You are on page 1of 87

การกาจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของสารไฮโดรแครกเกอร์บอททอม

เพื่อการผลิตน้ามันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น

โดย

นายรังสรรค์ รุ่งเรืองศรี

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปีการศึกษา 2558
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การกาจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของสารไฮโดรแครกเกอร์บอททอม
เพื่อการผลิตน้ามันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น

โดย

นายรังสรรค์ รุ่งเรืองศรี

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปีการศึกษา 2558
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
CATALYTIC DEWAXING OF HYDROCRACKER BOTTOMS
FOR FUEL AND LUBRICANT PRODUCTION

BY

MR. RANGSAN RUNGRUEANGSEE

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS


FOR THE DEGREE OF MASTER DEGREE OF ENGINEERING
[ENERGY AND ENVIRONMENTAL TECHNOLOGY MANAGEMENT]
DEPARTMENT OF CHEMICAL ENGINEERING FACULTY OF ENGINEERING
THAMMASAT UNIVERSITY
ACADEMIC YEAR 2015
COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY
(1)

หัวข้อวิทยานิพนธ์ การกาจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของสารไฮโดรแครกเกอร์
บอททอม เพื่อการผลิตน้ามันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น
ชื่อผู้เขียน นายรังสรรค์ รุ่งเรืองศรี
ชื่อปริญญา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
วิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลี สันติคุณาภรณ์
ปีการศึกษา 2558

บทคัดย่อ

การกาจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของโมเลกุลพาราฟินสายโซ่ยาวของไฮโดรแครกเกอร์บอ
ททอม โดยการใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะ (Ni, Pt, Ir) และตัวเร่งปฏิกิริยา
สองหน้าที่ (Ni/Cl) บนตัวรองรับแกมมาอลูมินา (พื้นที่ผิว = 160.25 ตารางเมตรต่อกรัมและ ปริมาณ
รูพรุนทั้งหมด = 0.4672 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัม) ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกวิเคราะห์คุณลักษณะโดยการ
ทดสอบหาพื้น ที่ผิ ว รู พรุ น และเทคนิคการคายดูดซับแอมโมเนียตามอุณหภูมิ (NH3-TPD) การทา
ปฎิกิริยาบนตัวเร่งปฏิกิริยาเหล่านี้ ถูกทดสอบที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ความดัน 35 บาร์ และ
ปริมาณสารป้อนต่อปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 0.018 ต่อชั่วโมง ผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นของเหลวถูกวิเคราะห์
โดยเทคนิคแก๊สโครมาโตรกราฟีและดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิงแคลอริมิเตอร์ ผลการศึกษาพบว่าความ
เป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยาที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซซัน (isomerization) และ
แครกกิ้ง (cracking) ของไฮโดรแครกเกอร์บอททอม โดยตัว เร่งปฏิกิริยา 5Ni/3Cl ให้ ผ ลที่ดีที่สุ ด
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ประกอบด้วย 40% โดยน้าหนักของน้ามันเชื้อเพลิงและ 60% โดยน้าหนักของสารหล่อ
ลื่น นอกจากนี้สีของผลิตภัณฑ์ยังเปลี่ยนจากสีน้าตาลเข้มเป็นสีเหลืองใสและค่าจุดหลอมเหลวลดต่าลง
จาก 31 องศาเซลเซียส ไปเป็น 17 องศาเซลเซียส

คำสำคัญ: การกาจัดไข, ไอโซเมอไรเซชัน, หมู่ฟังก์ชันของตัวเร่งปฏิกิริยา, ไฮโดรแครกเกอร์บอททอม


(2)

Thesis Title CATALYTIC DEWAXING OF HYDROCRACKER


BOTTOMS FOR FUEL AND LUBRICANT
PRODUCTION
Author Mr. Rangsan Rungrueangsee
Degree Master of Engineering
Department/Faculty/University Energy and Environmental Technology
Management
Engineering
Thammasat University
Thesis Advisor Asst. Prof. Malee Suntikunaporn, Ph.D.
Academic Years 2015

ABSTRACT

Catalytic dewaxing of long-chain paraffinic molecules of hydrocracker


bottoms using a fixed-bed reactor over metal catalysts (Ni, Pt, Ir) and bifunctional
catalysts (Ni/Cl) supported on the gamma-alumina (surface area = 160.25 m2/g and
total pore volume = 0.4672 cm3/g) was performed. All catalysts were characterized by
surface area, pore size analysis and ammonia temperature programmed desorption
(NH3-TPD). The catalytic reactions on these catalysts were carried out under the
temperature of 300 oC, total pressure of 35 bar and LHSV of 0.018 h-1. Liquid products
were analyzed by gas chromatography and differential scanning calorimeter technique.
The results indicated that acidity of catalyst can enhance both isomerization and
cracking of hydrocracker bottoms feedstock. The 5Ni/3Cl catalyst giving 40%wt. of fuel
fraction and 60%wt. of lubricant fraction. In addition, the color of the liquid product
was changed from a dark brown to a pale yellow and its melting point was decreased
from 31 oC to 17 oC.

Keywords: Dewaxing, Isodewaxing, Bifunctional catalyst, Hydrocracker bottoms.


(3)

กิตติกรรมประกาศ

วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บั บ นี้ จะส าเร็ จ ลุ ล่ ว งไม่ ไ ด้ ถ้ า ไม่ ไ ด้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ จากผู้ ช่ ว ย
ศาสตราจารย์ ดร.มาลี สั น ติ คุ ณ าภรณ์ อาจารย์ที่ ป รึก ษาวิท ยานิ พ นธ์ ซึ่ งได้ ให้ ค วามกรุณ าให้
คาปรึกษาแนะนา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ ตลอดจนช่วยติดตามการ
ดาเนินงานวิจัยนี้มาโดยตลอด จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณอาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ และบุคคลากรในภาควิชาวิศวกรรมเคมี และคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ได้กรุณาให้คาแนะนา ช่วยเหลือและสนับสนุนการทา
เล่มวิทยานิพนธ์นี้
ขอขอบคุณ สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. ที่เอื้อเฟื้อในเรื่องตัวอย่างน้ามัน เครื่องมือ
วิเคราะห์และสถานที่ในการค้นคว้าและดาเนินงานวิจัย รวมไปถึงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพี่ๆ
พนักงานที่มีต่องานวิจัยนี้ อีกทั้งการช่วยเหลือและกาลังใจจากผู้ช่วยนักวิจัยทุกคน
ขอขอบคุณเพื่อนร่วมรุ่นการศึกษาและเพื่อน พี่ น้องร่วมห้องทางานวิจัยที่คอยช่วยเหลือ
และให้กาลังใจมาตลอด
คุณ ค่าและประโยชน์ จากการค้นคว้าอันพึ งมีของวิท ยานิพ นธ์ฉบับ นี้ ผู้ วิจัยขอมอบ
ทดแทนบุญคุณค่าต่อบิดา มารดา ตลอดจนผู้มีพระคุณทุกท่าน และครู บาอาจารย์ทุกท่านที่เคยให้
วิชาความรู้ ให้ความอนุเคราะห์สั่งสอนมาทั้งภาคทฎษฎีและภาคปฎิบัติ

นายรังสรรค์ รุ่งเรืองศรี
(4)

สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย (1)

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (2)

กิตติกรรมประกาศ (3)

สารบัญตาราง (7)

สารบัญภาพ (8)

รายการสัญลักษณ์และคาย่อ (10)

บทที่ 1 บทนา 1

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 ทิศทางพลังงาน 1
1.2.1 สถานการณ์พลังงานโลก 1
1.2.2 สถานการณ์พลังงานไทย 3
1.3 วัตถุประสงค์ 4
1.4 ขอบเขตในการศึกษา 4
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5

บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6

2.1 ประเภทของน้ามันเชื้อเพลิงและคุณภาพน้ามัน 6
2.1.1 น้ามันเบนซิน 6
2.1.2 น้ามันดีเซล 10
(5)

2.2 ประเภทของน้ามันหล่อลื่นและคุณภาพน้ามัน 13
2.3 กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ามัน 15
2.3.1 การกาจัดไขด้วยปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้ง 21
และปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น
2.3.2 ปฏิกิริยาไฮโดรแคร็กกิ้งและปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น 24
2.3.3 ตัวเร่งปฏิกิริยาที่นิยมใช้สาหรับไฮโดรแคร็กกิ้ง 26
และปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น
2.3.4 การพัฒนาและการใช้ปฏิกิริยาไฮโดรแคร็กกิ้ง 28
2.4 อลูมิเนียม อ๊อกไซค์ (Aluminium oxide, Al2O3) 31

บทที่ 3 วิธีการวิจัย 33

3.1 แผนการดาเนินงานวิจัย 33
3.2 วัตถุดิบและสารเคมี 34
3.2.1 สารตั้งต้น 34
3.2.2 การเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาโดยวิธีการเอิบชุ่มแบบเปียก 35
3.3 ขั้นตอนการดาเนินการทดลองโดยใช้เครื่องปฏิกรณ์ 37
3.4 เทคนิคทีใ่ ช้สาหรับการวิเคราะห์ 40
3.4.1 เทคนิคการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 40
3.4.1.1 การวิเคราะห์หาองค์ประกอบสารไฮโดรคาร์บอน 40
3.4.1.2 การวัดความหนืดของเหลว 41
3.4.1.3 การตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของสาร 42
โดยอาศัยคุณสมบัติทางความร้อน
3.4.2 เทคนิคการวิเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา 44
3.4.2.1 การทดสอบหาพื้นที่ผิวของวัสดุ 44
3.4.2.2 เทคนิคการโปรแกรมอุณหภูมิเพื่อทดสอบการคายซับ 46

บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 48

4.1 ผลของการทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยา 48
4.2 วิเคราะห์สารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการผลิต 50
(6)

4.2.1 สารตั้งต้นไฮโดรแครกเกอร์บอททอม 50
4.2.2 การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 51

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 61

5.1 สรุปผลการทดลอง 61
5.2 ข้อเสนอแนะ 62

รายการอ้างอิง 63

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก วิธีการคานวณ 68
ภาคผนวก ข สภาวะเหมาะสมที่ใช้ในการทาวิจัย 69
ภาคผนวก ค การทดลองเพิ่มเติม 70
ภาคผนวก ง การวิเคราะห์ผลการทดสอบ 71

ประวัติผู้เขียน 73
(7)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
2.1 แสดงคุณสมบัติของน้ามันหล่อลื่นกลุ่มต่าง ๆ ตามมาตรฐาน API 14
2.2 คุณสมบัติบางประการของไฮโดรคาร์บอนชนิดต่างๆ 17
2.3 ผลกระทบจากกระบวนการใช้ไฮโดรเจนร่วมในกระบวนการ (Hydroprocessing) 21
ต่อคุณสมบัตนิ ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน
2.4 แสดงค่าจุดหลอมเหลวของ iso-nonadecane 24
3.1 สภาวะทีใ่ ช้สาหรับการทดลอง 38
4.1 แสดงคุณสมบัติตัวเร่งปฏิกิริยาจากการทดสอบการหาพื้นที่ผิวจาเพาะและโครงสร้าง 48
รูพรุน (Brunauer- Emmett-Teller Method)
4.2 การทดสอบคุณสมบัติของสารตั้งต้นไฮโดรแครกเกอร์บอททอม 50
4.3 ผลรวมของการทดสอบตัวอย่างที่ได้จากการดาเนินการ 53
ข.1 สรุปผลสภาวะในการทดลองการปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลของไฮโดรแวกส์ 69
(8)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า
1.1 การเจริญเติบโตและความต้องการเชื้อเพลิงของโลกในปี 2010-2040 2
1.2 สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย มกราคม – พฤษภาคม 2558 3
2.1 ภาพรวมการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีการปรับปรุงคุณภาพน้ามันดิบในปัจจุบัน 15
2.2 แผนภาพของการแตกตัวและไอโซเมอร์ไรเซชั่นด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของสาร 19
ไฮโดรคาร์บอน
2.3 กระบวนการไฮโดรแครกกิ้ง (Hydrocracking Process) 20
2.4 ความเป็นไปได้ในการลดจุดหลอมเหลวของ linear alkane 22
2.5 ค่าการหลอมเหลว (Melting point) ของไอโซเมอร์และนอร์มอลสาร 23
ไฮโดรคาร์บอนพาราฟิน
2.6 แผนภาพแสดงคุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาในการเกิด Hydroisomerization 25
2.7 การเกิดปฏิกิริยา Hydrocracking และ Hydroisomerization 25
2.8 แผนผังของการเกิด hydroisomerization และ hydrocracking ในความสัมพันธ์ 26
ระหว่างโลหะและส่วนประกอบที่เป็นกรดในตัวเร่งปฏิกิริยา
2.9 กระบวนการแบบใช้ตัวทาละลาย (Solvent Refining Process) กระบวนการไฮโดรแคร็ก 29
กิง้ (Hydrocracking) และกระบวนการไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น (Hydroisomerization)
2.10 การเปลียบเทียบเทคโนโลยี MSDW โดยตัวเร่งปฏิกิริยา -1 และ -2 30
กับ Solvent dewaxing
2.11 ตัวเร่งปฏิกิริยาอลูมินา 31
3.1 ขั้นตอนการดาเนินงานการวิจัยโดยรวม 34
3.2 สารตั้งต้นสาหรับทดลอง สารไฮโดแครกเกอร์บอททอม (ไข) 35
3.3 แกมม่า-อลูมิน่า (Gamma – Al2O3) จาก Sasol Germany 36
3.4 ตัวอย่างตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้จากการเตียม 37
3.5 การปรับสภาพตัวเร่งปฏิกิริยาก่อนใช้งาน 38
3.6 เครื่องปฏิกรณ์แบบเบดคงที่ (Micro continuous fixed bed reactor) 39
3.7 เครื่องจาลองการกลั่นโดยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี ยีห่ อ้ Agilent รุ่น 7890B 40
3.8 เครื่องวัดความหนืด รุ่น SVM 3000 41
3.9 เครื่อง Differential Scanning Calorimetry; DSC 42
(9)

3.10 หลักการทดสอบ Differential Scanning Calorimetry 43


3.11 เครือ่ ง Brunauer- Emmett-Teller Method; BET 44
3.12 ตัวอย่างกราฟที่ได้จากการทดสอบประกอบไปด้วยกราฟ Isotherm graph, 45
BET Plot และ BJH Pore Size Distribution ตามลาดับ
3.13 เครื่อง Temperature-programmed desorption; TPD 46
4.1 ผลการทดสอบ NH3-TPD ของตัวเร่งปฏิกิริยา 49
4.2 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการ Catalytic dewaxing 54
จากการใช้โลหะชนิดต่าง ๆ บนตัวรองรับอลูมินา
4.3 การเกิดโครงสร้างแบบกิ่งและแบบเส้นตรงของคาร์บอน C16-C34 จากผลิตภัณฑ์ 55
จากการใช้โลหะชนิดต่าง ๆ บนตัวรองรับอลูมินา
4.4 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการ Catalytic dewaxing 56
โดยศึกษาผลกระทบของกรด
4.5 ค่าการกลั่นของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการ Catalytic dewaxing 56
โดยศึกษาผลกระทบของกรด
4.6 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการ Catalytic dewaxing 58
โดยศึกษาผลกระทบของกรด
4.7 การเกิดโครงสร้างแบบกิ่งและแบบเส้นตรงของคาร์บอน C16-C32 จากผลิตภัณฑ์ 58
4.8 อัตราส่วนโครงสร้างแบบกิ่งต่อแบบเส้นตรงของคาร์บอน C12-C20 จากผลิตภัณฑ์ 59
ของตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa
4.9 การประมาณจุดไหลเทผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการ Catalytic dewaxing 60
ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni-AlSa, 10Ni1C-AlSa และ 5Ni3Cl-AlSa
ค.1 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการ Catalytic dewaxing 70
ของตัวเร่งปฏิกิริยา 10Ni5F-AlSa
ง.1 กราฟโครมาโตรกราฟีจากการทดสอบ GC-Simdist 71
ง.2 กราฟโครมาโตรกราฟีจากการทดสอบ Differential scanning calorimetry 72
(10)

รายการสัญลักษณและคํายอ

สัญลักษณ/คํายอ คําเต็ม/คําจํากัดความ

HDCB Hydrocracker bottoms


AlSa, Al2O3 Alumina Sasol
DSC Differential scanning calorimetry
Ni Nickel
Pt Platinum
Ir Iridium
Cl Chlorine
F Fluorine
C number Carbon
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ

เป็ นที่ ทราบกั นดี ว่ าพลั งงานเป็ นปั จจั ยส าคั ญ ในการสร้ างเสริ มความสุ ขสวั สดิ ภาพแก่
ประชาชน หลายประเทศ พลั งงานมี ส่ วนเกี่ ยวข้ องกั บความมั่ นคงทางเศรษฐกิ จ การเมื อง และ
วัฒนธรรมของชาติ ประเทศไทยก็มีพลังงานที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจหลายแหล่ง สมัยอดีตมนุษย์ใช้
พลังงานที่หาได้ง่ายๆ ตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นพลังงานที่มีการทดแทนอยู่ตลอดเวลา ต่อมาเมื่อมนุษย์เริ่ม
ใช้พลังงานประเภทอื่น เช่น นามัน ถ่านหิน มนุษย์ก็มีเวลาในการพัฒนาเรื่องต่างๆ มีการคิดค้นทาง
วิ ท ยาศาสตร์ ศิ ล ปกรรม และเรื่ อ งอื่ น ๆ ที่ มี ป ระโยชน์ ม ากขึ น ท าให้ ม นุ ษ ย์ มี อ ารยธรรมความ
เจริญรุ่งเรือง สะดวกสบายมากขึน โดยใช้พลังงานเป็นหลักสาคัญในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ดังนัน
การพัฒนาในด้านพลังงานจึงเป็นสิ่งสาคัญอันดับต้น ๆ สาหรับปัจจุบันและอนาคต ไม่ว่าจะเป็นการหา
แหล่งพลังงานใหม่ ๆ หรือการพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึน ให้มีประสิทธิภาพมากขึน1

1.2 ทิศทำงพลังงำน

1.2.1 สถำนกำรณ์พลังงำนโลก
จากการเพิ่มขึนของประชากรโลกอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการพัฒนาทางด้าน
วิทยาการและเทคโนโลยี ตลอดจนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ ตังแต่อดีตมา
จนถึงปัจจุบัน ทาให้ความต้องการใช้พลังงานของมนุษย์เพิ่มสูงขึนตามไปด้วย จะเห็นได้ว่า แนวโน้ม
ของการใช้พลังงานจะเพิ่มสูงขึนตลอดเวลา เพียงแต่ประเภทและชนิดของพลังงานที่นามาใช้เท่านันที่
มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้ไปตามยุคสมัย2
ความต้องการพลังงานของโลกเพิ่มสูงขึนมากกว่า 1 ใน 3 ในระหว่างช่วงเวลา
ปัจจุบันจนถึงปี 2035 เนื่องจาก มาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดีขึนในจีน อินเดีย และประเทศในภูมิภาค
ตะวันออกกลาง ทังนี การเจริญ เติบโตของความต้องการพลังงานได้สูงมากขึนในภูมิภาคเอเชียใต้
แม้ว่าจีนจะเป็นประเทศที่ มีความต้องการพลังงานมากที่สุดในทศวรรษปัจจุบัน แต่อินเดียจะกลับ
ขึนมาแซงในช่วงทศวรรษที่ 2020 และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กจ็ ะกลายเป็นภูมิภาคสาคัญอีก
ภูมิภาคหนึ่งที่มีความต้องการพลังงานเพิ่มสูงขึนเรื่อยๆ ดั งนันจะเห็นได้ว่าศูนย์กลางความต้องการ
พลังงานของโลกนันจะอยู่ที่กลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (Emerging Economies) สัดส่วนการใช้
เชือเพลิงฟอสซิลในปัจจุบันยังคงอยู่ที่ร้อยละ 82 ซึ่งเหมือนกับที่เป็นมาตลอดระยะเวลา 25 ปี ที่ผ่าน
2

มา แต่ในปี 2035 จะลดลงเหลือร้อยละ 76 เนื่องจากสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนที่เพิ่มมากขึน


จี น จะกลายเป็ น ประเทศผู้ น าเข้ า น ามั น และผู้ บ ริ โภคน ามั น รายใหญ่ ที่ สุ ด ในปี 2030 ในขณะที่
สหรั ฐ อเมริก าจะกลายเป็ น ประเทศที่ ส ามารถตอบสนองความต้ อ งการพลั งงานของตนเองด้ ว ย
ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศ ภายในปี 2035 นอกจากนี การบริโภคนามันของกลุ่มประเทศองค์การ
เพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) จะลดลง สาหรับการบริโภคนามันในโลกนัน
จะมุ่งไปที่ภาคขนส่งและปิโตรเคมี ซึ่งในปี 2035 ภาคขนส่งมีความต้องการบริโภคนามันเพิ่มสูงขึน
ร้อยละ 25 และ 1 ใน 3 ของนามันนีถูกนาไปใช้ในการขนส่งในทวีปเอเชีย การบริโภคนามันดีเซลก็
เพิ่มสูงขึนอย่างรวดเร็ว สาหรับถ่านหินยังคงเป็นตัวเลือกราคาถูกในการผลิตไฟฟ้าในหลายภูมิภาค แต่
การแทรกแซงทางนโยบายเพื่อพัฒนาคุณภาพ การจัดการมลพิษทางอากาศ และบรรเทาผลกระทบที่
จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อการ ขยายตัวของการใช้ถ่านหินในระยะยาว3-4

ภาพที่ 1.1 การเจริญเติบโตและความต้องการเชือเพลิงของโลกในปี 2010-20405


3

1.2.2 สถำนกำรณ์พลังงำนไทย
การใช้พลังงานยังคงเพิ่มขึนตามการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยที่นามันสาเร็จรูป
ยังคงเป็นพลังงานที่ใช้มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 48.3 ของการใช้พลังงานขันสุดท้ายทังหมดรองลงมา
ประกอบด้วยไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียนดังเดิม พลังงานหมุนเวียนก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน/ลิกไนต์
คิดเป็น ร้อยละ 18.7, 11.5, 7.9, 7.7 และ 5.9 ตามลาดับ และในขณะที่ประเทศไทยกาลังเดินหน้า
เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในปี 2558 ความท้าทายทางเศรษฐกิจประการหนึ่งที่กาลังจะ
เกิดขึนคือ เรื่องพลังงาน เพราะหากเราวิเคราะห์ถึงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทย ประเทศไทย
มีแนวโน้มการใช้พลังงานที่สูงขึนอย่างต่อเนื่องทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคอุตสาหกรรม และภาค
ขนส่งที่มีสัดส่วนการใช้พลังงานรวมกันสูงถึงกว่าร้อยละ 70 และภาคส่วนอื่นๆ รวมกันอีกประมาณ
ร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขันสุดท้ายทังประเทศ ซึ่งประเทศไทยได้นาเข้าพลังงานชนิดต่างๆ ทัง
ไฟฟ้า ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ นามันสาเร็จรู ป และนามันดิบ เพื่อรองรับการใช้งานภายในประเทศ
สาหรับการใช้แหล่งพลังงานใหม่ และการใช้พลังงานที่มี ประสิทธิภาพมากขึน ความจาเป็นในการ
พัฒนารูปแบบ และชนิดของพลังงานจากเชือเพลิงฟอสซิล และนิวเคลียร์มาเป็นเชือเพลิงทดแทน
ร่ว มกั บ การรัก ษาสิ่ งแวดล้ อ ม ลดการปล่ อ ยก๊ าซเรื อ นกระจกโลก การบั งคั บ ใช้ ก ฎระเบี ย บด้ า น
สิ่งแวดล้อมเพิ่มขึนเนื่องจากมีการปล่อย CO2 มากขึน จึงต้องมีการจัดการกับการปล่อยมลพิษที่เกิด
จากสภาวะเรือนกระจกอย่างเร่งด่วน

ภาพที่ 1.2 สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย มกราคม – พฤษภาคม 25586


4

งานวิจัยนีจึงศึกษาการผลิตเชือเพลิงและสารหล่อลื่นจากกระบวนการกาจัดไขโดยใช้
ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalytic dewaxing) ซึ่งเป็นกระบวนการเปลี่ยนนามันที่มีลักษณะเป็นไข (wax) ให้
เป็นเชือเพลิงและนามันหล่อลื่นเหลว เพื่อความเหมาะสมในการนาไปใช้งาน โดยการประเมินความ
เป็นไปได้ในการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีความเป็นกรด เพื่อลดการใช้สถาวะที่สูงสาหรับกระบวนการผลิต
ในการเกิดปฏิกิริยาการแตกหักของสายโซ่โมเลกุล (Hydrocracking) และการเพิ่มกิ่งของโซ่โมเลกุล
ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ไฮโดรเจนร่วม (Hydroisomerization)

1.3 วัตถุประสงค์

1.3.1 เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของตัวเร่งปฏิกิริยา ที่มีองค์ประกอบของกรดและโลหะ


ในการทาให้เกิดปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิงและไฮโดรไอโซเมอไรเซซัน บนตัวรองรับอลูมินา โดยใช้สาร
ป้อนไฮโดรแครกเกอร์บอททอม (Hydrocracker bottom)
1.3.2 เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ สมบั ติ ก ารไหลเทของน ามั น ไฮโดรแครกเกอร์ บ อททอมให้
เหมาะสมต่อการนาไปใช้งาน โดยทาให้เป็นเชือเพลิงและสารหล่อลื่อ

