You are on page 1of 38

1

บทที่ 1
บทนำ
ทีม่ าและความสำคัญ 
กวางคือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีลกั ษณะขนยาวหยาบสี น ้ำตาลที่กินใบไม้อ่อนและหญ้าอ่อนซึ่ งมีอยู ่  
54 ชนิดและแต่ละชนิดก็มีประโยชน์คล้ายๆกันแต่มีวิธีการเลี้ยงดูที่ต่างกันบางชนิดเลี้ยงง่ายบางชนิดเลี้ยงยาก
ดังนั้นจึงทำให้แต่ละประเทศจึงนิยมเลี้ยงกวางต่างชนิดกันไปส่ งผลให้ผจู ้ ดั ทำเกิดความสนใจอยากที่จะทราบ
ว่าสายพันธุ์กวางเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยว่ามีจ ำนวนกี่สายพันธุ์ จึงทำการศึกษาสายพันธุ์กวางใน
จำนวน 54 สายพันธุ์และนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์หาสายพันธุ์กวางเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย
ว่ามีจ ำนวนเท่าใดและนำข้อมูลดังกล่าวมาจัดทำเว็บไซต์และซี ดีรอมเผยแพร่ แก่ผทู ้ ี่สนใจต่อไป 
วัตถุประสงค์  
1. เพื่อทำการศึกษาสายพันธุ์กวางในประเทศไทยจำนวน 54 สายพันธุ์ 
2. เพื่อนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์หาสายพันธุ์กวางเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยว่ามี
จำนวนเท่าใด 
3. เพื่อนำข้อมูลดังกล่าวมาจัดทำเว็บไซต์และซี ดีรอมเผยแพร่ แก่ผทู ้ ี่สนใจ 
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้ า 
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นและลักษณะนิสยั ที่อยูอ่ าศัยของกวางจากอินเทอร์เน็ต 
 
 
  

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
https://th.wikipedia.org.(2566:1 - 3).ได้กล่าวถึงข้อมูลเบื้องต้นของกวางไว้ดงั นี้  
กวาง  เป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ (อันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้อง) 
2

มีลกั ษณะขนยาวหยาบสี น ้ำตาล ตัวผูม้ ีเขาเป็ นแขนง ผลัดเขาปี ละครั้ง ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าและไม่มีเขา


ลักษณะเขาตัน ไม่กลวง เป็ นเกลียว บางชนิดอาจแตกแขนงได้มากเหมือนกิ่งไม้ ไม่มีถุงน้ำดี ชอบอยูต่ าม
ลำพังตัวเดียวยกเว้นฤดูผสมพันธุ์ กินใบไม้อ่อน หญ้าอ่อน ซึ่ งจัดอยูใ่ นวงศ์ Cervidae ได้แก่ 
วงศ์ Cervidae 
วงศ์ ย่อย  Muntiacinae  คือ เก้ง 
สกุล  Muntiacus 
 Muntiacus muntjak (เก้งธรรมดา) เก้งธรรมดา หรื อ อีเก้ง หรื อ ฟาน หรื อที่นิยมเรี ยกกันว่า เก้ง มี
ส่ วนหลังโก่งเล็กน้อย ลำตัวสี น ้ำตาลแดง ด้านใต้ซีดและอมเทาเล็กน้อย หางด้านบนสี น ้ำตาลเข้ม ด้านล่างสี
ขาว เก้งตัวผูม้ ีเขาสั้น ฐานเขาซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของกะโหลกยืน่ ยาวขึ้นไปเป็ นแท่ง มีขนปกคลุม และมีขนสี ด ำ
ขึ้นตามแนวเขาจนดูเป็ นรู ปตัววีเมื่อมองด้านหน้าตรง ส่ วนปลายเขาสั้น แต่เป็ นง่ามเล็ก ๆ แค่สองง่าม ไม่แตก
เป็ นกิ่งก้านแบบกวาง ผลัดเขาปี ละครั้ง ส่ วนตัวเมียไม่มีเขาและฐานเขา แต่บนหน้าก็มีขนรู ปตัววีเหมือนกัน
เก้งตัวที่อายุมากผูม้ ีเขี้ยวยาวแหลมโค้งโผล่พน้ ขากรรไกรออกมา เวลาเดินจะยกขาสู งทุกย่างก้าว 
หากินได้ท้ งั กลางวันและกลางคืน แต่ส่วนใหญ่จะพบตอนเย็นหรื อหัวค่ำ และตอนเช้ามืดจนถึงช่วงสาย อด
น้ำไม่เก่ง จึงมักอยูไ่ ม่ไกลจากแหล่งน้ำ อาหารหลักได้แก่ยอดไม้, หน่ออ่อน, ใบไม้, ผลไม้ และรวมถึงเปลือก
ไม้ดว้ ย ไม่ค่อยกินหญ้า พบแพร่ กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ตั้งแต่ ศรี
ลังกา, อินเดีย, จีนตอนใต้, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซี ย, เกาะสุ มาตรา, เกาะชวา, เกาะ
บอร์เนียว, เกาะไหหลำ และหมู่เกาะซุนดา 
มีฤดูผสมพันธุ์อยูใ่ นช่วงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ตกลูกต้นฤดูฝนพอดี ปกติ
ตกลูกครั้งละหนึ่งตัว ตั้งท้องนานราว 6 เดือน ออกลูกตามใต้พมุ่ ไม้ ลูกเก้งมีจุดสี ขาวตามตัว เมื่ออายุได้ราว 6
เดือน จุดสี ขาวนั้นจึงค่อยจางหายไป เข้าสู่ วยั เจริ ญพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 18 เดือน อายุขยั ประมาณ 15 ปี ใน
ประเทศไทย ถือเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครอง 
 Muntiacus reevesi (เก้งจีน) เป็ นเก้งชนิดหนึ่งที่พบในภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ของประเทศจีน
(มณฑลกานซูถึงมณฑลยูนนาน) และในไต้หวัน เก้งจีนถูกนำเข้าสู่ ประเทศเนเธอร์แลนด์, ตอนใต้ของ
อังกฤษ, ภาคกลางของอังกฤษ ทางตะวันออกของเวลส์ และสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในปี ค.ศ. 2008 เก้งจีนกิน
ไม้ลม้ ลุก, ดอก, ยอดอ่อนอวบน้ำ, หญ้า และผลไม้เปลือกแข็งเมล็ดเดียว รวมทั้งต้นไม้ เก้งชนิดนี้เมื่อโตเต็ม
ที่สูงจรดไหล่ 0.5 เมตร ยาว 0.95 เมตร และหนัก 10 ถึง 18 กิโลกรัม มีลายขีดบนหน้าตัวผูม้ ีเขายาวไม่เกิน 4
นิ้ว สำหรับสู ้กบั ศัตรู หรื อกัดด้วยเขี้ยวบนขากรรไกรบนยาว 2 นิ้ว ชนิดย่อย  M. r. micrurus ที่พบที่ไต้หวัน
จะมีสีเข้มกว่า 
Muntiacus feae  (เก้งหม้อ, เก้งดำ หรื อ เก้งดง) เก้งหม้อ หรื อ กวางเขาจุก หรื อ เก้งดำ หรื อ เก้งดง
 เป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่จ ำพวกกวาง มีลกั ษณะคล้ายเก้งธรรมดา  (M. muntjac) แต่ต่าง
กันเก้งหม้อจะมีขนบริ เวณลำตัวที่เข้มกว่า ใบหน้ามีสีน ้ำตาลเข้ม บริ เวณกระหม่อมและโคนขามีสีเหลืองสด
ด้านล่างของลำตัวมีสีน ้ำตาลอ่อน ขาทั้ง 4 ข้างมีสีด ำ จึงเป็ นที่มาของอีกชื่อสามัญที่เรี ยก ด้านหน้าด้านหลังมี
สี ขาวเห็นได้ชดั เจน หางสั้น หางด้านบนมีสีเข้ม แต่ดา้ นล่างมีสีขาว มีเขาเฉพาะตัวผู ้ เขาของเก้งหม้อสั้นกว่า
เก้งธรรมดา ผลัดเขาปี ละ 1 ครั้ง มีความยาวลำตัวและหัว 88 เซนติเมตร ความยาวหาง 10 เซนติเมตร น้ำหนัก
22 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของพม่า, มาเลเซี ย, ภาคตะวันตกและภาคใต้ของไทย 
 เป็ นเก้งที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าเหลือเพียงตัวเดียวในโลก ที่
สวนสัตว์ดุสิต[3] แต่ปัจจุบนั ยังพอหาได้ตามป่ าธรรมชาติและวัดในพรมแดนไทยพม่า ที่พระสงฆ์เลี้ยงอยู่ เก้ง
3

หม้ออาศัยอยูใ่ นป่ าที่มีความชื้นสูง เช่น บริ เวณหุบเขาหรื อป่ าดิบชื้นใกล้แหล่งน้ำ อดน้ำได้ไม่เก่งเท่าเก้ง


ธรรมดา ออกหาอาหารตามลำพังในช่วงเย็นหรื อพลบค่ำ แต่ในบางครั้งอาจพบอยูเ่ ป็ นคู่หรื อเป็ นฝูงเล็ก ๆ ใน
ฤดูผสมพันธุ์ จะผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาว ตั้งท้องนาน 6 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ปั จจุบนั เป็ นสัตว์ป่า
สงวนตามพระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่าแห่งชาติ พ.ศ. 2535 
Muntiacus rooseveltorum (เก้งอินโดจีน) เป็ นเก้งที่มีขอ้ มูลทางวิชาการน้อยมาก โดยถูกพบตัวครั้ง
แรกในปี  พ.ศ. 2475 ใกล้กบั เมืองพงสาลี แขวงหลวงพระบาง ทางตอนเหนือของลาว และในปี  พ.ศ.
2539 พบซากที่สนั นิษฐานของเก้งที่เชื่อว่าน่าจะเป็ นเก้งอินโดจีนอีกครั้ง ในแขวงเชียงขวาง 
โดยสันนิษฐานว่า อาจกระจายพันธุ์อยูใ่ นป่ าดิบเขา หรื อพื้นที่ที่ราบสู งทางตะวันออกของแม่น้ำโขง และอาจ
มีการกระจายพันธุ์ในเวียดนามด้วย โดยมีรูปร่ างหน้าตาคล้ายกับเก้งหม้อ (M. feae) ต่อมน้ำตามีขนาดเล็ก
คล้ายกับเก้งธรรมดา  (M. muntjak) โดยในบางข้อมูลจะจัดให้เป็ นชนิดย่อยของเก้งหม้อด้วยซ้ำ 
Muntiacus vuquangensis  (เก้งยักษ์) มีรูปร่ างหน้าตาคล้ายเก้งธรรมดา (M. muntjac) แต่มีขนาดลำ
ตัวใหญ่กว่ามาก สี ขนตามลำตัวมีหลากหลาย ทั้งสี น ้ำตาลเข้มหรื อน้ำตาลดำ มีเขาเฉพาะตัวผู ้ มีลกั ษณะเด่น
คือ เขามีขนาดใหญ่ บางตัวอาจมีกิ่งเขาถึง 3 กิ่ง บางตัวอาจมีแค่ 2 โคนเขาหนากว่าโคนเขาของเก้งธรรมดา
เก้งยักษ์ถือเป็ นสัตว์ป่าลึกลับที่ไม่ค่อยปรากฏตัวจึงมีขอ้ มูลทางวิชาการน้อยมาก แม้แต่รูปถ่ายก็ยงั ไม่เคยมี
จนกระทัง่ กลางปี  ค.ศ. 2008 ที่เวียดนามสามารถใช้กล้องวงจรปิ ดจับภาพเก้งยักษ์ขณะหากินในเวลากลางคืน
ได้เป็ นครั้งแรกในโลกพบว่ามีการกระจายพันธุ์อยูใ่ นพรมแดนระหว่างลาว เวียดนาม และกัมพูชา ออก
หากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน คาดว่าคงกินอาหารจำพวกเดียวกับเก้งทัว่ ไป ชาวพื้นเมืองที่เก้งยักษ์
อาศัยอยูม่ กั ล่าได้ในป่ าดิบชื้นและป่ าดิบแล้ง หรื อป่ าผสมผลัดใบ ในพื้นที่ที่มีความสู งประมาณ 800 เมตรจาก
ระดับน้ำทะเล 
Muntiacus truongsonensis  (เก้งตรองซอน) เป็ นเก้งชนิดหนึ่ง เป็ นเก้งชนิดหนึ่งที่มีขอ้ มูลทาง
วิชาการน้อยมาก เหมือนเก้งอินโดจีน (M. rooseveltorum) โดยถูกพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ใน
เวียดนาม เป็ นหัวกะโหลกที่น ำมาวางขายเท่านั้น ทำให้สนั นิษฐานว่ามีรูปร่ างคล้ายกับเก้งธรรมดา  (M.
muntjac) แต่มีขนาดเล็กกว่า ใบหน้าและขาทั้ง 4 ข้างมีสีด ำคลายเก้งหม้อ (M. feae) เชื่อว่าอาศัยอยูต่ ามป่ าดิบ
เขาของเทือกเขาอันนัมซึ่ งเป็ นพรมแดนธรรมชาติระหว่างเวียดนามกับลาว และสถานะของเก้งชนิดนี้ใน
ปั จจุบนั กำลังแย่ลงทุกขณะเพราะการบุกรุ กทำลายป่ าและล่าสัตว์อย่างรุ นแรงใน 2 ประเทศนี้ 
Muntiacus putaoensis 
สกุล  Elaphodus 
Elaphodus cephalophus (กวางจุก) 
วงศ์ ย่อย Cervinae 
สกุล Cervus 
สกุลย่อย Cervus 
Cervus elaphus (กวางแดง) เป็ นกวางขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ตามอนุกรมวิธาน กวางแดงมีถิ่นอาศัย
ในทวีปยุโรป เทือกเขาคอเคซัส เอเชียน้อย บางส่ วนทางตะวันตกของเอเชีย และเอเชียกลาง สามารถพบใน
เทือกเขาแอตลาสระหว่างประเทศโมร็ อกโกและประเทศตูนิเซี ยทางตะวันตกเฉี ยงเหนือของแอฟริ กา เป็ นก
วางเพียงชนิดเดียวที่อาศัยอยูใ่ นแอฟริ กา มีการนำกวางแดงไปยังพื้นที่ส่วนอื่นบนโลก ได้แก่ ประเทศ
ออสเตรเลีย, ประเทศนิวซีแลนด์และ ประเทศอาร์เจนตินา ในหลายส่ วนของโลกกินเนื้อของกวางแดงเป็ น
อาหาร กวางแดงเป็ นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีกระเพาะ 4 ห้อง กีบเท้าคู่ ตัวผูส้ ู ง 175 - 230 ซม. หนัก 160 - 240 กก.
4

