You are on page 1of 75

KINGDOM PLANTAE

อาณาจักรพืช
พืช?
ลักษณะของพืช
เซลล์เป็นชนิดยูแคริโอต

พืชเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

มีผนังเซลล์เป็นสารเซลลูโลส

สามารถสังเคราะห์ได้ เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์
(Chloroplast)
มีระยะเอ็มบริโอในวัฏจักรชีวิต

มีวงชีวิตเเบบสลับ (Alternation of generation)


ระหว่างระยะแกมีโตไฟต์ (gemetophyte)
และสปอโรไฟต์ (sporophyte)
การ
กาเนิด
ของพืช
จากหลักฐานทางวิวัฒนาการและการศึกษาเปรียบเทียบลาดับเบส
ของ DNA จากคลอโรพลาสต์และนิวเคลียสแล้วพบว่า พืชและสาหร่ายไฟในกลุ่ม
คาโรไฟต์ (Charopyte) มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันทางวิวัฒนาการ ประกอบกับมี
การเรียงตัวของเซลลูโลสที่ผนังเซลล์เหมือนกัน มีสารสีที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วย
แสง คือ คลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ บี รวมทั้งมีโครงสร้างที่ทาหน้าที่
ป้องกันเซลล์สืบพันธุ์และไซโกตที่คล้ายคลึงกับการป้องกันเอ็มบริโอในพืช

สาหร่ายไฟ
อาจกล่าวว่าถิ่นทีอ่ ยูอ่ าศัยของบรรพบุรุษของพืชน่าจะอาศัยอยู่ในน้า
หรืออาจเป็นพื้นทีท่ ใี่ กล้กับแหล่งน้า ดังนั้นพืชจึงมีการปรับตัวเพื่อดารงชีวติ บน
พื้นดินดังนี้

1. การปรับตัวด้านโครงสร้าง โดยมีการปรับโครงสร้างของรากที่สามารถดูดน้าได้
ดี มีเนื้อเยื่อลาเลียงที่ใช้ในการลาเลียงน้าแร่ธาตุและสารอาหาร และมีปากใบเป็น
ทางผ่านเข้าออกของแก๊สต่างๆ
2. การปรับตัวด้านองค์ประกอบทางเคมี โดยสังเคราะห์สารที่พืชสร้างขึ้นเป็นพิเศษ
เพื่อใช้ในการดารงชีวิต เช่น ลิกนิน เพื่อให้พืชมีความแข็งแรงและทนทานต่อ
สภาพแวดล้อม และคิวทินที่ปกคลุมผิวของลาต้นและใบเพื่อป้องกันการสูญเสียน้า
เป็นต้น
3. การปรับตัวด้านการสืบพันธุ์ โครงสร้างที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจะมี
เนื้อเยื่อมาปกป้องเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งจะเจริญเป็นเอ็มบริโอและเป็นต้นสปอโรไฟต์
ต่อไป นอกจากนี้ละอองเรณูของพืชดอกมีการป้องกันการสูญเสียน้าและทนต่อ
ความแห้งแล้งได้ดีและเซลล์สืบพันธุ์ยังมีการปรับตัว โดยใช้น้าน้อยหรือไม่ต้อง
อาศัยน้าเป็นตัวกลางในการผสมพันธุ์
การ
จาแนก
พืช
1.กลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง
(nonvascular plant)
กลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง (nonvascular plant)

ในยุคออโดวิเชียนเมือ่ ประมาณ 475 ล้านปีมาแล้ว พืชที่ไม่มที อ่ ลาเลียงเป็น


กลุ่มแรกๆ ที่วิวัฒนาการขึน้ สูบ่ นบก จึงยังคงมีลกั ษณะทีต่ อ้ งการความชุม่ ชืน้ หรือน้า
เพื่อการอยูร่ อด และอาศัยน้าในการสืบพันธุ์ ดังนั้นจึงมักพบเจริญตามพื้นดินที่มี
ความชื้นมาก อย่างไรก็ตามพืชกลุ่มนี้คอ่ นข้างจะไวต่อซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จึงสามารถ
ใช้เป็นตัวบอกสภาวะมลภาวะในอากาศได้เ้ ช่นเดียวกับ ไลเคน (Lichen)
ลักษณะของกลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง
Phylloid
พืชในกลุ่มนีม้ ีขนาดเล็ก ไม่มีระบบท่อลาเลียง และไม่มีเนือ้ เยือ่ ทีเ่ ป็นสาร
ลิกนิน(Lignified tissues) เซลล์มีสัดส่วนของคลอโรฟิลล์เอและบี ใกล้เคียง
กับสาหร่ายสีเขียว Cauloid

รวมถึงมีต้นอ่อน(Protonema) ในระยะแกมีโตไฟต์ที่คล้ายคลึงกับ
สาหร่ายสีเขียว พืชกลุ่มนี้ไม่มี ราก ใบ ที่แท้จริงแต่มีไรซอยด์(Rhizoid) ช่วยใน Rhizoid
การยึดเกาะกับวัสดุทเี่ จริญอยู,่ การดูดน้าและเกลือแร่ มีส่วนของ ฟิลลอยด์
(Phylloid)ที่ดคู ล้ายใบ และส่วนเคาลอยด์(Cauloid) ที่ดูคล้ายต้น
ลักษณะของกลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง

พืชมีวงชีวิตแบบสลับพืชในกลุ่มนี้จะมีระยะแกมีโทไฟต์(Gametophyte)
Sporophyte
เด่นกว่าสปอรโรไฟต์ (Sporophyte) โดย สปอโรไฟต์ทมี่ ีขนาดเล็กมากนัน้ จะ
เจริญพัฒนาอยูบ่ นแกมีโทไฟต์ตลอดชีวิต

โดยเมื่อสปอร์ถูกปลดปล่อยออกจากแคปซูลแล้วต้นสปอโรไฟต์จะตายไป
ดังนั้น ต้นสปอโรไฟต์จึงมีอายุสั้นมาก
Gametophyte
กลุ่มพืชไม่มีท่อลาเลียง (nonvascular plant)

ปัจจุบนั มีการแบ่งกลุ่มพืชไม่มที อ่ ลาเลียงเป็น 3 Phylum ได้แก่

• ไฟลัมเฮปาโทไฟตา (Phylum Hepatophyta)


• ไฟลัมแอนโทซีโรไฟตา (Phylum Anthocerophyta)
• ไฟลัมไบรโอไฟตา (Phylum Bryophyta)
1. ไฟลัมเฮปาโทไฟตา (Phylum Hepatophyta)

พืชในไฟลัมนี้นี้ รู้จักกันทั่วไปในชื่อของลิเวอร์เวิร์ต
(liverwort) ทั่วโลกมีประมาณ 9,000 ชนิดมักพบขึน้ ตาม
พื้นดิน ก้อนหิน
ลิเวอร์เวิร์ต(liverwort)

ต้นที่พบทัว่ ไปเป็นต้นในระยะแกมีโทไฟต์ทมี่ ีลักษณะ


เป็นแบบทัลลัส (thallus) คือมีลักษณะเป็นแผ่นแบนหรือเป็น
ต้นแบบลิฟฟี (leafy) คือมีลักษณะทีม่ ีส่วนคล้ายใบเรียงรอบ
แกมีโทไฟต์เป็นช่วงทีม่ ีอายุยนื ยาว ลักษณะทีโ่ ดดเด่นประการ
หนึ่งของแกมีโทไฟต์ลิเวอร์เวิร์ต คือมีหยดน้ามันภายในเซลล์
ลิเวอร์เวิร์ต(liverwort)
แคปซูล
ต้นสปอโรไฟต์ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วน โคน
คือส่วนโคนทีฝ่ ังอยูใ่ นต้นแกมีโทไฟต์
ส่วนก้านซึ่งอาจสั้นหรือยาวขึน้ กับชนิดลิเวอร์เวิรต์
ส่วนปลายสุดคือ แคปซูล(capsule)หรืออับสปอร์ทสี่ ร้างสปอร์ ก้าน
อยู่ภายใน
2. ไฟลัมแอนโทซีโรไฟตา (Phylum Anthocerophyta)

พืชในไฟลัมนี้ รู้จักกันทั่วไปในชื่อของฮอร์นเวิร์ต (hornwort) ทั่วโลกมีประมาณ 120 ชนิด


ฮอร์นเวิรต์ (hornwort)

ต้นที่พบเป็นต้นในระยะแกมีโทไฟต์และมีอายุยนื
มีลักษณะเป็นแผ่นแบนหรือเป็นแบบทัลลัส ฮอร์นเวิรต์ ส่วนมาก
มักพบขึ้นตามพืน้ ดินหรือก้อนหิน มีบางสกุลที่พบขึน้ บนลาต้นพืช
อื่นลักษณะเด่นของต้นแกมีโทไฟต์ฮอร์นเวิรต์ คือ แต่ละเซลล์มี
คลอโรพลาสต์เพียง 1 อัน
ฮอร์นเวิรต์ (hornwort)

แคปซูล
ส่วนประกอบของต้นสปอโรไฟต์อาจแบ่งได้ 2 ส่วน
• ส่วนโคนที่ฝงั อยู่ในต้นแกมีโทไฟต์
• ส่วนแคปซูลที่มีรปู ร่างเป็นแท่งยาวและภายในจะสร้างสปอร์
แคปซูลนี้จะเริ่มแตกทีป่ ลายแยกเป็น 2 แฉกแล้วไล่ลงไป
จนถึงโคนแคปซูล โคน
3. ไฟลัมไบรโอไฟตา (Phylum Bryophyta)

พืชในไฟลัมนี้ รู้จักกันทั่วไปในชื่อของมอส
(moss) ทั่วโลกมีประมาณ 10,000 ชนิด
มอส (moss)

ต้นที่พบเป็นต้นในระยะแกมีโทไฟต์ ประกอบด้วยส่วน
คล้ายต้น มีส่วนคล้ายใบเรียงรอบส่วนคล้ายต้น บริเวณกลาง
แผ่นของส่วนคล้ายใบมีเซลล์ซอ้ นกันหลายชัน้ เซลล์ จึงดูคล้ายเส้น
กลางใบเรียก คอสตา (costa) ซึ่งอาจยาวตลอดแผ่นใบหรือ
อาจสั้นมากจนแทบสังเกตไม่เห็นเลยก็ได้ แกมีโทไฟต์เป็นช่วงทีม่ ี
อายุยนื
มอส (moss)
ส่วนสปอโรไฟต์ของมอสเจริญอยูบ่ นต้นแกมีโทต้นสปอโรไฟต์มอสแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
• ส่วนโคนที่ฝังอยูใ่ นต้นแกมีโทไฟต์
• ส่วนก้านซึ่งอาจสั้นหรือยาวขึน้ กับชนิดของมอส
• ส่วนแคปซูลหรืออับสปอร์ทสี่ ร้างสปอร์อยูภ่ ายใน