1.4 ขอบเขตกำรวิจัย

การผลิตเชือเพลิงและสารหล่อลื่อจากการปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุล ของไฮโดรแครก
เกอร์บอททอมที่มีโครงสร้างโมเลกุลเป็นอัลเคนแบบสายโซ่ตรง (n-paraffin) เป็นองค์ประกอบหลัก
และมีขนาดโมเลกุลอยู่ในช่วงของคาร์บอนระหว่าง C18 – C40 ซึ่งทาให้สารเป็นไขที่อุณหภูมิห้อง จึง
ไม่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ดังนันจึงทาการศึกษาการเปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุลให้เป็นอัลเคนแบบ
กิ่ง (iso-paraffin) และการทาให้สายโซ่โมเลกุลสันลง เพื่อให้ได้เชือเพลิงและสารหล่อลื่นที่สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้ โดยได้ทาการศึกษาผ่านกระบวนการไฮโดรแครกกิงและไฮโดรไอโซเมอไรเซซัน
ด้วยเครื่องปฏิกรณ์ แบบเบดคงที่ (Micro continuous fixed bed reactor) ผ่านตัวเร่งปฎิกิริยา ที่
สภาวะ อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส, ความดัน 35 บาร์ และปริมาณอัตราการไหลของสารป้อนต่อ
ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 0.018 ต่อชั่วโมง
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือ ตัวเร่งปฎิกิริยาที่มีปริมาณธาตุ นิกเกิล (Ni), แพลทตินัม
(Pt), อิ ริ เ ดี ย ม (Ir) และคลอรี น (Cl) บนตั ว รองรั บ อลู มิ น า โดยใช้ วิ ธี ก ารเตรี ย มแบบเอิ บ
ชุ่ม (Impregnation method)
5

การศึกษาจะดูอิทธิพลความเป็นกรดและโลหะของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ส่งผลให้เกิดปฏิกิริยา
ไฮโดรแครกกิงและไฮโดรไอโซเมอไรเซซันในสารของไฮโดแครกเกอร์บอททอม

1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ

1.5.1 เพิ่มมูลค่าให้กับสารตังต้นไฮโดรแครกเกอร์บอททอม
1.5.2 ประมาณความเป็นไปได้ในการเกิดปฏิกิริย าไฮโดรแครกกิงและไฮโดรไอโซเมอไร
เซซันในตัวเร่งปฏิกิริยาอลูมินาที่มี นิกเกิล (Ni), แพลทินัม (Pt), อิริเดียม (Ir) และ คลอรีน (Cl) เป็น
องค์ประกอบ
1.5.3 ได้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม
6

บทที่ 2
วรรณกรรมและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง

2.1 ประเภทของน้้ามันเชื้อเพลิงและคุณภาพน้า้ มัน

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ ำมั น เชื้ อ เพลิ งที่ ได้ จ ำกกระบวนกำรกลั่ น น้้ ำมั น ปิ โตรเลี ย มมี ห ลำยชนิ ด
สำมำรถน้ำมำไปใช้ประโยชน์ได้อย่ำงกว้ำงขวำงทั้งทำงตรงและทำงอ้อม คุณภำพของน้้ำมันเชื้อเพลิง
ได้รับกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องตลอดเวลำ เพื่อให้ทันกับวิวัฒนำกำรของเครื่องยนต์ที่เจริญก้ำวหน้ำ
อย่ำงไม่หยุดยั้ง ณ ที่นี้ขอกล่ำวถึงคุณภำพน้้ำมันเชื้อเพลิง 2 ชนิด ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่ำงกว้ำงขวำง
คือ น้้ำมันเบนซินและน้้ำมันดีเซล

2.1.1 น้้ามันเบนซิน7
น้้ำมันเบนซิน เป็นน้้ำมันที่ได้จำกกำรปรุงแต่งคุณภำพของผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำร
กลั่นน้้ำมันโดยตรง และอำจได้จำกกำรแยกก๊ำซธรรมชำติเหลวหรือแก๊สโซลีนธรรมชำติ น้้ำมันเบนซิน
จะผสมสำรเพิ่มคุณภำพเพื่อให้เหมำะกับกำรใช้งำน เช่น สำรเพิ่มค่ำออกเทน สำรต้ำนกำรรวมตัวกับ
อำกำศ สำรเคมี ส้ ำหรับ ป้ องกัน สนิม ป้ องกัน กำรกัดกร่อนในถังน้้ ำมัน และท่ อทำงน้้ ำมัน รวมทั้ ง
สำรเคมี ที่ ช่ ว ยท้ ำ ควำมสะอำดคำร์ บู เรเตอร์ จึ ง เหมำะที่ จ ะใช้ กั บ ยำนพำหนะ เช่ น รถยนต์
รถจักรยำนยนต์ หรือเครื่องยนต์ทั่วไป เช่น เครื่องสูบน้้ำ เครื่องปั่นไฟขนำดเล็ก

ส้ำหรับประเทศไทยในปัจจุบันน้้ำมันเบนซินที่ใช้กับเครื่องยนต์ทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

1. น้้ำมันเบนซินธรรมดำ (Regular gasoline) ก้ำหนดให้มีค่ำออกเทนไม่ต่้ำกว่ำ


83 ปริ ม ำณสำรตะกั่ ว ไม่ เ กิ น 0.15 กรั ม ต่ อ ลิ ต ร ควรใช้ กั บ เครื่ อ งยนต์ ที่ มี อั ต รำส่ ว นกำรอั ด
(Compression ratio) ต่้ำกว่ำ 8:1 เช่น รถยนต์รุ่นเก่ำ เครื่องยนต์ขนำดเล็ก รถจักรยำนยนต์ เครื่อง
ตัดหญ้ำ เป็นต้น
2. น้้ำมันเบนซินพิเศษ (Premium gasoline) ก้ำหนดให้มีค่ำออกเทนไม่ต่้ำกว่ำ
95 ปริมำณสำรตะกั่วไม่เกิน 0.15 กรัมต่อลิตร ควรใช้กับเครื่องยนต์ที่มีอัตรำส่วนกำรอัดประมำณ 8:1
ขึ้นไป เช่น รถยนต์นั่ง รถบรรทุกเล็ก รถจักรยำนยนต์ เป็นต้น
3. น้้ำมันเบนซินไร้สำรตะกั่ว (Unleaded gasoline) ก้ำหนดให้มีค่ำออกเทนไม่
ต่้ำกว่ำ 95 ปริมำณสำรตะกั่วไม่เกิน 0.013 กรัมต่อลิตร เป็นน้้ำมันที่เพิ่มค่ำออกเทนโดยกำรน้ำน้้ำมัน
ที่ มี ค่ ำออกเทนต่้ำมำเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ำงทำงโมเลกุ ลเพื่ อให้ มี ค่ ำออกเทนสูงขึ้ น โดยพยำยำม
7

หลี ก เลี่ ย งกำรใช้ ส ำรประกอบของตะกั่ วให้ น้ อ ยที่ สุ ด หรือ ไม่ ต้ อ งใช้ เลย ควรใช้ กั บ เครื่อ งยนต์ ที่ มี
อัตรำส่วนกำรอัดประมำณ 8:1 ขึ้นไป เช่นเดียวกับน้้ำมันเบนซินชนิดพิเศษ แต่ควรเป็นเครื่องยนต์รุ่น
ใหม่ที่มีกำรออกแบบกำรใช้โลหะชนิดพิเศษในกำรท้ำบ่ำลิ้น (Value seat) ของเครื่องยนต์ เพรำะสำร
ตะกั่วจะช่วยลดกำรสึกหรอของบ่ำลิ้น ดังนั้น เครื่องยนต์ที่จะใช้กับน้้ำมันเบนซินไร้สำรตะกั่วได้จึงต้อง
ออกแบบสร้ำงบ่ำลิ้นมำเป็นพิเศษ เครื่องยนต์ที่ติดตั้งเครื่องกรองไอเสีย (Catalytic converter) ก็ต้อง
ใช้น้ำมันเบนซินไร้สำรตะกั่วเท่ำนั้น เพรำะถ้ำใช้น้ำมันเบนซินที่ผสมสำรตะกั่วมำกจะท้ำให้ระบบเครื่อง
กรองไอเสียใช้งำนไม่ได้
กำรใช้ น้ ำ มั น เบนซิ น ที่ มี ค่ ำ ออกเทนต่้ ำ จะท้ ำ ให้ เครื่ อ งยนต์ เ สี ย ก้ ำ ลั ง เกิ ด
อำกำรน๊อค (Knock) ท้ำให้เครื่องยนต์สึกหรอเร็วขึ้น อำยุกำรใช้งำนสั้นลง กำรใช้น้ำมันเบนซินที่มีค่ำ
ของออกเทนสูงกับเครื่องยนต์ที่มีอัตรำส่วนกำรอัดต่้ำ ก็ไม่เกิดประโยชน์ต่อเครื่องยนต์มำกนัก จะท้ำ
ให้สิ้นเปลืองค่ำใช้จ่ำยเพิ่ม เพรำะรำคำน้้ำมันเบนซินที่มีค่ำออกเทนสูงรำคำแพงกว่ำ กำรดัดแปลง
เครื่องยนต์เบนซินที่ใช้น้ำมันเบนซินชนิดพิเศษอยู่แล้วให้มำใช้กับน้้ำมันเบนซินชนิดธรรมดำโดยกำร
ปรับแต่เครื่องยนต์ เช่น กำรตั้งไฟให้อ่อนลงก็จะท้ำให้เครื่องยนต์ร้อน และเสียก้ำลัง จึงไม่ควรกระท้ำ
เพรำะจะมีผลเสียมำกกว่ำ ส่วนสีในน้้ำมันไม่ใช่เป็นตัวเพิ่มคุณภำพของน้้ำมัน แต่กำรเติมสีในน้้ำมัน
แสดงถึงควำมเป็นเนื้อเดียวกัน และต้องใส่สีเพื่อแสดงให้ทรำบถึงเกรดของน้้ำมันแต่ ละชนิด ซึ่งไม่ได้มี
กฎตำยตัวของแต่ละประเทศ เช่น ประเทศไทยมีกำรเปลี่ยนแปลงสีของน้้ำมันเบนซิน เพรำะมีกำร
ปลอมปนอยู่เสมอ ทำงรำชกำรจึง ได้งก้ำหนดให้น้ำมันเบนซินชนิดพิเศษเป็นสีใสออกเหลืองนิด ๆ
ส้ำหรับเบนซินชนิดธรรมดำให้เป็นสีแดง ส่วนน้้ำมันก๊ำดให้เป็นสีน้ำเงิน ซึ่งน้้ำมันเบนซินเป็นผลิตภัณฑ์
เชื้อเพลิงที่ใช้กันอย่ำงกว้ำงขวำงมำกปัจจุบัน เป็นน้้ำมันเชื้อเพลิงที่ระเหยง่ำยและไวไฟ จึงควรเก็บไว้
ในที่ปลอดภัยให้ห่ำงจำกควำมร้อนและประกำยไฟ หรือแม้แต่สำรเคมีประเภท strong oxidants เช่น
คลอรีน ควรหลีกเลี่ยงกำรใช้น้ำมันเบนซินเป็นสำรละลำย ในกำรล้ำงท้ำควำมสะอำด เพรำะไอระเหย
ของน้้ำมันเบนซินไวไฟ สำมำรถลุกติดไฟได้ง่ำยหำกมีเปลวไฟเพียงเล็กน้อย ควรหลีกเลี่ยงกำรสัมผัส
หรือกำรสูดดมไอระเหยของน้้ำมันเบนซินโดยตรง เพรำะจะท้ำให้เกิดอำกำรวิงเวียนศีรษะ และอำจ
หมดสติ ควรหลีกเลี่ยงกำรใช้ป ำกดูดสำยน้้ำมัน เพรำะน้้ ำมั น เบนซิ นเพียงเล็กน้อยสำมำรถจะท้ ำ
อันตรำยต่อปอดได้อย่ำงร้ำยแรง กำรสัมผัสน้้ำมันเบนซินโดยตรงเป็นเวลำนำน ๆ หรือบ่อยครั้งอำจท้ำ
ให้เกิดอำกำรระคำยเคืองต่อผิวหนังได้ และอำจท้ำเกิดเป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง แต่ถ้ำหำกมีควำมจ้ำเป็น
ที่ต้องสัมผัสกับน้้ำมันเบนซินแล้ว หลังจำกเสร็จสิ้นจำกงำน ควรรีบล้ำงท้ำควำมสะอำดด้วยสบู่และน้้ำ
ให้สะอำด ในกำรล้ำงอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนเครื่องยนต์ เครื่องจักรกล ควรใช้สำรละลำยที่ไม่เป็นพิษต่อ
ร่ำงกำย เช่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท้ ำควำมสะอำดที่ ใช้ ล้ ำ งเครื่ อ งโดยเฉพำะ หำกหลี ก เลี่ ย งไม่ ได้ ห รือ ไม่ มี
ผลิตภัณฑ์ดังกล่ำว กำรใช้น้ำมันก๊ำดหรือน้้ำมันโซล่ำจะปลอดภัยกว่ำ โดยเฉพำะด้ำนอัคคีภัย อันตรำย
จำกน้้ ำ มั น เบนซิ น เมื่ อ น้ ำ ไปใช้ ใ นกำรเดิ น เครื่ อ งยนต์ คื อ ก๊ ำ ซไอเสี ย จำกเครื่ อ งยนต์ เช่ น ก๊ ำ ซ
8

คำร์บอนมอนอกไซด์ และสำรตะกั่วที่ปนมำกับไอเสียในรูปของก๊ำซอื่น ดังนั้น จึงไม่ควรติดเครื่องยนต์


ในห้องหรืออำคำรที่ไม่มีระบบระบำยอำกำศที่ดี หรือกำรปิดกระจกรถแล้วติดเครื่องยนต์เปิดแอร์นอน
ในรถยนต์เป็นเวลำนำน เพรำะก๊ำซพิษจำกไอเสียอำจรั่วเข้ำไปได้

ลักษณะและคุณภาพของน้้ามันเบนซิน

1. ค่าออกเทน
ค่ำออกเทน หมำยถึง คุณสมบัติของน้้ำมันเชื้อเพลิงที่แสดงถึงควำมสำมำรถในกำร
ต้ำนทำนกำรชิงจุดระเบิดก่อนเวลำที่ก้ำหนดในเครื่องยนต์เบนซิน อีกนัยหนึ่งคือตัวเลขแสดงควำม
ต้ำนทำนกำรน็อคของน้้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์เบนซิน เนื่องจำกกำรเพิ่มอุณหภูมิ ภำยในบริเวณ
ของส่วนผสมอำกำศกับน้้ำมันเชื้ อเพลิงที่ก้ำลังถูกอัดโดยคลื่นเปลวไฟ ก่อนกระบวนกำรเผำไหม้จะ
สิ้ น สุ ด ภำยใน กระบอกสู บ ของเครื่ อ งยนต์ กำรน็ อ คท้ ำ ให้ เครื่ อ งยนต์ ไม่ มี ก้ ำ ลั ง อย่ ำ งไรก็ ต ำม
เครื่องยนต์แต่ละแบบจะมีค่ำออกเทนไม่เท่ำกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับกำรออกแบบของบริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์
2. ปริมาณตะกั่ว
แม้ในปัจจุบันจะไม่มีกำรเติมตะกั่วในน้้ำมันเบนซิน เพื่อเพิ่มค่ำออกเทนแล้วก็ตำม
แต่ตะกั่วอำจจะมีกำรปนเปื้อนมำจำกน้้ำมันดิบหรือจำก กระบวนกำรในกำรผลิตก็ได้ เพรำะเนื่องจำก
ตะกั่วเป็ น สำรก่อมลพิ ษ ในไอเสี ยและเป็ น โทษต่อร่ำงกำย จึงต้องมีกำรก้ำหนดปริมำณมำตรฐำน
ควบคุมไว้
3. ปริมาณก้ามะถัน
เมื่ อ ก้ ำ มะถั น ในน้้ ำ มั น ถู ก เผำไหม้ จ ะสำมำรถกั ด กร่ อ นเครื่ อ งยนต์ ใ ห้ สึ ก หรอ
นอกจำกนั้นยังเป็นฝุ่นท้ำให้เครื่องยนต์สกปรกและ เป็นตัวก่อมลพิษทำงอำกำศ
4. ปริมาณฟอสฟอรัส
ฟอสฟอรัสมักจะมำจำกกำรเติมสำรเพิ่มคุณภำพในน้้ำมันเบนซิน สำมำรถท้ำให้เครื่อง
กรองไอเสียช้ำรุดเสียหำย
5. การกัดกร่อน
น้้ำมันที่มีสิ่งปนเปื้อน เช่น ก้ำมะถัน จะก่อให้เกิดกำรกัดกร่อนชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ ท้ำ
ให้เกิดเครื่องยนต์สึกหรอ ค่ำกำรกัดกร่อนเป็น ตัวบ่งชี้กำรสึกหรอของเครื่องยนต์
6. เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
เป็ นค่ ำที่ บ่ งถึงควำมสำมำรถของน้้ ำมั นที่ จะเกิดปฏิกิริยำกับออกซิ เจนแล้วได้ยำง
เหนียว ซึ่งมีผลกระทบต่อไอดี ห้องเผำไหม้และกำรเก็บส้ำรองน้้ำมัน
9

7. ปริมาณยางเหนียว
เมื่อน้้ำมันที่มีสำรประกอบของไนโตรเจน ท้ำปฏิกิริยำกับออกซิเจนในอำกำศจะท้ำให้
เกิดเป็นยำงเหนียว เป็นสิ่งสกปรกในระบบไอดี และห้องเผำไหม้ ท้ำให้วำล์วติดตำย คำร์บูเรเตอร์
ขัดข้อง แหวนติด
8. อัตราการระเหย
เป็นคุณสมบัติที่บ่งบอกว่ำน้้ำมันมีองค์ประกอบส่วนหนักเบำอย่ำงไร จะถูกเผำไหม้ได้
ในลักษณะใด ต่อเนื่องแค่ไหน เช่น ถ้ำมีส่วนเบำน้อยจะจุดสตำร์ทยำก ถ้ำน้้ำมันค่อยๆระเหยอย่ำง
สม่้ำเสมอเมื่อค่อยๆ เพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น กำรเผำไหม้ก็จะต่อเนื่องเครื่องยนต์ก็จะเดินได้รำบเรียบ
อัตรำกำรระเหยของน้้ำมันจึงมีผลต่อกำรสตำร์ทของเครื่องยนต์ กำรเร่งเครื่องยนต์ และกำรผลต่ อกำร
ประหยัดน้้ำมันเชื้อเพลิง
9. ความดันไอ
ควำมดันไอจะต้องไม่เกินมำตรฐำนที่ก้ำหนด เพื่อป้องกันกำรเกิดปัญหำไอน้้ำมันอุด
ขวำงท่อทำงเดินน้้ำมัน เกิดกำรขำดตอนของน้้ำมันในคำร์บูเรเตอร์ ท้ำให้เครื่องยนต์สตำร์ทไม่ติด
กระตุกหรือดับ
10. ปริมาณสารเบนซิน
เบนซิ น เป็ น สำรจ้ำพวกอะโรเมติ ก ส์ มี ค่ำออกเทนสู ง แต่ มี พิ ษ ต่ อระบบทำงเดิ น
หำยใจและสมอง กำรสูดดมสำรนี้เป็นระยะเวลำ นำนๆ อำจเป็นสำเหตุของโรคมะเร็ง
11. ปริมาณสารอะโรมาติก
สำรอะโรมำติก จะมีค่ำของออกเทนสูง แต่ก็มีสำรอะโรมำติกบำงตัว เช่น เบนซิน
โพลีไซคลิกอะโรมำติก ซึ่งจะก่อให้เกิดมะเร็งในสัตว์ทดลอง นอกจำกนี้แล้ว กำรเผำไหม้ของน้้ำมันที่มี
สำรอะโรมำติกสูงจะท้ำให้มีเขม่ำปริมำณสูงและหำกกำรเผำไหม้ไม่สมบูรณ์จะท้ำเกิดไอเสียที่มีสำร อะ
โรมำติกด้วย
12. สี
โดยปกติเนื้ อน้้ ำมั น เบนซิ น เองไม่ มี สี แต่ผู้ ป ระกอบกำรใส่สี ลงไปเพื่ อให้ สำมำรถ
แยกแยะชนิดของน้้ำมันได้ง่ำยและป้องกันกำรปลอมปน เช่น น้้ำมันเบนซินออกเทน 91 มีสีแดง และ
น้้ำมันเบนซินออกเทน 95 มีสีเหลือง
13. ปริมาณน้้า
น้้ำมีผลท้ำให้น้ำมันเสื่อมคุณภำพเร็วและท้ำให้เกิดกำรอุดตันที่อุณหภูมิต่้ำหรือท้ำให้
เครื่องยนต์เดินไม่เรียบ
10

14. สารออกซิเจนเนท
สำรออกซิเจนเนท ที่เติมในน้้ำมันเบนซินจะเพื่อช่วยเพิ่มปริมำณออกซิเจน ได้แก่
MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) ช่วยให้กำรเผำไหม้สมบูรณ์ ดี ลดกำรเกิดมลพิษ เช่น
คำร์บอนมอนอกไซด์ ขณะเดียวกันกำรที่ MTBE มีค่ำออกซิเจนสูงกว่ำ 100 จึงช่วยเพิ่มค่ำออกเทนใน
น้้ำมันเบนซินส้ำเร็จรูปด้วย แต่เนื่องจำก MTBE เป็นสำรที่สำมำรถดูดซับน้้ำได้ดี ผู้ประกอบกำร จึงถูก
ควบคุมปริมำณกำรใช้ในระดับทีเ่ หมำะสม
15. สารเพิ่มคุณภาพในน้้ามันเบนซิน
กำรเติมสำรเพิ่มคุณ ภำพลงในน้้ำมันเบนซินก็เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรใช้งำน
สำรเหล่ ำนี้ ได้ แ ก่ สำรท้ ำ ควำมสะอำด จะท้ ำกำรช่ วยชะล้ ำงสิ่ งสกปรกที่ ต กค้ ำงในระบบน้้ ำมั น
เชื้อเพลิงและช่วยรักษำคำร์บูเรเตอร์ให้สะอำดอยู่เสมอ สำรต้ำนกำรรวมตัวกับอำกำศ จะช่วยป้องกัน
ไม่ให้น้ำมันเบนซินรวมตัวกับออกซิเจนในอำกำศ เพื่อป้องกันกำรเกิดยำงเหนียว ซึ่งเป็นอันตรำยต่อ
ระบบน้้ำมันเชื้อเพลิงและ สำรป้องกันสนิมและกำรกัดกร่อน จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดสนิมอุดตันไส้
กรองน้้ำมันเชื้อเพลิงที่คำร์บูเรเตอร์

2.1.2 น้้ามันดีเซล7
น้้ำมันดีเซลเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่ได้จำกกำรกลั่นน้้ำมันดิบ แต่มีช่วงจุดเดือด
และควำมข้นใสสูงกว่ำน้้ำมันเบนซิน เครื่องยนต์ดีเซล มีพื้นฐำนกำรท้ำงำนที่แตกต่ำงจำกเครื่องยนต์
เบนซิ น กล่ ำวคื อ กำรจุด ระเบิ ด ของเครื่อ งยนต์ ดี เซลใช้ ค วำมร้อ นที่ เกิ ด จำกกำรอั ด อำกำศ อย่ ำง
มำกมำยในกระบอกสูบแล้วฉีดเชื้อเพลิงเข้ำไปเพื่อท้ำกำรเผำไหม้ ไม่ใช่เป็นกำรจุดระเบิดจำกหัวเทียน
เหมือนในเครื่องยนต์เบนซิน
น้้ำมันดีเซลเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่ได้จำกกำรกลั่นน้้ำมันดิบ แต่จะมีช่วงของจุด
เดือดและควำมข้นใสสูงกว่ำน้้ำมันเบนซิน เนื่องจำกเครื่องยนต์ดีเซลเป็นเครื่องยนต์ที่มีมูลฐำนของกำร
ท้ำงำนที่แตกต่ำงจำกเครื่องยนต์เบนซิน กำรจุดระเบิดของเครื่องยนต์ดีเซลใช้ควำมร้อนที่เกิดจำกกำร
อัดอำกำศอย่ำงมำกภำยในกระบอกสูบ แล้วฉีดเชื้อเพลิงเข้ำไปเพื่อท้ำกำรเผำไหม้ ไม่ใช่เป็นกำรจุด
ระเบิดจำกหัวเทียนเหมือนเครื่องยนต์เบนซิน ซึ่งเครื่องยนต์ดีเซลในสมัยแรก ๆ นั้นมีขนำดใหญ่โตมำก
เพรำะต้องกำรให้ทนกับควำมร้อนและแรงอัดสูง ๆ ได้ เครื่องยนต์ดีเซลสมัยก่อนก็น้ำไปใช้เป็ นเครื่อง
ต้นก้ำลัง เช่น ใช้เป็นต้นก้ำลังในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำ โรงงำนอุตสำหกรรม และใช้ในเรือ ต่อมำได้มี
กำรพั ฒ นำสร้ำงเครื่องยนต์ให้มีขนำดเล็กลงแต่มีประสิทธิภำพสูง เช่น ใช้เป็นเครื่องต้นก้ำลังของ
เครื่องมือและอุปกรณ์หลำยชนิดที่มีควำมส้ำคัญทำงเศรษฐกิจ เช่น รถไฟ รถบรรทุ ก รถแทร็กเตอร์
เรื อ ประมง เป็ น ต้ น ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งมี ก ำรปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภำพของน้้ ำ มั น ดี เซลเพื่ อ ให้ เหมำะสมกั บ
เครื่องยนต์ต่ำง ๆ ที่ใช้กับงำนนั้น ๆ
11