ตัวเมียสู ง 160 - 210 ซม. หนัก 120 - 170 กก. จากหลักฐานทางพันธุกรรมแสดงให้เห็นว่ากวางแดง (Cervus
elaphus) แต่เดิมน่าจะเป็ นกลุ่มชนิดมากกว่าจะเป็ นชนิดเดี่ยว แม้วา่ ยังเหลือข้อโต้แย้งที่วา่ เป็ นกวางกี่ชนิดที่
รวมกลุ่มกัน บรรพบุรุษของกวางแดงน่าจะมีถิ่นกำเนิดในเอเชียกลางและอาจจะเป็ นบรรพบุรุษเดียวกับกวาง
ซี กา้ แม้วา่ บางครั้งกวางแดงอาจจะหายากในบางพื้นที่ แต่มนั ก็ยงั ห่างไกลจากคำว่าสู ญพันธุ์ การนำเข้าไปยัง
พื้นที่อื่นและผลจากการอนุรักษ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสหราชอาณาจักรทำให้จ ำนวนประชากรของกวางแดง
เพิ่มขึ้น ขณะที่ในพื้นที่อื่น เช่น แอฟริ กาเหนือประชากรกำลังลดลงอย่างต่อเนื่อง 
Cervus canadensis  (กวางเอลก์) เป็ นกวางขนาดใหญ่ หัวยาว คอและหางสั้น ขายาว เป็ นสัตว์เคี้ยว
เอื้อง มีเขาเฉพาะตัวผู้ กวางเอลก์โตเต็มที่เขาจะมีแขนงข้างละประมาณ 10 - 12 กิ่ง ขนลำตัวหยาบสี น ้ำตาล
หางสั้น ลำตัวจากปลายปากถึงโคนหางยาวประมาณ 2.5 เมตร หางยาวประมาณ 20 เซนติเมตร สู งช่วงไหล่
ประมาณ 1.5 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ 250 - 450 กิโลกรัม มีนิสยั ชอบอยูร่ วมกันเป็ นฝูง หากินอพยพไป
เรื่ อย ๆ ชอบอยูใ่ นทุ่งโล่ง ๆ ตัวผูจ้ ะดุเมื่อเขาแก่ขวิดแย่งตัวเมีย ว่ายน้ำเก่ง 
สกุลย่อย  Przewalskium 
Cervus albirostris 
สกุลย่อย Sika 
Cervus nippon  (กวางซีกา้ กวางซิกะหรื อกวางญี่ปุ่น) เป็ นกวางที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออก
และถูกนำเข้าไปเป็ นสัตว์เลี้ยงในหลายพื้นที่บนโลก อดีตพบในตอนใต้ทางภาคเหนือของประเทศเวียดนาม
ไปจนถึงทางเหนือของรัสเซียตะวันออกไกล ปั จจุบนั เกือบจะสู ญพันธุ์แล้วในทุกพื้นที่ยกเว้นในประเทศ
ญี่ปนที ุ่ ่มีประชากรหนาแน่น กวางซีกาเป็ นกวางขนาดกลางมีความสู งจรดหัวไหล่ 50-95 เซนติเมตรหนัก 30-
70 กิโลกรัมเพศผูม้ ีขนาดใหญ่กว่าเพศเมียมีขนตามลำตัวสี น ้ำตาลส้มมีจุดสี ขาวกระจายอยูท่ วั่ ไปหางสั้นมีสี
น้ำตาลอ่อนก้นมีสีขาวสี ขนบริ เวณด้านบนและด้านข้างลำตัวอาจมีสีที่เข้มกว่าสี ขนบริ เวณท้องและด้านใน
ของขา มีเขาเฉพาะเพศผู้ เขามีกิ่งก้านแผ่ออกมาเพียงข้างละ 4 ก้านมักอาศัยอยูร่ วมกันเป็ นฝูงใหญ่ในป่ า
เบญจพรรณหรื อทุ่งหญ้าในฝูงมักประกอบไปด้วยเพศเมียเป็ นส่ วนใหญ่กวางเพศผูม้ ีการผลัดเขาทิ้งทุกปี  
กวางซี กา เป็ นสัตว์ที่ชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าเป็ นสัตว์ที่รับใช้เทพเจ้าในจังหวัดนะระโดยเฉพาะใกล้ๆวัดโทไดกวางซี
กาที่อาศัยอยูท่ ี่นี่ใช้ชีวิตอย่างเสรี โดยปะปนกับผูค้ นทัว่ ไปโดยไม่มีผใู ้ ดทำอันตราย 
สกุลย่อย  Rucervus 
Cervus duvaucelii  (กวางบึง) เป็ นกวางที่พบในตอนเหนือและตอนกลางของประเทศอินเดียและ
ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเนปาล อดีตพบในประเทศปากีสถานและบังกลาเทศ ชื่อวิทยาศาสตร์ต้ งั
ตามชื่อนักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศส อาลเฟรด ดูโวเซล (Alfred Duvaucel) 
คุณสมบัติที่โดดเด่นที่สุดของกวางบึงคือเป็ นกวางที่มีกิ่งบนเขา 10 ถึง 14 กิ่งในกวางตัวผูท้ ี่โตเต็มวัย บางตัว
มีถึง 20 กิ่ง ชื่อมาจากลักษณะซึ่ งแปลว่า "เขา 12 กิ่ง" ในภาษาฮินดี ในภาษาอัสสัมเรี ยก
ว่า dolhorina; dol แปลว่าบึง ในอินเดียตอนกลางเรี ยกว่า  goinjak (ตัวผู)้ หรื อ gaoni (ตัวเมีย) 
Cervus eldii (ละองละมัง่ ) เป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็ นกวางขนาด
กลาง ขนตามลำตัวสี น ้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ ฤดูร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาว
มาก แต่จะร่ วงหล่นจนดูส้ นั ลงมากในช่วงฤดูร้อน 
ในตัวผูจ้ ะเรี ยกว่า ละอง ตัวเมียซึ่ งไม่มีเขาจะเรี ยกว่า ละมัง่  แต่จะนิยมเรี ยกคู่กนั สันนิษฐานว่าเพี้ยน
มาจากภาษาเขมรคำว่า "ลำเมียง" ละองตัวที่ยงั โตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสี ขาว
กระจายอยูร่ อบตัว และจุดนี้จะจางหายเมื่ออายุมากขึ้น ขอบตาและริ มฝี ปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัวและ
5

หัว 150 – 170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220 – 250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95 – 150 กิโลกรัม ละองละมัง่ ที่พบ
ในประเทศไทยเป็ นชนิดย่อยละองละมัง่ พันธุ์ไทย (Cervus eldii thamin) และละองละมัง่ พันธุ์พม่า Cervus
eldii siamensis 
สกุลย่อย  Rusa 
Cervus unicolor (กวางป่ า หรื อ กวางม้า) นับเป็ นกวางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ มีความยาวลำตัวและหัว 180 - 200 เซนติเมตร ความยาวหาง 25 - 28 เซนติเมตร และหนัก
ได้ถึง 185 - 220 กิโลกรัม โดยทัว่ ไปเพศผูจ้ ะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย มีขนสั้นหยาบสี น ้ำตาลแกมเหลือง บาง
ตัวน้ำตาลแกมแดง พบตามป่ าดงดิบทุกภาค ทั้งในป่ าระดับต่ำ ป่ าสู ง ชอบหากินตามทุ่งโล่ง ชายป่ า ในตอน
เช้าตรู่ และพลบค่ำ กลางวันจะหลับนอนตามพุม่ ไม้ใกล้ชายป่ า จะกินพืช ทั้งใบ ยอด และต้องการดินโป่ ง ใน
ธรรมชาติชอบอยูต่ วั เดียวหรื ออยูเ่ ป็ นกลุ่มเล็กๆ พร้อมลูก ๆ ฤดูผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เป็ นฤดูหนาว 
ลักษณะที่บ่งบอกถึงสุ ขภาพกวางที่สมบูรณ์ สังเกตได้จากขนตามลำตัวมันเงา ดวงตาแจ่มใส จมูก
ชื้น มูลเป็ นเม็ด ไม่มีกลิ่น ปัสสาวะใส ไม่แยกตัวออกจากฝูง ร่ างกายไม่ผอมผิดปกติ ส่ วนการระวังภัยของ
กวางป่ า เมื่อได้ยนิ หรื อเห็นสิ่ งผิดปกติ จะชูคอหันหน้า ใบหูท้ งั 2 ข้างหันไปยังทิศทางที่ได้ยนิ หรื อเห็น หาง
จะชี้ข้ นึ ยืนนิ่งเงียบ จากนั้นจะส่ งเสี ยงร้องแหลมดังขึ้น ถ้าอยูก่ นั หลายตัวจะไปยืนรวมกัน เมื่อมีตวั ใดตัวหนึ่ง
ตื่นและวิง่ จะทำให้ตวั อื่นทั้งหมดวิง่ ตามได้ การโกรธ ทำร้าย และการต่อสู ้ มีพฤติกรรมกัดฟันเสี ยงดังกรอด
ๆ ร่ องใต้ตาทั้งสองข้างเบิกลึกกว้างพร้อมกับเดินส่ ายหัวเข้าหาศัตรู อย่างช้า ๆ แล้วก้มหัวลงเพื่อให้ปลายเขาชี้
เข้าหาศัตรู กวางป่ าที่พบในประเทศไทยเป็ นชนิดย่อย  Cervus unicolor equinus  
Cervus timorensis (กวางรู ซ่า) เป็ นสกุลของกวางในสกุล Rusa พบกระจายพันธฺุ์ในทางตอนใต้ของ
ทวีปเอเชีย มักจะได้รับการจัดให้อยูใ่ นสกุล Cervus แต่จากการศึกษาทางพันธุกรรมพบว่าสมควรจัดให้อยู่
ในสกุลนี้ 
แบ่งออกได้เป็ น 4 ชนิด โดย 3 ชนิดมีการกระจายค่อนข้างแคบในฟิ ลิปปิ นส์และอินโดนีเซี ย แต่จะมี
จำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นทางด้านอินเดียตะวันออกและทางตอนใต้ของจีนและทิศใต้ของหมู่เกาะซุน
ดา ทั้งหมดกำลังถูกคุกคามจากการสูญเสี ยถิ่นที่อยูอ่ าศัยและการล่าสัตว์ 
Cervus mariannus 
Cervus alfredi 
สกุล Axis 
สกุลย่อย Axis 
Axis axis (กวางดาว) กวางดาวมีขนสี น ้ำตาลแกมเหลืองออกสี ชมพูมีจุดสี ขาวส่ วนท้องมีสีขาวเขามี
สามกิ่งโค้งคล้ายพิณมีการผลัดเขาทุกปี ยาวได้ถึง 75 ซม. (2.5 ฟุต) เมื่อเทียบกับเนื้อทรายซึ่ งเป็ นญาติใกล้ชิด
แล้ว กวางดาวถูกสร้างมาให้เหมาะสำหรับการวิง่ มากกว่าและมีสณ ั ฐานที่พฒั นาสู งกว่าคือปลายเขาสั้นตาม
ส่ วน และกล่องหู มีขนาดเล็กกว่ามีโพรงจมูกขนาดใหญ่ตวั ผูม้ ีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียสู งประมาณ 90 ซม. (35
 นิ้ว) จรดไหล่ หัวถึงลำตัวยาว 170 ซม.  (67  นิ้ว) หางยาว 20 ซม. (7.9 นิ้ว) หนัก 30 ถึง 75 กก. (66 ถึง 170
ปอนด์) ตัวเมียหนัก 25 ถึง 45 กก. (55 ถึง 99 ปอนด์) ตัวผูท้ ี่มีขนาดใหญ่มากๆหนักได้ถึง 98 ถึง 110 กก.
(220 ถึง 240 ปอนด์)  มีช่วงชีวิต 8 – 14 ปี  
กวางดาวมีการวิวฒั ต่อมกลิ่นบริ เวณดวงตาสู ง ซึ่ งมีขนแข็งที่คล้ายกิ่งไม้เล็กๆ รวมทั้งต่อมกลิ่นที่
หลังขา ตัวผูม้ ีต่อมกลิ่นบริ เวณดวงตาใหญ่กว่าตัวเมียและเปิ ดออกบ่อยครั้งเมื่อตอบสนองสิ่ งเร้า 
สกุลย่อย  Hyelaphus 
6