แคปซูลของมอสมีฝาปิด (operculum) ซึ่งจะหลุดออกเมื่อสปอโรไฟต์เจริญเต็มที่ เมื่อฝาปิดหลุดออก


แล้วจะเห็นแผ่นบางๆ เป็นซี่ๆ เรียกเพอริสโทมทีธ (peristome teeth)เรียงตัวรอบช่องเปิด แผ่นเพอริสโทมทีธเมื่อ
สปอร์ถูกปลดปล่อยออกจากแคปซูลแล้ว สปอร์จะเจริญเป็นแกมีโทไฟต์ ส่วนต้นสปอโรไฟต์จะตายไป
มอส (moss)
ประโยชน์จากพืชไม่มีทอ่ ลาเลียง

พืชไม่มที อ่ ลาเลียง เช่นข้าวตอกฤๅษี หรือ สแฟกนัมมอส(Sphagnum


moss) มีประโยชน์ในการช่วยคลุมดิน ป้องกันการพังทลายของหน้าดินนอกจากนัน้
Sphagnum moss ยังถูกใช้ในทางเกษตร และเชือ่ ว่าการเติบโตล้มตายทับถมกัน
ของมันทาให้ดินเป็นกรด การสลายตัวค่อนข้างยากทาให้เกิด พีท (Peat) ที่ใช้เป็น
เชื้อเพลิง ในการนาไปใช้ตอ้ งผ่านการฆ่าเชื้อมาก่อน และหากมีบาดแผลห้ามสัมผัส
โดยตรงเนือ่ งจากมีแบคทีเรียทีท่ าให้เกิดโรคได้
2.กลุ่มพืชมีท่อลาเลียง แต่ไม่มีเมล็ด
(Seedless vascular plant)
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด (Seedless vascular plant)

จากการหลักฐานซากดึกดาบรรพ์คอื คุกโซเนีย (Cooksonia sp.) มีอายุ


ประมาณ400ล้านปี ในช่วงต้นยุคซิโลเรียน สันนิษฐานว่าเป็นกลุม่ พืชทีม่ ที อ่ ลาเลียง
เป็นกลุ่มแรก
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด (Seedless vascular plant)

กลุ่มพืชมีทอ่ ลาเลียงแต่ไม่มเี มล็ดประกอบด้วยเฟินแท้ และกลุม่ ใกล้เคียงเฟิน


พืชกลุ่มนี้มรี าก ลาต้นและใบที่แท้จริง ภายในรากมีเนือ้ เยือ่ ลาเลียงเหมือนทีพ่ บใน
ลาต้น มีต้นแกมีโทไฟต์และต้นสปอร์โรไฟต์เจริญแยกกัน หรืออยูร่ วมกันในช่วงสั้นๆ
โดยต้นแกมีโทไฟต์จะมีวงชีวิตสั้นกว่าสปอร์โรไฟต์
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงแต่ไม่มีเมล็ด (Seedless vascular plant)

ในปัจจุบนั แบ่งออกเป็น 2 ไฟลัม


• ไฟลัมไลโคไฟตา (Phylum Lycophyta)
• ไฟลัมเทอโรไฟตา (Phylum Pterophyta)
1)ไฟลัมไลโคไฟตา (Phylum Lycophyta)
เป็นพืชทีม่ ใี บ ราก ลาต้นทีแ่ ท้จริง แต่มีใบแบบmicrophyll คือมีขนาดเล็กมี
เส้นใบ 1 เส้น ไม่แตกแขนง ใช้สปอร์ในการกระจายพันธุ์ อวัยวะสืบพันธุเ์ รียกว่า
สโตรบิลสั (Strobilus) อยู่ทปี่ ลายกิ่ง ในสโตรบิลสั มีอบั สปอร์มากมาย
มีต้นแกมีโทไฟต์และต้นสปอร์โรไฟต์เจริญแยกกัน โดยต้นแกมีโทไฟต์จะมีวงชีวิตสั้น
กว่าสปอร์โรไฟต์ ส่วนใหญ่เป็นพืชทีม่ อี ายุหลายปี (perennial) มีอยู่ประมาณ
200 ชนิด ส่วนใหญ่สูญพันธุไ์ ปแล้วทีย่ งั เหลือและรูจ้ ักกันในปัจจุบนั คือ
กลุ่ม ไลโคโพเดียม (Lycopodium) ซีแลกจิเนลลา(selagenella) และไอโซอีเทส
(Isoetes)
กลุ่มไลโคโพเดียม (Lycopodium)