น้้ำมันดีเซลที่ใช้อยู่ในประเทศไทยมีอยู่ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ น้้ำมันดีเซลส้ำหรับ


เครื่องรอบเร็ว (Automotive Diesel Oil ; ADO) หรือที่เรียกว่ำ โซล่ำ ส้ำหรับเครื่องยนต์ดีเซลรอบ
เร็ว ซึ่งส่วนมำกใช้กับยำนยนต์ เรือขนำดเล็ก เครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำดเล็ก และอุปกรณ์ก่อสร้ำง หรือ
จะใช้เผำไหม้ให้ควำมร้อนในงำนอุตสำหกรรม หรือใช้ต้มน้้ำร้อนในโรงแรมก็ได้ น้้ำมันดีเซลจะมีสี
เหลืองอ่อนในตัวเองโดยธรรมชำติ และน้้ำมันดีเซลส้ำหรับเครื่องรอบช้ำ (Industrial Diesel Oil ;
IDO) บำงครั้งเรียกว่ำน้้ ำมั น ขี้โล้ ส้ ำหรับ เครื่องยนต์ดี เซลรอบช้ำและปำนกลำง ซึ่ งนิ ยมใช้ในงำน
อุตสำหกรรมและเรือขนำดใหญ่ หรือใช้เผำไหม้ให้ควำมร้อนก็ได้เหมือนกัน น้้ำมันชนิดนี้จะมีสีเข้มกว่ำ
ชนิดแรก
กำรเลือกใช้น้ำมันดีเซลไม่มีปัญหำเหมือนน้้ำมันเบนซิน เพรำะน้้ำมันดีเซลหมุน
เท่ำนั้นที่มีจ้ำหน่ำยตำมสถำนีบริกำรน้้ำมัน ส่วนน้้ำมันดีเซลหมุนช้ำบริษัทจ้ำหน่ำยมักขำยโดยตรงแก่
โรงงำนอุตสำหกรรม สิ่งที่ควรระวัง คือ เนื่องจำกในปัจจุบันไม่ว่ำจะเป็นรถยนต์นั่ง (รถเก๋ง) หรือ
รถบรรทุกทั้งหลำยมีกำรใช้เครื่องยนต์ทั้งสองแบบ คือ เครื่องยนต์เบนซิน และเครื่องยนต์ดีเซล ดังนั้น
ช่องเติมน้้ำมันของรถยนต์ควรมีป้ำยบอกให้ชัดเจนว่ำใช้น้ำมันชนิดใด หำกใช้น้ำมันผิดชนิดกันจะท้ำให้
เกิดปัญหำอย่ำงมำกแก่เครื่องยนต์
อั น ตรำยจำกน้้ ำมั น ดี เซล มี ลั ก ษณะคล้ ำยคลึ งกั บ อั น ตรำยจำกน้้ ำมั น เบนซิ น
เพียงแต่น้ำมันดีเซลไม่มีสำรประกอบของตะกั่ว แต่ในน้้ำมันดีเซลก็ยังมีสำรที่ท้ำให้เกิดมะเร็วผิวหนังได้
หำกสัมผัสโดยตรงมำก ๆ สำรดังกล่ำว คือ PCA (Polycyclic Aromatic Hydrocarbon) จึงควรล้ำง
มือให้สะอำดทุกครั้งหลังจำกสัมผัสกับน้้ำมันดีเซล

ลักษณะและคุณสมบัติของน้้ามันดีเซล

1. การติดไฟ
คุณสมบัติกำรติดไฟบ่งบอกถึงควำมสำมำรถในกำรติดเครื่องยนต์ที่อุณหภูมิต่้ำ และ
กำรป้องกันกำรน็อคในเครื่องยนต์ระหว่ำงกำร เผำไหม้เชื้อเพลิงภำยในกระบอกสูบ ลักษณะกำรเผำ
ไหม้ เช่น กำรเผำไหม้เร็ว กำรเผำไหม้จะมีประสิทธิภำพสูง เหล่ำนี้แสดงออกมำเป็นตัวเลข ของดัชนีซี
เทน หรือ ซี เทนนั ม เบอร์ ค่ ำซี เทนควรให้ สู งพอกั บ ควำมเร็ว รอบของเครื่อ งยนต์ ซึ่ งจะท้ ำให้ ติ ด
เครื่องยนต์ง่ำยไม่น็อค และประหยัดกำรใช้น้ำมัน
2. ความสะอาด
ควำมสะอำดเป็นคุณสมบัติที่ส้ำคัญอีกอย่ำงหนึ่งของน้้ำมันดีเซล ซึ่งในน้้ำมันดีเซล
ต้องมีควำมสะอำดทั้งก่อนและหลังกำรเผำไหม้ เช่น ต้องมีตะกอน น้้ำ กำกหรือเขม่ำให้น้อยที่สุดเท่ำที่
12

จะท้ำได้ เนื่องจำกระบบน้้ำมันดีเซลจะต้องใช้ปั๊มน้้ำมันและหัวฉีดน้้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อช่วยในกำรเผำ


ไหม้
3. การกระจายตัวเป็นฝอย
ควำมหนืดหรือควำมข้นใสจะเป็นตัวก้ำหนดลักษณะของกำรกระจำยตัวของน้้ำมัน
ดีเซล ควำมหนืดที่พอเหมำะท้ำให้น้ำมันน้้ำมัน กระจำยเป็นฝอยดี ซึ่งส่งผลต่อกำรเผำไหม้หมด ควำม
หนืดของน้้ำมันดีเซลยังมีผลต่อระบบกำรปั๊มน้้ำมัน เพรำะในขณะที่ปั๊มน้้ำมันเชื้อเพลิงเข้ำสู่ห้องเผำ
ไหม้ตัวน้้ำมันก็จะท้ำหน้ำที่หล่อลื่นลูกสูบปั๊มไปในตัวด้วย
4. อัตราการระเหยตัว
อัตรำกำรระเหยตัว หมำยถึง อัตรำกำรระเหยตัว ของน้้ำมันดีเซลมีผลต่อจุดเดือด
จุดวำบไฟ และจุดติดไฟ ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้หนึ่งของควำมปลอดภัยในกำรเก็บรักษำ
5.สี
โดยปกติ น้ ำ มั น ดี เซลจะมี สี ช ำอ่ อ น แต่ บ ำงครั้ ง สี อ ำจเปลี่ ย นไปบ้ ำ งเนื่ อ งจำกใน
กระบวนกำรกลั่นน้้ำมันอำจใช้น้ำมันดิบจำกแหล่งต่ำงกัน แต่คุณสมบัติในกำรเผำไหม้ยังคงเหมือนเดิม
ทั้งนี้สีไม่ได้เป็นตัวส้ำคัญที่ก้ำหนดคุณภำพน้้ำมัน ผู้ประกอบกำรได้ก้ำหนดมำตรฐำน สีที่มีค่ำไม่เกิน 3
ซึ่งเป็นสีคล้ำยสีชำ สีของน้้ำมันดีเซลอำจเข้มขึ้น หำกเก็บไว้นำนๆ แต่ในกรณีที่สีเปลี่ยนแปลงไปมำก
เช่น เป็นสีเขียว หรือสีด้ำคล้้ำ และจะควรตั้งข้อสังเกตว่ำอำจจะมีกำรปลอมปนของน้้ำมันก๊ำด น้้ำมัน
เตำ หรือน้้ำมันเครื่องที่ใช้แล้ว
6. ปริมาณก้ามะถัน
ปริมำณก้ำมะถันในน้้ำมันชนิดใดๆ ที่สูงเกินไปเป็นสิ่งที่ไม่พึงปรำรถนำ กำรกัดกร่อน
ของก้ำมะถันในน้้ำมันมีด้วยกัน 2 ลักษณะ ลักษณะแรกเกิดจำกกำรกัดกร่อนภำยหลังกำรเผำไหม้
ของสำรประกอบของก้ำมะถัน เมื่ อถูกเผำไหม้ก็จะเกิดก๊ำซซัลเฟอร์ออกไซด์ ซึ่งเมื่อรวมกับน้้ำจะ
กลำยเป็ น สำรละลำยที่ มี ฤ ทธิ์เป็ น กรด และจะท้ ำกำรกั ด กร่อ นชิ้ น ส่ วนต่ ำง ๆ ของเครื่อ งยนต์ ได้
ลักษณะที่สอง เกิดจำกก้ำมะถันในน้้ำมันเชื้อเพลิง โดยตรง คือเมื่อน้้ำมันจะกัดกร่อนชิ้นส่วนต่ำง ๆ
ของระบบหัวฉีดเครื่องยนต์ดีเซล ก้ำมะถันในน้้ำมันดีเซลจะมีมำกหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของ
น้้ำมันดิบและกระบวนกำรกลั่นที่ใช้ สำรประกอบก้ำมะถันที่มีคุณสมบัติ กัดกร่อนจะอยู่ในรูปแบบ
ต่ำงๆ เช่น เมอร์แคปแทน ไดซัลไฟด์หรือสำรประกอบเฮเตอร์โรไซคลิก เช่น ไธโอเฟน (thiophen)
7. ความหนาแน่นและความข้นใส
ควำมข้นใสจะมีอิทธิพลต่อรูปร่ำงของละอองน้้ำมันที่ฉีดออกจำกหัวฉีด ถ้ำน้้ำมันมี
ควำมข้นใสสูง จะท้ำให้กำรฉีดเป็นฝอยละอองจะไม่ดีเท่ำที่ควร เพรำะละอองน้้ำมันจะมีขนำดใหญ่
และพุ่งเป็นสำยไปไกล แทนที่จะกระจำยพุ่งเป็นแบบฝอยเล็กๆ ท้ำให้น้ำมันรวมตัวกับอำกำศไม่ดี กำร
เผำไหม้จึงไม่สมบูรณ์และประสิทธิภำพของเครื่องยนต์ลดน้อยลง แต่ถ้ำน้้ำมันดีเซลมีควำมเข้มข้นใสต่้ำ
13

เกินไปจะท้ำให้กำรฉีดฝอยน้้ำมันละเอียด แต่จะไม่พุ่งไปไม่ไกลเท่ำที่ควร กำรเผำไหม้ก็จะไม่ดีและ


อำจจะท้ำให้เกิดมีกำรรั่วกลับในตัวปั๊มหัวฉีด ด้วยเหตุผลเช่นนี้เอง น้้ำมันดีเซลหมุนเร็วโดยทั่วไป จะมี
ก้ำหนดค่ำควำมข้นใสอยู่ระหว่ำง 1.8-4.1 เซนติสโตก ที่อณ ุ หภูมิ 40 องศำเซลเซียส

2.2 ประเภทของน้้ามันหล่อลื่นและคุณภาพน้้ามัน

กำรผลิตน้้ำมันหล่อลื่นส้ำหรับเครื่องยนต์ (น้้ำมันเครื่อง) องค์ประกอบที่ส้ำคัญไม่น้อยไป


กว่ำสำรเพิ่มคุณภำพ ได้แก่ น้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำน ซึ่งเป็นส่วนผสมที่มีอยู่ในน้้ำมันเครื่องประมำณร้อย
ละ 80-90 น้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำนต้องมีควำมหนืด หรือควำมข้นใสเพียงพอที่จะเกิดเป็นฟิล์มน้้ำมันที่มี
ควำมหนำเหมำะสม เพื่อปกป้องชิ้นส่วนเครื่องยนต์ที่เป็นผิวโลหะไม่ให้เกิดกำรเสียดสีกัน มีอัตรำกำร
ระเหยต่้ำทนต่อควำมร้อน ต้ำนทำนกำรเกิดปฏิกิริยำกับออกซิเจน สำมำรถละลำยสำรเพิ่มคุณภำพ
ต่ำงๆ ได้ดี แต่ต้องไม่เกิดปฏิกิริยำ หรือท้ำให้ผิวโลหะ ยำง วงแหวน ข้อต่อต่ำงๆ ที่เป็นชิ้นส่วนของ
เครื่องยนต์เกิดควำมเสียหำย ที่ผ่ำนมำจึงมีกำรพัฒนำกำรผลิตน้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำนให้มีคุณภำพสูงขึ้น

ประเภทของน้้ ำ มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐำน จ้ ำ แนกออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้ แ ก่


1. น้้ ำ มั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐำนจำกปิ โ ตรเลี ย ม (Petroleum Basestock) หรื อ น้้ ำ มั น แร่
(Mineral Oil) ซึ่งได้จำกกำรน้ำส่ วนหนักที่เหลื อจำกกำรกลั่นน้้ำมันดิบที่เรียกว่ำลองเรสิดิว (Long
Residue) มำกลั่นใหม่โดยใช้
2. น้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำนสังเครำะห์ (Synthetic Base Oil) ได้มำจำกผลิตภัณฑ์ ทำงปิ
โตรเคมี ซึ่งโดยพื้นฐำนแล้วก็มำจำกน้้ำมันดิบตำมธรรมชำติเหมือนกัน แตกต่ำงกันที่กระบวนกำรผลิต
โดยท้ำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงของสำรประกอบไฮโดรคำร์บอน จึงเรียกว่ำ กำรสังเครำะห์
น้้ำมันที่สังเครำะห์ได้จะมีคุณสมบัติเฉพำะ มีควำมคงตัว และบริสุทธิ์กว่ำน้้ำมันแร่ เนื่องจำกต้ำนกำร
ท้ำปฏิกิริยำกับออกซิเจน และควบคุมกำรเกิดครำบสกปรกได้ดี จึงยืดอำยุกำรใช้งำนของน้้ำ มันเครื่อง
ลดกำรสิ้นเปลืองเนื่องจำกกำรระเหยต่้ำ สำมำรถใช้งำนได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่กว่ ำงขึ้น เนื่องจำกมีค่ำ
ดั ช นี ค วำมหนื ด สู ง แต่ ก็ น้ ำ มำซึ่ ง ค่ ำกำรผลิ ต และกำรลงทุ น ที่ สู งขึ้ น ด้ ว ย น้้ ำมั น หล่ อ ลื่ น พื้ น ฐำน
สังเครำะห์มีหลำยชนิด ที่นิยมใช้ ได้แก่ โพลีอัลฟำโอเลฟิน (Polyalphaolefins - PAO)
กำรแบ่งกลุ่มน้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำน สถำบันปิโตรเลียมแห่งสหรัฐอเมริก ำ (American
Petroleum Institute : API) ซึ่งเป็นสถำบันที่ก้ำหนดมำตรฐำนน้้ำมันหล่อลื่นได้จ้ำแนกชั้นคุณภำพ
ของน้้ำมันเครื่อง และก้ำหนดหลักเกณฑ์กำรทดสอบทำงเครื่องยนต์ ได้แบ่งกลุ่มของน้้ำมันหล่อลื่น
พื้นฐำนออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 และ กลุ่ม 3 ได้มำจำกกำรน้ำลองเรสิดิวจำกน้้ำมันดิบมำ
กลั่นใหม่ และผ่ำนกระบวนกำรปรับปรุงคุณภำพ โดยแบ่งตำมคุณสมบัติค่ำดัชนีควำมหนืด (Viscosity
14

Index) ปริม ำณธำตุก้ำมะถัน และปริมำณสำรไฮโดรคำร์บอนอิ่มตัว กลุ่ม 2 และ กลุ่ม 3 มีควำม


บริสุทธิ์สูงกว่ำกลุ่ม 1 เนื่องจำกกระบวนกำรปรับปรุงคุณภำพแตกต่ำงกัน กลุ่ ม 4 เป็นน้้ำมันหล่อลื่น
พื้นฐำนที่ได้จำกกำรสังเครำะห์: PAO และกลุ่ม 5 เป็นประเภทเอสเทอร์ รวมถึงน้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำน
อื่นๆ ที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มที่กล่ำวมำข้ำงต้น

ตำรำงที่ 2.1 แสดงคุณสมบัตขิ องน้้ำมันหล่อลื่นกลุ่มต่ำง ๆ ตำมมำตรฐำน API(8)

ปริมำณธำตุก้ำมะถัน ค่ำดัชนีควำมหนืด ปริมำณสำรอิ่มตัว


กลุ่มแบ่งตำม API
(ร้อยละโดยน้้ำหนัก) (Viscosity Index : VI) (ร้อยละโดยน้้ำหนัก)
กลุ่ม 1 > 0.03 80 ≤ VI < 120 > 90
กลุ่ม 2 ≤ 0.03 80 ≤ VI < 120 > 90
กลุ่ม 3 ≤ 0.03 ≥ 120 > 90
กลุ่ม 4 PAO
กลุ่ม 5 เอสเทอร์ และอื่นๆ
15

2.3 กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้้ามัน

กำรปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภำพน้้ ำ มั น ดิ บ ในปั จ จุ บั น ได้ น้ ำ เทคโนโลยี่ ที่ ห ลำกหลำยมำใช้ ใ น


กระบวนกำร เช่น กำรลดควำมยำวคำร์บอน (Carbon rejection), กำรเติมไฮโดรเจน (Hydrogen
addition) และ กำรรวมเทคโนโลยีเข้ำด้วยกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด ซึ่งในปัจจุบันสัดส่วนของ
เทคโนโลยีที่น้ำมำใช้เป็นดังนี้

Hydrocracking
Hydrotreating
(Ebullating Bed), 3.92%
(Fixed Bed),
18.25%
Hydrocracking
(Slurry phase), 0.03%
Coking, 40.29%

Deasphalting, 3.62%

Cracking/Visreaking,
33.89%

ภำพที่ 2.1 ภำพรวมกำรผลิตโดยใช้เทคโนโลยีกำรปรับปรุงคุณภำพน้้ำมันดิบในปัจจุบัน9

ซึ่งแต่ละกระบวนกำรมีวัตถุประสงค์เพื่อกำรปรับปรุงคุณภำพน้้ำมันดิบ (Crude oil) ให้


เหมำะสมต่ อกำรน้ ำใช้งำนในแต่ ล ะประเภท จำกกระบวนกำรต่ำง ๆ อำจได้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ค วำม
หลำกหลำย เช่น น้้ำมันส้ำหรับเครื่องบิน (Jet oil), น้้ำมันส้ำหรับเครื่องยนตร์ดีเซล (Diesel oil) และ
น้้ำมันหล่อลื่น (Lubricant oil) เป็นต้น กำรเลือกใช้เทคโนโลยีต่ำง ๆ ในกำรผลิตต้องพิจำรณำหลำย
องค์ประกอบ เช่น คุณภำพของสำรตั้งต้น , ควำมเหมำะสมของต้นทุนและผลิตภัณฑ์ที่คำดว่ำจะได้รับ
เป็นต้น
สำรประกอบไฮโดรคำร์บอนที่มีอยู่ในน้้ำมันดิบนั้นมีขนำดโมเลกุลตั้งแต่เล็กสุดคือ มีเทน
(Methane) ซึ่งมีอะตอมของคำร์บอนเพียง 1 ตัว ไปจนถึงขนำดโมเลกุลที่ใหญ่มีอะตอมของคำร์บอน
ถึง 80 ตัว สำมำรถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ ๆ ตำมลักษณะโครงสร้ำงของโมเลกุลงคือ
16

1. นอร์มอลพำรำฟิน (Normal Paraffins) หรือที่เรียกกันทำงศัพท์เคมีว่ำ นอร์มอลแอ


ลเคน (N – Alkanes) สำรไฮโดรคำร์บอนประเภทนี้มีโครงสร้ำงเป็นอะตอมของคำร์บอนเรียงต่อกัน
เป็นเส้นยำว แต่ละตัวของคำร์บอนก็มีอะตอมไฮโดรเจนจับอยู่จนอิ่มตัว ขนำดโมเลกุลของสำรประเภท
นี้ในน้ำมันดิบมีตั้งแต่ตัวที่ประกอบด้วย 1 อะตอมของคำร์บอนไปจนถึงรำว 42 อะตอม มีสูตรทำงเคมี
ดังนี้ CnH2n-2 โดย n เป็นจ้ำนวนอะตอมของคำร์บอนในโมเลกุล
2. ไอโซพำรำฟิน (Iso Paraffins) หรือที่เรียกกันทำงศัพท์เคมีว่ำ ไอโซแอลเคน (Iso –
Alkanes) มีลักษณะโครงสร้ำงเป็นอะตอมของคำร์บอนเรียงต่อกันแยกสำขำออกด้ำนข้ำงด้วย แต่ละ
ตัวของคำร์บอนก็มีอะตอมของไฮโดรเจนจับอยู่จนอิ่มตัว ดังนั้น จึงมีสูตรทำงเคมีเหมือนกับพวก นอร์
มอลพำรำฟิน คือ CnH2n-2 พวกพำรำฟินทั้งสองประเภทนี้มีอยู่มำกในน้้ำมันเชื้อเพลิงใส (Distillates)
3. แนฟทีน (Naphthenes) หรือที่เรียกกันทำงศัพท์เคมีว่ำ ไซโคลแอลเคน (Cyclo –
Alkanes) ลักษณะโครงสร้ำงประกอบด้วยอะตอมของคำร์บอนต่อเรียงตัวกันเป็นวงอำจจะเป็นวงละ
5 ตัว 6 ตัว หรือ 7 ตัวก็มี ดังตัวอย่ำงข้ำงล่ำง มีสูตรทำงเคมีเป็น CnH2n-22Rn โดยที่ n เป็นจ้ำนวน
อะตอมของคำร์บอน และ Rn เป็นจ้ำนวนของวงคำร์บอนที่มีอยู่ในโมเลกุล
4. อะโรมำติ ก (Aromatics) หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ทำงศั พ ท์ เ คมี ว่ ำ Arenes เป็ น สำร
ไฮโดรคำร์บอนที่มีโครงสร้ำงประกอบด้วยวงเบนซีน
5. ส่วนผสมของแนฟทำนิกและอะโรมำติก (Mixed Naphthenic – Aromatics) เป็น
ไฮโดรคำร์บอนประเภทที่มีทั้งวงแนฟทำนิกและวงอะโรมำติก อยู่ในโมเลกุลเดียวกัน
ยังมีสำรไฮโดรคำร์บอนประเภทโอเลฟินส์ (Olefins) ซึ่งมีสูตร CnH2n มีโครงสร้ำงเป็น
อะตอมคำร์บอนที่มีไฮโดรเจนเกำะอยู่ในจ้ำนวนที่ยังไม่อิ่มตัว มีกลุ่มพันธะคู่ (-C = C-) อยู่ในโมเลกุล
มักจะไม่พบในน้้ำมันดิบ แต่ว่ำจะพบอยู่ในน้้ำมันเชื้อเพลิงที่ได้จำกขบวนกำรแยกสลำยด้วยสำรเร่ง
หรือด้วยควำมร้อน (Catalytic หรือ Thermal Cracking)
ในน้้ ำ มั น ดิ บ จะมี ส่ ว นประกอบของไฮโดรคำร์ บ อนเหล่ ำ นี้ จ้ ำ นวนมำก มี ตั้ ง แต่
ไฮโดรคำร์บอนขนำดเล็กมำก มีจุดเดือดต่้ำ สำมำรถระเหยได้ง่ำย ไปจนถึงขนำดใหญ่สุด มีจุดเดือดสูง
ต้ อ งให้ ค วำมร้ อ นสู งมำกจึ ง จะสำมำรถระเหยได้ โดยอำศั ย ควำมแตกต่ ำ งระหว่ ำ งจุ ด เดื อ ดของ
ไฮโดรคำร์บอนต่ำง ๆ ที่มีอยู่ในน้้ำมันดิบนี่เอง เรำจึงสำมำรถแยกน้้ำมันดิบออกมำเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี
ประโยชน์ต่ำงๆได้โดยกำรกลั่น
ในกำรกลั่นเบื้องต้นนั้น น้้ำมันดิบจะถูกแยกออกมำเป็นผลิตภัณฑ์ต่ำงๆ ในหอกลั่นที่
ควำมดันบรรยำกำศ (Atmospheric Distillation) โดยใช้ไอน้้ำร้อนจัดเป็นตัวให้ควำมร้อน ผลิตภัณฑ์
ที่ได้ออกมำบำงอย่ำงก็น้ำมำใช้ประโยชน์ได้เลย เช่น แก๊สหุงต้ม น้้ำมันก๊ำด และน้้ำมันดีเซล บำงอย่ำง
ต้องน้ำไปผ่ำนขบวนกำรเพิ่มคุณภำพเสียก่อนจึงจะน้ำมำใช้ประโยชน์ได้
17

ตำรำงที่ 2.2 คุณสมบัติบำงประกำรของไฮโดรคำร์บอนชนิดต่ำงๆ(10)

ชนิดของ โอกำสเกิดควันด้ำใน จุดติดไฟ


ค่ำอ๊อคเทน ค่ำซีเทน จุดไหลเท
ไฮโดรคำร์บอน กำรเผำไหม้ เอง
นอร์มัลพำรำฟิน ต่้ำ สูง ต่้ำ ต่้ำ สูง
ไอโซ่พำรำฟิน สูง ต่้ำ ต่้ำ สูง ต่้ำ
แนฟทีน ปำนกลำง ปำนกลำง ค่อนข้ำงสูง ปำนกลำง ต่้ำ
อะโรมำติก สูง ต่้ำ สูง สูง ค่อนข้ำงสูง
โอเลฟินส์ ต่้ำ/ปำนกลำง ต่้ำ ปำนกลำง ปำนกลำง ต่้ำ

