You are on page 1of 146

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี ้ เป็ นสิง่ ที่มีสำคัญในการ


จัดการเรียนรู้ในชัน
้ เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้และเป็ นแนวทางในการจัดการ
การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
ข้าพเจ้าจึงได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้นข
ี้ น
ึ้

โดยในรายวิชาวิทยาศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 รหัสวิชา ว 22101 ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2 นีข
้ ้าพเจ้า
ได้จัดทำโดยอาศัยอ้างอิงจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พ.ศ.2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)
ทัง้ นีผ
้ ู้สอนได้มีแนวทางในการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้ (5Es) เพื่อให้ผู้เรียน
เกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ มีทักษะทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา
ศาสตร์ รวมทัง้ การดำเนินการ
จัดการเรียนรู้ไปสู่จุดมุ่งหมายอย่างมีระบบ ซึง่ จะส่งผลให้นักเรียนเกิดการ
เรียนรู้ มีความรู้
ทักษะและประสบการณ์ รวมทัง้ การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อยอดใน
ชีวิตประจำวันได้
เป็ นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ บรรลุตามจุดมุ่งหมาย
และจุดประสงค์ของหลักสูตร โดยในแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 รหัสวิชา ว 22101 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 นี ้
ข้าพเจ้าได้จัดทำทัง้ หมด 3 แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้บรรลุตามจุด
ประสงค์การเรียนรู้ของภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 2563

แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนีส
้ ำเร็จขึน
้ ได้โดยอาศัยผู้แนะนำ
ชีแ
้ นะแนวทางในการจัดทำ
แผนการจัดการเรียนรู้ ทัง้ นีข
้ ้าพเจ้า จึงขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง
โดยมี นายปรีชา บัณฑิต
ผู้อำนวยการโรงเรียนปลาค้าววิทยานุสรณ์ ที่ให้การสนับสนุนข้าพเจ้ามา
โดยตลอด ขอบคุณ นายรณกรณ์ จันทร์สด หัวหน้ากลุ่มสาระ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางนิดทิญา พิมพ์ตรา ครูพเี่ ลีย
้ ง
และผู้ที่ไม่ได้เอ่ยนามมา ณ ที่นข
ี ้ อขอบพระคุณเป็ นอย่างยิ่ง และข้าพเจ้า
หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนีจ
้ ะเป็ นประโยชน์ต่อผู้สนใจ
ศึกษาไม่มากก็น้อย

( นายจีรวัฒ หวังสิน)
ตำแหน่ง ครูผู้
ช่วย
โรงเรียนปลาค้าววิทยานุสรณ์
สารบัญ
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

วิทยาศาสตร์ 3 (ว 22101) กลุ่มสาระการ


เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา
60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับระบบร่างกายมนุษย์ ระบบหายใจ โครงสร้างและ


หน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ
การหายใจ การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจ ระบบขับถ่าย โครงสร้าง
และหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่าย กลไกการกำจัดของเสีย การดูแล
รักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด โครงสร้างและหน้าที่
ของอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด
การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท โครงสร้าง
และหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท การดูแลรักษาอวัยวะในระบบประสาท
ระบบสืบพันธุ์ โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศชาย
และเพศหญิง ฮอร์โมนเพศ การปฏิสนธิและการตัง้ ครรภ์ การคุมกำเนิด
ศึกษาเกี่ยวกับการแยกสารผสม การระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่น โค
รมาโทกราฟี แบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวทำละลาย การนำวิธีการแยก
สารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ศึกษาเกี่ยวกับสารละลาย
สภาพละลายได้ของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย การใช้สารละลาย
ในชีวิตประจำวัน
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้
เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม

ตัวชีว
้ ัด
ว 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10
ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14 ม.2/15
ม.2/16 ม.2/17
ว 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ม.2/6

รวม 23 ตัวชีว
้ ัด

โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน

วิทยาศาสตร์ 3 (ว 22101) กลุ่มสาระการ


เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา
60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

1. ระบบ ว 1.2 ระบบหายใจมีอวัยวะที่เป็ น 30 10


ร่างกาย ทางเดินของอากาศ ได้แก่ จมูก
มนุษย์ ม.2/1 ท่อลม และปอด และ
มีอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
ม.2/2 กะบังลม และกระดูกซี่โครง
โดยอากาศเคลื่อนที่เข้าและ
ม.2/3 ออกจากปอดเป็ นผลจากการ
เปลี่ยนแปลงปริมาตรและ
ม.2/4 ความดันภายในช่องอก ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับการทำงานของ
ม.2/5 กะบังลมและกระดูกซี่โครง
เมื่อมนุษย์หายใจนำอากาศเข้า
ม.2/6 สู่รา่ งกาย อากาศเดินทางผ่าน
จมูก ท่อลม และเข้าสู่ปอด
ม.2/7 ซึ่งเป็ นบริเวณที่เกิดการแลก
เปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊ส
ม.2/8 คาร์บอนไดออกไซด์ โดยแก๊ส
ออกซิเจนแพร่จากถุงลมเข้าสู่
ม.2/9 หลอดเลือดฝอย ส่วนแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์แพร่จาก
ม.2/1 หลอดเลือดฝอยเข้าสู่ถุงลมเพื่อ
0 กำจัดออกจากร่างกายผ่านการ
หายใจออก แก๊สออกซิเจนที่
ม.2/1 แพร่เข้าสู่หลอดเลือดฝอยจะ
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

