You are on page 1of 57

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาผลของยาอัลเบนดาโซลตอการติดเชื้อพยาธิตวั กลมในลําไส ในนักเรียนชัน้


ประถมศึกษาปที่ 4 - 6 โรงเรียนตามโครงการพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี อําเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาสครั้งนี้ ผูวิจัยไดรวบรวมแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่
เกี่ยวของซึ่งนําเสนอตามลําดับ ดังนี้
1. ความรูเกี่ยวกับโรคพยาธิตัวกลม
2. การตรวจวินิจฉัยทางปรสิตวิทยา
3. การเก็บอุจจาระสําหรับตรวจหาพยาธิ
4. การรักษาโรคปรสิตหนอนพยาธิที่กระทรวงสาธารณสุขใชในแผนงานควบคุมโรค
หนอนพยาธิ
5. งานวิจยั ที่เกีย่ วของ

ความรูเกี่ยวกับโรคพยาธิตัวกลม
1. ลักษณะทั่วไปของพยาธิตวั กลม (Nematodes หรือ Roundworm) หนอนพยาธิตวั กลม
เปนกลุมสัตวหลายเซลล (Metazoa) ที่ถูกจัดอยูใน Phylum Nemathelminthes, Class Nematoda บาง
ชนิดดํารงชีวิตอยูเปนอิสระ (free-living form) ตามพื้นดิน แหลงน้ําจืด และน้ําทะเล บางชนิดเปน
ปรสิตของพืชอาศัยอยูตามสวนตาง ๆ เชน ราก ลําตน เมล็ดพืช เปนตน และบางชนิดเปนปรสิตของ
สัตวไมมกี ระดูกสันหลังและสัตวมีกระดูก สันหลัง รวมทัง้ คนดวย ซึ่งหนอนพยาธิตวั กลมมีลักษณะ
ทั่วไป ดังนี้
1.1 ลําตัวมีลกั ษณะกลมยาว สวนใหญปลายดานหัวและหางมักเรียวแหลม ทําใหดูมี
รูปรางคลายกระสวย (Fusiform shape) บางชนิดอาจเรียวแหลมเพียงดานเดียว ลําตัวไมแบงเปน
ปลอง ไมมีรยางคยื่นออกจากลําตัว
1.2 มีขนาดและความยาวแตกตางกันไปในแตละชนิด ตั้งแตเล็กมากจนมองดวยตา
เปลาไมเห็น ไดแก Trichinella spiralis และ Strongyloides stercoralis เปนตน จนกระทั่งยาวได
มากกวา 1 เมตร ไดแก Dracunculus medinensis
1.3 ผิวนอกสุดที่ปกคลุมลําตัว คือ Cuticle
1.4 มีชองวางในลําตัว (Body cavity) ซึ่งมีระบบทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุ
7

1.5 มีระบบทางเดินอาหารทีส่ มบูรณ


1.6 ระบบสืบพันธุพัฒนาสมบูรณเต็มที่ แยกเพศผูแ ละเพศเมียคนละตัว ซึ่งสวนใหญ
ตัวเมียจะมีหางตรง และขนาดใหญกวาตัวผู ซึ่งมักมีหางงอ
1.7 ระบบขับถายและระบบประสาทยังเจริญไมสมบูรณ (Rudimentary)
1.8 ไมมีระบบไหลเวียนของโลหิต (Circulatory system)
2. โครงสรางผนังลําตัว ผนังลําตัวของหนอนพยาธิตัวกลมประกอบดวย Cuticle,
Hypodermis และกลามเนื้อ (Musculature)
2.1 Cuticle เปนผิวนอกสุดทีป่ กคลุมลําตัวพยาธิทั้งระยะตัวออนและตัวเต็มวัย โดย
เปนสารที่หลั่งออกมาจากชั้น Hypodermis ประกอบดวย Collagen เปนสวนใหญ มีเอ็นไซม
คารโบไฮเดรท และ ไลปดบางเปนสวนนอย Cuticle บางชนิดเรียบ บางชนิดเปนลายขวาง บางชนิด
เปนปุมนูนและบางชนิดเจริญดัดแปลงเปนหนามเล็ก ๆ (Spine)
ในพยาธิบางชนิด Cuticle ใน Buccal capsule ยังอาจพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเปนอวัยวะ
ที่ใชในการกัด เชน ฟนตัด (Cutting plate) ในพยาธิ Necator americanus และฟนเขี้ยว (Tooth) ใน
พยาธิ Ancylostoma duodenale เปนตน
การแผยื่นของ Cuticle ออกไปมีลักษณะคลายครีบเล็ก ๆ เรียกวา Alae ในพยาธิบาง
ชนิด ไดแก Enterobious vermicularis พบวา Cuticle บริเวณสวนหัวมีการแผยื่นออกทางดานหนา
และหลังของลําตัว (Dorso-ventral expansion) มีลักษณะเปนครีบบาง ๆ สั้นอยูแคระดับปาก เรียกวา
Cephalic alae
ตัวผูของพยาธิบางชนิดจะมีการแผยื่นของ Cuticle ที่บริเวณสวนทายสุดของลําตัวเปน
แผนเยื่อบาง ๆ มีลักษณะคลายรม เรียกวา เบอรซา (Bursa) โดย Cuticle ภายในนูนหนาขึ้น มี
ลักษณะเปนแกนเพื่อเปนโครงพยุงเบอรซา เรียกวา Bursal ray
นอกจากนี้ Cuticle ยังพัฒนาและเจริญเปน Spicule, Gubernaculums และ Telenon ซึ่ง
เปนอวัยวะชวยในการผสมพันธุที่พบเฉพาะในพยาธิตวั กลมตัวผู
2.2 Hypodermis (Sub cuticle) เปนชั้นที่อยูถ ัดเขามาจาก Cuticle จัดเรียงตัวเปน 4
กลุมอยูที่บริเวณทองดานหลัง และดานขางของตัวพยาธิ เรียกวา Ventral cord, Dorsal cord และ
Lateral cord ตามลําดับ กลามเนื้อ (Musculature) ของพยาธิตัวกลมเปนกลามเนื้อที่ทอดยาวไปตาม
ความยาวของลําตัวไมมีกลามเนื้อในแนวขวาง เมื่อมีการเคลื่อนที่จึงดูคลายการเลื้อยของงู
ชองวางในลําตัว (Body cavity) ไมมีเยื่อบุผนัง (No mesothelial lining) จึงเรียกวาเปน
Pseudocele หรือ Pseudocoelom มีระบบทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุบรรจุเปนสวนใหญ สวน
ชองวางที่เหลือมีของเหลวบรรจุอยู
8

3. ระบบทางเดินอาหาร (Digestive system) ประกอบดวยปากหรือชองปาก หลอด


อาหาร ลําไสซึ่งเปนทอเล็ก ๆ ไมมีแขนง เปดออกสูภายนอกที่ทวารหนัก (Anus) ในตัวเมียหรือ
Cloaca ในตัวผู
3.1 หลอดอาหาร (Esophagus) เปนสวนตอระหวางปากและลําไส ซึ่งพบไดหลาย
ลักษณะ ดังนี้ Rhabditiform esophagus เปนหลอดอาหารที่เปนกลามเนื้อ ขนาดไมยาวมาก แบงเปน
3 สวน สวนตน (Anterior bulb) โปงออกเล็กนอย สวนกลาง (Isthmus) แคบกวาอีก 2 สวน จึงเปน
รอยคอดเวาอยูต รงกลางหลอดอาหาร สวนปลาย (Posterior bulb) โปงออกเปนกระเปาะ พบใน
ตัวออนของพยาธิในระยะแรกของพยาธิปากขอ พยาธิสตรองจิลอยด จึงเรียกตัวออนระยะนีว้ า
ตัวออนแรบดิติฟอรม (Rhabditiform larva) นอกจากนีย้ ังพบในตัวเต็มวัยของพยาธิเข็มหมุดและ
Free-living form ของพยาธิสตรองจิลอยด
3.2 Filariform esophagus เปนหลอดอาหารที่เปนกลามเนื้อมีขนาดคอนขางยาว
ประมาณ 1/3 ของลําตัว ตรงกลางไมคอดเวาดานปลายก็ไมโปงออก ลักษณะเปนรูปกระบองพบ
เดนชัดในตัวออนระยะติดตอของพยาธิปากขอและพยาธิในตระกูลเดียวกัน จึงเรียกตัวออนนีว้ า
ตัวออนฟลาริฟอรม (Filariform larva)
3.3 Stichosomal esophagus เปนหลอดอาหารซึ่งสวนตนและสวนทายสั้น ๆ เปน
กลามเนื้อ ตอนกลางซึ่งเปนทอเรียวยาวเกือบตลอดความยาวของหลอดอาหาร ลอมรอบดวยเซลลที่มี
คุณสมบัตเิ ปนตอม (Gland cell) เมื่อตัดตามแนวขวาง (Cross-section) แตละเซลลมีลักษณะคลาย
เหรียญทองแดงที่มีรูอยูตรงกลาง เรียกเซลลนี้วา Stchocyte เมื่อมองดูจากกลองจุลทรรศน จะเห็น
เปนเซลลเรียงตอ ๆ กันยาวตลอดความยาวของหลอดอาหารรูตรงกลางจะเปนทางผานของอาหาร
3.4 Spiruroid esophagus เปนหลอดอาหารที่ประกอบดวย 2 สวน สวนตนเปน
กลามเนื้อและสวนปลายประกอบดวยเซลลตอม (Gland cell) พบในพยาธิกลุม Spiruroidea และ
Filaroidea
3.5 Strongyliform esophagus เปนหลอดอาหารขนาดสั้นที่ประกอบดวยกลามเนื้อมี
รอยคอดคลายเอว มีลักษณะคลายลูกโบวลิ่ง (Bowling pin) พบในตัวเต็มวัยของกลุมพยาธิปากขอ
4. ระบบขับถาย (Excretory system) ของเสียที่ขับออกจากพยาธิมีทั้งในรูปของแข็ง
(Solid waste) และของเหลว (Fluid waste) โดยการที่เปนของแข็งถูกขับออกจากระบบทางเดินอาหาร
ผานทางทวารหนักในตัวเมีย หรือ Cloaca ในตัวผู สวนของเสียที่เปนของเหลวจะถูกขับออกทาง
ระบบขับถาย (Excretory system) ซึ่งมีทอขับถาย (Collecting tubules) ที่อยูใน Lateral cord
รวบรวมของเสียจากสวนตาง ๆ ของพยาธิ ขับออกสูภายนอกทาง Excretory pore
9

5. ระบบประสาท (Nervous system) ประกอบดวยเสนประสาทใหญที่สาํ คัญ 6 เสน คือ


Dorsal 1 เสน Ventral 1 เสน และ Lateral 4 เสน โดยแบงเปนขางละ 2 เสน ทอดยาวไปตามลําตัวมา
เชื่อมถึงกันโดยปมประสาท (Tansverse commisures) ซึ่งปมระบบประสาทที่สําคัญทีส่ ุดอยูรอบ
หลอดอาหารทีเ่ รียกวา Nerve ring ปลายประสาทที่ทําหนาที่รับความรูสึกจะไปสุดที่อวัยวะตาง ๆ ทํา
ให Cuticle ตรงปลายประสาทนูนขึ้นเรียกวา Papillae ถาอยูตอนทายลําตัวเรียกวา Caudal papillae
6. ระบบสืบพันธุ (Reproductive system)
6.1 อวัยวะสืบพันธุเพศผู ประกอบดวยอัณฑะ (Testis) อยูเริ่มตนที่บริเวณกึ่งกลางตัว
คอนมาทางหัว ลักษณะเปนทอเดี่ยวยาวขดไปมา ทําหนาทีส่ รางอสุจิ (Sperm) แลวสงไปตามทอนํา
อสุจิ (Vas deferens) เพื่อไปเก็บไวที่ถุงเก็บอสุจิ (Seminal vesicle) ในการผสมพันธุอสุจิจะถูกบีบ
ออกโดยทอฉีดอสุจิ (Ejaculatory duct) ผานออกทางโคลเอกา (Cloaca) นอกจากนี้ในพยาธิบางชนิด
อาจมีโครงสราง (Structure) ที่ใชชว ยในการผสมพันธุ ไดแก Spicule bursa และ Caudal appendages
เปนตน
6.2 อวัยวะสืบพันธุเพศเมีย ในพยาธิแตละชนิดอาจพบอวัยวะสืบพันธุ 1 หรือ 2 ชุด
ก็ได แตพยาธิตัวเมียสวนใหญมักพบวา มีอวัยวะสืบพันธุ 2 ชุด โดยมีลักษณะเปนทอยาวขดไปมาใน
ลําตัว (Genital tubules) ประกอบดวยรังไข (Ovary) มีลักษณะเปนถุงยาว ๆ ทําหนาทีส่ รางไข
ตอจากนัน้ เปนทอนําไข (Oviduct) ถุงรับน้ําเชื้อ (Seminal receptacle) มดลูก (Uterus) ชองคลอด
(Vagina) และ Vulva การแพรพันธุของพยาธิตัวเมีย มี 3 ลักษณะ คือ
6.2.1 Viviparous (Larviparous) พยาธิตัวเมียออกลูกเปนตัวออน เชน Dracunculus
medinensis และ Trichinella spiralis เปนตน
6.2.2 Oviparous พยาธิตวั เมียออกลูกเปนไข เชน Ascaris lumbricoides,
Hookworm, Enterobius vermicularis เปนตน
6.2.3 Ovo-viviparous พยาธิตัวเมียออกลูกเปนไขซึ่งภายในมีตัวออนบรรจุอยูและ
ตัวออนฟกออกจากไขทนั ทีที่วางไข เชน Strongyloides stercoralis
7. ขั้นตอนการเจริญเติบโตของพยาธิตัวกลม (Developmental stage) พยาธิตัวกลมสวน
ใหญออกลูกเปนไข เมื่อปนออกมาสูสิ่งแวดลอมภายนอก ไขจะมีการเจริญและฟกตัว (Hatching)
เปนตัวออนระยะที่ 1 มีการเจริญเติบโตและลอกคราบ (Molt) เปน ตัวออนระยะที่ 2, 3, 4 และ 5
ตามลําดับ โดยจะมีการลอกคราบเกิดขึ้นทุกครั้งในการเปลี่ยนจาก ตัวออนระยะหนึง่ เขาสูตัวออน
ระยะถัดไป รวมทั้งหมด 4 ครั้ง ตัวออนระยะที่ 5 คือ Immature adult มีรูปรางลักษณะและอวัยวะ
ตาง ๆ เหมือนตัวเต็มวัยและจะเจริญเปนตัวเต็มวัยตอไปโดยไมมีการลอกคราบเกิดขึน้ ในพยาธิที่
ออกลูกเปนตัวออน (Larva) ตัวออนที่ออกมาก็จะมีขนั้ ตอนการเจริญเติบโตเชนเดียวกัน
10
ฟกตัว ลอกคราบครั้งที่ 1
ไข ตัวออนระยะที่ 1 ตัวออนระยะที่ 2

ลอกคราบ
ครั้งที่ 2

ตัวออนระยะที่ 5 ตัวออนระยะที่ 4 ตัวออนระยะที่ 3


ลอกคราบครั้งที่ 4 ลอกคราบครั้งที่ 3
(young adult)

ตัวเต็มวัย

8. ประเภทของพยาธิ เพื่อใหงายตอการศึกษาความสัมพันธของการทําใหเกิดโรคอาจจัด
กลุมพยาธิตัวกลม ตามตําแหนงที่พบพยาธิ (Normal habitat) ไดดังนี้
8.1 พยาธิที่พบในลําไส (Lntestinal nematodes)
8.1.1 ลําไสเล็ก
8.1.1.1 Ascaris lumbricoides
8.1.1.2 Hookworm
8.1.1.3 Strongyloides stercoralis
8.1.1.4 Trichostrongylus orientalis
8.1.1.5 Trichinella spiralis
8.1.1.6 Capillaria philippinensis
8.1.2 ลําไสใหญ
8.1.2.1 Trichuris trichiura
8.1.2.2 Enterobious vermicularis
8.2 พยาธิที่พบในเนื้อเยื่อ (Tissue nematodes)
8.3 ในสมอง Angiostrongylus cantonensis
8.4 ในเนื้อเยื่อทั่วรางกาย Gnathostoma spp.
8.5 ในตา Thelazia spp.
8.6 ในตอมน้ําเหลือง Wuchereria bancrofti , Brugia malayi และ B. timori
11

9. พยาธิไสเดือน (Ascaris lumbricoides)


9.1 ชื่อสามัญ พยาธิไสเดือน (Round worm)
9.2 ถิ่นที่พบ พยาธิไสเดือนเปนพยาธิที่พบไดบอยและเปนที่รูจักกันดี พบไดทวั่ โลก
(Cosmopolitan) พบมากในเขตรอนและอบอุนที่มีความชุมชื้นสูง หรือในแหลงชุมชนแออัดที่การ
สาธารณสุขและสุขาภิบาลไมดีเพียงพอ
9.3 วิทยาการระบาด พยาธิไสเดือนติดตอเขาสูคน โดยการกลืนเอาไขระยะติดตอเขา
ไปเปนสวนใหญ ซึ่งมักปนเปอนมากับอาหาร โดยเฉพาะผักสดและผลไม การที่มีไขพยาธิระบาด
ในทองถิ่นนั้น ๆ ขึ้นอยูกับลักษณะของดินที่มีผลโดยตรงตอพัฒนาการของไขพยาธิ และอุปนิสัย
การถายอุจจาระลงดินของประชากรในทองถิ่นนั้น ๆ หรือการนําเอาอุจจาระคนไปทําปุย รดพืชผัก
การปนเปอนของไขพยาธิตามกานและใบของผักสดพบไดทั่วไป ปริมาณมากนอย
ขึ้นอยูกับการใชอุจจาระมาทําปุยหรือการถายอุจจาระลงพื้นดินของประชากรในทองถิ่นนั้น ๆ จาก
การสํารวจหา Soil-transmitted helminths ในผักสด 10 ชนิด ในตลาดเขตเทศบาลเมืองนนทบุรี
ไดแก ผักชี ตนหอม คื่นฉาย ผักบุง ผักกาดหอม ผักกาดขาว ใบกุย ชาย ผักกวางตุง ใบสะระแหนและ
ผักชีฝรั่ง ตรวจพบวารอยละ 77.2 ของผักที่นํามาตรวจมีการปนเปอนของไขและตัวออน
หนอนพยาธิ โดยมีไขพยาธิไสเดือนรอยละ 7.6 ไขพยาธิแสมารอยละ 1.6 ไขพยาธิปากขอรอยละ
11.2 นอกจากนี้ยังพบ Free-living nematode larva สูงถึงรอยละ 60.8 ดังนั้นในการรับประทาน
ผักสดจึงควรลางใหสะอาดเสียกอน
ดินที่มีการปนเปอนของไขพยาธิเมื่อแหงและฟุงกระจายไปในอากาศ เมื่อคนหายใจ
เขาไปจะไดรบั ไขพยาธิไปเกาะติดบริเวณคอหอย แลวจึงถูกกลืนลงไปในระบบทางเดินอาหารอีก
ทอดหนึ่ง นับเปนการติดตออีกวิธีหนึ่งซึ่งพบไดไมบอยนัก เนื่องจากเคยมีผูรายงานการตรวจพบไข
พยาธิจากเยื่อบุจมูก และน้ําลางชองจมูก
ในประเทศไทยพบพยาธิไสเดือนไดทวั่ ทุกภาคและมีมากทางภาคใตเนือ่ งจากสภาพ
ภูมิประเทศ และอากาศที่มีฝนตกชุกเกือบตลอดปเอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโตของพยาธิและการ
ติดตอเขาสูคน
9.4 ที่อยูอาศัย ตัวเต็มวัย อยูในชองกลางของลําไสเล็ก (Intestinal lumen)
9.5 รูปรางลักษณะ พยาธิไสเดือนเปนพยาธิตัวกลมในลําไสที่มีขนาดใหญที่สุด ลําตัว
เปนรูปทรงกระบอกยาวหัวทายเรียวเล็กลง เมื่อดูสด ๆ ตัวมีสีขาวอมชมพูหรือเหลืองออนมีลายขีด
ขวางบนผิวชัน้ นอกดานหัวปาน ปลายสุดมีริมฝปาก 3 อัน ริมฝปากบนมีขนาดใหญอยูตรงกลาง คือ
Dorsal lip ริมฝปากลางมี 1 คู อยูเฉียงไปทางดานขางตัว เรียกวา Ventrolateral lips หรือ
12

Subventral lips ชองปากเปนรูปสามเหลี่ยมอยูตรงกลางระหวางริมฝปากทั้งสาม ตอจากปากเปน


หลอดอาหารชนิด Filariform
ตัวผู ยาว 15 - 31 เซนติเมตร มีเสนผาศูนยกลางของลําตัว 2 - 4 มิลลิเมตร ปลายหางงอ
โคงมาทางดานทอง ซึ่งเปนลักษณะที่บงชีว้ าเปนเพศผู เมือ่ ตรวจดูดว ยตาเปลาอวัยวะสืบพันธุ
ประกอบดวย อัณฑะ (Testis) มีลักษณะเปนทอยาวอันเดียว ทําหนาที่สรางเชื้ออสุจิ (Sperm) สงผาน
มาทางทอนําอสุจิ (Vas deferens) ตอดวย Ejaculatory duct ซึ่งขดเปนเกลียวอยูบริเวณครึ่งลางของ
สวนหางเปดออกที่โคลเอกา (Cloaca) ใกลกับโคลเอกามี Spicule เปนแทงปลายแหลม 1 คู ขนาด
เทา ๆ กันยาว 2.0 - 3.5 มิลลิเมตร ใกลปลายหางมี Pre-cloacal และ Post-cloacal papillae จํานวน
มาก
ตัวเมีย มีขนาดใหญและยาวกวาตัวผู 20 - 49 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางของลําตัว
3 - 6 มิลลิเมตร ปลายหางทูต รงไมโคงงอ เชน ตัวผูอวัยวะสืบพันธุ 2 ชุด แตละชุดประกอบดวย
รังไข ทอนําไข ถุงรับเชื้ออสุจิ (Seminal receptacle) และปากมดลูก รวมเรียกวา Genital tubule
มดลูกทั้งสองมาตอรวมกันที่ชองคลอด (Vagina) แลวเปดออกที่ Vulva ซึ่งอยูตรงกลางดานทอง
บริเวณ 1/3 ของลําตัวจากสวนหัว บริเวณนีจ้ ะมีรอยคอดเรียกวา Genital girdle หรือ Vulva waist
ตัวเมียทีย่ ังไมเคยผสมพันธุจะไมมีรอยคอดนี้
Genital tubules เปนทอขดไปมาที่ยาวมาก ยาวกวาความยาวของลําตัวพยาธิหลายเทา
ทําใหสามารถบรรจุไขพยาธิไดจํานวนมากถึง 27 ลานฟอง พยาธิไสเดือนตัวเมียวางไขเฉลี่ย
ประมาณวันละ 200,000 ฟอง
9.6 ไขพยาธิไสเดือน ที่ปนออกมาในอุจจาระผูปวยมี 3 ชนิด
9.6.1 Fertilized egg เปนไขที่ไดรับการผสมพันธุแลว รูปไขรีคอนขางกลมขนาด
45 - 75 x 35 - 50 ไมโครเมตร เปลือกไขแบงออกเปน 3 ชั้น ชั้นนอกเปนสารพวกอัลบูมิน
(Albuminous layer) มีลักษณะตะปุมตะปาติดอยูบนเปลือกไขชั้นกลาง สีเหลืองน้ําตาล ซึ่งเกิดจาก
การดูดซึมน้ําดีจากลําไสโฮสต เปลือกชั้นกลางเปนเปลือกไขจริง มีลักษณะเรียบใสและหนาเปน
สารจําพวกกลัยโคเจน (Glycogen layer) ทําหนาที่เสริมความแข็งแรงของเปลือกไขและรักษารูปราง
ของไขพยาธิชั้นในสุดเปนเยือ่ บาง ๆ ที่หอหุมเซลลไขไว เปนสารจําพวกไขมัน (Lipoidal vitelline
layer) มองเห็นไมชัดเจน
ไขพยาธิที่ปนออกมาในอุจจาระใหม ๆ ภายในมักเปนเซลลไขเซลลเดียวที่
ประกอบดวยแกรนูลสที่เปนเลซิธิน (Lecithin granules) ขนาดเล็กเทา ๆ กันรวมตัวกันเปนกอน
และไมใชไขระยะติดตอ
13