ในกำรกลั่นน้้ำมันดิบจะถูกอุ่นให้ร้อนโดยได้รับควำมร้อนจำกผลิตภัณฑ์ที่ยังร้อนๆ ซึ่ง
ออกมำจำกหอกลั่น จำกนั้นก็ถูกผ่ำนเข้ำไปในเตำเผำเพื่อท้ำให้ร้อนถึงอุณหภูมิที่ต้องกำร (ไม่เกิน 360
องศำเซลเซียส เพื่อป้องกันกำรแตกตัวของน้้ำมันและกำรเกิดเขม่ำในท่อ) แล้วจึงฉีดเข้ำไปในหอกลั่น
ไฮโดรคำร์บอนส่วนที่เบำก็จะระเหยขึ้นไป และส่วนที่ หนักก็จะตกลงมำก้นหอ ไอน้้ำร้อนหลังจำกรับ
ควำมร้อนในเตำเผำจะฉีดเข้ำมำในบริเวณก้นหอ ให้ควำมร้อนแก่น้ำมันอุณหภูมิในแต่ละส่วนของหอ
สำมำรถควบคุมโดยหอแยกเล็ก 4 ตัว (Strippers) ซึ่งมีไอน้้ำร้อนฉีดให้ควำมร้อนเช่นกัน อุณหภูมิ ณ
ยอดหอกลั่นจะอยู่รำว 105 องศำเซลเซียส จำกยอดหออุณหภูมิจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงก้นหอก
ลั่นซึ่งมีอุณหภูมิรำว 380 - 400 องศำเซลเซียส ผลิตภัณฑ์ที่เบำที่สุดได้จำกยอดหอจะถูกท้ำให้เย็น
แล้วผ่ำนเข้ำหม้อแยก (Gas Separator) ก็จะได้แก๊ส ซึ่งเมื่อน้ำมำแยกอีกทีจะได้แก๊สหุงต้ม ส่วนแก๊สที่
เบำมำกได้แก่มีเทน (CH4) และอีเทน (C2H6) ไม่คุ้มที่จะอัดเป็นของเหลวขำย จะน้ำไปเผำให้ควำมร้อน
ในเตำอุ่นน้้ำมัน และที่เหลือก็เผำทิ้ งไป แก๊สหุงต้มประกอบด้วยโพรเพน (C3H8) และบิวเทน (C4H10)
เป็นส่วนใหญ่มีอีเทน (C2H6) และเพนเทน (C5H10) อยู่ในจ้ำนวนเล็กน้อย
ผลิตภัณฑ์ของเหลวจำกหม้อแยกคือแนฟทำเบำ (Light Naphtha) ซึ่งก็คือน้้ำมันเบนซิน
ธรรมดำนั่ น เอง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ถั ด ลงมำจะถู ก ดึ งออกมำจำกหอแยก ตั วบนคื อ แนฟทำหนั ก (Heavy
Naphtha) ซึ่งมักจะมีค่ำอ็อคเทนยังไม่สูงพอที่จะใช้งำนได้ ต้องน้ำไปผ่ำนขบวนกำรเพิ่มอ็อคเทนอีก ที
จึงจะได้ น้ ำมั น เบนซิ น อ็อ คเทนสู งมำใช้ ส้ำหรับ น้้ ำมั น เบนซิ น ที่ ใช้ในเครื่อ งยนต์ข องเครื่องบิ น นั้ น
ต้องกำรค่ำอ็อคเทนสูงมำกและยังต้องเติมสำรอื่น ๆ เช่น กำรก่อตัวของน้้ำแข็ง (Anti-Icing) และกำร
ป้องกันไฟฟ้ำสถิตย์ (Anti-Static) อีกด้วย
ผลิตภัณฑ์ที่หนักถัดลงมำคือ น้้ำมันก๊ำดซึ่งน้ำมำจุดให้ควำมสว่ำง หำกจะน้ำไปใช้เป็น
น้้ำมันเครื่องบินเจ็ท (Gas Turbine) ก็ต้องผ่ำนขบวนกำรเพิ่มคุณภำพและก้ำจัดพวกอะโรมำติก ออก
18

บ้ำงเพื่อลดควันด้ำ และเขม่ำ พร้อมกับเติมสำรอื่น ๆ เช่น กำรก่อตัวของน้้ำแข็งและกำรป้องกันไฟฟ้ำ


สถิตย์อีกด้วย
ผลิตภัณฑ์ต่อไปก็คือ น้้ำมันดีเซล ซึ่งมักจะมีค่ำซีเทนสูงพอน้ำมำใช้งำนกับเครื่องยนต์
ดีเซลหมุ นเร็วทั้ งหลำย น้้ำมัน ขี้โล้ (Distillate Fuel) ซึ่ งดึงออกมำจำกหอแยก ตัวล่ำงสุดมีค่ำซี เท
นต่้ำกว่ำน้ำมำใช้ในเครื่องดีเซลหมุนช้ำ
ผลิตภัณฑ์ซึ่งดึงออกมำจำกก้นหอกลั่นคือ กำกกลั่น (Residual Fuel) อำจน้ำมำใช้เป็น
น้้ำมันเตำได้เลย ใช้เผำให้ควำมร้อนในเตำเผำทำงอุตสำหกรรม ใช้กับเครื่องดีเซลของเรือ และใช้เป็น
เชื้อเพลิงส้ำหรับหม้อไอน้้ำ หำกน้ำกำกกลั่นไปกลั่นต่อในหอกลั่นสูญญำกำศ (Vacuum Distillation)
ก็จะได้น้ำมันดีเซล น้้ำมันหล่อลื่น และยำงมะตอย (Asphalt) ปริมำณของผลิตภัณฑ์ต่ำงๆ ที่ได้มำจำก
หอกลั่นเบื้องต้นขึ้นอยู่กับประเภทของน้้ำมันดิบที่ใช้
โดยน้้ ำ มั น ดิ บ เป็ น สำรไฮโดรคำร์ บ อนที่ มี อ งค์ ป ระกอบหลำกหลำย โมเลกุ ล ของ
ไฮโดรคำร์บ อนมี ขนำดและควำมยำวแตกต่ำงกัน ส่งผลให้ คุณ สมบั ติและคุณ ภำพของน้้ ำมัน ที่ ได้
แตกต่ ำ งกั น ดั ง นั้ น กำรปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ เหมำะสมกั บ กำรใช้ ง ำนจึ ง เป็ น สิ่ ง จ้ ำ เป็ น กระบวนกำร
เปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงทำงเคมีจึงเป็นกระบวนกำรที่มีควำมส้ำคัญ ทั้งนี้กำรเปลี่ยนแปลงดังกล่ำวต้อง
อำศัยกำรกลไกของกำรเกิดปฏิกิ ริยำต่ำงๆ โดยตัวเร่งปฏิกิริยำ และสภำวะที่เหมำะสม เช่น อุณหภูมิ
และควำมดัน ปฏิกิริยำดังกล่ำวมีดังนี้ เช่น กระบวนกำรแตกโมเลกุลด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำ (Catalytic
Cracking), กระบวนกำรไอโซเมอร์ไรเซชั่น (Isomerization Reaction) และ กระบวนกำรไฮโดรทรีต
ติ้ง (Hydrotreating)
กำรใช้ ป ฎิ กิ ริ ย ำดั ง กล่ ำ วปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภำพน้้ ำ มั น โดยทั่ ว ไปนอร์ ม อลพำรำฟิ น เป็ น
องค์ประกอบหลักในเชื้อเพลิง เช่น น้้ำมันดีเซล ซึ่งมีค่ำซีเทนสูงที่สุดในกลุ่มไฮโดรคำร์บอนทั้งหมดและ
ในขณะเดียวกันนอร์มอลพำรำฟินก็ส่งผลให้ค่ำดัชนีควำมหนืดของน้้ำมันหล่อลื่นมีค่ำสูงด้วย แต่น่ำ
เสี ย ดำยที่ น อร์ ม อลพำรำฟิ น ต้ อ งถู ก ก้ ำจั ด หรื อ ท้ ำให้ เกิ ด กำรเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ำ งทั้ งในน้้ ำมั น
เชื้อเพลิงและน้้ำมันหล่อลื่นเพรำะนอร์มอลพำรำฟิน ส่งผลให้พฤติกรรมกำรไหลเทที่อุณหภูมิต่้ำและ
จุดเยือกแข็งมีค่ำสูง หรือเกิดไขได้ง่ำย จึงต้องท้ำกำรปรับปรุงโดยกำรเปลี่ยนนอร์มอลพำรำฟินให้ไป
เป็ น ไอโซพำรำฟิ น ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ค่ ำ ซี เ ทนของน้้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ดี เซลและค่ ำ ดั ช นี ค วำมห นื ด ของ
น้้ำมันหล่อลื่นมีค่ำต่้ำลง
19

ภำพที่ 2.2 แผนภำพกำรแตกตัวและไอโซเมอร์ไรเซชั่นด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำของสำรไฮโดรคำร์บอน11

กระบวนกำรไฮโดรแครกกิ้ ง (Hydrocracking Process) เป็ น กระบวนกำรปรั บ ปรุ ง


คุ ณ ภำพน้้ ำมั น ที่ มี น้ ำหนั ก โมเลกุ ล สู ง ให้ ได้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เบำกว่ำ เช่ น เชื้ อ เพลิ งเบำจ้ ำพวกน้้ ำมั น
เครื่องบิน (Jet หรือ Kerosene oil), แก๊สโซลีน, แนฟทำ, ดีเซล, น้้ำมันหล่อลืนพื้น (Base oil) และ
ส่วนที่เหลือจำกกำรท้ำปฏิกิริยำ (Hydrocracker bottoms) ซึ่งส่วนมำกจะเป็นไข โดยขั้นตอนแรก
จะ ท้ ำให้ ส ำรมี ค วำมบริสุ ท ธิ์ (Pretreat) โดยกำรก้ ำจั ด สำรจ้ ำพวกอะโรมำติ ก โดยกำรท้ ำให้ เป็ น
โครงสร้ำงแบบอิ่ ม ตั วส่ วนไนโตรเจนและก้ ำมะถั น จะถู ก ก้ ำจั ด โดยกำรเปลี่ ย นให้ เป็ น แอมโมเนี ย
(Ammonia) และไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulfide) ซึ่งไนโตรเจนจะไปยับยั้งกำรเกิดปฏิกิริยำ
กำรแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำ หลังจำกผ่ำนกำรท้ำให้สำรบริสุทธิ์แล้วขั้นตอนต่อมำเป็นกำรใช้ตัวเร่ง
ปฏิกิริยำที่มีส่วนผสมของโลหะและกรดเพื่อให้เกิดกำรแตกตัวมำกที่สุด
กระบวนกำรไฮโดรแครกกิ้งยังสำมำรถน้ำมำใช้กับกระบวนกำรกลั่นแบบหลำยขั้นตอน
(Complex Refinery) ซึ่งใช้เทคโนโลยีไฮโดรแครกกิ้งที่ทันสมัย ท้ำให้มีต้น ทุนเชื้อเพลิงและต้นทุน
ด้ำนสำธำรณูปกำรที่แข่งขันได้ ส่งผลให้สำมำรถผลิตน้้ำมันเบนซินและดีเซลที่มีมูลค่ำสูงได้ในสัดส่วนที่
เพิ่ มขึ้นและสำมำรถใช้ก้ำลั งกลั่นได้มำกขึ้น ท้ ำให้โรงกลั่นมีควำมแข็งแรงทำงกำรเงินที่ดีขึ้น เป็ น
รำกฐำนส้ ำหรับกำรพัฒ นำกิจกำรในอนำคต ไม่ว่ำจะเป็น กำรปรับปรุง พั ฒ นำโรงกลั่นน้้ ำมันให้ มี
ประสิทธิภำพในกำรผลิตสูงขึ้น มีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันสูงขึ้น มีรำยได้เพิ่มมำกขึ้น เพิ่มควำม
แข็งแกร่งและมั่นคงทำงกำรเงิน
20

สภำวะที่ใช้ในกระบวนกำรไฮโดรแครกกิ้งโดยทั่วไป เป็นดังนี้
- อุณหภูม,ิ องศำเซลเซียส 300-500
- ควำมดันไฮโดรเจน, ปอนด์ต่อตำรำงนิ้ว 1100 - 2300
- ปริมำณอัตรำกำรไหลของสำรตั้งต้นต่อปริมำณตัวเร่งปฏิกิริยำ 0.7 – 2.5
- อัตรำส่วนไฮโดรเจนต่อสำรตั้งต้น, ลูกบำศก์ฟุตมำตรฐำนต่อบำร์เรล 4000 - 10000
- ไนโตรเจร, ส่วนในล้ำนส่วนโดยน้้ำหนัก 0.1 – 50+
- กำรเปลี่ยนแปลง 35 – 80%

ภำพที่ 2.3 กระบวนกำรไฮโดรแครกกิ้ง (Hydrocracking Process)12

กำรศึกษำตัวเร่งปฏิกิริยำ ที่ส่งผลดีต่อกำรเกิด ไฮโดรแครกกิ้ง นอกเหนือจำกกำรท้ำงำน


ในสภำวะที่เหมำะสมจะมีควำมส้ำคัญส้ำหรับกำรน้ำไปใช้งำนแล้ว ยังสำมำรถช่วยก้ำจัดสำรจ้ำพวก
สำรอะโรมำติก (Aromatic) ในเชื้อเพลิงและเพิ่มค่ำดัชนีควำมหนืดของน้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำนด้วย
และในขั้นตอนสุดท้ำยจะเป็นกำรท้ำ ไฮโดรฟินิชชิ่ง (Hydrofinishing) เพื่อเติมไฮโดรเจนส้ำหรับกำร
21

เกิดปฏิกิริยำที่ไม่สมบูรณ์ในกำรผลิต ดังนั้น แม้ว่ำจะไม่ได้เป็นขั้นตอนก้ำจัดไข แต่ก็เป็นกำรท้ำให้


น้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำนและเชื้อเพลิง มีควำมบริสุทธิ์เพิ่มมำกขึ้น

ตำรำงที่ 2.3 ผลกระทบจำกกระบวนกำรใช้ไฮโดรเจนร่วมในกระบวนกำร (Hydroprocessing) ต่อ


คุณสมบัติน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำน(13)

กำรเติมไฮโดรเจน กำรใช้ไฮโดรเจนร่วม กำรแตกโมเลกุล กำรเกิดกิ่งโมเลกุล


กระบวนการ
(Hydrofinishing) (Hydrotreatment) (Hydrocracking) (Hydroisomerization)
ความรุนแรง ต่้ำ ปำนกลำง สูง สูง
สำรละลำย สำรละลำย สำรจำกกำรกลั่น
สารตั้งต้น สแลค แว็กซ์
จำกกำรกลั่น จำกกำรกลั่น สูญญำกำศ
ก้ำจัด พันธะไม่อิ่มตัว ก้ำจัด พันธะไม่
ก้ำจัด พันธะไม่ ก้ำจัด พันธะไม่อิ่มตัว,
, ก้ำมะถัน, อิ่มตัว, ก้ำมะถัน,
วัตถุประสงค์ อิ่มตัว, ก้ำมะถัน ก้ำมะถัน, ไนโตรเจน
ไนโตรเจนและอะโร ไนโตรเจนและ
และ ไนโตรเจน และแนบธินิก
มำติก แนบธินิก
ดัชนีความหนืด 90-105 >105 95-130 >140
การละลาย ยอดเยี่ยม ดีมำก ปำนกลำง ไม่ดี

ในระดับเชิงพำณิชย์ กำรก้ำจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำกลำยเป็นส่วนหนึ่งของแผนกำร
ของโรงกลั่ น น้้ำมั นปิ โตรเลี ยม ตั้งแต่กลำงปี 1980 กำรก้ำจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิ กิริยำจะด้ำเนิ นกำร
ภำยใต้สภำวะที่ แตกต่ำงจำกกระบวนกำรกำรใช้ไฮโดรเจนร่วมโดยทั่วไป เช่น อุณ หภูมิ 260-430
องศำเซลเซียส ควำมดัน 2-5 เมกะปำสคำลของแก๊สไฮโดรเจนและอัตรำกำรป้อนแก๊สไฮโดรเจน 250-
450 ลูกบำศก์เมตรต่อลูกบำศก์เมตรของสำรป้อน โดยปกติแล้วกำรเร่งปฏิกิริยำของกำรก้ำจัดไขจะ
ด้ำเนินกำรในเครื่องปฏิกรณ์โดยสำรป้อนไหลผ่ำนตัวเร่งปฏิกิริยำ ท้ำให้ได้ผลิตภัณฑ์ตำมต้องกำร

2.3.1 การก้าจัดไขด้วยปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้งและปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น
(Dewaxing by Hydrocracking and Hydroisomerization)

กำรเป็นไขของน้้ำมันสำมำรถดูได้จำกคุณสมบัติของกำรไหลเท (Pour Points)


โดยจะแสดงเป็นอุณหภูมิสุดท้ำยที่สำรสำมำรถไหลเทได้ หลังจำกอุณหภูมิไหลเทสำรจะเป็นของแข็ง
22

หรือไข หรือดูจำกค่ำกำรหลอมเหลว (Melting point) โดยกำรลดอุณหภูมิเพื่อท้ำให้สำรกลำยเป็น


ของแข็ง จำกนั้นจึงให้ควำมร้อนแก่สำร ซึ่งจะท้ำให้โมเลกุลของสำรได้รับพลังงำนเพิ่มขึ้น ท้ำให้แต่ละ
โมเลกุลมีพลังงำนในตัวเองสูงขึ้น จนถึงระดับที่สำมำรถเอำชนะแรงดึงดูดระหว่ำงโมเลกุล เช่น แรงไอ
ออนิก แรงแวนเดอร์วำลส์ แรงไดโพล-ไดโพล หรือพันธะไฮโดรเจน ท้ำให้โมเลกุลสำมำรถเคลื่อนที่ได้
เป็ น อิส ระเพิ่ ม ขึ้น จึงแปรสถำนะจำกของแข็งเป็ น ของเหลว อุณ หภู มิ ที่ ท้ ำให้ ของแข็งเปลี่ยนเป็ น
ของเหลวคือ จุดหลอมเหลวของสำรหรืออำจเรียกได้ว่ำเป็นจุดที่สำรเปลี่ยนสภำนะจำกของเหลวไป
เป็นของแข็ง ปัจจัยที่ส่งผลต่อค่ำกำรไหลเทหรือกำรหลอมเหลวของสำรส่วนใหญ่จะเกิดจำกรูปแบบ
ชนิดและโครงสร้ำงของสำรนั้น ๆ ดังนั้นเรำจ้ำเป็นต้องศึกษำหำรูปแบบของสำรที่จะท้ำให้ค่ำกำรไหล
เทหรือค่ำกำรหลอมเหลวมีค่ำที่ต่้ำลง

ภำพที่ 2.4 ควำมเป็นไปได้ในกำรลดจุดหลอมเหลวของ linear alkane14


23

จำกภำพที่ 2.4 เป็นควำมสัมพันธ์ของจ้ำนวนคำร์บอนในสำยโซ่กับคุณสมบัติกำร


หลอมเหลวของสำรนอร์มอลพำรำฟิน ผลที่ได้คือยิ่งจ้ำนวนคำร์บอนในสำยโซ่มำกจะส่งผลให้กำรใช้
พลังงำนควำมร้อนที่ท้ำให้สำรเกิดกำรหลอมเหลวเพิ่มมำกขึ้นหรืออำจกล่ำวได้ว่ำ ยิ่งจ้ำนวนคำร์บอน
ในสำยโซ่มำกสำรจะเป็นของแข็งหรือไขได้ง่ำย ซึ่งเกิดจำกน้้ำหนักโมเลกุลของสำรและรูปแบบของสำร
ที่เป็นแบบนอร์มอลพำรำฟินที่ท้ำให้โมเลกุลของสำรสำมำรถชิดตัวเข้ำหำกันได้ง่ำยเมื่อลดอุณหภูมิลง
ดังนั้นกำรแก้ไขปัญหำกำรเป็นไขได้ง่ำยอย่ำงหนึ่งคือกำรท้ำให้โมเลกุลอยู่ห่ำงกันหรือกำรท้ำให้เกิดเป็น
ไอโซเมอร์ กิ่งของไอโซเมอร์จะช่วยให้เกิดกำรกีดขวำงกำรชิดกันของสำยโซ่ ซึ่งส่งผลให้สำรเป็นไขได้
อยำก และอีกวิธีหนึ่งคือกำรลดควำมยำวของสำยโซ่โมเลกุล

ภำพที่ 2.5 ค่ำกำรหลอมเหลว (Melting point) ของไอโซเมอร์และนอร์มอลสำรไฮโดรคำร์บอน


พำรำฟิน15

จำกภำพที่ 2.5 เป็นควำมสัมพันธ์ของไอโซเมอร์ของสำรไฮโดรคำร์บอนพำรำฟิน


กับคุณสมบัติกำรหลอมเหลวโดยเทียบกับ นอร์มอลพำรำฟิน จะเห็นได้ว่ำนอร์มอลพำรำฟินมีค่ำกำร
หลอมเหลวที่สูงมำกเมื่อเทียบกับไอโซเมอร์ทั้งสำมแบบ และในท้ำนองเดียวกัน สำรไฮโดรคำร์บอนยิ่ง
เป็นไอโซเมอร์แบบอินเทอร์เนิล (Internal) มำกเท่ำไรยิ่งท้ำให้ค่ำกำรหลอมเหลวต่้ำเท่ำนั้น เมื่อเทียบ
กับจ้ำนวนคำร์บอนที่เท่ำกัน ดังในตำรำงที่ 2.4
24

ตำรำงที่ 2.4 แสดงค่ำจุดหลอมเหลวของ iso-nonadecane(16)

Methyl position in the chain Melting point


(C19H40) °C (°F)
2-methyl-octadecane +13.0 (+55.4)
3-methyl-octadecane +0.5 (+32.9)
4-methyl-octadecane -1.0 (+30.2)
5-methyl-octadecane -13.5 (+7.7)
6-methyl-octadecane -4.0 (+24.8)
7-methyl-octadecane -16.0 (+3.2)
8-methyl-octadecane -10.0 (+14.0)
9-methyl-octadecane -16.5 (+2.3)

2.3.2 ปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้ง (Hydrocracking) และปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอร์ไร


เซชั่น (Hydroisomerization)

กำรก้ำจัดส่วนที่เป็นไขของน้้ำมันจำกปัจจัยของสำรที่มีโครงสร้ำงแบบนอร์มอล
พำรำฟิน คือ กำรเปลี่ยนแปลงสำยโซ่โมเลกุลให้เป็นแบบไอโซพำรำฟิน ปฏิกิริยำหลักที่เกิดร่วมกันคือ
ไฮโดรแครกกิ้ง (Hydrocracking) และ ไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น (Hydroisomerization) โดยปัจจัย
ทั่วไปของปฏิกิริยำเหล่ำนี้ จะขึ้นอยู่กับ ตัวเร่งปฏิกิริยำ, โครงสร้ำงสำรป้อน, อุณหภูมิ และควำมดัน
ตัวอย่ำง เช่น ปฏิกิริยำไฮโดรแครกกิ้งมีควำมส้ำคัญ มำกขึ้นในกำรผลิตในส่วนของน้้ำมันเชื้อเพลิง
ดี เซล และเบนซิ น จำกน้้ ำ มั น ก๊ ำ ซออยล์ สุ ญ ญำกำศ (Vacuum gas oil) และ น้้ ำ มั น ดี แ อสฟั ล ต์
(Deasphlted oil)17 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยำที่ใช้โดยทั่วไปส่วนใหญ่ คือตัวเร่งปฏิกิริยำที่มีคุณสมบัติสอง
อย่ ำง (Bifunctional catalyst) โดยจะประกอบด้ วยส่ วนที่ มี ค วำมเป็ น กรดซึ่ งจะท้ ำหน้ ำที่ ในกำร
เกิ ด ป ฏิ กิ ริ ย ำไฮโด รแ ค ร ก กิ้ ง (Hydrocracking) แ ล ะป ฏิ กิ ริ ย ำไฮโด รไอ โซ เม อ ร์ ไ รเซ ชั่ น
(Hydroisomerization) และส่ ว นที่ เป็ น โลหะซึ่ ง จะท้ ำ หน้ ำ ที่ ใ นกำรเกิ ด ปฏิ กิ ร ยำไฮโดรจี เนชั่ น
(Hydrogenation) หรือดีไฮโดรจีเนชั่น (Dehydrogenation)
25

ภำพที่ 2.6 แผนภำพแสดงคุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยำในกำรเกิด Hydroisomerization18

กลไกเกิดปฏิกิริยำไอโซเมอร์ไรเซชั่นและไฮโดรแครกกิ้งของไฮโดรคำร์บอนพันธะ
เดี่ยวโดยใช้ bifunctional catalysts จะเกิดในรูปแบบคู่ขนำนโดยเกิดดีไฮโดรจีเนชั่นของโมเลกุล
ไฮโดรคำร์บอนพันธะเดี่ยวที่บริเวณส่วนที่เป็นโลหะเพื่อผลิต โอเลฟินซึ่งมีควำมสำมำรถในกำรเกิดเป็น
คำร์บี เนี ยมไอออนและเกิ ด ไอโซเมอร์ไรเซชั่ น หรือไฮโดรแครกกิ้งอย่ำงรวดเร็วไปเป็ น โอเลฟิ น ที่ มี
โมเลกุลเล็กลงบริเวณส่วนของตัวเร่งปฏิกิริยำที่มีควำมเป็นกรด กำรแตกสลำยและกำรท้ำให้โครงสร้ำง
มีกิ่งของสำรมัธยันต์ของโอลิฟินิกจะถูกไฮโดรจี เนทในขั้นตอนสุดท้ำย อย่ำงไรก็ตำมมีข้อสันนิษฐำนว่ ำ
อัตรำกำรเกิดปฏิกิริยำไฮโดรแครกกิ้งและไอโซเมอร์ไรเซชั่นขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถของส่วนที่เป็น
โลหะด้วย

ภำพที่ 2.7 กำรเกิดปฏิกิริยำ Hydrocracking และ Hydroisomerization19

กำรวิจัยและพัฒนำของตัวเร่งปฏิกิริยำและกระบวนกำรเร่งปฏิกิริยำไอโซเมอร์ไร
เซชั่นและไฮโดรแครกกิ้งของสำรป้อนปิโตรเลียมในสถำบัน Dalian Institute of Chemical Physics
(DICP) ได้มีกำรศึกษำตั้งแต่ปี 1960 บนพื้นฐำนของกำรตรวจสอบและครอบคลุมของตัวเร่งปฏิกิริยำ
26

นักวิจัยของ DICP ได้สรุปกฏส้ำหรับกำรเกิดปฏิกริยำไอโซเมอร์ไรเซชั่นและไฮโดรแครกกิ้ง โดยใช้


ตั วเร่งปฏิ กิ ริย ำ ดั งภำพที่ 2.7 ซึ่ งใช้ น้ ำมั น ก๊ ำซออยล์ สุ ญ ญำกำศเป็ น สำรตั้ งต้ น และได้ ป ระสบณ์
ควำมส้ำเร็จในกำรผลิตเชิงพำณิชย์ ซึ่งเป็นที่แรกของประเทศจีน และได้ตั้งหน่วยผลิตขนำด 400 kt/a
ในปี 1967 และได้มีกำรพัฒนำตัวเร่งปฏิกิริยำใหม่ ๆ เรื่อยมำ เช่น ซีโอไลท์18

2.3.3 ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าที่ นิ ย มใช้ ส้ า หรั บ ไฮโดรแครกกิ้ ง (Hydrocracking) และ


ปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น (Hydroisomerization)

ตัวเร่งปฏิกิริยำที่ใช้จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก ๆ คือ ตัวรองรับที่มีควำมเป็น


กรดที่ใช้กันโดยทั่วไปจะเป็น amorphous oxides หรือสำรผสมของออกไซด์ (Al2O3-F, Al2O3-Cl,
SiO2–Al2O3, ZrO2/SO42−), ซีโอไลต์ (เช่น Y, beta, mordenite, ZSM-5, ZSM-22) หรือซิลิกำอลูมิ
นำฟอสเฟต (SAPO-11, SAPO-31, SAPO-41).