1 ลำเลียงไปยังเนื้อเยื่อต่าง ๆ
ของร่างกาย และเกิดการแลก
ม.2/1 เปลี่ยนแก๊สขึน
้ โดยแก๊ส
2 ออกซิเจนจากหลอดเลือดฝอย
แพร่เข้าสู่เนื้อเยื่อ ส่วนแก๊ส
ม.2/1 คาร์บอนไดออกไซด์แพร่จาก
3 เนื้อเยื่อเข้าสู่หลอดเลือดฝอย
เพื่อลำเลียงไปยังปอดและกำจัด
ม.2/1 ออกจากร่างกาย การสูบบุหรี่
4 การสูดอากาศที่มีสารปนเปื้ อน
อาจเป็ นสาเหตุของโรคระบบ
ม.2/1 ทางเดินหายใจ เช่น โรคถุงลม
5 โป่ งพอง ดังนัน
้ จึงควรดูแล
รักษาอวัยวะในระบบหายใจให้
ม.2/1 ทำงานอย่างปกติ
6 ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่
เกี่ยวข้อง ได้แก่
ม.2/1 ไต ท่อไต กระเพาะปั สสาวะ
7 และท่อปั สสาวะ ภายในไตมี
หน่วยไต ทำหน้าที่กำจัดของ
เสียต่าง ๆ ออกจากเลือด และ
ดูดกลับสารที่มีประโยชน์เข้าสู่
เลือด ของเหลวต่าง ๆ ที่ผ่าน
การทำงานของหน่วยไตจะผ่าน
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ไปยังท่อไตและไปเก็บใน
กระเพาะปั สสาวะเพื่อกำจัด
ออกจากร่างกายผ่านท่อ
ปั สสาวะ การเลือกรับประทาน
อาหารที่ไม่มีรสจัด การดื่มน้ำ
อย่างเพียงพอเป็ นแนวทาง
ในการดูแลรักษาอวัยวะใน
ระบบขับถ่าย
ระบบหมุนเวียนเลือด
ประกอบด้วยหัวใจแบ่งออกเป็ น
4 ห้อง ได้แก่ ห้องบน 2 ห้อง
และห้องล่าง 2 ห้อง โดยมีลน
ิ้
กัน
้ ระหว่างห้องบนและห้องล่าง
หัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยัง
อวัยวะต่าง ๆ หลอดเลือด แบ่ง
ออกเป็ นหลอดเลือดแดงทำ
หน้าที่ลำเลียงเลือดที่มีแก๊ส
ออกซิเจนสูงไปยังเซลล์ หลอด
เลือดดำทำหน้าที่ลำเลียงเลือด
ที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูง
จากเซลล์มายังปอดเพื่อกำจัด
ออกจากร่างกาย และเลือด
ประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือด
แดง ทำหน้าที่ลำเลียงแก๊ส
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ออกซิเจนไปหล่อเลีย
้ งเซลล์
เซลล์เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่
กำจัดเชื้อโรคและสิ่งแปลก
ปลอม และเกล็ดเลือดทำหน้าที่
ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดมีการ
หมุนเวียนอย่างเป็ นระบบ โดย
เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่ำ แต่
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูงเข้า
สู่หัวใจห้องบนขวาผ่านลงสู่
หัวใจห้องล่างขวา แล้วลำเลียง
ไปยังปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส
กลายเป็ นเลือดที่มีแก๊ส
ออกซิเจนสูง แต่แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ กลับเข้า
สู่หัวใจห้องบนซ้ายผ่านลงสู่
หัวใจห้องล่างซ้ายเพื่อนำเลือดที่
มีแก๊สออกซิเจนสูงไปยังเซลล์
ต่าง ๆ การออกกำลังกาย การ
เลือกรับประทานอาหาร และ
การรักษาสภาวะทางอารมณ์จะ
ช่วยให้ระบบหมุนเวียนเลือด
ทำงานปกติ
ระบบประสาทส่วนกลาง
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ประกอบด้วยสมองทำหน้าที่
ควบคุมการทำงานของร่างกาย
ไขสันหลังทำหน้าที่ส่งผ่าน
กระแสประสาท และเส้น
ประสาททำหน้าที่รับส่งกระแส
ประสาท ซึ่งมีเซลล์ประสาท
จำนวนมาก การทำงานของ
ระบบประสาทจะส่งกระแส
ประสาทจากอวัยวะรับความ
รู้สึกไปยังไขสันหลัง และส่งต่อ
ไปยังสมอง ซึ่งสมองจะส่ง
กระแสประสาทผ่านไขสันหลัง
ไปยังหน่วยปฏิบัติการต่าง ๆ
โดยระบบประสาทจะเกี่ยวข้อง
กับการทำงานของทุกระบบจึง
ควรป้ องกันการกระทบ
กระเทือนของสมองและ
ไขสันหลัง หลีกเลี่ยงการใช้สาร
เสพติด และภาวะเครียด เพื่อ
ดูแลรักษาระบบประสาทให้
ทำงานอย่างเป็ นปกติ
ระบบสืบพันธุ์แบ่งออกเป็ น
ระบบสืบพันธุ์เพศชายซึ่งมีการ
สร้างเซลล์อสุจิจากอัณฑะทำ
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