Axis porcinus (เนื้อทราย)โดยปกติจะมีสีน ้ำตาลเข้มในฤดูหนาว สี เทาในฤดูร้อน ลูกเนื้อทรายเมื่อ


แรกเกิดจะมีจุดสี ขาวตามลำตัว เมื่อโตขึ้นจึงจางหายไป บริ เวณช่วงท้องมีสีอ่อนกว่าลำตัว ขนสั้นมีปลายขนสี
ขาว มีแถบสี เข้มพาดตามหน้าผาก มีเขาเฉพาะเพศผู ้ ลักษณะเขาคล้ายกวางป่ า มีความยาวลำตัวและหัว 140 -
150 เซนติเมตรความยาวหาง 17.5 - 21 เซนติเมตร ความสู งจากพื้นดินถึงหัวไหล่ 65 - 72 เซนติเมตร น้ำหนัก
ประมาณ 70 - 110 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ต้ งั แต่ภาคเหนือของอินเดีย, เนปาล, ศรี
ลังกา, ภูฏาน, บังกลาเทศ, พม่า, ภาคใต้ของจีน, ไทย, ลาว, พม่า, กัมพูชา, เวียดนาม, หมู่เกาะกาลาเมียนใน
ฟิ ลิปปิ นส์ และเกาะบาเวอันในอินโดนีเซีย มักอาศัยอยูใ่ นบริ เวณที่ราบต่ำที่น้ำท่วมถึง ออกหากินในเวลา
กลางคืน มีประสาทสัมผัสในการดมกลิ่นและฟั งเสี ยงดีเยีย่ ม แม่เนื้อทรายสามารถจดจำลูกตัวเองได้โดยการ
ดมกลิ่น เมื่อพบศัตรู จะวิ่งหนีไม่กระโดดเหมือนเก้งและกวาง โดยปกติจะอาศัยอยูต่ ามลำพัง แต่ในฤดูผสม
พันธุ์ ราวเดือนกันยายน-ตุลาคม อาจหากินเป็ นฝูงเล็ก ๆ ได้ ราว 12 ตัว ตั้งท้องประมาณ 8 เดือน วัยเจริ ญ
พันธุ์อยูท่ ี่ 2 ปี ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในสถานที่เลี้ยงมีอายุราว 10-15 ป Axis calamianensis (กวางคาลาเมียน) 
Axis kuhlii (กวางบาวีน) 
สกุล Elaphurus 
Elaphurus davidianus (กวางปักกิ่ง) เป็ นกวางชนิดหนึ่ง จัดเป็ นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยูใ่ น
สกุล Elaphurus 
กวางคุณพ่อดาวีดเป็ นกวางชนิดที่พบได้เฉพาะในประเทศจีนเท่านั้นโดยกระจายพันธุ์อยูท่ างตอน
กลางและตอนใต้ของลุ่มน้ำแยงซี  ได้ชื่อว่า "ดาวีด" มาจากชื่อของบาทหลวงชาวฝรั่งเศส อาร์มอ็ ง ดาวีด ซึ่ ง
เป็ นชาวตะวันตกคนแรกที่พบเห็นและรู้จกั กวางชนิดนี้   
 ชาวจีนมองว่า กวางคุณพ่อดาวีดเป็ นสัตว์ที่แปลกโดยมีลกั ษณะ 4 ประการที่เหมือนหรื อคล้ายคลึง
กับสัตว์ชนิดต่างๆผสมผสานกันคือ มีส่วนหัวเหมือนม้า, มีตีนเหมือนวัว, มีหางเหมือนลาและมีเขาเหมือน
กวางแต่งองุม้ ไปข้างหลังกวางคุณพ่อดาวีด เป็ นกวางที่หากินในที่ราบลุ่มที่น ้ำท่วมขังหรื อสภาพพื้นที่ชุ่มน้ำ
เช่น หนอง, บึง โดยกินหญ้าและตะไคร่ น ้ำเป็ นอาหาร ในฤดูผสมพันธุ์ เมื่อเป็ นสัด กวางตัวผูจ้ ะตกแต่งเขาตัว
เองด้วยใบไม้ต่าง ๆ ห้อยย้อยลงมา กวางตัวผูจ้ ะต่อสู ้กนั ด้วยความดุเดือดเพื่อแย่งชิงตัวเมียขณะที่กวางตัวเมีย
จะไม่มีเขา กวางคุณพ่อดาวีดจะผสมพันธุ์กนั ปี ต่อปี ในขณะที่ลูกกวางที่เกิดขึ้นจากการผสมพันธุ์เมื่อปี ที่แล้ว
ยังไม่หย่านม แต่จะอยูร่ วมกันเป็ นฝูงในหมู่ลูกกวางด้วยกัน จึงทำให้หลีกเลี่ยงที่จะเผชิญกับกวางตัวผูท้ ี่
ก้าวร้าว 
ปั จจุบนั สถานะของกวางคุณพ่อดาวีดได้สูญพันธุ์ไปแล้วจากธรรมชาติ ในจีนคาดว่ามีจ ำนวน
ประชากรราว 2,500 ตัว ในเขตอนุรักษ์ การที่ยงั มีกวางคุณพ่อดาวีดหลงเหลืออยูน่ ้ นั เกิดจากในช่วงต้น
ศตวรรษที่ 20 กวางในธรรมชาติได้สูญพันธุ์ลงแล้ว แต่ยงั มีการนำไปเลี้ยงและได้ขยายพันธุ์ในโบสถ์ของ
ประเทศอังกฤษ ในทวีปยุโรป และได้น ำส่ งกลับมายังจีนจำนวน 40 ตัว ในปี ค.ศ. 1980 ซึ่ งได้สืบพันธุ์มา
จนถึงปั จจุบนั สกุล Dama 
Dama dama (กวางฟอลโล) เป็ นกวางขนาดเล็ก มีความสู งที่ไหล่ประมาณ 1 เมตร ลักษณะเด่นที่
แตกต่างจากกวางชนิดอื่นๆ คือ ปลายลำเขาแบนจนมีลกั ษณะเป็ นแผ่นคล้ายกับกวางมูส ซึ่ งมีแผ่นแบนกว้าง
ขนตามลำตัวสี น ้ำตาลแต้มด้วยจุดสี ขาว แต่จุดเหล่านี้จะหายไปช่วงฤดูหนาว 
เดิมทีกวางชนิดนี้ มีถิ่นกำเนิดในป่ าบริ เวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่ได้ถูกนำไปเลี้ยงในยุโรปและ
อเมริ กา ในที่สุดกวางในถิ่นอาศัยดั้งเดิมก็สูญพันธุ์ คงเหลือแต่กวางที่เปลี่ยนถิ่นฐานไปแล้ว จนบางตัวมีสี
เผือก เนื่องจากผสมพันธุ์ในสายเลือดเดียวกันจนเกิดข้อด้อยดังกล่าว 
7

Dama mesopotamica 
Megaloceros giganteus 
วงศ์ ย่อย  Hydropotinae 
สกุล  Hydropotes 
Hydropotes inermis  (กวางน้ำจีน) 
วงศ์ ย่อย Odocoileinae/ Capreolinae 
สกุล Odocoileus 
Odocoileus virginianus  (กวางหางขาว) 
Odocoileus hemionus  (กวางหางดำ) 
สกุล  Blastocerus 
Blastocerus dichotomus 
สกุล  Ozotoceros 
Ozotoceros bezoarticus  (กวางปัมปั ส) 
สกุล  Mazama 
Mazama americana 
Mazama bricenii 
Mazama chunyi 
Mazama gouazoubira 
Mazama nana 
Mazama pandora 
Mazama rufina 
สกุล Pudu 
Pudu mephistophiles (ปูดูเหนือ; เป็ นกวางเล็กที่สุดในโลก) 
Pudu pudu (ปูดูใต้) 
สกุล Hippocamelus 
Hippocamelus antisensis  (กวางกูเอมาลเปรู ) 
Hippocamelus bisulcus  (กวางกูเอมาลชิลี) 
สกุล Capreolus 
Capreolus capreolus  (กวางโรตะวันตก) 
Capreolus pygargus  (กวางโรตะวันออก) 
8

