You are on page 1of 15

รายงาน

เรื่อง สุกร

เสนอ
อาจารย์ วาสนา ศิริแสน

จัดทาโดย
นางสาวดวงพร อร่ามศรี รหัสนิสิต 64010910393
นางสาวชมพูนุช สริมา รหัสนิสิต 64010911008
นายธนา ด่านระหาร รหัสนิสิต 64010911015
นายพีระวัฒน์ พงกระพันธ์ รหัสนิสิต 64010911027
นายอมรเทพ หนองห้าง รหัสนิสิต 64010911054
นายกันตพัฒน์ ไพบูลย์ชิต รหัสนิสิต 64010911279
นางสาวจิราพร อ้วนศรีเมือง รหัสนิสิต 64010911286
นางสาวจินดามณี บุรพร รหัสนิสิต 64010917011
นายธนพล ศรีสมบัติ รหัสนิสิต 64010917021
นางสาวน้องหนึ่ง ราษกล รหัสนิสิต 64010917027
นางสาวชลธิชา แย้มโกสุมภ์ รหัสนิสิต 64010917289
นางสาวธัญญารัตน์ เสนาจ รหัสนิสิต 64010917321
นางสาวธิติยา แสงฤทธิ์ รหัสนิสิต 64010917327
นางสาวธีรนาถ แสงฤทธิ์ รหัสนิสิต 64010917329
นายนวพันธ์ ลาพุทธา รหัสนิสิต 64010917336
นางสาววันวิสา ผาลี รหัสนิสิต 64010917424
นางสาววิลาวัณย์ วาดพนม รหัสนิสิต 64010917427
นางสาววิลาวัลย์ จงใจดี รหัสนิสิต 64010917428
นายอธิป อยู่เจริญ รหัสนิสิต 64010917473
นางสาวอัญมณี ถิตย์รัตน์ รหัสนิสิต 64010917487
นางสาวณัฐณิชา เสี้ยวภูเขียว รหัสนิสิต 64010917554
กลุ่มที่ 6

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา สัตว์เลี้ยงกับชีวิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา สัตว์เลี้ยงกับชีวิต รหัสวิชา 0042014 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ใน
เรื่อง สุกร เพื่อเป็นประโยชน์แก่การเรียนและนาไปปฎิบัติตามแก่นักศึกษา และผู้ที่สนใจ
ผู้จัดทาหวังว่า รายงานฉบับนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆ ท่านที่กาลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่
หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ต้นกาเนิด 1
ประเภทของสุกร
- สุกรแบ่งตามประเภทของการใช้ประโยชน์ 2
พันธุ์สุกร

- สุกรพันธุ์พื้นเมือง 3
- สุกรพันธุ์ควาย 4
- สุกรพันธุ์ราดหรือกระโดน 4
- สุกรพันธุ์ไหหลา 5
- สุกรพันธุ์เหมยซาน 5
- สุกรพันธุ์พวง 6
- สุกรพันธุ์ต่างประเทศ 6
- สุกรพันธุ์เพียวเตรียน 7
- สุกรพันธุ์ดูรอค 8
- สุกรพันธุ์เเฮมเชียร์ 8
- สุกรพันธุ์ลาร์จไวท์ 9
- สุกรพันธุ์แลนด์เรซ 10
อ้างอิง 11
1

ต้นกาเนิด
สุกรได้มีวิวัฒนาการมาจากสุกรป่าโดยวิธีทางธรรมชาติและฝีมือของมนุษย์ในการปรับปรุงพันธุ์และ
คัดเลือกสายพันธุ์ พันธุ์สุกรที่ได้ยอมรับกันทั่วไปเป็นพันธุแท้ (pure breed) มี อยู่ประมาณ 87 พันธุ์กระจายอยู่ใน
ทวีปยุโรปและอเมริกา พันธุ์สุกรเป็นปัจจัยที่สาคัญในการพัฒนาการเลี้ยงสุกร ทาให้ฟาร์มสุกรมีประสิทธิภาพใน
การผลิตสูง และสร้างผลกาไรให้แก่ผู้ผลิตสุกรเป็นการค้า เนื่องจากสุกรพันธุดีจะมีสมรรถภาพในการสืบพันธุ์ดี มี
อัตราการเจริญเติบโตสูง มีประสิทธิภาพการให้อาหารดีให้ผลผลิตสูง ใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้น ตลอดจนมี
คุณภาพซากที่ดีด้วย
ประเทศไทยมีการปรับปรุงพันธุ์สุกรกันอย่างมาก มีฟาร์มสุกรขนาดใหญ่เกิดขึ้นจานวนมาก ดาเนินธุรกิจ
แบบแข่งขัน มีการนาเอาสุกรพันธุ์ต่างประเทศเข้ามาทาการปรับปรุงพันธุ์สุกรให้มีคุณภาพดีขึ้น เพื่อให้สุกรที่ผลิต
ได้ตรงกับความต้องการของตลาด
2