หน้าที่เป็ นเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย
ถูกควบคุมโดยฮอร์โมนเทสโทส
เทอโรน และระบบสืบพันธุ์เพศ
หญิงซึ่งมีการสร้างเซลล์ไข่จาก
รังไข่ ทำหน้าที่เป็ นเซลล์
สืบพันธุ์เพศหญิง ถูกควบคุม
โดยฮอร์โมนโพรเจส-เทอโรน
และอีสโทรเจน ซึ่งจะมีการตก
ไข่ เดือนละ 1 เซลล์ และหาก
ไม่ได้รับการปฏิสนธิจากเซลล์
อสุจิจะกลายเป็ นประจำเดือน
แต่หากเซลล์ไข่ได้รบ
ั การปฏิสนธิ
จากอสุจจ
ิ ะแบ่งเซลล์เป็ นไซโกต
เอ็มบริโอ และเจริญเป็ นทารกใน
ครรภ์ ซึง่ ทารกอยูใ่ นครรภ์
ประมาณ 9 เดือน อย่างไรก็ตาม
มีวธิ ก
ี ารคุมกำเนิดหากไม่พร้อม
สำหรับการมีบต
ุ ร เช่น การคุม
กำเนิดโดยวิธท
ี างธรรมชาติ การ
ใช้อป
ุ กรณ์ การใช้สารเคมี
การทำหมัน
2. สอบกลางภาค 30

3. การแยกสาร ว 2.1 การระเหยแห้งใช้แยก 22 10


ผสม สารละลายที่ประกอบด้วยตัว
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ม.2/1 ละลายที่เป็ นของแข็งในตัวทำ


ละลายที่เป็ นของเหลว โดยใช้
ม.2/2 ความร้อน ซึ่งตัวทำละลายจะ
ระเหยกลายเป็ นไอจึงเหลือ
ม.2/3 เฉพาะตัวละลายที่เป็ นของแข็ง
เช่น การผลิตเกลือสมุทร
การตกผลึกใช้แยก
สารละลายที่ประกอบด้วยตัว
ละลายที่เป็ นของแข็งในตัวทำ
ละลายที่เป็ นของเหลว โดย
ทำให้เป็ นสารละลายอิ่มตัว
แล้วจึงปล่อยให้ตัวทำละลาย
ระเหยออกไปบางส่วน ตัว
ละลายจะตกผลึกแยกออกมา
เช่น การผลิตน้ำตาลทราย
การกลัน
่ ใช้แยกสารละลายที่
ประกอบด้วยตัวละลายและตัว
ทำละลายทีเ่ ป็ นของเหลว แบ่ง
ออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
การกลัน
่ แบบธรรมดาใช้แยก
สารละลายทีป
่ ระกอบด้วยตัวทำ
ละลายทีเ่ ป็ นสารระเหยง่าย
และมีจด
ุ เดือดต่ำออกจากตัว
ละลายทีเ่ ป็ นสารระเหยยากและ
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

มีจด
ุ เดือดสูง ซึง่ จุดเดือดควร
ต่างกันตัง้ แต่ 30 องศาเซลเซียส
ขึน
้ ไป เช่น การกลัน
่ แยกเกลือ
ออกจากน้ำทะเล การกลัน
่ แบบ
ไอน้ำใช้แยกสารทีม
่ ี จุดเดือด
ต่ำ ระเหยง่าย และไม่ละลายน้ำ
ออกจากสารทีร่ ะเหยยาก โดย
ความดันไอน้ำทำให้สารเดือด
กลายเป็ นไอและถูกกลัน
่ ออกมา
พร้อมกับไอน้ำ ซึง่ สารทีถ
่ ก
ู กลัน

ออกมาจะแยกชัน
้ กับน้ำ เช่น
การกลัน
่ น้ำมันหอมระเหย และ
การกลัน
่ ลำดับส่วนใช้แยก
สารละลายทีม
่ ส
ี ว่ นประกอบเป็ น
สารทีม
่ จ
ี ด
ุ เดือดใกล้เคียงกันหรือ
แยกสารละลายทีม
่ ต
ี วั ทำละลาย
และตัวละลายเป็ นสารทีร่ ะเหย
ง่าย เช่น การกลัน
่ น้ำมันดิบ
โครมาโทกราฟี แบบ
กระดาษใช้แยกสารละลายที่
ประกอบด้วยสารมากกว่า 1
ชนิด ออกจากกัน โดยอาศัย
ความสามารถในการละลายของ
สารในตัวทำละลาย และการถูก
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ดูดซับบนตัวดูดซับที่แตกต่าง
กัน ทำให้สารแต่ละชนิดถูกแยก
ออกจากกัน ซึ่งระยะทางที่สาร
แต่ละชนิดเคลื่อนที่บนตัวดูดซับ
สามารถนำมาหาอัตราการ
เคลื่อนที่ของสาร (Rf) ได้จาก
สูตร
ระยะทางที ่ สารเคลื ่ อนที ่
Rf =
ระยะทางที ่ ตั วทำละลายเคลื ่ อนที ่

การสกัดด้วยตัวทำละลาย
ใช้แยกสารออกจากสารผสม
โดยอาศัยสมบัติการละลายใน
ตัวทำละลายของสาร ตัวทำ
ละลายที่เหมาะต้องละลายสาร
ที่ต้องการจะแยก ไม่ละลายสาร
ที่ไม่ต้องการ ไม่ทำปฏิกิริยากับ
สารที่ต้องการจะแยก มี
จุดเดือดต่ำ ระเหยง่าย แยก
ออกจากสารละลายได้ง่าย เช่น
การสกัดน้ำมันจากเมล็ดพืช
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
เกี่ยวกับการแยกสารสามารถ
นำไปบูรณาการกับคณิตสาสตร์
เทคโนโลยี โดยใช้กระบวนการ
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ทางวิศวกรรม เพื่อนำไปแก้
ปั ญหาในชีวิตประจำวันต่อไป

