You are on page 1of 29

ระบบขับถ่าย (Excretory System)

ระบบขับถ่าย (Excretory System)

ของเสีย คือ ของที่ร่างกายขับออกมา หรือ ส่วนเกินต่างๆ ที่เกิดจากกระบวนการเมทาบอลิซึม ที่ร่างกายไม่ต้องการใช้แล้ว


และไม่มีประโยชน์จึงขับออกไปนอกร่างกาย นอกจาก - แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากระบบหายใจ
- เหงื่อ จากทางผิวหนัง
- อุจจาระจากระบบย่อยอาหารแล้ว
ยังมีของเสียในรูป “ไนโตรเจน(N)”เป็นองค์ประกอบหลัก เรียกว่า “Nitrogen waste” ดังนี้

สิ่งมีชวี ติ Nitrogen waste ที่ขับออกมา


สัตว์ชั้นต่่า, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้่า,ปลา แอมโมเนีย (NH3)
สัตว์เลื้อยคลาน, แมลง, นก กรดยูริก (Uric acid)
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, คน ยูเรีย (Urea)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)

➢ อวัยวะทีใ่ ช้ในการขับถ่ายของเสียของสิง่ มีชวี ติ

สิ่งมีชวี ติ โครงสร้างที่ใช้ในการขับของเสีย
อะมีบา พารามีเซียม (สัตว์เซลล์เดียว) เยื่อหุ้มเซลล์,Contractile vacuole เพื่อขับน้่าส่วนเกิน
ฟองน้่า ไฮดรา แพร่โดยตรงเข้าเซลล์
หนอนตัวแบน เฟลมเซลล์ (Flame cell)
ไส้เดือนดิน เนฟริเดีย (Nephridia)
แมลง ท่อมัลพิเกียน (Mulphighian Tubule)
สัตว์มีกระดูกสันหลัง, คน ไต ( Kidney)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
สิ่งมีชวี ติ โครงสร้างที่ใช้ในการขับของเสีย
อะมีบา พารามีเซียม (สัตว์เซลล์เดียว) เยื่อหุ้มเซลล์,Contractile vacuoleเพื่อขับน้่าส่วนเกิน
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
สิ่งมีชวี ติ โครงสร้างที่ใช้ในการขับของเสีย
หนอนตัวแบน เช่นอ พลานาเรีย เฟลมเซลล์ (Flame cell)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
สิ่งมีชวี ติ โครงสร้างที่ใช้ในการขับของเสีย
ไส้เดือนดิน เนฟริเดีย (Nephridia)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
สิ่งมีชวี ติ โครงสร้างที่ใช้ในการขับของเสีย
แมลง ท่อมัลพิเกียน (Mulphighian Tubule)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
สิ่งมีชวี ติ โครงสร้างที่ใช้ในการขับของเสีย
สัตว์มีกระดูกสันหลัง, คน ไต ( Kidney)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
➢ อวัยวะก่าจัดของเสียของคน 2. ท่อไต (Ureter) : ท่าหน้าที่ล่าเลียงปัสสาวะ

1. ไต (Kidney) : คนมี 2 อัน ( 1 คู่) อยู่บริเวณ


นอกช่องท้องและอยู่ด้านหลังช่วงเอว รูปคล้ายเมล็ดถั่ว
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
➢ อวัยวะก่าจัดของเสียของคน (ต่อ) 4. ท่อปัสสาวะ (Urethra): ท่าหน้าที่ขับปัสสาวะออกนอกร่างกาย
- ความยาวท่อปัสสาวะ  ผู้ชายยาว 20 ซม.
3. กระเพาะปัสสาวะ (Urinary Bladder) .  ผู้หญิงยาว 5 ซม
 เป็นที่สะสมของปัสสาวะ สามารถยืดหดตัวได้
ด้วยเหตุนี้ ผู้หญิงมีโอกาสเป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบง่ายกว่าผู้ชาย
เนื่องจากท่อปัสสาวะสั้นเชื้อโรคเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะได้ง่ายกว่า

