You are on page 1of 17

วิทยาศาสตร์ เล่ม 1

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
1 หน่วยการเรียนรู้ที่

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

ตัวชี้วัด
• บรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น ใบ และดอก ของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
• จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
• จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
• จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
• บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
กลุ่มพืช
เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เอง สามารถเคลื่อนไหวได้
แต่เคลื่อนที่เองไม่ได้ เช่น

ทานตะวัน เฟิร์น ไผ่ มะเขือเทศ


กลุ่มสัตว์

เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิต ที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่น


เป็นอาหาร สามารถเคลื่อนไหวร่างกายและเคลื่อนที่ได้ เช่น

ช้าง ลิง ปู ดาวทะเล


กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตบางชนิดสร้างอาหารได้ บางชนิดสร้างอาหารไม่ได้ บาง
ชนิดย่อยสลายสิ่งมีชีวิตอื่น บางชนิดเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ เช่น

เห็ด แบคทีเรีย ราขนมปัง ไวรัส


ความหลากหลายของพืช

พืช ดอก พืช ไม่มีดอก


• เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะสร้างดอกเพือ่ ใช้
ในการสืบพันธุ์

• มีส่วนประกอบ คือ ราก ลาต้น ใบ และดอก

• บางชนิดมีดอกมองเห็นได้ชัดเจน บางชนิด • เป็นพืชที่ไม่มีดอกเลยตลอดการดารงชีวิต


มีดอกขนาดเล็ก เช่น สาหร่ายหางกระรอก
• ส่วนใหญ่สืบพันธุ์โดยการสร้างสปอร์
• ใช้ลักษณะของราก ลาต้น และใบ เป็นเกณฑ์
จัดกลุ่มพืชได้ เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืช
• มีส่วนประกอบ คือ ราก ลาต้น และใบ
ใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยง เดี่ยว พืชดอก พืชใบเลี้ยง คู่
มีจานวน 3 หรือ มีจานวน 4-5 หรือ
กลีบดอก ทวีคูณของ 3 ทวีคูณของ 4-5 กลีบดอก

ลาต้นเป็น ลาต้นเป็นข้อปล้อง
ลาต้น ข้อปล้องชัดเจน ไม่ชัดเจน ลาต้น

ใบเรียวแคบ ใบกว้าง เส้นใบเป็น


ใบ เส้นใบขนาน ร่างแห ใบ

มีใบเลี้ยง 1 ใบ มีใบเลี้ยง 2 ใบ
ใบเลี้ยง ในระยะที่งอก ในระยะที่งอก ใบเลี้ยง
ออกจากเมล็ด ออกจากเมล็ด

มีระบบ มีระบบ
ราก รากฝอย รากแก้ว
ราก
ความหลากหลายของสัตว์

• สัตว์ที่ไม่มีกระดูกแข็งเป็นโครงสร้างของ
ร่างกาย ลาตัวมีลักษณะอ่อนนิ่ม

สัตว์มกี ระดูกสันหลัง

• สัตว์ที่มีกระดูกเรียงต่อกันเป็นข้อๆ
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ทาหน้าที่ เป็นแกนกลางอยู่ ภ ายใน
ร่างกาย
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
แบ่งได้ 5 ประเภท
3 กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน
1 กลุ่มปลา เป็ น สั ต ว์ เ ลื อ ดเย็ น ผิ ว หนั ง หนา มี เ กล็ ด แข็ ง แห้ ง
เป็ น สั ต ว์ เ ลื อ ดเย็ น มี รู ป ร่ า งเรี ย วยาว ล าตั ว ปกคลุมลาตัว หรือมีกระดองแข็งหุ้มลาตัว
ค่อนข้างแบน เพื่อให้มีลักษณะที่ เหมาะสมกับ
การเคลื่อนที่ในน้า 4 กลุ่มนก
เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขา 2 ขา มีเกล็ดที่ขาและนิ้วเท้า
และมีปีก 1 คู่ ร่างกายปกคลุมด้วยขนเป็นแผงและ
2 กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก เป็นปุย ปากเป็นจะงอยแหลม ไม่มี ฟัน กระดูกทั่ว
ร่างกายเป็นโพรง กลวง และเบา มีถุงลมติดกับปอด
เป็ น สั ต ว์ เ ลื อ ดเย็ น มี ข า 2 คู่ ไม่ มี ข น ไม่ มี ค อ
ผิวหนังบางและไม่มีเกล็ด ตาโปนและกลม มีหู 5 กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
แต่ไม่มีรูหู มีรูจมูกอยู่ด้านบนของปาก มี ฟันซี่ เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีลักษณะพิเศษ คือ ตัวเมีย
เล็กๆ ปากกว้าง มีลิ้น 2 แฉก และมียางเหนียว จะมี ต่ อ มน้ านมไว้ ส าหรั บ เลี้ ย งลู ก อ่ อ น มี ข น
เพื่อจับแมลง เป็ น เส้ น ปกคลุ ม ตามร่ า งกาย มี รู หู แ ละใบหู
บางชนิดมีขา บางชนิดไม่มีขา
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์ที่มีลาตัวเป็นปล้อง
แบ่งได้ 8 ประเภท
5
• ลาตัวกลมยาว เป็นปล้องคล้ายวงแหวนต่อกัน
1 ฟองน้า • ผิวหนังเปียกชื้น