3. สารละลาย ว 2.1 สารละลาย หมายถึง สาร 8 10


เนื้อเดียวที่ประกอบด้วยธาตุ
ม.2/4 หรือสารประกอบตัง้ แต่ 2 ชนิด
ขึน
้ ไปรวมตัวกัน โดยธาตุหรือ
ม.2/5 สารประกอบชนิดหนึ่งเป็ นตัว
ทำละลาย ส่วนธาตุหรือ
ม.2/6 สารประกอบอีกชนิดหนึ่งหรือ
มากกว่าเป็ นตัวละลาย ซึ่งมี
หลักการพิจารณาตัวละลาย
และตัวทำละลายในสารละลาย
ดังนี ้
- หากสารอยู่ในสถานะ
เดียวกัน สารที่มีปริมาณ
มากกว่าเป็ นตัวทำละลาย
สารที่มีปริมาณน้อยกว่า
เป็ นตัวละลาย
- หากสารอยู่ในสถานะต่าง
กัน เมื่อผสมกันแล้วมี
สถานะเหมือนกับสารชนิด
ใด จะถือว่าสารนัน
้ เป็ น ตัว
ทำละลาย ส่วนสารอีก
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ชนิดหนึ่งเป็ นตัวละลาย
สภาพละลายได้ของสาร
หมายถึง ความสามารถในการ
ละลายได้ของตัวละลายในตัวทำ
ละลายจนเป็ นสารละลายอิ่มตัว
ณ อุณหภูมิหนึ่ง ๆ การละลาย
ของตัวละลายขึน
้ อยู่กับปั จจัย
ต่าง ๆ ได้แก่
- อุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิสูง
ขึน
้ ตัวละลายที่เป็ น
ของแข็งและของเหลว
ละลายได้มากขึน
้ แต่ตัว
ละลายที่เป็ นแก๊สจะ
ละลายได้น้อยลง
- ชนิดของตัวทำละลาย ตัว
ทำละลายแต่ละชนิด
สามารถละลายตัวละลาย
แต่ละชนิดได้แตกต่างกัน
- ขนาดของตัวละลาย ตัว
ละลายที่มีขนาดเล็ก
ละลายได้เร็วกว่าตัวละลาย
ที่มีขนาดใหญ่เพราะมีพ้น
ื ที่
ผิวสัมผัสมากกว่า
- ความดันมีผลต่อตัวละลาย
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ที่เป็ นแก๊ส ซึ่งหากความดัน


สูงขึน
้ จะทำให้แก๊สละลาย
ได้ดีขน
ึ้
- การคน การเขย่า หรือการ
ปั่ นเหวี่ยง ซึ่งจะทำให้
อนุภาคเคลื่อนที่เร็ว จึงเกิด
การละลายได้เร็ว
ความเข้มข้นของสารละลาย
เป็ นค่าที่แสดงปริมาณของตัว
ละลายที่ละลายอยู่ในตัวทำ
ละลายหรือในสารละลาย ดังนี ้
- ร้อยละโดยมวล เป็ น
หน่วยที่บอกถึงปริมาณ ตัว
ละลายเป็ นกรัมที่ละลาย
ในสารละลาย 100 กรัม
นิยมใช้กับสารละลายที่
เป็ นของแข็ง มีสูตร ดังนี ้
มวลของตั วละลาย
ร้ อยละโดยมวล= x 100
มวลของสารละลาย
- ร้อยละโดยปริมาตร เป็ น
หน่วยที่บอกถึงปริมาตร
ของตัวละลายเป็ น
ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่
ละลายในสารละลาย 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร นิยม
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ใช้กับสารละลายที่เป็ น
ของเหลวหรือแก๊ส มีสูตร
ดังนี ้
ปริ มาตรของตั วละลาย
ร้ อยละโดยปริ มาตร = x 100
ปริ มาตรของสารละลาย

- ร้อยละโดยมวลต่อ
ปริมาตร เป็ นหน่วยที่บอก
ถึงปริมาณของตัวละลาย
เป็ นกรัมที่ละลายใน
สารละลาย 100 ลูกบาศก์
เซนติเมตร นิยมใช้กับตัว
ละลายที่เป็ นของแข็งในตัว
ทำละลายที่เป็ นของเหลว
มีสูตร ดังนี ้
มวลของตั วละลาย
ร้ อยละโดยมวลต่ อปริ มาตร= x 100
ปริ มาตรของสารละลาย

สารละลายถูกนำมาใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ซึ่งใช้ที่ความเข้ม
ข้นแตกต่างกัน เช่น น้ำส้ม
สายชูมีความเข้มข้นของกรดแอ
ซีติกร้อยละ 4-18 โดยปริมาตร
แอลกอฮอล์ล้างแผลมีความเข้ม
ข้นของเอทิลแอลกอฮอล์ร้อย
ละ 70 โดยปริมาตร น้ำเกลือมี
มาตรฐา น้ำ
ลำดั ชื่อหน่วย นการ เวลา หนัก
สาระสำคัญ
บที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น

ความเข้มข้นของโซเดียมคลอ
ไรด์ ร้อยละ 0.9 หรือร้อยละ
15 โดยมวลต่อปริมาตร น้ำยา
ล้างเล็บมีความเข้มข้นของแอซี
โตนร้อยละ 80 โดยปริมาตร
ส่วนสารทำความสะอาดและ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชถูกนำมา
ทำให้เจือจางก่อนนำไปใช้
4. สอบปลายภาค 30

รวม 60 100
แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 (ว 30262)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย เรื่อง สารละลาย
เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายจีรวัฒ หวังสิน
วันที่ 12 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2563
โรงเรียนปลาค้าววิทยานุสรณ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร


ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและ
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลาย และ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี

ตัวชีว
้ ัด
ว 2.1 ม.2/4 ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบายผลของ
ชนิดตัวละลาย
ชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมทัง้ อธิบาย
ผลของความดัน
ที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้สารสนเทศ

2. สาระสำคัญ

สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยธาตุหรือ


สารประกอบตัง้ แต่ 2 ชนิดขึน
้ ไปรวมตัวกัน โดยธาตุหรือสารประกอบชนิด
หนึ่งเป็ นตัวทำละลาย ส่วนธาตุหรือสารประกอบอีกชนิดหรือมากกว่าเป็ น
ตัวละลาย ซึ่งมีหลักการพิจารณาตัวละลายและตัวทำละลายใน
สารละลาย คือ หากสารอยู่ในสถานะเดียวกัน
สารที่มีปริมาณมากกว่าเป็ นตัวทำละลายและสารที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็ น
ตัวละลาย และ หากสารอยู่ในสถานะต่างกัน เมื่อผสมกันแล้วมีสถานะ
เหมือนกับสารชนิดใด ถือว่าสารนัน
้ เป็ นตัวทำละลาย ส่วนสารอีก
ชนิดหนึ่งเป็ นตัวละลาย

3.จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีว
้ ัด
 ด้านความรู้ : K
3.1 อธิบายองค์ประกอบและระบุตัวทำละลายและตัวละลายใน
สารละลายได้
 ด้านทักษะ : P
3.2 แยกองค์ประกอบของสารละลายได้
 ด้านคุณธรรม จริยธรรม : A
3.3 ใฝ่ เรียนรู้และมุ่งมั่นในการทำงาน

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สารละลาย (Solution)

5. สมรรถนะผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์
6.2 ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
6.3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่ เรียนใฝ่ รู้

7. ภาระงาน/ชิน
้ งาน
7.1 ภาระงาน
1. ใบบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ สารละลาย
2. แบบฝึ กหัด เรื่องสารละลาย

8. กิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง


 วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es
(5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1

สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) : 15 - สังเกต - กิจกรรม
นาที พฤติกรรม จิตศึกษา
1. เตรียมความพร้อมโดยกิจกรรมจิตศึกษา การมีส่วน
Brain gym เพื่อเตรียมสติและความพร้อมใน ร่วม
การเรียนรู้ของผู้เรียน
2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการ
เรียนรู้ที่ 3 สารละลาย
3. ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสารบริสุทธิแ์ ละ
สารผสม
4. จากนัน
้ ตัง้ คำถามกระตุ้นความสนใจของ
นักเรียนเกี่ยวกับสถานะของสารมี่กี่สถานะ
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขึน
้ อยู่กับ
ดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น ของแข็ง (Solid)
ของเหลว (Liquid) และแก๊ส (Gass)
5. ครูสร้างสถานการณ์และตัง้ ถามกระตุ้นให้เกิด
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
การคิดวิเคราะห์
 นักเรียนคิดว่าในน้ำอัดลม ประกอบด้วย
สารที่มีสถานะของสาร
กี่สถานะ
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขึน
้ อยู่กับ
ดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น
ของแข็ง ได้แก่ น้ำตาล สีผสมอาหาร
ของเหลว ได้แก่ น้ำ
แก๊ส ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์)
 แล้วน้ำอัดลมที่นักเรียนเห็นเป็ นสารเนื้อ
เดียวหรือสารเนื้อผสม
(แนวตอบ : สารเนื้อเดียว )
 จากน้ำอัดลมที่นักเรียนเห็น ทำไมสาร
หลายสถานะถึงสามารถรวมกันเป็ นสารเนื้อ
เดียวได้ เรียกสมบัตินน
ั ้ ว่าอะไร
(แนวตอบ : การละลาย )
6. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายร่วมกันในชัน

เรียน
7. ครูติดหัวข้อการเรียนรู้ สารละลาย
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้

ขัน
้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Explore) : 40 - การมีส่วน กิจกรรม
นาที ร่วมใน การทดลอง
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม ตัวแทนมารับใบ กิจกรรมการ เรื่อง
บันทึกกิจกรรม เรียนรู้ สารละลาย
2. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับสารละลาย สมบัติของ - การตอบ
สารละลาย และองค์ประกอบของสารละลาย คำถาม
จากหนังสือเรียน
3. ครูนำเสนอกิจกรรมการทดลองเรื่อง
สารละลาย และแนะนำรายละเอียดกิจกรรรม
พอสังเขป
4. นักเรียนศึกษาใบบันทึกกิจกรรมและการ
ทดลอง เรื่องสารละลาย
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำการทดลองและ
อภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
 ตัวอย่างสารละลายต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียน
ร่วมกันตอบคำถามว่า “สารละลาย
ประกอบด้วยสารกี่ชนิดอะไรบ้าง” โดย
ตัวอย่าง สารละลายมีดังนี ้
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
1. สารละลายน้ำเชื่อม
2. สารละลายเกลือแกง
3. สารละลายโซดา
4. สารละลายเอทิลแอลกอฮอล์

ขัน
้ ที่ 3 อภิปรายและลงข้อสรุป (Explain) : - การมีส่วน - วิดีทัศน์
20 นาที ร่วมการตอบ สารละลาย
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง คำถาม
และตรวจสอบ
ความถูกต้องของการบันทึกกิจกรรมโดย
อภิปรายร่วมกันในชัน
้ เรียน
2. นักเรียนและครู ร่วมกันสรุปผลและองค์ความ
รู้ของการทำกิจกรรมการทดลองเรื่อง
สารละลาย
3. ครูนำเสนอวีดิทัศน์เกี่ยวกับสารละลาย ให้
นักเรียนได้เข้าใจมากขึน