ผู้ชาย ผู้หญิง
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
➢ โครงสร้างและหน้าทีข่ องไต
ใน 1 วัน มีเลือดผ่านเข้ามาฟอกในไตเพื่อกรองของเสีย ≈ 180 ลิตร
ขับปัสสาวะออกนอกร่างกายเพียงแค่ “วันละ 2.5 ลิตร” เท่านั้น เนื่องจากไตต้องดูดน้่าและสารต่างๆกลับในปริมาณมาก
โครงสร้างของไตแบ่งออกเป็น 2 ชั้น

ประกอบด้วย “หน่วยไต (Nephron)” จ่านวน 100 ล้านหน่วย


ต่อ ไต 1 ข้าง เป็นที่กรองของเสียออกจากเลือด

เป็นท่อรวมของเสีย จากหน่วยไต ในรูปปัสสาวะ น่าเอา


น้่าปัสสาวะไปสู่กรวยไต เพื่อน่าออกไปสู่ท่อไต
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
โครงสร้างของ “หน่วยไต (Nephron)” เป็นตัวกรองของเสียของร่างกาย มี 1 ล้านหน่วย : ไต 1 ข้าง ประกอบด้วย

1. โกลเมอรูลสั (Glomerlus)
เป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยที่อยู่แนบชิด
กับโบว์แมนแคปซูล
ผนังของโกลเมอรูลัส ท่าหน้าที่เป็นเยื่อกรอง
ให้พลาสมาของเลือดผ่านเข้าสู่
“โบว์แมนแคปซูล”
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
โครงสร้างของ “หน่วยไต (Nephron)”

2 โบว์แมนแคปซูล (Bowman’ capsule)


เป็นกระเปาะคล้ายรูปถ้วย
หุ้ม “โกลเมอรูลสั ” อยู่
ต่ออยู่กับท่อของหน่วยไต
โบว์แมนแคปซูล แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
ท่อขดส่วนต้น : ท่าหน้าที่ดูดกลับสารที่มี
ประโยชน์ เช่น กลูโคส อะมิโน น้่า ให้มากที่สุด
ห่วงเฮนเล : ท่าหน้าที่ดูดเกลือและน้่ากลับ
ในกรณีที่ร่างกายขาด
ท่อขดส่วนปลาย : ดูดซึมน้่ากลับได้ ≈ 10%
สามารถหลั่งหรือขับสารต่าง ๆ กลับเข้าสู่ท่อไต
ได้ เช่น แอมโมเนียมไอออน เป็นต้น
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
โครงสร้างของ “หน่วยไต (Nephron)”
3. ท่อรวม (Collecting Duct) เป็นท่อรับของเหลวจาก “ท่อหน่วยไต” หลายๆ ท่อ มารวมเป็นปัสสาวะ เพื่อส่งออกทางกรวยไตไปยัง
ท่อไต เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)

ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอก

สมอง ไขสันหลัง แบ่งตามต่าแหน่ง แบ่งตามหน้าที่

เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนรับความรู้สึก ส่วนสั่งการ

ระบบประสาทโซมาติก ระบบประสาทอัตโนมัติ

ระบบประสาทซิมพาเธติก ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก
ระบบประสาท (Nervous System)

ระบบประสาท (Nervous System) : ท่าหน้าที่ควบคุมการท่างานของทุกระบบในร่างกาย ท่างานได้อย่างรวดเร็ว


ร่วมกับระบบต่อมไร้ท่อ นอกจากนี้ยังท่าหน้าที่รับและตอบสนองสิ่งเร้าภายนอก คนและสัตว์มีกระดูกสันหลังมีระบบประสาทที่
พัฒนามาก ซึ่งเซลล์ประสาทส่วนใหญ่จะรวมกันอยู่ที่ส่วนหัว และได้มีการพัฒนาต่อไปเป็นสมองและไขสันหลัง ซึ่งท่าหน้าที่เป็น
ศูนย์กลางของระบบประสาท
องค์ประกอบของระบบประสาท

เซลล์ประสาท (Neuron) สมอง (Brain) ไขสันหลัง (Spinal cord)


ระบบประสาท (Nervous System)

1. เซลล์ประสาท (Neuron) ส่วนประกอบของเซลล์ประสาท มี 2 ส่วน ส่าคัญ ดังนี้


1. ตัวเซลล์ (Cell Body)
 คล้ายกับเซลล์ทั่วไป ภายในมีนิวเคลียส
 มีหน้าที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและเมทาบอลิซึม
ของเซลล์ประสาท
 เป็นแหล่งสร้างพลังงาน
 สังเคราะห์โปรตีนที่เป็นสารสื่อประสาท
ระบบประสาท (Nervous System)