สกุล  Rangifer 
Rangifer tarandus  (กวางเรนเดียร์  หรื อ กวางแคริ บู)  เป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่
จำพวกกวาง จัดเป็ นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยูใ่ นสกุล Rangifer มีนิสยั ดุร้าย มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับกวางเอ
ลก์ จัดเป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใหญ่ที่สุดของแคนาเดียนทุนดรา ตัวเมียมีน ้ำหนักประมาณ 60 – 170
กิโลกรัม ส่ วนสูงประมาณ 162 – 205 เซนติเมตร ตัวผูม้ ีขนาดใหญ่กว่า มีน ้ำหนักประมาณ 100 – 318
กิโลกรัม ส่ วนสูงประมาณ 180 – 214 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 14 – 20 เซนติเมตร ตัวผูท้ ี่มีอายุมากจะผลิ
เขาในเดือนธันวาคม ตัวผูท้ ี่อายุนอ้ ยจะผลิเขาในฤดูใบไม้ผลิ ส่ วนตัวเมียจะผลิเขาในฤดูร้อน เขาแบ่งออกเป็ น
2 กลุ่ม คือ เขาที่อยูส่ ูงกว่า และเขาที่อยูต่ ่ำกว่า เขากวางเรนเดียร์ตวั ผู ้ มีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 2 รองจากกวา
งมูส คือ กว้างประมาณ 100 เซนติเมตร ยาวประมาณ 135 เซนติเมตร ถือเป็ นกวางที่มีขนาดเขาใหญ่ที่สุดใน
โลก ขนตามลำตัวยามปกติจะมีสีน ้ำตาล แต่เมื่อเข้าสู่ ฤดูหนาว ขนจะเปลี่ยนไปเป็ นสี อ่อนขึ้น หรื อสี ขาว 
กวางเรนเดียร์ มีกีบเท้าที่แยกออกเป็ น 2 ง่ามชัดเจน ใช้สำหรับว่ายน้ำ โดยว่ายได้เร็ วถึง 10
กิโลเมตร/ชัว่ โมง และเมื่อเดินกระดูกตรงข้อเท้าและเส้นเอ็นจะทำให้เกิดเสี ยงไปตลอด สันนิษฐานว่ามีไว้
เพื่อติดต่อกับระหว่างฝูงในยามที่อยูใ่ นที่ ๆ ภาวะวิสยั มองเห็นไม่ชดั เช่น ยามเมื่อหิ มะตกหนัก
เป็ นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวในโลกที่สามารถมองเห็นรังสี
อัลตราไวโอเลตได้ 
 พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่กรี นแลนด์, อเมริ กาเหนือแถบแคนาดาและอลาสกา, สแกน
ดิเนเวีย จนถึงเอเชียตอนบน เช่น จีน, ไซบีเรี ย และมองโกเลียใน สันนิษฐานว่ากวางเรนเดียร์ที่กระจายพันธุ์
ในจีนอพยพมาจากไซบีเรี ยเมื่อราว 2,000 ปี มาแล้ว จากการศึกษาพบว่าประชากรของกวางเรนเดียร์ในจีนลด
ลงถึงร้อยละ 28 จาก ปี ค.ศ. 1970 เนื่องจากถูกแยกออกเป็ นฝูงเล็ก ๆ ทำให้มีตวั เลือกน้อยในการผสมพันธุ์
และแพร่ ขยายพันธุ์ ในปี ค.ศ. 2012 พบกวางเรนเดียร์ในจีนเหลืออยูเ่ พียง 33 ฝูงเท่านั้นโดยจำนวนประชากร
กวางเรนเดียร์ที่พบในธรรมชาติมากที่สุดในโลกพบที่ คาบสมุทรไครเมียในรัสเซี ย และจำนวนที่เหลืออยู่
ประมาณ 600,000 ตัว โดยลดฮวบจากในอดีตอย่างมาก สาเหตุหลักเกิดจากอุณหภูมิที่ถิ่นที่อยูอ่ าศัยร้อนขึ้น
1.5 องศาเซลเซียส, การคุกคามจากมนุษย์, ไฟป่ า รวมถึงโรคระบาดจากยุง 
สกุล Alces 
Alces alces (กวางมูส; เป็ นกวางใหญ่ที่สุดในโลก) 
9

 https://www.matichon.co.th.(2560:1).ได้กล่าวถึงข้อมูลเบื้องต้นของกวางเศรษฐกิจไว้ดงั นี้  
“กวางพันธุ์รูซ่า” เป็ นกวางที่ถูกนำไปเลี้ยงและแพร่ ขยายพันธุ์เชิงพาณิ ชย์ สายพันธุน์ ้ ี ถูกเลี้ยงฟาร์ม
ขนาดใหญ่ สามารถจำหน่ายได้ทุกส่ วน โดยเฉพาะ    เขาอ่อน มีการผลิตเป็ นยาบำรุ งร่ างกาย  เขากวางขาย
สดๆกิโลกรัมละ 6,000 บาท หรื อ บดเป็ นแคปซูล ที่โรงงานอยูท่ ี่ จ ราชบุรี จำหน่ายกิโลกรัมละ 12,000 บาท 
ส่ วนหนังกวางสามารถขายผืนละหมื่นบาท นำไปแปรรู ปเป็ นกระเป๋ า ร้องเท้า 
สำหรับการเลี้ยงกวาง มีเป้ าหมาย 2 ทางเลือก คือ 1. เขาอ่อน และ 2. เนื้อ  เมื่อกวางอายุ 3 ปี ขึ้นไป
คนเลี้ยงจะทราบแล้วว่า กวางตัวใด มีไว้เอาเขากวางหรื อเลี้ยงขุนไว้เอาเนื้ อ กวางเป็ นสัตว์เคี้ยวเอื้อง จึงกินพืช
ล้วนๆเป็ นสารอาหารธรรมชาติ ไม่มีการเร่ งเนื้อแดง อาหารหลักๆ คือ หญ้า ใบไม้แห้ง หญ้ารู ซี่ อาหารเม็ด
เสริ ม ต้นทุนการเลี้ยง 3,500 บาทต่อปี ต่อตัว หากเทียบจากกวาง 1 ตัวกินอาหารเพียง 10 % ของน้ำหนัก ราคา
หญ้ากิโลกรัมละ 1 บาท ดังนั้นระยะ 2 - 3 ปี ลงทุนประมาณ 7,000 พันบาท สามารถให้ผลผลิต 20,000 -
30,000 บาทต่อตัว  
 http://region9.dld.go.th.(2554:1- 4).ได้กล่าวถึงข้อมูลเบื้องต้นของกวางเศรษฐกิจไว้ดงั นี้  
การเลี้ยงกวาง ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการนำกวางพันธุ์รูซ่า (Cervus timorensis) จากประเทศ
นิวคาลิโดเนีย ซึ่ งเป็ นกวางที่ไม่ได้อยูใ่ นบัญชีอนุสญ
ั ญาการค้าระหว่างประเทศเพื่อคุม้ ครองสัตว์ป่าที่หายาก
The Convention on International Trade in Endangered Species (CITES) หรื อในพระราชบัญญัติสงวนและ
คุม้ ครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 โดยสหกรณ์กวางแห่งประเทศไทย จำนวนกว่า 1,500 ตัว ให้กบั เกษตรกรสมาชิก
240 ราย ปั จจุบนั คาดว่า (2538 - 2544) มีกวางรู ซ่าเลี้ยงขยายพันธุ์อยูท่ วั่ ประเทศประมาณ 5,000 ตัว ขณะที่
สถิติจ ำนวนกวางในประเทศไทยแสดงตามภาคต่างๆ ระหว่างปี 2541 - 2542 มีกวางจำนวน 2,000 ตัว  
สถิติจ ำนวนกวางในประเทศไทยแสดงตามภาคต่างๆ ระหว่างปี 2541 - 2542 
ปี พ.ศ. ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ภาคเหนือ ภาคใต้ รวมทั้งประเทศ
2541 2,082 65 6 20 2,173
2542 1,766 179 6 53 2,004
ที่มา : กองแผนงาน กรมปศุสตั ว์  
10

ขณะนี้คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบให้ปรับปรุ ง แก้ไขกฎหมายอนุญาตให้เลี้ยงกวางไทยเป็ นสัตว์


เศรษฐกิจได้แล้ว เนื่องจากกวางไทยมีขนาดใหญ่ให้ผลผลิตเขา เนื้อ และหนังมากกว่ากวางรู ซ่า จึงนับว่าเป็ น
ข่าวดีของวงการเลี้ยงกวาง 
อย่างไรก็ตามการเลี้ยงกวางต้องใช้ตน้ ทุนสู ง ค่ารั้ว โรงเรื อน อาหาร และค่าพันธุ์กวางรู ซ่า ตัวละ
15,000 - 25,000 บาท ขึ้นอยูก่ บั อายุ ขนาด และสภาพตัวสัตว์ สำหรับในการทำฟาร์มกวางมีการประมาณค่า
ใช้จ่ายลงทุน จะเป็ นค่าที่ดิน 55% ค่าพันธุ์กวาง 23% ค่ารั้ว 11% อุปกรณ์ 4% และค่าอาหารแปลงหญ้า 7%
ผลการเลี้ยงจะคืนทุนเมื่อเข้าสู่ ปีที่ 5 - 6 ดังนั้น จึงต้องมีเงินลงทุนระยะยาว แต่อาจสามารถลดต้นทุนลงได้
โดยใช้กวางที่เกิดในประเทศเป็ นแม่พนั ธุ์ ใช้วสั ดุพ้ืนบ้านในการกั้นคอก และจัดหาวัสดุเหลือใช้จาก
การเกษตรเลี้ยงกวาง 
โดยทัว่ ไปเกษตรกรจะจำหน่ายลูกวางรู ซ่าเพื่อนำไปเลี้ยงขยายพันธุ์ต่อตัวละ 15,000 - 25,000 บาท
ขึ้นอยูก่ บั ขนาด อายุ และความสมบูรณ์พนั ธุ์ การจำหน่ายเขากวางอ่อนอบแห้ง ราคาส่ ง กก.ละ 8,000 -
10,000 บาท  
 ราคาการจำหน่ายเขาให้กบั ผูบ้ ริ โภคแบ่งตามสรรพคุณเป็ น 3 ส่ วน  
 -  ส่ วนปลายยอดของเขาอ่อนมีราคาแพงที่สุด เนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนะมากกว่าส่ วนอื่น  
-  ส่ วนกลางใช้รักษาโรคไข้ขอ้   
 -  ส่ วนโคนเขาใช้รักษาในผูช้ ราที่ขาดแร่ ธาตุแคลเซี่ ยม  
ผลผลิตน้ำหนักของเขากวางและคุณภาพแตกต่างกันไปตามสายพันธุ์และอายุกวาง คุณภาพของเขา
กวางสามารถแบ่งได้เป็ นเกรด โดยเขากวางคุณภาพดีจะมีความยาวของลำเขา (beam) ไม่นอ้ ยกว่า 40 ซ.ม.
ขนาดเส้นรอบวงของลำเขาไม่นอ้ ยกว่า 18 ซ.ม. หรื อสามารถทำเป็ นผลิตภัณฑ์เขากวางอ่อนในรู ปแคปซูล
จำหน่าย เม็ดละ 12 - 25 บาท (ขณะที่ต่างประเทศขายในราคา 50 บาท) สำหรับราคาจำหน่ายเนื้อกวาง
ชำแหละ กก.ละ 300 - 600 บาท ขึ้นอยูก่ บั คุณภาพและชิ้นเนื้อส่ วนต่างๆ นอกจากนี้ยงั สามารถจำหน่ายหนัง
กวางส่ งโรงฟอกเพื่อทำเครื่ องหนังเป็ นสิ นค้าส่ งออกราคาแพง 
ในปี 2541 - 2542 มีการนำเข้าเนื้อกวางปี ละจำนวนกว่า 2,000 กก. เป็ นเงินประมาณ 500,000 บาท
รวมทั้งในปี 2542 มีการนำเข้าเขากวางอ่อน 1 ตัน เป็ นเงินกว่า 440,000 บาท เนื่องจากธุรกิจฟาร์มเลี้ยงกวาง
ในประเทศยังอยูใ่ นช่วงระยะเริ่ มต้น เกษตรกรส่ วนใหญ่จ ำหน่ายพันธุ์กวางระหว่างเกษตรกรด้วยกันเพื่อนำ
11

ไปใช้ขยายพันธุ์ แต่เมื่อถึงจุดหนึ่งที่ปริ มาณผลผลิตออกสู่ ตลาด ผูบ้ ริ โภคมากขึ้น อาจทำให้ตอ้ งหาตลาดต่าง