9.6.2 Unfertilized egg เปนไขที่ไมไดรับการผสมพันธุ รูปรางเรียวยาวขนาด


88 - 94 x 39 - 44 ไมโครเมตร มีเปลือกไขเพียงแค 2 ชั้น ซึ่งมักจะบางกวา Fertilized egg ไมมีผนัง
ชั้นที่เปนสารพวกไขมันและภายในไขมีแกรนูลสที่เปนเลซิธินขนาดตาง ๆ ไมสม่ําเสมอกัน
9.6.3 Decorticated egg คือ ไขพยาธิไสเดือนทั้ง 2 ชนิดทีก่ ลาวมาแลวแตเปลือก
ชั้นนอกสุดที่เปนสารพวกอัลบูมินหลุดออกไป ในกรณีของ Decorticated fertilized egg ซึ่งพบได
บอยกวา เปลือกนอกจะเรียบใส ไมมีสี ทําใหดูคลายไขพยาธิปากขอ การหมุนโฟกัสเพือ่ ปรับภาพ
ชัดจะเห็นเปลือกไขเปนขอบเขียววาว ๆ หนากวาเปลือกไขพยาธิปากขอมาก และไขชนิดนี้จะถูก
ทําลายงายเนื่องจากไมมีเปลือกชั้นนอกสุดหอหุม โอกาสที่จะเจริญไปเปนไขระยะติดตอจึงนอยกวา
9.7 วงจรชีวิตพยาธิไสเดือน

ภาพที่ 2 วงจรชีวิตพยาธิไสเดือน (Life cycle of Ascaris lumbricoides) เมื่อคนถายอุจจาระไข


หนอนพยาธิจะปนออกมา ไขฟกตัวในดินเปนระยะติดตอ เมื่อคนรับประทานอาหารที่มีไข
พยาธิระยะติดตอ เปลือกไขพยาธิจะแตกในลําไส ตัวออนของพยาธิจะไชออกจากผนัง
ลําไสเขาสูกระแสเลือด ผานปอดไปยังหลอดอาหาร ถูกกลืนไปยังลําไสและตัวแกของ
พยาธิจะอาศัยอยูในลําไสตอไป (วงจรชีวิตไสเดือน, ม.ป.ป.)
14

เมื่อตัวแกของพยาธิ อาศัยในลําไสผสมพันธุออกไขปนมากับอุจจาระ ลงบนดินที่


ชื้นแฉะ ไขฟกตัวในดินเปนไขระยะติดตอ คนรับประทานอาหารหรือน้ําดื่มที่มีไขพยาธิระยะ
ติดตอปนอยู เปลือกไข พยาธิ แตกในลําไสเล็ก ตัวออนของพยาธิไชออกจากผนังลําไสเขาสูกระแส
เลือดสูปอด ตัวออนออกจากปอด ผานหลอดลมไปยังหลอดอาหาร และถูกกลืนเขาไปในกระเพาะ
อาหารและลงสูลําไส
เมื่อพยาธิมีการผสมพันธุกันแลว พยาธิตัวเมียจะออกไขปนออกมาในอุจจาระของ
ผูปวยเมือ่ ลงสูพ ื้นดินเฉพาะ Fertilized egg เทานั้นที่มกี ารเจริญเติบโตตอไปในสภาวะแวดลอมที่
เหมาะสม ประมาณ 10 - 14 วัน ไขจะเจริญเปนไขระยะติดตอที่มีตัวออนระยะที่ 3 อยูภ ายใน เมื่อคน
ไดรับไขระยะติดตอโดยการกลืนลงไปในระบบทางเดินอาหาร น้ํายอยจากกระเพาะอาหารและ
ลําไสจะยอยเปลือกไขทําใหตัวออนฟกออกจากไขบริเวณลําไสเล็กตอนตน ไชผานผนังลําไสเล็ก
เขาสูกระแสเลือด เดินทางเขาสูตับเพื่อไปยังหัวใจซีกขวาและปอดในทีส่ ุด
ตัวออนอยูใ นปอดประมาณ 10 - 15 วัน มีการลอกคราบและเจริญเติบโต จากนัน้
ตัวออนจะไชผานผนังถุงลมในปอด เขาถุงลมในปอดเขาสูหลอดลมเล็กมายังหลอดลมใหญ เดินทาง
มาที่ หลอดลม (Trachea) Epiglottis แลวถูกกลืนกลับลงไปในระบบทางเดินอาหารอีกครั้ง เมื่อ
พยาธิเดินทางมาถึงลําไสเล็กเกิดการลอกคราบครั้งสุดทาย เจริญเติบโตเปนพยาธิตวั เต็มวัยและมีการ
แพรพันธุตอไป
การที่ตวั ออนเดินทางไปยังอวัยวะตาง ๆ ของโฮสตตามลําดับ มีความสัมพันธโดยตรง
กับการเจริญเติบโตของพยาธิ เรียกการเดินทางนี้วา การเดินทางผานปอด (Lung migration)
ระยะเวลาตั้งแตไดรับไขระยะติดตอเขาสูรา งกาย จนกระทั่งพยาธิตัวเมียออกไขปน
ออกมาในอุจจาระผูปวย กินเวลาประมาณ 8 - 12 สัปดาห พยาธิไสเดือนมีอายุขัย (Life span) โดย
เฉลี่ย 1 ป แตอาจมีชีวิตอยูไดนานถึง 20 เดือน
9.8 อาการและพยาธิสภาพของโรค การติดเชื้อพยาธิไสเดือน อาจไมมีอาการของโรค
แสดงใหเห็นชัดเจน แตกรณีผูติดเชื้อแสดงอาการของโรค ผูปวยจะแสดงอาการไดหลายอยาง ตั้งแต
ระยะแรกเมื่อตัวออนของปรสิตเดินทางเขาไปในอวัยวะตาง ๆ จนเมื่อปรสิตเขาไปเจริญเติบโตใน
ลําไส อาการของโรคพยาธิไสเดือนแบงออกไดเปนสี่แบบ (Pawlowski & Arfaa, 1984 อางถึงใน
วิฑูรย ไวยนันทและพีรพรรณ ตันอารีย, 2537, หนา 273)
9.8.1 พยาธิสภาพแบงออกเปน 2 ระบบ
9.8.1.1 พยาธิสภาพจากตัวออน อาการภูมแิ พจากโรคพยาธิไสเดือน ผูติดเชื้อ
A. lumbricoides อาจมีอาการของโรคภูมิแพ เชน เกิดผื่นแดงบนผิวหนัง หรือมีอาการบวมแดงที่
ปอด หลอดลม หรือ ผนังลําไส ซึ่งมีสาเหตุมาจากการถูกกระตุน โดยสารกระตุนภูมิแพหรือ
15

อัลเลอเจน (Allergen) ที่ปรสิตสรางขึ้นแลวหลุดเขาไปในกระแสโลหิตของโฮสต นอกเหนือจากนี้


ยังเคยมีรายงานวา ผูติดเชื้อพยาธิไสเดือน มีแอนติบอดีชนิด IgE ในเลือดสูงกวาปกติ (Turner et al.,
1979 อางถึงใน วิฑูรย ไวยนันทและพีรพรรณ ตันอารีย, 2537, หนา 274) โดยทัว่ ไปอาการของโรค
ภูมิแพ มักจะเกิดขึ้นโดยมีความสัมพันธกบั พยาธิสภาพของผูปวยขณะที่ตัวออนของปรสิตเคลื่อนที่
ไปยังอวัยวะตาง ๆ โรคพยาธิไสเดือนในปอด ผูปวยจะไมมีอาการใด ๆ ในระยะแรกที่ตัวออนของ
ปรสิตเดินทางไปในอวัยวะตาง ๆ จนกระทัง่ เมื่อตัวออนเดินทางเขามาในปอดผูปวยอาจมีอาการไอ
เล็กนอย 2 - 3 วัน หรือมีอาการปอดบวมและมีไขรวมดวย แตอาการเหลานี้มักจะหายไปไดเองโดย
ไมตองมีการรักษา
9.8.1.2 โรคพยาธิไสเดือนในลําไส อาการของโรคที่พบในผูปวยจะแตกตางกันไป
ขึ้นอยูกับจํานวนปรสิตในรางกาย เด็กที่ไดรับเชื้อปรสิตนอยอาจมีอาการเล็กนอย เชน ปวดทองเปน
ครั้งคราวแนนทองสวนบน คลื่นไส อาเจียน กรณีที่มีปรสิตอยูมากอาจแสดงอาการรุนแรง เชน
ปวดทองมาก อาเจียน อุจจาระรวง โลหิตจาง น้ําหนักตัวต่ํากวาปกติ ผิวหนังและผมแหง ใบหนา
กลมคลายดวงจันทร (Moon face) ซึ่งเปนอาการของโรคขาดสารอาหาร “ควาชิโอกอร”
(Kwashiorkor)
9.8.2 อาการและอาการแสดง อาการแทรกซอนจากโรคพยาธิไสเดือนในลําไส
เนื่องจากพยาธิไสเดือนมีขนาดใหญ เมื่ออยูรวมกันมาก ๆ ในลําไสเล็ก จึงอาจกอใหเกิดอาการแทรก
ซอนตาง ๆ ไดเชน การอุดตันของลําไสเล็ก (Blumenthal & schultz, 1975 อางถึงใน วิฑูรย
ไวยนันทและพีรพรรณ ตันอารีย, 2537, หนา 273) บางกรณีปรสิตอาจมีการเคลื่อนตัวออกจาก
ลําไสไปในอวัยวะอื่น ซึ่งอาจเกิดจากถูกกระตุนโดยยาทีใ่ ชรักษาโรคปรสิตอาจไชทะลุผนังลําไสเขา
ไปในชองทอง เขาไปในตับ ทอน้ําดี ตับออนหรือไสติ่ง ทําใหเกิดอาการรุนแรงและผูป วยอาจ
ถึงกับเสียชีวิตได
9.9 การติดตอ
ระยะติดตอ - ไขที่มีตัวออนระยะที่ 3 (Embryonated egg)
ติดตอเขาสูรางกาย - ทางปาก (Ingestion)
- ทางจมูก (Inhalation)
9.10 การวินิจฉัย
9.10.1 การตรวจอุจจาระผูปว ยเพื่อหาไขพยาธิลักษณะตาง ๆ เปนวิธีที่ตรงและงาย
ที่สุด ทั้งยังใหผลดีดวย เนื่องจากพยาธิวางไขปนออกมาในอุจจาระจํานวนมากจึงงายตอการตรวจ
พบการตรวจนับไขพยาธิ (Egg count technique) ยังใชในการประเมินความรุนแรงของโรคและ
ติดตามผลการรักษาไดดวย
16

9.10.2 ตรวจพบพยาธิตัวเต็มวัยปนออกมาในอุจจาระหรืออาเจียนของผูป วย


9.10.3 การที่มีพยาธิอุดตันลําไส หรืออยูนอกลําไส (Ectopic ascariosis) ตองอาศัย
อาการแสดงทางคลินิกในการวินิจฉัยโรครวมกับการฉายเอ็กซเรย
9.10.4 Ascaris pneumonitis อาจตรวจพบตัวออนในเสมหะของผูปวย
9.11 การปองกัน
9.11.1 ในแหลงที่มีการระบาดของโรค ควรใหความรูแกประชาชนในทองถิ่นถึง
การปองกันตนเอง เชน รับประทานอาหารและดื่มน้ําทีส่ ุกและสะอาด โดยเฉพาะผักสดและผลไม
ลางมือใหสะอาดกอนรับประทานอาหาร และถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลักษณะ เปนตน
9.11.2 ปรับปรุงระบบการสุขาภิบาลและการสาธารณูปโภค เชน สวม แหลงน้ําทิ้ง
การกําจัดขยะ มูลฝอย น้ําประปาที่ถูกสุขลักษณะ เปนตน
9.11.3 ใน Endemic area การใหยาถายพยาธิแบบ Mass treatment จะชวยลดการ
กระจายของพยาธิได และวิธนี ี้ใชไดผลดีในหลายประเทศ เชน ในประเทศญี่ปุน สามารถลดอัตรา
การเปนโรคจนกระทั่งนับไดวาสามารถกําจัดโรคพยาธิไสเดือนใหหมดไปได
9.11.4 อุจจาระที่ใชทําปุย ควรผานขั้นตอนตาง ๆ ที่สามารถฆาตัวออนในไขพยาธิ
ได กอนนํามาใช
10. พยาธิปากขอ
10.1 ลักษณะ พยาธิปากขอ เปนกลุมพยาธิตัวกลมในลําไสซึ่งจัดอยูใน Superfamily
Anclostomatoidea มีลักษณะสําคัญดังนี้
10.1.1 เปนกลุม พยาธิที่มีชองปากขนาดใหญที่เรียกวา Buccal capsule เนื่องจาก
Cuticle ที่คลุมเขาไปในชองปากมีการพัฒนาไปเปนอวัยวะทีใ่ ชในการกัด อาจมีลักษณะปลายแหลม
ที่เรียกวา ฟนเขี้ยว (Tooth) หรือเปนแผนคลายเสี้ยวพระจันทร เรียกวา ฟนตัด (Cutting plate)
10.1.2 ที่ปลายหางพยาธิตวั ผูมี Buras copulatrix ลอมรอบ Cloaca และมี Spicules
2 อัน ขนาดเทากัน Bursa มีลักษณะสมมาตร (Symmetry) มีแกนเพื่อเสริมสรางความแข็งแรงเรียกวา
ray อยู 7 คู โดยแบงเปน Dorsal rays 2 คู Lateral rays 3 คู และ Ventral rays 2 คู
10.1.3 ไขพยาธิมีลักษณะรี เปลือกบาง ใส ภายในมีเซลลไขที่แบงตัวเปนหลาย ๆ
เซลล
10.1.4 มีการเจริญเติบโตเปนตัวออนระยะติดตอ (Filariform larva) ในดิน จึงจัดอยู
ในกลุม Soil-transmitted helminths
พยาธิปากขอเปนพยาธิที่รูจกั กันดีมาชานาน ประมาณการวาพบในคนตั้งแตกอน
คริสตศักราช 1550 ในชาวอียิปตโบราณ จนถึงในปจจุบนั ก็ยังจัดวามีอตั ราการเกิดโรคพยาธิสูงถึง
17

ประมาณ 900 ลานคน นับเปนปญหาสําคัญทางดานสาธารณสุขเปนอันดับ 3 รองจากโรคขาดอาหาร


และมาลาเรีย มีการระบาดของพยาธิปากขอทั่วโลกแตจะพบไดมากในแถบรอนชื้นทีม่ ีฝนตกชุก
และในถิน่ ที่มกี ารสุขาภิบาลไมดี
10.2 ชนิดของพยาธิปากขอ ที่ในคนที่สําคัญมีอยู 2 ชนิด คือ
10.2.1 Necator americanus
10.2.2 Ancylostoma duodenale
นอกจากนี้พยาธิปากขอในสัตว เชน Ancylostoma caninum เปนพยาธิปากขอของ
สุนัข Ancylostoma braziliense และ Ancylostoma ceylanicum พบในแมว และ Cyclodontostomum
purvisi พบในหนู ก็มีรายงานวาสามารถติดตอเขาสูคนโดยบังเอิญ
10.3 วงจรชีวติ พยาธิปากขอ

ภาพที่ 3 วงจรชีวิตพยาธิปากขอ พยาธิตัวเต็มวัยอยูในลําไสเล็กเมื่อผสมพันธุออกไขปนออกมากับ


อุจจาระอยูตามพืน้ ดิน ไขเริ่มฟกตัวเปนตัวออนและออกจากไขเปนตัวออนระยะติดตออยูตาม
พืน้ ดินไชเขาสูคนทางผิวหนังและเจริญเปนตัวเต็มวัย ในลําไสเล็ก (ประยงค ระดมยศ,
2541, หนา 23)
18

การกระจายของโรค
พยาธิปากขอ (Hookworms) เปนพยาธิตวั กลมที่พบไดทั่วโลก โดยเฉพาะในเขตรอน
จัดอยูใ น กลุม soil-transmitted helminthes ปจจุบันพบผูปว ยที่เปนโรคพยาธิปากขอชนิด
N. americanus มากกวา Ancylostoma duodenale
Necator americanus หรือ "American killer" พบครั้งแรกที่ประเทศบราซิล และ
สามารถพบไดทั่วโลก โดยมากพบในพื้นทีท่ ี่ยังไมคอยมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมากนัก เชน
แถบประเทศแอฟริกา เอเชีย ไดแก ไทย จีน ญี่ปุน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ศรีลังกา อินเดีย และหมู
เกาะแปซิฟก ตะวันตก สวน Ancylostoma duodenale พบมากทางยุโรปตอนใต แอฟริกาเหนือ
อินเดีย จีน และเอเชียตะวันออก หมูเกาะแคริเบียน และทวีปอเมริกาใต
ประเทศไทย เปนประเทศทีม่ ีอัตราความชุกของพยาธิปากขอสูง โดยเฉพาะในภาคใต
จะมีอัตราการเปนโรคสูงกวาภาคอื่น ๆ โดยพบพยาธิปากขอชนิด Necator americanus ถึงรอยละ 99
ของพยาธิปากขอที่พบในประเทศไทย
พยาธิปากขอชนิดอืน่ ๆ ที่มีรายงานพบในคน ไดแก Ancylostoma ceylanicum ซึ่งเปน
สาเหตุของโรค Cutaneous larva migrans โดยทัว่ ไปเปนพยาธิที่อาศัยอยูใ นสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทีก่ ิน
เนื้อเปนอาหารในประเทศศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต และอินเดียตะวันออก แตที่มีรายงานวา
พบไดในคนทีป่ ระเทศฟลิปปนส พยาธิชนิดนี้มีลักษณะคลายกับพยาธิ Ancylostoma braziliense ซึ่ง
เปนพยาธิที่อยูใ นสัตวเลีย้ ง และสัตวปาที่กนิ เนื้อเปนอาหารในประเทศเขตรอน
นอกจากนี้ยังพบ Ancylostoma caninum ซึ่งเปนโรคพยาธิที่เปนสาเหตุของ creeping
eruption ในคน พยาธินี้พบไดในสุนัขบาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในแถบทางตอนเหนือทีม่ ีความชื้นสูง
เคยมีรายงานการพบในคนแตพบนอยมาก
10.4 รูปรางลักษณะ มีความคลายคลึงกันมากทั้งขนาด รูปราง รวมทั้งคุณสมบัติทาง
ชีววิทยาของพยาธิหลาย ๆ ชนิดของกลุมพยาธิปากขอโดยเฉพาะไขของพยาธิปากขอแตละชนิดที่
พบในกลองจุลทรรศนนั้น ไมสามารถแยกสปชีสได บอกไดแตเพียงวาเปน “Hookworm egg”
เทานั้น แตตัวเต็มวัยของพยาธิสามารถแยกออกจากกันไดโดยดูลักษณะของสวนหัว ชองปาก ฟน
Bursa และ Spicule
10.4.1 ตัวเต็มวัย Necator americanus ตัวพยาธิปากขอโดยเฉลี่ยยาวประมาณ 1
เซนติเมตร กวาง 0.5 มิลลิเมตร ตัวแกมีรูปรางคอนขางอวนสั้น รูปรางคลายตัวเอส (S-shape) เมื่อยัง
มีชีวิตอยูมีสีครีมปนเทาหรือสีขาวนวลอมชมพู (Greenish-yellow) มองไมเห็นอวัยวะภายใน
ถาขยายดูที่ชองปาก (Buccal cavity) ของ N. americanus จะเห็น Cutting plate 1 คู ตางจากฟนของ
A. duodenale ซึ่งเปน Teeth ในปากจะมี Secretory glands ซึ่งหลั่งสารพวกที่ทําใหเลือดไมแข็งตัว
19

หลอดอาหารเปนกลามเนื้อรูปทรงกระบอก (Club-shaped) ยาวประมาณ 1/6 ของความยาวของลําตัว


ลําไสจะเปนทอตรงเปดทางปลายดานหาง
10.4.1.1 พยาธิตัวผู มีขนาด 7 - 9 x 0.3 มิลลิเมตร มีอณ
ั ฑะเปนทอขดอยูกลาง
ลําตัว มี Ejaculatory duct เปดรวมกันกับลําไสที่ Cloaca บริเวณปลายหาง มี Dorsal ray 1 อัน แยก
ออกเปน 2 กิ่งตรงปลาย ปลายสุดของแตละกิ่งแตกเปน 2 แฉกเล็ก ๆ (Bipartite) มี Spicules 2 อัน
ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ปลายของ Spicule ทั้ง 2 อันรวมเขาดวยกัน
10.4.1.2 พยาธิตัวเมีย มีขนาด 9 - 11 x 0.4 มิลลิเมตร Vulva เปดเหนือจุด
กึ่งกลางของลําตัวเล็กนอย Anus เปดที่ Subterminal สวนอวัยวะสืบพันธุอยูบริเวณ 2/3 ของสวน
ทายลําตัว
10.4.2 ตัวเต็มวัย Ancylostoma duodenale พยาธิมีลําตัวโคงงอคลายตัวซี (C-shape)
มีชองปากขนาดใหญ ภายในมีฟน 2 คู (Ventral teeth) ดานนอกใหญกวาดานในมีหลอดอาหารยาว
ประมาณ 1/6 ของลําตัว
10.4.2.1 พยาธิตัวผู ขนาดประมาณ 8 - 11 x 0.45 มิลลิเมตร ปลายหางแผออกเปน
แผน (Bursa) มี Dorsal ray 1 อัน แยกเปนกิ่งสั้น ๆ 2 กิ่งตรงโคน และปลายสุดของแตละกิ่งแตกเปน
3 แฉกเล็ก ๆ (Tripartite) มี Spicules ขนาดเทากัน 2 อัน ยาว 1.4 - 2.9 มิลลิเมตร ปลายแหลม แตละ
ปลายของ Spicule ไมรวมกันเหมือน Spicule ของพยาธิ Necator americanus
10.4.2.2 พยาธิตัวเมีย ขนาด 10-13 x 0.6 มิลลิเมตร ขนาดใหญกวาตัวผูเล็กนอย
ปลายหางแหลม มี Vulva เปดทางดานทอง (Ventral) บริเวณกึ่งกลางลําตัวคอนไปทางดานทาย
20

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบขอแตกตางระหวางตัวแกของ Ancylostoma duodenale และ


Necator americanus

พยาธิ Ancylostoma duodenale Necator americanus


ขนาด พยาธิตวั ผู 8 - 11 x 0.4 - 0.5 มิลลิเมตร 7 - 9 x 0.3 มิลลิเมตร
พยาธิตัวเมีย 10 - 13 x 0.6 มิลลิเมตร 9 - 11 x 0.4 มิลลิเมตร
รูปราง รูปโคง หัวไปทางเดียวกับลําตัวคลายตัว C หัวเล็ก งอเหมือนขอเบ็ดตรงขาม
กับสวนโคงของลําตัว คลายตัว S
ปาก มีฟน 2 คู ซี่ทางดานนอกใหญกวาทางดาน มีฟนตัดเปนรูปโคงสองขาง
ใน (Ventral teeth) (Cutting plate)
หางพยาธิตวั เมีย มี Caudal spine คม ไมมี Caudal spine
Vulva อยูบริเวณทอนหางหรือทอนกลาง อยูบริเวณทอนหัวหรือทอนกลาง
Bursa แบนแผน สวนกวางมากกวาสวนยาว แคบ สวนยาวมากกวาสวนกวาง
Dorsal ray แบงเปนสองตรงโคน ปลายสุดของแตละ แบงสองตรงปลาย ปลายสุดของ
กิ่งแบงเปนสามสวนเล็ก ๆ (Tripartite) แตละกิ่งแบงเปนสองสวนเล็ก ๆ
(Bipartite)
Spicules ปลายแหลม แยกเปนสองแฉก ปลายแหลม มีสองอันแตรวมกัน
เปนอันเดียว

