You are on page 1of 41

กลุ่มที่

สมาชิก
นายตันติกร อุดชาชน ม.4/3 เลขที่ 7
นายธงเทพ วงษ์หงษ์ ม.4/3 เลขที่ 10
นางสาวอินทุอร สุนาพันธ์ ม.4/3 เลขที่ 32
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
พันธุกรรมของยีนพูลในประชากร

วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

อาจทำให้เกิดสปีชีส์ใหม่ขึ้น
ความหมายของสปีชีส์
การแยกเหตุการสืบพันธุ์
ความหมายของสปีชีส์
หมายของสปีชีส์
ความ
ในบางครั้งเราสามารถจำแนกสิ่งมีชีวิตว่า สิ่งมีชีวิตนี้เป็นสิ่งมีชีวิตหรือสปีชีส์ เดียวกันโดยดูจากลักษณะ
ภายนอก แต่บางครั้งการพิจรณาจากลักษณะภายนอกอาจไม่เพียงพอในการระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต

Sturnella magna Sturnella neglecta

พบว่านกทั้งสองมีเสียงร้องที่แตกต่างกันในขณะที่มีการผสมพันธุ์
นกทั้งสองจึงไม่สามารถผสมพันธุ์ข้ามชนิดและจัดอยู่คนละสปีชีส์กัน
ความหมายของสปีชีส์

สปีชีส์ (species) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธาน


จากการจัดอนุกรมวิธานเรียงกันอย่่างเป็นหมวดหมู่ทำให้เห็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ
ที่อยู่บนโลกได้ง่ายขึ้นว่าชนิดใดมีความใกล้เคียงกับชนิดใดอย่างแท้จริงบ้าง


มีความใกล้เคียงกัน
สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่
ทางชีววิทยาและมี
มีหน้าตาคล้ายคลึงกัน
บรรพบุรุษร่วมกัน
ความหมายของสปีชีส์

ชีววิทยา
โดยการแบ่งแยกกลุ่มของสิ่งมีชีวิต
สัณฐานวิทยา ยังต้องใช้ความรู้ในด้านต่างๆ
ความหมายของสปีชีส์

1 สปีชีส์ทางด้านสัณฐานวิทยา 2 สปีชีส์ทางด้านชีววิทยา

สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันในลักษณะ สิ่งมีชีวิตที่สามารถผสมพันธุ์กันได้ใน
ทางสัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาค ธรรมชาติ ให้กำเนิดลูกที่ไม่เป็นหมันแต่
ของสิ่งมีชีวิต ใช้เป็นแนวคิดในการ ถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันก็อาจให้
ศึกษาอนุกรมวิธาน กำเนิดลูกได้เช่นกันแต่เป็นหมัน
แอนสท์ เมยร์ (Enrst Mayr)

แอนสท์ เมยร์ (Enrst Mayr) นักชีววิทยาชาวเยอรมัน


ผู้นำเสนอแนวคิดเรื่อง biological species concept
ซึ่งเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับและนิยมใช้มากที่สุด
Biological species concept
Ernst Mayr ได้เสนอว่าสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในสปีชีส์เดียวกันจะต้องสามารถ
ผสมพันธุ์กันเองตาธรรมชาติและให้กำเนิดลูกได้ โดยลูกที่เกิดขึ้นจะต้อง
สามารถสืบพันธุ์ต่อและสามารถให้ลูกหลานที่มีความแข็งแรงได้
จะเห็นได้ว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้สิ่งมีชีวิตคนละสปีชีส์ไม่สามารถผสมพันธุ์ข้ามกันได้ ทั้งนี้
เพราะการถ่ายเทยีน (gene flow) ระหว่างประชากรไม่สามารถเกิดขึ้นได้ และจัดว่าเป็น
ปัจจัยสำคัญในการเกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ได้

แต่อย่างไรก็ตามในธรรมชาติอาจจะพบการถ่ายเทยีนของสิ่งมีชีวิตคนละสปีชีส์ได้

polar bear Grizzly bear Grolar bear


การแยกเหตุการสืบพันธุ์

จาก biological species concept จะเห็นได้ว่าสิ่งมีชีวิต


จึงต้องมีกลไกการป้องกันการผสมข้ามสายพันธุ์ เรียก
ว่า reproductive isolation แบ่งได้เป็นสองระดับ