ไลโคโพเดียม (Lycopodium) ที่พบเห็นนั้นเป็นระยะสปอโรไฟต์ จัดเป็นพืชล้มลุก


มีทั้งชนิดที่เลื้อยไปตามดิน ชนิดที่ตั้งตรง และชนิดทีเ่ กาะอยู่กบั ต้นไม้อื่นๆ ใบของไลโคโพเดียม
เป็นใบแท้ เป็นแผ่นสีเขียวขนาดเล็กเรียงตัวคลุมรอบต้น มีรากเป็นรากแบบพิเศษ
(Adventitious root) โดยงอกออกจากลาต้นส่วนทีอ่ ยูต่ ดิ กับดิน อวัยวะสืบพันธุข์ องไลโคโพ
เดียมเรียกว่า สโตรบิลัส (Strobilus) อยู่ที่ปลายกิ่ง ในสโตรบิลัสมีอับสปอร์มากมายทา
หน้าทีส่ ร้างสปอร์โดยวิธกี ารแบ่งเซลล์แบบไมโอซีส ของเซลล์แม่ของสปอร์ (spore mother
cell) ได้ 4 สปอร์ ที่เหมือนกัน
กลุ่มไลโคโพเดียม (Lycopodium)

สร้อยนางกรอง ช้องนางคลี่ สามร้อยยอด หางสิงห์


ซีแลกจิเนลลา(selagenella)

ซีแลกจิเนลลา (Selagenella) มีลักษณะคล้ายๆกับไลโคโพเดียม ต่างทีท่ ี่โคนมี


ลิกูล (ligule) ซึ่งมีลักษณะคล้ายใบเกล็ดติดอยูซ่ ึ่งในไลโคโพเดียมไม่มี บริเวณปลายกิง่ มี
สโตรบิลัส (Strobilus) ซึ่งมีอับสปอร์ 2 ชนิด คือเมกะสปอแรงเจียม(megasporangium)
มีขนาดใหญ่ทาหน้าทีส่ ร้างเมกะสปอร์(megaspore)ซึ่งต่อไปจะเจริญไปเป็นแกมีโทไฟต์เพศ
เมีย สร้างไข่ ส่วนอีกชนิดหนึ่งเรียกว่าไมโครสปอแรงเจียม (microsporangium) มีขนาด
เล็ก ซึ่งต่อไปจะเจริญไปเป็นแกมีโทไฟต์เพศผูส้ ร้างสเปิร์ม
ซีแลกจิเนลลา(selagenella)

ตีนตุ๊กแก กนกนารี
ไอโซอีเทส (Isoetes)

กระเทียมน้า (Isoetes) เป็นพืชทีข่ นึ้ ในทีร่ ่มมีน้าขังตื้นๆ จึงจัดเป็นพวกพืชน้า


พบเหลืออยู่เพียงชนิดเดียว ลาต้นมีลักษณะเป็นกอ อยู่ใต้ดินคล้ายหัวรากเป็นแบบรากพิเศษ
(adventitious root) ใบมีขนาดเล็กยาวเรียว ส่วนฐานใบกว้างห่อหุม้ อัปสปอร์ ใบมีปากใบ
และเส้นใบยาวตลอดใบ ภายในใบมีช่องอากาศ ช่วยในการหายใจและลอยน้า
ไอโซอีเทส (Isoetes)

กระเทียมน้า
2)ไฟลัมเทอโรไฟตา (Phylum Pterophyta)
ตัวอย่างของพืชกลุม่ นี้ ได้แก่ หวายทะนอย หญ้าถอดปล้อง และเฟิน

หวายทะนอย หญ้าถอดปล้อง เฟิน


หวายทะนอย (Psilotum sp.)

หวายทะนอย หรือ ไซโลตัม (Psilotum sp.) ลักษณะของไซโลตัม คือ มีลา


ต้นใต้ดนิ เรียกว่า ไรโซม (rhizome) ไม่มีรากแต่มี ไรซอยด์ (rhizoid) ซึ่ง
ประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียวปกคลุมอยู่ และทาหน้าทีแ่ ทนราก ส่วนที่อยูเ่ หนือดิน
เรียกแอเรียลสเตม (aerial stem) มีลักษณะเป็นเหมือนเส้นแส้ แตกกิ่งแบบไดโค
โตมัส มีลักษณะเป็นเหลีย่ มทาหน้าทีส่ ังเคราะห์แสง ไม่มีใบ แต่มี สเกลลีฟ (scale
leaf) ซึ่งประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา (parenchymas cell) และไม่มที อ่ ลาเลียงจึง
ไม่จัดว่าเป็นใบ
หวายทะนอย (Psilotum sp.)

เมื่อไซโลตัมเจริญเต็มทีจ่ ะสร้างอัปสปอร์ (sporangium)


มีลักษณะเป็น 3 พู (three lobed) ซึ่งจะสร้างสปอร์โดย
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซีสได้ 4 สปอร์ทเี่ หมือนกันทัง้ หมด
(homosporous)
หญ้าถอดปล้อง (Equisetum sp.)

