที่สามารถเพาะปลูกได ดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่นและการเลียนแบบวิถีธรรมชาติ ดังภาพที่ 8.5 มีขั้นตอนวิธีการ
ดังนี้
1. ขังน้ำควบคุมระดับน้ำใตดิน ปองกันการเกิดกรดกำมะถัน ตองควบคุมน้ำใตดินใหอยูเหนือ
ชั้นดินเลนที่มีสารไพไรทอยู ไมใหทำปฏิกิริยากับออกซิเจนหรือถูกออกซิไดซ์ได
2. การปรับปรุงดิน มี 3 วิธีการ ขึ้นอยูกับสภาพดิน ไดแก่
2.1 ใช้น้ำชะลางความเปนกรด ละลายธาตุเหล็กและอะลูมิเนียมใหเจือจางลง เพิ่มค่า pH
ใหมากขึ้น จากนั้นใสปุยไนโตรเจนและฟอสเฟต พืชสามารถเจริญเติบโตใหผลผลิตได
384

2.2 ใช้ปูนมารคผสมคลุกเคลาหนาดิน ปริมาณที่ใช้ขึ้นอยูกับความรุนแรงของความเปน


กรด ดังนั้นจะตองนำดินมาวัดค่าความเปนกรดก่อนใสปูนลงไป
2.3 ใช้วิธีผสมผสานระหวางใช้น้ำชะลางและปูนมารคผสมคลุกเคลาหนาดิน ควบคุมระดับ
น้ำใตดิน เปนวิธีที่ไดผลดีที่สุดในพื้นที่ที่ดินเปนกรดจัดรุนแรงและถูกปลอยทิ้งมานาน
3. การปรับสภาพพื้นที่ใหพรอมใช้งาน มี 2 วิธีการ คือ
3.1 การปรับระดับผิวหนาดินใหมีความลาดเอียง เพื่อใหน้ำไหลออกไปสูคลองระบายน้ำได
และทำการตกแตงแปลงนาและคันนาใหม เพื่อใหเก็บกักน้ำและระบายน้ำออกไดสะดวก
3.2 การยกรองปลูกพืช สามารถยกรองแบบเตี้ย ควรปลูกพืชสลับกัน ปลูกพืชผัก พืช
ลมลุก ไมผล พืชไร หมุนเวียนกับการปลูกข้าว

ประโยชนของโครงการแกลงดิน
1. ช่วยแก้ปญหาดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินพรุ ใหดินกลับมีคุณภาพเหมาะแก่การปลูกพืช แก้ไข
ปญหาความยากจนของเกษตรกรเมื่อไมมีพื้นที่ดินในการปลูกพืชได
2. ปรุงปรุงฟนฟูทรัพยากรดินใหมีคุณภาพดี เพื่อในประชาชนในประเทศไทยไดมีที่ทำกิน
สรางปจจัย 4 เพียงพอตอการดำรงชีวิต
3. สงเสริมการทำงานของจุลินทรียดินที่มีประโยชนในการเปลี่ยนรูปธาตุอาหารในดินใหพืชได
นำไปใช้ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
4. ทำใหประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองไดตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง

8.4 กรณีศึกษาองค์กรที่พัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการลดปริมาณการใช้กระดาษ
แนวทางการช่วยลดสภาวะโลกรอนที่เกิดจากการใช้กระดาษสีขาวในหนวยงานถูกกำหนด
ขึ้น ในปจจุบันก๊าซเรือนกระจกเพิ่มปริมาณจำนวนมากจากกิจกรรมของมนุษย จนเกิดปรากฏการณ
เรือนกระจกขึ้นที่ชั้นบรรยากาศของโลก จนทำใหเกิดสภาวะโลกรอน ที่สงผลกระทบทางดานลบ
มากมายตอคุณภาพชีวิตของมนุษย การดำรงชีวิตของสัตว พืช และจุลินทรีย ดังนั้นความตระหนักของ
ความรับผิดชอบตอสังคม จากการทำกิจกรรมของมนุษยที่สามารถช่วยลดปริมาณการปลอยก๊าซเรือน
กระจกไดจึงเปนแนวทางที่ควรปฏิบัติเพื่อช่วยลดความรอนใหกับโลกที่เราอาศัยอยู ในขณะเดียวกัน
385

ภาพที่ 8.5 แนวปฏิบัติของโครงการแกลงดิน


มาจาก: https://www.facebook.com/pidthong/photos/แกลงดิน-แนวพระราชดำริเพื่อ
แก้ปญหาดินเปรี้ยวใหเกษตรกรไทยสืบเนื่องจากพระบาทสมเด/2658990404140164/

เมื่อองค์กรหรือหนวยงานจำเปนตองสงข้อมูลข่าวสาร กฎระเบียบ ข้อบังคับ ไปยังผูปฏิบัติงานใน


องค์กรหรือหนวยงานนั้นใหทราบผานกระดาษ เมื่อกระดาษถูกใช้ในการสงข้อมูลเปนจำนวนมากและ
กลายเปนขยะ จนเกิดปญหาการสิ้นเปลืองทรัพยากรปาไมซึ่งเปนวัตถุดิบในการนำมาผลิตกระดาษ
รวมทั้งเกิดมลพิษของสารเคมีจากหมึกพิมพของเครื่องถายเอกสาร และเมื่อหมึกพิมพฟุงกระจายใน
อากาศจึ ง กลายเป น มลพิ ษ ต อ สิ ่ ง แวดล อ ม ยั ง รวมถึ ง ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการซื ้ อ กระดาษในแต ล ะรอบ
งบประมาณจำนวนมาก หมึกพิมพ และค่าดูแลรักษาเครื่องถายเอกสาร ดวยเหตุนี้คณะวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี มทร.สุวรรณภูมิ จึงมีการบูรณาการรวมกันระหวางศาสตรดานชีววิทยาและเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการสรางระบบเวียนเอกสารอิเล็กทรอนิกสในบล็อกเชน และคำนวณการลดปริมาณ
386

การใช้กระดาษกับปริมาณคารบอนฟุตปริ้นทที่เกิดขึ้น เมื่อใช้ระบบเวียนเอกสารประเภทนี้ ระบบเวียน


เอกสารอิเล็กทรอนิกสในบล็อกเชน จึงเปนแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน เปน
การแก้ไขปญหาการใช้กระดาษแจ้งข้อมูลข่าวสารในหนวยงาน ข้อดีของระบบเวียนเอกสารประเภทนี้
คือ ข้อมูลข่าวสารสงไปยังผูปฏิบัติงานไดอยางรวดเร็ววองไว ลดปริมาณการใช้กระดาษในแตละเดือน
ลงไดเปนจำนวนมาก ปริมาณคารบอนฟุตปริ้นทลดลง สนับสนุนการเปนองค์กรหรือหนวยงานสีเขียว
สงผลดีตอโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว และยังช่วยอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอีก
ดวย ดังภาพที่ 8.6 ระบบมีการคำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการใช้กระดาษสีขาว A4
ในสำนักงาน คำนวณไดจาก ปริมาณก๊าซเรือนกระจก เทากับ จำนวนกระดาษ (กิโลกรัม) X ค่า
สัมประสิทธิ์การปลอยก๊าซเรือนกระจก (emission factor: EF) สำหรับกระดาษสีขาว A4 มีค่าเทากับ
2.93 kgCO2e/Kg อางอิงการคำนวณจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

ภาพที่ 8.6 หนาจอการคำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจก

จากภาพที่ 8.6 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มทร.สุวรรณภูมิ ไดใช้ระบบเวียนเอกสาร


อิเล็กทรอนิกสในบล็อกเชน ลดการใช้กระดาษแจ้งข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ โดยเริ่มใช้ตั้งแตป
2561 ปจจุบัน ป 2564 ระบบนี้ไดใช้งานจริงเปนเวลา 3 ป การใช้กระดาษในสำนักงานมีจำนวนลดลง
3,386,947 หนา เมื่อนำมาคำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการใช้กระดาษสีขาว A4
387

เทากับ (3,386,947/200) X 2.93 kgCO2e/Kg เมื่อ กระดาษสีขาว A4 1 kg เทากับ 200 แผน ดังนั้น
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการใช้กระดาษสีขาว A4 จึงเทากับ 49,618.774 kgCO2e/Kg
สรุปไดวา หนวยงานคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มทร.สุวรรณภูมิ สามารถลดปริมาณการปลอย
ก๊าซเรือนกระจกจากการใช้กระดาษสีขาว A4 ไดถึง 49,618.774 kgCO2e/kg

8.5 กรณีศึกษาการจัดการวัสดุอินทรียท ี่เหลือทางการเกษตรครบวงจรในชุมชน


ประเทศไทยเปนประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ ดังคำกลาวที่วา ในน้ำมีปลา ใน
นามีข้าว ดวยภูมิประเทศของประเทศไทยอยูในเขตเสนศูนยสูตร ทำใหมีอากาศอบอุนชื้น ทรัพยากร
ดินจึงเหมาะสมตอการปลูกพืชไดหลากหลายชนิด รวมทั้งมีทรัพยากรน้ำที่เพียงพอตอการเจริญเติบโต
ของพืช การประกอบอาชีพสวนใหญจึงเปนการทำเกษตรกรรม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พื้นที่ที่
ปลูกมันเทศหวานมากที่สุดเปนพืชเศรษฐกิจ อยูที่ อบต.ทับน้ำ อำเภอบางปะหัน สลับกับการปลูกข้าว
และเสริมการปลูกพืชผักสวนครัวอื่น มันเทศเปนพืชหัวใตดิน มีหลากหลายสายพันธุ มันเทศนิยมนำมา
รับประทานไดดวยวิธีตม เผา ทำอาหารคาวหวาน เปนสวนผสมในอาหารสำหรับเด็ก หรือเปนอาหาร
สัตวได การปลูกมันเทศเปนพืชเศรษฐกิจในอดีต เกษตรกรจะใช้ปุยเคมี สารเคมีในการกำจัดแมลง
ศั ต รู พ ื ช ที ่ เ จาะหั ว มั น เทศทำให ผ ลผลิ ต เสี ย หาย ขายได ร าคาต่ ำ ที ม นั ก วิ จ ั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย
เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ไดลงพื้นที่ปลูกมันเทศ ซึ่งเปนพื้นที่อยูภายใตพันธกิจของมหาวิทยาลัย
เพื่อนำองค์ความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปพัฒนายกระดับชุมชนและสังคม โดยพิชญและ
ดาวจรัส (2561) พิชญ และ อุทาน (2562) และ พิชญ และคณะ (2564) ไดเสนอแนวทางการจัดการ
วัสดุอินทรียที่เหลือทางการเกษตรในชุมชนไวดังนี้ เริ่มตนกระบวนการวิจัย ทีมวิจัยทำการสำรวจ
ปญหาที่เกิดขึ้นทั้งหมด โดยการมีสวนรวมของเกษตรกร ในช่วงแรกการเข้าถึงเกษตรกรทำไดค่อนข้าง
ยาก ทีมวิจัยจำเปนตองขอความรวมมือจากทานนายก อบต.ทับน้ำและเจ้าหนาที่ ชี้แจงทำความเข้าใจ
ในการลงพื้นที่ของทีมนักวิจัย และไดรับความช่วยเหลืออยางเต็มที่จากผูนำในพื้นที่และเจ้าหนาที่ ทำ
ใหทีมวิจัยทราบถึงปญหาที่แทจริงจากเกษตรกร สรุปไดดังนี้คือ 1) หลังจากปลูกมันเทศแลวเหลือ
เถามันเทศจำนวนมากในพื้นที่ปลูก เกษตรกรจะใช้วิธีไถกลบและทิ้งไวในดิน 2) เกษตรกรใช้ปุยเคมี
และสารเคมีกำจัดแมลงเจาะหัวมันเทศมาเปนระยะเวลานาน ทำใหดินเสื่อมคุณภาพ สงผลใหผลผลิต
มีคุณภาพแยลง เมื่อทีมวิจัยทราบปญหาแลว จึงนำปญหามาวิเคราะหเพื่อวางแผนการทดลองที่
ถูกตอง เริ่มจาก นำเถามันเทศในพื้นที่มาวิเคราะหธาตุอาหาร พบวา มีธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียม
388

สูงมาก เทากับ 3.35±0.17 และ 4.64±0.26 ตามลำดับ จากนั้น ทีมวิจัยไดศึกษาการใช้ชีวิตของ


ไสเดือนดิน พบวา ไสเดือนดินชอบอาศัยอยูในดินที่มีความชื้น ในดินที่อุดมสมบูรณปราศจากสารเคมี
อันตราย ไสเดือนดินจะกินซากพืชซากสัตวทุกชนิดและใหธาตุอาหารที่พืชสามารถนำไปใช้ไดเลย
ออกมาในดิน รวมทั้งช่วยพรวนดินใหรวนซุย ไสเดือนดินยังเปนดัชนีในการวัดคุณภาพของดินดีอีกดวย
ทีมวิจัยจึงไดจำลองพื้นที่เลี้ยงไสเดือนดินเลียนแบบธรรมชาติ ในภาชนะที่มีการปองกันความปลอดภัย
ให แ ก่ ไ ส เ ดื อ นดิ น สร า งสภาพแวดล อ มที ่ เ หมาะสม เพื ่ อ ให ไ ส เ ดื อ นดิ น ผลิ ต ปุ  ย มู ล ไส เ ดื อ นดิ น
(ภาพที่ 8.7) โดยใช้เถามันเทศที่มีอยูจำนวนมากในพื้นที่ปลูกมันเทศ นำเถามันเทศมาบางสวน
บางสวนทำการไถกลบไปในดินตามวิธีปกติ

ภาพที่ 8.7 ตนแบบการผลิตปุยมูลไสเดือนดินและลักษณะของปุยมูลไสเดือนดิน

เมื่อนำปุยมูลไสเดือนดินที่ใช้เถามันเทศเปนวัสดุอาหาร มาวิเคราะหคุณสมบัติของปุยอินทรีย
ผลการทดลองพบวา ปุยมูลไสเดือนดินมีคุณสมบัติความเปนปุยอินทรีย มีค่าความชื้น ค่าความเปน
กรด-ดาง ค่าการนำไฟฟา ค่าอินทรียวัตถุ ค่าอัตราสวน C/N อยูในเกณฑมาตรฐานที่กรมวิชาการ
เกษตรกำหนด รวมทั้งเมื่อนำปุยมูลไสเดือนดินมาตรวจวิเคราะหธาตุอาหารพืช ยังพบวา มีธาตุ
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม มากกวาเกณฑมาตรฐานกำหนด จากนั้นนำปุยมูลไสเดือนดิน
ไปทดสอบกับการปลูกผักกวางตุงซึ่งเปนผักกินใบ พบวา ผักกวางตุงมีการเจริญเติบโตดีกวา การใช้ปุย
มูลไสเดือนดินทางการค้า ปุยหมัก และการใช้ปุยเคมี เมื่อทีมวิจัยทำการทดลองในหองปฏิบัติการและ
ภาคสนามเรียบรอยแลว ไดนำผลสรุปไปถายทอดสูเกษตรกรเพื่อใหเกษตรกรทดลองลงมือทำเอง และ
ทดลองใช้ปุยมูลไสเดือนดินในพื้นที่ปลูกมันเทศ ทีมวิจัยทำการเก็บตัวอยางดินมาตรวจวัดปริมาณ
จุลินทรียในดิน ก่อนและหลังการใช้ปุยมูลไสเดือนดิน แทนการใช้ปุยเคมี พบวา จุลินทรียในดินก่อน
389

การใช้ปุยมูลไสเดือนดินตรวจพบจำนวนนอย เมื่อเปรียบเทียบกับจุลินทรียในดินหลังการใช้ เมื่อ


เกษตรกรเห็นผลการใช้ประโยชนของการใช้ปุยมูลไสเดือนดินซึ่งเปนปุยอินทรียดวยตนเองแลว จึงยึด
แนวปฏิบัตินี้ตอไปในการทำเกษตรปลอดภัย ไมเพียงปลอดภัยตอผูบริโภค ยังปลอดภัยตอตัวเกษตรกร
ผูผลิตเองที่หลีกเลี่ยงการใช้ปุยเคมี สารเคมีในการปลูกมันเทศ สลับกับปลูกข้าว และปลูกพืชผักสวน
ครัวอื่น ทีมวิจัยไดแนะนำเพิ่มเติมใหปลูกปอเทือง พืชที่เพิ่มธาตุไนโตรเจนในดินและยังเปนพืชที่มีดอก
สีเหลืองสวยงาม เมื่อปอเทืองออกดอกยังเปนแหลงดึงดูดนักทองเที่ยวใหมาชมความสวยงามและ
ถายภาพทุงปอเทืองเก็บไวไดอีกดวย ปุยมูลไสเดือนดินยังช่วยปรับปรุงคุณภาพดินที่เสื่อมโทรมให
กลับมามีคุณภาพดีเหมาะตอการปลูกพืช ไดผลผลิตที่ดีขึ้น ขายไดราคาดี จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต
ของเกษตรกร เปนการสงเสริมการทำเกษตรปลอดภัยอยางยั่งยืน ดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีทองถิ่น เลียนแบบวิถีธรรมชาติ แนวทางการผลิตปุยมูลไสเดือนดินนี้สามารถใช้กับพืช
ชนิดอื่นไดทุกชนิด และยังเปนแนวปฏิบัติที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นอกจากเถามันเทศแลว วัสดุ
อินทรียเหลือทิ้งทางการเกษตร มูลสัตว เปลือกผลไม ผักและผลไมที่เหลือทิ้ง วัสดุอินทรียที่เหลือทิ้ง
สามารถนำมาใช้เปนวัสดุอาหารของไสเดือนดินได ยกเวนผลไมที่มีรสเปรี้ยวจัด เช่น มะนาว ใช้เปน
วัสดุอาหารของไสเดือนดินไมได

8.6 กรณีศึกษาการบำบัดน้ำเสียปนเปอนไขมันดวยวิธีทางชีวภาพ
ประเทศไทยมีแนวทางการพัฒนาประเทศตั้งแตป 2504 เริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติฉบับที่ 1 เนนการพัฒนาดานเศรษฐกิจลงทุนเปนหลัก มีการจ้างผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศ
รวมมือกับนักวิชาการภายในประเทศ ยกรางแผนพัฒนาฯ รัฐบาลสนับสนุนการสรางระบบคมนาคม
ขนสง พลังงานไฟฟา น้ำประปา สาธารณูปโภค เริ่มมีการผลิตสินค้าชนิดเดียวกันเปนจำนวนมาก มี
การสรางโรงงานอุตสาหกรรมและระบบควบคุมภายในโรงงาน มีการนำเข้าเครื่องจักรกลในโรงงาน
อุตสาหกรรม วิถีชีวิตของคนไทยจึงเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เมื่อมีการพัฒนาเพิ่มขึ้น มีการใช้ความรู
ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้น สรางสิ่งอำนวยความสะดวกหลายดาน เพื่อการพัฒนา
ประเทศ จนปจจุบัน ป 2564 มีการสรางโรงงานอุตสาหกรรมดานตาง ๆ เพิ่มขึ้นแบบทวีคูณใน
ประเทศไทย ในกระบวนการผลิตสินค้าในโรงงานอุตสาหกรรมจะเกิดของเสียที่ปนเปอนในน้ำและ
สิ่งแวดลอม รัฐบาลจึงมีกฎหมายควบคุมกระบวนการบำบัดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตก่อน
ปลอยสูสิ่งแวดลอมภายนอก (เพ็ญโฉม และกานต, 2560) สิ่งที่ปนเปอนมาจากโรงงานแตละโรงงาน
390

