You are on page 1of 14

SUBJECT : VETERINARY HELMINTHOLOGY BY PUI-BONGKOD

พยาธิตวั ตืดของสุ นขั และแมว Part 1


พยาธิตวั ตืดในสุ นขั และแมวมี 2 Order ได้แก่ Pseudophyllidea และ Cyclophyllidea

Order Pseudophyllidea

Family Diphyllobothriidae (มี 2 Genus)

Diphyllobothrium latum

Spirometra mansoni

Order Cyclophyllidea

Family Dilepididae

Dipylidium caninum (canine = สุนขั )

Family Taeniidae

Taenia pisiformis

Hydatigera taeniaformis

Multiceps multiceps

Echinococcus granulosus

Family Mesocestoididae
Diphyllobothrium latum
Family นี้มี 2 genus คือ Diphyllobothrium และ Spirometra ซึ่งทั้งสองจะมีรูปร่ างไข่คล้ายกัน คือจะ
มีฝาเปิ ด (Operculum)

ประเทศทีพ่ บ : บอลติก อเมริกาเหนือ รัสเซีย ไม่ มใี นไทย

โฮสต์ สุดท้ าย : สุ นัข แมว หมี คน

โฮสต์ กงึ่ กลาง : 1 = ไรนา้ , 2 = ปลานา้ จืด

อวัยวะ : ลาไส้ เล็ก

รู ปร่ างลักษณะ

 ส่ วนหัวมี Bothria สองปล้อง

มีลกั ษณะเป็ นร่ องๆ หรื อgroove

 Mature มีปล้องทีมีtestis ออกมา


Operculum
 ปล้องสุ ก มดลูกเรี ยงซ้อนกันเหมือนกลีบ
กุหลาบ

 ไข่จะมี Operculum(ฝาเปิ ด) ภายในมี embyo


และเซลล์ไข่แดงบรรจุอยู่ มีลกั ษณะคล้ายๆกับพยาธิ ใบไม้
 ไข่มีขนาดประมาณ 60-70 micron
 ในพยาธิใบไม้ ไข่รูปร่ างนี้จะไม่มี แต่ถา้ พบ Operculum ให้นึกถึงพยาธิตวั ตืดเหล่านี้ได้เลยว่าเป็ น
Diphyllobothrium หรื อ Spirometra
 ถ้าไข่ที่เป็ นพยาธิใบไม้ในสุ นขั จะมีขนาดเล็กประมาณ 30 micron ข้างในมี arterium คือ จะไม่เห็น
เอมบริ โอและเซลล์ไข่แดงนัน่ เอง

 Mature จะมี testis , uterus และเพศเมียจะมี ovary , vitelline gland(ต่อมไข่แดง) เมื่อไข่ถูกผสมและมี


การสร้างเปลือกไข่แล้วจะเข้าไปใน uterus(มดลูก) ที่ขดซ้อนกันหลายชั้นๆจากนั้นจะเคลื่อนตัว
ออกมาทาง uterine pore (embryo---> uterus---> uterine pore)
 ส่ วนของ genital pore จะมาเปิ ดตรงกลางปล้อง

Ovary

Uterus

uterine

ส่ วนหัวมี Bothria สองปล้อง Mature จะมี proglottids พบ testis และ vitelline gland
ปะปนกันอยู่
Gravid (ปล้องสุ ก) uterus จะมีไข่ เต็มเรียงซ้ อนกันอยู่
วงชีวติ
mature

Gravid proclottid

Immature egg (มี operculum)

Plerocerrcoid Mature egg

IH 2 คือ ปลา Coracedium


IH 1 คือ Cyclops (ไรนา้ )

Oncosphere
Procercoid

 พยาธิตวั ตืดตัวเต็มวัยออกไข่มาทางอุจจาระของคน หมา หรื อแมวลงในน้ า เจริ ญเป็ น


coracedium
 เมื่อ cyclops หรื อไรน้ ากินเข้าไป(ไรน้ าเป็ น intermediate hostที่ 1) จาก coracedium ตัวอ่อน
ระยะที่ 1 เจริ ญเป็ น procercoid ซึ่งเป็ นตัวอ่อนระยะที่ 2 ในไรน้ า
 เมื่อปลากินเข้าไป (ปลาเป็ น intermediate hostที่ 2) จาก procercoid ตัวอ่อนระยะที่ 2 เจริ ญ
เป็ น Plerocerrcoid เป็ นตัวอ่อนระยะที่ 3 ถือว่าเป็ นระยะติดต่อ
 โฮสต์สุดท้าย คือ คน สุ นขั และแมว ต้องมากินปลาที่มี Plerocerrcoid ก็จะติดพยาธิตวั ตืดชนิด
นี้ไป
อันตราย : โลหิตจาง ปวดท้ อง คลืน่ ไส้

การวินิจฉัย : Faecal examination

การรักษา : Niclosamide, Praziquantel

การป้ องกัน : รับประทานอาหารทีป่ รุงสุ ก

 โรคโลหิตจางเกิดจากการที่พยาธิตวั ตืด D. latum มีลาตัวยาวมันจะไปแย้งสารอาหารจ


และวิตามินชนิดหนึ่งที่ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดงของโฮสต์ คือ vitamin B12 จึง
ทาให้เกิดโรคโลหิตจางได้
 Faecal examination คือ การตรวจหาไข่พยาธิจากอุจจาระ เวลาตรวจควรมีไข่พยาธิ
เป็ นreferent