กลไกการแยกกันทางการสืบพันธุ์ก่อนระยะ
ไซโกต (prezygotic barrier)
กลไกการแยกกันทางการสืบพันธุ์หลังระยะ
ไซโกต (postzygotic barrier)
การแ ย กเหตุการสืบพันธุ์
ก่อนระยะไซโกต
ปัจจัยที่ป้องกันไม่ให้เซลล์สืบพันธุ์
จากสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์มาปฏิสนธิ
กัน ทำให้ไม่เกิดไซโกต

ถิ่นที่อยู่อาศัย
พฤติกรรม
ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์
โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ุ
สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธ์ุ
ถิ่นที่อยู่อาศัย
กบป่าอาศัยในแหล่งน้ำขนาดเล็ก สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันที่อาศัยในถิ่นที่อยู่ต่างกัน
เช่น กบป่า อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืดขนาดเล็ก
ส่วน กบบูลฟรอกอาศัยในบึงขนาดใหญ่

ทำให้ไม่มีโอกาสได้จับคู่ผสมพันธุ์กัน

กบบูลฟรอกอาศัยในแหล่งน้ำขนาดใหญ่
1
พฤติกรรม
พฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น
2 ลักษณะการสร้างรังที่แตกต่างกัน
ของนก(รูปที่ 1)

พฤติกรรมในการเกี้ยวพาราสีของ
นกยูงเพศผู้ (รูปที่ 2)

พฤติกรรมต่างๆนี้จะมีผลต่อสัตว์เพศ
ตรงข้ามในสปีชีส์เดียวกันเท่านั้นที่จะจับ
คู่ผสมพันธุ์กัน
ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์

อาจเป็นวัน ฤดูกาลหรือช่วงเวลาของการ
ผสมพันธุ์
เช่นแมลงหวี่ Drosophila pseudoobscura
มีช่วงเวลาที่เหมาะสมในการผสมพันธุ์ใน
ตอนบ่ายแต่แมลงหวี่Drosophila persimilis
จะมีช่วงเวลาที่เหมาะสมในตอนเช้า ทำให้
ไม่มีโอกาสผสมพันธุ์กันได้
โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์

สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันจะมีขนาด และรูปร่างอวัยวะ
สืบพันธุ์แตกต่างกันทำให้ไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้

เช่น โครงสร้างของดอกไม้บางชนิดมีลักษณะ
สอดคล้องกับลักษณะของแมลงหรือสัตว์บางชนิด
ทำให้แมลงหรือสัตว์นั้นๆ ถ่ายละอองเรณูเฉพาะพืช
ในสปีชีส์เดียวกันเท่านั้น
สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์

เมื่อเซลล์สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน
มีโอกาสพบกัน แต่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้

อสุจิไม่สามารถอยู่ภายในร่างกายเพศเมียได้

อสุจิไม่สามารถสลายสารเคมีที่หุ้มเซลล์
ไข่ของสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์ได้
แบบฝึกหัดท้ายบท
จงเติมข้อความเกี่ยวกับการแยกเหตุการสืบพันธุ์ที่กำหนดให้ ลงในที่ว่างหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน (ตอบซ้ำได้)

แหล่งที่อยู่ ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์ โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์


สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์ พฤติกรรม

_______________ 1) กบ Rana sylvatica ผสมพันธ์ุในช่วงกลางเดือนมีนาคม ขณะที่


กบ R. Pipiens ผสมพันธุ์ช่วงต้นเดือนเมษายน

_______________ 2) ลักษณะการวนของเปลือกหอยทาก 2 ชนิด ในสกุล Bradybaena


มีการวนต่างทิศกัน ทำให้ช่องเปิดอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ตรงกัน

_______________ 3) การที่เม่นทะเล 2 สายพันธุ์ คือ Red urchin และ purple


urchin ปล่อยสเปิร์มและไข่ออกไปในน้ำทะเล แต่ไม่สามารถปฏิสนธิเป็น
zygote ได้ เพราะโปรตีนบนผิวของสเปิร์มและไข่ยึดติดกันไม่ได้
จงเติมข้อความเกี่ยวกับการแยกเหตุการสืบพันธุ์ที่กำหนดให้ ลงในที่ว่างหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน (ตอบซ้ำได้)

แหล่งที่อยู่ ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์ โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์


สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์ พฤติกรรม

ช่วงเวลาในการผสมพันธ์ุ
_______________ 1) กบ Rana sylvatica ผสมพันธ์ุในช่วงกลางเดือนมีนาคม ขณะที่
กบ R. Pipiens ผสมพันธุ์ช่วงต้นเดือนเมษายน
โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ุ
_______________ 2) ลักษณะการวนของเปลือกหอยทาก 2 ชนิด ในสกุล Bradybaena
มีการวนต่างทิศกัน ทำให้ช่องเปิดอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ตรงกัน
สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธ์ุ
_______________ 3) การที่เม่นทะเล 2 สายพันธุ์ คือ Red urchin และ purple
urchin ปล่อยสเปิร์มและไข่ออกไปในน้ำทะเล แต่ไม่สามารถปฏิสนธิเป็น
zygote ได้ เพราะโปรตีนบนผิวของสเปิร์มและไข่ยึดติดกันไม่ได้
จงเติมข้อความเกี่ยวกับการแยกเหตุการสืบพันธุ์ที่กำหนดให้ ลงในที่ว่างหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน (ตอบซ้ำได้)

แหล่งที่อยู่ ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์ โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์


สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์ พฤติกรรม

_______________ 4) งู 2 ชนิด ในสกุล Thamnophis อยู่ในพื้นที่เดียวกันแต่พบว่าชนิด


หนึ่งอยู่ในน้ำเป็นหลัก ขณะที่อีกชนิดอยู่บนบกเป็นส่วนใหญ่

_______________ 5) สกั๊งค์ (skunk) 2 ชนิด ในทวีปอเมริกาเหนือ อาศัยอยู่ในเขต


ภูมิศาสตร์ซ้อนทับกัน แต่พบว่าชนิด Soilogale putoris ผสมพันธุ์
ปลายฤดูหนาว ขณะที่ชนิด S. Gracilis ผสมพันธ์ุปลายฤดูร้อน

_______________ 6) นก blue-footed booby เพศผู้เต้นรำเพื่อดึงดูดให้เพศเมียเข้า


ร่วมเต้นด้วย
จงเติมข้อความเกี่ยวกับการแยกเหตุการสืบพันธุ์ที่กำหนดให้ ลงในที่ว่างหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน (ตอบซ้ำได้)

แหล่งที่อยู่ ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์ โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์


สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์ พฤติกรรม

แหล่งที่อยู่
_______________ 4) งู 2 ชนิด ในสกุล Thamnophis อยู่ในพื้นที่เดียวกันแต่พบว่าชนิด
หนึ่งอยู่ในน้ำเป็นหลัก ขณะที่อีกชนิดอยู่บนบกเป็นส่วนใหญ่
ช่วงเวลาในการผสมพันธ์ุ
_______________ 5) สกั๊งค์ (skunk) 2 ชนิด ในทวีปอเมริกาเหนือ อาศัยอยู่ในเขต
ภูมิศาสตร์ซ้อนทับกัน แต่พบว่าชนิด Soilogale putoris ผสมพันธุ์
ปลายฤดูหนาว ขณะที่ชนิด S. Gracilis ผสมพันธ์ุปลายฤดูร้อน
พฤติกรรม
_______________ 6) นก blue-footed booby เพศผู้เต้นรำเพื่อดึงดูดให้เพศเมียเข้า
ร่วมเต้นด้วย
จงอธิบายว่าเหตุใดสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่มี
ลักษณะคล้ายคลึงกันมาก จึงไม่สามารถ
ผสมพันธุ์กันและให้กำเนิดลูกได้
จงอธิบายว่าเหตุใดสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่มีลักษณะคล้ายคลึง
กันมาก จึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันและให้กำเนิดลูกได้

สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายกันมาก แต่ไม่สามารถ
ผสมพันธุ์กันและให้กำเนิดลูกได้ เพราะสิ่งมีชีวิต
ดังกล่าวเป็นสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันมียีนพูลต่าง
กัน จึงไม่สามารถถ่ายเทยีนระหว่างประชากรได้
ข้อสอบ
แนวคิดเกี่ยวกับสปีชีส์ทางด้านชีววิทยาใช้สิ่งใดเป็นตัวตัดสินว่า สิ่งมีชีวิต
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นสปีชีส์เดียวกันหรือไม่
(ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2555 ข้อ82)

1. มีลักษณะภายนอกและโครงสร้างทางพันธุกรรมคล้ายกัน
2. สามารถผสมพันธุ์กันได้และมีโครงสร้างทางพันธุกรรมคล้ายกัน
3. สามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติและให้กำเนิดลูกที่ไม่เป็นหมัน
4. มีลักษณะทางสัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาคแตกต่างจากสิ่งมี
ชีวิตอื่นๆ
5. สามารถผสมพันธุ์กันได้และมีลักษณะทางสัณฐานและทางกายวิภาค
เหมือนกัน
แนวคิดเกี่ยวกับสปีชีส์ทางด้านชีววิทยาใช้สิ่งใดเป็นตัวตัดสินว่า สิ่งมีชีวิต
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นสปีชีส์เดียวกันหรือไม่
(ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2555 ข้อ82)