ขึ้นอยูกับวัตถุดิบเริ่มตนในกระบวนการ เช่น โปรตีน แปง ไขมัน สารเคมี เปนตน โดยเฉพาะไขมันเปน


สารอินทรียที่ยอยสลายทางชีวภาพไดยาก เนื่องจากโครงสรางทางชีวเคมีของไขมันเปนโมเลกุลขนาด
ใหญ ไมละลายน้ำ ทำใหค่า BOD ในน้ำเพิ่มสูงขึ้น รบกวนกระบวนการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย
รวมทั้งสารเคมีอันตรายยังสามารถละลายในน้ำมันและไขมันไดดีกวาน้ำ ดังนั้นโรงงานอุตสาหกรรม
ตองมีผูเชี่ยวชาญที่สามารถเลือกเทคนิควิธีการบำบัดน้ำเสียไดอยางเหมาะสมเพื่อใหไดผลดีที่สุด เพื่อ
เป น ไปตามมาตรฐานควบคุ ม การปล อ ยน้ ำ ทิ ้ ง โรงงานอุ ต สาหกรรม และไม ก ่ อ ให เ กิ ด มลพิ ษ ต อ
สิ่งแวดลอม ซึ่งวิธีการในการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถทำได 5 วิธี คือ
1. วิธีทางกายภาพ คือ ตะแกรงดักขยะ ระบบทำใหของแข็งลอย ระบบกวาดของแข็งที่ลอย
อยูบนผิวน้ำ การตกตะกอน การแยกของแข็งดวยแรงเหวี่ยง การกรอง การกำจัดตะกอนหนั ก
ถังดักไขมันและน้ำมัน ถังดักกรวดทราย เปนวิธีการลดปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ปนเปอนในน้ำเสีย
2. วิ ธ ี ท างเคมี คื อ การใช้ ส ารเคมี ช ่ ว ยตกตะกอนผลึ ก ระบบ Coagulation และ
Flocculation ระบบ Oxidation และ Reduction ระบบฆ่ า เชื ้ อ โรค การปรั บ สภาพความเป น
กรด-ดางใหเปนกลางดวย โซดาไฟ ปูนขาว หรือ แอมโมเนีย กรดกำมะถัน กรดไฮโดรคลอริก การใช้
สารสังเคราะหประเภทเรซินแลกเปลี่ยนประจุจับพวกโลหะหนักในน้ำ การดูดซับดวยผงถานคารบอน
เปนวิธีที่ถาไมจำเปนไมควรเลือกใช้ เพราะเมื่อใช้สารเคมีแลว ตองหาวิธีกำจัดสารเคมีไมใหเปนพิษตอ
สิ่งแวดลอมอีก
3. วิธีทางธรรมชาติ คือ บอบึงผักตบชวา ระบบบำบัดดวยพื้นดิน บอบำบัดแบบเปดใช้
ออกซิเจน
4. วิธีทางชีวภาพ คือ ระบบการใช้จุลินทรียในถังหมัก ระบบการใช้จุลินทรียเติมอากาศ
ระบบถังกรอกที่ใช้จุลินทรียไรออกซิเจน เปนวิธีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เมื่อจุลินทรียตายลงสามารถ
กำจัดดวยการตกตะกอนจุลินทรียออกมาจากบอบำบัดน้ำเสียได
5. วิ ธ ี ท างกายภาพเคมี คื อ การใช้ ส ารสั ง เคราะห ป ระเภทเรซิ น แลกเปลี ่ ย นประจุ จั บ
พวกโลหะหนักในน้ำ การดูดซับดวยผงถานคารบอน ระบบ reverse osmosis (RO)
การเลือกวิธีการบำบัดน้ำเสียในการสรางระบบบำบัดน้ำเสีย ขึ้นอยูกับปจจัย ดังนี้คือ ลักษณะ
ของน้ำเสีย ขนาดพื้นที่บำบัดน้ำเสีย สถานที่ตั้งและความเหมาะสม งบประมาณการก่อสรางระบบ
ควบคุม การออกแบบของวิศวกรสิ่งแวดลอม ความเห็นชอบของเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม แหลง
รองรับน้ำทิ้งจากโรงงาน ความเห็นชอบจากชุมชนรอบบริเวณโรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้นวิธีการบำบัด
391

น้ำเสียที่มีการปนเปอนของไขมันที่เหมาะสมที่สุดคือวิธีการทางชีวภาพ เปนการใช้จุลินทรียที่มี
คุณสมบัติสรางเอนไซมไลเปสยอยไขมันใหมีโครงสรางโมเลกุลขนาดเล็กลง และจุลินทรียนั้นใช้โมเลกุล
ไขมันขนาดเล็กเปนอาหารเพื่อการเจริญ ไขมันจะเข้าไปสะสมอยูในเซลลจุลินทรีย จึงเปนวิธีที่ไมมี
ไขมันและน้ำมันปนเปอนอยูในน้ำ รวมทั้งจุลินทรียที่สะสมไขมันไว เมื่อทำใหตกตะกอน ยังสามารถนำ
จุลินทรียไปทำใหเซลลแตกเพื่อแยกไขมันมาผลิตเปนน้ำมันเชื้อเพลิง เช่น ไบโอดีเซล เปนตน ตอไปได
อีกดวย จุลินทรียเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มนุษยมองไมเห็นดวยตาเปลา แตสามารถใช้เครื่องมือที่
เรียกวา กลองจุลทรรศนใช้แสงแบบเลนสประกอบช่วยในการตรวจดูลักษณะสัณฐานวิทยาและ
สรีรวิทยาได จุลินทรียนั้นมีอยูทั่วไปตามธรรมชาติ การค้นหาจุลินทรียที่ช่วยในการบำบัดไขมันและ
น้ำมันเช่นกัน สามารถค้นหาไดจากวัสดุธรรมชาติ โดยผูวิจัยตองมีความรูทางชีวเคมีของโครงสราง
ไขมันและน้ำมัน และมีความรูเรื่องเอนไซม กลุมที่สามารถยอยไขมันและน้ำมันไดเพื่อกำหนด
ลั ก ษณะเฉพาะของจุ ล ิ น ทรี ย  ท ี ่ ต  อ งการค้ น หา รวมทั ้ ง มี ค วามเชี ่ ย วชาญด า นจุ ล ชี ว วิ ท ยาและ
การจัดจำแนกประเภทจุลินทรีย โดยงานวิจัยของ Tangsombatvichit et al. (2020) ทำการคัดแยก
จุลินทรียประเภทยีสตจากสับปะรดที่สุกมาก การที่เลือกยีสตเปนเพราะยีสตมีความสามารถในการใช้
ไขมันและน้ำมันเพื่อการเจริญได และมีลักษณะสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาที่แยกความแตกตางจาก
จุลินทรียประเภทอื่นไดอยางชัดเจนและง่ายตอการตรวจสอบ เมื่อใช้เทคนิคทางจุลชีววิทยาในการ
คัดเลือกยีสตบริสุทธิ์จากสับปะรดไดแลว จึงศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยาและคุณสมบัติ
บางประการทางชีวเคมี เพื่อยืนยันตัวตนเอกลักษณความเปนยีสต จากนั้นทำการศึกษาบริเวณ
ดีเอ็นเอเฉพาะที่ระบุบงชี้วาเปนยีสตดวยเทคนิคทางอณูโมเลกุล ไดยีสตสายพันธุ Candida sp.
RMUTSB-27 ดังภาพที่ 8.8 จากนั้นนำมาทดสอบความสามารถในการใช้น้ำมันและไขมันที่ปนเปอน
ในน้ำเสีย โดยจำลองสภาพน้ำเสียและทดสอบในหองปฏิบัติการ พบวา ยีสตที่คัดเลือกไดมีศักยภาพใน
การบำบัดน้ำเสียที่ปนเปอนไขมันและน้ำมันได โดยลดปริมาณไขมันและน้ำมันที่ปนเปอน ลดค่า COD
และค่าไนโตรเจนในน้ำใหลดลง ปรับความเปนกรด-ดางของน้ำใหเปนกลางอยูในสภาพที่ปลอยสู
สิ่งแวดลอมไดไมเปนมลพิษ แนวทางนี้เปนวิธีการที่สามารถประยุกตใช้ไดกับการคัดเลือกจุลินทรียจาก
วัสดุธรรมชาติอื่น ที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับสับปะรด เพื่อนำไปใช้ประโยชนในการบำบัดน้ำเสียที่มี
ไขมั น และน้ ำ มั น ปนเป  อ นก่ อ นนำกลั บ มาหมุ น เวี ย นใช้ ใ หม ใ นกระบวนการหรื อ ปล อ ยน้ ำ ออกสู
สิ่งแวดลอม อีกทั้งการบำบัดน้ำเสียเปนประโยชนในการอนุรักษทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดลอม รวมทั้ง
392

วิธีการนี้สามารถใช้รวมกับวิธีการบำบัดน้ำเสียวิธีการอื่นที่เหมาะสม เพื่อประสิทธิภาพที่ดีที่สุดในการ
บำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และแหลงน้ำเสียอื่น

ภาพที่ 8.8 ยีสตสายพันธุ Candida sp. RMUTSB-27 แสดงตะกอนสีขาวขุ่น


มาจาก: Tangsombatvichit et al. (2020)

8.7 กรณีศึกษาการผลิตน้ำมันไบโอเอทานอลจากวัสดุที่เหลือจากการเกษตร
เมื่อวิกฤตน้ำมันขาดแคลนกำลังเพิ่มทวีคูณ ความตองการการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงมีมากขึ้น ทำ
ใหแหลงน้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ถานหิน ลดปริมาณลงอยางมาก จนมีการประเมินวาไมเพียงพอตอ
ความตองการของมนุษย ดวยพระอัฉริยภาพอันชาญฉลาดและการมองเหตุการณข้างหนาของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำริแนวทางการ
ผลิ ต น้ ำ มั น ไบโอเอทานอลจากวั ส ดุ เ หลื อ ทิ ้ ง ทางการเกษตร เพราะประเทศไทยเป น ประเทศ
เกษตรกรรมมีวัสดุทางการเกษตรเหลือทิ้งปริมาณมากตอป ดวยแนวทางการใช้ประโยชนจากวัสดุ
เหลือทิ้งทางการเกษตร มาแปรสภาพเปนวัตถุดิบในกระบวนการผลิตน้ำมันไบโอเอทานอลนั้นมี
การศึกษาวิจัยค้นควากันมาอยางตอเนื่อง ทำใหประเทศไทยมีน้ำมันเชื้อเพลิงใช้อยางเพียงพอตอความ
ตองการของคนในประเทศ สำหรับการศึกษาค้นควาการผลิตน้ำมันไบโอเอทานอลจากวัสดุที่เหลือจาก
การเกษตร จำเปนตองใช้ความรูจากผูเชี่ยวชาญโครงสรางองค์ประกอบภายในผนังเซลลของพืช วา
ผนังเซลลพืชมีโครงสรางทางชีวเคมีประกอบดวย เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน รวมกันเปน
โครงตาข่ายแนนหนา เรียกวา ลิกโนเซลลูโลส ดังภาพที่ 8.9 วัสดุธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตเชื้อเพลิง
ไบโอ เช่น ออย ข้าวโพด ฟางข้าว เปลือกมะพราว มันสำปะหลัง ถั่วเหลือง ข้าวฟาง หญาเนเปยร
ปาลมน้ำมัน เปนตน ดังภาพที่ 8.10 จากนั้นตองใช้ผูเชี่ยวชาญในการคิดค้นวิธีการแยกองค์ประกอบ
ของผนังเซลลพืชออกจากกัน รวมทั้งจะตองมีวิธีการและเครื่องมือในการตรวจวิเคราะหหาปริมาณ
393

องค์ประกอบที่ผานการทำใหผลังเซลลพืชแยกออกจากกัน ถึงจะทราบวาวิธีการแยกผนังเซลลพืชออก
จากกันวิธีการใด หรือใช้สารชนิดใดที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการแยกผนังเซลลพืชออกจาก
กัน เพื่อที่จะนำไปใช้ประโยชนในขั้นตอนกระบวนการหมักน้ำตาลใหเปนแอลกอออลดวยจุลินทรีย
ตอไป โดยเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนินที่แยกออกจากผนังเซลลพืช จะตองผานวิธีการลางไมให
มีสารตกค้างและเกิดเปนพิษตอจุลินทรียในขั้นตอนกระบวนการหมัก และแยกนำเฉพาะสวนเซลลูโลส
เฮมิเซลลูโลส ซึ่งมีสวนมากมีองค์ประกอบเปนน้ำตาลกลูโคส มีน้ำตาลไซโรสรวมอยูดวยบาง จุลินทรีย
ที่นิยมใช้ในกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงไบโอ เช่น Saccharomyces cerevisiae, Pichia pastoris,
Escherichia coli, Zymomonas mobilis หรือจุลินทรียดัดแปลงพันธุกรรม เปนตน เพื่อใหไดลิกโน
เซลลูโลสิกเอทานอล ประเทศไทยนับไดวามีศักยภาพในการผลิตเศษวัสดุ เหลือทิ้งทางการเกษตร
จํานวนมากมาย จึงมีความเหมาะสมที่จะสามารถผลิตลิกโนเซลลูโลสิกเอทานอลไดเปนอยางดี
รวมทั้งนโนบายของรัฐบาลที่สนับสนุนการเพิ่มกําลังการผลิตเอทานอลในประเทศใหมากขึ้น เพื่อความ
มั่นคงทางดานพลังงานและเปนการก้าวขึ้นไปสูผูผลิตพลังงานทดแทนตอไปในอนาคต สงผลให
ประเทศไทยมีพลังงานใช้อยางเพียงพอไมขาดแคลน (ชัชนันท และ เฉลิม, 2555)
ในขณะที่ อุตสาหกรรมการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรกำลังขยาย
ตัวเพิ่มขึ้น SugarAsia magazine (2563) ไดลงบทความเกี่ยวกับนวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพดานการ
ผลิตเอนไซมจากยีสต มาช่วยในการตัดยอยโครงสรางทางชีวเคมีของเสนใยข้าวโพดในกระบวนการ
ผลิตไบโอเอทานอล วิธีการนี้ช่วยลดขั้นตอนการแปรสภาพวัตถุดิบใหมีขนาดเล็กลง เพื่อใหยีสตทำงาน
ในขั ้ น ตอนการหมั ก ได ง ่ า ยขึ ้ น รวมทั ้ ง วิ ธ ี ก ารนี ้ ส ามารถเปลี ่ ย นผลพลอยได จ ากกระบวนการใน
โรงงานผลิตไบโอเอทอล ที่ไมมีมูลค่า ใหเปนผลิตภัณฑเชื้อเพลิงคารบอนต่ำที่มีมูลค่าสูงได รวมทั้งผลิต
เปนน้ำมันข้าวโพดสำหรับใช้ในครัวเรือนไดอีกดวย จัดเปนกระบวนการขยะเปนศูนย (zero waste)
ในระดับโรงงานอุตสาหกรรม
394

ภาพที่ 8.9 โครงสรางวัสดุธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ


ดัดแปลงจาก: Den et al. (2018)
395

ภาพที่ 8.10 วัสดุลิกโนเซลลูโลสที่ใช้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพที่เหมาะสมในประเทศไทย


มาจาก: ชัชนันท และ เฉลิม (2555)
396

สรุปทายบท
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนหัวใจ เปนแหลงหลอเลี้ยงชีวิตมนุษย สัตว พืชและ
จุลินทรีย สำหรับมนุษยแลวทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนวัตถุดิบเริ่มตนในการสรางปจจัย
4 และเป น วั ต ถุ ด ิ บ ที ่ น ำมาประยุ ก ต เ ป น ป จ จั ย เสริ ม เพื ่ อ อำนวยความสะดวกในการดำรงชี วิต
กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะเข้ามาช่วยวางแผนอยางเปนขั้นตอน ในการลองผิด
ลองถูกอยางมีทิศทาง ไมนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อยางสิ้นเปลืองและเกิดความเสียหาย การสราง
นวัตกรรมที่เลียนแบบธรรมชาติ ดวยเทคโนโลยีทองถิ่น จากภูมิปญญาทองถิ่นจะช่วยยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชากรในประเทศอยางยั่งยืน พึ่งพาเทคโนโลยีนำเข้าเทาที่จำเปน ประหยัดค่าใช้จ่าย
งบประมาณของประเทศในการจัดซื้อเทคโนโลยีนำเข้า เพื่อนำงบประมาณนั้นมาพัฒนาทรัพยากร
มนุษยและทรัพยากรธรรมชาติอื่นในประเทศจะเปนประโยชนสำหรับการพัฒนาประเทศไทยมากขึ้น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใหแนวทางการประยุกตใช้
ความรูทางวิทยาศาสตร เพื่อสรางเทคโนโลยีและนวัตกรรม สำหรับการพัฒนาประเทศไทย ไววา
“ก่อนจะมีความเชื่อใด ๆ จะตองศึกษาใหรูจริง
วิเคราะหดวยความมีสติ ปญญาจะไดอยูกับตัวเสมอ
มิฉะนั้นแลวเราจะมีแตปญหาโดยไมรูวาประโยชนจริง ๆ
ของบานเมืองอยูที่ไหน”
เมื่อพิจารณาถึงสาเหตุของปญหาในสังคมเกษตรกรรมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว
ความผิดปกติของฤดูกาล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มีความสัมพันธกับมนุษยเกิดความ
เสื่อมโทรมอยางมาก ปญหาเหลานี้เกิดมาจากความตองการพัฒนาประเทศไทยใหทัดเทียมกับประเทศ
ที่พัฒนาแลว โดยเนนความเจริญทางเศรษฐกิจมากจนเกินความจำเปน ไมยอนกลับมาพิจารณา
รากฐานของประเทศใหดีเสียก่อน ก่อนจะใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาประเทศและนำทรัพยากร
ธรรมชาติมาใช้อยางฟุมเฟอย เกิดความเสื่อมโทรมและหมดไปอยางรวดเร็ว ดังนั้นหากเราทราบถึง
ปญหาที่แทจริงแลว จึงนำไปสูการคิดค้นวิธีที่ถูกตองในการแก้ไขปญหาอยางเหมาะสม การพัฒนา
ประเทศทางเศรษฐกิจจำเปนตองทำควบคู่ไปกับการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ
ประเทศใหดำรงอยูในสภาพดีดังเดิมและยั่งยืน เพื่อรุนลูกหลานจะไดใช้ประโยชนตอไป การใช้องค์
ความรู  ทางวิ ทยาศาสตร ต องใช้ ใ นทางสร างสรรค์ เ พื ่ อสร างเทคโนโลยี และนวั ตกรรมเพื ่ อรั กษา
397

สิ่งแวดลอมใหยั่งยืนและอำนวยความสะดวกใหกับการดำรงชีวิตของมนุษยอยางผาสุกและรูสึก
ปลอดภัย
398