ภาพที่ 4 ปากของพยาธิปากขอ Ancylostoma duodenale (ซาย) และ Necator americanus (ขวา)


(ศิรญา ไชยะกุล และสุรางค นุชประยูร, 2549, หนา 4)
21

ภาพที่ 5 Dorsal ray ของ Ancylostoma duodenale (ซาย) และ Necator americanus (ขวา)
(ศิรญา ไชยะกุล และสุรางค นุชประยูร, 2549, หนา 4)

10.4.3 ไขพยาธิปากขอ พยาธิปากขอ Necator americanus ตัวเมียไขไดประมาณ


วันละ 6,000 - 20,000 ฟอง (สวนใหญประมาณ 9,000 ฟอง) สวนพยาธิ Ancylostoma duodenale ตัว
เมียไขไดประมาณ วันละ 25,000 - 30,000 ฟอง จํานวนไขอาจแตกตางกันไดตามอายุของพยาธิ
รวมทั้งภูมิตานทานของโฮสทดวย
ไขของพยาธิปากขอทั้ง 2 ชนิด แยกออกจากกันไมได ไขมีขนาดเฉลี่ย 60 x 40
ไมครอน มีลักษณะเปนรูปรี (Oval) หัวมนทายมน เปลือกบางใสไมมีสี ไมมีเยื่อหุมชัน้ นอก แตมี
True shell และ Vitelline membrane หุมอยู ไขที่ออกมากับอุจจาระใหม ๆ จะยังไมเจริญเต็มที่มัก
พบตัวออนระยะ 4 เซลล รูปรางคลายกับไขของพยาธิ Trichostrongylus spp. ซึ่งเปนพยาธิตัวกลมที่
อาศัยในลําไสและมีลักษณะคลายกันกับพยาธิปากขอ

ภาพที่ 6 ไขของพยาธิปากขอ (ศิรญา ไชยะกุล และสุรางค นุชประยูร, 2549, หนา 4)


22

10.4.4 ตัวออน rhabditiform larva เปนตัวออนที่ออกจากไขใหม ๆ มีขนาดยาว


250 - 300 ไมโครเมตร ชองปาก (Buccal cavity) ยาว Esophagus จะมีลกั ษณะเปนแบบ
Rhabditiform type คือ สวนทายของ Esophagus จะโปงออกเปน Bulb และมีรอยคอด ทําใหแยก
ออกจาก Esophagus สวนหนาได ตอจาก Esophagus เปนสําไส จะไปเปดออกที่ Anus ซึ่งอยูทางดาน
Ventral มักมองไมเห็น Genital primodium ซึ่งเปนกลุมเซลลเล็ก ๆ อยูบริเวณประมาณกึ่งกลางลําตัว
ระหวางลําไสกับผิวของลําตัว ตัวออนระยะที่ 1 นีห้ ากินอยูใ นดินประมาณ 1 - 2 วัน โดยกินพวก
แบคทีเรียและ Organic debris เปน อาหาร และจะลอกคราบเจริญเปน Second stage larva ซึ่งยังมี
ลักษณะตาง ๆ เหมือนตัวออนระยะที่ 1 โดยเฉพาะหลอดอาหาร ตอจากนั้นอีกประมาณ 5 - 6 วัน ก็
จะเจริญเติบโตและลอกคราบเปน Third stage larva ตอไป
10.4.5 ตัวออน filariform larva ขนาดยาว 600 - 700 ไมครอน ปลายหางแหลม มี
Esophagus เปนแบบ Filariform type คือมีลักษณะยาวเรียว ไมมี Bulb หรือรอยคอด ตัวออนระยะนี้
ไมมีการกินอาหารเนื่องจากปากปอด และเปนระยะติดตอ (Infective stage) พบอยูตามพื้นดิน
รอโอกาสที่จะไชเขาสูผิวหนังของคนตอไป

ภาพที่ 7 (ซาย) ตัวออนระยะที่ 2 (Rhabditoid larva) (ขวา) ตัวออนระยะที่ 3


(Filariform larva) (ศิรญา ไชยะกุล และสุรางค นุชประยูร, 2549, หนา 5)
23

10.5 วงชีวติ พยาธิตัวเต็มวัย อาศัยอยูในลําไสเล็ก โดยเฉพาะบริเวณ Duodenum และ


Jejunum ถามีพยาธิจํานวนมากอาจพบเลยไปถึงสวน Caecum ได เมื่อผสมพันธุกันแลวตัวเมียจะ
ออกไขปนมากับอุจจาระ เมือ่ ตกถึงพื้นดินจะเจริญเปนพยาธิตัวออนระยะที่ 1 ภายใน 24 - 48 ชั่วโมง
ภายใตอุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 25 - 35 องศาเซลเซียส และใตรมเงา มีความชื้น มีแดดสองถึง
บาง พยาธิตัวออนระยะนี้เรียกวา Rhabditiform larvae ซึ่งจะกินแบคทีเรียและสารอินทรียในดิน
เปนอาหาร ตอจากนี้จะลอกคราบในดิน 2 ครั้งกลายเปนตัวออนระยะที่ 3 หรือ Filariform larvae
ระยะนี้จะไมกนิ อาหาร ปากจะปดและหลอดอาหารยาวประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวลําตัว ระยะนี้
เปนระยะติดตอ (Infective stage) ที่จะรอไชเขาเทาคนตอไป
ระยะ Filariform larvae มักจะอยูกนั หนาแนน ในทีท่ ี่มีนา้ํ ชื้นแฉะพอสมควร บริเวณที่
มีเงารมไมมีแดดสองถึงบาง มีอุณหภูมิเหมาะสมประมาณ 25 - 35° องศาเซลเซียส แตถาน้ําทวม
หรือแหงเกินไปแดดสองจาเกินไป พบวาพยาธิมักจะตาย
วงชีวิตของพยาธิปากขอ Necator americanus เกิดขึน้ เมื่อคนมาสัมผัสกับพื้นดินที่มี
พยาธิอยู พยาธิตัวออนจะไชเขาผิวหนัง งามเทา งามมือ ซึ่งเปนบริเวณผิวหนังบาง เขาหลอดเลือดดํา
ไปยังหัวใจและเดินทางไปยังปอด พยาธิจะเจริญเติบโตภายในปอด แลวไชทะลุผานถุงลมไปยัง
หลอดลมเล็ก หลอดลมใหญ แลวถูกกลืนกลับเขาไปในทางเดินอาหารสูลําไสเล็ก และภายใน 24
ชั่วโมงจะลอกคราบครั้งที่ 3 และในวันที่ 13 จะลอกคราบครั้งที่ 4 แลวเจริญเติบโตเปนพยาธิตวั เต็ม
วัย เพศผูและเพศเมียผสมพันธุกันจนออกไข ระยะเวลาทั้งหมดกินระยะเวลาประมาณ 4 - 7 อาทิตย
ภายหลังที่ไดรบั ตัวออนพยาธิเขาไป พยาธิปากขอ Necator americanus สวนใหญมีอายุ 2 - 6 ป
(อาจนานถึง 15 - 20 ป)
สวนวงจรชีวิตของ Ancylostoma duodenale นั้นพบวาแตกตางจาก Necator
americanus ตรงที่พยาธิ Ancylostoma duodenale สามารถติดตอสูคนไดโดยการกินตัวออนระยะ
ติดตอเขาไป แลวตัวออนจะไชเขาทาง mucous membrane ภายในปาก ลําคอ หรือหลอดอาหาร
แลวไปเจริญเติบโต ลอกคราบและเปนตัวเต็มวัยในลําไส โดยไมจําเปนตองเดินทางไปที่ปอด
ระยะเวลาตั้งแตโฮสทไดรับพยาธิระยะติดตอจนเปนตัวเต็มวัย ประมาณ 5 สัปดาห อยางไรก็ตาม
Prepatent peroid อาจยาวนานถึง 40 สัปดาห อายุของพยาธิโดยเฉลี่ยในรางกายโฮสท ประมาณ
5 - 7 ป
10.6 วิธีการติดตอ ตัวออนระยะติดตอของพยาธิปากขอชนิดนี้สวนใหญไชผาน
ผิวหนัง การติดตอโดยการกินตัวออนระยะติดตอเปนไปไดนอย นอกจากนี้อาจติดตอไดทางน้ํานม
และ โฮสทพาราทีนกิ (Paratenic host) ไดแก สุนัข โค กระบือ การระบาดของโรคพยาธิปากขอใน
แตละทองที่จะขึ้นอยูก ับ 2 ปจจัย คือ
24

10.6.1 สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เอือ้ อํานวยตอการเจริญเติบโตของไขและ


ตัวออนพยาธิ
10.6.2 ประชาชนขาดสุขนิสัยในการใชสวม
10.7 พยาธิสภาพและอาการของโรค การแยกลักษณะของคําวา “การติดเชื้อพยาธิ
ปากขอ” หรือ Hookworm Infection กับคําวา “การเกิดโรคพยาธิปากขอ” หรือ Hookworm Disease
นั้นมีความสําคัญ เนื่องจากผูปวยบางรายมีการติดเชื้อพยาธิปากขอแตไมแสดงอาการของโรค ความ
รุนแรงของโรคที่แสดงออกมานั้นจะสัมพันธกับปจจัยหลัก 3 ชนิดคือ จํานวนพยาธิในรางกาย
ชนิดสปชีสของพยาธิปากขอ และภาวะทางโภชนาการของผูปวย

ตารางที่ 2 จํานวนพยาธิ Necator americanus ในคนทั่วไป และความสัมพันธกับอาการและ


การเสียเลือด

จํานวนพยาธิ อาการ การเสียเลือด (ml/day)


≤ 25 ตัว ไมแสดงอาการ ≥ 0.75
25 – 100 ตัว แสดงอาการเล็กนอย 0.75 – 3
100 – 500 ตัว มีการทําลายเนือ้ เยื่อลําไส แสดงอาการปานกลาง 3 – 15
500 – 1,000 ตัว มีการทําลายเนือ้ เยื่อลําไสอยางรุนแรง 15 – 30
> 1,000 ตัว อาจนําไปสูการเสียชีวิตได > 30

เนื่องจากพยาธิ Ancylostoma spp. ดูดกินเลือดมากกวาพยาธิ Necator spp. ดังนั้นแมวา


มี Ancylostoma spp. อยูในรางกายเพียง 100 ตัว ก็สามารถทําใหเกิดอาการอยางรุนแรงได อยางไรก็
ตาม อาการที่เกิดขึ้นก็จะสัมพันธกับภาวะทางโภชนาการของผูปวยแตละคนในการตอตานการเจริญ
เติบโตของพยาธิในลําไสและปจจัยอื่น ๆ รวมดวย
การติดเชื้อพยาธิปากขอจะกระตุนใหเกิดภูมิคุมกันเพียงเล็กนอยเทานัน้ อีกทั้งพยาธิยงั
มีวิธีการในการหลบหนีตอปฏิกิริยาตอบสนองของโฮสทได เชน Ancylostoma spp. หลั่งสาร
Glycoprotein 41 kd ยับยั้งการทํางานของ Neutrophil Necator americanus หลั่ง Acetyl-cholinesterase
ซึ่งเปนเอ็นไซมที่ยับยั้ง Peristalsis ของระบบทางเดินอาหารของโฮสท นอกจากนี้พยาธิปากขอยัง
สามารถหลั่งสารปองกันการแข็งตัวของเลือดในขณะดูดกินเลือดเปนอาหาร
โรคพยาธิปากขอ ประกอบดวย 3 ระยะ คือ ระยะที่ทาํ ใหเกิดโรคที่ผิวหนังและระยะที่
ทําใหเกิดโรคที่ปอดซึ่งเกิดจากระยะตัวออน และระยะทีพ่ ยาธิตัวเต็มวัยอาศัยอยูในลําไส ไดดังนี้
25

1. ระยะทีไ่ ชผิวหนัง (Coetaneous phase) อยูในชวง 1 - 2 วันแรกหลังจากตัวออน


ของพยาธิไชผานผิวหนัง โดยความรุนแรงของอาการจะขึ้นกับจํานวนตัวออนของพยาธิที่ไชเขาไป
เมื่อตัวออนของพยาธิไชผานเขาไปถึงหลอดเลือด จะกระตุนใหเกิดการตอบสนองทางระบบ
ภูมิคุมกันของรางกาย ทําใหผูปวยมีอาการคันเกิดเปนตุมนูนแดง (Erythematous papular rash) หรือ
เปนตุมน้ํา (Papulovesicles) รอยโรคดังกลาวเรียกวา Ground itch และอาจเกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย
ซ้ําซอนตามมาได นอกจากนีร้ ะยะนี้ยังเกิดจากการที่พยาธิไชไปตามผิวหนังชั้น Epithelial layer
จะเห็นเปนรอยแดง อักเสบและมีอาการคันตามทางเดินทีต่ ัวพยาธิไชผาน เรียกวา Creeping eruption
(Cutaneous larva migrans) ซึ่งมักมีสาเหตุจากตัวออนของพยาธิปากขอของสัตวมากกวาของคน
ไดแก Ancylostoma braziliense, A. caninum, A. ceylanicum เปนตน
2. ระยะทีต่ ัวออนไชผานปอด (Pulmonary phase) อยูในชวง 1 - 3 สัปดาหหลังจาก
ตัวออนของพยาธิไชผานผิวหนัง จากนั้นพยาธิจะเขาสูหลอดเลือดดํา (Superficial venule) ผานไปยัง
ระบบไหลเวียนโลหิตของรางกาย จากนั้นจะไชทะลุหลอดเลือดฝอยเขาสูถุงลมปอด (Alveoli)
ตอไปยัง Bronchi จนถึงลําคอ (Throat) โดยจะทําใหเกิดเลือดออกภายในปอด ผูปวยในระยะนี้มกั
ไมแสดงอาการ แตอาจพบการไอแหง ๆ เจ็บคอและคออักเสบได อาการดังกลาวมักหายไดเอง
ภายใน 7 วัน แตถามีการติดเชื้อที่รุนแรงผูปวยจะมีอาการของภาวะปอดอักเสบ (Pneumonitis) และ
ตรวจพบเม็ดเลือดขาว Eosinophil ในเลือดขึ้นสูง (Eosinophilia)
3. ระยะทีต่ ัวเต็มวัยอาศัยในลําไส (Intestinal phase) อยูในชวง 1 เดือนหลังจากตัว
ออนของพยาธิไชผานผิวหนัง เปนระยะทีพ่ ยาธิสามารถกอโรคไดมากที่สุด โดยผูปวยจะมีอาการ
จากการที่เกิดภาวะ Necrosis ของผนังลําไส และการเสียเลือดจากการที่พยาธิปากขอดูดเลือดจาก
ผนังลําไสเปนอาหาร โดยสวนใหญพยาธิจะอาศัยบริเวณสวนตนของลําไสเล็ก แตถามีการติดเชื้อ
อยางรุนแรงอาจพบพยาธิไดตั้งแต Pylorus จนถึง Ascending colon โดยเฉลี่ยพยาธิ 1 ตัวจะมีการดูด
เลือดประมาณ 0.03 มิลลิลิตรตอวันใน Necator americanus และ 0.26 มิลลิลิตรตอวันใน
Ancylostoma duodenale ในระยะแรกผูปวยจะมีอาการออนเพลีย คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง ทองเสีย
ถายดําหรือมีเลือดปน ออนเพลีย และตรวจพบ Eosinophilia และในระยะเรื้อรัง เมื่อผูปวยมีการเสีย
เลือดมาก จะเกิดภาวะโลหิตจางแบบขาดธาตุเหล็ก (Fe deficiency anemia) ตรวจพบเม็ดเลือดแบบ
Hypochromic microcytic anemia และทําใหเกิดภาวะ Hypoproteinemia ซึ่งจะมีอาการบวม และอาจ
มีอาการกระสับกระสาย ตรวจพบหัวใจโต และ Hemoglobin ในเลือดลดต่ําลง
26

10.8 การวินิจฉัย การวินิจฉัยการติดเชื้อพยาธิปากขอตองอาศัยประวัตผิ ูปวยวาได


สัมผัสกับดินบริเวณที่สงสัยวามีตัวออนของพยาธิปากขอและอาการการตรวจพบทางคลินิกทั้งนี้การ
สงตรวจทางหองปฏิบัติการ ไดแก
10.8.1 ตรวจหาไขพยาธิในอุจจาระ ถาตรวจอุจจาระโดยวิธีธรรมดา 3 ครั้งแลวไม
พบไข อาจสงตรวจอุจจาระดวยวิธีเขมขน (Formalin-ether concentration) ซึ่งจะชวยเพิ่มความไวใน
การตรวจ หรือถาตองการทราบจํานวนพยาธิใหสงตรวจดวยวิธี Stoll egg count ทําไดโดยการเก็บ
อุจจาระ 24 ชั่วโมง ของผูปวยมาชั่งน้ําหนักอุจจาระนับไขในอุจจาระแลวคํานวณหาจํานวนตัวพยาธิ
และคํานวณหาวา ในอุจจาระ 1 กรัมมีจํานวนไขพยาธิเทาใด ในรางกายผูปวยจะมีตวั พยาธิกี่ตวั ซึ่ง
จากการตรวจโดยวิธีดังกลาวจะทําใหทราบความรุนแรงของโรค นอกจากนีย้ ังทําใหทราบวาโรค
หรืออาการที่เกิดขึ้นในผูปวยมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อพยาธิหรือไม เชน พบผูปวยมีอาการซีดและ
ตรวจพบไขพยาธิปากขอในอุจจาระรวมดวย นาจะซีดมาจากสาเหตุของการติดเชื้อพยาธิมากกวา
สาเหตุอื่นๆ เชน ขาดธาตุเหล็ก และการตรวจหาไขพยาธิยงั ชวยติดตามผลของการรักษาหรือผลของ
ยาถายพยาธิดว ย
10.8.2 ตรวจหาตัวออนระยะ rhabditiform larva ในอุจจาระ ในกรณีที่เก็บอุจจาระ
ไวนานกวา 24 ชั่วโมง ตัวออนของพยาธิจะฟกออกจากไข ซึ่งตองวินิจฉัยแยกจากตัวออนของพยาธิ
Strongyloides stercolaris
10.8.3 การเพาะเชื้อหาตัวออนของพยาธิปากขอ จะใหประสิทธิภาพสูงและเปนวิธี
ที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย คือ Harada-Mori’s culture method และ Agar place culture method
10.8.4 การตรวจวินิจฉัยโดยวิธีอื่น ๆ ไดแก การตรวจทางอิมมูนวิทยา เชน การ
ตรวจโดยวิธี Complement fixation test เทคนิคทางอณูชีววิทยา เชน การวินจิ ฉัยโดยใชปฏิกิริยาลูกโซ
โพลีเมอเรส (Polymerase chain reaction; PCR) สามารถนํามาใชแยกชนิดของพยาธิปากขอระหวาง
Necator americanus และ Ancylostoma duodenale ได แตยังไมนยิ มนํามาใชในทางปฏิบัติ
10.9 การรักษา การรักษาผูปว ยที่มกี ารติดเชื้อพยาธิปากขอ ไดแก การรักษา
ประคับประคองตามอาการ และการรักษาแบบจําเพาะโดยการใหยาถายพยาธิ
10.9.1 การรักษาประคับประคองตามอาการ เชน ในผูปว ยที่มีอาการออนเพลียอาจ
จําเปนตองบํารุงรางกายใหผูปวยแข็งแรงดีขึ้นเสียกอน จึงจะใหยาถายพยาธิ โดยการใหอาหารที่มี
โปรตีนสูง ใหวิตามินยาที่มีธาตุเหล็กหรือเกลือฟอสฟอรัส ในกรณีที่ผปู วยมีอาการซีดมากอาจ
จําเปนตองมีการใหเลือด หรือถามีอาการบวมอาจใหยาขับปสสาวะ และถามีภาวะหัวใจวายอาจ
พิจารณาการใหยา Digitalis เปนตน
27

10.9.2 การรักษาแบบจําเพาะโดยการใหยาถายพยาธิ ไดแก


10.9.2.1 Albendazole เปน Drug of Choice ในการรักษาโรคติดเชื้อพยาธิ
ปากขอ โดยใหขนาด 400 มิลลิกรัม ทานครั้งเดียว ใหไดในผูที่อายุตั้งแต 2 ปขึ้นไป
10.9.2.2 Mebendazole (Fugacar) เปน Alternative treatment ของโรคติดเชื้อ
พยาธิปากขอ เนื่องจากยามีประสิทธิภาพในการรักษาไมดีเทาการใหยา Albendazole และมีรายงาน
วามีการดื้อยาของ Necator americanus ในแถบแอฟริกา โดยยา 1 เม็ดมี 100 มิลลิกรัม ทานยา 1 เม็ด
วันละ 2 ครั้ง นาน 3 วัน และในเด็กอายุ 3 ปขึ้นไป ใหทานยาขนาดเทากับขนาดยาในผูใหญ
10.9.2.3 Pyrantel pamoate (combantrin) เปน Alternative treatment ของโรค
ติดเชื้อพยาธิปากขอเชนกัน โดยยา 1 เม็ดมี 125 มิลลิกรัมใหขนาด 10 มิลลิกรัมตอน้ําหนักตัว 1
กิโลกรัม ทานยาเพียงครั้งเดียว
10.10 การปองกัน การปองกันการแพรกระจายของพยาธิโดยการรักษาความสะอาด
สวนบุคคลเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด ซึ่งทําไดดงั นี้
10.10.1 หลีกเลี่ยงการเดินเทาเปลาบนพื้นดินบริเวณที่สงสัย หรือคาดวามีตัวออน
ระยะติดตอของพยาธิปากขออยูเปนจํานวนมาก
10.10.2 การจัดการเกีย่ วกับสุขาภิบาล โดยการสรางและสงเสริมการใชสวมที่ถูก
สุขลักษณะ และไมควรนําอุจจาระไปรดผัก
10.10.3 ใหยาถายพยาธิแกผูปวยทีว่ ินิจฉัยวาเปนโรคพยาธิปากขอ หรือถาสํารวจ
พบวาบริเวณใดที่มีผูปวยเปนจํานวนมากอาจพิจารณา ใหการรักษาแบบหมู (Mass treatment) คือ
การใหทกุ คนในทองถิ่นนั้นรับประทานยาถายพยาธิ
10.10.4 ใหความรูและสุขศึกษาแกผูปว ย นักเรียน และผูน ําชุมชนตามพื้นที่ตาง ๆ
เพื่อใหทราบและเขาใจถึงวงจรชีวิตของพยาธิปากขอ วิธีการติดตอ วิธีการปองกันโรค รวมถึง
วิธีการรักษาทีถ่ ูกตองและเหมาะสม
28

11. พยาธิสตรองจิลอยดิสหรือพยาธิเสนดาย
11.1 เชื้อกอโรค พยาธิสตรองจิลอยดิส (Strongyloides stercoralis )

ภาพที่ 8 พยาธิสตรองจิลอยดิสหรือพยาธิเสนดาย (กรมควบคุมโรคติดตอ, 2552, หนา 6)