(https://www.youtube.com)
4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารละลาย
(แนวตอบ :
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
สารละลาย (solution) หมายถึง สารเนื้อ
เดียวที่ไม่บริสุทธิ ์
เกิดจากสารตัง้ แต่ 2 ชนิดขึน
้ ไปมารวมกัน
สารละลายแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ
 ตัวทำละลาย (solvent) หมายถึง สารที่มี
ความสามารถ ในการทำให้สารต่างๆ
ละลายได้ โดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมีกับสาร
นัน

 ตัวละลาย (solute) หมายถึง สารที่ถูกตัว
ทำละลายละลายให้กระจายออกไปทั่วใน
ตัวทำละลายโดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมีต่อกัน

สารละลายมีทงั ้ 3 สถานะ คือ


สารละลายของแข็ง สารละลายของเหลว และ
สารละลายแก๊ส
สารละลายของแข็ง หมายถึง
สารละลายที่มีตัวทำละลายมีสถานะเป็ นของแข็ง
เช่น ทองเหลือง นาก โลหะบัดกรี สัมฤทธิ ์
เป็ นต้น
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
สารละลายของเหลว หมายถึง
สารละลายที่มีตัวทำละลายมีสถานะเป็ น
ของเหลว เช่น น้ำเชื่อม น้ำหวาน น้ำเกลือ
น้ำปลา น้ำส้มสายชู น้ำอัดลม เป็ นต้น
สารละลายแก๊ส หมายถึงสารละลายที่มี
ตัวทำละลายมีสถานะเป็ นแก๊ส เช่น อากาศ แก๊ส
หุงต้ม ลูกเหม็นในอากาศ ไอน้ำในอากาศ
เป็ นต้น )
5. นักเรียนบันทึกองค์ความรู้ที่ได้ลงในสมุด
บันทึก
ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) : 15 - สมุดบันทึก
นาที
1. ครูตงั ้ คำถามเกี่ยวกับสารละลายเชื่อมโยงกับ
ชีวิตประจำวัน
ของนักเรียน
 ในชีวิตประจำวันของนักเรียนพบเจอ
สารละลายอะไรบ้าง
- สถานะของแข็ง ได้แก่ ทองเหลือง
โลหะ เหรียญ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
- สถานะของเหลว ได้แก่ น้ำเปล่า น้ำ
อัดลม น้ำหวานน้ำคลอง
- สถานะแก๊ส ได้แก่ อากาศ อากาศใน
ลูกโป่ ง
2. ครูมอบหมายนักเรียนไปสังเกตในบ้านของ
ตนเอง ว่ามีสารละลายใดบ้าง เพื่อนำมาอภิปราย
ในชัน
้ เรียนชั่วโมงต่อไป
ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate): 20 นาที - แบบฝึ กหัด
1. นักเรียนทำแบบฝึ กหัดทบทวนเนื้อหาการ เรื่อง
เรียนรู้ สารละลาย
2. นักเรียนส่งสมุดบันทึก ใบบันทึกกิจกรรม - ผลงาน
แบบฝึ กหัด

ชั่วโมงที่ 3
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) : 10 - สังเกต - กิจกรรม
นาที พฤติกรรม จิตศึกษา
1. เตรียมความพร้อมโดยกิจกรรมจิตศึกษา การมีส่วน
Brain gym เพื่อเตรียมสติและความพร้อมใน ร่วม
การเรียนรู้ของผู้เรียน
2. ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับองค์ประกอบของ
สารละลาย
3. จากนัน
้ สร้างสถานการณ์และตัง้ คำถาม
กระตุ้นความสนใจ
ของนักเรียนเกี่ยวกับส่วนประกอบของ
สารละลายแอลกอฮอล์
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขึน
้ อยู่กับ
ดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น สารละลาย
แอลกอฮอล์ หรือแอลกอฮอล์ล้างแผลที่เรา
รู้จัก ประกอบด้วย แอลกอฮอล์ 70 และน้ำ
กลั่น 30 )
 นักเรียนคิดว่าสารที่ละลายในสารละลาย
แอลกอฮอล์ สารใดเป็ นตัวถูกละลาย สารใด
เป็ นตัวทำละลาย
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขึน
้ อยู่กับ
ดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น
น้ำกลั่นเป็ นตัวถูกละลาย แอลกอฮอล์เป็ นตัว
ทำละลาย)
 ทำไมจึงเป็ นเช่นนัน

(แนวตอบ : น้ำกลั่นเป็ นตัวถูกละลายเพราะมี
ปริมาณน้อยกว่า แอลกอฮอล์จึงเป็ นตัวทำ
ละลาย)
 ถ้าสารที่นำมาผสมกันมีสถานะเดียวกัน
เราจะทราบได้อย่างไรว่าสารใดเป็ นสารตัวถูก
ละลาย สารใดเป็ นสารตัวทำละลาย
(แนวตอบ : เมื่อสารที่นำมาผสมกันเป็ น
สารละลาย ถ้าสารมีสถานะเดียวกัน สารตัว
ถูกละลายจะมีปริมาณน้อยกว่า สารตัวทำ
ละลาย)
4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายร่วมกันในชัน