ประเภทของสุกร
สุกรแบ่งตามประเภทของการใช้ประโยชน์เป็น 3 ประเภท คือ
1. ประเภทมัน (Lard type)
เป็นสุกรดั้งเดิม เจริญเติบโตช้า รูปร่างอ้วนเตี้ย ลาตัวสั้น สะโพกเล็ก ให้เนื้อ น้อย มีมันมาก ได้แก่ สุกร
พันธุ์พื้นเมืองของไทยและจีน ปัจจุบันสุกรพันธุ์พื้นเมืองมีเหลืออยู่น้อยมาก ทางภาคใต้มีมากกว่าภาคอีสาน อีกไม่
นานสุกรประเภทนี้คงจะหมดไป เนื่องจากผู้บริโภคไม่นิยมบริโภคน้ามันที่ได้จากสุกร แต่หันมาบริโภคน้ามันพืชเป็น
ส่วนใหญ่ สุกรพันธุ์พื้นเมือง ได้แก่ พันธุ์ไหหลา เหมยซาน ควาย พวง และกระโดน
2. ประเภทเบคอน
เป็นสุกรที่มีรูปร่างใหญ่ ลาตัวยาวค่อนข้างบาง ไหล่หนา หลังและเอวแคบ ปริมาณเนื้อแดงมากและ
ปริมาณไขมันน้อย ความหนาและความลึกของลาตัวน้อยกว่า ประเภทเนื้อ ต่างประเทศนิยมใช้ทาเนื้อสามชั้นเค็ม
เรียกว่า เบคอน เพราะบริเวณเนื้อสามชั้นมีเนื้อแดงและมันสลับกันเป็นชั้นๆ สุกรประเภทเบคอน ได้แก่ พันธุ์แลนด์
เรซ (Landrace) ลาร์จไวท์ (Large White) แทมเวิร์ท (Tam Worth) เป็นต้น

3. ประเภทเนื้อ (meat type)


เป็นสุกรที่เกิดขึ้นใหม่โดยปรับปรุงมาจากสุกรประเภทมัน เจริญเติบโตเร็ว ประสิทธิภาพการใช้อาหารดี ให้
ลูกดกพอสมควร รูปรางสันทัด ลาตัวสั้นกว่าประเภทเบคอน ไหล่และสะโพกใหญ่เด่นชัด ให้เนื้อมาก มันน้อย หลัง
โค้ง ความหนาและความลึก ของลาตัวมากกว่าประเภทเบคอน สุกรประเภทเนื้อ ได้แก่ พันธุ์ดูรอค (Duroc) แฮม
เชียร์ (Hamshire) เบอร์กเชียร์ (Berkshire) นอกจากนี้ยังมีเฮียร์ฟอร์ด (Hereford) เบลท์วีลล์ (Beltville)
โปแลนด์ไชนา (Poland China) เชสเตอร์ไวท์ (Chester White) มินีโซตา (Minesota) มอนตานา (Montana) ซึง่
ไม่เคยนาเข้ามาเลี้ยงในประเทศไทย
พันธุ์สุกร
พันธุ์สุกรเป็นปัจจัยแรกที่มีความสาคัญ เนื่องจากพันธุ์เป็นตัวกาหนดลักษณะ และคุณสมบัติของสุกร เช่น
การเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร คุณภาพซาก ประสิทธิภาพในการสืบพันธุ์ และการปรับตัวเข้ากับ
3

สภาพแวดล้อม ซึ่งมีผลต่อต้นทุน คุณภาพซาก และราคาของสุกร ซึ่งทาให้ผู้เลี้ยงได้กาไรมากหรือน้อย พันธุ์สุกร


แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
สุกรพันธุ์พื้นเมือง
สุกรพันธุ์พื้นเมืองมีถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชีย ลักษณะทั่วไป ลาตัวสั้น หัวค่อนข้างใหญ่ ไหลและสะโพกแคบ
หลังแอ่น ท้องยาน ขาและข้อขาอ่อน ตัวเล็ก ขนาดโตเต็มที่น้าหนัก 80 กิโลกรัม ส่วนใหญ่สีดา บางพันธุ์อาจมีพื้น
ท้องสีขาว เจริญเติบโตช้า 180-350 กรัมต่อวัน อัตราการเปลี่ยนอาหารประมาณ 5-7 มีเนื้อแดงน้อย ไขมันมาก
ข้อดีของสุกรพันธุ์พื้นเมืองคือ ทนทานต่อสภาพ ดินฟ้าอากาศและทนต่อการตรากตราได้อย่างดีให้ลูกดก เลี้ยงลูก
เก่ง และทนทานต่อการกักขัง สุกรพื้นเมืองมีหลายพันธุ์ ได้แก่ สุกรไทย เช่น พันธุ์ควาย ราดหรือกระโดน พวง และ
สุกรจีน เช่น พันธุ์ไหหลา และเหมยซาน
4

สุกรพันธุ์ควาย

เป็นสุกรที่พบมากในภาคเหนือของไทย ลักษณะทั่วไป สีคล้ายกับสีของสุกรพันธุ์ไหหลา ลาตัวส่วนใหญ่มีสี


ดา จมูกของสุกรพันธุ์ควายชี้ตรงกว่าและสั้นกว่า มีรอยย่นบริเวณลาตัวมากกว่าพันธุ์ไหหลา ใบหูใหญ่ ปรกเล็กน้อย
ปากเล็ก หัวใหญ่ พุงหย่อน หลังแอ่น สะโพกเล็ก ขาและข้อขาอ่อน ตามีขอบเป็นวงแหวนสีขาวรอบตา
เจริญเติบโตช้า อ้วนยาก พ่อสุกรโตเต็มที่ 90-120 กิโลกรัม แม่สุกรหนัก 85-100 กิโลกรัม
สุกรพันธุ์ราดหรือกระโดน
เป็นสุกรที่เลี้ยงมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลักษณะทั่วไป สีดา หัวเล็กยาว ลาตัวสั้นและป้อม
กระดูกเล็ก ใบหูเล็กตั้งตรง ว่องไว ปราดเปรียว เนื้อแน่น เจริญเติบโตช้า ขนาดโตเต็มที่ตัวผู้มีน้าหนัก 100-120
กิโลกรัม ตัวเมียมีน้าหนัก 90-100 กิโลกรัม
5

สุกรพันธุ์ไหหลา

เป็นสุกรที่เลี้ยงอยู่ทางภาคใต้และภาคกลางของประเทศจีนลักษณะทั่วไป ลาตัวสีดา ท้องขาว สีดามักเข้ม


บริเวณหัวไหล่และบั้นท้าย หัวไม่โตจนเกินไป จมูกยาวแอ่นขึ้นเล็กน้อย คางย้อย ไหล่กว้าง ลาตัวยาวปานกลาง
หลังแอ่น สะโพกเล็ก ขาและข้อเท้าอ่อน มีอัตราการเจริญเติบโตได้ดีกว่าพันธุ์พื้นเมืองอย่างอื่น ขนาดโตเต็มที่ตัวผู้มี
น้าหนัก 115-140 กิโลกรัม ตัวเมียมีน้าหนัก 90-115 กิโลกรัม
สุกรพันธุ์เหมยซาน

เป็นสุกรที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนน้อมเกล้าฯ ถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม


ราชกุมารี จานวน 4 ตัว เมื่อคราวเสด็จเยือนประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
6

พระราชทานสุกรดังกล่าวให้กรมปศุสัตว์ เพื่อการศึกษาและขยายพันธุ์ไปสู่เกษตรกรผู้มีรายได้น้อย ลักษณะทั่วไป


ลาตัวสีดา หน้าผากย่น ใบหูใหญ่ยาวและปรก ใบหน้ามีขนสีดา แต่ไม่ตก เฉพาะบริเวณลาตัวมีขนสีขาว มีเต้านม
16-18 เต้า เจริญเติบโตเป็นหนุ่มสาวเร็วขนาดโตเต็มที่ตัวผู้มีน้าหนัก 192.5 กิโลกรัม ตัวเมียมีน้าหนัก 172.5
กิโลกรัม และแม่สุกรพันธุ์นี้ให้ลูกดก
สุกรพันธุ์พวง

เป็นสุกรที่พบในภาคตะวันออกของไทยลักษณะทั่วไป สีดา ผิวหนังหยาบ ลาตัวเกือบเท่ากับสุกรพันธุ์


ไหหลา ไหล่กว้าง สะโพกแคบ หลังแอ่น ขนาดโตเต็มที่ตัวผู้มีน้าหนัก 90-130 กิโลกรัม ตัวเมียมีน้าหนัก 90-100
กิโลกรัม