• มีลักษณะคล้ายพืช เกาะติดอยู่กับที่ สัตว์ทะเลผิวขรุขระ


• ลาตัวเป็นโพรง มีช่องเปิดด้านบน มีรูพรุน 6
2 • ตามผิวของลาตัวหยาบ และแข็ง
สัตว์ที่มีลาตัวกลวง • ไม่มีส่วนหัว ลาตัวแยกเป็นแฉก
• ลาตัวใสคล้ายวุ้น มีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก
• ตรงกลางลาตัวเป็นโพรง มีช่องเปิดออกจากลาตัวเพียงช่องเดียว
หอยและหมึกทะเล
3 7
หนอนตัวแบน • ลาตัวนิ่ม
• ลาตัวนิ่ม แบนยาว ไม่มีขา • มีระบบหมุนเวียนเลือด
• มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก
4 สัตว์ที่มีขาเป็นข้อ 8
หนอนตัวกลม
• ลาตัวนิ่ม กลมยาว ไม่มีขา
• มีขาเป็นข้อๆ ต่อกัน
• มีปากและทวารหนัก
• มีเปลือกแข็งหุ้มลาตัว
หน้าที่ของส่วนต่างๆ ของพืช
หน้าที่ของส่วนต่างๆ ของพืช
รากแก้ว
หน้าที่ของราก มีลักษณะช่วงโคนรากโตแล้วค่อยๆ
เรียวเล็กลงไปจนถึงช่วงปลายราก
• เป็นส่วนของพืชที่เจริญเติบโตและ
แผ่ขยายอยู่ใต้ดิน รากแขนง
• ช่วยยึดลาต้นให้ตั้งอยู่บนดิน เป็นรากที่เจริญเติบโตออกมาจาก
• ดูดน้าและแร่ธาตุที่อยู่ในดินขึ้นไป รากแก้วและแตกแขนงยาวออกไป
เลี้ยงส่วนต่างๆ ของพืช

รากฝอย
เป็นรากเส้นเล็กๆ ที่มีขนาดโตสม่าเสมอ
และงอกออกมาเป็นกระจุก
หน้าที่ของลาต้น ท่อลาเลียงอาหาร
• ลาเลียงอาหารที่สร้างขึ้นจากใบไปเลี้ยงส่วน
ต่างๆ ของพืช

ท่อลาเลียงน้า
• ลาเลียงน้าและแร่ธาตุไปยังส่วนต่างๆ ของพืช
และล าเลี ย งน้ าไปสู่ ใ บเพื่ อ ใช้ ใ นการสร้ า ง
อาหารของพืช
หน้าที่ของใบ
มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกันตามชนิดของพืช ใบมีหน้าที่หลักคือ สร้างอาหาร หายใจ และคายน้า

ปากใบ
ท าหน้ า ที่ ห ายใจ โดยมี ก าร
แลกเปลี่ยนแก๊สทางปากใบ
และคายน้าออกมาทาง
ปากใบ
ปากใบเปิด
ปากใบปิด
การคายน้าของพืช
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ผลที่ได้

ปัจจัยที่ใช้ น้าตาล ( 𝐂𝟔 𝐇𝟏𝟐𝐎𝟔 ) ด


อาหารที่ พื ช สร้ า งขึ้ น คื อ น้ าตาล ซึ่ ง จะถู ก
คลอโรฟิลล์
ลาเลียงไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของพืช ส่วนที่เหลือ
เป็ น ตั ว ดู ด กลื น แสง เพื่ อ น า
พืชจะสะสมไว้ในรูปของแป้ง
แสงมาใช้เป็นแหล่งพลังงาน 𝐎𝟐

𝐂𝐎𝟐
แก๊สคาร์บอนไดออกไซต์ ( 𝐂𝐎𝟐 ) แก๊สออกซิเจน ( 𝐎𝟐 )
พืชจะดูดแก๊สคาร์บอนไดออกไซต์ พืชคายแก๊สออกซิเจนออกทางปากใบ ช่วย
จากอากาศเข้าทางปากใบเพื่อใช้เป็น ทาให้อากาศบริสุทธิ์
วัตถุดิบในการสังเคราะห์ด้วยแสง

น้า ( 𝐇𝟐 𝐎) 𝐂𝟔 𝐇𝟏𝟐𝐎𝟔
พืชดูดน้าผ่านรากและลาเลียงขึ้นสู่
ใบ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการ
𝐇𝟐 𝐎
สังเคราะห์ด้วยแสง
𝐇𝟐 𝐎 𝐇𝟐 𝐎
หน้าที่ของดอก ทาหน้าที่สืบพันธุ์ โดยการสร้างเซลล์สบื พันธุ์เพศผู้ และเซลล์สืบพันธุ์เมีย
ส่วนประกอบของดอก

เกสรเพศเมีย กลีบดอก
ท าหน้ าที่ สร้ า งเซลล์ สื บ พั น ธุ์ ทาหน้าที่ ห่อหุ้มเกสรขณะที่เกสรยังอ่อนอยู่ มักมีสีสัน
เพศเมีย สวยงาม หรื อ มีกลิ่นหอมเพื่ อ ช่วยล่อ แมลงให้ มาผสม
เกสร

เกสรเพศผู้ กลีบเลี้ยง
ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ทาหน้าที่ห่อหุ้มส่วนของดอกในขณะที่ยังตูมอยู่
เพื่อป้องกันอันตรายจากแมลง

You might also like