หญ้าถอดปล้อง หรือ อีควิเซตัม (Equisetum sp.) เรียกกันตามภาษาถิน่ ว่า สนหางม้า


หญ้าถอดปล้อง หญ้าหูหนวก หญ้าเหงือก ลาต้นของพวกนี้มที งั้ ชนิดทีอ่ ยู่เหนือดินและใต้ดิน ลาต้น
บนดินมีสเี ขียวสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ ผนังลาต้นหยาบเพราะมีซิลิกาสะสมอยู่ และมีลักษณะเป็นข้อ
และปล้องอย่างชัดเจนส่วนปลายใบจะแตกออกและแยกออกจากกัน แต่ละใบมีเส้นใบ 1 เส้น
อับสปอร์เกิดเป็นกระจุกทีป่ ลายกิง่ สัน้ ๆ เรียก สปอแรงจิโอฟอร์ (Sporangiophore) ซึ่งอยู่รอบ
แกนกลางร่วมกันเป็นโครงสร้างทีเ่ รียกว่า สโตรบิลัส(strobilus) ทาหน้าทีส่ ร้างสปอร์ ส่วนลาต้น
ที่อยู่ใต้ดินอายุน้อยจะสังเคราะห์ด้วยแสงไม่ได้ ลาต้นจึงทาหน้าที่หลักในการสังเคราะห์
หญ้าถอดปล้อง (Equisetum sp.)
เฟิน (Fern)

เริ่มมีการแพร่กระจายมาตัง้ แต่ยุคดีโวเนียนจนถึงปัจจุบนั พบประมาณ 12,000 สปีชีส์


พืชกลุ่มนีม้ รี าก ใบ และลาต้นที่แท้จริง เฟินที่ขนึ้ อยู่ทวั่ ไปนั้นเป็นต้นสปอโรไฟต์ เป็นพืชทีม่ ีทอ่
ลาเลียงแต่ไม่มแี คมเบียมจึงไม่มกี ารเพิม่ ขนาดทางด้านข้างจึงจัดเป็นพืชไม่มเี นือ้ ไม้ ลักษณะทัว่ ไป
ของเฟินคือ มีราก เป็นรากทีแ่ ตกออกจากลาต้นจึงเจริญเป็นรากวิสามัญ (Adventition root) มี
ลาต้นเรียกว่า ไรโซม (Rhizome) ใบเรียกว่าฟรอน (Frond) ต้นแกมีโตไฟต์ เจริญอิสระบน
พื้นดิน เรียกว่า prothallusมีลักษณะแบน บาง คล้ายรูปหัวใจ ส่วนต้นสปอโรไฟต์เจริญบน
prothallus ในระยะแรกๆ ต่อมาจะสลายไป ต้นสปอโรไฟต์จงึ เจริญเป็นอิสระ
เฟิน (Fern)

ดังนั้นเฟินที่พบทัว่ ไปคือต้น
สปอโรไฟต์ โดยใบแก่(frond) จะ
สร้าง sporangium ด้านใต้ของใบ
อับสปอร์เหล่านี้เมือ่ อยู่รวมกันเรียกว่า
ซอรัส(sorus) ใบเฟินในขณะทีย่ ัง
อ่อนอยู่ จะมีก้านม้วนเข้าด้านในแบบ
Circinate vernation (การเจริญไม่
เท่ากันเกิดจาก ผิวด้านล่างเจริญเร็ว
กว่าด้านบน) เมื่ออายุมากขึน้ ส่วนที่
ม้วนจะค่อยๆคลายออก
การใช้ประโยชน์จากพืชมีท่อลาเลียงที่ไร้เมล็ด

พืชมีเนือ้ เยือ่ ลาเลียงทีไ่ ม่มีเมล็ดบางชนิดนิยมนามาใช้เป็นอาหาร เช่นผักแว่น กูดเกี๊ยะ หรือบาง


ชนิดนามาเป็นสมุนไพร เช่นว่านลูกไก่ทองใช้ดูดซับห้ามเลือด กูดแดงใช้เป็นยาแก้โรคผิวหนัง ย่านลิเภา
นามาใช้เป็นเครื่องจักสาน เช่นกระเป๋าถือ
นอกจากนี้เกษตรกรนิยมเลี้ยงแหนแดงในนาข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณปุ๋ยไนโตรเจนให้กับต้นข้าว มี
เฟินหลายชนิดนิยมนานามาปลูกเป็นไม้ประดับ เช่นเฟินใบมะขาม เฟินนาคราช ข้าหลวงหลังลาย และ
ชายผ้าสีดา เป็นต้น
การใช้ประโยชน์จากพืชมีท่อลาเลียงที่ไร้เมล็ด

กูดเกี๊ยะมีประโยชน์มากมาย เช่น ใบแห้งสามารถนามาใช้มุงหลังคาและใช้ทาเป็นฟืนได้ด้วย


นอกจากนี้เถ้าจากใบยังมีแหล่งโพแทสในอุตสาหกรรมแก้วและสบู่ เหง้านามาใช้ฟอกหนังและย้อมผ้าขน
สัตว์ให้เป็นสีเหลือง และยังมีศกั ยภาพเป็นแหล่งสกัดสารฆ่าแมลงและพลังงานชีวภาพ ช่วยเพิ่ม ธาตุ
อาหารให้กับดิน โดยเฉพาะไนโตรเจน ฟอตฟอรัสและโพแทสเซียม
3.กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงมีเมล็ด
(seed plant)
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงมีเมล็ด
(seed plant)
พืชมีเนื้อเยื่อลาเลียงทีม่ เี มล็ดพวกแรกเกิดเมื่อประมาณ360ล้านปี ในช่วงปลายของยุค
ดีโวเนียนและพบแพร่กระจายมากในยุคคาร์บอนิเฟอรัส มีโครงสร้างสืบพันธุท์ ี่แตกต่างจากพืช
กลุ่มทีก่ ล่าวมาแล้ว โดยเซลล์ไข่เจริญอยูใ่ นออวุล เชื่อกันว่าน่าจะมีวิวัฒนาการมาจาก
อับสปอร์ทสี่ ร้างสปอร์ขนาดใหญ่ทมี่ ีเนือ้ เยื่อพิเศษมาหุ้มเป็นผนังออวุล หรืออินเทกิวเมนต์
(integument) ซึ่งอาจมี 1 หรือ 2ชั้น โดยหุม้ ไม่มดิ เกิดเป็นช่องเรียก ไมโครไพล์
(micropyle) สปอร์นี้เจริญเป็นแกมีโตไฟต์เพศเมียอยู่ภายในออวุลซึ่งต่อไปจะสร้างเซลล์ไข่
(egg cell)
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงมีเมล็ด
(seed plant)