เรียน
5. ครูติดหัวข้อการเรียนรู้ องค์ประกอบของ
สารละลาย
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ขัน
้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Explore) : 10 - การมีส่วน กิจกรรม
นาที ร่วมใน บิงโกองค์
1. ครูนำเสนอกิจกรรม บิงโกองค์ประกอบของ กิจกรรมการ ประกอบ
สารละลาย เรียนรู้ ของ
2. นักเรียนรับใบบันทึกกิจกรรมเรื่ององค์ - การตอบ สารละลาย
ประกอบของสารละลาย คำถาม
3. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของ
สารละลายจากหนังสือเรียน
4. นักเรียนและรู้ร่วมกันอภิปรายองค์ประกอบขอ
สารละลายและ
บันทึกลงในใบกิจกรรม
 น้ำอัดลม ได้แก่ น้ำ สีผสมอาหาร กรด
แอซีติก น้ำตาล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
 ทองเหลือง ได้แก่ ทองแดงและสังกะสี
 นาก ได้แก่ ทองแดง ทองคำและเงิน
 น้ำเกลือ ได้แก่ เกลือและน้ำ
 สารละลายแอลกอฮอล์ ได้แก่ น้ำและ
แอลกอฮอล์
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
 อากาศ ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน แก๊ส
ออกซิเจน แก๊สอาร์กอน แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และอื่นๆ
 แก๊สหุงต้ม ได้แก่ แก๊สบิวเพนและแก๊ส
โพรเพน
5. นักเรียนนำสารที่ได้จากการอภิปรายมาเติมลง
ในตารางบิงโก
6. ครูแนะนำรายละเอียดกติกาการบิกโกพอ
สังเขป
7. ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม
ขัน
้ ที่ 3 อภิปรายและลงข้อสรุป (Explain) : - การมีส่วน
10 นาที ร่วมการตอบ
1. นักเรียนและครู ร่วมกันสรุปผลและองค์ความ คำถาม
รู้ของการทำกิจกรรมการทดลองเรื่อง องค์
ประกอบของสารละลาย
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับองค์ประกอบของ
สารละลาย
(แนวตอบ :
สารละลาย (solution) หมายถึง สารเนื้อ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
เดียวที่ไม่บริสุทธิ ์
เกิดจากสารตัง้ แต่ 2 ชนิดขึน
้ ไปมารวมกัน
สารละลาย
แบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ
 ตัวทำละลาย (solvent) หมายถึง สารที่มี
ความสามารถ ในการทำให้สารต่างๆ
ละลายได้ โดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมีกับสาร
นัน

 ตัวละลาย (solute) หมายถึง สารที่ถูกตัว
ทำละลายละลายให้กระจายออกไปทั่วใน
ตัวทำละลายโดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมีต่อกัน
การละลายของสารในตัวทำละลาย

เราสามารถทราบได้ว่าสารละลายแต่ละ
ชนิดนัน
้ มีสารใดเป็ น
ตัวทำละลายและมีสารใดเป็ นตัวละลาย โดยมี
วิธีการสังเกต
ตัวทำละลายและตัวละลายดังนี ้
1. ใช้สถานะของสารละลายเป็ นเกณฑ์
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ถ้าสารละลายนัน
้ เกิดจากสารที่มีสถานะต่าง
กันละลายเป็ นเนื้อเดียวกัน สารใดที่มีสถานะ
เดียวกันกับสารละลาย สารนัน
้ จะเป็ นตัวทำ
ละลาย
- น้ำเกลือ ประกอบด้วยน้ำเป็ นตัวทำ
ละลายและเกลือเป็ นตัวละลาย
- น้ำเชื่อม ประกอบด้วยน้ำเป็ นตัวทำ
ละลายและน้ำตาลทรายเป็ นตัวละลาย
- น้ำด่างทับทิม ประกอบน้ำเป็ นตัวทำ
ละลายและด่างทับทิมเป็ นตัวละลาย
- น้ำอัดลม ประกอบด้วยน้ำเป็ นตัวทำ
ละลายและ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็ นตัวละลาย
2. ใช้ปริมาณของสารแต่ละชนิดเป็ น
เกณฑ์ ถ้าสารละลายนัน
้ เกิดจากสารที่มีสถานะ
เดียวกันละลายเป็ นเนื้อเดียวกัน สารใดที่มี
ปริมาณมากกว่า สารนัน
้ จะเป็ นตัวทำละลาย
เช่น
- ทองเหลือง ประกอบด้วยทองแดง
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
เป็ นตัวทำละลายและสังกะสีเป็ นตัวละลาย
- นิโครม ประกอบด้วยนิกเกิลเป็ นตัว
ทำละลายและโครเมียมเป็ นตัวละลาย
- นาก ประกอบด้วยทองแดงเป็ นตัว
ทำละลายและทองคำ
เป็ นตัวละลาย
- สัมฤทธิ ์ ประกอบด้วยทองแดงเป็ น
ตัวทำละลายและดีบุก
เป็ นตัวละลาย
5. นักเรียนบันทึกองค์ความรู้ที่ได้ลงในสมุด
บันทึก
ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) : 5 - สมุดบันทึก
นาที
1. ครูตงั ้ คำถามเกี่ยวกับสารละลายเชื่อมโยงกับ
ชีวิตประจำวัน
ของนักเรียน
 ถ้าสารละลายที่เป็ นโลหะ ต้องทำอย่างไร
ให้เป็ นสารละละลาย
(แนวคำตอบ : นำไปหลอมรวมกัน)
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
2. ครูขยายความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะ
ของสารเพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกขึน

ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate): 10 นาที - ผลงาน
1. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. นักเรียนส่งสมุดบันทึก ใบบันทึกกิจกรรม
แบบฝึ กหัด