1. มีลักษณะภายนอกและโครงสร้างทางพันธุกรรมคล้ายกัน
2. สามารถผสมพันธุ์กันได้และมีโครงสร้างทางพันธุกรรมคล้ายกัน
3. สามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติและให้กำเนิดลูกที่ไม่เป็นหมัน
4. มีลักษณะทางสัณฐานและโครงสร้างทางกายวิภาคแตกต่างจากสิ่งมี
ชีวิตอื่นๆ
5. สามารถผสมพันธุ์กันได้และมีลักษณะทางสัณฐานและทางกายวิภาค
เหมือนกัน
สิ่งมีชีวิตคู่ใดที่ผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกที่สามารถมีลูกต่อไปได้
(ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2557 ข้อ 83)

1. Sternocera aequisignata และ Sternocera ruficornis


2. Millingtonia hortensis และ Limenitis procris
3. Lasippa tiga camboja และ Lasippa viraja viraja
4. Cryptocnemus siamensis และ Gonodactylaceus siamensis
5. Lasippa heliodore dorelia และ Lasippa heliodore heliodore
สิ่งมีชีวิตคู่ใดที่ผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกที่สามารถมีลูกต่อไปได้
(ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2557 ข้อ 83)

1. Sternocera aequisignata และ Sternocera ruficornis


2. Millingtonia hortensis และ Limenitis procris
3. Lasippa tiga camboja และ Lasippa viraja viraja
4. Cryptocnemus siamensis และ Gonodactylaceus siamensis
5. Lasippa heliodore dorelia และ Lasippa heliodore heliodore
ในอดีตมีลิง 2 ชนิดที่ได้รับการจำแนกให้อยู่ในจีนัสเดียวกันแต่เป็นคนละ
สปีชีส์และทั้งสองสปีชีส์อาศัยอยู่คนละพื้นที่กัน ต่อมาพบว่าลิงทั้งสองชนิด
ควรจัดเป็นสปีชีส์เดียวกัน หลักฐานที่สนับสนุนข้อสรุปใหม่นี้น่าจะเป็น
หลักฐานในข้อใด (ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2563 ข้อ67)

1. ทั้งสองชนิดมีลำดับกรดแอมิโนของฮีโมโกลบินเหมือนกัน
2. พบซากดึกดำบรรพ์ของทั้งสองชนิดอยู่ในชั้นหินที่มีอายุเท่ากัน
3. เมื่อน้ำมาเลี้ยงในพื้นที่เดียวกันทั้งสองชนิดสามารถอาศัยอยู่ร่วมกันได้
4. ทั้งสองชนิดสามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติและให้กำเนิดลูกที่ไม่
เป็นหมัน
5. เมื่อศึกษาลักษณะภายนอกโดยละเอียดแล้วพบว่ามีความเหมือนมากจน
ควรจัดเป็นสปีชีส์เดียวกัน
ในอดีตมีลิง 2 ชนิดที่ได้รับการจำแนกให้อยู่ในจีนัสเดียวกันแต่เป็นคนละ
สปีชีส์และทั้งสองสปีชีส์อาศัยอยู่คนละพื้นที่กัน ต่อมาพบว่าลิงทั้งสองชนิด
ควรจัดเป็นสปีชีส์เดียวกัน หลักฐานที่สนับสนุนข้อสรุปใหม่นี้น่าจะเป็น
หลักฐานในข้อใด (ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2563 ข้อ67)

1. ทั้งสองชนิดมีลำดับกรดแอมิโนของฮีโมโกลบินเหมือนกัน
2. พบซากดึกดำบรรพ์ของทั้งสองชนิดอยู่ในชั้นหินที่มีอายุเท่ากัน
3. เมื่อน้ำมาเลี้ยงในพื้นที่เดียวกันทั้งสองชนิดสามารถอาศัยอยู่ร่วมกันได้
4. ทั้งสองชนิดสามารถผสมพันธุ์กันได้ในธรรมชาติและให้กำเนิดลูกที่ไม่
เป็นหมัน
5. เมื่อศึกษาลักษณะภายนอกโดยละเอียดแล้วพบว่ามีความเหมือนมากจน
ควรจัดเป็นสปีชีส์เดียวกัน
Hyla ornate และ Hyla chrysoscelis เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกซึ่งพบ
ในบริเวณเดียวกัน มีลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกันมากเพียงแต่มีเสียงร้อง
และจำนวนโครโมโซมต่างกัน จากข้อมูลเท่าที่ทราบนี้สามารถสันนิษฐานได้ว่า
กลไกที่ป้องกันการผสมพันธ์ุระหว่างทั้งสองสปีชีส์น่าจะเป็นกลไกใด
(ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2555 ข้อ85)