ภำพที่ 2.8 แผนผังของกำรเกิด Hydroisomerization และ Hydrocracking ในควำมสัมพันธ์ระหว่ำง


โลหะและส่วนประกอบที่เป็นกรดในตัวเร่งปฏิกิริยำ18

และโลหะที่ นิ ย มใช้ กั น โดยทั่ ว ไปได้ แ ก่ แพลทิ นั ม แพลลำเดี ย ม หรื อ โลหะสองชนิ ด ร่ ว มกั น


(bimetallic systems) เช่น โคบอลต์/โมลิบดินัม นิกเกิล/ทังสเตน นิกเกิล/โมลิบดินัม ทังสเตน/โม
ลิบดินัม ในรูปของซัลไฟด์ โดยส่วนมำกจะใช้กับสำรป้อนที่มีควำมเข้มข้นขอองซัลเฟอร์สูง ควำมสมดุล
ระหว่ ำ งบริ เวณที่ มี ค วำมเป็ น กรดของตั ว รองรั บ ควำมแรงของกรด และควำมสำมำรถในกำร
27

เกิดปฏิกิริยำไฮโดรจีเนชั่นและดีโฮโดรจีเนชั่นเป็นสิ่งส้ำคัญแรกที่จะใช้ในกำรบอกถึงควำมเลือกสรร
ของผลิตภัณฑ์ส้ำหรับผลิตภัณฑ์ที่เกิดจำกปฏิกิริยำไอโซเมอร์ไรเซชั่นและปฏิกิริยำไฮโดรแครกกิง้
Gong, S และคณะได้ท้ำกำรศึกษำตัวเร่งปฏิกิริยำแพลทินัม (Pt) ที่ถูกใช้ในหลำย ๆ ตัว
สนับสนุนที่เป็นกรด เช่น SAPO -11, Al-SBA -15 และ Al2O3 และในกำรทดลองได้ใช้ตังเร่ง
ปฏิกิริยำ SAPO -11 โดยมีกำรเปรียบเทียบโลหะหลำกหลำยชนิด เช่น แพลเลเดียม, นิกเกิล, รูทีเนียม
และแพลทินัม สำรตั้งต้นที่ใช้เป็นน้้ำมันที่สกัดได้จำกพืชสบู่ด้ำ โดยปฏิกิริยำไฮโดรดีออกซีเจเนท
(Hydrodeoxygenated) ซึ่งถูกด้ำเนินกำรโดยใช้เครื่องปฏิกรณ์ขนำดเล็กด้วยกำรไหลของสำรป้อนที่
คงที่ ตัวเร่งปฏิกิริยำที่ใช้ทั้งหมดคือ Pt/SAPO-11, Pt/Al-SBA-15 และ Pt/Al2O3 จำกผลกำรทดสอบ
แสดงให้เห็นถึง กำรเกิดปฏิกิริยำไอโซเมอไรเซชันที่สูงส้ำหรับนอร์มอลพำรำฟินและคำร์บอนสำยโซ่
ยำว โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งตัวเร่งปฏิกิริยำ Pt/SAPO-11 ท้ำให้เกิด iso-C10-C18 ถึง 79.4% ผลจำกกำร
ทดลองท้ำให้ทรำบว่ำตัวเร่งปฏิกิริยำของ SAPO-11 ที่มีโลหะชนิดต่ำงๆ ที่ท้ำให้เกิดไอโซพำรำฟิน โดย
เรียงตำมกำรเกิดสูงสุดดังนี้ Pt/SAPO-11 > Pd/SAPO-11 > Ni/SAPO-11 > Ru/SAPO-11 ซึ่ง
อำจจะเนื่องมำจำก ควำมแตกต่ำงของกำรเกิดปฏิกิริยำไฮโดรจีเนชันและดีไฮโดรจีเนชัน เพรำะเป็น
กำรท้ำงำนของธำตุโลหะ ดังนั้นธำตุโลหะที่แตกต่ำงกันท้ำให้กำรเกิดปฏิกิริยำแตกต่ำงกันด้วย20
Roman M. และคณะได้ท้ำกำรศึกษำควำมเป็ น กรด โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยำ y-Al2O3
เป็นตัวสนับสนุนและมีกำรปรับเปรียนอัตรำส่วนของโบรอนที่แตกต่ำงกันรวมทั้งมีกำรใช้ CoMo และ
NiMo ควบคู่ไปด้วย ตัวเร่งปฏิ กิริยำได้มีกำรทดสอบกับ สำร Dibenzothiophene (DBT) และ o-
xylene ภำยใต้สภำวะของไฮโดรทรีตทั่วไป จำกกำรทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยำพบว่ำตัวเร่งปฏิกิริยำมี
ควำมสำมำรถในกำรก้ำจัดก้ำมะถัน กำรแตกหักของสำยโซ่โมเลกุลและกำรเกิด ไอโซเมอไรเซชัน และ
พบว่ำมีควำมสัมพันธ์กับกำรเป็นกรดและควำมสัมพันธ์ นี้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับกำรใช้งำนของ CoMo และ
NiMo กระบวนกำรของกำรก้ำจัดก้ำมะถันจะไม่เกิดขึ้นเมื่อโบรอนในตัวเร่งปฏิกิริยำมีอยู่ในระดับต่้ำ21
ในปี 2556 ดร.มำลี และคณะได้มีกำรศึกษำกำรเกิดปฏิกิริยำไอโซเมอไรเซชันจำกสำรตั้ง
ต้ น เป็ น BHD (Bio - Hydrogenated Diesel) ที่ มี ค ำร์บ อนอยู่ ในช่ วง C15-C18 และไฮโดรแครก
เกอร์บอททอมที่มีคำร์บอนอยู่ในช่วง C20-C40 โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยำอลูมินำที่มีโลหะนิกเกิลและ
คลอรีนกับฟลูออรีนเป็นองค์ประกอบ ผ่ำนเครื่องปฏิกรณ์แบบคงที่ ที่สภำวะต่ำง ๆ ผลจำกกำรศึกษำ
พบว่ำตัวเร่งปฏิกิริยำ 5Ni1Cl/SA เป็นตัวเร่งปฏิกิริยำที่เหมำะสมกับปฏิกิริยำไอโซเมอไรเซชัน โดยมีพื
นที่ ผิ ว ปริ ม ำตรและขนำดรู พ รุ น เท่ ำ กั บ 161.4 ตำรำงเมตรต่ อ กรั ม 0.45 ซี ซี ต่ อ กรั ม และ 120
อังสตรอมตำมล้ำดับ และมีปริมำณกรดอยู่ที่ 0.2480 มิลลิโมลต่อกรัม และตัวเร่งปฏิกิริยำที่มีกำร
เสริม ประสิ ท ธิภ ำพด้วยปริม ำณคลอไรด์ร้อยละ 1 มีควำมเหมำะสมกับ ปฏิกิริยำไอโซเมอไรเซชัน
มำกกว่ำตัวเร่งปฏิกิริยำที่ เสริม ประสิทธิภ ำพด้วยปริมำณคลอไรด์ร้อยละ 3 เพรำะนอกจำกจะให้
ปริมำณไฮโดรคำร์บอนสำยโซ่กิ่งช่วงคำร์บอน 15 ถึง 18 ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ต้องกำรมำกกว่ำแล้ว
28

ยังเป็นตัวเร่งปฏิกิริยำที่ใช้สำรละลำยกรดไฮโดรคลอริกน้อยกว่ำในกำรเตรียมตัว เร่งปฏิกิริยำอีกด้วย22
และจำกกำรศึกษำส้ำหรับคำร์บอนอยู่ในช่วง C20-C40 โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยำ 5Ni/5F-Al2O3 พบว่ำ
สำมำรถลดจุ ด ไหลเทจำกสำรตั้ ง ต้ น 33 องศำเซลเซี ย ส ไปเป็ น 12.10 องศำเซลเซี ย ส ซึ่ ง จำก
กำรศึกษำเพิ่มเติมพบว่ำจ้ำนวนโครงสร้ำงแบบไอโซเมอร์ได้เพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่ำตัวเร่งปฏิกิริยำที่
ใช้สำมำรถส่งเสริมให้เกิดปฏิกิริยำไอโซเมอไรเซชันได้ด้วย23
Hao Ling และคณะได้มีกำรศึกษำกำรเกิดปฏิกิริยำไอโซเมอไรเซชันและไฮโดรแครกกิ้ง
กับสำรตั้งต้น Normal hexadecane โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยำจำกสถำบันวิจัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
ของ Fushun ผ่ำนเครื่องปฏิกรณ์แบบคงที่ ที่สภำวะต่ำง ๆ ผลจำกกำรศึกษำพบว่ำคำร์บอนสำยโซ่
ตรงถูกเปลี่ยนไปเป็นสำยโซ่แบบกิ่งและบำงส่วนเกิดกำรแตกหัก ซึ่งส่งผลให้คุณสมบัติดัชนีควำมหนืด
ลดลงตำมไปด้วยแต่ในทำงกลับกันส่งผลให้คุณสมบัติกำรไหลเทดีขึ้น และโครงสร้ำงแบบอะโรมำติกก็
ลดลงไปด้วยโดยกำรเติมไฮโดรเจนแต่ไม่ได้ส่งผลกับคุณสมบัติโดยรวมมำก เนื่องจำกสำรอะโรมำติกมี
ประมำณไม่มำก24
Yacine Rezgui และคณะได้ศึกษำอิทธิพลของโลหะนิกเกิล , แพลทินัม และทังสเตน
บนตัวรองรับอลูมินำซิลิกำกับสำรตั้งต้น n-decane เพื่อวิเครำะห์กำรเกิดปฏิกิริยำไอโซเมอไรเซชัน
จำกกำรศึกษำในระยะยำวพบว่ำ เมื่อปริมำณนิกเกิลเพิ่มมำกขึ้นกำรเกิดโค้กเพิ่มขึ้นตำมไปด้วยและท้ำ
ให้ตัวเร่งปฏิกิริยำเสื่อมเร็วขึ้น ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกตัวเร่งที่มีองค์ประกอบเป็น (12%Ni-0.1–0.4%Pt)AC
เกิ ด ไอโซเมอร์ ข อง Methylnonane นอกจำกนี้ ยั งพบกำรแตกแขนงของ n-decanes บนตั ว เร่ ง
(12%Ni-0.1–0.3%Pt)AC ไปเป็น Cyclopropane อีกด้วย หลังจำกทดลองในหลำยอัตรำส่วนพบว่ำ
อัตรำส่วนที่มีควำมเหมำะสมที่สุดคือ (12Ni0.2Pt)AC เนื่องจำกมีควำมสมดุลในส่วนของกรดและโลหะ
มำกที่สุด25

2.3.4 การพั ฒ นาและการใช้ ป ฏิ กิ ริ ย าไฮโดรแครกกิ้ ง (Hydrocracking) และ


ปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น (Hydroisomerization) ในอุสาหกรรมระยะเริ่มแรก

ในปี 1972 บริษัทบริติชปิโตรเลียม (BP) ได้มีกำรพัฒนำตัวเร่งปฏิกิริยำในกำร


ผลิตน้้ำมันพื้นฐำนค่ำกำรไหลเทต่้ำ (ต่้ำกว่ำ -45 องศำเซลเซียส) โดยในแบบเดิมนั้นจะเป็นน้้ำมันแบบ
แนฟธีนิก แต่ในปัจจุบันเกิดกำรขำดแคลนกำรใช้น้ำมันและต้นทุนกำรผลิตที่สูง ต่อมำจึงได้มีกำร
พัฒนำน้ำสำรตั้งต้นไขพำรำฟิน (Waxy paraffinic) มำใช้ในกำรผลิต เนื่องจำกมีควำมเหมำะสมใน
กำรน้ำมำท้ำน้้ำมันพื้นฐำน โดยจุดประสงค์ของบริษัทบริติชปิโตรเลียมต้องกำรกระบวนกำรที่ประหยัด
กว่ ำ กระบวนกำรผลิ ต เดิ ม คื อ กำรใช้ ส ำรละลำยในกำรก้ ำ จั ด ไข (Solvent dewaxing) และเป็ น
กระบวนกำรที่สำมำรถท้ำให้ผลิตภัณฑ์มีค่ำกำรไหลเทอยู่ในช่วง -45 ถึง -57 องศำเซลเซียส ต่อมำทำง
29

บริษัทบริติชปิโตรเลียมพบว่ำกำรใช้ตัวเร่งปฏิกิริยำซีโอไลต์ (Zeolites) ร่วมกับก๊ำสไฮโดรเจนในเครื่อง


ปฏิกรณ์ท้ำให้เกิดกำรเลือกกำรแตกตัวของสำยไฮโดรคำร์บอนเส้นตรง (Near-normal parafins) ซึ่ง
เป็นต้นเหตุหลักของกำรท้ำให้เกิดไขได้ง่ำย

ภำพที่ 2.9 กระบวนกำรแบบใช้ตัวท้ำละลำย (Solvent Refining Process) กระบวนกำรไฮโดรแครก


กิง้ (Hydrocracking) และกระบวนกำรไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น (Hydroisomerization)26

หลำยปีต่อมำหลังจำกที่บริษัท บริติชปิโตรเลียมได้ท้ำกำรพัฒนำตัวเร่งปฏิกิริยำ
ส้ำหรับกำรก้ำจัดไขของน้้ำมัน บริษัทเอ็กซอนโมบิล (ExxonMobil Limited) ก็ได้มีกำรพัฒนำตัวเร่ง
ปฏิ กิ ริ ย ำในชื่ อ MLDW (Mobil Lube Dewaxing) ส้ ำ หรั บ กำรลดค่ ำ กำรไหลเทของน้้ ำ มั น โดย
กระบวนกำรไฮโดรแครกกิ้งซึ่งได้บำยโปรดักส์เป็นแก๊สโซลีน (Gasoline) และสำรที่มีน้ำหนักโมเลกุลที่
ต่้ำกว่ำ พร้องทั้งยังก้ำจัดธำตุจ้ำพวกก้ำมะถัน (Sulphur) และไนโตรเจน (Nitrogen) ที่มีอยู่ในสำรตั้ง
ต้น ส้ำหรับตัวเร่งปฏิกิริยำที่ได้รับกำรพัฒนำคือ ซีโอไลต์ที่มีธำตุโซเดียม (Sodium) และ แคลเซียม
(Calcium) ในกำรศึ ก ษำ และได้ มี ก ำรพั ฒ นำกำรก้ ำ จั ด ไขด้ ว ยเทคโนโลยี MSDW TW lube
30

isomerization dewaxing ซึ่ งกระบวนกำรแบ่ งเป็ น สองขั้ น โดยขั้ น แรกเป็ น ไฮโดรแครกกิ้ งหรื อ
ไฮโดรทรีตติ้งและกำรก้ำจัดก้ำมะถันและไนโตรเจน ต่อมำก๊ำสไฮโดรเจนและน้้ำมันจะถูกป้อนเข้ำอีก
เครื่องปฏิกรณ์เพื่อท้ำปฏิกิริยำกับตัวเร่ง ผลิตภัณฑ์หลักที่ได้คือน้้ำมันหล่อลื่นและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เช่น
แนฟทำที่มีค่ำซีเทนสูง
ในปี 1983 บริษัทเชฟรอน (Chevron Corporation) ได้มีกำรผลิตสำรโมเลกุล
ไฮโดรคำร์ บ อนน้้ ำ หนั ก เบำ (100N), กลำง (250N) และหนั ก อย่ ำ งน้้ ำ มั น หล่ อ ลื่ น โดยผ่ ำ น
กระบวนกำรไฮโดรโพรเซสซิ่ง (Hydroprocessing) ซึ่งสำรโมเลกุลหนักจะต้องท้ำกำรก้ำจัดไขโดยใช้
ตัวเร่งปฏิกิริยำซีโอไลต์ (ZSM-5) เนื่องจำกสำมำรถคัดเลือกกำรท้ำปฏิกิริยำขององค์ประกอบประเภท
นอร์มอลพำรำฟินซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักให้ไปเป็นโพรเพน (Propane), บิวเทน (Butane) หรือสำร
น้้ำหนักโมเลกุลต่้ำกว่ำ
ใน ปี 1993 บ ริ ษั ท เช ฟ ร อ น ได้ มี ก ำ ร น้ ำ เท ค โน โล ยี MSDW TW lube
isomerization dewaxing ของ เอ็กซอนโมบิล มำใช้ในกระบวนกำรโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยำซีโอไลต์
(SAPO-11) ที่มีโลหะเป็นส่วนประกอบ แต่เดิมนั้น เชฟรอนใช้กำรก้ำจัดไขด้วยตัวท้ำละลำย (Solvent
dewaxing) ซึ่งจำกผลกำรทดสอบท้ำให้ทรำบว่ำกำรก้ำจัดไขด้วยเทคโนโลยี MSDW ให้ผลตอบแทนที่
สูงกว่ำกำรใช้สำรละลำยแบบเดิมดังภำพที่ 2.10

ภำพที่ 2.10 กำรเปลียบเทียบเทคโนโลยี MSDW โดยตัวเร่งปฏิกิริยำ -1 และ -2 กับ Solvent


dewaxing27
กำรก้ำจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิกิริยำของนอร์มอลพำรำฟินเพื่อผลิตน้้ำมันหล่อลื่น
พื้นฐำนที่มีคุณสมบัติค่ำกำรไหลเทต่้ำ กว่ำโดยเปลี่ยบเทียบกับกระบวนกำรก้ำจัดไขด้วยตัวท้ำละลำย
31

แต่ยังมีปัญหำเกียวกับค่ำดัชนีควำมหนืดที่ต่้ำ (Viscosity index) ซึ่งค่ำดัชนีควำมหนืดเป็นตัวชี้บอก


ควำมสำมำรถในกำรเปลี่ยนแปลงควำมหนืดตำมสภำพอำกำศ ควำมหนืดของน้้ำมันหล่อลื่นจะลดลง
เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น และควำมหนืดเพิ่มขึ้นที่อุณหภูมิลดลง ตัวน้้ำมันเครื่องที่มีควำมสำมำรถในกำร
เปลี่ ยนแปลงสู ง ย่อ มมี ค่ำ ค่ ำดัช นี ควำมหนื ด ที่ สูง ซึ่ งหมำยถึงมีคุ ณ สมบั ติ สำมำรถใช้ได้ ในสภำวะ
อุณหภูมิที่แตกต่ำงได้มำก ดังนั้น บริษัทบริติชปิโตรเลียม, เอ็กซอนโมบิล และเชฟรอน จึงมีกำรพัฒนำ
ตัวเร่งปฏิกิริยำแบบไฮโดรไอโซเมอร์ไรเซชั่น ซึ่งสำมำรถแก้ไขปัญหำน้้ำมันหล่อลื่นพื้นฐำนที่มีค่ำดัชนี
ควำมหนื ด ที่ ต่้ ำให้ สู งได้ แ ละมี ค่ ำกำรไหลเทที่ อุ ณ หภู มิ ต่้ ำ ผลตอบแทนที่ ได้ ก็ สู งกว่ำกระบวนกำร
แบบเดิม28

2.4 อลูมิเนียม อ๊อกไซค์ (Aluminium oxide, Al2O3)

ภำพที่ 2.11 ตัวเร่งปฏิกิริยำอลูมินำ

ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย ำอลู มิ น ำมี ลั ก ษณะเป็ น สี ข ำว มี ชื่ อ ทำงเคมี คื อ อลู มิ เนี ย ม อ๊ อ กไซค์
(Aluminium oxide, Al2O3) เป็นวัสดุทรงกลมที่มีรูพรุนหลำกหลำยขนำด ปลอดสำรพิษ ไม่มีกลิ่น ไม่
ละลำยในน้้ำและแอลกอฮอล์ สมบัติเชิงกลที่ดีและเสถียรภำพที่ดี เหมำะส้ำหรับเป็นตัวสนับสนุนหรือ
ตัวรองรับส้ำหรับตัวเร่งปฏิกิริยำที่ดี
อลูมินำในธรรมชำติจัดเป็นแร่ธำตุที่พบในรูปของแร่ Corundum (Al2O3), Diaspore
(Al2O3 ·H2O), Gibbsite (Al2O3 ·3H2O) และ Bauxite (Al2O3 ·2H2O) โดยแร่คอรันดัม ที่ พ บจะเป็ น
รัตนชำติ เช่น ทับทิม (Ruby), ไพลิน (Sapphire) และ บุษรำคัม (Yellow Sapphire) เป็นรูปแบบ
ของ แร่คอรันดัมที่มีมลทิน ในขณะที่แร่คอรันดัมที่ไม่มีมลทินจะไม่มีสีอลูมินำบริสุทธิ์และไฮเดรตอลูมิ
นำ สำมำรถสกัดได้จำกแร่บอกไซต์และดินลูกรังโดยวิธีของ Bayer (Bayer Process) คือน้ำแร่มำบด
32

แล้วหลอมด้วยโซดำไฟ (Caustic Soda) จำกนั้นแยกตะกอนที่ได้ออกมำแล้วเผำอลูมินำจะพบใน


รูป อั ล ฟำ แกมมำ และเบต้ำ โดยส่ วนใหญ่ จะอยู่ใ นรูป ของ อัล ฟำอลู มิ น ำและแกมมำอลู มิ น ำ ใน
อุณ หภู มิ ที่ ไม่ เกิน 500 องศำเซลเซียส อลู มินำจะอยู่ในรูปแกมมำ หำกน้ำไปเผำให้อุณ หภู มิสูงถึง
1150-1200 องศำเซลเซี ย ส จะเปลี่ ย นอยู่ ใ นรู ป ของอั ล ฟำ แต่ เ บต้ ำ อลู มิ น ำจะอยู่ ใ นรู ป ของ
สำรประกอบโซเดียมคือ Sodium Aluminate (Na2O·11Al2O3) ซึ่งอลูมินำที่มีควำมเสถียรมำกที่สุด
อยู่ในรูปอัลฟำอลูมินำ (อัลฟำอลูมินำ) ซึ่งมีโครงสร้ำงเป็นเฮกซำโกนอล (Hexagonal) โดยมีออกซิเจน
เรียงตัวกันแบบเฮกซำโกนอล และมีอลูมิเนียมที่มีขนำดเล็กกว่ำแทรกอยู่ในช่องออกตะฮีดรอล 2 ใน 3
ส่วนของช่องทั้งหมด29
อลูมินำที่มีอยู่ตอนนี้มีอย่ำงน้อย 8 รูปแบบ โดยแบ่งตำมคุณสมบัติและโครงสร้ำงของ
พวกมัน นอกจำกนี้ยังมีควำมแตกต่ำงกันของ แกมมำอลูมินำที่มีลักษณะผลึกเป็นแบบลูกบำศก์ ที่ไม่
ละลำยในน้้ำ แต่ละลำยได้ในกรดและด่ำง ส้ำหรับตัวสนับสนุน แกมมำอลูมินำมีควำมเป็นกรดอ่อน
และมีจุดหลอมเหลวที่สูงคือ 2,050 องศำเซลเซียส เจลอลูมินำในรูปแบบไฮเดรตสำมำรถท้ำให้เป็น
ออกไซด์ที่มีควำมเป็นรูพรุนและพื้นที่ผิวสูง แต่ก็มี ขั้นตอน กำรเปลี่ยนแปลง ในช่วงอุณหภูมิกว้ำงที่
อุณ หภู มิ สู ง เนื่ อ งจำกกำรคำยน้้ ำและ Dehydroxylation ผิ วอลู มิ น ำจะรวมตั วกั บ ออกซิ เจนที่ ไม่
เสถียร (ด่ำง) และอลูมิเนียม (กรด) ในกำรเร่งปฏิกิริยำ ดังนั้น อลูมินำจึงสำมำรถใช้เป็นตัวสนั บสนุน
หรือตัวเร่งปฏิกิริยำและตัวเร่งปฏิกิริยำร่วมได้
แกมมำอลูมินำถูกเรียกว่ำ "Activated alumina" เพรำะเป็นชนิดที่มีกำรกระจำยตัว
ของรูพรุนสูง วัสดุเป็นของแข็ง และเนื่องจำกกำรมีโครงสร้ำงของรูพรุนที่บริเวณพื้นผิวที่มีขนำดใหญ่
จึงมีประสิทธิภำพในกำรดูดซับที่ดีบนพื้นผิวและมีข้อได้เปรียบของควำมเป็นกรดและควำมเสถียรทำง
ควำมร้อนที่ดี พื้นที่ผิวและรูพรุน มีคุณสมบัติที่จ้ำเป็นของกำรเป็นตัวเร่งปฏิกิริยำ จึงกลำยเป็นตัวเร่ง
ปฏิกิริยำที่ใช้กันอย่ำงแพร่หลำยมำกที่สุด ผู้ให้บริกำรทำงด้ำนตัวเร่งปฏิ กิริยำทำงเคมีและผู้ให้บริกำร
ทำงด้ำนโครมำโตกรำฟีและกำรผลิตน้้ำมันในอุตสำหกรรมซึ่งมีบทบำทส้ำคัญในกำรไฮโดรแครกกิ้ง
ของน้้ำมัน, กำรเติมไฮโดรเจนในกำรกลั่น, กำรเติมไฮโดรเจนเพื่อปรับปรุงคุณภำพน้้ำมัน , ปฏิกิริยำ
กำรดึงไฮโดรเจนออกและกระบวนกำรฟอกไอเสียรถยนต์.
33