สปอร์ขนาดเล็กจะเจริญเป็นแกมีโตไฟต์เพศผู้เรียกว่า เรณู(pollen) อยู่ภายในอับสปอร์


ระยะหนึ่งซึ่งต่อไปจะมีการถ่ายละอองเรณู (pollination)ซึง่ ในที่สดุ จะมีการสร้างสเปิรม์ (sperm)
อยู่ภายในหลอดเรณู (pollen tube) นอกจากนีพ้ ชื มีเมล็ดยังมีการปรับตัวในการสืบพันธุท์ ไี่ ม่
ต้องอาศัยน้า โดยการสร้างละอองเรณูทมี่ ีสเปิร์มอยู่ภายใน เมื่ออับสปอร์แตกออก ละอองเรณู
จะกระจายไปตกที่ออวุล โดยอาศัยลมหรือสัตว์เป็นพาหะ เมื่อเกิดการปฏิสนธิแล้วออวุลจะเจริญ
ไปเป็นเมล็ด
กลุ่มพืชมีท่อลาเลียงมีเมล็ด
(seed plant)

กลุ่มพืชมีทอ่ ลาเลียงทีม่ เี มล็ด มีระยะสปอโรไฟต์ ที่เด่นชัดและยาวนานแต่ระยะแกมีโทไฟต์จะมี


ขนาดเล็กลงมาก เมื่อเทียบกับมอสและเฟิน ปัจจุบันแบ่งออกเป็นพืชเมล็ดเปลือยหรือจิมโนสเปิร์ม
(Gymnosperm) และพืชดอกหรือ แองจิโอสเปิร์ม (Angiosperm)
3.1กลุม่ พืชมีท่อลาเลียง มีเมล็ดแต่ ไม่มีดอก ; พืชเมล็ดเปลือย
(Gymnosperm)
พืชเมล็ดเปลือย
(Gymnosperm)

พืชเมล็ดเปลือย มีลักษณะร่วมกัน คือ ออวุลจะติดบนกิง่ หรือแผ่นใบ เมื่อมีการปฏิสนธิ


ออวุลจะเจริญไปเป็นเมล็ด ติดบนกิง่ หรือแผ่นใบนั้น พืชกลุ่มเมล็ดเปลือยบางชนิดกิง่ หรือแผ่นใบ
ที่สร้างออวุลมีลักษณะเป็นแผ่นแข็งสีน้าตาล ซึ่งอาจเรียงช้อนกันแน่นป็นสโตรบิลัสทีม่ รี ูปร่าง
เหมือนกรวย เรียกว่าโคน (Cone) โดยแยกเป็นโคนเพศผู้ และโคนเพศเมีย แต่บางชนิดอาจ
ไม่เป็นสโตรบิลัส พืชส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้มีเนื้อไม้เจริญดีมที งั้ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และไม้เลื้อย
จัดเป็นพืชกลุ่มเด่นในยุคจูแรสซิก ซึ่งอาจเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของไดโนเสาร์ในยุคนั้น
พืชเมล็ดเปลือย
(Gymnosperm)
พืชเมล็ดเปลือย
(Gymnosperm)
พืชเมล็ดเปลือยในปัจจุบนั แบ่งออกเป็น 4 ไฟลัมดังนี้

• ไฟลัมไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophyta)

• ไฟลัมกิงโกไฟตา (Phylum Ginkgophyta)

• ไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta)

• ไฟลัมนีโทไฟตา (Phylum Gnetophyta)


1)ไฟลัมไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophyta)

เป็นพืชทีม่ เี มล็ดโบราณ ได้รับการขนานนามว่าเป็นซากดึกดาบรรพ์ทมี่ ชี ีวิต


เนื่องจากเกิดก่อนไดโนเสาร์ เป็นพืชทีม่ กี ารกระจายพันธุใ์ นบริเวณแห้งแล้งได้ดีเช่น ปรง
ปรงป่า ปรงเขา ในประเทศไทยพบเพียง 10 สปีชสี ์อยูใ่ นจีนัสไซเคส (Cycas) เช่นพบได้
ตั้งแต่ปา่ ชายเลน บริเวณเกาะทีม่ ภี เู ขาหินปูน ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณและป่าดิบเขา ลาต้น
ส่วนใหญ่อยู่ใต้ดินเป็นหัวมีต้นค่อนข้างเตี้ย ใบมีขนาดใหญ่เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว
มีการสร้างโคนเพศผู้และโคนเพศเมียแยกต้นกัน โดยโคนเพศเมียมีออวุลหลายออวุลติดกัน
บนแผ่นใบเรียงกันแน่นแต่มกั จะไม่เป็นสโตรบิลัส
ไฟลัมไซแคโดไฟตา (Phylum Cycadophyta)