สุกรพันธุ์ต่างประเทศ
7

ประเทศไทยมีการปรับปรุงพันธุ์สุกรกันอย่างมาก มีฟาร์มสุกรขนาดใหญ่ เกิดขึ้นจานวนมาก การดาเนิน


ธุรกิจเป็นแบบแข่งขันโดยนาเอาสุกรพันธุ์ต่างประเทศเข้ามาทาการปรับปรุงพันธุ์สุกรให้มีคุณภาพดีขึ้น เพื่อให้สุกร
ที่ผลิตได้ตรงกับความต้องการของตลาด สุกรพันธุ์ต่างประเทศที่สามารถปรับตัวให้เขากับสภาพแวดล้อมและสภาพ
อากาศของประเทศไทย
ได้แก่
สุกรพันธุ์เพียวเตรียน

สุกรพันธุ์เปียแตรงเป็นสุกรที่มีเปอร์เซ็นต์เนื้อแดงสูงมาก ไขมันบาง มีกล้ามเนื้อเด่นชัด มีอัตราการ


เจริญเติบโตช้ากว่าพันธุ์ดูร็อค และอาจมียีนที่ทาให้ไวต่อความเครียด จากการเคลื่อนย้ายและสิ่งแวดล้อม ทาให้
สุกรเกิดอาการช็อคและตายได้ง่าย เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนเพียง 1คู่ ปัจจุบันสามารถ
ตรวจสอบและทาการคัดเลือกได้ เมื่อปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลประเทศเบลเยี่ยมได้มอบสุกรพันธุ์เปียแตรงให้กรมปศุ
สัตว์ จากนั้นได้ทาการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ให้ปลอดจากยีนเครียดมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม จัดเป็น
สุกรที่มีไขมันบางและให้เปอร์เซ็นต์เนื้อแดงสูงที่สุดในบรรดาพันธุ์สุกรที่นาเข้าจากต่างประเทศ
ลักษณะประจาพันธุ์
สีขาวดา พื้นสีขาว มีจุดดาใหญ่กระจายทั่วตัว ตรงกลางจุดเป็นสีดาเข้ม จะมีทั้งขนและผิวหนังสีดา แต่ตรง
ขอบรอบจุดดาสีขนจะเป็นสีขาวทาให้ดูเหมือนมีวงแหวนสีเทาล้อมรอบ หูตั้ง สะโพกใหญ่ ไหล่หนา หลังกว้างเป็น
ร่อง และมีกล้ามเป็นมัดชัดเจน
8

สุกรพันธุ์ดูรอค

สุกรพันธุ์ดูร็อค สายพันธุ์กรมปศุสัตว์ Duroc DLD Pig กรมปศุสัตว์ได้ปรับปรุงสุกรพันธุ์ดูร็อคที่มีอยู่ให้มี


สมรรถนะการผลิตเพิ่มขึ้น โดยเน้นในเรื่องคุณค่าทางเศรษฐกิจของสุกรขุน
ถิ่นกาเนิดและแหล่งที่เลี้ยง
ศูนย์วิจัยและพัฒนาสุกร พัฒนาสุกรพันธุ์ดูร็อคที่มีอยู่ให้มีสมรรถนะการผลิตเพิ่มขึ้น
ลักษณะประจาพันธุ์
มีสีแดงตลอดลาตัว ขาแข็งแรง สะโพกใหญ่ หัวไหล่หนา กว้าง หลังเป็นร่องเห็นมัดกล้ามเนื้อชัดเจน โตเร็ว
มีเนื้อแดงมาก และใช้อาหารน้อย และปลอดจากยีนเครียด (Halothane gene) ทาให้ลดความสูญเสียในสุกรขุน
ใช้เป็นพ่อพันธุ์สุดท้ายผลิตสุกรขุน
สุกรพันธุ์แฮมเชียร์
9

พันธุ์แฮมเชียร์ (Hamshire) อยู่ตอนใต้ของอังกฤษ มีแถบขาวพาดที่ไหล่ ผสมระหว่างพันธุ์ที่มีสีขาวพาดที่


อกกับพันธุ์ของอังกฤษ ลักษณะหน้ายาว หูตั้ง สีดา ให้ลูกดก แข็งแรง เป็นหมูให้เนื้อ มีความคงทนต่อดินฟ้าอากาศ
และเชื้อโรค แต่มักเป็นโรคโพรงจมูกอักเสบง่าย
สุกรพันธุ์ลาร์จไวท์