บทที่ 3
วิธีการวิจัย

3.1 แผนการดาเนินงานวิจยั

เนื่ อ งจากได้ เคยมี ก ารศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลขอตั ว เร่ งปฏิ กิ ริ ย า ที่ มี ค วามเหมาะสมกั บ การ
เกิดปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซซันกับน้ามันดีเซลชีวภาพสังเคราะห์ (Bio Hydrogenated Diesel : BHD)
และผลที่ได้เป็นที่น่าพอใจ ซึ่งสามารถเพิ่มปริมาณไฮโดรคาร์บอนสายโซ่กิ่งของคาร์บอนช่วง 15 ถึง
18 เท่ากับร้อยละ 52 และ 37 ตามล้าดับ22 เราจึงท้าการประยุกต์โดยน้าตัวเร่งปฏิกิริยานันมาใช้กับ
สารไฮโดรคาร์บอนน้าหนักโมเลกุลสูง เช่น สารสารไฮโดรแครกเกอร์บอททอม ที่ช่วงของคาร์บอนมี
ความเหมาะสมกับการผลิตน้ามันเชือเพลิงและสารหล่อลื่น ถือเป็นการต่อยอดงานวิจัยที่สามารถท้าให้
ตัวเร่งปฏิกิริยาสามารถใช้งานที่กว้างขึน มีความคุ้มค่ามากขึนในทางอุตสาหกรรม
ส้ าหรับ สภาวะการทดลองที่ ใช้ในงานวิจัย นี จะได้ ม าจากงานวิจั ยที่ เคยมี ก ารศึ กษา
อิทธิพลของสภาวะการเกิดปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซซันกับสารไฮโดรคาร์บอนน้าหนักโมเลกุล สูงซึ่งได้มี
การวิจัยทัง อุณหภูม,ิ ความดัน และอัตราการไหลของสาร ที่มีความเหมาะสมกับการเกิดปฏิกิริยาและ
สารป้อนที่ใช้ โดยสามารถท้าให้สารมีค่าการไหลเทลดต่้าลงถึง 12 องศาเซลเซียส จากสารป้อนที่มีค่า
การไหลเท 33 องศาเซลเซียส23
ขันตอนการวิจัยเริ่ม แรกจะท้าการศึกษาข้อมูลงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้องเพื่ อศึกษา
อิทธิพลและความเป็นไปได้ของการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาและสภาวะที่ใช้ในการผลิตต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ ,
ความดั น , อั ต ราการไหลของสารป้ อ น จากนั นจึ งท้ า การออกแบบการทดลองการและทดสอบ
ผลิตภัณฑ์เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ที่เราตังไว้ หลังจากนันจึงท้าการสรุปผลต่อไป

3.1.1 สถานที่ท้าการทดลอง: Hydrocarbon Processing Pilot Plant ณ สถาบันวิจัย


และเทคโนโลยี ปตท. จ้ า กั ด (มหาชน) และห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร Catalytic and Environmental
Laboratory คณะวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

3.1.2 วิธีการ: ส้าหรับขันตอนการด้าเนินงานจะแบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ขันตอน


การเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา, การด้าเนินการทดลองโดยใช้เครื่องปฏิกรณ์ (Micro continuous fixed
bed reactor) และการวิเคราะห์ผลผลิตภัณ์ที่ได้จากการทดลอง ตามแผนภาพนี
34

ขันตอนการด้าเนินงานวิจัย

ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วิเคราะห์สารตังต้น เตรียมตัวเร่งปฏกิกิริยา

ด้าเนินการทดลองด้วยเครื่อง
Micro continuous fixed bed reactor

วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์

สรุปผลการทดลองและจัดท้ารูปเล่ม

ภาพที่ 3.1 ขันตอนการด้าเนินงานการวิจัยโดยรวม

3.2 วัตถุดิบและสารเคมี

3.2.1 สารตั้งต้น
สารไฮโดรแครกเกอร์บอททอมเป็นสารที่ได้จากกระบวนการไฮโดรแครกกิง ซึ่ง
เป็นส่วนหนักหลังจากผ่านการกลั่นสุญญากาศหรือก้นหอกลั่น ซึ่งมีความยาวของคาร์บอนอยู่ในช่วง
C20-C54 โครงงสร้างหลักของโมเลกุลจะเป็นแบบเส้นตรงหรือที่เรียกว่า n-paraffin ท้าให้สารเป็น
ไขที่อุณหภูมิห้อง ดังนันก่อนน้าสารมาใช้งานต้องท้าการอบเพื่อให้สารเกิดการหลอมละลายเป็น
ของเหลว และท้าการกรองสารด้วยสุญญากาศเพื่อก้าจัดสิ่งแปลกปลอมที่เป็นของแข็ง ก่อนน้ามาใช้
งาน กับเครื่องปฏิกรณ์ ดังภาพที่ 3.2
35

ภาพที่ 3.2 สารตังต้นส้าหรับทดลอง สารไฮโดรแครกเกอร์บอททอม

3.2.2 การเตรียมตัวเร่งปฏิกริ ิยาโดยวิธีการเอิบชุ่มแบบเปียก (Wet impregnation)

ขันตอนการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา

สารเคมีที่ใช้ในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา
1. แกมมา อลูมินา (Gamma – Al2O3) จาก Sasol Germany
2. กรดไฮโดรคลอริก (HCl)
3. นิกเกิลไนเตรท (Ni (NO3)2 6H2O)
4. น้ากลั่น (DI Water)

ขั นตอนที่ 1. การหาค่ าการดู ด ซึ ม (Absorption) ของอลู มิ น่ า โดยน้ าไปอบที่


อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส เพื่อไล่ความชืน จากนันน้าไปแช่ในน้ากลั่น รอจนไม่มีฟองอากาศออกมา
จากอลูมินา แล้วท้าการแยกน้าและอลูมิน าออกจากกัน ชั่งน้าหนักของน้าที่เหลือ น้าหนักของน้าที่
หายไปจะเป็นค่าการดูดซึมน้า
36

ภาพที่ 3.3 แกมมา-อลูมินา (Gamma – Al2O3) จาก Sasol Germany

ขันตอนที่ 2. การเตรียม ส้าหรับ Chloride alumina (Al2O3 – Cl) โดยใช้กรด


ไฮโดรคลอริก โดยการค้านวณปริมาณของคลอรีนให้ได้ตามต้องการ จากนันน้าไปละลายในน้าใน
ปริมาณเท่ากับค่าดูดซึมของอลูมินา และท้าการหยดสารละลายลงในอลูมินา วิธีนีเรียกว่า การเอิบชุ่ม
แบบเปียก (Wet impregnation).

ขันตอนที่ 3. น้าตัวเร่งปฏิกิริยาอลูมิน่าที่ได้จากขันตอนที่ 2 ไปอบที่อุณหภูมิ 120


องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 ชั่วโมง เพื่อไล่น้าที่เราใช้เป็นตัวพาสารคลอไรด์และกรดไฮโดรคลอริก ให้
แซกซึกเข้าไปในอลูมินา

ขันตอนที่ 4. น้าอลูมินาที่ผ่านการอบไปเผาภายใต้อากาศที่อุณหภูมิ 450 องศา


เซลเซียส เป็นเวลา 3:30 ชั่งโมง โดยใช้อัตราการเพิ่มอุณหภูมิเท่ากับ 2 องศาเซลเซียส ต่อนาที

ขันตอนที่ 5. การโหลดโลหะนิกเกิลลงในอลูมิน่ าที่ ได้จากขันตอนที่ 4 โดยใช้


นิ ก เกิ ล ไนเตรท (Ni (NO3)2 6H2O) เริ่ม จากการทดสอบค่ าการดู ด ซึ ม ของอลู มิ น่ าที่ ได้ จากขั นที่ 4
จากนันค้านวณปริมาณน้าที่ได้ ผสมเข้ากับนิ กเกิลไนเตรท และท้าการเอิบชุ่มเหมือนขันที่ 2 จากนัน
น้าไปอบเพื่อไล่น้าและเผาแบบเดียวกับขันที่ 3 และ 4 เสร็จแล้วจะได้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่พร้อมน้าไปใช้
งาน
37

5%Ni3%Cl -Al2O3 5%Ni -Al2O3

10%Ni1%Cl -Al2O3

ภาพที่ 3.4 ตัวอย่างตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้จากการเตียม

3.3 ขั้นตอนการดาเนินการทดลองโดยใช้เครื่องปฏิกรณ์แบบเบดคงที่
(Micro continuous fixed bed reactor)

สารเคมีที่ใช้ในการทดลอบ
1. สารตังต้น Hydrocracker bottom (wax)
2. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้จากการเตรียม
3. แก๊ส Hydrogen (99.995% purity)
4. แก๊ส Nitrogen (99.995% purity)
เมื่อท้าการติดตังเครื่องปฏิกรณ์ เรียบร้อยแล้วจะต้องท้าการตรวจสอบระบบให้
พร้อมส้าหรับการใช้งานก่อน เช่น การรั่วซึมตามจุดต่าง ๆ
38

ท้าการบรรจุตัวเร่งปฏิกิริยาให้อยู่ภายในเครื่องปฏิกรณ์ (Reactor) ซึ่งเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้จากการ


เตรียม ขันแรกจะเป็นการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้แก๊สไฮโดรเจนไหลผ่านตัวเร่งอัตรา 21 ลิตรต่อ
ชั่วโมง ที่ความดันระบบ 35 บาร์ หลังจากนันท้าการเพิ่มอุณหภูมิของเครื่องปฏิกรณ์ที่อัตรา 10 องศา
เซลเซียส ต่อนาที จนถึง 450 องศาเซลเซียส และทิงไว้เป็นระยะเวลา 3 ชั่วโมง แล้วจึงลดอุณหภูมิลง
มาที่ 300 องศาเซลเซียส เพื่อเริ่มด้าเนินการตามสภาวะที่ได้ก้าหนดไว้ โดยมีของไหลทังแก๊สและสาร
ตังต้น ไหลผ่านอนุภาคของตัวเร่งดังกล่าว เมื่อมีการไหลผ่านอนุภาคในอัตราที่ต่้า ของไหลจะซึมผ่าน
ช่องว่างระหว่างอนุภ าคนิ่งเราเรียกสภาวะนีว่าเบดคงที่ (Fixed Bed) จากนันของไหลจะผ่านการ
ควบแน่น (Condenser) และสารจะถูกแยกสภาวะ (Separator) ส่วนที่ยังเป็นแก๊สจะถูกปล่อยทิง
หรือน้าไปวิเคราะห์ และของเหลวจะถูกแยกไปเป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป

ภาพที่ 3.5 การปรับสภาพตัวเร่งปฏิกิริยาก่อนใช้งาน

ตารางที่ 3.1 สภาวะที่ใช้ส้าหรับการทดลอง

Parameter Hydrocracking and Hydroisomerization Production


Reaction temperature 300 oC
Reaction pressure 35 bar
LHSV 0.018 h-1
H2 / feed molar ratio 50
39

Catalysts

Reactor Condens
er

Separator
Stripper

Pump

ภาพที่ 3.6 เครื่องปฏิกรณ์แบบเบดคงที่ (Micro continuous fixed bed reactor)


40

3.4 เทคนิคที่ใช้สาหรับการวิเคราะห์

3.4.1 เทคนิคการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์
3.4.1.1 การวิเคราะห์หาองค์ประกอบสารไฮโดรคาร์บอนโดยเทคนิคแก๊สโครมา
โ ต ร ก ร า ฟี ต า ม ม า ต ร า ฐ า น ASTM D6352 ( Simulation Distillation Gas
Chromatography)

ภาพที่ 3.7 เครื่องจ้าลองการกลั่นโดยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี ยีห่ อ้ Agilent รุ่น 7890B

การเตรียมตัวอย่างในการทดสอบเราจะใช้ตัวอย่างปริมาณ 1 เปอร์เซ็นต์
โดยน้าหนัก ในคาร์บอนไดซัลไฟด์ (CS2) ใส่ขวดไวแอล ขนาด 1.5 มิลลิลิตร และการทดสอบจะใช้การ
ตรวจสอบแบบ Flame ionization detector (FID) ดังนัน เราจะใช้แก๊สไฮโดรเจนและอากาศที่มี
ความบริสุทธิ์สูงเป็นเชือเพลิงและใช้แก๊สไนโตรเจนและฮีเลียมเป็นตัวพาไอสารเข้าไปยังคอลัมน์เพื่อท้า
การแยกต่อไป ส้าหรับการทดสอบ GC-Simdist ตามมาตราฐาน ASTM D635230

Column 5 m x 0.53 mm, 0.15 µm DB-HT SimDis


Oven Program 35 oC (0 min) to 435 oC (2 min) @ 10 oC/min
Multimode (MMI), 100 oC (0 min) to 430 oC
Inlet
(hold to end of run) @ 250 oC/min
Split ratio 5 to 1
Flow 15 L/min, constant flow mode
41

3.4.1.2 การวั ด ความหนื ด ของเหลว (Stabinger Viscometer ตามมาตรฐาน


ASTM D445)

ภาพที่ 3.8 เครื่องวัดความหนืด รุ่น SVM 3000


การทดสอบจะได้ตัวอย่าง 4 มิลลิลิตร โดยการใช้หลอดไซริงค์ขนาด 5
มิลลิลิตรดูดสารขึนมา จากนันท้าการฉีดสารเข้าไปในเครื่องตามวิธีการที่เครื่องก้าหนด เพื่อให้เครื่อง
วิเคราะห์ ซึ่งอุณ หภูมิที่ใช้วิเคราะห์ส้าหรับงานวิจัยนีจะใช้อุณหภูมิที่ 40 และ 100 องศาเซลเซียส
ส้าหรับตัวอย่างที่เป็นของแข็งหรือไขที่อุณหภูมิห้องควรน้าไปอบให้สารกลายเป็นของเหลวก่อน โดย
อุณหภูมิในการอบสารไม่ควรเกิดกว่าค่าที่เราต้องการทดสอบเพราะจะท้าให้อุณหภูมิไม่คงที่ในระหว่าง
การทดสอบ หลังจากได้ค่าการทดสอบจากเครื่องแล้วจึงน้าค่านันที่ 40 กับ 100 องศาเซลเซียส มา
วิเคราะห์หาดัชนีความหนืดต่อไป
42

3.4.1.3 การตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของสารโดยอาศัยคุณสมบัติทาง
ความร้อน (Differential Scanning Calorimetry; DSC)

ภาพที่ 3.9 เครื่อง Differential Scanning Calorimetry; DSC


DSC เป็ น เทคนิ ค ที่ ใช้ วิเคราะห์ ท ดสอบวัส ดุ โดยการวัด ค่ าพลั งงาน
ความร้อนและอุณ หภูมิของสารตัวอย่างเปรียบเทียบกับสารมาตรฐานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การหลอมเหลว การเปลี่ยนสถานะ การเปลี่ยนรูปผลึก
การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี เป็ น ต้ น โดยที่ พื นที่ ใ ต้ ก ราฟที่ เกิ ด ขึ นจะมี ค วามสั ม พั น ธ์ โ ดยตรงกั บ การ
เปลี่ยนแปลงความร้อนของ ตัวอย่าง ในการวิเคราะห์ตัวอย่าง ตัวอย่างจะถูกวางบนจานอะลูมิเนียมที่
อยู่ภายในเตาที่ควบคุมอุณหภูมิได้ โดยภายในเตาจะมีสารอ้างอิงซึ่งเป็นจานอะลูมิเนียมเปล่า เพื่อใช้
เป็นตัวเปรียบเทียบกับตัวอย่างภายใต้สภาวะเดียวกัน
วิธีการทดสอบของ DSC คือ น้ าถาดมา 2 ถาด คื อถาดที่ บ รรจุส าร
ตัวอย่าง (sample pan) และถาดอ้างอิง (reference pan) ซึ่งเป็นถาดเปล่าวางอยู่ข้างกันไปวางอยู่
บนอุปกรณ์ให้ความร้อน (heater) ชนิดเดียวกัน เมื่อเริ่มการทดลองอุปกรณ์ให้ความร้อน จะเริ่มให้
ความร้อนแก่ถาดทังสอง โดยเครื่อง DSC จะควบคุมอัตราการเพิ่มอุณหภูมิให้คงที่ (เช่น 10 องศา
เซลเซียส ต่อ 1 นาที) โดย จะควบคุมให้ความร้อนถาดทังสองที่วางแยกกัน ด้วยอัตราการเพิ่มความ
ร้อนที่เท่ากันตลอดทังการทดลอง หลังการให้ความร้อน อุณหภูมิของถาดทังสองจะเพิ่มด้วยอัตราที่ไม่
เท่ากัน เนื่องจาก sample pan มีตัวอย่างอยู่ข้างใน แต่ reference pan ไม่มี การมีสารตัวอย่างอยู่
ข้างในท้าให้ sample pan มีสสารในปริมาณที่มากกว่า reference pan นั่นหมายความว่า furnace
ต้องให้ความร้อน sample pan มากกว่าที่ให้ reference pan เพื่อที่จะคงอัตราการเพิ่มอุณหภูมิให้
43

เท่ากัน ดังนัน furnace ที่อยู่ใต้ sample pan จะต้องท้างานหนักกว่า furnace ที่อยู่ใต้ reference
pan คือมันต้องให้ความร้อนมากกว่า และการวัดความแตกต่างของปริมาณความร้อนจาก furnace
ทังสองนี คือหน้าที่หลักของเครื่อง DSC โดยปกติแล้วการทดสอบสารตัวอย่างท้าโดยการเพิ่ม (หรือ
ลด) อุณหภูมิสารตัวอย่างด้วยอัตราการเพิ่มอุณหภูมิที่คงที่ หรือการรักษาอุณหภูมิสารตัวอย่างไว้คงที่
(Isothermal) เป็นระยะเวลาหนึ่ง และส้าหรับการทดลองส่วนใหญ่แล้ว บรรยากาศก็มีบทบาทส้าคัญ
ต่อผลการทดลองเช่นเดียวกับอุณหภูมิและอัตราการเพิ่มอุณหภูมิ โดยส่วนใหญ่แล้วบรรยากาศที่ใช้ใน
การทดลองมี ส องแบบคื อ บรรยากาศเฉื่ อ ย (inert atmosphere เช่ น แก๊ ส ไนโตรเจน) และ
บรรยากาศที่มีแก๊สออกซิเจน (oxidizing atmosphere เช่น แก๊สออกซิเจน หรืออากาศ)

ภาพที่ 3.10 หลักการทดสอบ Differential Scanning Calorimetry

ความร้อนที่ให้สารตัวอย่าง (heat flow) มีค่าสอดคล้องกับพลังงานที่ให้สารตัวอย่าง และถูกวัดใน


หน่วยมิลลิวัตต์ (milliwatts, mW) เมื่อน้าค่าพลังงานมาคูณด้วยเวลา ผลลัพธ์ที่ได้คือปริมาณพลังงาน
ที่ ถู ก แสดงในหน่ วย มิ ล ลิ วัต ต์ วิน าที (mW.s) หรือ มิ ล ลิ จูล ล์ (mJ) พลั งงานที่ ให้ ส ารตั วอย่ างมี ค่ า
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงเอนทัลปี (Enthalpy) ของสารตัวอย่าง เมื่อสารตัวอย่างดูดพลังงาน เรา
เรียกว่า Enthalpy มีการเปลี่ยนแปลงแบบ Endothermic และเมื่อสารตัวอย่างคายพลังงาน เรา
เรียกว่า Enthalpy มี การเปลี่ ยนแปลงแบบ Exothermic เมื่อสารตัวอย่างมีการเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพ เช่น การหลอมเหลว (melting) furnace ต้องให้ ความร้อน sample pan มากกว่าที่ ให้
reference pan เพื่อที่จะคุมอุณหภูมิของ sample pan และ reference pan ให้เท่ากัน ความร้อน
จะถูกส่งผ่านไปยัง sample pan มากกว่าหรือน้อยกว่าที่ถูกส่งผ่านไปยัง reference pan นัน ขึนอยู่
กับว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึนนันเป็นแบบ Exothermic หรือแบบ Endothermic.31
44

3.4.1 เทคนิคการวิเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา
3.4.2.1 การทดสอบหาพื นที่ ผิ ว ของวั ส ดุ (Brunauer- Emmett-Teller
Method; BET)

ภาพที่ 3.11 เครื่อง Brunauer- Emmett-Teller Method; BET

พื นที่ ผิ ว (Surface Area) ของสารเป็ น สมบั ติ ท างภาพภาพที่ มี


ความส้าคัญต่อการน้าไปใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อน้าสารนันไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มี
คุณภาพตามที่ต้องการหรือตามที่มาตรฐานก้าหนดการวัดพืนที่ผิวภายในวัสดุที่มีความพรุนท้าได้โดย
การศึกษาการดูดซับของแก๊สไนโตรเจนหรือแก๊สอื่นที่มีข นาดเล็ก เช่น อาร์กอน โดยใช้ประโยชน์จาก
ไอโซเทอร์ ม ของการดู ด ซั บ ทางกายภาพ ที่ อุ ณ หภู มิ ข องแก๊ ส เหลว (ในที่ นี เป็ น อุ ณ หภู มิ ข อง
ไนโตรเจนเหลวหรืออาร์กอนเหลว) ซึ่งขึนอยู่กับการดูดซับ โดยจะหาจ้านวนโมเลกุลที่ใช้เพื่อเกิดการ
ดูดซับแบบชันเดียว ซึ่งจะท้าให้สามารถสามารถค้านวณหาพืนที่ผิวภายในได้การดูดซับของไนโตรเจน
(N2) จะเกิดได้เร็วในช่วงแรกโดยจะเพิ่มตามความดัน จนกระทั่งถึงจุดเปลี่ยนแปลง ซึ่งเส้นกราฟจะ
ราบ แสดงถึงปรากฏการณ์ที่การดูดซับบนพืนผิวแบบชันเดียวจะเกิดการควบแน่นของไนโตรเจนในรู
พรุนท้าให้ปริมาตรของการดูดซับเพิ่มขึนอย่างรวดเร็ว โดยปกติในการตรวจสอบความเหมาะสมและ
ความถูกต้องในการใช้ทฤษฎีของ BET กับสารตัวอย่างสามารถดูได้ที่ตัวบ่งชีทีีได้ ่ จากการทดสอบ ดังนี
1. ลักษณะของเส้นกราฟที่ได้ควรเป็นเส้นตรง
2. ค่าคงที่ของ C (C – Values) โดยปกติจะอยู่ในช่วง 50 – 300 ซึงค่าคงที่ C ที่ค่าน้อย
กว่ า 50 แสดงว่าก๊ าซเกิ ด การดึ งดู ด กั น เองด้ ว ย นอกจากจะไปดู ด ซั บ บนพื นผิ วของของแข็ งตาม
สมมติฐานเบืองต้นของทฤษฎีของ BET ส่วนกรณีทีค่่ าคงที่ C มีค่ามากกว่า 300 มากๆ แสดงว่าการ
45

ดูดซับของก๊าซบนพื นผิวของของแข็งเกิดขึ นได้ดีมากหรือมีบางจุดบนพื นผิวที่ดูดซับได้ดีกว่าบริเวณ


อืน่ ๆ32
3. ค่า coefficient of correlation ของเส้นกราฟ ต้องมีค่าอย่างน้อยเท่ากับ 0.999

ภาพที่ 3.12 ตัวอย่างกราฟที่ได้จากการทดสอบประกอบไปด้วยกราฟ Isotherm graph, BET Plot


และ BJH Pore Size Distribution ตามล้าดับ
46

3.4.2.2 เท ค นิ ค การโป รแก รม อุ ณ ห ภู มิ เพื่ อท ด ส อบ ก ารคายซั บ


(Temperature-programmed desorption; TPD)