1. ถิ่นที่อยู่อาศัย
2. พฤติกรรมการสืบพันธุ์
3. ช่วงเวลาในการผสมพันธ์ุ
4. โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ุ
5. สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์
Hyla ornate และ Hyla chrysoscelis เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกซึ่งพบ
ในบริเวณเดียวกัน มีลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกันมากเพียงแต่มีเสียงร้อง
และจำนวนโครโมโซมต่างกัน จากข้อมูลเท่าที่ทราบนี้สามารถสันนิษฐานได้ว่า
กลไกที่ป้องกันการผสมพันธ์ุระหว่างทั้งสองสปีชีส์น่าจะเป็นกลไกใด
(ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม 2555 ข้อ85)

1. ถิ่นที่อยู่อาศัย
2. พฤติกรรมการสืบพันธุ์
3. ช่วงเวลาในการผสมพันธ์ุ
4. โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธ์ุ
5. สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์
ข้อใดจัดเป็นการแยกกันทางการสืบพันธ์ุก่อนระยะไซโกตเนื่องจาก
พฤติกรรมการสืบพันธุ์ (ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม2561 ข้อ67)

1. หอยทากสปีชีส์หนึ่งมีเปลือกเวียนซ้าย แต่อีกสปีชีส์หนึ่งมีเปลือก
เวียนขวา
2. กระรอกสปีชีส์หนึ่งผสมพันธ์ุในตอนเริ่มฤดูร้อน แต่อีกสปีชีส์หนึ่งผสม
พันธุ์ในตอนปลายฤดูร้อน
3. แมลงหวี่สปีชีส์หนึ่งหากินและผสมพันธุ์บนต้นแอปเปิล แต่อีกสปีชีส์
หนึ่งหากินและผสมพันธุ์บนต้นบลูเบอร์รี่
4. กบตัวผู้สปีชีส์หนึ่งใช้เสียงร้องที่มีความถี่สูงในการดึงดูดให้ตัวเมียมา
ผสมพันธ์ุแต่อีกสปีชีส์หนึ่งใช้เสียงร้องที่มีความถี่ต่ำกว่า
5. ลูกน้ำของยุงรำคาญบางสปีชีส์อาศัยในแหล่งน้ำไหล บางสปีชีส์อาศัยใน
แหล่งน้ำนิ่งและบางสปีชีส์อาศัยในแหล่งน้ำกร่อย
ข้อใดจัดเป็นการแยกกันทางการสืบพันธ์ุก่อนระยะไซโกตเนื่องจาก
พฤติกรรมการสืบพันธุ์ (ข้อสอบ 9 วิชาสามัญ มีนาคม2561 ข้อ67)

1. หอยทากสปีชีส์หนึ่งมีเปลือกเวียนซ้าย แต่อีกสปีชีส์หนึ่งมีเปลือก
เวียนขวา
2. กระรอกสปีชีส์หนึ่งผสมพันธ์ุในตอนเริ่มฤดูร้อน แต่อีกสปีชีส์หนึ่งผสม
พันธุ์ในตอนปลายฤดูร้อน
3. แมลงหวี่สปีชีส์หนึ่งหากินและผสมพันธุ์บนต้นแอปเปิล แต่อีกสปีชีส์
หนึ่งหากินและผสมพันธุ์บนต้นบลูเบอร์รี่
4. กบตัวผู้สปีชีส์หนึ่งใช้เสียงร้องที่มีความถี่สูงในการดึงดูดให้ตัวเมียมา
ผสมพันธ์ุแต่อีกสปีชีส์หนึ่งใช้เสียงร้องที่มีความถี่ต่ำกว่า
5. ลูกน้ำของยุงรำคาญบางสปีชีส์อาศัยในแหล่งน้ำไหล บางสปีชีส์อาศัยใน
แหล่งน้ำนิ่งและบางสปีชีส์อาศัยในแหล่งน้ำกร่อย
Thank you

You might also like