พบมากในเขตรอน ที่มีฝนตกชุกในแหลงเดียวกับที่มีการระบาดของพยาธิปากขอ
เปนพยาธิตวั กลมเพียงชนิดเดียวที่สามารถเจริญเปนพยาธิตัวเต็มวัยไดทั้งในรางกายและนอก
รางกาย พยาธิตัวเต็มวัยฝงตัวอยู ในเยื่อบุผนังลําไสเล็กเปนสวนใหญ โดยมีแหลงรังโรคอยูที่คน
สุนัข แมว ลิง ชะนี เปนตน
11.2 ปจจัยที่ทําใหติดพยาธิ การเดินเทาเปลา ทําใหพยาธิตัวออนที่อยูใ นพื้นดินไช
ผิวหนังได และโดยการกินตัวออนระยะติดตอซึ่งปนเปอนมากับอาหารและน้ําดื่มทีไ่ มสะอาด
29

ภาพที่ 9 วงจรชีวิตพยาธิสตรองจิลอยดิส หรือพยาธิเสนดาย (ประยงค ระดมยศ, 2541, หนา 34)

เมื่อตัวออนพยาธิไชเขาผิวหนัง แลวเขาสูกระแสเลือดดําไปยังปอดลอกคราบแลว
คลานสูหลอดลม เมื่อคนไอตัวออนพยาธิจะขึ้นมายังหลอดคอแลวถูกกลืนลงไปสูลําไสเล็ก
เจริญเติบโตเปน ตัวแก พยาธิตัวผูและตัวเมียผสมพันธุกัน ตัวเมียออกไขและฟกเปนตัวออนใน
ลําไส แลวปนออกมากับอุจจาระ เมื่อถึงพื้นดินพยาธิ ตัวออนจะเจริญเปนระยะติดตอ พรอมที่จะไช
เขาผิวหนังตอไป
ถาในพื้นดินมีความชื้นแฉะและสารอาหารที่เหมาะสม พยาธิตัวออนจะเจริญตอจน
เปนตัวแกในพืน้ ดิน แลวผสมพันธุออกลูกเปนตัวออน ซึ่งการเจริญเติบโตในดินเปนแบบอิสระไม
ตองอาศัยอยูในตัวคนหรือสัตว ผูปวยหลายรายที่มีตวั ออนระยะติดตอไชผานผิวหนังบริเวณทวาร
หนักเขาไปในรางกายอีกทําใหจํานวนพยาธิเพิ่มขึ้นทําใหพยาธิติดเชื้ออยูในรางกายไดเปนเวลา
หลายป
30

11.3 อาการแสดง คันตามงามนิ้วเทาหรือบริเวณที่ตวั ออนพยาธิไชเขาไป มีอาการ


ปวดทอง ทองรวง มีการทําลายเยื่อบุลําไส ซึ่งอาจทําใหเกิดลําไสอักเสบรุนแรง และการดูดซึม
อาหารของลําไสไมดี จึงมีอาการขาดสารอาหาร
11.4 การวินิจฉัย ตรวจหาตัวออนในอุจจาระทางหองปฏิบัติการ

ภาพที่ 10 ลักษณะของตัวออนระยะติดตอของสตรองจิลอยดิส หรือพยาธิเสนดาย


(กรมควบคุมโรคติดตอ, 2552, หนา 6)

11.5 การรักษา ใชยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ขนาดยา 400 มิลลิกรัม ให


รับประทานยา 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น ติดตอกัน 3 วัน พัก 1 สัปดาห จากนั้นใหยาขนาด
เดียวกันซ้ําอีกครั้ง รวมจํานวนยาที่ตองรับประทานทั้งสิ้น 24 เม็ด
11.6 การปองกันและควบคุมโรค
11.6.1 ไมเดินเทาเปลาบนพืน้ ดินที่ช้นื แฉะ หรือเมื่อออกนอกบาน
11.6.2 ถายอุจจาระลงสวมทีถ่ ูกสุขลักษณะ
11.6.3 ใหความรูเกี่ยวกับโรคพยาธิเสนดายหรือสตรองจิลอยดิส เพื่อปองกันการ
ติดโรค
11.6.4 ผูปวยทีเ่ ปนโรคพยาธิตองรักษาใหหายขาด ดวยการรับประทานยาใหครบ
ตามจํานวนทีก่ ําหนดไว
12. พยาธิแสมา Trichuris trichiura
12.1 ชื่อสามัญ พยาธิแสมา (Whip worm)
31

12.2 ประวัติและถิ่นที่พบ
พยาธิตัวเต็มวัยถูกพบพรอมทั้งอธิบายรูปรางลักษณะของพยาธิเปนครั้งแรก โดย
Linnaeus เมื่อป ค.ศ. 1771 Grassi ไดศึกษาวงจรชีวิตเปนครั้งแรกเมื่อป ค.ศ. 1887 และศึกษาตอมา
โดย Fulleborn ป ค.ศ. 1923 และHasegawa ป ค.ศ. 1924
คําวา “Trichuris” แปลวา มีหางคลายเสนดาย ซึ่งเกิดจากการเขาใจผิดคิดวาสวนที่เรียว
เล็กและยาวนี้เปนสวนหาง แทจริงหรือสวนหัว จึงถูกตั้งชื่อใหมวา “Trichocephalus” แปลวาสวน
หัวคลายเสนดาย โดย Schrank เมื่อป ค.ศ. 1988 เพื่อใหมคี วามหมายตรงกับรูปลักษณะที่แทจริงของ
พยาธิ แตชื่อใหมนี้ไมเปนทีน่ ิยมใชกัน คงมีใชเฉพาะในแถบลาตินอเมริกาโดยทัว่ ไปจึงรูจักกันใน
ชื่อเดิมคือ Trichuris trichiura
12.3 ตําแหนงที่พบพยาธิ สวนใหญมักพบพยาธิตัวเต็มวัยบริเวณลําไสใหญตอนปลาย
อาจพบไดบางบริเวณลําไสใหญตอนตน ลําไสเล็กตอนปลาย และไสติ่ง พยาธิใชสวนหัวชอนไชฝง
ตัวอยูใ นชั้นเยือ่ บุผนังลําไส โดยสวนทายพยาธิหอยอยูในชองลําไส ไดรับอาหารจากเนื้อเยื่อและ
เลือดของโฮสต โดยการหลัง่ เอนไซมออกมายอยเนื้อเยื่อบริเวณที่สว นหัวฝงอยู
12.4 รูปรางลักษณะ เมื่อดูสด ๆ พยาธิตัวเต็มวัยเปนสีเทาอมชมพู รูปรางคลายแสมา
สวนหัวเรียวเล็กคลายปลายแส ยาวประมาณ 3/5 ของลําตัว สวนหางอวนหนากวามีลักษณะคลาย
ดามแส ยาวประมาณ 2/5 ของลําตัว ที่ปากไมมีริมฝปาก แตมี Stylet 1 อันแหลมดูคลายปลายหอก
ใชชวยในการไชเขาไปฝงหัวอยูในเยื่อบุผนังลําไส ตอจากปากเปนหลอดอาหารชนิด Stichosomal
type ซึ่งสวนตัวและปลายสั้น ๆ ของหลอดอาหารเปนกลามเนื้อ สวนตรงกลางยาวประกอบดวย
เซลล Stichocyte เรียงเปนแถวตอๆ กัน ตรงกลางของแตละเซลลมีรู ซึ่งเปนทางผานของอาหาร
หลอดอาหารนี้มีความยาวตลอดสวนหัว ตอดวยลําไสซึ่งยาวไปจนสุดดานหาง เปดออกที่ทวารหนัก
หรือ Cloaca ซึ่งอยูปลายสุดของหาง
12.4.1 ตัวผู ยาว 30 - 45 มิลลิเมตร หางมวนงอมาทางดานทอง 360 องศา สวนหาง
นี้กวางประมาณ 2 มิลลิเมตร อวัยวะสืบพันธุประกอบดวยอัณฑะ เปนกระเปาะอยูใกลปลายหางยาว
เรื่อยมาจนถึงบริเวณสวนตอของหลอดอาหารและลําไส ตอดวยทอนําเชื้ออสุจิ (Vas deferens) และ
Ejaculatory tubule ซึ่งเปนกลามเนื้อหนา มาเปดออกที่ Cloaca ปลายหางมี Spicule 1 อันเปนแทง
ยาวประมาณ 2.5 มิลลิเมตร หุมดวยปลอก (Sheath) ที่ยดื หดได บนปลอกหุม มีหนามเล็ก ๆ อยู
มากมาย จึงเรียกวา Spinous spicular sheath
12.4.2 ตัวเมีย ยาว 35 - 50 มิลลิเมตร ตอนปลายหางมนทู มีอวัยวะสืบพันธุเพศเมีย
เพียง 1 ชุด ประกอบดวยรังไขที่เปนรูปถุงอยูที่บริเวณตอนกลางของสวนดามแสยาวไปจนถึงสวน
32

ปลายหาง จากนั้นเปนทอนําไข (Oviduct) มดลูก (Uterus) สวนตนของมดลูกแคบลงตอดวยชอง


คลอดที่คอนขางยาว เปดออกที่ Vulva ซึ่งอยูตอนปลายของหลอดอาหาร ตัวเมียออกไขประมาณ
วันละ 3,000 - 20,000 ฟอง มดลูกของพยาธิตัวเมียสามารถบรรจุไขไดประมาณ 60,000 ฟอง ซึ่ง
หมายถึงวาในแตละวันพยาธิจะสรางไขขึ้นมาทดแทนประมาณรอยละ 5 - 30 ของที่บรรจุอยูใน
มดลูก
12.4.3 ไข ขนาด 50 - 54 x 22 - 23 ไมโครเมตร มีลักษณะคลายถังเบียร (Barrel
shape) เปลือกไขเรียบหนามี 3 ชั้น สีเหลืองปนน้ําตาลซึ่งเปนสี Bile pigment ของโฮสต มีจุกใสอยูที่
ขั้วทั้ง 2 ขาง (Mucoid plugs) ไขที่ปนออกมาใจอุจจาระใหม ๆ ภายในเปนเซลลไขซึ่งมักเปนเซลล
เดียว และไมใชไขระยะติดตอ สภาวะแวดลอมที่เหมาะสมตอการเจริญเปนไขระยะติดตอคือ
พื้นดินที่รม ชืน้ แฉะ อากาศมีความชื้นสูง และอุณหภูมิระหวาง 22 - 35 องศาเซลเซียส พบวาเซลล
ไขจะเจริญไปเปนตัวออน แลวเกิดการลอกคราบ 2 ครั้ง เปนตัวออนระยะที่ 3 อยูในไข การเจริญ
เปนระยะติดตอกินเวลาประมาณ 28 วัน ทีอ่ ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 15 วัน ที่อุณหภูมิ 30
องศาเซลเซียส และเพียง 13 วันที่อณ ุ หภูมิ 34 องศาเซลเซียส ในสภาวะที่เหมาะสมดังกลาวไข
สามารถอยูในสิ่งแวดลอมหรือพื้นดินไดนานประมาณวารอยละ 21 ของไขสามารถอยูไดนานกวา 8
เดือน และยังคงความสามารถในการติดตอเขาสูคน แมวาจะชอบอยูอาศัยในสภาวะแวดลอมแบบ
เดียวกัน ไขพยาธิแสมามีความคงทนตอการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมภายนอกนอยกวาไขพยาธิ
ไสเดือน แตตอ งการอุณหภูมิที่ใชในการเจริญเปนไขระยะติดตอสูงกวาไขพยาธิไสเดือน ในทีแ่ หง
และอุณหภูมิสงู ไขจะตายภายในระยะเวลาอันสั้น การถูกแสงแดดโดยตรงนานกวา 12 ชั่วโมง หรือ
ที่อุณหภูมิ – 80 องศาเซลเซียส หรือที่ 40 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 ชั่วโมง สามารถฆาไขใหตายได
33

ภาพที่ 11 วงจรชีวิตพยาธิแสมา (Life cycle of Trichuris trichiura) คนเปนโรคพยาธิแสมา


โดยการกินไขระยะติดตอซึ่งปนเปอนมากับอาหารและน้ําดื่ม ตัวออนจะฟกออกจากไข
ที่ลําไสเล็ก และเปนพยาธิตวั เต็มวัยที่ลําไสใหญ (ประยงค ระดมยศ, 2541, หนา 42)

12.5 วงจรชีวติ คนรับประทานอาหารและน้ําดื่มที่มีไขพยาธิระยะติดตอ ตัวออนจะ


ฟกออกจากไขที่บริเวณลําไสเล็ก เมื่อคนรับประทานไขระยะติดตอเขาไป ตัวออนจะฟกออกจากไข
ผานทาง Mucoid plug ที่บริเวณลําไสเล็ก สวนใหญเกิดขึ้นที่ดูโอดินัม (Duodenum) ปจจุบันยังไม
ทราบแนชัดวาปจจัยใดบางทีเ่ ปนตัวกระตุนใหตวั ออนฝกออกจากไข แตการศึกษาในสัตวทดลอง
พบวา ไขที่เดินทางผานสภาวะความเปนกรดดางในกระเพาะและลําไส เปนปจจัยสําคัญที่กระตุนให
ตัวออนฟกออกจากไขภายใน 1 ชั่วโมง หลังจากเขาสูรางกาย ตัวออนนี้ไชเขาไปเจริญเติบโตในผนัง
ลําไสมักพบที่บริเวณ Crypts of Lieberkuhn ประมาณ 8 - 10 วัน ตอมาพยาธิไชกลับออกมาอยูใน
ชองกลวงของลําไสเล็ก (Intestinal lumen) เดินทางไปเจริญเปนพยาธิตวั เต็มวัยที่ลําไสใหญ โดยไม
มีการเดินทางผานปอด ในระหวางนี้มีการลอกคราบเกิดขึ้นอีก 2 ครั้ง เมื่อตัวออนเดินทางมาถึง
ตําแหนงทีพ่ บพยาธิ (Normal habitat) จะไชเขาไปฝงตัวอยูในผนังลําไส โดยมี Epithelium คลุม
พยาธิทั้งตัว ทําใหเกิดเปนลักษณะคลายอุโมงค (Tunnel) ที่พยาธิเขาไปอยู ขนาดของพยาธิที่
เจริญเติบโตใหญขึ้นทําใหขนาดของอุโมงคนี้โตตามดวย เมื่อเปนตัวเต็มวัยสวนหัวของพยาธิยังคง
ฝงอยูในอุโมงค แตสวนทายของลําตัวจะยืน่ ออกมาอยูใ นชองกลวงของลําไสทําใหพยาธิสามารถ
34

ผสมพันธุและแพรพันธุได พยาธิเจริญเติบโตโดยไดรับสารอาหารจากโฮสตซึ่งเปนสวนประกอบ
ของ Enterocyte และเลือด
ระยะเวลาตั้งแตไดรับไขพยาธิเขาไปจนเจริญเติบโตเปนพยาธิตัวเต็มวัย ตัวเมียออกไข
ปนมาในอุจจาระผูปวยประมาณ 60 - 90 วัน ในพื้นดินที่มสี ภาวะแวดลอมที่เอื้อตอการเจริญไปเปน
ไขระยะติดตอใชเวลาประมาณ 11 - 30 วัน
อายุขัยของพยาธิที่มีชีวิตอยูในรางกายคนโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ป (2 - 8 ป)
ระยะฟกตัวในดิน : 11 - 30 วัน
Prepatent period : 60 - 90 วัน
12.6 การติดตอ ระยะติดตอ คือ ไขระยะติดตอ ซึ่งภายในมีตัวออนระยะที่ 3
(Embryonated egg) เขาสูรางกาย โดยการรับประทาน (Ingestion) ไขระยะติดตอที่ปนเปอนไปกับ
อาหารและน้ําดื่ม หรือนําโดยแมลงวันที่มาตอมอาหาร
12.7 วิทยาการระบาด การระบาดของโรคพยาธิแสมาแตกตางกันไปในแตละทองที่
พบวามีอัตราการติดโรคสูงในเขตรอนและชุมชื้น โดยเฉพาะแถบที่มีฝนตกชุก ควบคูก ับการติดโรค
พยาธิไสเดือนและพยาธิปากขอ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่เอื้อตอการเจริญเติบโตของพยาธิ
คลายคลึงกัน ในทองถิ่นดังกลาวถามีการสาธารณสุขและสุขาภิบาลไมดีจะเปนปจจัยสําคัญตอการ
แพรกระจายโรค
ในเด็กอายุ 18 เดือน ถึง 2 ป เปนกลุมที่มีการติดโรคพยาธินี้มากที่สุด มีรายงานพบใน
เด็กออนนอยมาก แตเคยมีรายงานพบในเด็กอายุ 6 เดือน ในกลุมที่มีการติดโรคพยาธิ แตไมปรากฏ
อาการแสดงจะเปนกลุมวัย 4 - 8 ป เชนเดียวกับพยาธิ A. lumbricoides ชวงอายุ 4 - 10 ป ที่มีการติด
โรคพยาธิ จะพบจํานวนพยาธิในรางกายสูง (Worm burden) และมีจํานวนพยาธิในรางกายลดลงเมื่อ
มีอายุเพิ่มขึ้น อาจเนื่องมาจากสภาวะภูมิคมุ กันโรคและสุขอนามัยสวนบุคคลที่ดีขึ้นในผูใหญ
12.8 แหลงตาง ๆ ที่กอใหเกิดการติดโรคพยาธินี้ ไดแก
12.8.1 ในดิน เปนแหลงที่พบไขพยาธิไดมากที่สุด เนื่องจากพยาธิจําเปนตองไปฟก
เปนไขระยะติดตอในดิน การศึกษาในพื้นสนามเด็กเลนในโรงพยาบาลแหงหนึ่งในอังกฤษพบไข
ประมาณ 0.9 ฟองตอน้ําหนักดินที่เก็บจากผิวดิน 1 กรัม การเก็บตัวอยางดินจากสนามเด็กเลนของ
สถานเลี้ยงเด็กกําพราในจาไมกา ตรวจพบไขพยาธิ 70% ของตัวอยางดิน และโดยเฉลี่ยพบไขพยาธิ
แสมา 1.1 ฟองตอน้ําหนักดิน 1 กรัม อาจพบไขไดสูงถึง 70 ฟองตอน้าํ หนักดิน 1 กรัม การติดโรคซ้ํา
ในเด็กสวนใหญเกิดจากการกลืนกินไขระยะติดตอที่ไดรบั จากดินโดยการอมนิ้วมือหรือใชมือหยิบ
จับอาหารโดยไมลางใหสะอาดเสียกอน
35

12.8.1.1 ในน้ํา และ สิ่งโสโครกจากทอระบายน้ํา ไมใชแหลงสําคัญในการ


ติดตอพยาธิแสมา เพราะไขคอนขางหนักจึงมักตกตะกอนอยูที่กน ของแหลงน้ําอยางรวดเร็ว มีไข
จํานวนมากปนออกมาในทอระบายน้ําแตถาผานระบบบําบัดน้ําทิ้งทีถ่ ูกตองไขก็จะไมสามารถติดตอ
ได
12.8.1.2 การปนเปอนของไขพยาธิ ตามพืช ผักสด ก็จะพบไดในแหลงทีม่ ีการ
สุขาภิบาลไมดี โดยเฉพาะในแหลงที่นําอุจจาระไปทําปุย ปจจุบันยังคงพบไดในบางทองที่ของ
รัสเซีย ยุโรปตะวันออก ตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออก ในประเทศไทยการพบไขพยาธิแสมา
ตามพืชผักไดกลาวรายละเอียดแลวในเรื่องพยาธิไสเดือน
12.8.1.3 สัตวที่เปนพาหะ (Transport host) มีสวนสําคัญในการแพรกระจายไข
พยาธิดวยการศึกษาที่เมืองดักกา ประเทศบังกลาเทศพบไขพยาธิแสมาอยูตามตัวแมลงวันบาน
(Musca domestica) ถึงรอยละ 47 ของแมลงที่นํามาตรวจ
12.9 พยาธิกําเนิด พยาธิสภาพ และอาการแสดง พยาธิแสมาทําใหเกิดโรค
Trichuriasis พยาธิสภาพโดยตรงเกิดจากการที่พยาธิตัวเต็มวัยฝงตัวในผนังลําไส ทําใหมีการฉีกขาด
ของเนื้อเยื่อบริเวณนั้น รวมกับการที่เนื้อเยือ่ ถูกยอยจากเอ็นไซมที่พยาธิหลั่งออกมา ความรุนแรง
ของโรคจะมีมากหรือนอยจึงขึ้นอยูกับจํานวนพยาธิในรางกาย กรณีที่มกี ารติดเชื้อนอยหรือนอยกวา
10 ตัว มักไมกอ ใหเกิดอาการแสดงเดนชัดตรวจอุจจาระอาจไมพบไขพยาธิ การติดเชื้อปานกลาง
(Moderate infection) อาจทําใหมีอาการปวดทอง ทองผูกเรื้อรัง แนนทอง คลื่นไสอาเจียน มีไขเปน
ครั้งคราว ในผูปวยที่มีพยาธิจํานวนมาก (Heavy infection) จะมีอาการดังกลาวรุนแรงขึ้น รวมกับ
อาการทองรวงเรื้อรังนาน 1 - 3 เดือน มีเลือดปนมาในอุจจาระ ขาดอาหาร โลหิตจางและน้ําหนักตัว
ลด บางรายทําใหเกิดการอักเสบ บวมแดงตรงตําแหนงทีพ่ ยาธิเกาะ ในบางกรณีที่มพี ยาธิจํานวน
มาก ๆ จะทําใหเกิดอาการอุจจาระบอยจนลําไสดานในปลิ้นออกมาทางทวารหนัก เรียกวา Prolapse
of rectum โดยมีพยาธิฝงตัวอยูจํานวนมากดวย
ขบวนการทีก่ อ ใหเกิดการทองรวงอยางรุนแรงและเรื้อรังในผูติดเชื้อพยาธิแสมายังไม
ทราบแนชัด แตสันนิษฐานวาเกิดจากการแพสารพิษที่ขับออกจากตัวพยาธิ และการฉีกขาดของผนัง
ลําไส ซึ่งนาจะเปนสาเหตุเดียวกับการทําใหเกิดภาวะโลหิตจางในผูติดโรคพยาธิแสมาดวย พบวา
พยาธิแสมาตัวหนึ่งจะทําใหสูญเสียเลือดวันละประมาณ 0.005 มิลลิกรัม ในรายที่พยาธิไปอยูที่ไสตงิ่
อาจทําใหเกิดไสติ่งอักเสบเนื่องจากการติดเชื้อซ้ําจากแบคทีเรีย แมวาโดยสวนใหญโรคพยาธิแสมา
ไมทําใหเกิดอาการรุนแรง แตในรายที่มพี ยาธิจํานวนมากอาจทําใหเสียชีวิตได มีรายงานพบวาเด็ก
ชาวปานามา 4 คน เสียชีวิตเนื่องจากการขาดอาหาร และตรวจพบพยาธิในรางตั้งแต 400 - 4,100 ตัว
36