เอกสารอางอิง
ชัชนันท นิวาสวงษ และ เฉลิม เรืองวิริยะชัย. (2555). การผลิตเซลลูโลสิกเอทานอลในประเทศไทย.
วารสารวิทยาศาสตร มข. 40(4): 1073-1088.
พจน อินทรนันท. (2559). ดินแบบไหนตนไมเติบโต. กรุงเทพฯ: คอรฟงก์ชั่น.
พันธทิพย กลอมเจ๊ก. (2565). บึงประดิษฐบำบัดน้ำเสีย: หลักพื้นฐานและกรณีศึกษา. พิษณุโลก:
สำนักพิมพมหาวิทยาลัยนเรศวร.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร และดาวจรัส เกตุโรจน. (2561). คุณภาพปุยมูลไสเดือนดินจากเถามันเทศเหลือ
ทิ้งตอการเจริญเติบโตของผักกวางตุง. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ. 6 (2): 124-133.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร และอุทาน บูรณศักดิ์ศรี. (2562). ปุยหมักมูลไสเดือนดิน: เทคโนโลยีชีววิถียุค
ดิจิทัลเพื่อการอนุรักษดินและการจัดการขยะอินทรียในประเทศไทย. วารสารวิจัยราชภัฎพระนคร
สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 14(2): 170-182.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร อุทาน บูรณศักดิ์ศรี และกิตติ บุญเลิศนิรันดร. (2564). ผลของปุยมูลไสเดือนดิน
รวมกับแหนแดงตอการเจริญเติบโตของผักสลัดกรีนโอค. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลศรีวิชัย. 13 (2), 343-356.
เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง และ กานต ทัศนภักดิ์. (2560). ปญหามลพิษอุตสาหกรรม 2558-2559. ปทุมธานี:
บริษัทสำนักพิมพสื่อตะวัน จำกัด.
สำนักความรวมมือดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2556). อนาคตที่เราตองการ (The future we want).
กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน)
สำนักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. (2544). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวกับสภาวิจัยแหงชาติ ,
กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน)
เสรี มหาวิชัด และ เฉลิม เรืองวิริยะชัย. (2555). การผลิตลิกโนเซลลูโลสิกเอทานอลจากสารละลายที่
ได จ ากการย อ ยลำต น มั น สำปะหลั ง ด ว ยวิ ธ ี ก าร หมั ก แบบกะด ว ยยี ส ต Saccharomyces
cerevisiae TISTR 5048. วารสารอิเล็กทรอนิกส Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร. 5(3): 429-
455.
วิสันต ทาวสูงเนิน. (2558). ปรับปรุงโครงสรางดินอยางยั่งยืนตามแนวโครงการพระราชดำริ. นนทบุรี:
บุตร-บอส บุคเซ็นเตอร.
399

ยืนยง มาดี และอติพงศ หันภาพ. (2558). พลังงานธรรมชาติจากกังหันน้ำ-ลมผลิตไฟฟาใช้เองตาม


แนวพระราชดำริ. นนทบุร:ี วี.ที.เอส.บุคเซ็นเตอร.
Gao, R., Li, Z., Zhou, X., Cheng, S. and Zheng, L. (2 0 1 7 ). Oleaginous yeast Yarrowia
lipolytica culture with synthetic and food waste derived volatile fatty acids for lipid
production. Biotechnology for Biofuels. 10: 247-261.
Jach, M.E. and Malm, A. (2022). Yarrowia lipolytica as an alternative and valuable
source of nutritional and bioactive compounds for humans. Molecules. 27(7): 1-22.
Tangsombatvichit, P., Pisapak, K. and Suksaard, P. (2020). The natural lipolytic yeast
Candida sp. rmutsb-27 isolated from pineapple for treatment of cooking oil
contaminated wastewater. Environment Asia. 13(3): 70-79.
400

เอกสารอางอิงอิเล็กทรอนิกส
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2560). คู่มือระบบบำบัดน้ำเสีย
ชุมชน [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/05/
pcdnew-2020-05-19_06-15-42_368435.pdf วันที่สืบค้น 10 มีนาคม 2566
ก ร ม ฝ น ห ล ว ง แ ล ะ ก า ร บ ิ น เ ก ษ ต ร . (2560). ต ำ ร า ฝ น ห ล ว ง [อ อ น ไ ล น ]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า :
http://rainmaking.royalrain.go.th/Story/Textbook. วันที่สบื ค้น 5 เมษายน 2566
ฉันทนา ภาคบงกช. (2539). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวกับสิ่งแวดลอม [ออนไลน]. แหลงที่มา:
http://bsris.swu.ac.th/journal/31139/file/1.pdf วันที่สืบค้น 23 กันยายน 2564
มูลนิธิมั่นพัฒนา. (2566). กังหันน้ำชัยพัฒนา [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.tsdf.nida.ac.th/
th/royally-initiated-projects/10774-กังหันน้ำชัยพัฒนา-พศ-2531/ วันที่สืบค้น 10 มีนาคม
2566
นุศวดี พจนานุกิจ. (2561). กังหันน้ำชัยพัฒนา สูการแก้ปญหามลพิษทางน้ำ กรณีศึกษาเพื่อสงเสริม
การคิดวิเคราะหของผูเรียนดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม [ออนไลน]. แหลงที่มา:
http://designtechnology.ipst.ac.th/wp-content/uploads/sites/83/2018/10/Mag-
212.pdf วันที่สืบค้น 23 กันยายน 2564
สมฤทัย ชรรณษานนท. (2549). ฝนหลวงพระราชทาน [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://www2.
mtec.or.th/ th/e-magazine/admin/upload/227_25-30-edit.pdf วันที่สืบค้น 23 กันยายน
2564
สำนั ก พิ ม พ ส ถาพรบุ  ค ส . (2564). โครงการแกล ง ดิ น [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: https://online.
pubhtml5.com/ohxq/jzxy/#p=1 วันที่สืบค้น 10 มีนาคม 2566
SugarAsia magazine. (2563). แพลตฟอรมชีวภาพแบบใหม แปลงเสนใยข้าวโพดเปนเอทานอล
[ออนไลน]. แหลงที่มา: https://sugar-asia.com/แพลตฟอรมชีวภาพแบบใหม/ วันที่สืบค้น 11
มีนาคม 2566
SugarAsia magazine. (2564). ไทยกั บการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสภายในป 80 [ออนไลน].
แหลงที่มา: https://sugar-asia.com/ไทย-กับการผลิตเอทานอลจา/ วันที่สืบค้น 11 มีนาคม
2566
401

SugarAsia magazine. (2565). The sunliquid® process: นำเสนอนวัตกรรมการผลิตเชื้อเพลิง


เอทานอลจากเซลลูโลสแบบเชิงพาณิชยสูประเทศไทย [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://sugar-
asia.com/the-sunliquid-process-นำเสนอนวัตกรรมการผล/ วันที่สืบค้น 11 มีนาคม 2566
402

บรรณานุกรม
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2559). คู่มือประชาชนการคัดแยก
ขยะมูลฝอยอยางถูกวิธีและเพิ่มมูลค่า. พิมพครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ: บริษัท ฮีซ์ จำกัด.
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2560). ยุทธศาสตรการจัดการ
มลพิ ษ 20 ป และแผนการจั ด การมลพิ ษ พ.ศ. 2560-2564 [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/04/pcdnew-2020-04-23_03-41-
12_505896.pdf วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2560). คู่มือระบบบำบัดน้ำเสีย
ชุมชน [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/05/
pcdnew-2020-05-19_06-15-42_368435.pdf วันที่สืบค้น 10 มีนาคม 2566
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2562). มาตราการการจัดการ
ปญหามลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะ [online] แหลงที่มา: https://www.pcd.go.th/
airandsound/คู่มือมาตราการการจัดกา วันที่สืบค้น 23 เมษายน 2566.
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2563). กฎหมายและมาตรฐาน
[online]. แหลงที่มา: https://www.pcd.go.th/laws/ วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม 2564
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2565). คพ. เผยป 2564 ขยะมูล
ฝอยลดลง ขยะติดเชื้อและขยะอันตรายเพิ่มขึ้น แนะจัดการอยางถูกวิธี [ออนไลน]. แหลงที่มา:
https://www.pcd.go.th/pcd_news/20802/ วันที่สืบค้น 10 กุมภาพันธ 2565.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง. (2566). ขยะพลาสติกในทะเลไทยใครวาเรื่องเล็ก [ออนไลน].
แหล ง ที ่ ม า: http://tcc.dmcr.go.th/thaicoastalcleanup/publicRelations/content/38
วันที่สืบค้น 5 เมษายน 2566.
กรมทรัพยากรธรณี. (2559). แร [online] แหลงที่มา: https://www.dmr.go.th/แร/ความรูทั่วไป
เกี่ยวกับทรัพยากรแร/ วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
ก ร ม ฝ น ห ล ว ง แ ล ะ ก า ร บ ิ น เ ก ษ ต ร . (2560). ต ำ ร า ฝ น ห ล ว ง [อ อ น ไ ล น ]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า :
http://rainmaking.royalrain.go.th/Story/Textbook. วันที่สืบค้น 5 เมษายน 2566
403

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2561). สถานการณพลังงานไทย


ป 2561 [online] แหล ง ที ่ ม า: https://www.dede.go.th/download/stat62/sit_2_61
_dec.pdf. วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2563). สถานการณพลังงานไทย
ป  2 5 6 3 [online] แ ห ล  ง ท ี ่ ม า : https://www.dede.go.th/download/general_63/
sit2_jan2020.pdf. วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม 2564.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ลงทุ น ผลิ ต พลั ง งานทดแทน ชุ ด ที ่ 1 ไฟฟ า พลั ง งานลม [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
https://webkc.dede. go.th/testmax/sites/default/files/ไฟฟาพลังงานลม.pdf วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดที่ 3 ไฟฟาพลังน้ำ [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://webkc.dede.
go.th/testmax/sites/default/files/ไฟฟ า พลั ง น้ ำ %20%281%29.pdf วั น ที ่ ส ื บ ค้ น 29
เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ลงทุ น ผลิ ต พลั ง งานทดแทน ชุ ด ที ่ 4 พลั ง งานชี ว มวล [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
https://webkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/พลั ง งาน%20ชี ว มวล.pdf วั น ที่
สืบค้น 29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือการพัฒนาและการ
ล ง ท ุ น ผ ล ิ ต พ ล ั ง ง า น ท ด แ ท น ช ุ ด ท ี ่ 6 พ ล ั ง ง า น ข ย ะ [อ อ น ไ ล น ]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า :
https://webkc.dede.go.th/testmax/sites/default/files/พลังงาน%20ขยะ.pdf วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือพลังงานความรอน
ใตพื้นพิภพ โครงการถายทอดและเผยแพรการชพลังงานทดแทน (2 หลักสูตร) [ออนไลน].
แหลงที่มา: http://www.tdetlab.com/uploads/publications//E80VHnlIaOqZg2OYY4IIQ
74Ib2RyOGoR30HPgIPZ.pdf วันทีส่ ืบค้น 29 เมษายน 2566.
404

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน (2566.) คู่มือความรูดานพลังงาน


ไฮโดรเจน [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www2.dede.go.th/kmmf/download/นวัตกรรม/
สวค/คู่มือพลังงานไฮโดรเจน.pdf วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2566). มลพิษทาง
อากาศ [online] แหล ง ที ่ ม า: https://datacenter.deqp.go.th/knowledge/อากาศ/มลพ-
ษทางอากาศ/ วันที่สืบค้น 14 เมษายน 2566.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2558). รายงานสถานการณสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประเทศ
ไทย ป 2557 [online] แหล ง ที ่ ม า: http://203.157.71.148/hpc6/planning/รายงานการ
สำรวจดานสุขภาพ/สถานการณอนามัยสิ่งแวดลอม%202557.pdf. วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม
2564.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือฉบับประชาชน การเฝาระวัง PM 2.5 อยางไรให
ปลอดภั ย [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: https://hia.anamai.moph.go.th/web-upload/12xb1
c83353535e43f224a 05e184d8fd75a/filecenter/PM2.5/book103.pdf วันที่สืบค้น 9
มีนาคม 2566.
กลุมจัดการฟารมและเกษตรกรรมยั่งยืน กองวิจัยและพัฒนางานสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริม
การเกษตร. (2566). เกษตรทฤษฎี ใ หม ต ามแนวพระราชดำริ [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า:
http://www.ictc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/newtheory.pdf วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
กลุมพลังงานชีวมวล สำนักวิจัยค้นควาพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
(2566.) พลั ง งานชี ว มวล [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: http://www2.dede.go.th/kmmf/
download/นวัตกรรม/สวค/คู่มือพลังงานชีวมวล.pdf วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
กลุมเฝาระวังฝุน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2562). เรียนรู อยูกับฝุน PM 2.5 [ออนไลน]. แหลงที่มา:
https://www.chula.ac.th/wp-content/uploads/2019/10/Chula-PM25.pdf วั น ที ่ ส ื บ ค้ น
9 มีนาคม 2566.
กองบรรณาธิการ. (2555). จังหวัดระนองจังหวัดนำรองแหลงมรดกของชาติไทย. วารสารธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม. 1 (2): 6-25.
405

กองจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2562).


รายงานการดำเนิ น งาน กองจั ด การคุ ณ ภาพน้ ำ พ.ศ. 2562 [online] แหล ง ที ่ ม า:
https://www.pcd.go.th/publication/3929 วันที่สืบค้น 14 เมษายน 2566.
กองเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2565). การ
สำรวจธรณี ฟ  ส ิ ก ส เ พื ่ อ หาแหล ง แร [online] แหล ง ที ่ ม า: https://www.dmr.go.th/wp-
content/uploads/2022/09/1-Poster-ธรณี ฟ  ส ิ ก ส เ พื ่ อ หาแหล ง แร . pdf วั น ที ่ ส ื บ ค้ น 11
เมษายน 2566.
กอบกุล รายะนาคร. (2550). กฎหมายกับสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพวิญูชน จำกัด.
กอบกุล รายะนาคร. (2558). การปฏิรูประบบสถาบันและกฎหมายเพื่อแก้ไขปญหาขยะพิษจาก
อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ.
กันติทัต ทับสุวรรณ พาสินี สุนากร และชนิกานต ยิ้มประยูร. (2562). ประสิทธิภาพในการลดอุณหภูมิ
และเสียงรบกวนของระบบหลังคาเขียวบนหลังคาเหล็กรีดลอน. วารสารวิชาการสถาปตยกรรม
ศาสตร. 68: 99-114.
กิ ต ติ พ ั ฒ น อุ โ ฆษกิ จ . (2557). พั น ธุ ว ิ ศ วกรรม: เทคโนโลยี ข องยี น . กรุ ง เทพฯ: สำนั ก พิ ม พ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
กิตติพัฒน อุโฆษกิจ. (2561). พันธุศาสตร. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร.
กิตติมา ศิวอาทิตยกุล. (2558). เอกสารวิชาการ การบริหารจัดการการใช้หญาแฝกอยางยั่งยืน. กอง
วิจยั และพัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
เกษม จันทรแก้ว. (2540). วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม. โครงการสหวิทยา การพัฒนาบัณฑิตศึกษา สาขา
วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
เกษม จันทรแก้ว, สนิท อักษรแก้ว, สมพร อิศวิลานนท, สามัคคี บุณยะวัฒน, สากล สถิตวิทยานันท,
จำนง อดิวัฒนสิทธิ์, มณจันทร เมฆธน, ปราโมทย ประจนปจจนึก, ธีรภาพ เจริญวิริยะภาพ, พุทธ
พร ส อ งศรี และ สารั ฐ ประไพ. (2545). สิ ่ ง แวดล อ ม เทคโนโลยี แ ละชี ว ิ ต . กรุ ง เทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
คณะกรรมการวิชาการสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. (2557). สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต.
พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
406

จิราภรณ คชเสนี. มนุษยกับสิ่งแวดลอม. (2540). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.


จิ ร าภรณ คชเสนี . (2551). มนุ ษ ย ก ั บ สิ ่ ง แวดล อ ม. พิ ม พ ค รั ้ ง ที ่ 5. กรุ ง เทพฯ: สำนั ก พิ ม พ แ ห ง
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
จิราภรณ คชเสนี และนันทนา คชเสนี. (2558). นิเวศวิทยาเพื่อสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ฉันทนา ภาคบงกช. (2539). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวกับสิ่งแวดลอม [ออนไลน]. แหลงที่มา:
http://bsris.swu.ac.th/journal/31139/file/1.pdf วันที่สืบค้น 23 กันยายน 2564
ชาญวิทย (2562). การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม [online]. แหลงที่มา: https://www.onep.
go.th/การประเมินผลกระทบสิ่งแ/ วันที่สืบค้น 12 มีนาคม 2566.
ชยันต ตันติวัสดาการ, ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล, นิรมล สุธรรมกิจ, บัณฑูร เศรษฐศิโรตม, ศุภกร
ชินวรรโณ, สิริลักษณ เจียรากร, อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา และ อำนาจ ชิดไธสง. (2556). รับมือ
โลกรอนก่อน 4 องศา: สิ่งที่ประเทศไทยทำได. กรุงเทพฯ: บริษัท วิกิ จำกัด.
ชลัยธร และ จตุพล. (2566). การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสำหรับสตรีไทย [online]. แหลงที่มา
https://w1med.cmu.ac.th/obgyn/lessons/cervical-cancer-screening-for-thais/ วั น ที่
สืบค้น 5 มีนาคม 2566
ชัชนันท นิวาสวงษ และ เฉลิม เรืองวิริยะชัย. (2555). การผลิตเซลลูโลสิกเอทานอลในประเทศไทย.
วารสารวิทยาศาสตร มข. 40(4): 1073-1088.
ณัชร สยามวาลา และวรประภา นาควัชระ. (2561). ยิ่งใหยิ่งสุข. กรุงเทพฯ: อมรินทรธรรมะ.
ณัฏฐ ดิษเจริญ และอนุพงษ รัฐิรมย. (2559). การพัฒนาหนังสือสวนสัตวสามมิติดวยเทคโนโลยีโลก
เสมือนผสานโลกจริงบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด. วารสารหนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู. 7 (1): 77-87.
ณัฏยาณี บุญทองคำ และ พระครูปลัดสุวัฒนพุทธิคุณ ดร.สุเทพ ดีเยี่ยม. 2563. คุณภาพชีวิตที่ดีตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายใตภาวะโรคระบาด “โควิด-19” วารสารการบริหารนิติบุคคล
และนวัตกรรมทองถิ่น. 6(4): 235-246.
ณัฐญา อัมรินทร. (2556). วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
ณัฐญา อัมรินทร. (2562). พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
407

ดวงฤทัย เขมะไชเวช, ชนกชนม แสงจันทร, พลพัฒน รวมเจริญ และ สุชีวรรณ ยอยรูรอบ. (2565).
การยอยสลายทางชีวภาพของแผนพลาสติกชีวภาพจากแปงมันสำปะหลังและแปงสาคู. วารสาร
หนวยวิจัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู. 13 (1): 60-70.
ทรงธรรม สุขสวาง. (2558). ความขัดแยงของคนกับช้างปาในประเทศไทย. วารสารธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม 4(2): 4-13.
ทรงศิริ วิชิรานนท, สุทธิพร บุญสง, สุวิมล จุลวานิช, อนุรีย แก้วแววนอย และโรจนรวี พจนพัฒพล.
(2551). การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น จำกัด
ทิพยวัลย เรืองขจร. (2554). วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ทิพยอนงค์ จินตวิจิต. (2563). จากความตายของมาเรียมสูการเลิกใช้พลาสติกในประเทศไทย. วารสาร
นิเทศศาสตรธุรกิจบัณฑิตย. 14 (2): 241-269.
ธนิก เลิศชาญฤทธ. (2548). วิวัฒนาการของมนุษย. เอกสารคำสอน รายวิชา 300 214 Human
Evolution. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธเนศ ศรี ส ถิ ต . (2549). เทคโนโลยี ส ะอาดและการนำไปใช้ เ พื ่ อ ลดต น ทุ น การผลิ ต . กรุ ง เทพฯ:
สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
นงลั ก ษณ สุ ว รรณพิ น ิ จ และ ปรี ช า สุ ว รรณพิ น ิ จ . (2557). จุ ล ชี ว วิ ท ยาทั ่ ว ไป. พิ ม พ ค รั ้ ง ที ่ 10.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
นพนั น ต เมื อ งเหนื อ (2564). พลั ง งานลม [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: https://eit.bsru.ac.th/wp-
content/uploads/2021/09/ผศ.ดร.-นพนันต-เมืองเหนือ-พลังงานลม.pdf วันที่สืบค้น 29
เมษายน 2566.
นันทรพัช ไชยอัครพงศ. (2563). การลักลอบค้าสัตวปาที่เกิดขึ้นในไทย: ปญหาการบังคับใช้กฏหมาย
และข้อทาทาย. วารสารกระบวนการยุติธรรม. 13(3): 21-36.
นิกร จันภิลม ศตพล กัลยา ภาสกร เรืองรอง และ รุจโรจน แก้วอุไร. (2562). เทคโนโลยีการศึกษาใน
ยุค Thailand 4.0. วารสารปญญาภิวัฒน. 11(1): 304-314.
นิพนธ ทรายเพชร. (2565). การทองเที่ยวอวกาศ [online]. แหลงที่มา https://www.scimath.org/
article-earthscience/item/12597-2022-07-25-08-20-30 วันที่สืบค้น 5 มีนาคม 2566
408