สุกรพันธุ์ลาร์จไวท์สายพันธุ์ไอร์แลนด์ เป็นสุกรที่กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์นาเข้ามาจาก


ประเทศไอร์แลนด์ เมื่อ พ.ศ. 2535 เพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์สุกรของกรมปศุสัตว์และแพร่กระจายไปสู่เกษตรกร
ต่อไป ศูนย์วิจัยและพัฒนาสุกร (ชื่อเดิมศูนย์วิจัยและบารุงพันธุ์สัตว์นครราชสีมา) กลุ่มงานวิจัยพัฒนาสัตว์เล็ก
สานักพัฒนาพันธุ์สัตว์ (ชื่อเดิมกองบารุงพันธุ์สัตว์) ได้ดาเนินการพัฒนาพันธุ์ด้วยการทดสอบพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์
จนกระทั่งได้ฝูงสุกรพันธุ์ลาร์จไวท์ที่มีศักยภาพดีเยี่ยม ลักษณะพันธุกรรมเป้าหมายต่างๆมีความผันแปรน้อยมาก มี
ความแข็งแรง ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี เลี้ยงง่าย จัดเป็นสุกรพันธุ์ลาร์จไวท์ของกรมปศุสัตว์สายพันธุ์หนึ่ง
ที่เกษตรกรให้การยอมรับ และนิยมนาไปใช้พัฒนาพันธุกรรมของตนเองในการผลิตสุกรพันธุ์แท้ หรือสุกรแม่พันธุ์
สองสายสาหรับใช้ภายในฟาร์ม
ลักษณะประจาพันธุ์
สีขาว หูตั้ง ลาตัวยาว ให้ลูกดก เลี้ยงลูกเก่ง มีความแข็งแรงทนทาน ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี
เลี้ยงง่าย มีความสามารถในการเป็นแม่ที่ดี ให้ลูกดกและเลี้ยงลูกเก่ง เหมาะใช้เป็นสายแม่พันธุ์
10

สุกรพันธุ์แลนด์เรซ

มีถิ่นกาเนิดในประเทศเดนมาร์ค ปรับปรุงจากสุกรพันธุ์ลาร์จไวท์ของอังกฤษ และสุกรพันธุ์พื้นเมืองของ


เดนมาร์คเอง ยังได้รับการรับรองเป็นพันธุ์แท้ตั้งแต่ พ.ศ.2433 สุกรพันธุ์แลนด์เรซถูกนาไปปรับปรุงพันธุ์ในหลาย
ประเทศ จนได้พันธุ์แท้ของประเทศ เหล่านั้น แล้วใส่ชื่อประเทศผู้ปรับปรุงนาหน้าเข้าไป เช่น อเมริกันแลนด์เรซ
เบลเยี่ยมแลนด์เรซ เป็นต้น ถูกนามาเลี้ยงในประเทศไทยปี พ.ศ.2506 ลักษณะทั่วไป สีขาวตลอดลาตัว (อาจมีจุด
ด่างดาบ้างถือเป็นเรื่องธรรมดา) หูใหญ่ปรก หัวเล็กเรียว ไม่มีรอยย่น จมูกยาว ลาตัวยาวมากและลึก (สุกรพันธุ์นี้มี
ซี่โครง มากกว่าพันธุ์อื่น 1 คู่อาจมี 16-17 คู่) ไหลกว้างและหนา สะโพกโตเห็นเด่นชัด ขาสั้นเตี้ย
11

อ้างอิง
http://breeding.dld.go.th/biodiversity/e-learning57/native%20pig.html สุกรพันธุ์ควาย สุกรพันธุ์ราด
หรือกระโดน สุกรพันธุ์ไหหลา สุกรพันธุ์เหมยซาน สุกรพันธุ์พวง
https://moopakchong.org/knowledge/pig-breed/largewhite-ireland-pig.html สุกรพันธุ์ลาร์จไวท์
https://moopakchong.org/knowledge/pig-breed/pietrain-
pig.html#:~:text=%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B1
%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0
%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9
%87%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B5
%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0
%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C,%E0%B8
%95%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%81
%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0
%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8
%81 สุกรพันธุ์เพียวเตรียน
https://moopakchong.org/knowledge/pig-breed/duroc-dld-pig.html สุกรพันธุ์ดูรอค
https://pigs54.wordpress.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%B1
%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0
%B8%A3/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B9
%81%E0%B8%AE%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3
%E0%B9%8C/ สุกรพันธุ์แฮมเชียร์

You might also like