ประเทศรองรับ 
โอกาสการส่ งออก   การเลี้ยงกวางรู ซ่าในประเทศออสเตรเลียมีวตั ถุประสงค์เพื่อผลิตเนื้ อเขากวาง
อ่อนเป็ นเพียงผลพลอยได้ ซึ่ งรายได้ส่วนใหญ่ได้จากการจำหน่ายเนื้อกวางสู งถึง 90% เขากวาง 6% และกวาง
มีชีวิต 4% ตลาดการส่ งออกของเนื้อกวางส่ วนใหญ่อยูใ่ นแถบประเทศยุโรปและอเมริ กาซึ่ งนิยมบริ โภคเนื้ อ
กวางเพื่อสขภาพกันมาก เนื่องจากเนื้ อกวางมีไขมันปริ มาณค่อนข้างค่ำและมีไขมันประเภทอิ่มตัว (คลอเรส
เตอรอลที่เป็ นสาเหตุไขมันอุดตันในเส้นเลือดน้อยมาก ขณะเดียวกันกรดไขมันในเนื้ อกวางเป็ น essential
fatty acid ที่จ ำเป็ นต่อร่ างกายมีอยูใ่ นปริ มาณค่อนข้างสู ง)  
สถิติการนำเข้า - ส่ งออกกวาง ระหว่างปี 2541 - 2542 
รายการ หน่วย นำเข้า ส่ งออก
2541 2542 2541 2542
1. กวางมีชีวิต ตัว  -  2  -  - 
บาท - 50,042 - -
2. ผลิตภัณฑ์ 
    - เนื้อกวาง  กก.  2,409  1,925  -  - 
  บาท  466,360  497,484  -  - 
    - เขากวาง กก.  2  985  -  - 
บาท 40,000 440,587 - -
ที่มา : กองแผนงาน กรมปศุสตั ว์ 
พันธุ์กวางที่สามารถนำมาเลี้ยงเป็ นสัตว์เศรษฐกิจในประเทศไทย  การทำฟาร์มกวางในประเทศไทย
มีขอ้ จำกัดในการห้ามเลี้ยงกวางป่ า เนื่องจากเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครอง และได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติให้
ทำการเพาะเลี้ยงในเชิงการค้าได้ โดยต้องขออนุญาตจากกรมป่ าไม้ เพื่อป้ องกันควบคุมการลักลอบจับสัตว์
ป่ าเพื่อการซื้ อขาย พันธุ์กวางที่เลี้ยงทัว่ ไป ได้แก่  
กวางป่ า หรื อ มีถิ่นกำเนิดในประเทศมาเลเซี ย เกาะสุ มาตรา
กวางม้า อินเดีย จีน ไต้หวัน กัมพูชา ลาว และไทย เป็ นก
12

วางที่มีขนาดใหญ่ สี น้ำตาลเข้ม
เนื้อทราย มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย พบได้ใน พม่า กัมพูชา ลาว
เวียดนาม และไทย มีขนาดเล็ก-กลาง
กลางดาว เป็ นกวางที่มีขนาดเล็ก เลี้ยงอยูใ่ นประเทศไทยมา
นานกว่า 50 ปี อุปนิสยั ค่อนข้างเชื่องกว่าพันธุ์อื่นๆ
กวางรู ซ่า มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินโดนีเซี ยและมาเลเซี ย
ขนาดกลาง สี ขนเทาจนถึงน้ำตาลเหลือง
กวางซี กา้ มีถิ่นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่น จีน เวียดนาม เป็ นก
วางที่มีขนาดกลาง ขนสี เหลืองอมน้ำตาล นิยม
เลี้ยงเพื่อตัดเขากวางอ่อน
กวางฟอลโล มีถิ่นกำเนิดในยุโรป ลำตัวสี เทา-น้ำตาล มีจุดสี ขาว
หางยาว
กวางแดง มีถิ่นกำเนิดในยุโรป ขนสี น ้ำตาลแดง มีขนาดใหญ่
พันธุ์กวาง ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ประเภทสัตว์
กวางป่ า, กวางม้า Sambar deer Cervus uniculor สัตว์เศรษฐกิจ
เนื้อทราย Hog deer Cervus porcinus สัตว์เศรษฐกิจ
กวางดาว Chital deer Axis axis สัตว์เศรษฐกิจ
กวางรู ซ่า Rusa deer Cervus timorensis สัตว์เศรษฐกิจ
กวางซี กา้ Sika deer Cervus nippon สัตว์เศรษฐกิจ
กวางแดง Red deer Cervus elaphus บัญชีไซเตรส
กวางฟอลโล Fallow deer Dama dama บัญชีไซเตรส
ที่มา : Grzimek (1984) 
ข้อมูลจำเพาะของกวางพันธุ์ต่างๆ 
พันธุ์กวาง น้ำหนัก (กก.) ส่ วนสู ง (ซ.ม.) ความยาว (ซ.ม.) ระยะอุม้ ท้อง (วัน)
13

กวางป่ า (อินเดีย) 150 - 315 120 - 150 170 - 270 240


เนื้อทราย 70 - 110 60 - 75 105 - 115 220 - 235
กวางดาว 75 - 100 75 - 97 110 - 140 210 - 225
กวางรู ซ่า 102 110 - 252
กวางซีกา้ 45 - 80 63 - 109 110 - 170 222 - 240
กวางแดง 75 - 340 75 - 150 165 - 265 225 - 262
กวางฟอลโล 35 - 200 80 - 105 130 - 235 232 - 237
ที่มา : Grzimek (1984) 
 http://animal-of-the-world.blogspot.com.(2560:1-2). ได้กล่าวถึงกวางป่ าไว้ดงั น้ ี  
      กวางป่ า , กวางม้ า  ชื่อสามัญ ; Sambar Deer  ชื่อวิทยาศาสตร์ ; Cervus unicolor                   
อาณาจักร Animalia  ไฟลัม Chordata  ชั้น Mammalia  อันดับ Artiodactyla  อันดับย่อย Ruminantia 
วงศ์ Cervidae  วงศ์ยอ่ ย Cervinae  สกุล Cervus  สปี ชีส์ C. unicolor   
      ลักษณะทัว่ ไป เป็ นกวางขนาดใหญ่ ขนยาวหยาบมีสีน ้ำตาลเข้ม ขนบริ เวณคอจะยาวขึ้นหนาแน่น กว่าที่
อื่น ๆ ลูกกวางป่ าเกิดใหม่จะไม่มีจุดขาว ๆ ตามตัวเช่นในลูกเนื้อทรายหรื อกวางดาว หางค่อนข้าง สั้น มีเขา
เฉพาะตัวผู ้ เขามีขา้ งละ 3 กิ่ง เขาที่ข้ ึนครั้งแรกมีกิ่งเดียว เมื่อเขาแรกหลุดเขาที่ข้ ึนใหม่ มี 2 กิ่ง เมื่อเขา 2 กิ่ง
หลุด เขาที่ข้ ึนใหม่มี 3 กิ่ง ปี ต่อไปเมื่อผลัดเขาใหม่จะมีเพียง 3 กิ่งเท่านั้น ไม่เพิ่มมากกว่านี้ ผลัดเขาทุกปี ใน
ช่วงเดือนมีนาคม หรื อ เดือนเมษายน เขาแก่ในเดือนพฤศจิกายน มีแอ่งน้ำตาที่หวั ตาทั้ง 2 ข้าง ขนาดใหญ่มาก
ยืน่ ออกมาให้เห็นชัดเจน ยิง่ ในฤดูผสมพันธุ์แอ่งนี้จะยิง่ มีขนาดใหญ่ข้ ึนอีกและขับสารที่มีกลิ่นแรงมากออก
มาเป็ นประโยชน์ในการดมกลิ่นตามหากัน หู ตา จมูกไวมา 
ลักษณะนิสัย ชอบอยูต่ ามลำพังตัวเดียว นอกจากฤดูผสมพันธุ์ ออกหากินตั้งแต่ตอนเย็นถึงเช้าตรู่
ส่ วนกลางวันจะนอนในที่รกทึบ ชอบอาศัยอยูต่ ามป่ าทัว่ ไปรวมทั้งป่ าทึบ ชอบออกมาหากินอยูต่ ามริ มทาง
ลำธาร และทุ่งโล่ง ชอบนอนแช่ปลักโคลนเหมือนกระบือเพื่อป้ องกันแมลง ในฤดูผสมพันธุ์ตวั ผูจ้ ะดุร้ายและ
หวงตัวเมียมาก ช่วงนี้ตวั ผูจ้ ะต่อสู้กนั อย่างดุร้ายเพื่อแย่งตัวเมีย ว่ายน้ำเก่งและปราดเปรี ยว มันไม่ชอบช้าง
และกลิ่นของช้าง  
14

ถิ่นอาศัย พบตั้งแต่ศรี ลงั กา อินเดีย เนปาล พม่า ไทย อินโดจีนตอนใต้ มาเลเซี ย สุ มาตรา ชวา
บอร์เนียว เซลีเบส ไต้หวัน ไหหลำ ฟิ ลิปปิ นส์ อัสสัม สำหรับประเทศไทย พบตามป่ าดงดิบ ทัว่ ไปทุกภาคทั้ง
ป่ าสู งและป่ าต่ำ 
อาหาร ชอบกินใบไม้ และยอดอ่อนของพืชมากกว่าหญ้า อาหารในธรรมชาติของกวางได้แก่
เถาวัลย์อ่อน ๆ ยอดอ่อนของไม้พมุ่ เตี้ย ๆ ใบไม้หญ้าระบัด ใบไผ่ ชอบกินดินโป่ งมาก 
การสืบพันธุ์ ฤดูผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมตั้งท้องนาน ประมาณ 8 เดือน
ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในช่วงต้นฤดูฝน ลูกกวางจะเริ่ มแยกจากแม่ไปหากินตามลำพัง เมื่ออายุราว 1 ปี หรื อ 1
ปี กว่า และโตพร้อมผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุ 18 เดือน อายุยนื ประมาณ 15 - 20 ปี  
สถานภาพปัจจุบัน สัตว์ป่าคุม้ ครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุม้ ครองสัตว์ป่า พุทธศักราช
2535 
      http://breeding.dld.go.th.(2560:1) ได้กล่าวถึงกวางรู ซ่าไว้ดงั น้ ี  
กวางรู ซ่า 
      ลักษณะ โดยทัว่ ไป เป็ นกวางขนาดกลาง ลำตัวมีสีน ้ำตาลเหลือง-น้ำตาลเทา เพศเมียจะมีสีอ่อนกว่า
เพศผู ้ สายพันธุ์ชวารู ซ่า น้ำหนักโตเต็มที่ เพศผู ้ 120 - 160 กก. เพศเมีย 65 - 90  กก. สายพันธุ์โมลัคกันรู ซ่า
น้ำหนักโตเต็มที่ เพศผู ้ 80 - 100 กก.  เพศเมีย 50 - 60  กก. 
อุปนิสัย ชอบอยูเ่ ป็ นฝูง นิสยั ค่อนข้างตื่นตกใจง่าย โดยเฉพาะพ่อ - แม่พนั ธุ์ที่น ำเข้ามาจากต่าง
ประเทศ เมื่อตกใจจะวิ่งหนีและสามารถกระโดดได้สูงมาก ประมาณ 2 เมตร กวางเพศผูใ้ นช่วงที่เขาแข็งจะ
แสดงอาการดุร้าย หวงตัวเมีย จะไม่ให้ตวั ผูต้ วั อื่นเข้าใกล้ และจะแย่งชิงตัวเมียโดยไล่ขวิดกันจนกว่าอีกตัว
หนึ่งจะยอมแพ้และวิ่งหนีไปเอง ซึ่ งบางครั้งจะขวิดกันจนขาหัก อาจถึงตายได้  กวางที่จบั แยกจากแม่มาเลี้ยง
ตั้งแต่เล็กอายุไม่เกิน 2 เดือน  
    ค่อนข้างเชื่องและคุน้ เคยกับคนเลี้ยงทั้งเพศผูแ้ ละเพศเมียสามารถปล่อยออกมา เดินเล่นกับคนได้ เมื่อถึง
ระยะที่เขาแข็งกวางเพศผูท้ ี่คนุ ้ เคยกับคนจะดุมาก จะแสดงอาการ  เดินเข้าหาแบบช้า ๆ ขนที่คอจะตั้งชัน ร่ อง
ที่ใต้ตาจะเปิ ดออก ทำริ มฝี ปากม้วน ฉี่เป็ นวงใส่ ตวั เอง กระทืบเท้าและทุ่มตัวเข้าใส่ พร้อมที่จะขวิดเมื่อคนเข้า
ใกล้ 
15

ในลูกกวางที่จบั มาเลี้ยงตั้งแต่เล็กอายุไม่เกิน 1 สัปดาห์ ส่ วนใหญ่จะดูดขวดนมได้เองและกินเก่งมาก