นิวัติ เรืองพานิช. (2537). การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรงเทพฯ:


สหมิตรออฟเซท.
นุศวดี พจนานุกิจ. (2561). กังหันน้ำชัยพัฒนา สูการแก้ปญหามลพิษทางน้ำ กรณีศึกษาเพื่อสงเสริม
การคิดวิเคราะหของผูเรียนดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม [ออนไลน]. แหลงที่มา:
http://designtechnology.ipst.ac.th/wp-content/uploads/sites/83/2018/10/Mag-
212.pdf วันที่สืบค้น 23 กันยายน 2564
บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส จำกัด. (2566). ดินสอ [online]. แหลงที่มา https://www.dinsow.com/
dinsow-mini-eldery-care-robot/ วันที่สืบค้น 5 มีนาคม 2566
บริษัทเฮลธแอนดเอ็นไวเทคจำกัด. (2562). สารมลพิษทางอากาศคืออะไรและสงผลกระทบตอสุขภาพ
อยางไร [online] แหลงที่มา: https://healthenvi.com/how-air-pollution-affects-health/
วันที่สืบค้น 14 เมษายน 2566.
บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด (มหาชน). (2566). พลังงานแสงอาทิตย [ออนไลน].
แหลงที่มา: https://www.gpscgroup.com/th/news/1158/พลังงานแสงอาทิตย วันที่สืบค้น
29 เมษายน 2566.
บุญเพ็ญ สิทธิวงษา, พระมหาพงศทราทิตย สุธีโร, อาทิตย แสงเฉวก, พรอมพล สัมพันธโน, มนตรี
รอดแก้ว, และ ธนวัฒน ชาวโพธิ์. (2565). การประยุกตใช้นวัตกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน
ตามหลักทฤษฎีใหม โคกหนองนาโมเดลในจังหวัดอุดรธานี. วารสารสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย. 5(2): 67-82.
บุญเลี้ยง สุพิมพ, ปยะพงษ ชุมศรี และอรทัย ปานเพชร. (2560). คุณภาพดานจุลชีววิทยาของอาหาร
ปรุ ง สำเร็ จ ในโรงอาหารมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เลย. วารสารวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 19: 72-81.
เบญจวรรณ ชิวปรีชา และวิชญา กันบัว. (2565). ความหลากชนิดและลักษณะสังคมพืชปาชายเลน
บริเวณโรงไฟฟาบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิจัยนิเวศวิทยาปาไมเมืองไทย 6(1): 49-
62.
เบญจมาภรณ วัฒนธงชัย, พุทธธิดา รัตนะ และไพราณี สุขสุเมฆ. (2564). วารสารธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม. 10 (3): 12-18.
409

ปาริชาติ บุญเอก. (2564). สองสถานการณขยะพลาสติกช่วงโควิด-19กับความทาทายโรดแมพป65


[ออนไลน]. แหลงที่มา: https://www.bangkokbiznews.com/social/944120 วันที่สืบค้น 30
ธันวาคม 2564.
ปยะดา วชิระวงศกร. (2562). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ป ย วรรณ ปนิ ท านเต. (2549). กว า จะมาเป น เครื ่ อ งบิ น [online]. แหล ง ที ่ ม า https://www2.
mtec.or.th/ th/e-magazine/admin/upload/228_16-20-edit.pdf วันที่สืบค้น 5 มีนาคม
2566
ฝายวิชาการสถาพรบุคส. (2561). เศรษฐกิจพอเพียงกับยุทธศาสตร Thailand 4.0. กรุงเทพฯ: บริษัท
สถาพรบุค ส จำกัด
พจน อินทรนันท. (2559). ดินแบบไหนตนไมเติบโต. กรุงเทพฯ: คอรฟงก์ชั่น.
พัชรศักดิ์ อาลัย. (2562). ปรากฏการณฝุน PM 2.5 และแนวทางแก้ไขที่ยั่งยืน [ออนไลน]. แหลงที่มา:
http://dept.npru.ac.th/rdi/data/files/Arlai_News_PM2.5_Nov_2562.pdf วันที่สืบค้น 9
มีนาคม 2566.
พันธทิพย กลอมเจ๊ก. (2565). บึงประดิษฐบำบัดน้ำเสีย: หลักพื้นฐานและกรณีศึกษา. พิษณุโลก:
สำนักพิมพมหาวิทยาลัยนเรศวร.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร และดาวจรัส เกตุโรจน. (2561). คุณภาพปุยมูลไสเดือนดินจากเถามันเทศเหลือ
ทิ้งตอการเจริญเติบโตของผักกวางตุง. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ. 6(2): 124-133.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร และอุทาน บูรณศักดิ์ศรี. (2562). ปุยหมักมูลไสเดือนดิน: เทคโนโลยีชีววิถียุค
ดิจิทัลเพื่อการอนุรักษดินและการจัดการขยะอินทรียในประเทศไทย. วารสารวิจัยราชภัฎพระนคร
สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 14(2): 170-182.
พิชญ ตั้งสมบัติวิจิตร อุทาน บูรณศักดิ์ศรี และกิตติ บุญเลิศนิรันดร. (2564). ผลของปุยมูลไสเดือนดิน
รวมกับแหนแดงตอการเจริญเติบโตของผักสลัดกรีนโอค. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลศรีวิชัย. 13(2), 343-356.
พิทยา จารุพูนผล, ศุภชัย ปติกุลตัง และ ณรงค์ นิ่มสกุล. (2556). วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ
สิ ่ ง แวดล อ มเพื ่ อ ชี ว ิ ต [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า https://www.youtube.com/watch?v=1-
laHSypEHE วันที่สืบค้น 4 มีนาคม 2566.
410

เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง และ กานต ทัศนภักดิ์. (2560). ปญหามลพิษอุตสาหกรรม 2558-2559. ปทุมธานี:


บริษัทสำนักพิมพสื่อตะวัน จำกัด.
ภาณี คูสุวรรณ. (2545). การัจดการสิ่งแวดลอมเบื้องตน. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพเอมพันธ
จำกัด.
ภัทรา ศรีสุโข ณภัค แสงจันทร ธนกฤต ใจสุดา และกรชนก บุญฑร. (2562). การศึกษาสีธรรมชาติ
จากพันธุพืชปาชายเลน ตำบลบอ อำเภอลุง จังหวัดจันทบุรี โดยกระบวนการมีสวนรวมของ
ชุมชน. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 13(1): 64-73.
มณฑาสินี หอมหวาน. (2561). พลังงานทดแทนพลังงานทางเลือกใหมสำหรับอนาคต [ออนไลน].
แหลงที่มา: https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/ jan_mar_12/
pdf/aw014.pdf วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
มูลนิธิมั่นพัฒนา. (2566). กังหันน้ำชัยพัฒนา [ออนไลน]. แหลงที่มา: http://www.tsdf.nida.ac.th/
th/royally-initiated-projects/10774-กังหันน้ำชัยพัฒนา-พศ-2531/ วันที่สืบค้น 10 มีนาคม
2566
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. (2560). ความสำคัญของปาทุงใหญนเรศวรกับการก่อสรางเขื่อนน้ำโจน
[online] แหลงที่มา: https://www.seub.or.th/บทความ/ความสำคัญของปาทุงใหญ/ วันที่
สืบค้น 6 เมษายน 2566.
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. (2562). การค้าสัตวปาทั่วโลกกำลังนำไปสูการลดลงของสัตวปาหลากหลาย
สายพันธุ [online]. แหลงที่มา: https://www.seub.or.th/bloging/news/การค้าสัตวปาทั่ว
โลก-ก/ วันที่สืบค้น 5 เมษายน 2566.
ยศพรธ วรรชนะ (2566). ความรูทั่วไปเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม [ออนไลน].
แหล ง ที ่ ม า http://home.npru.ac.th/phatthaya/subjects/aj32/2500106_lesson1.pdf
วันที่สืบค้น 4 มีนาคม 2566.
ยืนยง มาดี และอติพงศ หันภาพ. (2558). พลังงานธรรมชาติจากกังหันน้ำ-ลมผลิตไฟฟาใช้เองตาม
แนวพระราชดำริ. นนทบุร:ี วี.ที.เอส.บุคเซ็นเตอร.
โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร ใ นกรุ ง เทพ. (2566). การตรวจคั ดกรองมะเร็ งปากมดลู ก (co-testing)
[online]. แ ห ล  ง ท ี ่ ม า https://www.bumrungrad.com/th/packages/cervical-cancer-
screening-co-testing วันที่สืบค้น 5 มีนาคม 2566
411

โรงพยาบาลพญาไท. (2563). ฝุนควันในเมือง ทำเสี่ยงมะเร็งปอดจริงไหมนะ [online] แหลงที่มา:


https://www.phyathai.com/article_detail/2889/th/ฝุนควันในเมือง_ทำเสี่ยงมะเร็งปอด
จริงไหมนะ??branch=PYT2 วันที่สืบค้น 14 เมษายน 2566.
ลาวัณย วิจารณ. (2559). สิ่งแวดลอมศึกษา: แนวทางสูการปฏิวัติ. ปทุมธานี: สำนักพิมพมหาวิทยาลัย
รังสิต.
วรนุช แจ้งสวาง. (2551). พลังงานหมุนเวียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วรลักษณ วงศโดยหวัง ศิริเจริญ. (2559). ปฏิสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรกับมนุษย. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วิจิตตราภรณ สุขเจริญ, พิชชากร ตั้งอารมณสุข, มุกตาภา สนธิอัชชรา, กชพร ไวทยกุล, จิรายุ
เศวตไกรพ, จิดาภา ภูพงศเพ็ชร, รตรัฐ เข่งคุ้ม, ศักรินทร ภูผานิล และ ศราวุธ ลาภมณีย. (2563).
การศึกษามาตรการจัดการปญหาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน ของประเทศไทยตาม
แนวทางองค์การอนามัยโลก. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตรเขตเมือง. 64(5): 345-356.
วิทยากร เชียงกูล. (2558). สิ่งแวดลอม-ระบบนิเวศสังคมที่ทุกคนควรรู. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแสง
ดาว จำกัด.
วิสันต ทาวสูงเนิน. (2558). ปรับปรุงโครงสรางดินอยางยั่งยืนตามแนวโครงการพระราชดำริ. นนทบุรี:
บุตร-บอส บุคเซ็นเตอร.
ศศินา ภารา. (2550). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท.
ศู น ย เ ครื อ ข่ า ยการจั ด การสารและของเสี ย อั น ตราย สถาบั น วิ จ ั ย สภาวะแวดล อ ม จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย. (2558). เหมืองสีเขียวเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ: บริษัท เอสทีซี มีเดีย
แอนด มาเตติ้ง จำกัด.
สถาบันระหวางประเทศเพื่อการค้าและพัฒนา (องค์การมหาชน). (2557). การพัฒนาศักยภาพการ
ผลิตและสงออกสินค้าและบริการสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: บริษัท ออนปา จำกัด.
สมาคมนิวเคลียรแหงประเทศไทย. (2566). การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของโรงไฟฟานิวเคลียร
กั บ โรงไฟฟ า ที ่ ใ ชเชื ้ อ เพลิ ง ชนิ ด อื ่ น [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: https://www.nst.or.th/
powerplant/pp04.htm วันที่สืบค้น 29 เมษายน 2566.
412

สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม. (2566). ทำความรูจักกับปลากระเบนราหูน้ำจืดสัตวน้ำใกลสูญ


พันธุ [online] แหลงที่มา: https://adeq.or.th/กระเบนราหูน้ำจืด/ วันที่สืบค้น 14 เมษายน
2566.
สมฤทัย ชรรณษานนท. (2549). ฝนหลวงพระราชทาน [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://www2.
mtec.or.th/ th/e-magazine/admin/upload/227_25-30-edit.pdf วันที่สืบค้น 23 กันยายน
2564
สวัสดิ์ โนนสูง. (2546). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพโอ
เดียนสโตร.
สมิตานัน หยงสตาร. (2564). โควิดกับขยะติดเชื้อ 5 เรื่องของการจัดการโดย กทม. [ออนไลน].
แหลงที่มา: https://www.bbc.com/thai/thailand-58114065 วันที่สืบค้น 30 ธันวาคม 2564
สำนักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. (2544). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวกับสภาวิจัยแหงชาติ,
กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน)
สำนักความรวมมือดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2556). อนาคตที่เราตองการ (The future we want).
กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน)
สำนักจัดการที่ดินปาไม กรมปาไม. (2564). บทสรุปสำหรับผูบริหารโครงการจัดทำข้อมูลสภาพพื้นที่
ป า ไม ป  พ.ศ.2564 [online] แหล ง ที ่ ม า: https://forestinfo.forest.go.th/Content/file/
ForestArea/ForestArea_2564.pdf วันที่สืบค้น 6 เมษายน 2566.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ. (2565). ฝุน PM 2.5 เปนสารก่อมะเร็งเสี่ยง
เสียชีวิตสูงตายปละ 7 หมื่นคน [online] แหลงที่มา: https://resourcecenter.thaihealth.
or.th/article/ฝุน-pm2-5-เปนสารก่อมะเร็ง-เสี่ยงเสียชีวิตสูง-ตายปละ-7-หมื่นคน วันที่สืบค้น
14 เมษายน 2566.
สำนักงานกองทุนสิ่งแวดลอม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.
(2556). จากตนสายสูปลายน้ำ. นนทบุรี: บริษัทอัพทรูยู ครีเอท นิว จำกัด.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2557). วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน [ออนไลน]. แหลงที่มา https://www.slideshare.net/firstpimm/ss-33302545
วันที่สืบค้น 4 มีนาคม 2566.
413

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ ่ ง แวดล อ ม. (2553). ความรู  เ บื ้ อ งต น เกี ่ ย วกั บ พิ ธ ี ส ารเกี ย วโต [online] แหล ง ที ่ ม า:
https://www.law.cmu.ac.th/law2011/ journal/e1506546359.pdf วันที่สืบค้น 3 เมษายน
2563.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม. (2557). ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก.
กรุงเทพฯ: บริษัท โมโนกราฟ สตูดิโอ จำกัด.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม. (2563). แผนที่นำทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ป พ.ศ. 2564-2573
[online] แหลงที่มา: http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER38/DRAWER027/
GENERAL/DATA0000/ 00000853.PDF วันที่สืบค้น 3 เมษายน 2563.
สำนั ก พิ ม พ ส ถาพรบุ  ค ส . (2564). โครงการแกล ง ดิ น [ออนไลน ]. แหล ง ที ่ ม า: https://online.
pubhtml5.com/ohxq/jzxy/#p=1 วันที่สืบค้น 10 มีนาคม 2566
414

ดัชนี

85 เดซิเบล ........................................................................................ 260 ความเปนกรด-ดาง........................................................................... 228


BOD ..................................................................................................... 228 ความพอประมาณ ............................................................................ 305
COD ..................................................................................................... 229 ความมีเหตุผล ................................................................................... 306
PM 2.5................................................................................................. 130
ความสมดุลของระบบนิเวศ...............................................................40
กฎหมาย............................................................................................. 343
ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต ................................................................25
กรมควบคุมมลพิษ................................................................... 250, 252
คารบอนเครดิต................................................................................. 126
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ........................... 136
คารบอนฟุตปริ้นท ........................................................................... 127
กังหันน้ำชัยพัฒนา............................................................................ 376
คารบอนมอนอกไซด ....................................................................... 246
ก๊าซคารบอนไดออกไซด ................................................................. 246
คุณธรรมจริยธรรม ........................................................................... 342
ก๊าซธรรมชาติ .................................................................................... 199
คุณภาพชีวิต .......................................................................55, 299, 375
การกระทำของมนุษย ...................................................................... 122
คุณภาพชีวิตที่ดี ................................................................................ 300
การจัดการวัสดุอินทรีย.................................................................... 389
คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน ........................................................................ 295
การจัดการสิ่งแวดลอม .................................................................... 362
คุณภาพน้ำ ........................................................................................ 228
การถายทอดพลังงาน ........................................................................ 28
คุณลักษณะทางจุลชีววิทยา ........................................................... 228
การประชาสัมพันธ ........................................................................... 349
โครงการแก้มลิง................................................................................ 383
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ............................................... 364
โครงการแกลงดิน............................................................................. 385
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ................................................................. 120
จัดการขยะ 3R .................................................................................. 255
การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นทุติยภูมิ ................................................... 35
ฉลากคารบอนฟุตปริ้นท ................................................................. 128
การปรับเปลี่ยนแทนที่ขั้นปฐมภูมิ ................................................... 34
ฉลากสีเขียว..........................................................................................96
การปลอยก๊าซเรือนกระจก............................................................. 389
ชารลส ดารวิน .................................................................................. 110
การปองกันมลพิษทางสิ่งแวดลอม ................................................ 263
ชีวมวล ...................................................................................................63
การเผาไหมเชื้อเพลิง........................................................................ 235
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ................................................................... 135
การพัฒนาคุณภาพชีวิต ................................................................... 303
ซอฟตแวร .............................................................................................59
การพัฒนาประเทศไทย ..................................................................... 84
เซ็นเซอร ...............................................................................................63
การมีภูมิคุ้มกัน .................................................................................. 306
เซลลแสงอาทิตย .................................................................................63
การสูญเสียธาตุอาหาร ....................................................................... 32
ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ......................................................................... 301
การอนุรักษ ........................................................................................ 332
ถานหิน ............................................................................................... 199
เกษตรครบวงจรในชุมชน ............................................................... 389
ทรัพยากรชายฝง .............................................................................. 206
ขยะทั่วไป ........................................................................................... 251
ทรัพยากรดิน..................................................................................... 167
ขยะรีไซเคิล........................................................................................ 251
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมหมดสิ้น....................................... 160
ขยะอันตราย...................................................................................... 252
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวสามารถสรางทดแทนได .............. 160
ขยะอินทรีย........................................................................................ 251
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวหมดไป ............................................ 160
ขี้ปลาวาฬ........................................................................................... 133
ทรัพยากรปาไม ................................................................................ 172
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี .................................................. 387
ทรัพยากรพลังงาน ........................................................................... 198
คลอโรฟลูออโรคารบอน.................................................................. 246
ทรัพยากรแรธาตุ .............................................................................. 191
ความก้าวหนาทางดานวิทยาศาสตร ............................................... 73
ทรัพยากรสัตวปา ............................................................................. 183
415