Spirometra mansoni
ประเทศทีพ่ บ : ตะวันออกไกล อเมริกาใต้ ไทย

โฮสต์ สุดท้ าย : สุ นัข แมว

โฮสต์ กงึ่ กลาง : 1 = ไรนา้ , 2 = กบ และ งู

อวัยวะ : ลาไส้ เล็ก

รู ปร่ างลักษณะ

 S. mansoni เป็ นปล้องเล็กๆมีจุดดาๆตรงกลาง


 จุดดาๆตรงกลางเป็ นส่ วนของ uterus ที่มีไข่กลาง
ตรงกลางปล้อง
ส่ วนหัวมี Bothria คล้ายๆ
Diphyllobothrium latum

Mature segment ด้านข้างจะคล้ าลงเรื่ อยๆ Gravid segment ตรงกลางมี

Uterus ,uterine pore,genital pore

Vitelline gland

Ovary

Pseudophyllidea เมื่อเป็ น gravis (ปล้องแก่)แล้วอวัยวะภายใน


จะไม่เหลืออยู่ แต่ที่เด่นๆคือ Uterus ไข่จะเต็มอยูข่ า้ งใน uterus
สังเกตว่า uterus จะมีการขดเพียงนิดเดียวไม่ขดมาก เหมือน
Diphyllobothrium

***แตกต่ างกับ D. latum คือ มดลูกเรียงกัน 2-7 ชั้นเท่ านั้น


ไข่ของ Spirometra มีลกั ษณะ
Operculum
 ป็ นรู ปวงรี
 มี Operculum
 ข้างในมี Yolk gland หรื อ Vitelline
gland (embyo)
วงจรชีวติ

IH2 คือ กบ
หรือ งู

IH1 คือ cyclob

(ไรน้า)

 สุ นขั และแมวเป็ นโฮสต์สุดท้าย (Final host)ปล่อยไข่ออกมาทางอุจจาระ


 ไข่จะเจริ ญในน้ าโดยมีไรน้ าเป็ นโฮสต์ก่ ึงกลางที่ 1 จาก Coracidia เป็ น Procercoid
 โอสต์ก่ ึงกลางตัวที่ 2 คือ กบหรื องู มีการเจริ ญจาก Procercoid ไปเป็ น Plerocercoid
 เมื่อสุ นขั และแมวกินกบเข้าไปก็จะทาให้ติดพยาธิชนิดนี้ได้
 แต่ถา้ คนไปกินกบดิบ หรื องูดิบก็สามารถติดพยาธิชนิดนี้ได้ หรื อคนไปกินไรน้ าที่มี ตัวอ่อน
ระยะPlerocercoid แต่วา่ พยาธิจะยังไม่เจรฺ ยเป็ นตัวเต็มวัย เพราะ คนเป็ น Incidental host(ต่าง
host)ตัวอ่อนจึงไม่มีการเจริ ญเป็ นตัวเต็มวัย
อันตราย : ไม่ ค่อยทาอันตรายต่ อสุ นัข แมว แต่ เกิดโรคสปากาโนซีสในคน
สปากาโนซิสในคน (sparganosis)
*****มักเกิดในระยะ Plerocercoid
การติดต่ อ : กินไรนา้ , กินกบงูดิบๆ หรือเอาเนือ้ กบ
มาพอกแผล/ตา

อาการ : ปวดตา นา้ ตาไหล ผิวหนังบวมแดง

การรักษา : ผ่ าตัด

การป้ องกัน : รับประทานอาหารทีป่ รุงสุ ก นา้ สุ ก

ไม่ เอาเนือ้ สั ตว์ มาประคบแผลหรือตา

Dipylidium caninum
(อยูใ่ น Family Dilephididae เรี ยกว่า พยาธิเม็ดแตงกวา)
ประเทศทีพ่ บ : ทัว่ โลก พยาธิเม็ดแตงกวา
โฮสต์ สุดท้ าย : สุ นัข แมว อาจพบในคน
โฮสต์ กงึ่ กลาง : หมัด เหา (cysticercoid)
อวัยวะ : ลาไส้ เล็ก
 พยาธิตวั นี้พบได้ในประเทศไทย
 คน เป็ นโฮสต์ตวั สุ ดท้าย (Final host)
 หมัด เหา มีตวั อ่อนที่เรี ยกว่า cysticercoids
รู ปร่ าง

ส่ วนหัว เล็กไล่
ลงมา ปล้องแก่ (gravid)
ลักษณะคล้ายเม็ด
แตงกวา

หัวมี rostellum
หัวมี Sucker 4อัน

Ovary

Vitelline gland

Testis

***mature มีอวัยวะสืบพันธุ์ 2
ชุด
Egg Capsule

Egg Capsule
Gravid
gravis
วงจรชีวติ

IH =หมัด เหา

 สุ นขั แมว หรื อ คนปล่อยปล้อง Gravis ออกมา


 แล้วปล้องถูกทาให้แตกออก
 จากนั้น intermediate host ได้แก่ หมัดหรื อเหา กินไข่เข้าไปเกิดเป็ น
Cysticercoid ในหมัดหรื อเหา
 สุ นขั กินหมัดหรื อเหาในตัวอ่อนระยะ Cysticercoid เข้าไป

อันตราย : ปวดท้ อง ท้ องผูก ผอม คลืน่ ไส้

ในคน อาจจะปวดท้ อง ท้องร่ วง

การวินิจฉัย : Faecal examination

การรักษา : Niclosamide, Praziquantel

: ถ่ ายพยาธิเป็ นประจา สุ ขลักษณะนิสัย

You might also like