12.10 การวินิจฉัย โดยการตรวจพบไขพยาธิในอุจจาระดวยวิธี Direct smear หรือการ


ตรวจแบบเขมขนสําหรับผูที่มีการติดเชื้อนอย ในกรณีที่มกี ารติดโรคพยาธิแสมาจํานวนมากและ
เปนเวลานาน ๆ อาการแสดงจะคลายคลึงกับโรคพยาธิปากขอ แตกตางกันที่โรคพยาธิแสมามีอาการ
ทองรวงเรื้อรังและมีเลือดปนในอุจจาระ อาจพบ Charcot-leyden crystals จํานวนมากมายใน
อุจจาระดวย
12.11 การควบคุมและปองกัน การปองกันการติดโรคพยาธิในแตละบุคคลนั้นควรมี
อนามัยที่ดี ลางมือใหสะอาดกอนรับประทานอาหาร ไมควรอมนิ้วมือ รับประทานอาหารและดื่มน้ํา
ที่สุกและสะอาด การถายอุจจาระลงในสวมที่ถูกสุขลักษณะ และไมนําอุจจาระมาทําปุย เปนการลด
การแพรกระจายของไขพยาธิ คนที่เปนโรคพยาธิทุกคนตองไดรับการรักษาจนหายขาด
สําหรับในชุมชน โดยเฉพาะแหลงที่มีการระบาดของโรคสูง (Endemic area) ควรมี
การจัดระบบสาธารณูปโภคตาง ๆ ที่ดี มีน้ําสะอาดใช มีการกําจัดอุจจาระอยางถูกวิธี มีการเผยแพร
ความรูเกี่ยวกับโรคพยาธิแกประชาชนเพื่อปองกันการติดตอดวยตนเอง และควรใหมีการรักษาแบบ
Mass treatment จากการศึกษาพบวา ในแหลงที่มีอัตราการติดโรคพยาธิแสมาสูงถึงรอยละ 91 การ
รักษาแบบ Mass treatment ทุก 6 เดือนตอเนื่อง เปนเวลานานกวา 5 ป จะสามารถควบคุมโรคพยาธิ
แสมาได
13. พยาธิเข็มหมุด Enterobius vermicularis
13.1 ชื่อสามัญ: พยาธิเข็มหมุด (Pin worm, seatworm)
13.2 ถิ่นที่พบ: มีการระบาดทั่วโลก (Cosmopolitan) แตพบอัตราการเปนโรคพยาธิใน
เขตอบอุนมากกวาในเขตรอน และพบในเด็กสูงกวาผูใหญ
13.3 ตําแหนงที่พบพยาธิ พยาธิตัวเต็มวัย สวนมากอาศัยอยูบริเวณกระพุงลําไสใหญ
(Caecum) ไสติ่ง (Appendix) จนถึงไสตรง (Rectum) อาจพบไดในบริเวณสวนตอของ Ascending
colon และลําไสเล็กตอนปลาย (Ileum) โดยพยาธิใชสวนหัวเกาะกับ Mucosa ของผนังลําไส
13.4 รูปรางลักษณะ พยาธิตัวเต็มวัย มีรูปรางคลายกระสวย เรียวยาว สีขาว คอนขาง
ใส เมื่อมองดูดว ยตาเปลาคลายเสนดายสั้น ๆ มี 3 ริมฝปาก (Subventral lips) สวนหัวตอนปลายมี
การแผยื่นของ Cuticle ออกมาทางดานหนาและดานหลังเรียกวา Cephalic alae มีลักษณะเปนครีม
บาง ๆ คลายใบมีด ดานละ 1 ครีบ ทําใหมองดูคลายหัวเข็มหมุด จึงเรียกวา พยาธิเข็มหมุด
(Pinworm) โดย Cephalic alae นี้จะไมยาวคลุมสวนของหลอดอาหารทั้งหมดเหมือน Cervical alae
หลอดอาหารเปนชนิดแรบดิติฟอรม ซึ่งตอนปลายโปงออกเปนกระเปาะกลม (Bulb) บางทีจึง
เรียกวา Bulbous esophagus
37

13.4.1 ตัวผู ยาว 2 - 4 มิลลิเมตร กวาง 0.1 - 0.2 มิลลิเมตร ปลายหางแหลมและ


มวนงอมาทางดานทอง (Ventral) ใกล Cloaca มี Spicule 1 อัน ยาว 100 - 140 ไมโครเมตร โดย
พยาธิตัวผูจะตายภายหลังการผสมพันธุแลวหลุดปนออกมาในอุจจาระของผูปวย เนื่องจากมีขนาด
เล็กจึงทําใหยากแกการตรวจพบในอุจจาระดวยตาเปลา
13.4.2 ตัวเมีย ยาว 8 - 13 มิลลิเมตร กวาง 0.3 - 0.5 มิลลิเมตร สวนหางเรียวแหลม
ยาวประมาณหนึ่งในสามของความยาวลําตัว เมื่อดูดว ยตาเปลามีลกั ษณะคลายพยาธิปากขอตัวเมีย
ตางกันที่พยาธิปากขอมีหางแหลมทูและสีขาวขุนตลอดลําตัว แตพยาธิเข็มหมุดมีชวงหางยาวและ
เรียวแหลม ลําตัวใสมองเห็นอวัยวะภายในได อวัยวะสืบพันธุเพศเมียมี 2 ชุด แตละชุดประกอบดวย
รังไข ทอนําไข และมดลูกมารวมกันที่ชองคลอด (Vagina) ที่คอนขางยาวและอยูตอจาก Vulva ซึ่ง
เปนทางออกของไขอยูทางดานทอง บริเวณ 1/3 ของลําตัวจากทางสวนหัว พยาธิตวั เมียจะมีไขอยูใ น
มดลูกจํานวนมากมายโดยเฉลี่ยตัวเมียตัวหนึ่งออกไขวนั ละประมาณ 11,000 ฟอง และตายภายหลัง
วางไขหมด
13.4.3 ไข ขนาด 50 - 60 x 20 - 30 ไมโครเมตร เปนรูปไขที่ดาน Ventral แบนราบ
ดาน Dorsal โคงนูน (Plano-convex) ดูคลายอักษรตัว “D” เปลือกไขเรียบ ใส ไมมีสแี ละหนา
ประกอบดวยผนัง 3 ชั้นซึ่งภายในไขอาจพบเปนเซลลไขหรือตัวออนก็ได
ไขพยาธิจะเจริญไปเปนไขระยะติดตอซึ่งมีตัวออนอยูภ ายใน (Mature egg) ไดตอง
อาศัยการกระตุนจากออกซิเจนในอากาศ ดังนั้นไขจะไมสามารถเจริญไปเปนไขระยะติดตอและฟก
เปนตัวออนภายในรางกายโฮสต เนื่องจากในลําไสมีปริมาณออกซิเจนต่าํ มากจนถือวาไมมีการติด
เชื้อพยาธิ (Autoinfection) จึงไมเกิดขึน้ ในรางกายดวย
38

ภาพที่ 12 วงจรชีวิตของพยาธิเข็มหมุด (Life cycle of Enterobius vermicularis)


(ประยงค ระดมยศ, 2541, หนา 49)

เมื่อคนกินหรือหายใจเอาไขที่มีตัวออนระยะติดตอ จะฟกตัวเปนตัวออนในรางกาย
โฮสต เปนพยาธิตัวเต็มวัยอยูในลําไสใหญ หลังจากตัวเต็มวัยตัวเมียผสมพันธุแลวจะคลานออกมา
ไขบริเวณรอบ ๆ ทวารหนัก ในสภาวะที่เหมาะสมและปริมาณออกซิเจนเพียงพอ จะมีการแบงตัว
และเจริญเปนไขที่มีตัวออนระยะติดตอ ตอไป
Enterobius vermicularis มีคนเทานั้นเปนโฮสตจําเพาะ หลังจากพยาธิตวั เต็มวัย
ผสมพันธุกันแลว ตัวผูจะตายไป ตัวเมียจะเริ่มวางไขในราว 45 วันหลังจากการติดโรคพยาธิโดย
ตัวเมียทีจ่ ะวางไขจะคลานผานลําไสใหญออกมาวางไขบริเวณทวารหนักในตอนกลางคืน ไขที่
ออกมาใหม ๆ ภายในยังเปน เซลลไข ในสภาวะที่มีความชื้น อุณหภูมิและปริมาณออกซิเจนที่
เหมาะสมจะกระตุนใหเซลลไขมีการแบงตัวและเจริญไปเปนไขระยะติดตอ (Mature or
Embryonated egg) ภายใน 5 - 6 ชั่วโมง คนไดรับไขระยะติดตอโดยการกลืนหรือหายใจเอาไขลงไป
ในระบบทางเดินอาหาร เมื่อไขเดินทางมาถึงลําไสเล็ก ตัวออนจะฟกออกมาจากไขเดินทางตอไปยัง
39

ลําไสใหญระหวางทางก็จะมีการลอกคราบ 2 ครั้ง ในที่สุดมาเจริญเปนตัวเต็มวัยอาศัยอยูที่ลําไส


ใหญ โดยไมมกี ารเดินทางผานปอด
ระยะติดตอ: ไขที่มีตัวออนอยูภายใน (Embryonated egg)
Prepatent period: 30 - 60 วัน
อายุขัย: 42 - 75 วัน (เฉลี่ย 49 - 51 วัน)
13.5 การติดตอ พยาธิเข็มหมุดติดตอเขาสูค นโดยการไดรับไขระยะติดตอ ซึ่งเขาสู
รางกายทางปาก ทางจมูกและทางทวารหนัก มีการติดตอ (Mode of transmission) ไดหลายทางคือ
13.5.1 ติดตอโดยการกินไขระยะติดตอ (Ingestion) มีลักษณะการติดตอไดโดย
13.5.1.1 Direct anus-to-mouth transmission เปนวิธีหลักในการแพรกระจาย
โรคโดยเฉพาะในเด็กเล็ก ๆ เมื่อเกิดอาการคันรอบทวารหนักอันเกิดจากไขพยาธิ เด็กก็จะใชมือเกา
บริเวณกนทําใหไขติดอยูตามมือและเล็บ เมื่อเด็กเอามือเขาปากหรืออมนิ้วก็จะไดรับไขพยาธิเขาไป
โดยไมรูตัว
13.5.1.2 Indirect anus-to-mouth transmission เนื่องจากมีไขพยาธิที่ติดอยูตามที่
นอน ผาหม เสือ้ ผา เครื่องใชภายในบาน แมกระทั่งตามประตู การหยิบจับสิ่งของเหลานี้จึงไดรับไข
ติดมาอยูที่นวิ้ มือ เมื่อหยิบอาหารเขาปากดวยมือหรืออมนิ้ว ทําใหไดรับไขเขาสูรางกายหรือรวมทั้ง
การรับประทานอาหารและดืม่ น้ําที่มีการปนเปอนของไขพยาธิดวย
13.5.2 Inhalation คือ การติดตอโดยการหายใจเอาไขพยาธิซึ่งฟุงกระจายอยูใน
อากาศหรือเกาะกับฝุนละอองเขาไปทางจมูกแลวถูกกลืนเขาสูระบบทางเดินอาหาร
13.5.3 Retroinfection ในสภาวะที่มีอากาศชื้น ไขท่ตี ิดอยูร อบ ๆ ทวารหนักเจริญ
จนเปนไขระยะติดตอและฟกออกมาเปนตัวออน แลวคลานกลับเขาไปในลําไสทางทวารหนัก โดย
ที่พยาธิยังคงอยูบนรางกายของโฮสต เมื่อกลับเขารางกายก็จะไปเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัยตอไป
13.6 วิทยาการระบาด การติดโรคพยาธิเข็มหมุดนี้เปน Group infection เนื่องจาก
พยาธิสามารถแพรไปสูกลุมบุคคลที่มีความเปนอยูอยางใกลชิดรวมกันไดงาย เชน ในครอบครัว ใน
สถานะเลี้ยงเด็ก หอผูปวยในโรงพยาบาล หรือโรงเรียนประจํา เปนตน อัตราการติดเชื้อก็จะพบใน
เด็กมากกวาผูใ หญและพบในเขตอบอุนมากกวาเขตรอน ซึง่ มีความสัมพันธโดยตรงกับสุขอนามัย
สวนบุคคล และการอยูรว มกันอยางแออัด
13.7 การวินิจฉัย การตรวจอุจจาระเพื่อหาไขมักไมไดผลดี เนื่องจากพยาธิตัวเมีย
คลานออกไขที่บริเวณทวารหนัก ไขสว นใหญจึงติดอยูรอบ ๆ ทวารหนัก มีเพียงสวนนอย
(ประมาณรอยละ 5) ที่ปนออกมาในอุจจาระ ดังนัน้ การตรวจที่เหมาะสมและจําเพาะคือ
40

13.7.1 การตรวจพบไขพยาธิดวยวิธีพิเศษ วิธีที่นิยมกันแพรหลายและไดผลดี คือ


Scotch tape technique โดยการใชเทปกาวใสขนาดเทาแผนกระจกสไลด ใชดานเหนียวแตะรอบ
บริเวณทวารหนัก ซึ่งควรทําขณะที่เด็กนอนหลับหรือทันทีที่เด็กตืน่ นอนในตอนเชากอนที่จะ
อาบน้ํา หรือถายอุจจาระ
13.7.2 การทํา Anal swab
13.7.3 การตรวจพบพยาธิตวั เต็มวัยตัวเมีย ขณะที่คลานออกมาวางไขบริเวณทวาร
หนักหรืออวัยวะสืบพันธุเพศหญิง นอกจากนี้ยังอาจพบพยาธิตัวเต็มวัยในอุจจาระหลังใชยาระบาย
หรือสวนลางทวารหนัก
13.7.4 การซักประวัติผูปวยมีอาการคันบริเวณทวารหนักในตอนกลางคืนจะเปน
การชวยในการวินิจฉัยทางออม
13.8 การปองกัน การรักษาสุขอนามัยสวนบุคคลที่ดีเปนสวนสําคัญในการปองกันการ
ติดโรคพยาธิ เข็มหมุด นอกจากนี้ควรตัดเล็บใหสั้นอยูเสมอ ลางมือใหสะอาดหลังจากการใชสว ม
หรือกอนรับประทานอาหาร แมวาโรคพยาธิเข็มหมุดไมทําใหเกิดพยาธิสภาพรุนแรงและสามารถ
หายไดเอง (Self limitted) ทุกคนที่เปนโรคควรจะไดรับการรักษาและมีการรักษาซ้ําจนหายขาด
รวมถึงการใหการรักษาแกสมาชิกทุกคนในครอบครัวพรอม ๆ กัน และมีการรักษาซ้าํ อยางนอย 2
ครั้ง เนื่องจากพยาธินี้มีการติดตอไดงายและกอใหเกิด Group infection
ไขพยาธิถูกทําลายไดงายดวยแสงแดดและอากาศรอนและแหง จึงควรนําที่นอน
หมอน ผาหมออกผึ่งแดดอยูเ สมอ โดยเฉพาะเมื่อมีสมาชิกในบานเปนโรคพยาธินี้ เพือ่ เปนการ
ปองกันการติดตอไปยังผูอนื่ ในบาน และควรทําความสะอาดภายในบาน ของเลนเด็กและเครื่องใช
ตาง ๆ อยางสม่ําเสมอเพื่อกําจัดไขพยาธิใหหมดไป ผูปกครองเด็กโดยเฉพาะมารดาควรไดรับความรู
และเขาใจถึงการติดตอ การควบคุมและปองกันโรคพยาธิเข็มหมุดเปนอยางดี

การตรวจวินิจฉัยโรคทางปรสิตวิทยา
พยาธิตาง ๆ ที่อยูในรางกายคนเรา ตัวเต็มวัยจะอาศัยอยูใ นอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย
หลายแหง แตกตางกันตามชนิดของพยาธิ เชน อยูในตับ ปอด เลือด ลําไส และตามกลามเนื้อเปนตน
สวนมากไขของพยาธิเหลานี้จะออกมาในลําไสปนกับอุจจาระ ดังนั้นในการตรวจหาไขพยาธิ สวน
ใหญจะตรวจจากอุจจาระ
จุดมุงหมายของการตรวจอุจจาระก็เพื่อตรวจหาเชื้อปรสิตที่อาศัยอยูใ นลําไส หรืออวัยวะ
อื่น ๆ ที่มีทางติดตอกับลําไส ตัวอยางที่จะสงตรวจทางหองปฏิบัติการควรจะตองมีวิธีการเก็บและ
นําสงใหถูกตองจึงจะไดผลการวิเคราะหที่แนนอนและเนื่องจากการกระจายของไขพยาธิในอุจจาระ
41

ไมสม่ําเสมอ ดังนั้นตัวอยางของอุจจาระทีจ่ ะนํามาตรวจพยาธิ ควรจะไดมาจากหลาย ๆ แหงใน


ตัวอยางเดียวกัน และการตรวจซ้ําหลาย ๆ ครั้ง ในตัวอยางเดิมก็จะชวยใหอัตราการพบพยาธิเพิ่มขึ้น
อีกทั้งไขพยาธิแตละชนิดยังเปลี่ยนแปลงในแตละวัน
1. การตรวจดวยตาเปลา เปนการดูลักษณะทั่วไปของอุจจาระกอนทีจ่ ะตรวจดวยกลอง
เพื่อดูลักษณะที่ผิดปกติ ซึ่งสามารถบอกไดวามีการติดเชื้อพยาธิบางชนิด
1.1 ดูลักษณะอุจจาระวาเปนอยางไร เปนกอน ออน เหลว หรือเปนน้ํา
1.2 ดูสี ปกติสีน้ําตาลออนหรือน้ําตาลเขม สีของอุจจาระอาจเกิดจากอาหารที่กินเขา
ไปหรือมีปรสิตอยู เชน สีเหลืองเนื่องจากกินอาหารพวกนมและไขมัน สีเขียวเนื่องจากไมมกี าร
เปลี่ยนแปลงของ Biliverdin สีแดงอาจมีเลือดออกทางสวนลางของลําไสจากปรสิต สีดําเนื่องจาก
กินธาตุเหล็กหรือเลือดถูกยอยเนื่องจากเปนแผลในกระเพาะ
1.3 ดูมูก (Mucous) ถามีมากเนื่องจากมีการระคายเคืองหรือมีการอักเสบของผนัง
ลําไส พบในบิดจากเชื้ออะมีบาหรือบิดจากเชื้อแบคทีเรีย
1.4 กลิ่น กลิ่นคาวอาจเกิดจากการมีปรสิต กลิ่นเหม็นเนาพบในพวกเนือ้ งอกและแผล
ในลําไส
1.5 เลือด อาจเนื่องจากเชื้อบิด แผลในลําไส มะเร็ง
1.6 พยาธิ อาจพบปลองสุกของพยาธิตืด ตัวเต็มวัยพยาธิไสเดือนกลมและพยาธิเข็ม
หมุด
2. การตรวจดวยกลองจุลทรรศน เพื่อตรวจดูระยะไข หรือตัวออน หรือตัวเต็มวัยของ
ปรสิตที่ไมอาจเห็นดวยตาเปลา มีทั้งการตรวจเพื่อวินจิ ฉัยและหาปริมาณความรุนแรงของการติดเชื้อ
3. วิธีการเตรียมและตรวจอุจจาระ ในการเตรียมอุจจาระเพื่อตรวจหาปรสิตหนอนพยาธิ
มีหลายวิธี ที่จะกลาวตอไปนี้ เปนวิธีการทีใ่ ชกนั อยูแ พรหลายทั่วไป การจะเลือกใชวิธไี หนขึ้นอยูกับ
ชนิดของพยาธิที่ตองการตรวจหาวิธีตาง ๆ มีดังนี้ คือ
3.1 วิธีตรวจอยางงาย (Direct fecal smear) เปนวิธีเกาแก งาย สะดวก และประหยัด
สามารถเห็นไขไดชดั เจน แตอุจจาระที่ใชนอ ย ประมาณ 1 - 2 มิลลิกรัมตอ 1 สไลด ในรายที่มไี ขพยาธิ
ในอุจจาระนอยจะตรวจไมพบซึ่งควรจะตองตรวจ 2 - 3 สไลดตอ 1 ตัวอยาง วิธีนี้เหมาะสําหรับการ
ตรวจหาโปรโตซัวระยะเคลือ่ นไหวและระยะซีสต
3.1.1 วัสดุและอุปกรณ
3.1.1.1 กลองจุลทรรศน
3.1.1.2 กระจกสไลดสําหรับตรวจ
3.1.1.3 กระจกสําหรับปด (Cover glass)
42

3.1.1.4 ไมจิ้มอุจจาระ
3.1.1.5 น้ําเกลือ 0.85 รอยละ
3.1.1.6 น้ํายาไอโอดีน 1 รอยละ
3.1.2 วิธีทํา
3.1.2.1 หยดน้าํ เกลือ 1 หยด ลงบนกระจกสไลด
3.1.2.2 ใชไมจมิ้ อุจจาระเขีย่ อุจจาระจากหลาย ๆ จุด ใหไดอุจจาระปริมาณ 2
มิลลิกรัม (ประมาณเทาหัวไมขีดไฟ) ละลายในน้ําเกลือใหเขากัน
3.1.2.3 ปดดวย Cover glass
3.1.2.4 ดูดวยกลองจุลทรรศน ใชหวั ที่มีกําลังขยาย 10x ถาสงสัยตองการ
ตรวจสอบใหแนนอนก็ดดู วยหัวที่มีกําลังขยาย 40x
3.1.2.5 ถาจะดูระยะซีสตของโปรโตซัวก็ใชน้ํายา 1% ไอโอดีน ละลายอุจจาระ
แทนน้าํ เกลือ แลวเตรียมการตรวจเชนเดียวกัน
3.2 Kato thick smear เปนวิธขี อง Kato และ Miura ใชอุจจาระมาก 20 - 30 เทา ของวิธี
แบบตรวจอยางงาย (Direct fecal smear) โดยใชแผนกระดาษแกวเซลโลเฟนปดแทน Cover glass
เปนวิธีที่นยิ มใชกันมากในปจจุบัน สะดวก รวดเร็ว และคอนขางประหยัด ประสิทธิภาพดีมากใช
ตรวจหาไขพยาธิไดเกือบทุกชนิด แตไมเหมาะสําหรับการตรวจหาตัวออนของพยาธิและโปรโตชัว
กระทรวงสาธารณใชวิธนี ี้ตรวจอุจจาระในแผนงานควบคุมโรค พยาธิใบไมตับและโรคหนอนพยาธิ
ลําไส
3.2.1 วัสดุและอุปกรณ
3.2.1.1 กลองจุลทรรศน
3.2.1.2 แผนกระดาษแกวเซลโลเฟน ขนาด 22x30 มิลลิเมตร น้ําซึมผานได ตอง
แชน้ํายากลีเซอรีน-มาลาไคทกรีน อยางนอย 24 ชั่วโมง กอนใช
3.2.1.3 น้ํายากลีเซอรีน-มาลาไคท กรีน ประกอบดวยน้ํายากลีเซอรีน 100
มิลลิลิตร ฟนอล 6% 100 มิลลิลิตร 3% มาลาไคทกรีน 1 มิลลิลิตร
3.2.1.4 ปากคีบ (Forceps)
3.2.1.5 จุกยาง
3.2.2 วิธีทํา
3.2.2.1 ตักอุจจาระประมาณ 60 - 70 มิลลิกรัม ใสลงบนกระจกสไลด
3.2.2.2 ปดดวยแผนกระดาษแกวเซลโลเฟนที่แชอยูใ นน้าํ ยา
43

3.2.2.3 ใชจุกยางกดลงบนกระดาษแกวตรงบริเวณที่มีอจุ จาระอยูเพื่อให


อุจจาระกระจายสม่ําเสมอและบางพอสามารถตรวจได
3.2.2.4 ทิ้งไวที่อุณหภูมิหองประมาณ 1 ชัว่ โมง ที่ 25 องศาเซลเซียส หรือ
20 - 30 นาที ที่ 34 - 40 องศาเซลเซียส
3.3 การตรวจดวยกลองจุลทรรศน การดูดว ยกลองจุลทรรศน สิ่งที่เราอาจพบไดใน
อุจจาระ เปนสิ่งแปลกปลอม (Artifact) และทําใหเขาใจวาเปนปรสิต คือ
3.3.1 ฟองอากาศ
3.3.2 ไขมัน รูปกลมรี หรือ Flask shape เห็นเปนเงา ๆ ขอบสีดําหรือขาว
สะทอนแสง พบไดเนื่องจากอาหารที่กินเขาไปหรืออุจจาระที่สวน
3.3.3 ยีสต (Yeast) เชน พวก Blastocystis hominis ลักษณะคลายซีสตของ
โปรโตซัว มีกอนกลม ๆ อยูขางใน ขอบเซลลบาง อาจกลมหรือเปนรูปไข
3.3.4 แปง (Starch) เมื่ออยูในน้ําเกลือจะมีลักษณะใส ๆ เปนรูปสี่เหลี่ยม หรือ
หาเหลี่ยม อยูเปนหยอมๆ
3.3.5 สวนของพืช
3.3.5.1 Vegetable fiber ลักษณะเปนขดคลายลวดสปริง
3.3.5.2 Vegetable cells ขอบหนาอาจเปนสีเขียวของคลอโรฟลลขางใน
3.3.5.3 Pollen grain เกสรดอกไม
3.3.5.4 Vegetable hair กลมยาวเรียวคลายตัวออนของพยาธิ
3.3.6 สวนที่มาจากเนื้อสัตว
3.3.6.1 Muscle fiber เปนแผนสี่เหลี่ยมยาว ๆ ขอบไมเรียบมีลายขวางเปน
เสน ๆ ตลอด
3.3.6.2 Connective tissue ขอบไมชัดเจนจะเห็นเปนเสน ๆ ตามยาว
ไมสม่ําเสมอ
3.3.7 เซลลของรางกาย
3.3.7.1 Epithelium cells เปนเซลลจากเยื่อบุลําไสใหญ พบมากในรายที่เปน
แผลของลําไส
3.3.7.2 Macrophage เปนพวกเม็ดเลือดขาวตัวใหญ พบมากในรายที่เปนแผล
ของลําไส
3.3.7.3 Leukocytes เปนเม็ดเลือดขาว ปกติพบไดเล็กนอย ถามีมากๆ อาจพบใน
โรคบิดจากเชือ้ แบคทีเรีย และแผลในลําไส
44