เทคโนโลยี ................................................................................... 56, 375 พลังงานความรอนใตพื้นพิภพ ....................................................... 287


เทคโนโลยีชีวภาพ............................................................................... 61 พลังงานชีวมวล................................................................................. 285
เทคโนโลยีทองถิ่น............................................................................... 81 พลังงานเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ................................................. 290
เทคโนโลยีที่ดี ...................................................................................... 64 พลังงานทดแทน ...................................................................... 201, 276
เทคโนโลยีนำเข้า................................................................................. 82 พลังงานน้ำ ........................................................................................ 281
เทคโนโลยีระดับกลาง ........................................................................ 80 พลังงานลม ........................................................................................ 282
เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน .................................................................... 79 พลังงานสะอาด ................................................................................ 201
เทคโนโลยีระดับสูง ............................................................................. 80 พลังงานแสงอาทิตย......................................................................... 280
เทคโนโลยีสะอาด ............................................................................. 276 พลังงานหมุนเวียน ........................................................................... 201
น้ำมันขาดแคลน ............................................................................... 394 พิธีสารเกียวโต .................................................................................. 249
น้ำมันปโตรเลียม ............................................................................... 199 พิธีสารมอนทรีออล .......................................................................... 249
แนวประการัง .................................................................................... 206 มนุษยวานร ....................................................................................... 114
ในหลวงรัชกาลที่ 9 .......................................................................... 304 มลพิษทางขยะ.................................................................................. 250
บำบัดน้ำเสียปนเปอนไขมัน............................................................ 391 มลพิษทางความรอน ....................................................................... 245
แบคทีเรียที่ไมตองการออกซิเจน ................................................... 230 มลพิษทางดิน .................................................................................... 241
ไบโอดีเซล ............................................................................................ 63 มลพิษทางอากาศ ............................................................................. 234
ไบโอเอทานอล ........................................................................... 63, 394 มลพิษทางอาหาร ............................................................................. 256
ประเภทของเทคโนโลยี ..................................................................... 60 มลพิษสิ่งแวดลอม ............................................................................ 225
ประเภทของแนวปะการัง ............................................................... 212 มลสาร ................................................................................................ 225
ประเภทของมลสาร.......................................................................... 260 มหาวิทยาลัยสีเขียว ......................................................................... 356
ประเภทของระบบนิเวศ .................................................................... 18 มูลนิธิชัยพัฒนา ................................................................................ 322
ประเภทของสิ่งแวดลอม ..................................................................... 5 ยีสต..................................................................................................... 393
ประยุกตใช้วิทยาศาสตร.................................................................. 375 ยุคของมนุษย .................................................................................... 116
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง............................................................... 305 ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม .......................................................................72
ปรากฏการณเรือนกระจก .............................................................. 122 ยุคโลหะ ................................................................................................71
ปริมาณของแข็ง ................................................................................ 229 ยุคหิน ....................................................................................................70
ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ................................................... 228 ระบบนิเวศที่มีชีวิต....................................................................... 23, 24
ปะการังฟอกขาว .............................................................................. 134 ระบบนิเวศที่ไมมีชีวิต .........................................................................20
ปจจัย 4 .............................................................................................. 159 แรธาตุกัมมันตรังสี ........................................................................... 195
ปญญาประดิษฐ .................................................................................. 62 โรงงานอุตสาหกรรม ........................................................................ 236
ปาชายเลน ......................................................................................... 206 ลดปริมาณการใช้กระดาษ.............................................................. 386
ปุยมูลไสเดือนดิน .............................................................................. 390 ลานีญา ............................................................................................... 145
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ..................................................................... 96 ลามารก .............................................................................................. 111
โปรไบโอติก ......................................................................................... 61 ลิกโนเซลลูโลส .................................................................................. 394
ผลกระทบของเทคโนโลยี................................................................ 100 ลูซี่ ...................................................................................................... 114
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม................................................................ 122 วัคซีนปองกันไวรัสโควิด-19 ..............................................................62
ผลการปฏิวัติอุตสาหกรรม................................................................ 78 วัฏจักรของสสาร .................................................................................36
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ..................................... 299 วัสดุที่เหลือจากการเกษตร ............................................................. 394
ฝนหลวงพระราชทาน ...................................................................... 378 วิทยาศาสตร.......................................................................56, 341, 342
พลังงานขยะ ...................................................................................... 286 วิธีทางชีวภาพ ................................................................................... 391
416

วิวัฒนาการ ........................................................................................ 110 สิ่งแวดลอมของประเทศไทย .......................................................... 137


วิวัฒนาการของเทคโนโลยี................................................................ 68 หลักทฤษฎีใหม ................................................................................. 312
วิวัฒนาการของมนุษย ..................................................................... 112 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง............................................. 316, 320
เศรษฐศาสตร .................................................................................... 343 หวงโซ่อาหาร .......................................................................................29
สังคมผูสูงอายุ...................................................................................... 98 อนุสัญญาเวียนนา ............................................................................ 249
สายใยอาหาร....................................................................................... 30 ออนไลน ................................................................................................85
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ....................................................................... 243 อุปสรรคในการอนุรักษ ................................................................... 352
สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย ........................................................ 256, 257 เอลนีโญ..................................................................................... 144, 145
สิ่งแวดลอม ........................................................................................ 375 ฮารดแวร ..............................................................................................60
ภาคผนวก
-1-

เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 1
1. สิ่งแวดลอมมีความสำคัญตอการดำรงชีวิตของมนุษยอยางไร จงบอกมา 2 ข้อพรอมอธิบาย
1. เปนปจจัย 4 เช่น
อาหาร จากพืช สัตว เห็ดหรือจุลินทรียที่มีประโยชนตอรางกาย
เครื่องนุงหม จากพืช สัตว หรือสิ่งสังเคราะหเลียนแบบธรรมชาติ
ยารักษาโรค จากจุลินทรีย พืชสมุนไพร การทดลองในสัตวทดลอง หรือสารเคมีสังเคราะห
จากองค์ความรูของมนุษย
ที่อยูอาศัย จากตนไม หรือวัสดุที่ทำขึ้นจากองค์ความรูของมนุษย
2. มีอิทธิพลตอการตั้งถิ่นฐาน หรือที่ทำมาหากิน พื้นที่ใดมีสิ่งแวดลอมที่อุดมสมบูรณ เช่น
จำนวนคนไมแออัด ไมมีโจรชุกชุม มีการคมนาคมขนสงสะดวกสบาย มีอาชีพใหเลือกทำหลากหลาย
สงเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มนุษยจะเลือกอาศัยอยูในบริเวณที่ราบลุมที่มีแหลงน้ำอุดมสมบูรณ มี
ลักษณะอากาศไมรุนแรง อุณหภูมิปานกลาง ปริมาณน้ำฝนพอเหมาะ พบวาบริเวณที่มีลักษณะทาง
ธรรมชาติไมเหมาะสม จะมีประชากรอาศัยอยูนอยมาก

2. บานสวนของอากงและอามาที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา มีตนไมหลากหลายชนิดที่ขึ้น


เองอยูรอบ ๆ บาน เช่น ไมยืนตน ไมพุม ดอกไมนานาพันธุ มีผีเสื้อ มีผึ้ง และแมลงตาง ๆ มีนกมาทำ
รังบนตนไม สงเสียงรองจิ๊บ ๆ กันไพเราะนาฟง มีไก่ขันยามเช้าและขันเกือบทั้งวัน มีสุนัข มีแมว มี
กระรอก บนพื้นดินมีกิ้งกือ ไสเดือน มีแปลงผักขนาดเล็กพอปลูกกินเองและแบงขายอยูข้างบาน มีบอ
น้ำเล็ก ๆ ไวเก็บน้ำเพื่อใช้ทำการเกษตร มีพื้นที่หนาบานใหเดินเลนได ขี่จักรยานได มีลมพัดเย็น มี
โรงเก็บรถที่เก็บไดทั้งรถยนตและรถจักรยานยนต เมื่อนองนโมตื่นมาตอนเช้าสามารถมองเห็นพระ
อาทิตยขึ้น ทองฟาสดใส และตอนเย็นมองเห็นพระอาทิตยตกดิน มีดาวหลายดวงใหนับ นองนโมได
ทานกลวยและมะพราวจากสวนอยูบอยครั้ง อากงและอามามีความสุขกับการทำสวนปลูกผัก เพราะ
นอกจากจะไดกินผักที่เราปลูกเองปลอดสารพิษแลว อากงและอามายังไดออกกำลังกายอีกดวย เมื่อถึง
เทศกาลปใหมไทยเดือนเมษายนของทุกป ลูกหลานจะมารดน้ำขอพรจากอากง อามา และกินข้าว
รวมกัน
จากข้อความข้างตน นักศึกษาจงวิเคราะหและบอกสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ กับ สิ่งแวดลอมที่มนุษย
สรางขึ้น
-2-

สิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น

ตนไมหลากหลายชนิด เช่น ไมยืนตน ไมพุม แปลงผักขนาดเล็ก กลวย และมะพราวจากสวน


ดอกไมนานาพันธุ

ผีเสื้อ ผึ้ง และแมลงตาง ๆ นก ไก่ สุนัข แมว บอน้ำเล็ก ๆ ไวเก็บน้ำเพื่อใช้ทำการเกษตร


กระรอก กิ้งกือ ไสเดือน

ตอนเช้ามองเห็นพระอาทิตยขึ้น ทองฟาสดใส มีพื้นที่หนาบานใหเดินเลน ขี่จกั รยานได


และตอนเย็นมองเห็นพระอาทิตยตกดิน มีดาว
หลายดวงใหนับ

มีโรงเก็บรถทีเ่ ก็บไดทั้งรถยนตและ
รถจักรยานยนต

การรดน้ำขอพรจากอากง อามา และกินข้าว


รวมกัน ช่วงเทศกาลปใหมไทยเดือนเมษายนของ
ทุกป

3. สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นทางสังคมที่เปนนามธรรมในสังคมไทยมีอะไรบาง จงยกตัวอยางมา 5
อยาง
ลอยกระทง ทำบุญตักบาตรและสรงน้ำพระในวันสงกรานต การโกนผมไฟ การนับถือศาสนา
การแตงกายชุดนักศึกษา เปนตน

4. จงยกตัวอยางระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้นในจังหวัดที่นักศึกษาอาศัยอยู พรอมทั้งระบุโครงสราง
องค์ประกอบของระบบนิเวศนั้น แยกเปนองค์ประกอบที่เปนสิ่งไมมีชีวิตและองค์ประกอบที่เปน
สิ่งมีชีวิต
ตัวอยางเช่น สวนสาธารณะ มีโครงสรางองค์ประกอบของระบบนิเวศดังนี้ คือ องค์ประกอบที่
ไมมีชีวิต คือ อากาศ ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคารบอนไดออกไซด และก๊าซชนิดอื่น แสงแดด อุณหภูมิ แร
ธาตุ ดิน ความชื้น แหลงน้ำ เสาไฟ หลอดไฟ ปายบอกทาง เสนทางเดิน และเสนทางรถ เครื่องเลน
-3-

ออกกำลังกาย เครื่องเลนของเด็ก หองสมุดขนาดเล็ก เก้าอี้นั่ง ถังขยะ น้ำพุ สถาปตยกรรมที่เสริม


ความสวยงาม องค์ประกอบที่มีชีวิต คือ มนุษย สัตว ตนไม และจุลินทรีย พืชน้ำ และสัตวน้ำ

5. ใหนักศึกษาทำการเปรียบเทียบโครงสรางและลักษณะของระบบนิเวศตามธรรมชาติกับระบบนิเวศ
เมืองที่มนุษยสรางขึ้น
ลักษณะปรากฏ ระบบนิเวศตามธรรมชาติ ระบบนิเวศเมืองที่มนุษยสรางขึ้น

1. แหลงพลังงาน แสงอาทิตย น้ำมันเชื้อเพลิง ถานหิน ก๊าซ


ธรรมชาติ เปนตน

2. ชนิดของก๊าซที่เกี่ยวข้อง ปลอยก๊าซออกซิเจน และดูด ปลอยก๊าซคารบอนไดออกไซดและ


ในระบบ และคุณภาพ ก๊าซคารบอนไดออกไซด ดูดก๊าซออกซิเจน คุณภาพอากาศ
อากาศ คุณภาพอากาศดี เสีย

3. รูปแบบการใช้ ใช้สารอนินทรียเพื่อสราง บริโภคสารประกอบอินทรีย


สารประกอบอินทรีย สารอินทรีย

4. ปริมาณสารมลพิษ ช่วยลดปริมาณสารมลพิษ เพิ่มปริมาณสารมลพิษและของเสีย


ตองกำจัดดวยเทคนิคเฉพาะทาง

5. ความสมดุลและการ มีความสมดุลและสามารถ ทำลายความสมดุลของธรรมชาติเกิด


ควบคุมสภาพ ควบคุมไดดวยกลไกตาม การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมและ
ธรรมชาติ ระบบนิเวศ ไมสามารถควบคุมให
เหมือนเดิมได

6. การเกิดเสียง มีแตเสียงธรรมชาติที่ไมเปน เพิ่มมลพิษทางเสียงจากกิจกรรมตาง


อันตราย ไมมีเสียงดังรบกวน ๆ ของมนุษย

7. การคงอยูของระบบ ถาไมเกิดภัยธรรมชาติรุนแรง ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปในทางที่


นิเวศ ระบบนิเวศจะยังคงอยู แยลง
-4-

8. ความอุดมสมบูรณของ ดินและปาไมอุดมสมบูรณ ดินและปาไมถูกทำลาย เกิดการ


ดินและปาไม เสื่อมโทรมเสียหาย

9. คุณภาพน้ำ คุณภาพน้ำดี เปนน้ำจาก คุณภาพน้ำเสีย มีการปลอยของเสีย


แหลงธรรมชาติ ลงสูแหลงน้ำ

10. ที่อยูอาศัยของสัตวปา เปนที่อยูอาศัยของสัตวปา บุกรุกทำลายที่อยูอาศัยของสัตวปา


-5-

เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 2
1. ความสำคัญขององค์ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสรางความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดลอมอยางไรบาง
1. ยกระดับความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ เริ่มจากการจัดการวัตถุดิบ
กระบวนการผลิต การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในการควบคุมตลอดสายการผลิตและบริการ
2. การสรางมูลค่าเพิ่มใหแก่สินค้าและบริการ เทคโนโลยีที่นำมาใช้จะช่วยยกระดับผลิตภัณฑ
ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล รวมทั้งการบริหารจัดการของเหลือทิ้ง
ของเสียจากกระบวนการ เพื่อรองรับเศรษฐกิจสีเขียว
3. การใช้พื้นที่การเกษตรอยางคุ้มค่า เพิ่มคุณภาพและผลผลิตทางการเกษตรอยางเหมาะสม
และยั่งยืน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งนวัตกรรมการสรางชุดตรวจสอบรวดเร็ว เช่น การตรวจ
เชื้อไวรัสและแบคทีเรียในกุ้ง การตรวจสอบดีเอ็นเอของพืชเพื่อการปรับปรุงพันธุ เปนตน
4. ยกระดับและพัฒนาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตภัณฑชิ้นสวนรถ เทคโนโลยีเชื้อเพลิง
พลั ง งานสะอาด และภาคอุ ต สาหกรรม อุ ต สาหกรรมพลาสติ ก ชี ว ภาพ รวมทั ้ ง อุ ต สาหกรรม
คอมพิวเตอรและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. องค์ประกอบของเทคโนโลยีมี 2 สวน คือ ซอฟตแวร และฮารดแวร กรณีเทคโนโลยีการบำบัดน้ำ


เสียในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีในประเทศไทย จงอธิบายวาสวนใดคือ ซอฟตแวร และสวนใดคือ
ฮารดแวร
ฮารดแวร คือ เครื่องตีน้ำ หรือกังหันน้ำ หรือบอบำบัดน้ำเสีย
ซอฟตแวร คือ วิธีการทางกายภาพ ทางเคมี หรือการใช้จุลินทรีย แบคทีเรียหรือยีสต มาช่วย
ในการดูดซับของเสีย สารแขวนลอยที่ปนเปอนในน้ำเสีย รวมกับการใช้กังหันน้ำตีน้ำเพิ่มออกซิเจนใน
น้ำ
-6-

3. จงวิเคราะหประเภทของเทคโนโลยี ดังตอไปนี้
สิ่งอำนวยความสะดวกของมนุษย ประเภทของเทคโนโลยี

1. สมารทโฟน เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร


สารสนเทศและดาวเทียม

2. ตูเย็น เทคโนโลยีพื้นฐานทางวิทยาศาสตรทางกายภาพ
และชีวภาพ

3. แหนมฉายรังสี เทคโนโลยีอาหารและการแปรรูป

4. วัคซีนปองกันโควิด-19 เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย

5. ไบโอเอทานอล เทคโนโลยีพลังงาน ยานยนตและสิ่งแวดลอม

4. เทคโนโลยี ที ่ เ ข้ ามามี บทบาทมากในช่ วงเกิ ดการแพร ระบาดของเชื ้ อไวรั สโคโรนา-2019 คื อ


เทคโนโลยีใด จงยกตัวอยางการใช้ประโยชนจากเทคโนโลยีนั้นในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร และสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทในการติดตอสื่อสาร
การเรียนออนไลน การซื้อขายสินค้าออนไลน การสั่งอาหารและบริการตาง ๆ ออนไลน การติดตอ
ทางการแพทยออนไลน เพื่อลดโอกาสการพบปะผูคนใหนอยลง ลดโอกาสเสี่ยงตอการไดรับเชื้อไวรัส
โคโรนา-2019

5. ท า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย า งไรต อ ผลกระทบของเทคโนโลยี อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส คอมพิ ว เตอร และ
สารสนเทศตอเด็กช่วงอายุ 3-12 ขวบ
ผลกระทบดานบวก เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร และสารสนเทศเข้ามาช่วย
สงเสริมดานการศึกษาในการผลิตสื่อการเรียนการสอนที่นาสนใจใหกับเด็กมากขึ้น มีเสียง ภาพ และ
เอฟเฟกตตาง ๆ ประกอบเพื่อดึงดูดความสนใจของผูเรียน ความรูทางวิทยาศาสตรที่ทันสมัยและ
เข้าถึงการทดลอง ปฏิบัติการตาง ๆ ไดมากขึ้น ผูสอนเชื่อวาจะช่วยสรางจินตนาการที่สรางสรรค์ของ
เด็ก เพื่อผลิตกำลังคนที่สรางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ยั่งยืนสำหรับพัฒนาประเทศ เพื่อลดเทคโนโลยี
นำเข้าจากตางประเทศ เช่น สื่อการสอนออนไลน เปนตน
-7-

ผลกระทบดานลบ เด็กเข้าถึงระบบสารสนเทศไดง่าย เด็กยังไมสามารถตัดสินใจเลือกสิ่งที่


เหมาะสมกับตนเองได และหากการเข้าถึงนี้ไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากผูปกครอง ยอมสงผลเสีย
อยางมากกับตัวเด็กที่ยังไมมีประสบการณและการควบคุมตนเองในการใช้เครื่องมือที่ทันสมัยนี้ หาก
เด็กใช้เวลาอยูกับเทคโนโลยีนี้มากเกินไป จนสงผลกระทบตอพัฒนาการดานความคิดของเด็ก สุขภาพ
ดวงตา สุขภาพรางกายที่ไมพัฒนาไปตามวัย รวมทั้งสงผลใหเด็กเกิดโรคสมาธิสั้น ก้าวราว เอาแตใจ
รวมไปถึงอาจเกิดปญหาอาชญากรรม ลักพาตัวเด็กไปกระทำชำเรา ข่มขืน อนาจาร และอาจเสียชีวิต
ในที่สุด
-8-

เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 3
1. การเรียนรูเกี่ยวกับวิวัฒนาการของมนุษย สิ่งมีชีวิตตาง ๆ บนโลก มีความสำคัญอยางไรตอมนุษย
1. เปนองค์ความรูสำหรับศาสตรทางดานวิทยาศาสตรชีวภาพทุกสาขา ทั้งการศึกษามนุษย
พืช สัตว และจุลินทรีย
2. เปนองค์ความรูที่สนับสนุนการศึกษาวิจัยศาสตรทางดานพันธุศาสตรและอณูโมเลกุล เพื่อ
สรางสิ่งมีชีวิตที่เปนประโยชนตอมนุษยบนพื้นฐานของการมีจรรยาบรรณนักวิจัย
3. ทำให มนุ ษย ทราบข้ อมู ลความเป นมาของตนเองและสิ ่ งมี ชี วิ ตอื ่ น ๆ เข้ าใจถึ งความ
เหมือนกัน และความตางกันของสิ่งมีชีวิตแตละชนิด รวมทั้งความสัมพันธเชิงดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต
4. ทำใหมนุษยเรียนรูและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรม ลักษณะการแสดงออก และ
สิ่งแวดลอมมีความสัมพันธเกี่ยวข้องกัน
5. มนุษยสามารถใช้สิ่งมีชีวิตที่มีดีเอ็นเอใกลเคียงกับตนเองมาใช้ประโยชนในการศึกษาวิจัย
ทางการแพทย การผลิตยารักษาโรค แนวทางการรักษาโรคอุบัติใหมที่เกิดขึ้น การผลิตวัคซีนปองกัน
ไวรัสและสารก่อภูมิแพ

2. จงเปรียบเทียบการใช้ชีวิตของมนุษยและความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมในแตละยุค
ลักษณะปรากฏ ยุคมนุษยอยูรวมกับ ยุคมนุษยตอตาน ยุคที่มนุษยสรางปญหา
ธรรมชาติและ ธรรมชาติและ มลพิษใหกับธรรมชาติ
สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม และสิ่งแวดลอม

การดำรงชีวิต อยูภายใตธรรมชาติ พยายามควบคุม นำธรรมชาติมาใช้อยาง


และสิ่งแวดลอม ธรรมชาติ เอาชนะ ฟุมเฟอยและผิดวิธี เพื่อ
ธรรมชาติและคิดค้นวิธี ตอบสนองความ
นำธรรมชาติและ ตองการของมนุษย
สิ่งแวดลอมมาใช้ สรางสิ่งอำนวยความ
ประโยชน สะดวก ทำใหธรรมชาติ
เสื่อมโทรมเกิดมลพิษ
สิ่งแวดลอม
-9-

แหลงที่มาของ มาจากธรรมชาติ มาจากธรรมชาติและ ดัดแปลงธรรมชาติเปน


ปจจัย 4 เริ่มดัดแปลงธรรมชาติ สิ่งตาง ๆ เกิดสิ่งใหมที่
เปนสิ่งตาง ๆ ดวย ดีกวาธรรมชาติ เพื่อ
ความรูทางวิทยาศาสตร การพัฒนาประเทศและ
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ดวยความก้าวหนาทาง
วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี

สิ่งอำนวยความ ไมมี มีบางเล็กนอย มีมากและหลากหลาย


สะดวก

กิจกรรมทาง เพาะปลูกเลี้ยงสัตว กำหนดพื้นที่ปลูก ปลูก เพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว


การเกษตร อยางง่าย พืชผักหลากหลาย แบง เปนอุตสาหกรรม เลี้ยง
เพื่อนบาน กำหนดพื้นที่ สัตวเปนอุตสาหกรรม
เลี้ยงสัตวมีการแสดง เพื่อการค้าและแปรรูป
ความเปนเจ้าของ ผลิตภัณฑ

กิจกรรมทาง ไมมี อุตสาหกรรมขนาดเล็ก อุตสาหกรรมขนาดเล็ก


อุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมขนาด
ใหญ มีโรงงาน
อุตสาหกรรมมากมาย
เกิดสารมลพิษจาก
อุตสาหกรรมมากขึ้น

ความก้าวหนาทาง ไมมี มีความก้าวหนาทาง มีความก้าวหนาทาง


วิทยาศาสตรและ วิทยาศาสตรและ วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี เทคโนโลยีพื้นฐาน เทคโนโลยีอยางมาก มร
- 10 -

การพัฒนาประเทศใน
ดานตาง ๆ ที่ทันสมัย

การเงิน ไมมี มีการใช้เงินตราสำหรับ มีการใช้เงินตราสำหรับ


สิ่งของบางอยาง สิ่งของทุกอยางที่มนุษย
ตองการ มนุษยทุกคน
ตองทำงานมีอาชีพ
เพื่อใหไดเงิน

ความสัมพันธ อยูกันเปนกลุมจำนวน อยูกันเปนครอบครัว อยูเปนครอบครัวเล็ก


ระหวางมนุษยกับ มาก มีความสามัคคี ใหญ ถอยทีถอยอาศัย พอแมลูก มีการแข่งขัน
มนุษย ผูชายปกปองผูหญิง กันและกัน มี กันทำมาหากิน
และเด็ก ความสัมพันธที่ดี ความสัมพันธระหวาง
ระหวางเพื่อนบาน เพื่อนบานมีนอย ตาง
คนตางใช้ชีวิต ไมค่อย
ยุงเกี่ยวกัน ความมี
น้ำใจซึ่งกันและกัน
นอยลง

ความสัมพันธ มนุษยอยูรวมกับ เนื่องจากมนุษยเพิ่ม มนุษยเพิ่มจำนวนมาก


ระหวางมนุษยกับ สิ่งแวดลอมโดยไม จำนวนมากขึ้น ความ ขึ้น ในชณะที่ธรรมชาติ
สิ่งแวดลอม ทำลายใหเสื่อมโทรม ตองการใช้ประโยชน มีจำนวนจำกัด มนุษย
จากธรรมชาติและ นำธรรมชาติมาใช้
สิ่งแวดลอมมีมากขึ้น ประโยชน จนเกิดความ
มนุษยบางสวนนำ เสื่อมโทรม และขาด
ธรรมชาติมาใช้ไมถูกวิธี การอนุรักษฟนฟูใหคง
จนเกิดความเสื่อมโทรม สภาพเดิม เกิดมลพิษ
สิ่งแวดลอมมากมาย
- 11 -

มลพิษสิ่งแวดลอม ไมมี มีบางเล็กนอย มีมลพิษสิ่งแวดลอม


หลายชนิด สงผล
กระทบตอคุณภาพชีวิต
และความเปนอยูของ
มนุษยอยางมาก

3. ปรากฏการณเรือนกระจก เกิดจากสาเหตุใด จงอธิบาย ปรากฎการณนี้สงผลตอการเกิดสภาวะโลก


รอน เปนผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดบางบนโลกใบนี้ จงสรุปมาเปนข้อ ๆ
ปรากฏการณเรือนกระจกมีสาเหตุมาจาก การเผาไหมเชื้อเพลิงจากกิจกรรมตาง ๆ ของ
มนุษย การปลอยควันพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม ก๊าซพิษตาง ๆ ลอยขึ้นไปอยูบนชั้นบรรยากาศ ดูด
ซับรังสียูวีจากดวงอาทิตยเอาไวไมสะทอนกลับออกไปหมด ความรอนยังคงสะสมอยูในพื้นโลก
ปรากฏการณนี้สงผลตอการเกิดสภาวะโลกรอนขึ้น และสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนโลกจากสภาวะโลกรอนขึ้น มีดังนี้คือ
1. อากาศสุดขั้ว เพราะอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นทำใหสภาพอากาศโดยเฉลี่ยรอนขึ้น ฤดูรอนรอน
มากขึ้น ฤดูหนาวอุณหภูมิไมลดต่ำลงมากเหมือนในอดีต
2. คลื่นความรอน จะมีความรุนแรงมากขึ้นกวาในอดีต คาดวาจะมีผูเสียชีวิตมากขึ้นถึง 3 เทา
3. ภัยแลงซ้ำซาก เกิดภัยแลงบอยครั้งขึ้น คาดวาเอลนีโญสุดขีดจะเกิดขึ้นถี่ถึง 2 เทาในช่วง
100 ป
4. หิมะถลมเมือง ทวีปอเมริกาเหนือและตอนเหนือของยุโรปอาจตองเผชิญปรากฎการณ
หนาวสุดขั้ว อุณหภูมิติดลบหลายองศาต่ำกวาจุดเยือกแข็ง หิมะตกทับถมตอเนื่องยาวนาน
5. พายุหมุนขนาดยักษ ภาวะโลกรอนทำใหน้ำทะเลในมหาสมุทรมีอุณหภูมสิ ูงขึ้น มีแนวโนม
ทำใหพายุหมุนเขตรอนเกิดถี่ขึ้นและรุนแรงขึ้นจากในอดีต กลายเปน ซูเปอรพายุหมุน (Superstorm)
ทำใหเกิดภัยพิบัติน้ำทวม ดินถลม ลมพายุรุนแรงทำลายสิ่งตาง ๆ
6. น้ำทวมโลก จากปริมาณน้ำแข็งที่ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใตที่กำลังละลายลงสูทะเล และ
มหาสมุทรดวยอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นหลายเทาจากในอดีต ทำใหระดับน้ำทะเลอาจเพิ่มสูงขึ้นหลายเมตร
- 12 -

และจะสงผลใหเมืองที่อยูตามชายฝงทะเลหลายแหงตองจมอยูใตน้ำ ซึ่งกรุงเทพมหานครเปน 1 ใน 6
เมืองของโลกที่อยูในภาวะเสี่ยงนั้นดวย โดยมีการคาดการณวาภายในป 2030 พื้นที่ 40% ของเมือง
กรุงเทพฯ จะถูกน้ำทวมเสียหาย ทั้งจากฝนที่ตกหนัก และน้ำหนักของตึกระฟาที่ยิ่งสงผลใหเมือง
กรุงเทพฯ ตองจมลงในอัตรา 0.8 นิ้วตอปดวย
7. กระแสน้ำมหาสมุทรแปรปรวน ในมหาสมุทรมีการไหลเวียนของกระแสน้ำเชื่อมโยงกันทั่ว
โลกเปนวงจรใหญที่เรียกวา สายพานมหาสมุทรโลก (Great ocean conveyor belt) ภาวะโลกรอน
อาจสงผลกระทบใหสายพานนี้เคลื่อนที่ช้าลงหรืออาจหยุดไป ซึ่งจะสงผลกระทบใหญหลวงมากทั้งตอ
ชีวิตบนบกและสัตวในทะเล
8. ทะเลเปนกรด เมื่ออุณหภูมิของโลกสูงขึ้น มหาสมุทรจะละลายก๊าซคารบอนไดออกไซดได
มากขึ้น ทำใหน้ำทะเลมีสภาพความเปนกรดสูงขึ้น ซึ่งจะสงผลตอสิ่งมีชีวิตในทะเล และสงผลกระทบ
ตอเนื่องกันเปนลูกโซ่ในระบบนิเวศของทองทะเล
9. พืชและสัตวสูญพันธุ ซึ่งสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงมีผลตอวัฏจักรและวงจรชีวิตของสัตว
และพืชตาง ๆ ทั้งบนบกและในทะเล ทำใหความหลากหลายทางชีวภาพบนโลกเรานี้ลดลง
10. โรคอุบัติใหมและโรคเดิมอุบัติซ้ำ สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เช่น ยุง แมลง ไวรัส และเชื้อโรคตาง ๆ
ทำใหวงจรชีวิตของมันสั้นลงแตแพรขยายพันธุเร็วขึ้น และอาจปรับตัววิวัฒนาการไดเร็วขึ้นดวย ซึ่ง
คาดวาการระบาดของโรครายจะแพรกระจายสูภูมิภาคอื่นของโลกไดง่ายขึ้น เช่น เชื้อไวรัสโควิด-19
เปนตน

4. ประเทศไทยมีกลไกตลาดกับมาตรการลดโลกรอนดวยคารบอนเครดิต และคารบอนฟุตปริ้นท โดย


กำหนดสินค้าการใหบริการและองค์กรตองมีฉลากคารบอนฟุตปริ้นท แบงเปน 5 ประเภท อะไรบาง
จงอธิบาย
1. คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ (Carbon Footprint of Product) เปนฉลากที่เราพบได
บนสินค้าและผลิตภัณฑตาง ๆ แสดงถึงปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการผลิต
ผลิตภัณฑนั้น ๆ โดยจะคำนวณตั้งแตการไดมาซึ่งวัตถุดิบ จนเข้าสูกระบวนการผลิต การขนสง การ
นำไปใช้ และการกำจัดซาก ฉลากคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑมีอายุการรับรองฉลากเปนเวลา 3
ป
- 13 -

2. คารบอนฟุตปริ้นทขององค์กร (Carbon Footprint for Organization หรือ Corporate


Carbon Footprint: CCF) เปนการรับรองข้อมูลปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากการ
ดำเนินงานและกิจกรรมตาง ๆ ขององค์กรในช่วงระยะเวลา 1 ป โดยพิจารณาจาก 3 สวนหลัก คือ
1. ปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Direct Emission) เช่น การเผาไหมเชื้อเพลิง การ
ขนสงจากยานพาหนะขององค์กร เปนตน 2. ปริมาณการปลอยก๊าซเรือนกระจกทางออมจากการใช้
พลังงาน (Energy Indirect Emissions) เช่น การซื้อพลังงานไฟฟา พลังงานความรอน พลังงานไอน้ำ
เปนตน และ 3. การคำนวณคารบอนฟุตพริ้นททางออมดานอื่น ๆ เช่น การเดินทางของพนักงานดวย
พาหนะที่ไมใช่ขององค์กร การใช้วัสดุอุปกรณตาง ๆ เปนตน ฉลากคารบอนฟุตพริ้นทขององค์กรมีอายุ
การรับรองเปนระยะเวลา 1 ป
3. ฉลากลดคารบอนฟุตปริ้นทของผลิตภัณฑ หรือ ฉลากลดโลกรอน คือ ฉลากที่แสดงวา
ผลิตภัณฑไดผานการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ และสามารถลดการปลอยก๊าซเรือน
กระจกของผลิตภัณฑไดตามเกณฑที่กำหนด ซึ่งเปนการประเมินการปลอยก๊าซเรือนกระจกตลอดวัฏ
จักรชีวิตของผลิตภัณฑ โดยเปรียบเทียบคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑในปปจจุบันกับปฐาน ซึ่งถือ
วาเปนฉลากที่มีบทบาทสำคัญตอการลดก๊าซเรือนกระจกของกระบวนการผลิตสินค้า
4. ฉลากคูลโหมด (Cool Mode) เปนฉลากที่มอบใหกับเสื้อผา หรือผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติ
พิเศษในการซับเหงื่อและระบายความรอนไดดี ทำใหสวมใสสบาย ไมรอนอบอาว สามารถสวมใสใน
อาคารหรือหองที่มีอุณภูมิเครื่องปรับอากาศ 25˚C ไดโดยไมรูสึกอึดอัด เนื่องจากวัสดุที่ใช้ในการตัด
เย็บเปนผาที่มีการพัฒนาใหมีคุณสมบัติพิเศษในการซับเหงื่อจากผิวหนังและระเหยออกจึงช่วยรองรับ
การเปลี่ยนพฤติกรรมของผูบริโภคที่ตองการมีสวนช่วยลดการใช้กระแสไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ
และลดการปลอยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งทาง อบก. ไดรวมกับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ (สสท.)
โดยใหระยะเวลาการรับรองแก่ผูประกอบการเปนเวลา 3 ป
5. ฉลาก Carbon Offset / Carbon Neutral เปนฉลากที่ใหการรับรองกับกิจกรรมที่มีการ
ซื้อคารบอนเครดิตมาชดเชยปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปลอยออกมาจากกิจกรรมตาง ๆ ขององค์กร
หรือ ผลิตภัณฑ หรือ เหตุการณงานอีเวนท หรือ บุคคล โดยหากมีการชดเชยเพื่อทำใหการปลอยก๊าซ
เรือนกระจกลดลงบางสวนจะไดรับการรับรองฉลาก Carbon Offset และชดเชยทั้งหมดหรือลดลง
เทากับศูนยจะไดรับการรับรองฉลาก Carbon Neutral ซึ่งเทียบเทากับไมมีการปลอยก๊าซเรือน
กระจกจากกิจกรรมนั้น ๆ
- 14 -

5.