1. เซลล์ประสาท (Neuron) 2. ใยประสาท (Nerve Fiber) : เป็นส่วนของเซลล์ที่ยื่น


ออกมาจากตัวตัวเซลล์ มีลักษณะเป็นแขนง มี 2 ชนิด คือ
ไม่มี Myelin Sheath หุ้ม 2.1 เดนไดรต์(Dendrite) : “น่ากระแสประสาทเข้า
สู่ตัวเซลล์” เซลล์ประสาท 1 เซลล์ อาจมีเดนไดรต์
มากกว่า 1 แขนงได้
2.2 แอกซอน (Axon) : “น่ากระแสประสาทออกจาก
ตัวเซลล์”
➢ 1 ตัวเซลล์ มี 1 แอกซอน เท่านั้น
➢ ยาวกว่าเดนไดรต์
➢ มี “เยื่อไมอีลิน” ที่สร้างจาก Schwann’s Cell
ห่อหุ้มรอบ แอกซอน
เป็นสารพวกไขมัน เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี ท่าให้กระแส
ประสาทในแอกซอนเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว
ระบบประสาท (Nervous System)

1. เซลล์ประสาท (Neuron)

เซลล์ประสาทรับความรูส้ กึ ( Sensory Neuron ) : รับความรู้สึกจากส่วนต่างๆเข้าสู่


สมองและไขสันหลัง

ชนิดของเ.ซลล์ประสาท
แบ่งตามหน้าที่การท่างาน เซลล์ประสาทสัง่ การ (Motor Neuron) : น่ากระแสประสาทออกจากสมองและไขสันหลัง
ไปยังกล้ามเนื้อ และต่อมต่างๆของร่างกาย

เซลล์ประสาทประสานงาน (Association): เป็นตัวเชื่อมระหว่าง เซลล์ประสาทรับความรู้สึก


กับ เซลล์ประสาทสั่งการ
ระบบประสาท (Nervous System)

2. สมอง (Brain)
สมอง : เป็นศูนย์สั่งการของร่างทั้งหมด สมองของคนหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม สมองของสัตว์ชั้นสูง ชั้นนอกมีสีเทา ชั้นในมีสีขาว
สัตว์ที่มีการพัฒนาของสมองดีจะมีรอยหยักของสมอง
ข้อควรทราบ
สมองส่วนหน้าเจริญได้ดใี นสัตว์ชั้นสูง เพราะมี
ความฉลาดมาก เช่น คน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

สมองส่วนกลางจริญได้ดีในสัตว์ชั้นต่่า เพราะ
มีความสามรถในการมองเห็น และ ได้ยิน
เสียงมาก เช่นปลา
ระบบประสาท (Nervous System)
2. สมอง (Brain) แบ่งเป็น 3 ส่วน

สมอง (Brain)

2.1 สมองส่วนหน้า 2.2 สมองส่วนกลาง 2.3 สมองส่วนท้าย


(Forebrain) (Midbrain) (Hindbrain)

➢ ซีรีบรัม (Cerebrum) ➢ ซีรีเบลลัม (Cerebellum)


➢ ทาลามัส (Thalamus) ➢ พอนส์ (Pons)
➢ ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ➢ เมดุลลาออบลองกาตา
(Medulla Oblongata)
ระบบประสาท (Nervous System)
2. สมอง (Brain)

2.1 สมองส่วนหน้า
(Forebrain)

➢ ซีรีบรัม (Cerebrum)
➢ ทาลามัส (Thalamus)
➢ ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus)
ระบบประสาท (Nervous System)
2. สมอง (Brain)