กวางอายุ 1 - 2 เดือนสามารถกินได้ถึง 1,200 - 1,400 มิลลิลิตร/ตัว/วัน  แต่ถา้ จับเมื่ออายุเกิน 1 เดือนไปแล้ว
จะสอนให้ดูดขวดนมยากมากและบางครั้งไม่ยอมกินนม จนต้องมีการบังคับให้กิน ถ้าจับมาขังคอกเพียงตัว
เดียวจะวิ่งชนรอบคอกทำให้ได้รับบาดเจ็บ ลูกกวางจะป่ วยและตายได้ จะต้องจับมาพร้อม ๆ กันหลาย ๆ ตัว
เพื่อไม่ให้ลูกกวางตื่นมากนัก ช่วยลดการบาดเจ็บและตายลงได้ 
      ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการเลีย้ งกวางรู ซ่า  เนื่องจากกวางรู ซ่าตื่นตกใจง่ายและกระโดดได้สูง ซึ่ ง
การจัดการต่าง ๆ จะทำค่อนข้างลำบากเช่น การไล่ตอ้ นฝูงเพื่อทำเบอร์สตั ว์ การรักษาพยาบาลและตัดเขา
อ่อน  วิธีการคือต้องไล่มาทั้งฝูงในช่วงอากาศเย็นเท่านั้นมิฉะนั้นจะเกิดการสู ญ เสี ยมาก  
 
 
 
 
 
 

บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการดำเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ ในการศึกษา 
1. ปากกา         
2. ยางลบ 
3. ดินสอ 
4. ไม้บรรทัด 
5. กระดาษ 
6. อินเทอร์เน็ต 
7. ฟิ วเจอร์บอร์ด 
8. กรรไกร 
9. คอมพิวเตอร์ 
16

10. กาว 
11. ซีดีรอม 
ขั้นตอนการดำเนินงาน 
1. ผูศ้ ึกษาเสนอหัวข้อโครงงานต่อคุณครู ที่ปรึ กษาเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำโครงงาน 
2. ผูศ้ ึกษาร่ วมกันประชุมวางแผนวิเคราะห์ตามหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน 
3. ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นขั้นตอนของการเก็บรวบรวมที่เกี่ยวข้องกับโครงงานเพื่อมาวิเคราะห์และ
สรุ ปเนื้อหาที่สำคัญที่จะนำมาจัดทำโครงงาน 
4. นำเสนอผลงานต่อคุณครู ที่ปรึ กษาเพื่อรายงานผลการดำเนินงาน 
5. จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษาและรายงานต่อคุณครู ที่ปรึ กษา 
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้ นคว้ า
จากการศึกษาค้นคว้าในบทที่ 2 ผูจ้ ดั ทำพบว่า สายพันธุ์กวางเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย  มี
7 สายพันธุ์จากจำนวน 54 สายพันธุ์มีรายนามดังต่อไปนี้ 
1. กวางป่ า หรือกวางม้ า Sambar deer Cervusuniculor สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศ
มาเลเซี ย เกาะสุ มาตรา อินเดีย จีน ไต้หวัน กัมพูชา ลาว และไทย เป็ นกวางที่มีขนาดใหญ่ สี น้ำตาลเข้ม เป็ นก
วางขนาดใหญ่ ขนยาวหยาบมีสีน ้ำตาลเข้ม ขนบริ เวณคอจะยาวขึ้นหนาแน่น กว่าที่อื่น ๆ ลูกกวางป่ าเกิดใหม่
จะไม่มีจุดขาว ๆ ตามตัวเช่นในลูกเนื้อทรายหรื อกวางดาว หางค่อนข้าง สั้น มีเขาเฉพาะตัวผู ้ เขามีขา้ งละ 3
กิ่ง เขาที่ข้ ึนครั้งแรกมีกิ่งเดียว เมื่อเขาแรกหลุดเขาที่ข้ ึนใหม่ มี 2 กิ่ง เมื่อเขา 2 กิ่งหลุด เขาที่ข้ ึนใหม่มี 3 กิ่ง ปี
ต่อไปเมื่อผลัดเขาใหม่จะมีเพียง 3 กิ่งเท่านั้น ไม่เพิ่มมากกว่านี้ ผลัดเขาทุกปี ในช่วงเดือนมีนาคม หรื อ เดือน
เมษายน เขาแก่ในเดือนพฤศจิกายน มีแอ่งน้ำตาที่หวั ตาทั้ง 2 ข้าง ขนาดใหญ่มากยืน่ ออกมาให้เห็นชัดเจน ยิง่
ในฤดูผสมพันธุ์แอ่งนี้จะยิง่ มีขนาดใหญ่ข้ ึนอีกและขับสารที่มีกลิ่นแรงมากออกมาเป็ นประโยชน์ในการดม
กลิ่นตามหากัน หู ตา จมูกไวมาก ชอบอยูต่ ามลำพังตัวเดียว นอกจากฤดูผสมพันธุ์ ออกหากินตั้งแต่ตอนเย็น
ถึงเช้าตรู่ ส่ วนกลางวันจะนอนในที่รกทึบ ชอบอาศัยอยูต่ ามป่ าทัว่ ไปรวมทั้งป่ าทึบ ชอบออกมาหากินอยูต่ าม
ริ มทาง ลำธาร และทุ่งโล่ง ชอบนอนแช่ปลักโคลนเหมือนกระบือเพื่อป้ องกันแมลง ในฤดูผสมพันธุ์ตวั ผูจ้ ะ
ดุร้ายและหวงตัวเมียมาก ช่วงนี้ตวั ผูจ้ ะต่อสู้กนั อย่างดุร้ายเพื่อแย่งตัวเมีย ว่ายน้ำเก่งและปราดเปรี ยว มันไม่
17

ชอบช้างและกลิ่นของช้าง ชอบกินใบไม้ และยอดอ่อนของพืชมากกว่าหญ้า อาหารในธรรมชาติของกวาง


ได้แก่ เถาวัลย์อ่อน ๆ ยอดอ่อนของไม้พมุ่ เตี้ย ๆ ใบไม้หญ้าระบัด ใบไผ่ ชอบกินดินโป่ งมาก ฤดูผสมพันธุ์ใน
ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมตั้งท้องนาน ประมาณ 8 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในช่วงต้นฤดูฝน
ลูกกวางจะเริ่ มแยกจากแม่ไปหากินตามลำพัง เมื่ออายุราว 1 ปี หรื อ 1 ปี กว่า และโตพร้อมผสมพันธุ์ได้เมื่อ
อายุ 18 เดือน อายุยนื ประมาณ 15 - 20 ปี  
2. เนือ้ ทราย  Hog deer Cervusporcinus สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในเอเชีย พบได้ใน พม่า กัมพูชา
ลาว เวียดนามและไทยมีขนาดเล็ก - กลางรู ปร่ างค่อนข้างหนา ขาสั้น ความยาวหัว - ลำตัว 105 - 115
เซนติเมตร ความสูงที่หวั ไหล่ 60 - 75 เซนติเมตร ขนสี น ้ำตาลเข้ม มีเส้นดำพาดตามแนวสันหลัง ตั้งแต่คอไป
จนถึงโคนหาง ตัวผูม้ กั มีสีคล้ำกว่าตัวเมีย หางยาว 17 - 21 เซนติเมตร หนักประมาณ 50 - 110 กิโลกรัม  
เขาเนื้อทรายข้างหนึ่งมีสามกิ่ง ยาวได้เต็มที่ 60 เซนติเมตร ทรงของเขาคล้ายเขาของกวางป่ า (Cervus
unicolor) ไม่มีฤดูผลัดเขาที่แน่นอน เนื้อทรายชอบอาศัยอยูใ่ นที่ทุ่งหญ้าที่น ้ำท่วมถึง ดงอ้อ ไม่ชอบอาศัยใน
ป่ าทึบ มีพ้ืนที่หากินกว้างราว 0.7 ตารางกิโลเมตร ตัวผูจ้ ะดุและอาจหวงถิ่นในภาวะที่มีความหนาแน่น
ประชากรต่ำ 
เนื้อทรายบางพื้นที่หากินลำพัง บางพื้นที่กอ็ าศัยอยูเ่ ป็ นฝูง แต่เมื่อมีภยั มาถึง แต่ละตัวจะหนี
กระเจิดกระเจิงไปคนละทิศคนละทาง ไม่หนีไปเป็ นกลุ่ม เวลาวิ่งเข้าไปในพุม่ รกมักซุกหัวลงต่ำ เมื่อมีสิ่ง
กีดขวางก็จะมุดไปแทนที่จะกระโดดข้ามไปอย่างกวางทัว่ ไป พฤติกรรมวิ่งมุดหัวนี้ คล้ายหมู จึงมีชื่อภาษา
อังกฤษว่า hog deer เนื้อทรายเตือนภัยด้วยการส่ งเสี ยงหวีดแหลม หรื อเสี ยงเห่า เมื่อกระโดดจะชูหางขึ้นให้
เห็นใต้หางสี ขาว 
ฤดูผสมพันธุ์อยูร่ าวเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม เนื้อทรายตัวผูไ้ ม่ได้สร้างฮาเร็ มเช่นกวางส่ วน
ใหญ่ แต่จะติดใจตัวเมียเพียงทีละตัวเท่านั้น เนื้อทรายหนุ่มจะต่อสู่ กนั อย่างดุเดือดเพื่อแย่งตัวเมียที่พร้อมผสม
พันธุ์ แม่เนื้อทรายตั้งท้องนาน 220 - 240 (180) วัน มักออกลูกครั้งละตัว ลูกกวางวัยเด็กจะมีลายจุดทัว่ ตัว เมื่อ
โตแล้วลายจึงเลือนไป ลูกกวางหย่านมเมื่ออายุได้ 6 เดือน พออายุได้หนึ่งขวบก็เป็ นผูใ้ หญ่เต็มตัวแล้ว เนื้อ
ทรายมีอายุขยั ได้ถึง 20 ปี  
3. กวางดาว Chital deer Axis axis สัตว์เศรษฐกิจเป็ นกวางที่มีขนาดเล็ก เลี้ยงอยูใ่ นประเทศไทยมา
นานกว่า 50 ปี อุปนิสยั ค่อนข้างเชื่องกว่าพันธุ์อื่นๆ  กวางดาวมีขนสี น ้ำตาลแกมเหลืองออกสี ชมพู มีจุดสี ขาว
18

ส่ วนท้องมีสีขาว เขามีสามกิ่ง โค้งคล้ายพิณ มีการผลัดเขาทุกปี ยาวได้ถึง 75 ซม. (2.5 ฟุต) เมื่อเทียบกับเนื้อ