จากภาพ ทานมีความรูสึกอยางไร องค์ประกอบที่เกิดขึ้นในภาพมาจากสาเหตุใดบาง สงผลกระทบ


อยางไร แลวทานมีแนวทางในการจัดการองค์ประกอบในภาพเพื่อแนะนำผูอื่นอยางไรบาง
รูสึกหวงใยสัตวทะเล พืชทะเล และความสะอาดของทองทะเล ขยะที่อยูในทองทะเลมีสาเหตุ
มาจาก การทิ้งขยะของคนในชุมชนและผูที่มาทองเที่ยว การปลอยของเสียลงสูแหลงน้ำจากโรงงาน
อุตสาหกรรม สงผลกระทบการเจริญของพืชน้ำ สัตวน้ำตายจากการกินขยะเข้าไปเพราะคิดวาเปน
อาหาร น้ำเกิดความเนาเสีย พืชและสัตวน้ำไมสามารถปรับตัวได เกิดการตายและสูญพันธุไป สาหราย
ที่เปนพิษบางชนิดเจริญเติบโตไดดีเกิดอันตรายตอทองทะเล และสงผลกระทบทางลบตอระบบนิเวศ
ของทองทะเล เกิดมลพิษทางน้ำ สงผลกระทบตอมนุษยโดยตรงดวยเช่นกัน ดังนั้นแนวทางในการ
จัดการขยะในภาพทำได ดังนี้ คือ
1. ปลูกจิตสำนึก รณรงค์การแยกขยะ ไมทิ้งขยะลงสูทะเล ในกับประชาชนทุกคน
2. มีกฎหมายควบคุมและบทลงโทษที่ชัดเจนและหนัก เพื่อไมใหคนทิ้งขยะไมเปนที่เปนทาง
ลงสูทะเล
3. สนับสนุนงบประมาณวิจัยดานการดูแลอนุรักษทรัพยากรตาง ๆ ในทะเล
4. สงเสริมใหผูเชี่ยวชาญเข้ามาศึกษาค้นควาวิธีการบำบัดน้ำเสียในทะเลอยางถูกตอง
5. มีมาตรการควบคุมการปลอยน้ำมัน และของเสียจากกิจกรรมขุดเจาะน้ำมันดิบในทะเล
6. รัฐบาลควรมีแผนการควบคุมและดำเนินการในการแก้ไขปญหามลพิษทางทะเลลวงหนา
7. จำกัดนักทองเที่ยวในพื้นที่ทะเลที่มีขยะจำนวนมาก ตองมีการจัดการขยะและฟนฟู
ทรัพยากรทางทะเลก่อนใหนักทองเที่ยวเข้าชมความสวยงามได
- 15 -

เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 4
1. ทรัพยากรธรรมชาติมีความสำคัญตอมนุษยอยางไร จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ
ทรัพยากรธรรมชาติมีความสำคัญในการเปนปจจัย 4 สำหรับการดำรงชีวิตของมนุษย เปน
องค์ประกอบของสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ หากมนุษยรูวิธีที่ถูกตองในการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติ
มาใช้ยอมช่วยใหเกิดความเปนอยูที่ดีแก่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สรางความเจริญใหกับประเทศ
ทรัพยากรธรรมชาติสามารถสรางเครื่องอุปโภคบริโภค มนุษยนำทรัพยากรมาใช้สรางภาคเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม คมนาคมขนสง การสื่อสาร เขื่อน/ฝาย การชลประทาน สิ่งทอเครื่องนุงหม ยารักษาโรค
และเครื่องมือทางการแพทย ที่อยูอาศัย อาคารบานเรือน ที่พักผอนหยอนใจ เปนปจจัยสำคัญในการ
พัฒนาความก้าวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงานวิจัย การพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ

2. ทรัพยากรธรรมชาติแบงออกเปน 3 ประเภทตามการใช้ประโยชน คือ


1) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมหมดสิ้น
2) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวหมดไป
3) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวสามารถสรางทดแทนได

จงวิเคราะหทรัพยากรธรรมชาติแตละประเภท ดังตอไปนี้
ปจจัย ทรัพยากรธรรมชาติที่ ทรัพยากรธรรมชาติที่ ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้
ใช้แลวไมหมดสิ้น ใช้แลวหมดไป แลวสามารถสราง
ทดแทนได
ตัวอยางทรัพยากร อากาศ น้ำ ดิน น้ำมันปโตรเลียม ก๊าซ ปาไม สัตวปา พืชพรรณ
แสงอาทิตย ธรรมชาติ ถานหิน สัตวน้ำ ทุงหญา
ลิกไนต แรธาตุ
ความสำคัญตอการ ทรัพยากรที่จำเปน ทรัพยากรที่เกินความ ทรัพยากรที่จำเปน
ดำรงชีวิตของ จำเปน
มนุษย เปน
ทรัพยากรที่จำเปน
- 16 -

หรือ ทรัพยากรเกิน
ความจำเปน
คุณภาพของ ขาดการดูแล ทรัพยากรชนิดนี้ไม ขาดการดูแลบำรุงรักษา
ทรัพยากร บำรุงรักษาจะทำให สามารถทดแทนไดใน จะทำใหทรัพยากรชนิดนี้
ทรัพยากรชนิดนี้เสื่อม ระยะเวลาอันสั้น ถูกทำลาย นำมาใช้
โทรม นำมาใช้ ประโยชนไดนอยลง
ประโยชนไดนอยลง
ผลกระทบตอการ มีผลกระทบตอการ ไมมีผลกระทบตอการ มีผลกระทบตอการ
ดำรงชีวิตของ ดำรงชีวิตของมนุษย ดำรงชีวิตของมนุษย ดำรงชีวิตของมนุษย
มนุษย หากเกิด แตอาจจะใช้ชีวิต
เหตุการณ ลำบาก ไม
ทรัพยากรขาด สะดวกสบาย
แคลนไมเพียงพอ
ตอความตองการ
ความสามารถใน สามารถฟนฟูใหมี ไมสามารถฟนฟูใหมี สามารถฟนฟูใหมี
การฟนฟูขึ้นมาใหม คุณภาพดีใหมอีกครั้ง คุณภาพดีขึ้นมาใหมได คุณภาพดีใหมอีกครั้งได
ได แตบางสวนที่ฟนฟูไมได
อาจหายไปจากระบบ
นิเวศ

3. เมื่อทานไปเที่ยวอุทยานแหงชาติแหงหนึ่งดวยการขับรถยนตตั้งแตเช้า พอไปถึงอุทยานแหงชาติพบ
พระอาทิตยขึ้นสองแสงสวาง ทางเข้าพบทอนไมขนาดใหญมีการแกะสลักชื่ออุทยานแหงชาติแหงนั้นไว
เมื่อขับไปบนถนน 2 ข้างทางจะพบแนวตนไมทั้งขนาดใหญ ตนไมขนาดกลาง ไมพุมขนาดเล็กและ
ตนหญามากมายเขียวขจี อยูบนพื้นดิน มีเสียงนกรอง เสียงน้ำไหล มีก้อนเมฆสีขาวเปนปุยนุนลอยอยู
บนทองฟาสวยงาม อากาศเย็นสบาย เมื่อขับไประยะทางหนึ่ง ทานตองหยุดรถ เพราะมีฝูงช้างโครง
ใหญกำลังเดินข้ามฝงเข้าไปในปา เมื่อทานขับรถตอไปจะพบลิงหลายตัว พบสัตวปาอีกหลากหลาย
ชนิด พอถึงเวลาค่ำพระอาทิตยตก ทานเข้าพักในพื้นที่ที่อุทยานแหงชาติอนุญาต ทานกางเตนทนอน
- 17 -

ชมดาว อากาศค่อนข้างหนาวและแหง พอถึงกลางดึก เกิดไฟปาไหมเปนแทบในระยะทางยาว กวาไฟ


ปาจะสงบลงใช้เวลานานหลายชั่วโมง เมื่อถึงตอนเช้าของอีกวันทานเดินทางดวยการขับรถยนตกลับ
บานดวยความปลอดภัย จากเหตุการณดังกลาว จงวิเคราะหวาในเหตุการณนี้ มีทรัพยากรธรรมชาติ
ใดบาง เกิดเหตุการณความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติใดบาง ทานมีแนวทางการปองกันแก้ไข
ความเสียหายที่เกิดกับทรัพยากรธรรมชาตินั้นอยางไร จงบอกมาอยางนอย 2 ข้อ
ในเหตุการณนี้มีทรัพยากรธรรมชาติ คือ ปาไม แสงอาทิตย สัตวปา น้ำ อากาศ และดิน เกิด
เหตุการณความเสียหายกับทรัพยากรปาไม ดิน อากาศ และสัตวปา จากการเกิดไฟปา ดังนั้นแนวทาง
การปองกันแก้ไขการเกิดไฟปา คือ
1. เมื่อพบเห็นเหตุการณไฟปา ตองรีบแจ้งเจ้าหนาที่อุทยานแหงชาติใหรีบดำเนินการควบคุม
ไมใหไฟปาลุกลาม ตองดับไฟใหเร็วที่สุด
2. ทานตองรีบออกมาจากบริเวณที่เกิดไฟปาทันทีไปอยูในที่ที่ปลอดภัยของอุทยานแหงชาติ
จัดไว เพื่อความปลอดภัยของทาน
3. ทานตองไปเปนตัวการในการจุดไฟ เช่นการสูบบุหรี่และทิ้งก้นบุหรี่ไวโดยไมระมัดระวัง
เปนตน

4. จงยกตัวอยางการใช้ประโยชนจากทรัพยากรแรธาตุกัมมันตรังสี
1. ดานการแพทย ใช้เพื่อการฉายเอกซเรยอวัยวะภายในรางกาย เช่น ปอด ฟน กระดูก เปน
ตน ใช้เพื่อตรวจการทำงานของอวัยวะตำแหนงเฉพาะ เช่น ไอโอดีน-131 ตรวจการทำงานของตอม
ไทรอยด เปนตน ใช้เพื่อบำบัดรักษาโรค เช่น การรักษาโรคมะเร็งดวย ฟอสฟอรัส-32 โคบอลต-60
แทนทาลัม-182 เปนตน รวมทั้งใช้เพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรียที่ปนเปอนในผลิตภัณฑทางการแพทย เปนการ
ทำปลอดเชื้อ ก่อนนำผลิตภัณฑทางการแพทยไปใช้รักษาผูปวย หรือกำจัดออกสูสิ่งแวดลอม
2. ดานการเกษตรและอาหาร ใช้เพื่อปรับปรุงพันธุพืชเศรษฐกิจ ไมดอกไมประดับ ใหมี
คุณสมบัติที่ดีกวาพันธุเดิม เช่น การฉายรังสีแกมมาเพื่อปรับปรุงพันธุฝายสีใหตานทานตอแมลง
ศัตรูพืช และเพิ่มคุณภาพเสนใยฝายใหดีขึ้นกวาเดิม เพื่อใช้ผลิตสิ่งทอในอุตสาหกรรมผาและสิ่งทอการ
ฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันและแบบโครนิกเพื่อปรับปรุงพันธุดาหลาไมดอกไมประดับเศรษฐกิจ
รวมกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เปนการคัดเลือกสายพันธุที่มีคุณภาพดีในทางการค้าและเปนที่ตองการ
ของตลาดไมดอกไมประดับ เปนตน ใช้เพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรียในอาหารหมักจากภูมิปญญาทองถิ่นของ
- 18 -

ไทย เช่น ปลาสม แหนม ใช้เพื่อตรวจสอบปริมาณรังสีที่เหมาะสมในกาฆ่าเชื้อจุลินทรียที่ปนเปอนใน


ผลิตภัณฑอาหารโดยทำการฉายรังสีปริมาณที่แตกตางกันและวิเคราะหจำนวนจุลินทรียหลังฉายรังสี
แลว
3. ดานอุตสาหกรรม ใช้เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของตึกอาคารที่มีอายุการใช้งานเยอะ
โดยไมตองทำลายตึกอาคารทิ้ง แตใช้วิธีการฉายรังสีตรวจสอบรอยราวรอยรั่วเปนภาพถายดวยรังสี ใช้
เพื่อวิเคราะหองค์ประกอบธาตุที่อยูในตัวอยางเชิงนิวเคลียร ใช้เพื่อวิเคราะหประสิทธิภาพของหอกลั่น
น้ำมันปโตรเลียมและตรวจสอบความผิดปกติของโครงสรางภายในหอกลั่นเชิงนิวเคลียรดวยรังสี
แกมมา
4. ดานอัญมณี ใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าของอัญมณีใหมีความสวยงามเปนที่ตองการของผูชื่นชอบอัญ
มณี ดวยการฉายรังสีนิวตรอน รังสีแกมมา และรังสีอิเล็กตรอน
5. ดานสิ่งแวดลอม ใช้เพื่อตรวจหาอายุของวัตถุโบราณ ซากสิ่งมีชีวิตโบราณ วัสดุทาง
ธรณีวิทยา และโบราณคดี (radiometric dating) ดวยคารบอน-14 เมื่อรวมตัวกับ ออกซิเจนใน
อากาศ เกิดเปนคารบอนไดออกไซดที่มีคารบอน-14 จากนั้น คารบอนไดออกไซดที่มีคารบอน-14 และ
คารบอนไดออกไซดทั่วไปที่มีคารบอน-12 เข้าสูหวงโซ่อาหารโดยพืชนำไปใช้ในการสังเคราะหแสง
ตอมาสัตวกินพืช คนกินทั้งพืชและสัตว จึงไดรับคารบอน-14เข้าไปสะสมอยูในรางกาย เมื่อสิ่งมีชีวิต
ตายลง คารบอน-14 และคารบอน-12 เริ่มการสลายตัวไปเปนไนโตรเจนตอไปในบรรยากาศ จึง
สามารถหาอายุการตายของสิ่งมีชีวิตได โดยตรวจวัดปริมาณคารบอน-14 ที่เหลืออยู ใช้เพื่อวิเคราะห
สารกัมมันตรังสีปนเปอนในน้ำ เช่น น้ำดื่ม น้ำผิวดิน น้ำใตดิน น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ำทิ้ง
จากโรงพยาบาล น้ำทิ้งจากหนวยงานที่ใช้รังสี ในดิน หรือในสิ่งแวดลอม

5. ประโยชนของแนวปะการังมีอะไรบาง จงอธิบาย
1. แนวปะการังบริเวณชายฝงและแนวปะการังแบบกำแพงจะทำหนาที่ปองกันชายฝงจาก
การกัดเซาะของคลื่น กระแสน้ำโดยตรง ถาไมมีแนวปะการังนี้ชายฝงทะเลจะถูกคลื่นลมทะเลทำลาย
อยางรุนแรง ก่อใหเกิดความเสียหายตอชายฝง และระบบนิเวศ
2. แนวปะการังเปนตัวสรางทรายใหกับชายหาด โดยเกิดจากการสึกกรอนของโครงสราง
หินปูนจากคลื่นลมและสัตวบางชนิด3. แนวปะการังเปนแหลงอาหารมนุษย เพราะมีสัตวที่อยูในแนว
- 19 -

ปะการังมากมาย เช่น ปลาหมึก หอย กุ้ง แมงกะพรุน เปนตน4. สารพิษบางอยางที่สัตวทะเลในแนว


ปะการังสรางเพื่อปองกันตนเองนั้น สามารถนำมาสกัดใช้ทำยาได เช่น ยาตานมะเร็ง เปนตน
5. แนวปะการังและสิ่งมีชีวิตที่สวยงามใตทองทะเล เปนแหลงทองเที่ยวดึงดูดนักทองเที่ยว
สรางรายไดทางเศรษฐกิจใหกับประเทศนั้น ๆ
- 20 -

เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 5
1. มลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษสิ่งแวดลอมมีลักษณะอยางไร จงอธิบาย
1. มีผลกระทบทางชีววิทยาอยางมีนัยสําคัญที่ความเข้มข้นต่ำ
2. มีการกระจายตัวสม่ำเสมอตลอดเวลาในอากาศ หรือละลายในน้ำได มีแนวโนมที่จะสะสม
อยู ในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต หรือสวนใหญละลายไดดีในไขมัน
3. มีคุณสมบัติคงตัวในสิ่งแวดลอม
4. สามารถแตกตัวหรือรวมกับสารอื่นไดดี ทําใหเกิดสารที่มีพิษ มีคุณสมบัติคงตัว และ
สามารถเข้าสูรางกาย หรืออาจสะสมอยูในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตได
5. มีผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตตาง ๆ อยางกวางขวาง ทั้งมนุษย พืช สัตว และสมดุลของระบบ
นิเวศโลก
6. เปนผลจากการผลิตเปนจํานวนมากขององค์ประกอบที่สําคัญของสังคม ผลเสียที่เกิดขึ้น
กับสิ่งแวดลอมถูกละเลยจากการประเมินค่าในแง่ของตนทุนและผลประโยชนทางเศรษฐกิจ

2. ปญหาน้ำเนาเสียเกิดจากสาเหตุใดบาง จงอธิบาย
1. จุลินทรียที่ปนเปอนในน้ำ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัว ยีสต ซึ่งมีโอกาสเปนจุลินทรีย
สาเหตุโรคในมนุษย คน และพืช ในบางกรณี นักวิจัยสามารถใช้จุลินทรียเหลานี้เปนดัชนีวิเคราะห
คุณภาพน้ำในแหลงน้ำตาง ๆ เช่น แมน้ำ เปนตน
สำหรับแบคทีเรีย ซึ่งถูกจัดกลุมสิ่งมีชีวิตในโลกใบนี้วาเปนจุลินทรีย และพบมากที่สุดในน้ำ
เมื่อเทียบกับจุลินทรียชนิดอื่น ๆ โดยแบคทีเรียสามารถยอยสลายสารอินทรียที่มาจากกิจกรรมของ
มนุษยแลวปลอยลงสูแหลงน้ำ ทำใหน้ำเกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี สามารถแบงแบคทีเรียได 2
ประเภท คือ
1.1. แบคทีเรียที่ตองใช้ออกซิเจนในการดำรงชีวิต เรียกวา aerobic bacteria แบคทีเรีย
กลุ  ม นี ้ จะย อ ยสลายสารอิ น ทรี ย  เป น กลุ  ม แบคที เ รี ย ที ่ ส ามารถบำบั ด น้ ำ เสี ย ได ด  ว ย วิ ธี
แอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (activated sludge process) นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
1.2. แบคทีเรียที่ไมตองการออกซิเจนในการดำรงชีวิต เรียกวา anaerobic bacteria
แบคที เ รี ย กลุ  ม นี้ จะย อ ยสลายสารอิ น ทรี ย  แล ว ได ก ๊ า ซมี เ ทน คาร บ อนไดออกไซด ไฮโดรเจน
แอมโมเนีย ไฮโดรเจนซัลไฟด เปนก๊าซที่มีกลิ่นฉุน ติดไฟง่าย
- 21 -

1.3. แบคทีเรียที่เจริญไดทั้งมีออกซิเจนและไมมีออกซิเจน เรียกวา facultative bacteria


แบคทีเรียกลุมนี้ จะยอยสลายสารอินทรีย แลวไดก๊าซที่มีกลิ่นฉุน ถาแหลงน้ำมีสารอินทรียสูง
แบคทีเรียกลุมนี้จะใช้ออกซิเจนในน้ำไปยอยสลายสารอินทรีย ทำใหแหลงน้ำขาดออกซิเจน สงผลให
แบคทีเรียที่ไมตองการออกซิเจนเจริญไดดี ทำใหแหลงน้ำเนาเสียมาก
2. สารอิ น ทรี ย ที ่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมในครั ว เรื อ น ชุ ม ชน การเกษตรกรรม และโรงงาน
อุตสาหกรรมบางประเภท โรงงานผลิตอาหาร โรงงานนม โรงงานผลิตภัณฑจากสัตว โรงงานกระดาษ
เปนตน มักปลอยสารอินทรีย ประเภท ไขมัน โปรตีน และคารโบไฮเดรต ปนเปอนลงแหลงน้ำ
3. สารอนินทรีย มักเกิดจากกิจกรรมในครัวเรือน ชุมชน การเกษตรกรรม และโรงงาน
อุ ต สาหกรรมบางประเภท เช่ น เกลื อ ของโลหะต า ง ๆ เกลื อ ซั ล เฟต เกลื อ คลอไรด ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส ยากำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหญาและวัชพืช ยกตัวอยาง เมื่อไนโตรเจนและฟอสฟอรัส
ปนเปอนในแหลงน้ำ ทำใหพืชน้ำเจริญเติบโตอยางรวดเร็วปกคลุมผิวน้ำ ทำใหแหลงน้ำไมไดรับ
แสงแดด ขาดออกซิเจน เมื่อพืชเหลานี้ตายลง ทำใหน้ำเนาเสีย จะสงผลใหแบคทีเรียที่ไมตองการ
ออกซิเจนในการดำรงชีวิต ยอยสลายพืชที่ตายแลว ไดก๊าซพิษเกิดขึ้นในแหลงน้ำ ทำใหสัตวน้ำ ขาด
ออกซิเจน ไมสามารถดำรงชีวิตอยูได ตายในที่สุด
4. ตะกอน อาจเกิดเองโดยธรรมชาติ แตสวนใหญมักเกิดจากกิจกรรมของมนุษยทำใหเกิด
ตะกอนปนเปอนในแหลงน้ำ สงผลใหน้ำขุ่น เปนผลใหการสองผานของปริมาณแสงแดดลดลง เมื่อ
แสงแดดสองผานนอยลง แพลงตอนพืชจะเจริญเติบโตช้า แหลงอาหารของสัตวน้ำจะลดปริมาณลง
สงผลกระทบตอเนื่องในระบบสายใยอาหาร รวมทั้งแหลงน้ำเนาเสียอีกดวย
5. สารกัมมันตรังสี เปนธาตุที่ไมเสถียร ไมเปนกลาง ทำใหตองปลอดปลอยพลังงานออกมา
เรียกวา แผรังสี จนกวาธาตุชนิดนั้น ๆ จะเสถียรหรือเปนกลาง มักเกิดจากโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย
หรือหนวยงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารรังสี สารรังสีที่มีใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น โคบอลต-60 รังสี
เอ็กซ์ ไอโอดีน-131 โพแทสเซียม-40 ยูเรเนียม-238 เปนตน สารเหลานี้ใช้เวลาในการสลายตัว
ยาวนานมาก หากเกิดการปนเปอนในน้ำ เปนอันตรายตอการเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอ พันธุกรรมของ
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้
6. ของเสียจากโรงพยาบาล ขยะมูลฝอยทั่วไป เชื้อก่อโรคจากผูปวย ขยะอันตรายจาก ยาเก่า
หมดอายุ สารเคมีตาง ๆ ที่ใช้ในโรงพยาบาล วัสดุอุปกรณ เครื่องมือที่ชำรุดทางการแพทย ขยะเหลานี้
- 22 -