ภาพที่ 3.13 เครื่อง Temperature-programmed desorption; TPD

เทคนิคการโปรแกรมอุณหภูมิเพื่อทดสอบการคายซับเป็นเทคนิคที่
ใช้เพื่อทดสอบอันตรกิริยา (Interaction) ระหว่างตัวถูกดูดซับซึ่งเป็นแก๊สและตัวดูดซับ (Adsorbent)
ซึ่งคือตัวเร่งปฏิกิริยา ถ้าตัวเร่งสารที่ใช้เป็นตัวถูกดูดซับจะมีสมบัติเป็นเบส เช่น แอมโมเนีย (ปกติใช้
แอมโมเนียความเข้มข้น 5-10 เปอร์เซ็นต์ในแก๊สฮีเลียม) ซึ่งอาจเรียกเทคนิคนีว่าเทคนิคการโปรแกรม
อุณหภูมิเพื่อทดสอบการคายซับแอมโมเนีย (NH3-TPD) ในกรณีที่ตัวเร่งปฏิกิริยามีต้าแหน่งที่ว่องไว
เป็นต้าแหน่งเบส สารที่ ใช้เป็ นตัวถูกดูด ซับจะมีสมบัติเป็นกรด เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ (ปกติใช้
คาร์บอนไดออกไซด์ความเข้มข้น 1-5 เปอร์เซ็นต์ในแก๊สฮีเลียม) ซึ่งอาจเรียกเทคนิคนีว่า เทคนิคการ
โปรแกรมอุณหภูมิเพื่อทดสอบการคายซับ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 -TPD) พืนที่ใต้พีคที่แสดงการ
คายซับ จะแสดงถึงปริมาณของต้าแหน่งที่ว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยา และอุณหภูมิที่เกิดการคายซับจะ
แสดงถึงประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา
การทดลองเทคนิคการโปรแกรมอุณหภูมิเพื่อ ทดสอบการคายซับ
สามารถท้าได้โดย ขันตอนแรก ตัวเร่งปฏิกิริยาจะถูกให้ความร้อน (อุณ หภูมิตามต้องการ) เพื่อท้า
ความสะอาดพื นผิ ว ในขั นตอนนี อาจใช้ แก๊ ส เฉื่ อ ย หรื อ ถ้ า ต้ อ งการปรั บ สภาพตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า
(Treatment) เช่น การออกซิเดชัน (oxidation) ก็อาจใช้อากาศ (หรือออกซิเจน) หรือการรีดักชัน
(Reduction) ก็อาจใช้แก๊สไฮโดรเจนเป็นแก๊สตัวพา (อัตราการไหลของแก๊ส 30-50 มิลลิลิตรต่อนาที)
จากนั นตั วเร่งปฏิ กิ ริย าจะถู ก ท้ าให้ เย็ น ลงภายใต้ บ รรยากาศของแก๊ ส เฉื่ อ ย (หรือ แก๊ ส ที่ ต้ อ งการ)
47

จากนันจะผ่านแก๊สที่มี ส่วนผสมของตัวถูกดูดซับไปยังตัวเร่ง ปฏิกิริยาจนเกิดการอิ่มตัว (ปกติทิงไว้


ประมาณ 3 ชั่วโมง) เปลี่ยนแก๊สที่ผ่านตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นแก๊สเฉื่อย เพื่อก้าจัดตัวถูกดูดซับในส่วนที่
มากเกินพอ ให้คงเหลือ เฉพาะแก๊สที่เกิดอันตรกิริยาที่อุณหภูมิที่ใช้ในการดูดซับ ตรวจสอบสัญญาณ
จนกระทั่งสัญญาณคงที่ เพิ่ม อุณหภูมิตามโปรแกรมที่ต้องการเพื่อศึกษาการคายซับ (อัตราการเพิ่ม
อุณหภูมิ 10-20 องศาเซลเซียสต่อนาที ) โดยใช้ตัวตรวจวัดชนิดการน้า ความร้อน หรือตัวตรวจวัด
ชนิดแมสสเปกโตรมิเตอร์ขึนกับชนิดของสารที่ เป็นตัวถูกดูดซับ33
48

บทที่ 4
ผลการวิจัยและอภิปรายผล

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการหาตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมสาหรับการเกิดปฏิกิริยาไฮโดร
แครกกิ้งและไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน โดยใช้สารตั้งต้น คือ ไฮโดรแครกเกอร์บอททอม (ลักษณะเป็นไข
ที่อุณหภูมิห้อง) ไหลผ่านตัวเร่งปฏิกิริยาพร้อมกับแก๊สไฮโรเจนในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดคงที่ตาม
สภาวะที่กาหนด และนาผลิตภัณฑ์ที่ได้วิเคราะห์การกระจายตัวของคาร์บอน ลักษณะของคาร์บอน
และคุณสมบัติอื่น ๆ โดยงานวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ คือ

1. วิเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้จากการเตรียม
2. วิเคราะห์สารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการผลิต

4.1 ผลของการทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยา

จากตารางที่ 4.1 แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์พื้นที่ผิว และขนาดของรูพรุน ของตัวเร่ง


ปฏิกิริยาที่ใช้ในการทดลอง ผลการศึกษาพบว่าทั้งสามตัวเร่งปฏิกิริยามีพื้นที่ผิวและปริมาณและขนาด
ของรูพรุนใกล้เคียงกัน สาหรับตัวเร่งปฏิกิริยาอลูมินา (Al2O3) ที่ใช้เป็นตัวรองรับ แสดงให้เห็นถึงขนาด
ของรูพรุน ที่ใหญ่ กว่า 5Ni- AlSa และ 5Ni3Cl- AlSa เล็กน้อย เนื่องจากมีการเพิ่มธาตุ นิกเกิลและ
คลอรีนเข้าไป ทาให้ขนาดของรูพรุนเล็กลง

ตารางที่ 4.1 คุณสมบัติตัวเร่งปฏิกิริยาจากการทดสอบการหาพื้นที่ผิวจาเพาะและโครงสร้างรูพรุน

ตัวเร่งปฏิกิริยา พื้นที่ผิว (m2/g) ปริมาณรูพรุนทั้งหมด (cc/g) ขนาดรูพรุน (nm)


Al2O3 (AlSa) 160.25 0.4672 11.661
5Ni-AlSa 158.00 0.4316 10.927
0.5Pt-AlSa 166.39 0.4668 11.221
1Ir-AlSa 143.53 0.4003 11.155
5Ni3Cl-AlSa 160.15 0.4352 10.871
10Ni1Cl-AlSa 168.77 0.4737 11.227
49

สาหรับการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้งและไอโซเมอไรเซชันของสารตั้งต้น ไฮโดรแครก
เกอร์บอททอมที่มีส่วนประกอบหลักคือ n-alkanes และมีความยาวของสายโซ่โมเลกุลไฮโดรคาร์บอน
มาก จากการศึกษาพบว่าความเป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยามีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาตามที่ต้องการ
ดังนั้นหลังจากการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาเราจึงนามาทดสอบค่าความเป็นกรดจากการเติมคลอรีน ผล
ของการทดสอบความเป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยา จากภาพที่ 4.1 โดยเป็นการการทดสอบ NH3-TPD
(Temperature programmed desorption) ของสารแอมโมเนียในการดาเนินการหาความแข็งแรง
ของกรด จากรูปแสดงให้เห็นถึงเส้นโค้ง ที่ 127-327 องศาเซลเซียส และ 527-627 องศาเซลเซียส
ตามลาดับ ซึ่งเป็นการการดูดซับของสารแอมโมเนีย แสดงให้เห็นความเป็นกรดแบบกลางและแบบ
แข็งแรงตามลาดับ ปริมาณโมเลกุลของสารแอมโมเนียต่อจานวนความเป็นกรดและการกระจายของ
กรดสามารถดูได้จากพื้นที่ใต้เส้นโค้ง TPD ซึ่งจะเห็นได้ว่าจานวนรวมของกรดในตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni-
AlSa, 10Ni1C-AlSa และ Al2O3 (AlSa) เกือบจะเหมือนกัน และพื้นที่ใต้เส้นโค้งของตัวเร่งปฏฺกิริยา
5Ni3Cl-AlSa ซึ่งใส่คลอรีน 3% มีพื้นที่ใต้กราฟสูงขึ้น มากกว่า 10Ni1C-AlSa ที่มี 1% คลอรีน จึง
สรุปผลได้ว่าการใส่คลอรีนในตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa ทาให้ความเป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยา
เพิ่มสูงขึ้น

ภาพที่ 4.1 ผลการทดสอบ NH3-TPD ของตัวเร่งปฏิกิริยา


50

4.2 วิเคราะห์สารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการผลิต

4.2.1 สารตั้งต้นไฮโดรแครกเกอร์บอททอม (Hydrocracker bottom)


ลั ก ษณะทางกายภาพของสารตั้ ง ต้ น ไฮโดรแครกเกอร์ บ อททอมเป็ น ไขที่
อุณหภูมิห้อง (Soft Wax) ซึ่งถ้าดูจากผลการทดสอบการหาจุดไหลเทที่อุณหภูมิต่า (Pour point)
และการหาจุดหลอมเหลวจากการทดสอบ Differential Scanning Calorimeters (DSC) โดยการวัด
ค่ า พลั ง งานความร้ อ นและอุ ณ หภู มิ ข องสารตั ว อย่ า งเปรี ย บเที ย บกั บ สารมาตรฐาน เมื่ อ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จะพบว่าค่าการหลอมเหลวที่ได้สูงกว่าอุณหภูมิห้อง ซึ่งหมายถึงการจะทา
ให้สารเกิดการหลอมเหลวต้องใช้อุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิห้อง และเมื่อศึกษาการกระจายตัวของ
ไฮโดรคาร์บอน จะพบว่าสารมีจานวนคาร์บอนอยู่ในช่วงของน้ามันหล่อลื่นเป็นส่วนใหญ่ คือความยาว
คาร์บอน C22-C54 ทาให้มีความเหมาะสมในการพัฒนาให้เป็นเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่นที่ สามารถ
นามาใช้งานได้

ตารางที่ 4.2 การทดสอบคุณสมบัติของสารตั้งต้นไฮโดรแครกเกอร์บอททอม

Hydrocracker bottoms
Properties Unit Method analysis
feedstock. (HDCB)
Viscosity @ 40 oC mm2/s 17.12
D445
Viscosity @ 100 oC mm2/s 3.97
Viscosity index 130.85
Pour point oC 33 D5950
DSC (onset) oC 31
Refractive Index 1.4628 D1218
Distribution
D6352
C5-C10 %wt 0.00
C11-C16 %wt 0.32
C17-C22 %wt 12.09
C23-C28 %wt 46.68
C29-C34 %wt 30.39
C35-C54 %wt 12.76
51

4.2.2 การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์

HDCB Feed No Cat.

สาหรับการดาเนินการโดยไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อทดสอบผลกระทบของสภาวะที่ใช้ในการทดสอบ
คือ คือ อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส, ความดัน 35 บาร์ และปริมาณอัตราการไหลของสารตั้งต้น
0.018 ต่อชั่วโมง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากรูปจะพบว่า สารมีสีที่ใสขึ้นเล็กน้อยและส่วนที่เป็นไขหายไปเมื่อ
ทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง สาหรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจาเป็นต้องวิเคราะห์ เทคนิคโครมาโตกราฟี อีก
ครั้ง เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุลของสารต่อไป

5Ni-AlSa 0.5Pt-AlSa 1Ir-AlSa


52

หลังจากทดสอบสภาวะในการผลิตต่อไปเป็นการทดสอบอิทธิพลโลหะบนตัวรองรับอลูมินา เพื่อศึกษา
ผลกระทบของโลหะที่มีต่อปฏิกริยา โดยโลหะที่ ใช้จะมีดังนี้ 5%Ni, 0.5%Pt และ 1%Ir โดยโลหะและ
ปริมาณโลหะที่ใช้ได้จากการศึกษางานวิจัยหลาย ๆ งานวิจัยที่ใช้ในงานผลิตเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น
โดยการแตกตั ว โดยใช้ ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า (Catalytic cracking) เมื่ อ ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าทั้ ง 3 ตั ว มาท า
ปฏิกริยากับสารตั้งต้นตามสถานะที่กาหนด (อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส, ความดัน 35 บาร์ และ
ปริมาณอัตราการไหลของสารตั้งต้น 0.018 ต่อชั่วโมง) พบว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้มีสีที่ใสขึ้นกว่าการไม่ใช้
ตัวเร่งปฏิกิริยา โดยเฉพาะ 0.5%Pt และ 1%Ir มีสีที่ใสมากกว่า 5%Ni และทั้ง 3 ตัวไม่เป็นไขเมื่อทิ้ง
ไว้ที่อุณหภูมิห้อง สาหรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจาเป็นต้องวิเคราะห์ เทคนิคโครมาโตกราฟีอีกครั้ง
เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุลของสารต่อไป

5Ni3Cl-AlSa 10Ni1Cl-AlSa

ต่อไปเป็นการศึกษาผลกระทบของกรดและปริมาณโลหะที่เพิ่มขึ้นกับการเกิดปฏิกิริยา โดยเป็นการ
ทางานร่วมกันของกรดและโลหะ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้มี 2 ตัว คือ 5Ni3Cl-AlSa และ 10Ni1Cl-AlSa
ผ่านการดาเนินการด้วยสภาวะที่กาหนด ผลิตภั ณฑ์ที่ได้เป็นดังรูป คือ ตัวเร่งปฏิกิริยา 10Ni1Cl-AlSa
ท าให้ เกิ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ สกว่ า ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า 5Ni3Cl-AlSa และทั้ ง 2 ตั ว ไม่ เป็ น ไขเมื่ อ ทิ้ ง ไว้ ที่
อุณหภูมิห้องและสาหรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจาเป็นต้องวิเคราะห์ เทคนิคโครมาโตกราฟี อีกครั้ง
เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุลของสารต่อไป
53

จากภาพที่ 4.2.2 ผลิตภัณฑ์ที่ได้ทั้งหมด จะสังเกตว่าสีของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกระบวนการ


Hydroprocessing โด ย ใช้ ตั ว เร่ งป ฏิ กิ ริ ย า 5Ni-AlSa, 5Ni3Cl- AlSa, 0 .5 Pt-AlSa, 1 Ir-AlSa,
10Ni1Cl-AlSa และที่ ไม่ ได้ ใ ช้ ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า (No Cat.) มี สี ที่ ใสขึ้ น จากสารตั้ ง ต้ น (HDCB) และ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa มีสีเหลืองใส นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ทุกตัวเป็นของเหลว
ที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งต่างจากสารตั้งต้นที่มีลักษณะเป็นไข และจากตารางที่ 4.3 เป็นการสรุปผลของการ
วิเคราะห์ปริมาณเชื้อเพลิง และสารหล่อลื่นโดยแบ่ง ตามความยาวของสารไฮโดรคาร์บอน ค่าการ
ประมาณไหลเท จากการทดสอบโดยการวัด ค่าพลังงานความร้อนและอุ ณ หภู มิ ของสารตัวอย่าง
เปรียบเที ยบกับสารมาตรฐานเมื่ อมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
(Differential scanning calorimeter - DSC) ของผลิตภัณฑ์จากตัวเร่งปฏิกิริยาแต่ละตัว

ตารางที่ 4.3 ผลรวมของการทดสอบตัวอย่างที่ได้จากการดาเนินการ

ลักษณะสายโซ่โมเลกุล
การกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ (%) การประมาณจุด
คาร์บอน C16-C34 (%)
ตัวเร่งปฏิกิริยา ไหลเทจาก DSC
เชื้อเพลิงเหลว น้ามันหล่อลื่น แบบเส้นตรง แบบกิ่ง (oC)
C5-C20 C21-C44+ (Normal) (Branch)
HDCB Feed 2 98 44 56 31
No Catalyst 5 95 43 57 20
5Ni-AlSa 17 83 44 56 20
0.5Pt-AlSa 15 85 41 59 23
1Ir-AlSa 17 83 40 60 18
5Ni3Cl-AlSa 40 60 43 57 17
10Ni1Cl-AlSa 19 81 42 58 20
54

ภาพที่ 4.2 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการ Catalytic dewaxing


จากการใช้โลหะชนิดต่าง ๆ บนตัวรองรับอลูมินา

จากภาพที่ 4.2 สามารถสรุปได้ว่า การไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา (No Cat.) ทาให้ เกิดการ


แตกหักของสายโซ่โมเลกุล เพียงเล็กน้อยเท่านั้นเมื่อเที่ยบกับสารตั้งต้นและการทดสอบการเพิ่มโลหะ
ชนิ ด ต่าง ๆ เช่น 5Ni, 0.5Pt และ 1Ir ลงบนตัวรองรับ อลูมิ น าส่งผลให้ เกิดการแตกหั กของสายโซ่
โมเลกุลไปเป็นแก๊สโซลีน (Gasoline) ประมาณ 10% ซึ่งโดยภาพรวมทั้งหมดแล้วโลหะทั้งสามตัวเกิด
การแตกหักของสายโซ่โมเลกุลในปริมาณที่คล้ายกัน
นอกจากการพิจารณาแตกหักของสายโซ่โมเลกุลแล้วเรายังจาเป็นต้องศึกษาการเกิดกิ่ง
หรือไอโซเมอร์ของสารด้วย เนื่องจากมีผลต่อคุณสมบัติสาคัญที่ส่งผลให้เชื้อเพลิงและน้ามันหล่อลื่น
สามารถทนต่ อสภาวะอุ ณ หภู มิ ต่าได้ เพื่ อการใช้งานที่ กว้างของผลิ ตภั ณ ฑ์ ในการศึก ษาเราจะใช้
ตั ว อย่ า งที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษาการกระจายตั ว ของสารไฮโดรคาร์ บ อน เราสามารถแยกระหว่ า ง
ไฮโดรคาร์บ อนโครงสร้างแบบสายโซ่ ตรง (Normal chain) และโครงสร้างแบบกิ่งหรือไอโซเมอร์
(Branch or isomer chain) ซึ่งในการแยกเราจะทาการแยกเฉพาะจานวนคาร์บอน C16 ถึงจานวน
คาร์บอน C34 เท่านั้น เนื่องจากกราฟโครมาโทกราฟี ของการทดสอบ GC-Simdist มีความชัดเจน
ในช่วงนี้ สาหรับผลของการแยกแสดงดังภาพที่ 4.3 ซึ่งสรุปได้ว่า ผลของการใส่โลหะบนตัวรองรับอลูมิ
นาส่งผลให้เกิดกิ่งเพียงเล็กน้อยเท่านั้นเมื่อเทียบกับสารตั้งต้น และการเติม 1Ir เกิดกิ่งมากที่สุดคือ 7%
โดยประมาณ สาหรับ 0.5Pt เกิดรองลงมาและ 5Ni ไม่ได้ทาให้เกิดกิ่งเพิ่มเมื่อเทียบกับสารตั้งต้น
55

ภาพที่ 4.3 การเกิดโครงสร้างแบบกิ่งและแบบเส้นตรงของคาร์บอน C16-C34 จากผลิตภัณฑ์


จากการใช้โลหะชนิดต่าง ๆ บนตัวรองรับอลูมินา

หลังจากการทดสอบการเติมโลหะ นิกเกิล, แพลทินัม และอิริเดียม ลงบนตัวรองรับอลูมิ


นา และพิจารณาผลิตภัณฑ์ที่ได้โดยการวิเคราะห์ การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนและการเกิด
โครงสร้างแบบกิ่งและแบบเส้นตรงของคาร์บอนทาให้ทราบว่าโลหะทั้งสามตัวส่งผลกระทบที่คล้ายกัน
มาก ดังนั้นเราจะทาการเลือกโลหะนิกเกิลมาทาการทดลองในขั้นต่อไป เนื่องจากโลหะนิกเกิลมีราคาที่
ถูกกว่าเมื่อเทียบกับแพลทินัมและอิริเดียม ทาให้มีความเป็นไปได้ในทางอุตสาหกรรมมากกว่า การ
ทดสอบต่อไปคือการศึกษาผลกระทบของกรด โดยเราจะทาการเพิ่มคลอรีน (Cl) ลงบนตัวรองรับ 5Ni-
AlSa อัตราส่วนของกรดที่ใช้จะใช้ 3% ใน 5Ni-AlSa ซึ่งจะได้ตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa และใน
การทดสอบครั้งนี้เราจะทาการเพิ่มปริมาณจาก 5Ni เป็น 10Ni และใส่คลอรีน 1% ใน 10Ni-AlSa
เพื่อศึกษาผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของโลหะนิกเกิลและการลดลงของกรดคลอรีนดังจะได้ตัวเร่ง
ปฏิกิริยา 10Ni1Cl-AlSa
เมื่อได้ตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa และ 10Ni1Cl-AlSa เราจะใช้ในกระบวนการคะ
ตะไลติกแครกกิ้งที่สภาวะเดียวกัน คือ อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส, ความดัน 35 บาร์, ปริมาณอัตรา
การไหลของสารตั้งต้น 0.018 ต่อชั่วโมง และนาผลิตภัณฑ์มาทดสอบ GC-Simdist เพื่อวิเคราะห์การ
กระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนและการเกิดโครงสร้างแบบกิ่งและแบบเส้นตรงของคาร์บอนจาก
ผลิตภัณฑ์
56

ภาพที่ 4.4 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการ Catalytic dewaxing โดยศึกษา


ผลกระทบของกรด

ภาพที่ 4.5 ค่าการกลั่นของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการ Catalytic dewaxing โดยศึกษา


ผลกระทบของกรด
57

จากภาพที่ 4.4 จะเห็นได้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa เมื่อเพิ่มความเป็นกรดโดยใช้ 3Cl


พบว่า เกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลเพิ่มขึ้นจากการใส่โลหะเพียงอย่างเดียว โดยเพิ่มการแตกหัก
23% โดยประมาณ ซึ่งทาให้เกิดคาร์บอนในส่วนของเชื้อเพลิงแก๊สโซลีนและดีเซลเพิ่มมากขึ้นโดยรวม
ประมาณ 40% และสารหล่อลื่น 60% โดยประมาณ และเมื่อพิจารณาตัวเร่งปฏิกิริยา 10Ni1Cl-AlSa
เมื่อเพิ่มโลหะ 10Ni และลดครอรีนเหลือ 1Cl พบว่าเกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลที่ลดลงโดยเกิด
มากกว่าตัวเร่ง 5Ni-AlSa เพียง 4% เท่านั้น ซึ่งสรุปได้ว่าทั้งการใส่โลหะนิกเกิลและกรดคลอรีนทาให้
เกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลและการเพิ่มปริมาณโลหะนิกเกิลจาก 5Ni เป็น 10Ni ไม่ได้ส่งผลกับ
การแตกหักมากนัก แต่การลดลงของกรดจาก 3Cl เป็น 1Cl ทาให้การเกิดการแตกหักลดลงมาก ซึ่ง
แสดงให้เห็นว่าปริมาณกรดมีผลต่อการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลเป็นอย่างมาก
หลังจากที่เราทราบผลกระทบของการใส่กรดและโลหะลงไปในตัวเร่งปฏิกิริยาแล้วต่อไปเรา
จะพิจารณาในรายละเอียดของจานวนคาร์บอนเพื่อให้ทราบว่าเกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลตรง
จานวนคาร์บอนใดมากที่สุดและน้อยที่สุด ซึ่งเป็นการบ่งบอกถึงความเหมาะสมของตัวเร่งปฏิกิริยาต่อ
ความยาวของสายโซ่โมเลกุล จากภาพที่ 4.6 จะเห็นได้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni-AlSa ทาให้ เกิดการ
แตกหักของสายโซ่โมเลกุลมากในช่วง C31-C34, C35-C38, C39-C42 และ >C42 ตามลาดับ และทา
ให้ช่วง C5-C10, C23-C26 และ C19-C22 เพิ่มมากขึ้นตามลาดับ และตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa
ทาให้เกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุล มากในช่วง C31-C34, C27-C30, C35-C38 และ >C42 ซึ่ง
จะสังเกตุได้ว่าทั้ งตัวเร่ง 5Ni-AlSa และ 5Ni3Cl-AlSa จะทาให้เกิด การแตกหักของสายโซ่โมเลกุล
จ านวนคาร์บ อนตั้ งแต่ C30 เป็ น ต้ น ไปโดยประมาณ ส าหรับ การแตกของสายโซ่ โมเลกุ ล สั้ น จะ
วิเคราะห์ได้อยากเนื่องจากการแตกของสายโซ่โมเลกุลมีการกระจ่ายตัวไม่แน่นอน
58

ภาพที่ 4.6 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการ Catalytic dewaxing โดยศึกษา


ผลกระทบของกรด

ภาพที่ 4.7 การเกิดโครงสร้างแบบกิ่งและแบบเส้นตรงของคาร์บอน C16-C32 จากผลิตภัณฑ์


59

และเมื่อมองภาพรวมของการเกิดกิ่งทั้งหมดจะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงจากสารตั้งต้นเพียงเล็กน้อย
เท่ า นั้ น ดั งภาพที่ 4.7 แต่ เนื่ อ งจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ได้ จ ากตั ว เร่ง ปฏิ กิ ริ ย า 5Ni3Cl-AlSa เกิ ด จ านวน
คาร์บอนเบาเป็นจานวนมากจากการแตกหักของสายโซ่โมเลกุล ซึ่งคาร์บอนที่ได้อยู่ ในช่วง C5-C20
ดังนั้นจึงทาการวิเคราะห์คาร์บอนหลังจากการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลว่าเกิดแบบโครงสร้างสายโซ
ตรงหรือกิ่งในอัตราส่วนต่างกันเท่าไร ดังภาพที่ 4.8

ภาพที่ 4.8 อัตราส่วนโครงสร้างแบบกิ่งต่อแบบเส้นตรงของคาร์บอน C12-C20 จากผลิตภัณฑ์ของ


ตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa

เมื่อพริจารณาเฉพาะผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงของตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-AlSa ดังภาพที่ 4.8