ทรายซึ่ งเป็ นญาติใกล้ชิดแล้ว กวางดาวถูกสร้างมาให้เหมาะสำหรับการวิ่งมากกว่า และมีสณ
ั ฐานที่พฒั นาสู ง
กว่าคือปลายเขาสั้นตามส่ วน และกล่องหู มีขนาดเล็กกว่า มีโพรงจมูกขนาดใหญ่ ตัวผูม้ ีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย
สู งประมาณ 90 ซม. (35 นิ้ว) จรดไหล่ หัวถึงลำตัวยาว 170 ซม. (67 นิ้ว) หางยาว 20 ซม. (7.9 นิ้ว) หนัก 30
ถึง 75 กก. (66 ถึง 170 ปอนด์) ตัวเมียหนัก 25 ถึง 45 กก. (55 ถึง 99 ปอนด์) ตัวผูท้ ี่มีขนาดใหญ่มากๆ หนัก
ได้ถึง 98 ถึง 110 กก. (220 ถึง 240 ปอนด์) มีช่วงชีวิต 8 – 14 ปี  
กวางดาวมีการวิวฒั ต่อมกลิ่นบริ เวณดวงตาสู ง ซึ่ งมีขนแข็งที่คล้ายกิ่งไม้เล็กๆ รวมทั้งต่อมกลิ่นที่
หลังขา ตัวผูม้ ีต่อมกลิ่นบริ เวณดวงตาใหญ่กว่าตัวเมียและเปิ ดออกบ่อยครั้งเมื่อตอบสนองสิ่ งเร้า กวางดาวมี
การกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย ตลอดไปจนถึงเนปาล ภูฏานบังกลาเทศ และศรี ลงั กาทางตะวันตกสิ้ น
สุ ดที่ทางตะวันออกของรัฐราชสถานและรัฐคุชราต ทางเหนือสิ้ นสุ ดไปตามแนวเข็มขัดบาบาร์ -เทไร ตีนเขา
ของเทือกเขาหิมาลัยและจากรัฐอุตตรประเทศและรัฐอุตตราขัณฑ์ผา่ นไปถึงเนปาล ตะวันตกเฉี ยงเหนือของ
เบงกอลและรัฐสิ กขิม และต่อจากนั้นไปทางตะวันตกของรัฐอัสสัมและป่ าชุมชนของประเทศภูฏานที่ต ่ำกว่า
ระดับน้ำทะเล 1,100 เมตร จุดสิ้ นสุ ดทางตะวันออกนั้น ผ่านทางตะวันตกของรัฐอัสสัม ถึงป่ าซันเดอร์แบน
ของเบงกอลตะวันตกและบังกลาเทศทางใต้สิ้นสุ ดที่ศรี ลงั กา มีการพบกวางดาวเป็ นช่วง ๆ ตามพื้นที่ป่าที่
วางตัวตลอดแหลมอินเดีย แต่ปัจจุบนั พบได้แค่ในป่ าซันเดอร์แบนในบังกลาเทศเท่านั้น ส่ วนพื้นอื่นได้สูญ
พันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้ว กวางดาวถือเป็ นสัตว์ชนิดแรกที่มีจดั แสดงในสวนสัตว์ดุสิต หรื อ เขาดินวนา
สวนสัตว์แห่งแรกในประเทศไทย 
4. กวางรู ซ่า Rusa deerCervustimorensis สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศอินโดนีเซี ยและ
มาเลเซี ย ขนาดกลาง สี ขนเทาจนถึงน้ำตาลเหลือง  ลักษณะโดยทัว่ ไป เป็ นกวางขนาดกลาง ลำตัวมีสีน ้ำตาล
เหลือง-น้ำตาลเทา เพศเมียจะมีสีอ่อนกว่าเพศผู ้ สายพันธุ์ชวารู ซ่า น้ำหนักโตเต็มที่ เพศผู ้ 120 - 160 กก. เพศ
เมีย 65 - 90  กก. สายพันธุ์โมลัคกันรู ซ่า น้ำหนักโตเต็มที่ เพศผู ้ 80 - 100 กก.  เพศเมีย 50 - 60  กก.     
อุปนิสัย   ชอบอยูเ่ ป็ นฝูง นิสยั ค่อนข้างตื่นตกใจง่าย โดยเฉพาะพ่อ - แม่พนั ธุ์ที่น ำเข้ามาจากต่าง
ประเทศ เมื่อตกใจจะวิง่ หนีและสามารถกระโดดได้สูงมาก ประมาณ 2 เมตร กวางเพศผูใ้ นช่วงที่เขาแข็งจะ
แสดงอาการดุร้าย หวงตัวเมีย จะไม่ให้ตวั ผูต้ วั อื่นเข้าใกล้ และจะแย่งชิงตัวเมียโดยไล่ขวิดกันจนกว่าอีกตัว
19

หนึ่งจะยอมแพ้และวิ่งหนีไปเอง ซึ่ งบางครั้งจะขวิดกันจนขาหัก อาจถึงตายได้  กวางที่จบั แยกจากแม่มาเลี้ยง


ตั้งแต่เล็กอายุไม่เกิน 2 เดือน  
ค่อนข้างเชื่องและคุน้ เคยกับคนเลี้ยงทั้งเพศผูแ้ ละเพศเมียสามารถปล่อยออกมา เดินเล่นกับคนได้
เมื่อถึงระยะที่เขาแข็งกวางเพศผูท้ ี่คุน้ เคยกับคนจะดุมาก จะแสดงอาการ  เดินเข้าหาแบบช้า ๆ ขนที่คอจะตั้ง
ชัน ร่ องที่ใต้ตาจะเปิ ดออก ทำริ มฝี ปากม้วน ฉี่ เป็ นวงใส่ ตวั เอง กระทืบเท้าและทุ่มตัวเข้าใส่ พร้อมที่จะขวิด
เมื่อคนเข้าใกล้ 
ในลูกกวางที่จบั มาเลี้ยงตั้งแต่เล็กอายุไม่เกิน 1 สัปดาห์ ส่ วนใหญ่จะดูดขวดนมได้เองและกินเก่งมาก
กวางอายุ 1 - 2 เดือนสามารถกินได้ถึง 1,200 - 1,400 มิลลิลิตร/ตัว/วัน  แต่ถา้ จับเมื่ออายุเกิน 1 เดือนไปแล้ว
จะสอนให้ดูดขวดนมยากมากและบางครั้งไม่ยอมกินนม จนต้องมีการบังคับให้กิน ถ้าจับมาขังคอกเพียงตัว
เดียวจะวิ่งชนรอบคอกทำให้ได้รับบาดเจ็บ ลูกกวางจะป่ วยและตายได้ จะต้องจับมาพร้อม ๆ กันหลาย ๆ ตัว
เพื่อไม่ให้ลูกกวางตื่นมากนัก ช่วยลดการบาดเจ็บและตายลงได้ 
  ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการเลีย้ งกวางรู ซ่า  เนื่องจากกวางรู ซ่าตื่นตกใจง่ายและกระโดดได้สูง
ซึ่ งการจัดการต่าง ๆ จะทำค่อนข้างลำบากเช่น การไล่ตอ้ นฝูงเพื่อทำเบอร์สตั ว์ การรักษาพยาบาลและตัดเขา
อ่อน  วิธีการคือต้องไล่มาทั้งฝูงในช่วงอากาศเย็นเท่านั้นมิฉะนั้นจะเกิดการสู ญ เสี ยมาก 
5. กวางซีก้า Sika deer Cervusnippon สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่น จีน เวียดนาม
เป็ นกวางที่มีขนาดกลาง ขนสี เหลืองอมน้ำตาล นิยมเลี้ยงเพื่อตัดเขากวางอ่อน  เป็ นกวางที่มีถิ่นกำเนิดใน
เอเชียตะวันออกและถูกนำเข้าไปเป็ นสัตว์เลี้ยงในหลายพื้นที่บนโลก อดีตพบในตอนใต้ทางภาคเหนือของ
ประเทศเวียดนามไปจนถึงทางเหนือของรัสเซี ยตะวันออกไกล ปั จจุบนั เกือบจะสู ญพันธุ์แล้วในทุกพื้นที่
ยกเว้นในประเทศญี่ปุ่นที่มีประชากรหนาแน่น 
       กวางซีกาเป็ นกวางขนาดกลางมีความสู งจรดหัวไหล่ 50 - 95 เซนติเมตร หนัก 30 - 70 กิโลกรัม เพศ
ผูม้ ีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย มีขนตามลำตัวสี น ้ำตาลส้ม มีจุดสี ขาวกระจายอยูท่ วั่ ไป หางสั้นมีสีน ้ำตาลอ่อน ก้น
มีสีขาว สี ขนบริ เวณด้านบนและด้านข้าง ลำตัวอาจมีสีที่เข้มกว่าสี ขนบริ เวณท้องและด้านในของขา มีเขา
เฉพาะเพศผู ้ เขามีกิ่งก้านแผ่อแอกมาเพียงข้างละ 4 ก้าน 
      มักอาศัยอยูร่ วมกันเป็ นฝูงใหญ่ในป่ าเบญจพรรณ หรื อทุ่งหญ้า ในฝูงมักประกอบไปด้วยเพศเมียเป็ น
ส่ วนใหญ่ กวางเพศผูม้ ีการผลัดเขาทิ้งทุกปี  
20

กวางซีกา เป็ นสัตว์ที่ชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าเป็ นสัตว์ที่รับใช้เทพเจ้า ในจังหวัดนะระ โดยเฉพาะใกล้ ๆ วัด


โทได กวางซี กาที่อาศัยอยูท่ ี่นี่ ใช้ชีวิตอย่างเสรี โดยปะปนกับผูค้ นทัว่ ไปโดยไม่มีผใู ้ ดทำอันตราย 
       6. กวางฟอลโล Fallow deer Damadama บัญชีไซเตรสมีถิ่นกำเนิดในยุโรป ลำตัวสี เทา - น้ำตาล มี
จุดสี ขาวหางยาว  ลักษณะโดยทัว่ ไป เป็ นกวางขนาดเล็ก มีถิ่นกำเนิดในยุโรป เมดิเตอร์เรเนียน โตเต็มที่มี
ความสู งประมาณ 75 - 105 ซม. น้ำหนัก 50 - 80 กก. หน้าสั้น ลำตัวมีสีน ้ำตาลจาง-น้ำตาลสนิม มีจุดขาว บาง
ตัวมีสีขาวตลอดลำตัว ฤดูร้อนลำตัวจะเป็ นสี น ้ำตาลมีจุดขาวเห็นเด่นชัด หน้าหนาวลำตัวจะมีสีน ้ำตาลสนิม -
น้ำตาลเทา มีจุดน้อยสี ขาวจางๆ  อุปนิสยั    ชอบอยูร่ วมกันเป็ นฝูง เป็ นกวางที่ค่อนข้างขี้ขลาด ตื่นเต้นได้ง่าย
กว่ากวางพันธุ์อื่น ถ้าเกิดเสี ยงดังจะวิ่งหนี หรื อกระโดด (คล้ายกระต่าย) ไปก่อน แล้วค่อยเดินกลับมาดูใหม่
แต่ถา้ เวลาให้อาหารก็จะเข้ามาใกล้ ย้ายฝูงได้ง่าย  
      ในกวางเพศผูช้ ่วงที่มีเขาแข็งถ้าเกิดความเครี ยด เช่นไล่ตอ้ นฝูงเข้าไปอยูใ่ นที่แคบ ๆ เพื่อทำเบอร์
หรื อ ฉี ดยา กวางตัวผูจ้ ะหันไปขวิดกันเอง   และหันมาทำร้ายกวางตัวเมียและลูกกวางอาจเกิดความเสี ยหาย
ได้ 
ในกวางเพศเมีย ระยะคลอดลูกถ้าเกิดความเครี ยดจากการรบกวน จากการไล่ฝงู หรื อการไล่ฝงู อื่น ที่
อยูใ่ กล้ ๆ หรื อคนเข้าไปดูลูกกวางที่เกิดใหม่ จะทำให้แม่กวางไม่ยอมเลี้ยงลูกและทิ้งลูกไปเลย ต้องจับลูกมา
เลี้ยงและส่ วนใหญ่จะเลี้ยงไม่รอดเนื่องจากลูกกวางอ่อนแอมาก  
      ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการเลีย้ งกวางฟอลโล เนื่องจากเป็ นกวางที่มีถิ่นกำเนิดในเขตหนาว ต้อง
ดูแลมากเป็ นพิเศษ ทั้งในด้านการให้อาหารข้นที่มีคุณภาพ และอาหารหยาบ ในช่วงหน้าแล้งที่มีแต่หญ้าแห้ง
หญ้าหมัก ต้องหากิ่งไม้ ใบไม้สดเสริ ม เพราะกวางจะทรุ ดโทรมง่ายกว่ากวางพันธุ์อื่น ๆ  ซึ่ งจะมีผลต่อการ
ให้ลูกในปี ต่อไป  
ลูกที่เกิดในฤดูฝน (พฤษภาคม-มิถุนายน) มีความชื้นในอากาศสู ง ทำให้ลูกกวางมีสภาพอ่อนแอ และ
เกิดโรคปอดบวมแทรกซ้อนได้ง่าย ทำให้เกิดการสู ญเสี ยมาก จึงต้องมีการกำหนดฤดูการผสมพันธุ์ใหม่ให้
ลูกเกิดในช่วงปลายเดือนกันยายน-ต้น พฤศจิกายน ซึ่ งจะต้องมีการศึกษาวิจยั ต่อไป 
       7. กวางแดง Red deer Cervuselaphus บัญชีไซเตรสมีถิ่นกำเนิดในยุโรปขนสี น ้ำตาลแดงมีขนาด
ใหญ่  ลักษณะโดยทัว่ ไป เป็ นกวางขนาดใหญ่ ถิ่นกำเนิดเดิมอยูใ่ นยุโรปขนาดเมื่อโตเต็มที่เพศผูน้ ้ำหนัก 160
กก. เพศเมีย น้ำหนัก 90  กก. สูง 1.2 - 1.5 เมตร ลำตัวมีสีน ้ำตาลแดง มีขนยาว หน้ายาว  
21