3.3.7.4 Erythrocyte เปนเม็ดเลือดแดง ปกติไมพบในอุจจาระนอกจากในรายที่


มีแผลในลําไสใหญ ทวารหนักและในรายทีเ่ ปนบิดจากเชือ้ อะมีบา
3.3.8 Crystal
3.3.8.1 Chacot - Leyden crystals ไมมีสี รูปเข็มหรือกระสวยปลายแหลมพบใน
รายที่เปนพยาธิแสมา พยาธิแคปลลาเรีย และผูปวยที่เปนบิดจากเชื้ออะมีบา

ภาพที่ 13 สิ่งแปลกปลอมที่อาจตรวจพบไดในอุจจาระ (ประยงค ระดมยศ, 2541, หนา 239)

3.4 ลักษณะตาง ๆ ที่ใชประกอบการพิจารณาวาเปนไขพยาธิหรือไม ไดแก สิ่งตาง ๆ ดังนี้


3.4.1 ขนาด (Size) ไดแก
3.4.1.1. พยาธิที่มีไขขนาดใหญ ไดแก Fasciolopsis buski, Echinostome spp,
Schistosome spp, Paragonimus spp, Trichostrongylus spp, Hymenolepis diminuta
3.4.1.2 พวกทีม่ ีไขขนาดกลาง ไดแก Ascaris lumbricoides, Hookworm, Trichuris
trichura. Enterobius vermicularis, Taenia spp และ Hymenolepis nana
3.4.1.3 พวกทีม่ ีไขขนาดเล็กไดแก Opisthorchis viverrini, และพยาธิใบไมลําไส
ขนาดเล็ก เชน Haplorchis yogogawai, Prosthodendrium molenkampi และ Stellanthchasmus
falcatus spp
45

3.4.2 รูปราง (Shape) สวนมากไขพยาธิจะเหมือนกันทั้งสองดาน แตมีบางชนิดตางกัน


เชน Trichostrongylus, Enterobius และบางชนิดผิวไมสม่ําเสมอ เชน ไขพยาธิไสเดือนที่ไมไดถูก
ผสมพันธุ
3.4.3 สี (Color) บางชนิดไมมีสี เชน Hymenolepis nana, Hookworm,
Trichostrongylus spp, Enterobius vermicularis ไขพยาธิไสเดือนที่เปลือกชั้นนอกหลุดออก
3.4.3.1 บางชนิดมีสีเหลืองออน (Light yellow) ไดแก ไขพยาธิ Schistosome,
Opisthorchis viverrini, Fasciolopsis buski
3.4.3.2 บางชนิดมีสีน้ําตาล (Brown) ไดแก ไขพยาธิ Ascaris lumbricoides,
Trichuris trichura, Hymenolepis diminuta, Taenia spp
3.4.3.3 บางชนิดมีสีเหลืองทอง (Golden yellow) ไดแก ไขพยาธิ Paragonimus spp
3.4.4 เปลือกนอกและสวนประกอบอื่น ๆ (Eggshell and accessories)
3.4.4.1 บางชนิดเปลือกบาง ไดแก ไขพยาธิ Hookworn, Trichostrongylus spp,
Echinostome spp, Fasciolopsis buski
3.4.4.2 บางชนิดเปลือกหนา ไดแก ไขพยาธิ Ascaris lumbricoides,Trichuris
trichiura, Echinostome spp
3.4.4.3 บางชนิดมีลายขวางที่เปลือก ไดแก ไขพยาธิ Taenia spp บางชนิดมีฝา
(Operculum) ไดแก Opisthorchis viverrini, Paragonimus spp,Echinostome spp และไขพยาธิใบไม
ลําไสขนาดเล็ก
3.4.4.4 บางชนิดมีหนามแหลมยื่นออกมา ไดแก ไข Schistosoma mansoni
3.4.4.5 บางชนิดมีหนามอยูข างใน ไดแก Taenia spp, Hymenolepis spp
3.4.4.6 บางชนิดมีตัวออน (Miracidium) อยูขางในไดแก ไข Schistosoma
mansoni, Opisthorchis viverrini, พยาธิใบไมลําไสขนาดเล็ก (Small intestinal fulke)

การเก็บอุจจาระสําหรับตรวจหาพยาธิ
อุจจาระที่จะสงตรวจทางหองปฏิบัติการ มีวิธีการเก็บ ดังนี้
1. อุจจาระที่ถายตามปกติ
1.1 ภาชนะใสควรจะเปนขวด หรือตลับพลาสติกที่มีฝาปดมิดชิด เพื่อปองกันไมให
แมลงไปไปไข
1.2 ภาชนะทีใ่ สตองสะอาด แหง ไมมีปสสาวะหรือยาทําลายเชื้อโรคเจือปน เพราะจะ
ไปฆาพวกปรสิต นอกจากนัน้ ยาปฏิชีวนะอาจมีผลทําใหไขพยาธิลดนอยลงทําใหตรวจไมพบ
46

1.3 อุจจาระที่เก็บตรวจไมควรถายลงบนดิน จะทําใหมีสงิ่ อื่นเจือปน เชน ดินทราย


นอกจากนั้นยังอาจมีพยาธิของสัตวและพืชปะปน ทําใหยากแกการวินจิ ฉัย ควรถายลงบนกระดาษ
หรือใบไมกอน แลวจึงตักใสภาชนะเก็บ
1.4 อุจจาระทีจ่ ะใชตรวจตองมากพอ ถานอยเกินไปอาจตรวจไมพบ และบางวิธีตอง
ใชอุจจาระมากในการตรวจ
1.5 อุจจาระที่เก็บควรจะมีปริมาณมากพอเพื่อสะดวกในการทํา (1 - 5 กรัม) และควร
เลือกเก็บเอาแตสวนที่ผิดปกติ เชน สวนทีเ่ ปนมูกเลือด สวนที่เหลว หรือสวนที่มีสีแตกตางไป
1.6 อุจจาระทีจ่ ะตรวจควรรีบสงหองปฏิบัติการทันทีหลังจากเก็บได ถาชาเกินไป
ปรสิตบางชนิดอาจตายทําใหยากแกการตรวจ บางชนิดก็เจริญกลายเปนตัวออนแตกออกจากไข ถา
ไมสามารถตรวจไดทันทีควรเก็บไวในตูเย็น
1.7 เก็บดองไวในน้ํายา เชน 10% ฟอรมาลีน หรือ MIF (Merthiolate Iodine
Formaldehyde) น้ํายาเหลานีส้ ามารถรักษาระยะ Trophozoite ไขพยาธิและตัวออนของพยาธิเปน
อยางดี
1.8 อุจจาระคนไข ซึ่งกินยาจําพวก แบเรีย่ ม บิสมัส หรือพวกไขมันไมเหมาะแก
การตรวจเพราะบางอยางจะตกผลึกและบังสิ่งที่เราตองการตรวจ ควรตรวจกอนใหหรือหลังใหยา
พวกนี้ 1 อาทิตย
1.9 เขียนรายละเอียดตาง ๆ ไวขางภาชนะสําหรับเก็บอุจจาระเพื่อปองกันการผิดพลาด
สับสน เปนตนวา ชื่อ....................... นามสกุล.......................อายุ...............เพศ............วัน เดือน ป
ที่เก็บ.................................
2. อุจจาระที่ไดจากการสวนหรือยาถาย บางคนอาจทองผูกหลาย ๆ วัน จึงจะถาย
จําเปนตองใสสารบางอยางเขาทางทวารหนัก สารที่ใชไดแก พวกโซเดียมซัลเฟต และอาจใหยาถาย
พวกแมกนีเซียมซัลเฟต ซึ่งยาพวกนี้ไมรบกวนการตรวจพยาธิ การเก็บและการสงตรวจก็ทํา
เชนเดียวกับอุจจาระที่ถายปกติ

การรักษาโรคปรสิตหนอนพยาธิที่กระทรวงสาธารณสุขใชในแผนงานควบคุมโรค
หนอนพยาธิ
ยาที่ใชรักษาโรคปรสิตหนอนพยาธิมีหลายชนิด มีกลไกออกฤทธิ์ที่แตกตางกันไปยาที่จะ
นํามาพิจารณาในการรักษา
การพิจารณาคุณสมบัติของยา ยารักษาพยาธิที่ดีตอง
1. มีพิษตอรางกายของโฮสตนอย หรือไมมเี ลย
47

2. มีประสิทธิภาพของยาในการรักษาสูง หรือฤทธิ์กวางขวาง
3. ไมมีฤทธิ์ขางเคียง หรือ อาการไมพึงประสงค
4. ยาถูกดูดซึมเขาตัวพยาธิไดดีทั้งตัวเต็มวัยและตัวออน
5. ใชสะดวก ไมตองมีการเตรียมผูปวยกอนใหยา
6. ใหยาครั้งเดียว ไดผลดี นอกจากกําจัดพยาธิในตับและลําไสแลวตองสามารถกําจัด
พยาธิในเนื้อเยือ่ ไดดว ย
7. ราคาไมแพง
1. การรักษาโรคหนอนพยาธิจะไดผลดียอมขึ้นกับปจจัยตาง ๆ ไดแก
1.1 จํานวนของพยาธิที่มีอยูในรางกาย
1.2 ประสิทธิภาพของยาพยาธิที่นํามาใชในการรักษาผูปวย
1.3 การรักษาพยาธิในผูปว ยที่ติดโรคซ้ํา ซึ่งตองอาศัยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเปน
ยุทธวิธีนํา เพือ่ ใหผูปวยไมมีโอกาสกลับเปนซ้ําอีก เชน
1.3.1 การใหความรู ใหสุขศึกษา โรคหนอนพยาธิที่เกีย่ วของ
1.3.2 การใหความรูดานสุขาภิบาล เพื่อใหมีและใชสวมถายอุจจาระทุกครั้ง
1.3.3 การใหยารักษาพยาธิแกชุมชนตามระดับความรุนแรงของปญหาของพื้นที่
นั้นตามแผนงานควบคุมโรคหนอนพยาธิของกระทรวงสาธารณสุข
2. ยาที่ใชรักษาโรคพยาธิตัวกลม ไดมีผูนํายามาใชในการรักษาหลายชนิด ไดแก ยามีเบน
ดาโซล (Mebendazole) อัลเบนดาโซล (Albendazole) พัยรานเตล ปาโมเอท (Pyrantel pamoate)
ไธอะเบนดาโซล (Thiabendazole) ลีวามีโซล (Levamisole) นิโคลสาไมด เปนตน แตไดมีผูศึกษาวิจยั
ในภายหลังพบวายาอัลเบนดาโซล เปนยาทีม่ ีฤทธิ์กวางขวางในการฆาพยาธิตัวกลม ดังนั้นมียาอืน่ ๆ
นอกเหนือจากมีเบนดาโซลและ อัลเบนดาโซล มักไมนิยมใชเนื่องจากมีฤทธิ์ขางเคียงที่ตองคํานึงถึง
2.1 ยากลุม Benzimidazoles ยาในกลุมนี้ ไดแก Thaibendazole, Mebendazole และ
Albendazole มีรายละเอียด ดังนี้
2.1.1 Thaibendazole เปนยาชนิดแรกที่มใี ชในกลุมนี้ หลังจากการคนพบวายานี้มี
ฤทธิ์ครอบคลุม กลุมพยาธิตัวกลมในลําไสจํานวนมาก เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2504 ทําใหมีการทดสอบ
ฤทธิ์ตอพยาธิของสารเคมีในกลุมนี้จํานวนมาก จนเริ่มมีการใช Mebendazole ในป พ.ศ. 2515 สวน
Albendazole นั้นเริ่มใชเปนยากําจัดพยาธิในสัตวใน พ.ศ. 2520 ตามดวยการใชในคนประมาณ พ.ศ.
2526
2.1.2 ขอบเขตในการออกฤทธิ์ ยาในกลุมนีม้ ีฤทธิ์ครอบคลุมตอพยาธิหลายชนิด
Mebendazole และ Albendazole ไดผลดีมากในการกําจัดพยาธิตัวกลมในลําไส ไดแก
48

พยาธิไสเดือนกลม พยาธิเข็มหมุด พยาธิแสมา พยาธิปากขอ และพยาธิ Capillaria ยามีฤทธตอพยาธิ


ทั้งระยะตัวแก ระยะตัวออน และยังทําลายไขของพยาธิไสเดือนกับพยาธิแสมาอีกดวย พยาธิที่ไวตอ
ยาจะตายและถูกขับออกจากลําไสชา ๆ ยากลุมนี้ยังมีฤทธิ์ตอ พยาธิ Trichinella sparalis ระยะที่อยูใน
ลําไส แตไมคอยมีฤทธิ์ตอระยะตัวออนทีอ่ ยูในเนื้อเยื่อ
พยาธิ Strongyloides stercoralis แมจะเปนพยาธิตัวกลมในลําไสแตมีวงจรชีวิต
หลายแบบ เปนพยาธิทกี่ ําจัดยาก Mebendazole ใหผลการรักษาคอนขางต่าํ ยาทีไ่ ดผลดีกวาคือ
Thaibendazole และ Albendazole แตยาที่ใหผลดีที่สุดสําหรับพยาธิชนิดนี้ คือ Ivermectin
สําหรับพยาธิที่อยูนอกลําไสนั้นมีการใช Albendazole รักษา Neurocyticercosis ที่
เกิดจากตัวออนของพยาธิตดื หมู (Taenia solium) สวน Thaibendazole ในรูปยาทาภายนอกใชรักษา
Cutaneous larva migrans ที่เกิดจากตัวออนของพยาธิปากขอของสุนัขหรือแมวไชตามผิวหนัง
ยากลุม Benzimidazoles ทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงทางชีวเคมีหลายอยางในพยาธิ
ที่ไวตอยา เชน ยับยั้งเอนไซม Fumarate reductase ในไมโตคอนเดรีย ลดการขนสงกลูโคส ทําให
เกิด Uncoupling oxidative phosphorylation เปนตน มีหลักฐานคอนขางแนชัดวาฤทธิ์ตาง ๆ ของยา
กลุมนี้เกิดจาการที่ยาจับกับโปรตีน ชื่อวา β -tubulin แลวทําใหโปรตีนนีไ้ มสามารถประกอบตัว
เปน Microtubule เปนโครงสรางพื้นฐานที่จําเปนของเซลล หนาที่ตาง ๆ ของเซลลจึงเสียไป พิษที่
จําเพาะตอพยาธิของยากลุม นีเ้ ปนเพราะยาจับกับ β -tubulin ของพยาธิไดในความเข็มขนต่ํา สวน
β -tubulin ของเซลลสัตวเลี้ยงลูกดวยนมนัน ้ จับยาไดที่ความเขมขนสูงมาก
2.2 เภสัชจลนศาสตร ยากลุม Benzimidazoles ละลายน้ําไดนอยมาก การเปลี่ยนแปลง
การละลายมีผลตอการดูดซึมของยามาก
Albendazole ดูดซึมไดไมดีเชนเดียวกับ ยา Mebendazole การดูดซึมสูงขึ้นถา
รับประทานพรอมอาหารที่มีไขมันสูง สวนที่ดูดซึมไดถูกเปลี่ยนที่ตับอยางรวดเร็ว เปน
Albendazole sulfoxide ซึ่งยังคงมีฤทธิ์ตอพยาธิอยู นอกจากนั้นยังพบเมตาบอไลตที่ไมมีฤทธิ์อ่นื ๆ
ถูกขับทางปสสาวะ
2.2.1 ยามีเบนดาโซล (Mobendazole) เปนยาถายพยาธิในกลุม Benzimidazole
derivatives ยานี้จัดเปนยาสามัญประจําบาน
2.2.1.1 กลไกลการออกฤทธิ์ ยานี้มีฤทธิ์ในการทําลาย Microtubules ในเซลล
ผิวหนังและเซลลลําไสพยาธิ เปนผลใหเกิดการสะสมของสารตาง ๆ ในบริเวณ Golglis cells การ
หลั่ง Acetylcholinesterrase และมีฤทธิ์ยับยั้ง Glucose uptake ในตัวพยาธิ พยาธิไมสามารถสราง ATP
ที่เปนตัวสําคัญตอพลังงานทําให Glycogenในตัวพยาธิหมดไปซึ่งจะสงผลตอการมีชีวิตรอดและการ
สืบพันธุของมัน ยามีเบนดาโซลไมมีผลดังกลาวขางตนตอเซลลของโฮลต (คน) ตัวพยาธิในรางกาย
49

คนที่ไดรับยานี้จะหยุดการเคลื่อนไหวและตายอยางชา ๆ และจะใชเวลานานถึง 3 วัน ในการที่จะให


ตัวพยาธิถูกขับออกจากลําไสจนหมดหลังจากไดรับยาแลว
2.2.1.2 ฤทธิ์ตอพยาธิ มีฤทธิ์กวางมาก ไดผลดีในการกําจัดหรือขับพยาธิตัวกลม
เชน พยาธิปากขอ พยาธิไสเดือนกลม พยาธิเข็มหมุด พยาธิแสมา พยาธิแคปลลาเรีย แตสําหรับพยาธิ
สตรองจิลอยด และพยาธิตืด ไดผลเล็กนอย
2.2.1.3 การดูดซึม ยาดูดซึมไดจากทางเดินอาหารนอย จะพบยาในปสสาวะ
ภายหลัง 24 - 48 ชั่วโมง การตรวจสอบยาในปสสาวะพบไดประมาณรอยละ 10 ในรูปของ
Decarboxylated form
2.2.1.4 ฤทธิ์ขางเคียง เนื่องจากยามีเบนดาโซลถูกดูดซึมไดนอย จึงไมพบพิษที่
รุนแรงจากการใชยานี้ พบอาการปวดทอง ทองเสียไดบางในผูปวยที่มพี ยาธิจํานวนมาก ๆ
2.2.1.5 ขนาดของยาและวิธีใช
ยามีเบนดาโซล 300 มิลลิกรัม ใหรับประทานครั้งเดียว อัตราหายรอยละ 44.4
อัตราลดลงของไขพยาธิรอยละ 90.1
ยามีเบนดาโซล 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง ติดตอกันเปนเวลา 3
วัน อัตราหายรอยละ 94 - 95.2 อัตราลดลงของไขพยาธิรอยละ 99 - 99.9
2.2.1.6 ขอหามใช
2.2.1.6.1 หามใชยามีเบนดาโซลในหญิงตั้งครรภ
2.2.1.6.2 หามใชในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป
2.2.2 ยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) เปนยาในกลุม Benzimidazole ตัวยาไม
ละลายน้ํา แตละลายไดดใี นกรดหรือดางถาผสมกับแอลกอฮอลจะสามารถละลายไดดียิ่งขึ้น
2.2.2.1 กลไกลการออกฤทธิ์
ยาอัลเบนดาโซล มีประสิทธิภาพฆาพยาธิหลายชนิด โดยมีฤทธิ์ยับยั้ง Glucose
uptake ทั้งในลําไสของพยาธิตัวเต็มวัยและในเนื้อเยื่อของพยาธิตัวออน เปนสาเหตุให Glycogen ที่
สะสมไวลดลง มีผลตอเนื่องใหพยาธิขาดสาร ATP (Adenosine triphosphate) ซึ่งจําเปนสําหรับการ
สรางพลังงานและคงชีวิตของตัวพยาธิ ทําใหพยาธิหยุดการเคลื่อนไหวและตายในที่สุด ออกฤทธิ์ทั้ง
พยาธิตัวออน ตัวแกและไขพยาธิ Single dose ของยาอัลเบนดาโซล สามารถขับพยาธิดังนี้
พยาธิไสเดือน ไดผลรอยละ 96.0
พยาธิปากขอ ไดผลรอยละ 95.0
พยาธิเสนดายหรือเข็มหมุด ไดผลรอยละ 98.0
พยาธิแสมา ไดผลรอยละ 94.9
50

Strongyloidiasis ไดผลรอยละ 96.0


2.2.2.2 การดูดซึมและการกระจายของยา ยาถูกดูดซึมไดดีและรวดเร็วมากจาก
ระบบทางเดินอาหารถูกทําลายเกือบหมดทีต่ ับโดย Sulphoxidation ความเขมขนของยาสูงมากที่ตับ
และไต ระดับยาสูงสุดในเลือด 2½ - 3 ชั่วโมง ภายหลังกินยา มีครึ่งชีวิต (Half-life) 8 - 9 ชั่วโมง
(Sulphoxide metabolite) ยาถูกขับทางปสสาวะรอยละ 87 สวนที่เหลือขับทางอุจจาระภายใน 24
ชั่วโมง
2.2.2.3 ฤทธิ์ขางเคียง (Adverse reaction) ในผูปวยที่ไดรบั การรักษาดวย
ยาอัลเบนดาโซลขนาดสูง คือวันละ 800 มิลลิกรัม เปนเวลา 3 - 7 วัน หรือผูที่ไดรับยาระยะยาว 10
มิลลิกรัมตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม นาน 1 เดือน พบวาระดับเอ็นไซม SGOT, SGPT ขึ้นสูง การ
เปลี่ยนแปลงนีจ้ ะกลับคืนสูปกติเมื่อหยุดรับประทานยา
ฤทธิ์ขางเคียงอื่น ๆ ที่พบ คือ อาการคลื่นไส อาเจียน ถายอุจจาระเหลว วิงเวียน
ปากแหง อาการเหลานี้ไมรุนแรง
ฤทธิ์ตอระบบประสาท ไมมีรายงานในผูปวยหรือาสาสมัคร แตจากการทดลอง
ในสัตวทดลอง โดยใชยาขนาดสูงมาก คือ 100 - 200 มิลลิกรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
สัตวทดลอง มีอาการเซื่องซึม บางตัวมีอาการชัก
ฤทธิ์ตอหัวใจ ระบบหมุนเวียนเลือดทั้งผูปวยและสัตวทดลองที่รับประทาน
ยาอัลเบนดาโซล ไมพบผลกระทบตอระบบนี้ แตถาใหยาโดยการฉีดเขาหลอดเลือด ในสัตวทดลอง
พบวาทําใหความดันเลือดลดลง หัวใจเตนชา
ยาอัลเบนดาโซล ถาใหในเด็กน้ําหนักตัวต่าํ กวา 20 กิโลกรัม ตองลดขนาดลง
ครึ่งหนึ่ง
Over dosage LD ในหนูของยาอัลเบนดาโซล คือ 5,000 มิลลิกรัม ตอน้ําหนักตัว
1 กิโลกรัม ในสัตวทดลองถาใหยาขนาดสูงติดตอกันเปนเวลานาน จะเกิดอาการอุจจาระรวง โลหิต
แข็งและน้ําหนักตัวลด ในคนยังไมปรากฏรายงาน
2.2.2.4 ขนาดของยาและวิธีใช
ยาอัลเบนดาโซล ขนาดยา 400 มิลลิกรัม (2 เม็ด) รับประทานหลังอาหารครั้ง
เดียวสําหรับผูปวยที่อายุเกิน 2 ป
2.2.2.5 ขอหามใช
2.2.2.5.1 หามใชยาในหญิงตัง้ ครรภ
2.2.2.5.2 หามใชในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป
51