หากปะปนในแหลงน้ำจะเกิดอันตรายมากตอการดำรงชีวิตของพืชน้ำ สัตวน้ำ รวมไปถึง สัตวและ


มนุษยหากตองนำแหลงน้ำนั้นมาใช้อุปโภคบริโภค

3. ทานมีแนวทางช่วยปองกันน้ำเนาเสียไดอยางไรบาง จงบอกมา 3 ข้อ


1. หลีกเลี่ยงการทิ้งขยะลงในแหลงน้ำ
2. นำน้ำลางภาชนะตาง ๆ น้ำสุดทายไปรดน้ำตนไมแทนทิ้งลงสูทอน้ำ
3. เลือกใช้น้ำยาซักลางผลิตภัณฑที่มีสวนผสมของสารจากธรรมชาติใหมากที่สุดหรือพิจารณา
จากสัญลักษณที่บงบอกวาเปนสารสกัดธรรมชาติในผลิตภัณฑ
4. ช่วยกันสอดสองดูแล เฝาระวังพื้นที่รอบบาน ชุมชน ไมใหปลอยขยะลงสูแหลงน้ำ
5. หากที่บานทำการเกษตร ควรลดการใช้สารเคมีทุกชนิด เปลี่ยนเปนใช้วัสดุอินทรีย สารชีว
ภัณฑและสารสกัดจากธรรมชาติสำหรับการเจริญเติบโตของพืช

4. จงยกตัวอยางมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษทางอาหาร ที่เกิดจากจุลินทรีย มา 1 ตัวอยาง พรอมอธิบาย


รายละเอียด (ตอบอยางใดอยางหนึ่งถือวาตอบถูกตอง)
แบคทีเรีย Escherichia coli หรือ กลุมโคลิฟอรม เปนแบคทีเรียที่อาจปนเปอนมากับวัตถุดิบ
ที่นำมาทำอาหาร เช่น ผักและเนื้อสัตวที่ไมสะอาด
แบคทีเรีย Clostridium botulinum เปนแบคทีเรียที่พบในอาหารกระปองที่เสื่อมสภาพ
กระปองชำรุด
แบคทีเรีย Salmonella sp. เปนแบคทีเรียที่พบมากในผลิตภัณฑสัตว เนื้อสัตวสด
แบคทีเรีย Staphylococcus aureus เปนแบคทีเรียที่พบไดบนผิวหนังมนุษย และปนเปอน
มาจากกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑที่มีการปนปอนของเชื้อชนิดนี้ เช่น ผลิตภัณฑเนื้อสัตว ไก่ ไข่ ทูนา
มักกะโรนี ผลิตภัณฑที่มีแปงเปนสวนประกอบ และผลิตภัณฑนม เปนตน
รา Aspergillus flavus มักพบในถั่ว หัวหอม ขนมปงหมดอายุ ราชนิดนี้สรางสาร อะฟลา
ทอกซิน เปนสารพิษที่มีผลทำลายตับ ไต ปอด และอาจเสียชีวิตได
ไวรัส เชื้อชนิดนี้มักพบในอาหารทะเล เช่น หอยแครง หอยแมงภู เปนตน ถารับประทาน
อาหารทะเลที่ไมสุกเข้าไป จะมีอาการ คลื่นไส อาเจียน ปวดทองรุนแรง ตับอักเสบ และอาจเสียชีวิต
- 23 -

5. กรณีการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ตั้งแตป 2562 เปนตนมา นับวาเปนมลพิษสิ่งแวดลอม


ดานใด และมีวิธีปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสไดอยางไรบาง จงบอกมา 2 ข้อ
การแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เปนมลพิษทางอากาศ และมีวิธีปองกันการแพรระบาด
ของเชื้อไวรัสไดดังนี้ คือ (ตอบอยางใดอยางหนึ่ง 2 ข้อถือวาตอบถูกตอง)
1. สวมใสหนากากอนามัยเมื่อตองไปพบปะผูคน หรือไปอยูในที่ที่มีคนจำนวนมาก
2. ใช้แอลกอฮอล 70% ในการทำความสะอาดผิวมือ
3. ลางมือดวยสบูหรือน้ำยาลางมือบอยครั้ง ก่อนหยิบจับของกินเข้าปาก และหลังสัมผัส
สิ่งของตาง ๆ ที่ไดรับจากภายนอกบาน เช่น ธนบัตรและเหรียญ เปนตน
4. ใช้ช้อนกลางในการตักอาหารรับประทานรวมกับผูอื่น
5. ฉีดวัคซีนปองกันเชื้อไวรัสโควิด-19 กระตุนภูมิคุ้มกันในรางกาย
6. ออกกำลังกาย ใหตนเองแข็งแรงอยูเสมอ
- 24 -

เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 6
1. คุณภาพชีวิตที่ดีมีองค์ประกอบดานใดบาง จงอธิบาย
1. รางกายดี คือ มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณแข็งแรง ไมขาดสารอาหาร ทางอาหารครบ 5
หมู โดยทานโปรตีนเปนหลัก เพื่อช่วยซ่อมแซมสวนที่สึกหรอ ไมมีโรคภัยไข้เจ็บ ไมมีความพิการใด ๆ
สามารถดำเนินชีวิตไดตามปกติ ทำงานไดเต็มศักยภาพ ไมเหนื่อยลาง่าย มีการสงเสริมการเจริญเติบโต
ของเด็กอยางสมวัย การดูแลตนเองอยางเหมาะสมในแตละช่วงวัย
2. จิตใจดี คือ มีสภาวะทางจิตใจที่เข้มแข็ง มั่นคง ไมหวั่นไหวกับสิ่งเราทางลบที่เข้ามากระทบ
มีสติอยูกับสถานการณปจจุบัน ไมยอนนึกแตเรื่องอดีต
3. อารมณดี คือ เปนสิ่งที่สืบเนื่องจากจากจิตใจดี ทำใหเปนคนคิดในแง่บวก ไมเครียดกับ
ปญหาที่เข้ามากระทบในชีวิต มีอารมณเบิกบานแจ่มใส จะมีสมองที่ปลอดโปรง แก้ไขปญหาที่เกิดขึ้น
ไปไดดวยเหตุและผล
4. สติปญญาดี คือ เปนผูใฝรู มีสัมมาคารวะ นอบนอม รูจักเข้าหานักปราชญหรือผูที่เปน
พหูสูต เพื่อขอรับคำแนะนำ สามารถใช้ปญญาและความรูที่มีแก้ไขปญหาที่เกิดขึ้นไปไดดวยเหตุและ
ผล เช่น การตูนจากประเทศญี่ปุน เรื่องเณรนอยเจ้าปญญา ชื่อ อิคคิวซัง
5. สิ่งแวดลอมดี คือ การมีปจจัย 4 อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค พรอม
สมบูรณ ไมมีสิ่งใดขาดแคลน ประเทศสามารถแก้ไขปญหาที่เกิดจากการขาดแคลนปจจัย 4 ไดอยาง
รวดเร็ว การไดรับการศึกษา การปลูกฝงจิตสาธารณะ คุณธรรม จริยธรรม การไมเห็นแก่ตัว เห็นแก่
ประโยชนสวนรวมเปนหลัก สถาบันครอบครัวเข้มแข็ง ที่อยูอาศัย ที่ทำงาน มีสภาพเหมาะสม มีความ
ปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน ประสบความสำเร็จในชีวิต มีสิ่งแวดลอมที่ดีเอื้ออำนวยตอความเปนอยู
การเดินทางไปที่ตาง ๆ การติดตอสื่อสารระหวางบุคคลและธุรกิจ ความพรอมดานการเงิน

2. ประเทศที่มีคนยากจนจำนวนมาก มีอัตราการวางงานสูง มีจำนวนหนี้สินของตนเองและครอบครัว


เปนข้อมูลที่บงชี้ถึงตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตดานใด
ดานการทำงาน
- 25 -

3. ประเทศที่มีวัตดุดิบและผลิตภัณฑทางอาหารจำกัด มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการสนับสนุนการใช้
ชีวิตประจำวันต่ำ มีอัตราการเกิดอาชญากรรมสูง เปนข้อมูลที่บงชี้ถึงตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตดานใด
ดานความเปนอยูประจำวัน

4. แนวทางการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาปฏิบัติ
เพื่อการใช้ชีวิตของเรา ประกอบดวยคุณสมบัติใดบาง จงอธิบาย
1. ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดี ท ี ่ ไ ม น  อ ยเกิ น ไปและไม ม ากเกิ น ไป โดยไม
เบียดเบียนตนเองและผูอื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยาง
มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการ
กระทำนั้น ๆ อยางรอบคอบ
3. การมีภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดาน
ตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยมีเงื่อนไข ของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียง 2 ข้อ คือ
1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวข้องรอบดาน
ความรอบคอบที่จะนำความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ
ระมัดระวังในการปฏิบัติ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปญญาในการดำเนินชีวิต

5. สำหรับประเทศไทย ซึ่งมีรากฐานเปนประเทศเกษตรกรรม แนวทางการดำเนินงานของทฤษฎีใหม


เปนตัวอยางที่เปนรูปธรรมของการนำแนวคิดหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เกิดประโยชนได
ชัดเจนที่สุด เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรของประเทศไทยใหสูกับวิกฤตภัยธรรมชาติและปจจัยภายนอกที่มี
ผลกระทบตอการทำการเกษตร แนวทางนี้สามารถลดความเสี่ยงดานใดบาง
1. ความเสี่ยงดานราคาสินค้าทางการเกษตร
2. ความเสี่ยงจากการกำหนดราคากลางและการพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ
3. ความเสี่ยงดานน้ำขาดแคลนและความเสี่ยงของภัยธรรมชาติอื่น ๆ
- 26 -

4. ความเสี่ยงดานการผลิต โรคและศัตรูพืช แรงงานทางการเกษตร


5. ความเสี่ยงในการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว
6. ความเสี่ยงดานหนี้สินและการสูญเสียที่ดินของเกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็ก
- 27 -

เฉลยแบบฝกหัดทายบทที่ 7
1. เพราะเหตุใดมนุษยจึงตองอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
1. ทรัพยากรธรรมชาติมีใหใช้ฟรี แตจำนวนจำกัด เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นรวมกับความตองการ
สิ่งอำนวยความสะดวกสบายที่มากขึ้นจนทำใหมนุษยตองการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณมาก
ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติมีจำนวนจำกัด ณ ขณะนั้น ทรัพยากรธรรมชาติมีความจำเปนตอการ
ดำรงชีวิตของมนุษยเนื่องจากเปนวัตถุดิบหลักของปจจัย 4 ตลอดจนการประกอบอาชีพ ทำให
ทรัพยากรธรรมชาติมีไมเพียงพอตอความตองการของมนุษย นอกจากนี้ทรัพยากรธรรมชาติยังเปนที่
ตองการของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ดวย ไดแก่ พืช สัตว จุลินทรีย
2. ข้ อ จำกั ด ของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละความเสื ่ อ มโทรมจากกิ จ กรรมของมนุ ษ ย
ทรัพยากรธรรมชาติบางประเภทใช้แลวหมดไป ใช้เวลานานมากกวาจะสรางขึ้นมาใหม เช่น ทรัพยากร
พลังงาน ทรัพยากรแรธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติบางประเภทใช้แลวไมหมดไป แตเกิดความเสื่อมโทรม
เสียหายจากกิจกรรมของมนุษย เช่น ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรสัตวปา
จนทำใหทรัพยากรเหลานี้ไมสามารถถูกนำมาใช้สำหรับมนุษยได อาจสงผลกระทบใหมนุษยเกิดการ
แยงชิงกันเอง จึงจำเปนตองอนุรักษ ดูแลรักษา ฟนฟูใหอยูในสภาพที่ดีดังเดิม เพื่อปองกันการขาด
แคลนในอนาคต
3. การพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคม ประเทศใดมีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ
สมบูรณ ประเทศนั้นมีโอกาสพัฒนาสรางความเจริญทางดานเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตของ
คนในสังคมใหอยูดีกินดี ไมมีโรคภัยไข้เจ็บ แตการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อการพัฒนาประเทศ
โดยไมถูกวิธี จะเกิดผลกระทบทางลบตอทรัพยากรธรรมชาติ สงผลใหเกิดมลพิษดานตาง ๆ ทำให
สิ่งแวดลอมเสียหาย
4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่แสดงถึงความเจริญทางวัฒนธรรม เพราะ
ประเทศใดสามารถดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพคงเดิมได แสดงวา
ประเทศนั้นมีแนวความคิด มีวัฒนธรรม มีความก้าวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม
- 28 -

2. หลักในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลวไมรูจักหมด มีการดำเนินการอยางไรไดบาง
1. ตองควบคุมและปองกันไมใหทรัพยากรประเภทนี้มีสิ่งปนเปอน จนเกิดมลพิษ
2. ตองควบคุมและปองกันไมใหเกิดมลพิษจากกิจกรรมของมนุษย
3. ถาที่ใดมีมลสารที่เปนพิษปนเปอนในอากาศหรือสกัดกั้นแสงอาทิตยตองกำจัดใหหมดสิ้น
4. ใหการศึกษาแก่ประชาชนถึงวิธีการควบคุมและปองกัน ตลอดจนผลดีและผลเสีย
5. ควรมีกฎหมายควบคุมอยางจริงจังและชัดเจน รวมทั้งบทลงโทษที่รายแรง

3. อุปสรรคในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีสาเหตุมาจากสิ่งใดบาง
1. หนวยงานที่รับผิดชอบดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมยังไมทันสมัย เกิดจาก
ข้ อ กำหนด ข้ อ บั ง คั บ กติ ก าในการควบคุ ม ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล อ มส ว นใหญ ย ั ง ไม
ปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในปจจุบัน
2. การประชาสัมพันธดานสิ่งแวดลอมของประเทศยังมีนอยและเข้าถึงคนในประเทศเฉพาะ
บางกลุม เมื่อเทียบข้อมูลการเสพข่าวความรูดานสิ่งแวดลอมของคนในประเทศกับละครซีรียใน
ประเทศไทย ตอบไดอยางไมรีรอเลยวา ละครซีรียนั้นเปนอันดับ 1 ยอดฮิตในการเข้าถึงของประชาชน
เกือบทั้งประเทศ ในขณะที่ข่าวดานสิ่งแวดลอมนั้นยังคงอยูในอันดับทาย ๆ การใหความสำคัญของการ
ประชาสัมพันธดานสิ่งแวดลอมยังมีนอย หนวยงานที่รับผิดชอบทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
แตละชนิดยังไมมีมาตรการในการสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลความรูดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมของประชาชนในประเทศ
3. การมีกฎหมายบังคับใช้ที่ไมเข้มงวด ไมวาจะเกิดขึ้นจากการแทรกแซงกฎหมายของอำนาจ
ทางบริหารและการเมืองของประเทศ การเห็นแก่ประโยชนสวนตัวและพวกพองโดยการใช้ช่องโหว
ของกฎหมายเอาตัวรอด โดยไมคำนึงถึงผลเสียที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและ
ประชากรสวนใหญของประเทศ รวมทั้ง การออกกฎหมายซ้อนทับกันเอง ทำใหหนวยงานที่รับผิดชอบ
ไมกลาใช้กฎหมายบางกรณไดอยางเต็มที่ เพราะกลัวจะไปก้าวก่ายกฎหมายของอีกหนวยงานหนึ่ง
เปนผลใหประสิทธิภาพของกฎหมายลดนอยลง
- 29 -

4. วิธีการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนมีอะไรบาง
1. การใช้ทรัพยากรอยางยั่งยืน การใช้ทรัพยากรหรือสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนจะมีหลักการ
และวิธีการเฉพาะตัว เช่น ปาไม อากาศ แรธาตุ สัตวปา เปนตน ผูจัดการหรือผูบริหารตองใช้
เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพและใช้ทรัพยากรที่ทดแทนไดเฉพาะในสวนที่สามารถเพิ่มพูน ทรัพยากรที่
ใช้แลวหมดไปตองเกิดของเสียและมลพิษนอยที่สุด และตองควบคุมไมใหทรัพยากรที่ใช้แลวหมดไปให
สะอาดปราศจากมลพิษ
2. การบำบัด และฟนฟูของเสียและมลพิษ หมายถึง การทำการใด ๆ ที่สามารถ ขจัดของเสีย
และมลพิษใหหมดไปหรือเสื่อมสภาพไปหรือหมดฤทธิ์ เช่น การกำจัดขยะ (ขยะชุมชน ขยะติดเชื้อ
และกากของเสียอันตราย) การบำบัดน้ำเสีย และมลพิษตาง ๆ ในระบบสิ่งแวดลอม โดย เข้าสูสภาวะ
ปกติแลวสามารถสรางสภาวะปกติของโครงสรางและบทบาทหนาที่ของระบบสิ่งแวดลอม ใหปกติและ
สุดทายสรางความสมดุลของระบบสิ่งแวดลอม
3. การควบคุมกิจกรรมจากแหลงกำเนิดมลสารที่ก่อใหเกิดมลพิษ เช่น โรงอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม หรือชุมชน อาจทำลายโครงสรางทรัพยากรธรรมชาติ สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
บทบาทหนาที่ ของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม หลังจากนั้นกิจกรรมตาง ๆ จะผลิตของเสียและมลพิษ
จากเทคโนโลยี ทำใหระบบสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่แยลง ดังนั้น การจัดการสิ่งแวดลอม
คือ การใช้ทรัพยากรหรือการบำบัด และการฟนฟู หรือเปนการควบคุมกิจกรรมการจัดการสิ่งแวดลอม
ทั้งหมด ซึ่งชี้ใหเห็นวา มนุษยสามารถใช้ทรัพยากรสิ่งแวดลอมไดแตตองเปนการใช้แบบยั่งยืน
(Sustainability) การใช้ทรัพยากรแตละครั้งยอมสรางของเสียและมลพิษ

5. การประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เมื่อตองการดำเนินการสรางโครงการใดโครงการหนึ่งขึ้นใน
ประเทศไทยสำหรับโครงการภาครัฐ จะตองมีการศึกษาผลกระทบหลักดานใดบาง
1. ทรัพยากรทางกายภาพ เช่น ดิน น้ำ อากาศ แรธาตุ ธรณีวิทยา เปนตน
2. ทรัพยากรทางชีวภาพ เช่น การดำรงชีวิตของมนุษย สัตว พืช จุลินทรีย รวมทั้งระบบนิเวศ
3. คุณค่าตอคุณภาพชีวิต เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม เศรษฐกิจ สังคม
สุนทรียภาพ ประวัติศาสตร เปนตน
4. คุณค่าการใช้ประโยชนที่มนุษยจะไดรับ เช่น การใช้ประโยชนที่ดิน ไฟฟา พลังงาน ความ
สะดวกสบาย การคมนาคมขนสง เปนตน

You might also like