พบว่าการเกิดกิ่งของสายโซ่โมเลกุลจะเกิดมากใช้ช่วงความยาว C12-C19 ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นผลการ
รูพรุนของตัวรองรับอลูมินา เนื่องจากการเกิดปฏิกิริยาส่วนใหญ่จะเกิดในรูพรุน เมื่อรูพรุนมีขนาดเล็ก
สายโซ่โมเลกุลที่ยาวมาก ๆ จะไม่สามารถเข้าไปทาปฏิกิริยาได้ ดังนั้นจานวนคาร์บอนที่มีสายโซ่
โมเลกุลสั้นกว่าจึงเกิดกิ่งได้ดี ซึ่งผลที่ได้สอดคล้องกับงานวิจัยก่อนหน้านี้ ที่ศึกษาการเกิดปฏิกิริยาไอโซ
เมอไรเซชันกับน้ามันดีเซลชีวภาพสังเคราะห์ (Bio Hydrogenated Diesel : BHD) โดยช่วงคาร์บอน
ที่เกิดปฏิกิริยาได้ดีเป็นช่วงเดียวกันคือ C15-C18 โดยประมาณ22
60

และเมื่อนาผลิตภัณฑ์ที่ได้ทั้งหมดมาตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของสารโดยอาศัยคุณสมบัติ
ทางความร้อน (Differential Scanning Calorimetry; DSC) ดังภาพที่ 4.9 จะพบว่าสารตั้งต้นมีค่า
อุณหภูมิสูงที่สุด คือ 31 องศาเซลเซียส และการไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริย (No Cat.) กับการใช้ตัวเร่ง 5Ni-
AlSa และ 10Ni1C-AlSa ได้ ผ ลที่ เท่ ากั น คื อ 20 องศาเซลเซี ย ส ส าหรับ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ได้ จ ากตั วเร่ ง
5Ni3Cl-AlSa มีค่าอุณหภูมิต่าที่สุด คือ 17 องศาเซลเซียส ซึ่งผลที่ได้มีความสอดคล้องกับผลจากการ
หาองค์ประกอบสารไฮโดรคาร์บอนโดยเทคนิคแก๊สโครมาโตรกราฟี แสดงให้เห็นว่าการเกิดกิ่งของสาย
โซ่โมเลกุลทาให้จุดเยือกแข็งหรือจุดไหลเทลดลงได้ ส่งผลให้การใช้งานได้กว้างขึ้นในสภาพอากาศต่าง
ๆ ที่ลดต่าลง

ภาพที่ 4.9 การประมาณจุดไหลเทผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการ Catalytic dewaxing


ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni-AlSa, 10Ni1C-AlSa และ 5Ni3Cl-AlSa
61

บทที่ 5
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการทดลอง

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาอิทธิพลของความเป็นกรดและโลหะบนตัวเร่งปฏกิริยาอลูมินา
กับการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้งและไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน สาหรับผลิตน้ามันเชื้อเพลิงและสาร
หล่อลื่นจากสารตั้งต้นไฮโดรไฮแครกเกอร์บอททอม สิ่งที่น่าสนใจมีดังต่อไปนี้
5.1.1 การการศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของโลหะ 3 ชนิ ด ที่ นิ ย มใช้ กั น มากที่ สุ ด คื อ นิ ก เกิ ล
แพลทินัมและอิริเดียม โดยโหลดลงไปบนตัวรองรับอลูมินา ดังนี้ 5Ni-AlSa, 0.1Pt-AlSa และ 1Ir-
AlSa ซึ่งพบว่าทาให้เกิดการแตกหักของสายโซ่ โมเลกุลเพียงเล็กน้อย โดยเกิดเป็นแก๊สโซลีน C5-C14
เพียง 10% โดยประมาณ ซึ่งโลหะทั้ง 3 ชนิดให้ผลที่เหมือนกัน และจากสภาวะที่ใช้ในการทดสอบ
คือ อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส, ความดัน 35 บาร์และปริมาณอัตราการไหลของสารตั้งต้น 0.018
ต่อชั่วโมง ส่งผลให้เกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลเพียงเล็กน้อย โดยทาให้ C45+ ที่มีอยู่ 2% เกิด
การแตกหั ก และ C15-C20 เพิ่ ม มา 3% สาหรับ การเกิด ไอโซเมอไรเซชัน นั้ น โลหะแพลทิ นั ม และ
อิริเดียมทาให้ไอโซเมอร์เพิ่มมา 3-4% ส่วนโลหะนิกเกิลไม่ส่งผลให้เกิดไอโซเมอร์
5.1.2 การศึกษาอิทธิพลของกรด โดยใช้คลอรีนซึ่งจะถูกโหลดลงไปบนตัวรองรับอลูมินา
ที่มีการโหลดโลหะนิกเกิลไว้ก่อนแล้ว ดังนี้ 5Ni3Cl-AlSa และ 10Ni1Cl-AlSa จากการศึกษาพบว่า
กรดมีอิทธิพลทาให้เกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลเพิ่มมากขึ้นและเปอร์เซ็นกรดที่มากขึ้นส่งผลให้
เกิดการแตกหักที่มากขึ้นด้วย โดยการเติม 3Cl ส่งผลให้เกิดการแตกหักเพึ่มขึ้น 23% โดยประมาณ
แบ่งเป็นเกิดเป็นแก๊สโซลีน 13% และดีเซล 10% และจากผลการเพิ่มโลหะนิกเกิลเป็นหนึ่งเท่าตัว
(10%Ni) พบว่าผลการแตกหักของสายโซ่ โมเลกุล ที่ได้ไม่แตกต่างจากการเติม 5%Ni มากนัก เมื่อ
พิจารณาภาพรวมของการเกิดไอโซเมอไรเซชันพบว่าเกิดเพียงเล็กน้อย โดยคิดจาก C16-C32 เท่านั้น
เนื่องจากเป็นจานวนคาร์บอนที่มีเหมือนกันทุกตัวและจานวนคาร์บอนที่มากกว่า C32 ผลการทดสอบ
โครมาโทกราฟีไม่สามารถแยกไอโซเมอร์ออกได้ แต่เมื่อพิจารณาเฉพาะคาร์บอนเบา C12-C20 ผลที่
ได้จากตัวเร่ง 5Ni3Cl-AlSa จึงพบว่าเกิดไอโซเมอร์เพิ่มขึ้น โดยคิดเป็น 69% ของ C12-C20 ซึ่งแสดง
ให้เห็นว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้มีความเหมาะสมเฉพาะคาร์บอนเบาที่ต่ากว่า C20 เพราะถ้าสูงกว่านี้จะ
ไม่ค่อยเห็นผลที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันอย่างชัดเจน
62

5.2 ข้อเสนอแนะ

จากผลของงานวิจัยจะเห็นได้ว่าการเกิดปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันจะเกิดได้ดีในจานวน
คาร์บ อนสายโซ่ สั้ น เช่น C12-C20 และจากการศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม พบว่านอกจากความเป็ น กรดและ
อิทธิพลของโลหะของตัวเร่งปฏิกิริยาจะส่งผลต่อการเกิดปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันแล้ว ลักษณะของ
ตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น พื้นที่ผิวหรือรูพรุน ของตัวรองรับก็ส่งผลเช่นเดียวกัน ดังนั้นการทดลองสาหรับ
ลักษณะของตัวเร่งที่ ต่างออกไปอาจจะสามารถท าให้เกิดการตอบสนองหรือเกิดปฏิ กิริยากับ สาร
ไฮโดรคาร์บอนสายโซ่ยาวได้
63

รายการอ้างอิง

1. สถานการณ์พลังงานและการใช้พลังงานต่อสิ่งแวดล้อม (Situation Energy) [อินเทอร์เน็ต].


กรุงเทพมหานคร: กระทรวงพลังงาน, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2555 [สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2558].
จาก: http://www.thailandenergyeducation.com/assets/media/A002.pdf
2. 2012 แนวโน้มพลังงานโลก – ภาพรวมถึงปี 2040 [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: ฝ่าย
กิจกรรมองค์กรและรัฐกิจสัมพันธ์ , บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน); 2555 [สืบค้นเมื่อ
วันที่ 20 ส.ค. 2558]. จาก: http://www.esso.co.th/Thailand-Thai/PA/Files/2012eo_thai.pdf
3. แผนปฏิ บั ติ ร าชการสี่ ปี แ ละแผนปฏิ บั ติ ร าชการประจ าปี พ.ศ. 2558 [อิ น เทอร์ เน็ ต ].
กรุงเทพมหานคร: กระทรวงพลังงาน, สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน; 2557 [สืบค้นเมื่อวันที่ 20
ส.ค. 2558]. จาก: http://www.eppo.go.th/doc/4yrs-2558/4yrs-2558.pdf
4. World energy outlook 2013 [Internet]. France: International Energy Agency;
2012 [cited 2015 Aug 20]. Available from:
https://www.iea.org/Textbase/npsum/WEO2013SUM.pdf
5. Energy and Fuel Trends for Transportation A View to 2040 [Internet]. Texas:
Exxon Mobil Corporation; 2012 [cited 2015 Aug 20]. Available from:
https://www.ceps.eu/sites/default/files/Kelecom_.pdf
6. สรุปสถานการณ์พลังงานของประเทศไทย มกราคม – พฤษภาคม 2558 [อินเทอร์เน็ต].
กรุงเทพมหานคร: กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน; 2557 [สืบค้น
เมื่อวันที่ 8 ก.ย 2558]. จาก:
http://www4.dede.go.th/dede/images/stories/stat_dede/sit_58/sit_jan_may.pdf
7. ประเสริฐ เทียนนิมิต, ขวัญชัย สินทิพย์สมบูรณ์, ปานเพชร ชินินทร. เชื้อเพลิงและสารหล่อ
ลื่น. กรุงเทพมหานคร: บริษทั วี.พริ้นท์ (1991) จากัด; 2554.
8. ANNEX E-API BASE OIL INTERCHANGEABILITY GUIDELINES FOR PASSENGER CAR
MOTOR OILS AND DIESEL ENGINE OILS [Internet]. Washington: American Petroleum
Institute; 2015 [cited 2015 Mar 10] Available from:
http://www.api.org/~/media/Files/Certification/Engine-Oil-Diesel/Publications/AnnE-
REV-03-25-15.pdf?la=en
9. Castaneda LC, Munoz AD, Ancheyta J. Current situation of emerging
technologies for upgrading of heavy oils. Catalysis Today. 2014;220-222:248-73.
64

10. Yaws CL. Transport Properties of Chemicals and Hydrocarbons (2th ed).
Waltham: Elsevier; 2014.
11. Murzin DY. Cracking Chemical Reaction Technology. Finland: Walter de
Gruyter GmbH & Co K; 2015.
12. Beychok M. Schematic flow diagram of a typical hydrocracker [Internet]. US:
Citizendium; 2009 [cited 13 Feb 2015] Available from:
http://en.citizendium.org/wiki/File:Hydrocracking_process.png
13. Pirro MD, Webster M, Daschner E. Lubrication Fundamentals (3th ed). Boca
Raton: CRC Press; 2016.
14. Huve LG, Szynkarczuk R, Robinson M. Dewaxing Challenging Paraffinic Feeds in
North America [Internet]. Florida: American Fuel & Petrochemical Manufacturers; 2014
[cited 2015 Mar 10] Available from:
http://www.aiche.org/academy/videos/conference-presentations/dewaxing-
challenging-paraffinic-feeds-north-america
15. Wise J.J, Katzer J.R, Chen NY. Catalytic Dewaxing in Petroleum Processing.
Washington: American Chemical Society National Meeting; 1986
16. Yaws CL. The Yaws Handbook of Physical Properties for Hydrocarbons and
Chemicals (2th ed). Texas: Gulf Professional Publishing; 2015.
17. Furimsky E. Catalysts for Upgrading Heavy Petroleum Feeds. Canada: Elsevier;
2007.
18. Zhijian T, LIANG D, LIN L. Research and Development of Hydroisomerization
and Hydrocracking Catalysts in Dalian Institute of Chemical Physics (DICP). Chinese
Journal of Catalysis. 2009;30(8):705-10
19. Cejka G, Corma A, Zones S. Zeolites and Catalysis Synthesis. Weinheim:
WILEY-VCH Verlag GmbH & Co. KGaA; 2010.
20. Gong, S., Chen, N., Nakayama S, Qian EW. Isomerization of n-alkanes derived
from jatropha oil over bifunctional catalysts. Journal of molecular catalysis a
chemical. 2013;370:14-21.
65

21. Mironenko RM, Belskaya OB, Talsi VP, Gulyaeva TI, Kazakov MO, Nizovskii AI, et
al. Effect of y-Al2O3 hydrothermal treatment on the formation and properties of
platinum sites in Pt/y-Al2O3 catalysts. Applied Catalysis A: General. 2014;469:472-82
22. Santikunaporn M. Isomerization of Bio Hydrogenated Diesel on gamma
alumina. (Master’s thesis). Pathumthani: Thammasat University, Faculty of
Engineering; 2013
23. Santikunaporn M. Restructuring Hydrowax to High Quality Base Oil. (Master’s
thesis). Pathumthani: Thammasat University, Faculty of Engineering; 2012.
24. Linga H, Wangb Q, Shena B. Hydroisomerization and hydrocracking of
hydrocracker bottom for producing lube base oil. Fuel Processing Technology.
2009;90(4 Suppl):531-5.
25. Rezgui Y, Guemini M. Hydroisomerization of n-decane over Ni–Pt–W
supported on amorphous silica–alumina catalysts. Applied Catalysis A: General.
2010;374(1-2 Suppl):31-40
26. The HT severe hydrocracking makes the difference [Internet]. Canada: Petro-
Canada Lubricants; 2013 [cited 2015 Feb 13] Available from: http://lubricants.petro-
canada.ca/resource/download.aspx?type=Tech Data&id=IM-6502E&language=en
27. Daage M. Base oil Production and Processing [Internet]. Texas: ExxonMobil
presentation; 2001 [cited 2015 Feb 13] Available from:
http://www.prod.exxonmobil.com/reffiningtechnologies/pdf/base_oil_refining_lubes_
daage_france070601.pdf
28. European Base Oils & Lubricants Agenda Committee. Surrey: R David Whitby,
Chief Executive, Pathmaster Marketing Ltd; 2009.
29. สุจินต์ พราวพันธุ.์ อะลูมินากับการนาไปใช้งานทางเซรามิก [อินเทอร์เน็ต]. ลาปาง: ศูนย์วิจัย
และพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก; 2545 [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ส.ค. 2558] จาก:
http://www.dss.go.th/images/st-article/ct_2_2545_alumina.pdf
30. ASTM International. ASTM D6352 – 12 Standard Test Method for Boiling Range
Distribution of Petroleum Distillates in Boiling Range from 174 to 700°C by Gas
Chromatography. Pennsylvania: Annual Book of ASTM Standards; 2009.
66

31. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์, นิธิยา รัตนาปนนท์. Differential scanning calorimeter ดิฟเฟอ


เรนเชียลสแกนนิงแคลอริมิเตอร์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: .ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหารครบ
วงจร; 2553 [สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2558]. จาก:
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2606/differential-scanning-
calorimeter-ดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิงแคลอริมิเตอร์
32. สุพะไชย์ จินดาวุฒิกุล. การวัดพื้นที่ผิวจาเพาะและปริมาตรรูพรุนของวัสดุดูดซับ. วารสาร
กรมวิทยาศาสตร์บริการ. พ.ค. 2555;60(189):22-4
33. อาทิตย์ อัศวสุข.ี การวิเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาโดยเทคนิคการโปรแกรมอุณหภูมิ. วารสาร
วิทยาศาสตร์ มข. 2557;42(1):38-52.
ภาคผนวก
68

ภาคผนวก ก
วิธีการคานวณ

การคานวณปริมาณการใช้ กรดไฮโดรคลอริก (HCl) และ นิคเกิลไนเตรท (Ni (NO3)2


6H2O) เพื่อเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni3Cl-Al2O3

1. การเตรียม 3Cl-Al2O3
หานาหนักโมเลกุลของคลอรีนและกรดไฮโดรคลอริกซึ่งมีค่าเท่ากับ 35.5 และ 36.5
ตามลาดับ
เตรียม Al2O3 100 กรัม ค่าการดูดซึมนา 40 กรัม
คลอรีน 35.5 กรัม จากกรดไฮโดรคลอริก 36.5 กรัม
36.5
ต้องการ คลอรีน 3 กรัม เตรียมจาก ×3 กรัม
35.5

ดังนันต้องเตรียม กรดไฮโดรคลอ 3.08 กรัม ในนา 40 กรัม


เพื่อนาไปใช้ในวิธกี ารเอิบชุ่มแบบเปียก (Wet impregnation) ใน Al2O3 100 กรัม
ต่อไป

2. การเตรียม 5Ni3Cl-Al2O3
หลังจากได้ 3Cl-Al2O3 นามาเตรียม 5Ni ต่อไป โดยใช้ นาหนักโมเลกุล ของนิคเกิล
และนิคเกิลไนเตรท ซึ่งมีค่า 58.69 และ 290.81 ตามลาดับ
เตรียม 3Cl-Al2O3 100 กรัม ค่าการดูดซึมนา 40 กรัม
นิคเกิล 58.69 กรัม จากนิคเกิลไนเตรท 290.81 กรัม
290.81
ต้องการ นิคเกิล 5 กรัม เตรียมจาก ×5 กรัม
58.69
ดังนันต้องเตรียม นิคเกิลไนเตรท 24.78 กรัม ในนา 40 กรัม
เพื่อนาไปใช้ในวิธกี ารเอิบชุ่มแบบเปียก (Wet impregnation) ใน 3Cl-Al2O3 100 กรัม
ต่อไป
69

ภาคผนวก ข
สภาวะเหมาะสมที่ใช้ในการทาวิจัย

จากงานวิ จั ย “การปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งโมเลกุ ล ของไฮโดรแวกส์ เ พื่ อ ผลิ ต เป็ น


นามันหล่อลื่ นพื นฐานคุณ ภาพสู ง (2555)” ได้มีการศึกษาผลของอัตราสารป้อนต่อปริมาณตัวเร่ง
ปฏิกิริยาในปฏิกรณ์ โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 5Ni/5F-Al2O3-China ตัวแปลที่ทาการศึกษาคือ 0.17,
0.22 และ 0.26 ต่อชั่วโมง ความดัน 35 บาร์ อุณหภูมิ 380 องศาเซลเซียส และ 0.018, 0.07, 0.20
และ 0.32 ต่อชั่วโมง ความดัน 35 บาร์ อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ผลการวิจัยเป็นดังนี

ตารางที่ ข.1 สรุปผลสภาวะในการทดลองการปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลของไฮโดรแวกส์(17)

Temperature, OC T380 T300


Unit Feed
LHSV, h-1 0.17 0.22 0.26 0.018 0.07 0.13 0.20 0.32
Distribution
C5-C10 %wt. 0.00 14.24 8.78 7.72 2.39 1.83 1.94 1.76 1.63
C11-C16 %wt. 0.32 30.66 17.04 13.27 1.09 1.29 0.94 0.91 0.88
C17-C22 %wt. 12.09 27.08 25.24 21.30 13.20 12.08 12.50 12.10 12.05
C23-C28 %wt. 46.68 23.30 36.92 40.52 44.75 46.53 46.89 47.17 49.60
C29-C34 %wt. 30.39 4.73 11.72 15.40 31.20 28.26 28.54 29.18 28.62
C35-C54 %wt. 10.53 0.00 0.00 0.00 6.75 10.27 9.17 8.89 9.68
Viscosity 40 oC mm2/s 17.10 2.70 4.90 6.00 14.80 16.50 15.40 16.80 16.90
Viscosity 100 oC mm2/s 4.00 1.10 1.70 2.00 3.50 4.00 3.90 4.00 4.00
Viscosity index 131 N/a N/a N/a 120 143 161 136 137
Estimated temperature oC 30.90 1.10 9.20 13.50 12.10 34.40 33.20 32.70 31.60
(Tetm)

จากผลการทดลองข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า ผลการศึกษาสภาวะที่ดีที่สุดในการทดลอง
คือ อัตราสารป้อนต่อปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 0.018 ต่อชั่วโมง ความดัน 35 บาร์ และอุณหภูมิ 300
องศาเซลเซียส ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมีค่าดัชนีความหนืดเท่ากับ 120 ซึ่งอยู่ในช่วงของนามันหล่อลื่นกลุ่มที่
3 และค่าจุดไหลเทมีค่า 12.10 องศาเซลเซียส ลักษณะของผลิตภัณฑ์สีใส ไม่มีสี และไม่เป็นไข การ
กระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนอยู่ในช่วงนามันหล่อลื่น โดยแบ่งเป็น นามันหล่อลื่น 82.7 เปอร์เซ็น
และนามันเชือเพลิง 17.3 เปอร์เซ็น
70

ภาคผนวก ค
การทดลองเพิ่มเติม

จากผลการวิจยั จะเห็นว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีความเป็นกรดจะส่งผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
ไฮโดรไอโซเมอไรเซชันและไฮโดรแครกกิงได้ดี ซึ่งกรดที่เราใช้ในงานวิจัยคือ คลอรีน และเนื่องจากยังมี
กรดชนิดอื่นที่ยังไม่ได้มีการทดลอง เช่น ฟลูออรีน จึงได้มีการทดลองเพิ่มเติมเพื่อดูผลกระทบที่เกิดขึน
โดยการทดลองที่เพิ่มเติมจะใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 10Ni5F-AlSa ที่สภาวะในการทดสอบคือ อัตราสาร
ป้อนต่อปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 0.018 ต่อชั่วโมง ความดัน 35 บาร์ และอุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส
ในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดคงที่ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ฟลูออรีน (F) เมื่อเทียบกับคลอรีน
(Cl)ผลการทดลองเป็นดังนี

ภาพที่ ค.1 การกระจายตัวของสารไฮโดรคาร์บอนจากการบวนการ Catalytic dewaxing


จากการวิเคราะห์หาองค์ประกอบสารไฮโดรคาร์บอนโดยเทคนิคแก๊สโครมาโตรกราฟี (GC-Simdist)
โดยแบ่งคาร์บอนนัมเบอร์ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ Gasoline C5-C14, Diesel C15-C20, Base oil C21-
C44 และ Bottom C44 ขึ นไป จากผลการทดลองของตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า 10Ni5F-AlSa จะเห็ น ว่ า
ใกล้เคียงกับ 5Ni3Cl-AlSa คือเกิดการแตกหักของสายโซ่โมเลกุลประมาณ 44 เปอร์เซ็น และ 39.7
เปอร์เซ็น ตามลาดับ โดยตัวเร่งปฏิกิริยา 10Ni5F-AlSa ทาให้เกิดนามันดีเซลมากกว่าตัวเร่งปฏิกิริยา
5Ni3Cl-AlSa 6 เปอร์เซ็น โดยประมาณ
71

ภาคผนวก ง
การวิเคราะห์ผลการทดสอบ

1. การวิเคราะห์ผล GC-Simdist

ภาพที่ ง.1 กราฟโครมาโตรกราฟีจากการทดสอบ GC-Simdist

ผลจากการทดสอบ GC-Simdist จะแสดงเป็นกราฟและเปอร์เซ็นของคาร์บอนแต่ละตัว


ที่ เครื่องสามารถวิเคราะห์ ได้ เมื่ อเที ยบกับ สารมาตรฐาน (สารมาตรฐานจะเป็ น n-paraffin เลขคู่
ทังหมด) หลังจากนันเราจะแยกส่วนที่เป็น n-paraffin และ non-paraffin ออกจากกันโดยพีคที่ขึน
ตรงกั บ สารมาตรฐานถื อ ว่าเป็ น n-paraffin หรือ สายโซ่ แ บบเส้ น ตรงและสารที่ ขึ นไม่ ต รงกั บ สาร
มาตรฐานเราจะถือว่าเป็นโครงสร้างแบบ non-paraffin หรือไอโซเมอร์ หลังจากนันจะรวมผลที่ได้
หลังจากการแยกรูปแบบของโมเลกุลเพื่อทาการเปลี่ยบเทียบแต่ละสภาวะที่ทาการทดลองต่อไป
72

2. การวิเคราะห์ผล Differential scanning calorimetry

ภาพที่ ง.2 กราฟโครมาโตรกราฟีจากการทดสอบ Differential scanning calorimetry

การวิเคราะห์ผล DSC ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เพื่อบ่งบอกถึงอุณหภูมิการเปลี่ยนสถานะ


ของสาร เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะ จะปรากฏพีคการคายหรือการดูดพลังงานเกิดขึน และ
ตรงจุด Onset จะเป็นจุดที่สารเริ่มการเปลี่ยนสถานะ เราจึงเอาจุด Onset เป็นจุดของการประมาณ
ค่าการไหลเทของสาร
73

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ นาย รังสรรค์ รุ่งเรืองศรี


วันเดือนปีเกิด 29 กรกฏาคม 2530
วุฒิการศึกษา ปีการศึกษา 2553: วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
(วิศวกรรมพลาสติก), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี
ตาแหน่ง ผู้ช่วยวิจัย
บริษัท ปตท. จากัด มหาชน

ผลงานทางวิชาการ

รังสรรค์ รุ่งเรืองศรี และ มาลี สันติคุณาภรณ์ (2558). การกาจัดไขด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของ


สารไฮโดแครกเกอร์บอททอม เพื่อการผลิตน้ามันเชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น. งานประชุมวิชาการระดับ
นานาชาติเกี่ยวกับสารเคมีชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (ICCBES 2558) ประเทศญี่ปุ่น.

ประสบการณ์ทางาน 2555-ปัจจุบัน : ผู้ช่วยวิจัย


บริษัท ปตท. จากัด มหาชน
2553-2554 : ผู้ช่วยวิจัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

You might also like