2.2.3 พัยรานเตล ปาโมเอท (Pyrantel pamoate)


ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิปากขอ พยาธิไสเดือน พยาธิเสนดาย
2.2.3.1 ชื่อการคา Combantrin
2.2.3.2 กลไกลการออกฤทธิ์ ยานี้จะทําใหระบบประสาทและกลามเนื้อของ
พยาธิเปนอัมพาต ทําใหพยาธิเคลื่อนไหวไมได ออกฤทธิ์ทั้งในตัวออนและตัวเต็มวัย นอกจากนีย้ ังมี
ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมคลอรีนเอสเตอเรส
2.2.3.3 การดูดซึมและการขับถาย ดูดซึมไดนอยมาก ในระบบทางเดินอาหาร
สวนที่ดูดซึมก็จะขับออกทางปสสาวะ
2.2.3.4 ฤทธิ์ขางเคียง อาจมีอาการคลื่นไส อาเจียน เวียนศีรษะ ปวดทอง
ทองเดิน
2.2.3.5 ขนาดของยาและวิธีใช
ยาเม็ด 1 เม็ด มีตัวยา 125 มิลลิกรัม
ยาน้ํา 5 มิลลิกรัม มีตัวยา 250 มิลลิกรัม
รับประทานครั้งละ 10 มิลลิกรัม ตอน้ําหนัก 1 กิโลกรัม ครั้งเดียวไมเกิน
1 กรัม สําหรับพยาธิไสเดือนกลม พยาธิเสนดาย ควรใหยาขนาดเดิมอีก ภายหลัง 7 วัน
สําหรับพยาธิปากขอ เนื่องจากพยาธิ Necator americanus ดื้อตอยา ตองให
ขนาดยาเปน 2 เทา และตองใหยาติดตอกัน 2 - 3 วัน ไมตอ งเตรียมผูปวย แตไมควรใหในผูปว ยที่
ตั้งครรภ
2.2.4 ไธอะเบนดาโซล (Thiabendazole)
ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิปากขอ พยาธิไสเดือนกลม พยาธิเสนดาย พยาธิแสมา และมี
ฤทธิ์ฆาพยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ ทั้งตัวเต็มวัย ตัวออน รวมทั้งไขดวย แตเนื่องจากมีผลขางเคียงมาก
จึงใชแตในการรักษาโรคที่เกิดจากพยาธิสตรองจิลอยด ทริคิเนลลา และโรคผิวหนังที่เกิดจาก ตัว
ออนของพยาธิปากขอ
2.2.4.1 ชื่อการคา Mintezol
2.2.4.2 กลไกลการออกฤทธิ์
ยังไมทราบแนชัด แตมีฤทธิ์ยบั ยั้งการเจริญเติบโตของตัวออน และไขพยาธิตัว
กลมไดทําใหพยาธิถูกขับออกจากผิวหนัง หรือขับออกจากรางกายได
2.2.4.3 การดูดซึมและการขับถาย ยานี้ถูกดูดซึมไดเร็วจากลําไส พบระดับยาใน
พลาสมา ประมาณ 1 ชั่วโมง หลังกินยาขับถาย ทางปสสาวะภายใน 24 ชั่วโมง ในรูปของ 5-hydroxy
thiabendazole ยาถูกขับออกจากรางกายเกือบหมดในเวลาประมาณ 5 วัน
52

2.2.4.4 ฤทธิ์ขางเคียง คอนขางมากมีอาการคลื่นไส อาเจียน เวียนศีรษะ


เบื่ออาหาร ทองเดิน งวงนอน ซึม หัวใจเตนชา ความดันโลหิตต่ํา มีผื่นแบบ Erythema multiform
และแพยาแบบ Stevns-Jonhson Syndrome ได
2.2.4.5 ขนาดของยาและวิธีใช
ยาเม็ด 1 เม็ดมีตัวยา 500 มิลลิกรัม
ขนาดที่ใชรักษาพยาธิปากขอ พยาธิไสเดือนกลม พยาธิเสนดาย และพยาธิ
แสมาใหในขนาด 25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม วันละ 2 ครั้งหลังอาหาร ไมควรเกินครั้งละ 3 กรัม เปนเวลา
2 วัน
โรคผิวหนังที่เกิดจากตัวออนของพยาธิปากขอ ใหในขนาด 25 มิลลิกรัม/
กิโลกรัม วันละ 2 ครั้งหลังอาหาร เปนเวลา 2 วัน
โรคพยาธิทริคิโนซิส ใหในขนาด 25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เปนเวลานาน
10 - 14 วัน
โรคพยาธิสตรองจิลอยด ใหในขนาด 25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม วันละ 2 ครั้ง ๆ
ละไมเกิน 3 กรัมหลังอาหาร เปนเวลา 5 วัน
2.2.5 ลีวามิโซล (Levamisole)
ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิไสเดือนกลมไดผลดี มีฤทธิ์ปานกลางในการขับพยาธิปากขอ
และยังมีฤทธิ์กระตุนภูมติ านทานไดดว ย
2.2.5.1 ชื่อการคา Decaris
2.2.5.2 กลไกลการออกฤทธิ์ มีฤทธิ์ทําลายระบบประสาทและกลามเนือ้ ของ
พยาธิ ทําใหเกิดอัมพาตของกลามเนื้อ ยับยัง้ เอ็นไซมฟูมาเรท รีดักเทส ทําใหยับยั้งการเจริญเติบโต
ของพยาธิ
2.2.5.3 ฤทธิ์ขางเคียง อาจมีอาการคลื่นไส อาเจียน ปวดทอง เวียนศีรษะ
2.2.5.4 ขนาดของยาและวิธีใช
ยา 1 เม็ด สําหรับเด็ก มีขนาด 50 มิลลิกรัม
ยา 1 เม็ด สําหรับผูใหญ มีขนาด 150 มิลลิกรัม
ขนาดที่ใช 2.5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ใหรับประทานครั้งเดียว ไมตองเตรียม
ผูปวยหรือใหยาถาย
2.2.6. นิโคลซาไมด (Niclosamide)
ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิตืด เชน พยาธิตืดวัว พยาธิตดื หมู และพยาธิตืดชนิดอื่น ๆ เปนตน
2.2.6.1 ชื่อการคา Yomesa
53

2.2.6.2 กลไกการออกฤทธิ์ ยานี้ออกฤทธิจ์ ับกับพยาธิตืดสวนหัวโดยตรง ทําให


เนื้อเยื่อสวนหัวและปลองทีอ่ ยูใกลกนั ตาย พยาธิตืดก็จะหลุดและถูกกําจัดออกมารวมกับอุจจาระ
2.2.6.3 ฤทธิ์ขางเคียง อาจทําใหเกิดอาการคลื่นไส ปวดทอง มึนงง
2.2.6.4 ขนาดของยาและวิธีใช
ยา 1 เม็ด มีตวั ยา 500 มิลลิกรัม
ใหรับประทานครั้งเดียว 2 กรัม (4 เม็ด) ตอนเชาเวลาทองวาง ตองเคี้ยวหรือ
บดใหละเอียด
เด็กอายุต่ํากวา 2 ป ให 1 เม็ด
เด็กอายุ 2 - 6 ป ให 2 เม็ด
อายุเกิน 6 ป และผูใหญ ให 4 เม็ด
ถาเปนโรคพยาธิตืดหมูควรใหยาถายตามไปดวยภายหลัง 2 ชั่วโมง
2.3 การรักษาโรคพยาธิปากขอ (Hookworm) การรักษาพยาธิปากขอ จําเปนตอง
คํานึงถึงหลักใหญ 2 ประการ คือ การถายพยาธิและการใหธาตุเหล็ก เพือ่ ชดเชยใหเกิดสมดุลของ
ธาตุเหล็กในรางกายที่ตองสูญเสียไป อีกทัง้ เกิดสภาวะโลหิตจางในผูปว ยที่ตองสูญเสียเลือดจากการ
ติดเชื้อพยาธิปากขอ สําหรับยาที่ใชรักษาโรคพยาธิปากขอ ไดแก
2.3.1 ยามีเบนดาโซล (Mebendazole) ขนาดของยาและวิธีใช
ยามีเบนดาโซล 30 มิลลิกรัม ใหรับประทานครั้งเดียว อัตราหายรอยละ 44.4
อัตราลดลงของไขพยาธิรอยละ 90.1
ยามีเบนดาโซล 100 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 2 ครั้ง ติดตอกันเปนเวลา 3
วัน อัตราหายรอยละ 94 - 95.2 อัตราลดลงของไขพยาธิรอยละ 99 - 99.9
ถามีพยาธิไสเดือนรวมดวย ตองระวัง เพราะอาจจะมีพยาธิไสเดือนออกมาทาง
ปากและจมูกผูป วยได โดยเฉพาะในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป ซึ่งไดมีขอหามใชยานี้อยูแ ลว
2.3.2 ยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ขนาดของยาและวิธีใช
ยาอัลเบนดาโซล ขนาดยา 400 มิลลิกรัม (2 เม็ด) รับประทานหลังอาหารครั้ง
เดียว สําหรับผูปวยที่อายุเกิน 2 ป
ขอหามใชโปรดดูในที่ระบุไวในหัวขอยาอัลเบนดาโซล
2.3.3 การใหเหล็กในผูปวยโรคพยาธิปากขอ
ใหเฟอรัสซัลเฟต ในขนาด 1 - 1.15 กรัม (1 เม็ด = 0.2 มิลลิกรัม) โดยแบงให
ครั้งละ 2 เม็ด วันละ 3 เวลา หลังอาหาร
บางรายอาจมีการขาดกรดโฟลิครวมดวย ตองใหกรดโฟลิคและวิตามินบี 12 ดวย
54

โดยทั่วไป การใหเหล็กทางปากจะไดผลดี จึงไมมีความจําเปนที่จะตองใหเหล็ก


โดยการฉีดหรือใหเลือด ยกเวนกรณีพิเศษเทานั้น
สําหรับยาอื่น ๆ ไดแก พัยรานเตล ปาโมเอท ปจจุบันไมนิยมใช เนื่องจากมียา
อัลเบนดาโซลที่สามารถใชรักษาใหดกี วา
2.3.4 พัยรานเตล ปาโมเอท (Pyrantel pamoate) ตองใหขนาดยาสูงกวาขนาดปกติ
คือ 40 มิลลิกรัม/กิโลกรัม โดยแบงให 2 ครัง้ กอนนอนและเชามืดแทน จึงจะไดผลดีและใหผลดีกวา
การใหยาในขนาด 10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ครั้งเดียว
2.4 การรักษาโรคพยาธิไสเดือน (Ascariasis)
2.4.1 ยามีเบนดาโซล (Mebendazole) ใหในขนาด 100 มิลิกรัม (1 เม็ด) วันละ 2
ครั้งเปนเวลา 3 วัน หรือวันละ 3 ครั้ง เปนเวลา 2 วัน ไมควรใชในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป
2.4.2 ยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) .ใหในขนาด 400 มิลลิกรัม (2เม็ด)
รับประทานครั้งเดียว ในคนอายุมากกวา 2 ป
2.4.3 ฟลูเบนดาโซล (Flubendazole) ผูใหญขนาด 300 มิลลิกรัม (3 เม็ด) 2 ครั้ง
หางกัน 24 ชัว่ โมง (หรือใหในขนาด 40 มิลลิกรัมตอ น้ําหนัก 1 กิโลกรัม แบงให 2 ครั้ง ภายในวัน
เดียว)
2.4.4 พัยรานเตล ปาโมเอท (Pyrantel pamoate) ใหในขนาด 10 มิลลิกรัมตอ
น้ําหนัก 1 กิโลกรัม รับประทานครั้งเดียว อัตราการหายขาดรอยละ 87
2.4.5 ลีวามิโสล (Levamisole) ใหในขนาด 2.5 มิลลิกรัมตอน้ําหนัก 1 กิโลกรัม
รับประทานครั้งเดียว
2.5 การรักษาโรคพยาธิแสมา (Trichuriosis)
2.5.1 ยามีเบนดาโซล (Mebendazole) ใหในขนาด 100 มิลลิกรัม (1 เม็ด) วันละ 3
เวลา 3 วัน หรือใหในขนาด 100 มิลลิกรัม วันละ 2 เวลา เปนเวลา 5 วัน ยานี้ใชไดผลดี
2.5.2 ยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) รับประทานครั้งละ 400 มิลลิกรัม (2 เม็ด)
หรือใหในขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ติดตอกัน 3 วัน
2.5.3 ฟลูเบนดาโซล (Flubendazole) ขนาดที่ให 40 มิลิกรัมตอน้ําหนักตัว 1
กิโลกรัม แบงใหวนั ละ 2 ครัง้ รับประทานวันเดียวหรือใหในขนาด 300 มิลลิกรัม (3 เม็ด) 2 ครั้ง
หางกัน 24 ชัว่ โมง
2.6 การรักษาโรคพยาธิเข็มหมุดหรือพยาธิเสนดาย (Enterobiosis)
2.6.1 ยามีเบนดาโซล (Mebendazole) ใหในขนาด 100 มิลลิกรัม (1 เม็ด)
รับประทานครั้งเดียว ควรใหยาอีกครั้งภายหลัง 2 สัปดาห
55

2.6.2 ยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ใหในขนาด 400 มิลลิกรัม (2 เม็ด)


รับประทานครั้งเดียว ในผูปว ยอายุเกิน 2 ป
2.6.3 ยาพัยรานเตล ปาโมเอท (Pyrantel pamoate) ใหในขนาด 10 มิลลิกรัมตอ
น้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม รับประทานครั้งเดียว

งานวิจัยที่เกี่ยวของ
ปรสิตในลําไสเปนปญหาทางดานสาธารณสุขที่สําคัญในเด็ก โดยการติดเชื้อเกิดไดหลาย
วิธีขึ้นกับชนิดของพยาธิ เชน การดื่มน้าํ รับประทานอาหาร หรือสูดหายใจเอาพยาธิเขาไปในรางกาย
ทําใหเกิดอาการตาง ๆ เชน ปวดทอง ทองรวง โลหิตจาง ภูมิแพ ระบบการยอยอาหารผิดปกติ ออนเพลีย
วิตกกังวล ผื่นลมพิษ ผูที่ติดเชื้อมักไมใสใจคนหาสาเหตุของอาการเนื่องจากยังสามารถดํารงชีวิต
ตามปกติและสามารถทนตออาการตาง ๆ ได ปรสิตในรางกายมนุษยมไี ดกวา 100 ชนิด บางชนิดมี
ขนาดใหญสามารถมองเห็นดวยตาเปลา เชน พยาธิไสเดือน บางชนิดมีขนาดเล็กตองดูดวยกลอง
จุลทรรศน พยาธิมีอยูทั่วไปในดิน ในน้ําหรือในอาหาร ปรสิตในลําไสทําใหเกิดอาการตาง ๆ เหลานี้
ในผูใหญไดเชนกัน พบวาปญหามักเกิดจากภาวะขาดอาหารหรือในผูท ี่มีภาวะภูมิคมุ กันบกพรอง
เชน ในปรสิตฉวยโอกาสในลําไส Cryptosporidium parvum, Isospora belli, Microsporidia และ
Strongyloides stercoralis เปนปรสิตที่สามารถกอโรคทองรวงในผูปว ยที่มีภาวะภูมิคมุ กันบกพรอง
(Viroj Wiwanitkit, 2001)
จากการศึกษาขอมูลจากงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในการดําเนินงานใหยาแกเด็ก
นักเรียนวัยกอนประถมศึกษาและเด็กชั้นประถมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส ขอมูลตั้งแตป 2547 ถึง
2551 พบวาหลังจากรับประทานยา Albendazole ทุก 6 เดือน แลวสุมตรวจนักเรียนทุกอําเภอที่มีเด็ก
นักเรียนกลุมดังกลาว อัตราความชุกในการตรวจพบพยาธิยังอยูในเกณฑที่สูง (ตารางที่ 3) โดยเฉพาะ
บางพื้นที่ของจังหวัดนราธิวาสป 2550 และลดลงป 2551 พบรอยละ 39 และรอยละ 15 อัตราความ
ชุกของชนิดหนอนพยาธิจังหวัดนราธิวาส พบพยาธิไสเดือนสูงสุด รองลงมาพบพยาธิแสมาและ
พยาธิปากขอ ซึ่งจะเห็นไดวา อัตราความชุกยังคงมีอยู ถึงแมวาจะมีโครงการกินยาทุก 6 เดือนการพบ
เชื้อพยาธิยังคงมีอยู ปจจัยสําคัญในการแพรกระจายของเชื้อยังไมไดรับการแกไข
อัตราการติดเชือ้ ซ้ําในผูที่รักษาหายแลวยังสูงมากในผูทตี่ ิดเชื้อหนอนพยาธิตาง ๆ เชน
พยาธิไสเดือน (Ascaris lumbricoides) และพยาธิแสมา (Trichuris trichura) จากการศึกษาใน
ประชากรสองหมูบานในจังหวัดพังงา พบวา จํานวนผูทตี่ ิดเชื้อซ้ํามีความสัมพันธกับจํานวนของผูที่
ไดรับการรักษาโดยใชยาตานปรสิตทุกชนิด อาจเกิดจากประชาชนมีจํานวนปรสิตมากในรางกาย
และอาจเนื่องมาจากสิ่งแวดลอมหรือภาวะเสี่ยงบางอยาง ดังนั้น จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง
56

ตรวจวินิจฉัยและรักษาบุคคลเหลานี้เปนพิเศษเพื่อปองกันการติดเชื้อซ้าํ อันจะทําใหสุขภาพของผู
ติดเชื้อมีปญหา การรักษาดวยยาควรจะทํารวมกับการหาปจจัยเสีย่ งในชุมชนซึ่งแตละชุมชนจะมี
ความหลากหลายของปญหาตางกันไปในแตละที่และตองใหความรูเกี่ยวกับการปองกันการติดเชือ้
ดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพตอไป (Upatham et al., 1992)

ตารางที่ 3 แสดงอัตราความชุกโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนป พ.ศ. 2547 - 2551 จังหวัดนราธิวาส


แยกรายอําเภอ

ลําดับที่ อําเภอ อัตราความชุกของหนอนพยาธิจากการสุมตรวจหลังกินยา 6 เดือน


ป 2547 ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551
1 เมือง 41.5 38.0 29.3 22.4 12.2
2 ศรีสาคร 35.0 37.0 34.3 28.9 15.6
3 จะแนะ 23.5 26.7 27.7 ไมตรวจ 13.8
4 ระแงะ 63.3 38.2 18.4 21.9 3.1
5 รือเสาะ 39.7 36.3 25.0 20.7 8.7
6 ตากใบ 74.8 29.7 ไมตรวจ 28.1 10.7
7 บาเจาะ 46.3 18.0 15.6 6.0 9.9
8 สุคิริน 24.2 11.0 12.1 2.6 8.7
9 เจาะไอรอง 50.0 15.6 32.1 35.3 ไมมีขอมูล
10 สุไหงปาดี 27.8 43.3 57.7 39.1 ไมมีขอมูล
11 แวง 33.3 10.7 7.7 7.2 ไมมีขอมูล
12 ยี่งอ 28.7 50.0 19.7 16.0 ไมมีขอมูล
13 สุไหงโกลก 35.0 39.7 0.3 24.5 ไมมีขอมูล
รวมทั้งจังหวัด 38.8 31.7 24.2 19.6 14.0
ที่มา: จากรายงานการควบคุมโรคหนอนพยาธิจังหวัดนราธิวาส

Batoloni et al. (1993, Abstract) ไดศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาอัลเบนดาโซล


แบบ Single dose หรือ มีเบนดาโซล ในการรักษาในการติดเชื้อของพยาธิตัวกลมในเด็ก พบวา
ประสิทธิภาพของอัลเบนดาโซล 400 มิลลิกรัม Single dose หรือ มีเบนดาโซล มีประสิทธิภาพมาก
ในการรักษาพยาธิไสเดือน มีอัตราการรักษาหายรอยละ100 อัลเบนดาโซล มีประสิทธิภาพในการ
57

ปองกันพยาธิปากขอไดดกี วา ยาทั้ง 2 ชนิด มีอัตราการลดลงของไขพยาธิปากขอรอยละ 92.8 และ


รอยละ 62.4 และอัตราการรักษาหายรอยละ 81.8 และรอยละ 17.2 ในพยาธิแสมา ยาอัลเบนดาโซลมี
ประสิทธิภาพตอการลดลงของไขพยาธิมากกวามีเบนดาโซลมีอัตราลดลงของไขพยาธิรอยละ 47
และรอยละ 15 แตอัตราการหายขาดต่ํา คือรอยละ 33 และรอยละ 60 แตยาทั้ง 2 ชนิดไมคอยมี
ผลขางเคียง
Jongsuksuntigul, Jeradit, pornpattanakul, and Charanasri (1993) ไดศึกษาเปรียบเทียบ
ประสิทธิภาพของ มีเบนดาโซลและอัลเบนดาโซล ในการรักษาพยาธิไสเดือน พยาธิปากขอและ
พยาธิแสมา พบวา Single dose ของ อัลเบนดาโซล 400 มิลลิกรัม ทําใหอัตราการหายขาดของพยาธิ
ไสเดือน พยาธิปากขอและพยาธิแสมา เทากับรอยละ 100, 84.3 และ 67.4 ตามลําดับ และมีอัตราการ
ลดลงของไขพยาธิ เทากับรอยละ 100, 96.0 และ 87.0 ตามลําดับ จากการศึกษาทั้งมีเบนดาโซล
และอัลเบนดาโซล พบวาปลอดภัยและไมมีอาการขางเคียง ผลการศึกษานี้เสนอแนะใหใช
อัลเบนดาโซล ในการรักษาแบบ Mass Treatment สําหรับการติดเชื้อหลายชนิด จากพยาธิไสเดือน
พยาธิปากขอและพยาธิแสมา
ทิพภาพร รงครุงเรือง, สมคิด แกวมณี, วิรชั จั่นหนูและ จีรวรรณ ศรีเพียงจันทร (2537)
ไดศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาอัลเบนดาโซล ในการรักษาโรคพยาธิ strongyloidiasis ทํา
ในผูปวย 55 ราย โดยแบงออกเปนสองกลุมโดยวิธีสุม กลุม แรกประกอบดวยผูปวย 27 คน ไดรับ
ยาอัลเบนดาโซล 200 มิลลิกรัม วันละสองครั้งเปนเวลาสามวันติดตอกันและใหยาขนาดเดิมซ้ํา
อีกสามวันถัดมา การประเมินผลการรักษาทําในวันที่ 14, 30 หลังการใหยา อัตราการหายเทากับรอย
ละ 96.3 ในกลุม แรก และรอยละ 96.4 ในกลุมที่ 2 ประสิทธิผลการรักษาโรคพยาธิ strongyloidiasis
ดวยยาอัลเบนดาโซล ทั้งสองขนาน ไมมีความแตกตางกันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ ผลขางเคียงของ
ยาพบนอยและไมรุนแรง
Albonico et al. (1994) ไดศึกษาเปรียบเทียบมีเบนดาโซล 500 มิลลิกรัม และ
อัลเบนดาโซล 400 มิลลิกรัม ตอการติดเชื้อพยาธิในลําไส พบวา ยาทั้ง 2 ชนิด มีประสิทธิภาพสูงตอ
พยาธิไสเดือน ดวยอัตราการหายขาดมากกวารอยละ 97 แตอัตราการหายขาดของพยาธิแสมาต่ํา
Norhayati, Oothuman, Azizi, and Fatmah (1997)ไดศึกษาประสิทธิภาพของยา
อัลเบนดาโซล Single dose ตออัตราความชุก ความรุนแรงของการติดเชือ้ พยาธิติดตอผานดินใน
Orang Asli children ประเทศมาเลเซีย พบวามีอัตราการหายขาดของการติดเชื้อพยาธิไสเดือน รอยละ
97.4 และอัตราการลดลงของไขพยาธิไสเดือนหลังการรักษารอยละ 99.9 แตมีผลตอการรักษาพยาธิ
แสมาต่ํา มีอัตราการหาขาดรอยละ 5.5 การลดลงของไขพยาธิรอยละ 49.1 อัตราการหายขาดของ
การติดเชื้อพยาธิปากขอรอยละ 93.1 และอัตราการลดลงของไขพยาธิปากขอหลังการรักษารอยละ
58