    อุปนิสัย ชอบอยูร่ วมฝูงทั้งเพศผูเ้ พศเมียไม่ปะปนกับกวางพันธุ์อื่นๆไม่ค่อยตื่นตกใจมากนักนิสยั ค่อนข้าง


เชื่องโดยเฉพาะเพศเมีย แต่เพศผูจ้ ะยังคงตื่นคนอยูเ่ พศเมียจะเป็ นตัวนำฝูงเมื่อมีการไล่ตอ้ น เพศผู ้     ในช่วง
ที่มีเขาแข็งจะต่อสู้กนั เองเพื่อแย่งชิงเพศเมีย ตัวใดชนะก็จะคุมฝูงและไล่ขวิดตัวผูอ้ ื่นๆ ไม่ให้เข้าใกล้บริ เวณที่
มีตวั เมียอยู่ โดยจะวิ่งวนไปรอบ ๆ ฝูงตัวเมีย  
เพศเมียในช่วงแรกที่น ำเข้ามาใหม่ๆ กวางจะปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ไม่ดีนกั ทำให้ลูกกวาง
ที่เกิดมาอ่อนแอ ตายเป็ นจำนวนมาก แม่กวางจะหวงลูกและซ่อนลูกไว้ใต้พมุ่ ไม้ถา้ มีคนไปรบกวนหรื อ จับ
ตัวลูกกวาง แม่จะไม่ยอมรับลูกเลยบางครั้งจะใช้หวั ตบกัด เตะและกันไม่ให้เข้าไปรวมฝูงใน ลูกกวาง ช่วง
ระยะเวลาหย่านมจะต้องมีการศึกษาถึงระยะที่เหมาะสมในการหย่านมเนื่องจาก ลูกกวางเมื่อหย่านมใหม่ๆ
จะร้องเรี ยกแม่อยูต่ ลอดเวลาและเดินวนรอบแปลงหญ้าตลอดคืน ทำให้ลูกกวางเหนื่อยตายได้ 
   ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการเลีย้ งกวางแดง เนื่องจากเป็ นกวางที่มีถิ่นกำเนิดในเขตหนาว  
และตัวใหญ่จึงค่อนข้างหอบง่ายกว่ากวางพันธุ์อื่นๆเมื่อมีการไล่ตอ้ นเพื่อ ย้ายแปลงถ้าไม่สามารถย้ายได้ใน
การไล่ครั้งแรก หรื อครั้งที่สองจะต้องปล่อยให้กวางหยุดพักแล้วจึงไล่ใหม่ ทำให้เสี ยเวลาในการไล่ตอ้ น ต้อง
มีการดูแลเป็ นพิเศษเช่นเดียวกับกวางฟอลโล
22

บทที่ 5
อภิปรายผลสรุปผลการศึกษาค้ นคว้ า
อภิปรายผล
จากการที่ผจู้ ดั ทำได้รวบรวมข้อมูลในบทที่ 2 เกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นของกวาง
จำนวน 54 สายพันธุ์ มีดงั นี้ 1. กวางป่ า หรื อกวางม้า Sambar deer Cervusuniculor สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิด
ในประเทศมาเลเซีย เกาะสุ มาตรา อินเดีย จีน ไต้หวัน กัมพูชา ลาว และไทย เป็ นกวางที่มีขนาดใหญ่ สี
น้ำตาลเข้ม  2. เนื้อทราย Hog deer Cervusporcinus สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในเอเชีย พบได้ใน พม่า
กัมพูชา ลาว เวียดนาม และไทย มีขนาดเล็ก-กลาง 3. กวางดาว Chital deer Axis axis สัตว์เศรษฐกิจเป็ นกวาง
ที่มีขนาดเล็ก เลี้ยงอยูใ่ นประเทศไทยมานานกว่า 50 ปี อุปนิสยั ค่อนข้างเชื่องกว่าพันธุ์อื่นๆ 4. กวางรู ซ่า Rusa
deer Cervustimorensis สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศอินโดนีเซี ยและมาเลเซี ย ขนาดกลาง สี ขนเทา
จนถึงน้ำตาลเหลือง 5. กวางซีกา้ Sika deer Cervusnippon สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่น จีน
เวียดนาม เป็ นกวางที่มีขนาดกลาง ขนสี เหลืองอมน้ำตาล นิยมเลี้ยงเพื่อตัดเขากวางอ่อน 6. กวาง
ฟอลโล Fallow deer Damadama บัญชีไซเตรสมีถิ่นกำเนิดในยุโรป ลำตัวสี เทา-น้ำตาล มีจุดสี ขาวหางยาว
7. กวางแดง Red deer Cervuselaphus บัญชีไซเตรสมีถิ่นกำเนิดในยุโรป ขนสี น ้ำตาลแดง มีขนาดใหญ่  
จากการทำงานครั้งนี้ผจู้ ดั ทำได้ประสบปัญหาและอุปสรรคคือเนื่องจากข้อมูลมาจากแหล่งที่มาแตกต่างกัน
ทำให้ขอ้ มูลไม่ตรงกันเกิดความคลาดเคลื่อนของข้อมูลยากต่อการรวบรวมอีกทั้งยังมีปัญหาความเข้าใจการ
แปลผลที่ไม่ถูกต้องทำให้เกิดความเข้าใจผิดในการทำงานขึ้น
สรุ ปผลการศึกษาค้นคว้ า
ผูจ้ ดั ทำได้รับความรู้เกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นและลักษณะเกี่ยวกับกวางทั้ง 54 สายพันธุ์และสามารถ
บอกได้วา่ สายพันธ์เศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีท้ งั หมด 7 สายพันธุ์ ได้แก่ 
23

1. กวางป่ า หรื อกวางม้า Sambar deer Cervusuniculor สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศมาเลเซี ย เกาะ


สุ มาตรา อินเดีย จีน ไต้หวัน กัมพูชา ลาว และไทย เป็ นกวางที่มีขนาดใหญ่ สี น ้ำตาลเข้ม  
2. เนื้อทราย Hog deer Cervusporcinus สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในเอเชีย พบได้ใน พม่า กัมพูชา ลาว
เวียดนาม และไทย มีขนาดเล็ก-กลาง 3. กวางดาว Chital deer Axis axis สัตว์เศรษฐกิจเป็ นกวางที่มีขนาดเล็ก
เลี้ยงอยูใ่ นประเทศไทยมานานกว่า 50 ปี อุปนิสยั ค่อนข้างเชื่องกว่าพันธุ์อื่นๆ 4. กวางรู ซ่า Rusa deer
Cervustimorensis สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศอินโดนีเซี ยและมาเลเซี ย ขนาดกลาง สี ขนเทาจนถึง
น้ำตาลเหลือง 5. กวางซีกา้ Sika deer Cervusnippon สัตว์เศรษฐกิจมีถิ่นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่น จีน เวียดนาม
เป็ นกวางที่มีขนาดกลาง ขนสี เหลืองอมน้ำตาล นิยมเลี้ยงเพื่อตัดเขากวางอ่อน 6. กวางฟอลโล Fallow deer
Damadama บัญชีไซเตรสมีถิ่นกำเนิดในยุโรป ลำตัวสี เทา-น้ำตาล มีจุดสี ขาวหางยาว
7. กวางแดง Red deer Cervuselaphus บัญชีไซเตรสมีถิ่นกำเนิดในยุโรป ขนสี น ้ำตาลแดง มีขนาดใหญ่  ก่อ
ให้เกิดสื่ อการเรี ยนรู้ สื่ อการสอนเรื่ องสายพันธุ์เศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยที่เป็ นเว็ปไซต์และซี ดี
รอมเผยแพร่ แก่ผทู้ ี่สนใจ
ประโยชน์ ที่ได้รับ
1. ทำให้เกิดความสามัคคีภายในกลุ่ม
2. ทำให้รู้ขอ้ มูลเบื้องต้นและลักษณะสายพันธุ์ท้ งั 54 สายพันธุ์
3. ทำให้ทราบสายพันธุ์กวางเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทย
4. ได้ฝึกทำงานอย่างเป็ นขั้นตอน
ข้ อเสนอแนะ
จาการที่สำรวจสายพันธุ์กวางต่างๆในโลกนี้ผศู ้ ึกษามีขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับโครงงานคือ
1. ทำการรวบรวมข้อมูลให้มากขึ้น ทำให้ขอ้ มูลเป็ นกลางมากที่สุด
2. ปรึ กษาผูร้ ู้ คุณครู หรื อผูท้ ี่มีความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องนี้โดยตรง เพื่อส่ งผลให้การแปรผลเที่ยงตรงมาก
ขึ้น
24

เอกสารอ้ างอิง

blogspot .กวางเนื้อทราย.http://animal-of-the-world.blogspot.com.(31 ธันวาคม  2565). 

blogspot .กวางป่ ากวางม้า.http://animal-of-the-world.blogspot.com.(31 ธันวาคม  2565). 

komchadluek.กวางเศรษกิจ.http://www.komchadluek.net.(31 ธันวาคม  2565). 

region9.การเลี้ยงกวาง.http://region9.dld.go.th.(31 ธันวาคม  2565). 

wikipedia.สายพันธุข์ องกวาง.https://th.m.wikipedia.org.(31 ธันวาคม  2565). 


 
 
 
 
25

ภาคผนวก
26

Muntiacus muntjak (เก้ งธรรมดา)

Muntiacus reevesi

Muntiacus crinifrons

Muntiacus feae (เก้ งหม้ อ, เก้ งดำ หรือ เก้ งดง)


27

Muntiacus atherodes (เก้ งเหลืองบอร์ เนียว)

Muntiacus rooseveltorum (เก้ งอินโดจีน)

Muntiacus gongshanensis

Muntiacus vuquangensis (เก้ งยักษ์ )


28

Muntiacus truongsonensis (เก้ งตรองซอน)

Muntiacus putaoensis

Elaphodus cephalophus (กวางจุก)

Cervus elaphus (กวางแดง)


29

Cervus wallichi

Cervus canadensis (กวางเอลก์ )

Cervus albirostris

Cervus nippon (กวางซีก้า กวางซิกะ หรือ กวางญี่ปน)


ุ่
30

Cervus duvaucelii (กวางบึง)

Cervus schomburgki (สมัน ; สู ญพันธุ์ต้งั แต่ ปีค.ศ. 1938)

Cervus eldii (ละองละมั่ง )

ละองละมั่งพันธุ์ไทย (Cervus eldii thamin)


31

Cervus unicolor (กวางป่ า หรือ กวางม้ า)

Cervus unicolor equinus

Cervus timorensis (กวางรู ซ่า)

Cervus mariannus
32

Cervus alfredi

Axis axis (กวางดาว)

Axis porcinus (เนือ้ ทราย)

Axis calamianensis (กวางคาลาเมียน)


33

Axis kuhlii (กวางบาวีน)

Elaphurus davidianus (กวางปักกิง่ )

Dama dama (กวางฟอลโล)

Dama mesopotamica
34

Megaloceros giganteus

Hydropotes inermis (กวางน้ำจีน)

Odocoileus virginianus (กวางหางขาว)

Odocoileus hemionus (กวางหางดำ)


35

Blastocerus dichotomus

Ozotoceros bezoarticus (กวางปัมปัส)

Mazama americana

Mazama bricenii
36

Mazama chunyi

Mazama gouazoubira

Mazama nana

Mazama pandora
37

Mazama rufina

Puda mephistophiles ( ปูดูเหนือ : เป็ นกวางที่เล็กที่สุด


ในโลก )

Puda puda ( ปูดูใต้ )

Hippocamelus antisensis ( กวํางกูเอมําลเปรู )


38

Hippocamelus bisulcus

Capreolus capreolus

Rangifer tarandus

Alces alces

You might also like