ต่าแหน่งสมอง ส่วนของสมอง หน้าที่


ซีรีบรัม เกี่ยวกับความจ่า ความฉลาด ความคิด เชาว์ปัญญา อารมณ์
(Cerebrum) เป็นที่ประมวลผลสุดท้ายของความรู้สึกทุกชนิด
*มีขนาดโตที่สุด การรับความรู้สึกต่างๆ
เช่น การมองเห็น การดมกลิ่น การรับรส การสัมผัส
1. ส่วนหน้า ทาลามัส สถานที่ถ่ายทอดกระแสประสาทเข้าสู่สมองและไขสันหลัง ก่อนเข้าสู่
(Thalamus) ซีรีบรัม ยกเว้น การดมกลิ่น จะไม่ผ่านทาลามัส
ไฮโพทาลามัส ศูนย์ควบคุมความหิว อิ่ม กระหายน้่า การหลั่งฮอร์โมน
(Hypothalamus) ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย ควบคุมการนอนหลับ
ระบบประสาท (Nervous System)
2. สมอง (Brain) ต่าแหน่ง ส่วนของ หน้าที่
สมอง สมอง
2.2 สมองส่วนกลาง 2. Midbrain ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
(Midbrain) ส่วนกลาง จะมีวิวัฒนาการต่่า
ระบบประสาท (Nervous System)
2. สมอง (Brain)

2.3 สมองส่วนท้าย
(Hindbrain)

➢ ซีรีเบลลัม (Cerebellum)
➢ พอนส์ (Pons)
➢ เมดุลลาออบลองกาตา
(Medulla Oblongata)
ระบบประสาท (Nervous System)
2. สมอง (Brain)

ต่าแหน่งสมอง ส่วนของสมอง หน้าที่

ซีรีเบลลัม ควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ ควบคุมการทรงตัว


(Cerebellum) การประสานงานของกล้ามเนื้อในการท่างานที่ประณีต

3. ส่วนท้าย พอนส์
ควบคุมการเคลื่อนไหวบนใบหน้า แสดงสีหน้า การหลั่งน้่าลาย การเคี้ยว
(Pons)
เมดุลลาออบลองกาตา
ควบคุมการหายใจ การเต้นของหัวใจ การย่อยอาหาร สติ การหลับ-ตื่น
(Medulla Oblongata)
ระบบประสาท (Nervous System)
3. ไขสันหลัง (Spinal cord)
ไขสันหลัง เป็นอวัยวะหนึ่งของระบบประสาทส่วนกลาง เป็นส่วนที่ต่อลงมาจากสมอง อยู่ในช่องกระดูกสันหลัง มีรูป ร่าง
เป็นท่อยาวต่อจากสมองลงมา โดยเริ่มต้นจากช่องกระดูกต้นคอข้อแรก (มีทั้งหมด 7 ข้อ) ไปจนถึงช่องกระดูกเอวข้อที่ 1-2
(มีทั้งหมด 5 ข้อ) โครงสร้างของไขสันหลัง
ประกอบด้วย 2 บริเวณ คือ

บริเวณสีเทา (Grey matter)


มีตัวเซลล์ประสาทอยู่หนาแน่น
จะถูกล้อมรอบด้วยเนื้อสีขาว

บริเวณสีขาว (White matter)


เป็นที่อยู่ของใยประสาท
ระบบประสาท (Nervous System)
รีเ ฟล็ กซ์ หมายถึง ปฏิกิริยาโต้ตอบ หรื อ ปฏิ กิริย า
➢ รีเฟล็กซ์ (reflex)
ตอบสนองของร่ า งกายต่อ สิ่ ง เร้ า หรื อ ต่อ ตั ว กระตุ้ น
(Stimulus)ที่ ร่ า งกายโต้ ต อบทั น ที โ ดยไม่ ไ ด้ ตั้ ง ใจ
ทั้งนี้ รีเฟล็กซ์ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของ
สิ่ ง มี ชี วิ ต เพื่ อ ใช้ ช่ ว ยเบื้ อ งต้ น ในการป้ อ งกั น ตนเอง
เตรียมสู้หรือเตรียมหนี

ดังนั้น การท่างานของระบบประสาทที่เกี่ยวข้ องจึงผ่า น


ทาง Reflex arc ไม่มีการผ่านสมอง (ไม่ต้องใช้เวลา
ให้สมองคิดประเมินเพื่อการตอบสนอง ) แต่จะผ่านเพียง
ระดั บ ไขสั น หลั ง ที่ ซึ่ ง จะสั่ ง การเป็ น อั ต โนมั ติ ไม่ มี
กระบวนการคิดเข้ามาเกี่ยวข้อง
เช่น การเคาะเอ็นตรงกระดูกสะบ้า การเหยียบตะปู

You might also like