96.6 และมีอัตราการหายขาดของการติดเชือ้ แสมาต่ําเพียงรอยละ 5.5 และอัตราการลดลงของไข


พยาธิแสมาหลังการรักษารอยละ 49.1 โดยอัตราการติดเชื้อซ้ําหลังการรักษา 4 เดือนพบพยาธิ
ไสเดือนรอยละ 54.5 พยาธิแสมารอยละ 3.6 พยาธิปากขอรอยละ 10.3 ภายในเวลา 4 เดือนหลังจาก
การรักษาเกือบ 1 ใน 5 ของเด็กมีการติดเชือ้ พยาธิไสเดือนและพยาธิปากขอ และมีความรุนแรง
เทากับกอนการรักษา โดยแนะวาควรรักษาดวย อัลเบนดาโซล 400 มิลลิกรัม Single dose ทุก 4 เดือน
ในพื้นที่ที่มกี ารระบาดของพยาธิไสเดือนและพยาธิปากขอ
คม สุคนธสรรพ (2542) ไดศึกษาผลการรักษาซ้ําดวย ยาอัลเบนดาโซลตออุบัติการณและ
ความชุกของหนอนพยาธิในทางเดินอาหารนักเรียน ทีไ่ ดรับการตรวจตัวอยางอุจจาระโดยวิธี
Kato-Katz cellophane thick smear method และพบไขของพยาธิไสเดือนกลม พยาธิปากขอหรือ
พยาธิแสมาจํานวน 204 ราย ไดรับการรักษาดวยการกินยา Albendazole 400 มิลลิกรัม และทําการ
ตรวจอุจจาระซ้ําโดยวิธีเดิม หลังจากการรักษา 1 เดือน ผูที่ยังพบวามีไขพยาธิในตัวอยางอุจจาระ
ไดรับการรักษาและตรวจอุจจาระซ้ําจนกวาจะตรวจไมพบไขพยาธิหรือครบ 8 เดือน การรักษาครั้ง
แรกทําใหจํานวนนักเรียนทีม่ ีไขพยาธิไสเดือนกลม พยาธิปากขอ และพยาธิแสมา ลดลงอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (McNemar P<0.001) โดยมีอัตราหายตอพยาธิทั้งสามชนิดคือรอยละ 98.44,
96.95 และ 45.24 ตามลําดับ การรักษาซ้ําครั้งที่ 2 และ 3 ทําใหนกั เรียนทุกรายหายจากการที่มีไข
พยาธิไสเดือนกลมและพยาธิปากขอตามลําดับ แตจํานวนนักเรียนที่หายไมไดเพิ่มขึน้ กวาการรักษา
ครั้งที่ 1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ยา Albendazole 400 มิลลิกรัมเมื่อใหซ้ํา 1 หรือ 2 ครั้งทําให
นักเรียนที่มีพยาธิไสเดือนกลมและพยาธิปากขอหายจากการเปนโรคพยาธิ แตไมสามารถรักษา
พยาธิแสมาไดทุกราย หากตองการใหมีอัตราหายมากกวารอยละ 90 สามารถกระทําไดโดยการใหยา
1 ครั้งสําหรับพยาธิไสเดือนกลมและพยาธิปากขอ และใหยา 3 ครั้งสําหรับพยาธิแสมาซึ่งเพียงพอ
ตอการควบคุมพยาธิในชุมชน อยางไรก็ตามหากตองการใหผูปวยทุกรายหายขาดจากโรคพยาธิ
หนอนตัวกลมจําเปนตองไดรับตรวจอุจจาระซ้ําและใหยาเฉพาะผูที่มีพยาธิเปนวิธีทดี่ ที ี่สุด
สุรชัย ศิลาวรรณ, สมหมาย สังขจะโปะ และสมควร ชวาฤทธิ์ (ม.ป.ป., บทคัดยอ) ได
ศึกษาเปรียบเทียบอัตราความชุกและอัตราการติดโรคซ้ําของพยาธิปากขอ หลังจากไดรับการรักษา
ดวยยาอัลเบนดาโซล ระหวางนักเรียนชั้นป.1 - ป.3 กับชัน้ ป.4 - ป.6 ตําบลโคกกระเบื้อง
อําเภอบานแหลม จังหวัดนครราชสีมา พบวาอัตราความชุกของโรคพยาธิปากขอกอนการใหยา
นักเรียน ป.4 - ป.6 สูงกวาในนักเรียน ป.1 - ป.3 ในกลุมทีต่ รวจพบไขพยาธิกอนการใหยา ผลการ
ติดตาม อัตราการติดเชื้อซ้ําในนักเรียนทั้ง 2 กลุม หลังจากกินยาเริ่มตรวจพบไขพยาธิในการตรวจ
อุจจาระครั้งที่ 3 (ตรวจแตละครั้งหางกัน 45 วัน) และในการตรวจครั้งที่ 4 อัตราการติดเชื้อซ้ํา
59

เพิ่มขึ้น มากกวาครั้งที่ 3 ถึง 3 เทา แตในทัง้ 2 กลุมมีอัตราการติดโรคซ้ําที่ไมแตกตางกัน ในกลุมที่


ตรวจไมพบไขพยาธิกอนการใหยา เมื่อติดตามหลังใหยาในนักเรียน ป.1 - ป.3 พบวาในนักเรียน
ป.4 - ป.6 ซึ่งไมไดใหกินยามีอัตราการติดโรคใหมสูงกวา ป.1 - ป.3 อยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่
พฤติกรรมเสี่ยงตอการติดโรคพยาธิปากขอในนักเรียนทีต่ รวจพบและไมพบไขพยาธิไมแตกตางกัน
การกินยาอัลเบนดาโซล ไมมผี ูแพยารอยละ 56 บอกวากินงายกวามีเบนดาโซล และมีเพียงรอยละ 68
เทานั้นที่กนิ ยาตอหนาครูหรือเจาหนาที่ ขอเสนอแนะ ควรขยายการบําบัดมวลชน ในนักเรียน
ป.4 - ป.6 เพิ่มเติมปละ 2 ครั้ง โดยหางกัน 6 เดือน และการกินยาของนักเรียน ควรใหกนิ ยาตอหนา
ครูหรือเจาหนาที่สาธารณสุขทุกคน
Chatree Muennoo, Wichit Rojekittikhun, Surapol Sanguankiat, and Malinee T
Anantaphruti (2002) ไดศึกษาอัตราการติดเชื้อซ้ําของโรคหนอนพยาธิที่ติดตอทางดิน พบวาใน
ระยะ 8 เดือน หลังจากบําบัดรักษาจนหายจากโรคพยาธิ นักเรียนที่อยูใ นชุมชนที่ไมมสี วมครบทุก
หลังคาเรือน จะติดเชื้อซ้ําสะสมของพยาธิปากขอ พยาธิแสมา และพยาธิไสเดือน รอยละ 82.0, 63.3
และ 78.5 ตามลําดับ ซึ่งมีการติดเชื้อซ้ําสะสมมากกวาประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนทีม่ ีสวมครบทุก
หลังคาเรือน ฉะนัน้ ชุมชนทีม่ ีสวมครบทุกหลังคาเรือน เปนสวนหนึ่งทีช่ วยยับยัง้ ใหโรคหนอนพยาธิ
แพรกระจายไดนอยลงและระยะเวลานานขึ้น สาเหตุหลายประการที่ทาํ ใหอัตราการติดเชื้อซ้ําของ
โรคหนอนพยาธิที่ติดตอผานดินสูงและรวดเร็ว เพราะพยาธิแตละชนิดมีวงจรชีวิตที่ไมสลับซับซอน
และเจริญเปนระยะติดตอในชวงระยะเวลาที่สั้น พฤติกรรมการกิน การขับถายของประชาชนไม
เปลี่ยนแปลง เชน รับประทานอาหาร ผักสด ที่ลางไมสะอาด ไมสวมใสรองเทา ขับถายอุจจาระบน
พื้นดินก็ยังคงกระทําอยางตอเนื่อง สุขาภิบาลและสิ่งแวดลอมในชุมชน ไมมีการดูแลหรือกําจัดให
ถูกวิธี หากสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกลาวได ก็จะเปนปจจัยสําคัญที่จะชวยควบคุมอัตรา
ความชุกและความรุนแรงของโรคหนอนพยาธิที่ติดตอทางดินลงได ดังนั้นจึงจําเปนตองศึกษา
ความรูพื้นฐานและพฤติกรรมของประชาชน ในการปฏิบัติตนที่เสี่ยงตอการติดเชื้อพยาธิดังกลาวทัง้
ในระดับกวางและระดับลึก เพื่อนําขอมูลไปประกอบปญหาไดอยางถูกตอง
Legesse, Erko, and Medhin (2002) ไดศึกษาประสิทธิภาพของ อัลเบนดาโซล และ
มีเบนดาโซล ในการรักษาพยาธิไสเดือนและพยาธิแสมา พบวามีเบนดาโซล กิน 1x2 ครั้ง 3 วัน และ
Single dose ของอัลเบนดาโซล 400 มิลลิกรัม ในการรักษาการติดเชื้อพยาธิไสเดือนและพยาธิแสมา
มีอัตราการหายขาดของพยาธิไสเดือนรอยละ 96 และอัตราการลดลงของไขพยาธิไสเดือนมากกวา
รอยละ 99.8 แตผลตอพยาธิแสมา ต่ํา โดยมีอัตราการหายขาดรอยละ 13.9 และการลดลงของไขพยาธิ
รอยละ 63.4
60

Chatree Muennoo and Wichit Rojekittikhun (2003) กลาววา โรคหนอนพยาธิที่ติดตอ


ทางดิน เกิดจากหนอนพยาธิตัวกลมที่อาศัยอยูในลําไสเล็กของคน ซึ่งเมื่อตัวผูกับตัวเมียผสมพันธุ
กันแลว ตัวเมียจะออกไขและไขจะออกปะปนมาพรอมอุจจาระ เมื่อคนเปนพยาธิไปถายอุจจาระโรค
หนอนพยาธิทตี่ ิดตอทางดิน เกิดจากหนอนพยาธิตัวกลมที่อาศัยอยูในลําไสเล็กของคน ซึ่งเมื่อตัวผู
กับตัวเมียผสมพันธุกันแลว ตัวเมียจะออกไขและไขจะออกปะปนมาพรอมอุจจาระ เมื่อคนเปน
พยาธิไปถายอุจจาระไวตามพื้นดินไขก็จะฟกตัวเปนระยะติดตอ Infective stage ซึ่งระยะติดตอ
ดังกลาวนี้ อาจเปนลักษณะตัวออนอยูใ นไขหรือฟกออกมาเปนตัวออนแลว เชน ระยะติดตอของ
พยาธิไสเดือน Ascaris และพยาธิแสมา Trichuris ไดแก ไขที่มีตัวออนอยูภายในจะติดตอโดยการ
กินไข ซึ่งอาจจะปนเปอนมากับอาหารที่ไมสะอาด เชน อาหารที่ตกลงบนพื้นดิน แลวนํามา
รับประทานโดยไมลาง ผักที่ลางไมสะอาด หรือรับประทานอาหารดวยมือเปลา โดยไมลางมือให
สะอาดกอน โดยเฉพาะบุคคลที่ใชมือไปสัมผัสกับดิน การรณรงคใหประชาชน โดยเฉพาะ
ประชาชนในชนบทไดรูถึงอันตรายจากการเปนโรคหนอนพยาธิจะตองกระทํากันอีกตอไป โดย
จะตองแสวงหาวิธีการใหประชาชนในชุมชนไดมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมทีจ่ ะตองชวยกันหาวิธี
กําจัดโรคหนอนพยาธิใหหมดไป ปญหาสําคัญที่ทําใหโรคหนอนพยาธิยังคงระบาดอยูก็คือ การ
ขับถายและการใชสวม โดยเฉพาะในเด็กยังนิยมขับถายอุจจาระตามพืน้ ดิน
Narain, Medhi, Rajguru, and Mahanta (2004) ไดศึกษารูปแบบของการรักษาและการติด
เชื้อซ้ําของพยาธิติดตอผานดิน หลังจากใหการรักษาในชุมชนยากจน แควนอัสสัม พบวา อัตราการ
หายขาดของพยาธิไสเดือน พยาธิแสมา และพยาธิปากขอ เทากับรอยละ 70.8, 68.7 และ 93.0
ตามลําดับ อัตราการติดเชื้อซ้ํา 3 เดือนหลังจากรักษาสําเร็จ พบพยาธิไสเดือนรอยละ 19.6 พยาธิ
แสมารอยละ 30.9 และพยาธิปากขอรอยละ 11.3 6 เดือนหลังจากรักษาอัตราการติดเชือ้ ซ้ําสูงใน
พยาธิแสมารอยละ 43.6 ตามดวยพยาธิไสเดือนรอยละ 35.3 พยาธิปากขอรอยละ 11.3 การติดเชื้อซ้ํา
ของพยาธิไสเดือนและพยาธิแสมาพบมากในเด็กอายุต่ํากวา 15 ป พยาธิปากขอพบมากในกลุมอายุ
15 - 39 ป อัตราการติดเชื้อใหมในคนที่ไมพบเชื้อครั้งแรกต่ํากวาอัตราการติดเชื้อซ้ํา
Saathoff, Olsen, Kvalsvig, and Appleton (2004) ไดศึกษารูปแบบของพยาธิติดตอผาน
ดิน ผลกระทบของการรักษาดวยอัลเบนดาโซลและอัตราการติดเชื้อหลังการรักษาในเด็กนักเรียน
South Africa พบวา การรักษาแบบ Single dose ของ อัลเบนดาโซล มีประสิทธิภาพมากในการ
ทําลายพยาธิปากขอ พยาธิไสเดือน ดวยอัตราการหายขาดรอยละ 78.8 และรอยละ 96.4 อัตรา การ
ลดลงของไขพยาธิรอยละ 93.2 และรอยละ 97.7 อัตราการติดเชื้อจากพยาธิปากขอและพยาธิ
ไสเดือน หลังจากรักษา 29 สัปดาห มีจํานวนมากแตต่ํากวากอนการรักษา อัตราความชุกและอัตรา
การติดเชื้อซ้ําของพยาธิติดตอผานดิน ยังมีความจําเปนในการรักษาอยางสม่ําเสมอในนักเรียน และ
61

Single dose ของอัลเบนดาโซลมีประสิทธิภาพต่ําในการรักษาพยาธิแสมา อยางไรก็ตามยังตอง


พิจารณาทางเลือก
ถึงแมวาจะใชยาฆาพยาธิในการรักษาแตพบวาอัตราการติดเชื้อยังคงสูงอยู ทั้งนี้มี
การศึกษาการติดเชื้อหนอนพยาธิที่ติดตอผานดิน เชน พยาธิปากขอ พยาธิสตรองจิลอยด โดยศึกษา
จากบริเวณที่พกั อาศัย การใชหองน้ําหองสวม น้ําที่ใชในการอุปโภคบริโภค และสัตวเลี้ยงภายใน
หมูบา นพบหนอน พยาธิดังกลาวปนเปอนสิ่งแวดลอม (Loymek et al., 2004) แตอยางไรก็ตามการ
ติดเชื้อซ้ํา นาจะมาจากสุขนิสยั สวนตัวหรือวัฒนธรรมบางอยาง ดังนั้น จึงตองการวิธกี ารศึกษาวิธี
ใหมเพื่อปองกันการติดเชื้อปรสิตซ้ําในอนาคต การศึกษาเกี่ยวกับติดตอของพยาธิในพืน้ ที่ที่มีการ
ระบาดของโรคปรสิตและมีการรักษาที่ถูกตองอาจบรรเทาการเปนโรคปรสิตและยกระดับสุขภาพของ
ประชากรสวนรวมในพืน้ ที่ตอ ไป
พยาธิไสเดือน เปนพยาธิตวั กลมที่ใหญทสี่ ุด ติดมาจากการกินผัก อาหารและน้ําดื่มที่มีไข
พยาธิปน พยาธิจะคอยแยงอาหารที่ยอยจากลําไสเล็กแลว เมื่อตัวโตเต็มที่ตัวเมียจะออกไขครั้งละ
200,000 ฟองตอวัน เด็กที่มพี ยาธิไสเดือนมาก รางกายจะผายผอม สติปญญาเสื่อม รางกายออนแอ
เจริญเติบโตไมเทาที่ควร (สํานักงานสารนิเทศ, 2550)
เยาวลักษณ วรรธนะพิศิษฎ และวิฒณ ิ ี คงสุข (2548) ไดศึกษาคุณภาพยาอัลเบนดาโซล
ชนิดเม็ด ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ยาอัลเบนดาโซลชนิดเม็ด ยังมีปญ  หาในเรื่องการละลายของ
ตัวยา ดังนั้น ผูผ ลิตควรปรับปรุงและพัฒนาตํารับของผลิตภัณฑเพื่อใหเหมาะสมกับคุณสมบัติ
ของอัลเบนดาโซล ที่มีปญหาดานการละลายรวมถึงการระบุวิธีการใชใหชัดเจน โดยเฉพาะยาเม็ด
ชนิดเคี้ยว เพื่อใหไดผลิตภัณฑยาสําเร็จรูปที่มีคุณภาพมาตรฐานและประสิทธิภาพการรักษาโรค
Surapol Sa-nguankiat, Wanna Maipanich, Somchit Pubampen, & Chatree Muennoo
(2006) ไดศึกษา ความชุกและความรุนแรงของโรคหนอนพยาธิที่ติดตอทางดินในเด็กนักเรียนชั้น
ประถมศึกษา ของโรงเรียนที่อยูในกลุมประชากรที่นับถือศาสนาอิสลามในหมูบานที่มีการแพร
ระบาดของโรคพยาธิสูง พบวา เด็กนักเรียนสวนใหญมีอตั ราการเปนโรคหนอนพยาธิที่ติดตอผาน
ดินคอนขางสูง โดยเฉพาะโรคพยาธิแสมา รองลงมาคือโรคพยาธิไสเดือน และโรคพยาธิปากขอ
ตามลําดับ แตก็มีระดับความรุนแรงของโรคสูง ดังนั้น ในการควบคุมโรคพยาธิควรใหความสําคัญ
โดยใหการดูแลเด็กนักเรียนในกลุมอายุต่ํากวา 12 ป เปนกรณีพิเศษ สวนเด็กนักเรียนทีอ่ ยูในกลุม
อายุมากขึ้น เมือ่ ใหสุขศึกษาก็สามารถจะเรียนรูและเขาใจในการปองกันตนเองจากโรคหนอนพยาธิ
ได สวนการบริหารจัดการในชุมชนเพื่อใหมีสิ่งแวดลอมที่ถูกสุขลักษณะจะมีผลดีตอ การปองกัน
โรคพยาธิที่ติดตอทางดินซึ่งเปนมาตรการแรกที่สําคัญ โดยสรางแนวความคิดความเชือ่ เรื่องสุขภาพ
เพื่อกอใหเกิดพฤติกรรมในการปองกันโรคใหแกประชาชน นอกจากเรือ่ งการรักษาพยาบาลและ
62

การใหสุขศึกษาเพื่อใหประชาชนมีความรูค วามสามารถดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัวใหมี
สุขภาพที่ดี สวนในดานการศึกษา ใหมีการจัดรูปแบบการเรียนการสอน ตลอดจนกิจกรรมตาง ๆ
โดยมีครูรวมกันวางแผนและกําหนดขึ้นเปนโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในโรงเรียนเปนการ
แกไขผานระบบการเรียนการสอน เพื่อใหนกั เรียนมีความรู ความเขาใจและมีพฤติกรรมที่ถูกตองใน
การปองกันโรคพยาธิ ซึ่งจะสงผลทําใหอัตราการติดเชื้อหนอนพยาธิลดลงในอนาคต
Adugna, Kebede, Moges, and Tiruneh (2007) ไดศึกษาประสิทธิภาพของมีเบนดาโซล
และอัลเบนดาโซลตอการติดเชื้อพยาธิไสเดือนและพยาธิปากขอ ในพืน้ ที่ที่ไดรับยาถายพยาธิเปน
เวลานาน ในเอธิโอเปยพบวา อัลเบนดาโซล มีอัตราการหายขาดของพยาธิไสเดือนรอยละ 83.9
อัตราการลดลงของไขพยาธิไสเดือนรอยละ 96.3 และอัตราการหายขาดของพยาธิปากขอรอยละ
84.2 อัตราการลดลงของไขพยาธิปากขอ 95.0 ปรากฏวา Albendazole มีประสิทธิภาพมากตอการติด
เชื้อพยาธิปากขอ
Sirima Kitvatanachai and Pochong Rhongbutsri (2007) ไดศึกษาความชุกของ
หนอนพยาธิทตี่ ิดตอผานดินโดยพบวา วิธี Kato’ s thick smear สามารถตรวจพบพยาธิปากขอไดสูง
กวา Modified Harada Mori culture และพบวา ยา Albendazole 400 มิลลิกรัม กําจัดไดเฉพาะพยาธิ
ปากขอแตพยาธิ สตรองจิลอยดิส ตองใชยาถึง 3 วัน
Keiser and Utzinger (2008) ไดศึกษาประสิทธิภาพของยาที่ใชรักษาพยาธิที่ติดตอผานดิน
พบวา Single dose ของอัลเบนดาโซล มีอัตราการหายขาดของพยาธิไสเดือนรอยละ 88 พยาธิแสมา
รอยละ 28 Single dose ของอัลเบนดาโซล มีเบนดาโซลและ Pyrentel pamoate แสดงใหเห็นวามี
อัตราการหายขาดของพยาธิไสเดือนสูง สําหรับการติดเชื้อของพยาธิปากขออัลเบนดาโซลจะมี
ประสิทธิภาพมากกวามีเบนดาโซลและ Pyrentel pamoate
Liabsuetrakul et al. (2009) ไดศึกษาทางระบาดวิทยาและประสิทธิภาพของการรักษา
พยาธิติดตอผานดินในหญิงตัง้ ครรภ ในภาคใตของประเทศไทยพบวาหญิงตั้งครรภติดเชื้อพยาธิ
ติดตอผานดินไดรับการรักษาดวย อัลเบนดาโซล 400 มิลลิกรัม หลังจากตั้งครรภ 14 สัปดาห และ
ติดตามผลการรักษา 3 สัปดาหหลังจากใหการรักษา มีอตั ราการหายขาด ดวย Single dose รอยละ 92
และรอยละ 100 เมื่อใหการรักษาซ้ํา Course 3 วัน หญิงมุสลิมที่มีรายไดนอยกวา 300 US ดอลลาร
ตอเดือน มีอัตราเสี่ยงตอการติดเชื้อสูง การอาบน้ํานอกบานและไมมีความรูเกี่ยวกับพยาธิติดตอผาน
ดิน แสดงใหเห็นวาทางภาคใตของประเทศไทยยังเปนพืน้ ที่ที่มีการระบาดของพยาธิติดตอผานดิน
ทุกฤดูกาล อยางไรก็ตามอัตราการหายขาดดีขึ้น จากการรักษาดวยอัลเบนดาโซล

You might also like