Male cone Female cone


2)ไฟลัมกิงโกไฟตา (Phylum Ginkgophyta)

พืชกลุม่ นี้ได้แก่ แปะก๊วย (Ginkgo biloba ) หรือทีเ่ รียกว่า Maidenhair tree จัดเป็น
Living fossil อีกชนิดหนึ่งพบได้ตั้งแต่ยุค Permian ปัจจุบนั มีเพียงสปีชสี เ์ ดียว คือ
Ginkgo biloba Linn. มีชื่อสามัญว่าแปะก๊วย ใบเป็นใบเดีย่ วรูปพัดที่ยอดของปลายใบมัก
เว้าลึกเข้ามาในตัวแผ่นใบ ทาให้ดูเหมือนตัวแผ่นใบแยกเป็น 2 ส่วน (Bifid) เส้นใบเห็นชัด
ว่ามีการแยกสาขาแบบแยกเป็น 2 แฉก (Dichotomous) แต่จะไม่เป็นร่างแห ใบติดกับกิ่ง
แบบสลับ จัดเป็นไม้ต้นขนาดใหญ่และผลัดใบ มีต้นแยกเพศกัน ต้นเพศผูส้ ร้างโคนเพศผู้เป็น
กลุ่มแบบหลวมๆบนปลายกิง่ สัน้ และต้นเพศเมียสร้างโคนเพศเมียซึ่งมีออวุลติดอยูบ่ นก้านชู
ออวูลบนกิ่ง ก้านละ 2 ออวุล แต่จะมีเพียง 1 ออวุล เท่านั้น ที่เจริญไปเป็นเมล็ด
ไฟลัมกิงโกไฟตา (Phylum Ginkgophyta)
3) ไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta)

เป็นพืชทีม่ คี วามหลากหลายมากทีส่ ดุ ในพืชกลุม่ เมล็ดเปลือยทั้งในด้านลักษณะของต้น


และโครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์ ที่รู้จักกันทัว่ ไปคือสน(pine) โคนเพศผู้และโคนเพศเมีย
อาจเกิดบนต้นเดียวกัน แต่เกิดต่างเวลากันโดยโคนเพศผูจ้ ะเกิดก่อนเพศเมีย เมื่อปฏิสนธิแล้ว
ออวุลจะเจริญไปเป็นเมล็ด โดยเมล็ดไม่มผี นังรังไข่ห่อหุม้ เรียกว่า naked seed ไม่มีผล
ไม่มีเมล็ด แต่มีpolination ในประเทศไทยพบพืชกลุ่มนีห้ ลายชนิด เช่น สนสองใบ สนสาม
ใบ สนสามพันปี พญาไม้ เป็นต้น
3) ไฟลัมโคนิเฟอโรไฟตา (Phylum Coniferophyta)

สนสองใบ

สนสามใบ

Naked seed
4)ไฟลัมนีโทไฟตา (Phylum Gnetophyta)

เป็นพืชทีม่ ลี ักษณะแตกต่างจากพืชเมล็ดเปลือยกลุ่มอื่นคือพบเวสเซลในท่อลาเลียงน้า
และมีลักษณะคล้ายพืชดอกมากคือ มีกลีบดอก มีใบเลี้ยง 2 ใบ แต่เมล็ดยังไม่มเี ปลือกหุ้ม
มีสโตรบิลัสแยกเพศ ปัจจุบนั พบประมาณ 3 จีนัส แต่ที่พบในประเทศไทยมีเพียงจีนัสนีตมั
(Gnetum)คือ มะเมือ่ ย(Gnetum spp.) และผักเหลียง มักพบตามป่าชื้นเขตร้อน
ไฟลัมนีโทไฟตา (Phylum Gnetophyta)

มะเมือ่ ย ผักเหลียง
การใช้ประโยชน์จากพืชเมล็ดเปลือย

พืชกลุ่มนี้เช่น ปลง นิยมนามาจัดสวนหรือสนนามาใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างและ


อุตสาหกรรมอืน่ เช่น ทาเยือ่ กระดาษ แป๊ะก๊วยยังใช้เป็นยาสมุนไพรใชบาบัดโรคต่างๆ และ
นอกจากนีส้ ารสกัดจากแป๊ะก๊วยจะช่วยป้องกันและรักษาความสมบูรณ์ของผนังหลอดเลือดฝอยและ
ปรับระบบหมุนเวียนเลือด ต่อต้านการอักเสบและการบวม และเนือ่ งจากสารสกัดจากแป๊ะก๊วยมี
ความเป็นพิษต่ามากในวงการแพทย์นยิ มใช้ในผู้ป่วยทีเ่ ลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ผนังหลอด
เลือดแดงทางานผิดปกติ ป้องกันการเกิดอัมพาตและใช้กับโรคทีเ่ กี่ยวกับความชรา เป็นต้น
3.3กลุม่ พืชมีท่อลาเลียง มีเมล็ดแต่ มีดอก ; พืชดอก
(Angiosperm)
พืชดอก
(Angiosperm)
เป็นกลุม่ พืชทีม่ คี วามหลากหลายมากทีส่ ดุ ในอาณาจักรพืช ลักษณะทัว่ ไปของพืช
กลุ่มนี้คอื มีราก ใบ ลาต้นทีแ่ ท้จริง มีระบบท่อลาเลียงเจริญดีมาก ไซเล็ม(Xylem) ทา
หน้าที่ลาเลียงน้า ส่วนโฟลเอ็ม(Phloem) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร มีอวัยวะสืบพันธุค์ ือ
ดอกเปลีย่ นแปลงมาจากกิ่งสัน้ ๆ ดอกเจริญอยูบ่ นก้านดอก มีทั้งที่เป็นดอกสมบูรณ์ และดอก
ไม่สมบูรณ์ เมล็ดมีรังไข่หอ่ หุม้ เมื่อรังไข่พัฒนาเต็มที่จะกลายเป็นผล มีการปฏิสนธิซ้อน มีวง
ชีวิตแบบสลับ แกมีโตไฟต์มขี นาดเล็กอยูบ่ นสปอโรไฟต์
พืชดอก
(Angiosperm)
ในปัจจุบนั แบ่งออกเป็น 1 ไฟลัม
• ไฟลัมแอนโทไฟตา (Phylum Anthophyta)
ไฟลัมแอนโทไฟตา (Phylum Anthophyta)

ปัจจุบนั พืชดอกจัดอยู่ในไฟลัมแอนโทไฟตา (Phylum Anthophyta) ที่ค้นพบ


แล้วมีประมาณ 250,000 สปีชสี ์และสามารถดารงชีวติ อยูใ่ นบริเวณต่างๆทัว่ โลก จากการ
ศึกษาด้านบรรพชีวนิ มีการค้นพบหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ทเี่ ชื่อว่าเป็นพืชดอกทีอ่ ยู่ใน
ตอนต้นของยุคครีเทเชียส คือ แฟมิลีอาคีฟรักเทซี (Archaefructaceae) เมื่อประมาณ
130 ล้านปีทผี่ า่ นมา และพืชดอกเป็นพืชกลุ่มเด่นตั้งแต่ในช่วงปลายยุคครีเทเซียสเป็นต้นมา
และจากหลักฐานการวิเคราะห์ลาดับเบสของ DNA ในพืชดอกพบว่าพืชดอกในกลุ่มแรกๆ ที่
ยังมีชีวติ อยู่ในปัจจุบนั คือ แฟมิลแี อมโบเรลลาซี (Amborellaceae)
ไฟลัมแอนโทไฟตา (Phylum Anthophyta)

ซากดึกดาบรรพ์และภาพจาลองของพืชแฟมิลีอาคีฟรักเทซี
ความหลากหลายของพืชดอก

พืชดอกแบ่งออกเป็น2class คือ
1. Class monocetyledon คือพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
2. Class dicetyledon คือพืชใบเลี้ยงคู่
แต่ในปัจจุบนั ความรู้จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา กายวิภาค และ
สารชีวโมเลกุล ทาให้แนวคิดเกีย่ วกับสายวิวฒ ั นาการของพืชดอกมีการเปลี่ยนแปลง โดยพืช
ที่เคยจัดอยูใ่ นกลุม่ ของพืชใบเลี้ยงคู่ได้มกี ารแยกสายวิวฒ
ั นาการเป็นพืชดอกกลุ่มอื่นๆ เช่น
กลุ่มแอมโบเรลลา กลุ่มบัว กลุ่มจาปี จาปา เป็นต้น เนื่องจากยังคงมีลักษณะของบรรพบุรุษ
ที่เชื่อว่าน่าจะมีววิ ฒ
ั นาการเกิดขึน้ ในช่วงแรกก่อนจะแยกสายวิวฒั นาการเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
และพืชใบเลี้ยงคู่
ความหลากหลายของพืชดอก
การใช้ประโยชน์จากพืชดอก

อาจกล่าวได้ว่าในอาณาจักรพืช พืชดอกจัดเป็น พืชที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์


โดยเป็นปัจจัยสีท่ ี่สาคัญทีม่ นุษย์นามาใช้เป็นอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุง่ ห่ม และยารักษาโรค เป็นต้น
นอกจากนี้อารยธรรมและวัฒนธรรมของชนชาติตา่ งๆ เกี่ยวกับการดารงชีวิตได้มาจากการใช้ประโยชน์
จากพืชทีพ่ บในแหล่งที่อารยธรรม และวัฒนธรรมของชนชาติตา่ งๆ เช่น ชนชาติในแถบเอเชียตะวันออกและ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะบริโภคข้าวเป็นอาหารหลักและมีการปลูกข้าวเพื่อใช้เป็นอาหารชนชาติในแถบ
การใช้ประโยชน์จากพืชดอก
ในแถบเมโสโปเตเมีย จะปลูกข้าวบาร์เลย์ และข้าวสาลีและบริโภคอาหารที่ทา
มาจาก ข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลีเป็นอาหารหลัก ชนชาติในแถบอเมริกาจะปลูกข้าวโพด
และบริโภคอาหารที่ทามาจากข้าวโพด เป็นต้น ในการใช้ประโยชน์จากพืชดอกปัจจุบนั
นั้นพบว่ามนุษย์มีการใช้ประโยชน์จากพืชดอกเพียงประมาณ 10,000 ชนิดเท่านัน้ ทัง้ ๆที่
โลกนี้มีพืชดอกมากกว่า250,000 ชนิด

You might also like