9. การวัดและประเมินผล

เกณฑ์การ
สิ่งที่ต้องการวัด เครื่องมือ วิธีการวัด
ประเมินผล
ด้านความรู้ : K แบบทดสอบ แบบประเมิน 7 คะแนน
อธิบายองค์ ผลการทดสอบ ขึน
้ ไปผ่าน
ประกอบและระบุตัว
ทำละลายและตัว
ละลายในสารละลาย
ได้
ด้านทักษะ : P สมุด แบบประเมิน 4 คะแนน
แยกองค์ ใบบันทึก ผลงาน ขึน
้ ไปผ่าน
ประกอบของ กิจกรรม
สารละลายได้

ด้านคุณธรรม การสังเกต แบบประเมิน 4 คะแนน


จริยธรรม : A พฤติกรรม การสังเกต ขึน
้ ไปผ่าน
ใฝ่ เรียนรู้และมุ่ง พฤติกรรม
มั่นในการทำงาน
10. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

11. ปั ญหาและอุปสรรค/แนวทางแก้ไขปั ญหา


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
12. ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

…………………………………
………………
(นายจีรวัฒ หวังสิน)
ผู้สอน
/ /

ความคิดเห็นของครูพี่เลีย
้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ……………………
…………………….........
(………………………
……………………….)
ครูพี่เลีย
้ ง

ความคิดเห็นของครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ………………………
…………………..…
(………………………
……………………….)
ครูหัวหน้ากลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ…………………………......
........……….....

(……………….………………………………….)

ผู้อำนวยการโรงเรียน
ปลาค้าววิทยานุสรณ์
แบบประเมินผลการทดสอบหลังเรียน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง สารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
อัตนัย
ปรนัย

(3


(7

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
อัตนัย
ปรนัย

(3


(7

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7 – 10 ผ่าน
ต่ำกว่า 7 ไม่ผ่าน
แบบประเมินผลงาน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง สารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด

รายการ
ประเมิน ระดับ
คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา

ใบบันทึก
กิจกรรม
(6)
สมุด พ

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. สมุด สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี
ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย
จดบันทึก จดบันทึกการ จดบันทึก
การแสดงความ แสดงความคิด การแสดงความ
คิดเห็นแต่ละ เห็นแต่ละ คิดเห็นแต่ละ
คำถามครบถ้วน คำถามไม่ครบ คำถามเล็กน้อย
ถ้วน
2.ใบบันทึก บันทึกใบ บันทึกใบ บันทึกใบ
กิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม
ครบถ้วนและทำ ครบถ้วน และ และแบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัดถูก แบบฝึ กหัดไม่ ไม่ถก
ู ต้องครบ
ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถ้วน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง สารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
การทำงาน
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน
การ

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ใฝ่ เรียนรู้ ตัง้ ใจเรียนและ ตัง้ ใจเรียน ไม่ตงั ้ ใจเรียน
แสวงหาความรู้ และแสวงหา และแสวงหา
จากแหล่งเรียนรู้ ความรู้จาก ความรู้จาก
ต่างๆอย่าง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
สม่ำเสมอ ต่างๆบางครัง้ เพียง
แหล่งเดียว
2. มีความมุ่ง ทำงานด้วย ทำงานด้วย พยายามให้
มั่นในการ ความขยัน อดทน ความขยัน งานสำเร็จตาม
ทำงาน และพยายามให้ อดทน และ เป้ าหมาย
งานสำเร็จตาม พยายามให้งาน
เป้ าหมายในเวลา สำเร็จตามเป้ า
ที่กำหนด หมาย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินผลการทดสอบหลังเรียน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง สารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
อัตนัย
ปรนัย

(3


(7

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
อัตนัย
ปรนัย

(3


(7

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7 – 10 ผ่าน
ต่ำกว่า 7 ไม่ผ่าน
แบบประเมินผลงาน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง สารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด

รายการ
ประเมิน ระดับ
คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. สมุด สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี
ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย
จดบันทึก จดบันทึกการ จดบันทึก
การแสดงความ แสดงความคิด การแสดงความ
คิดเห็นแต่ละ เห็นแต่ละ คิดเห็นแต่ละ
คำถามครบถ้วน คำถามไม่ครบ คำถามเล็กน้อย
ถ้วน
2. ใบบันทึก บันทึกใบ บันทึกใบ บันทึกใบ
กิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม
ครบถ้วนและทำ ครบถ้วน และ และแบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัดถูก แบบฝึ กหัดไม่ ไม่ถก
ู ต้องครบ
ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถ้วน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง สารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
การทำงาน
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน
การ

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ใฝ่ เรียนรู้ ตัง้ ใจเรียนและ ตัง้ ใจเรียน ไม่ตงั ้ ใจเรียน
แสวงหาความรู้ และแสวงหา และแสวงหา
จากแหล่งเรียนรู้ ความรู้จาก ความรู้จาก
ต่างๆอย่าง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
สม่ำเสมอ ต่างๆบางครัง้ เพียง
แหล่งเดียว
2. มีความมุ่ง ทำงานด้วย ทำงานด้วย พยายามให้
มั่นในการ ความขยัน อดทน ความขยัน งานสำเร็จตาม
ทำงาน และพยายามให้ อดทน และ เป้ าหมาย
งานสำเร็จตาม พยายามให้งาน
เป้ าหมายในเวลา สำเร็จตามเป้ า
ที่กำหนด หมาย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

ชื่อ.......................................................................................

แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน
สารละลาย
ตอนที่ 1 ปรนัยจำนวน 7 ข้อ คะแนนเต็ม 7 คะแนน

"สารที่ประกอบด้วยสารอย่างน้อย
ค. สารเนื้อผสม
2 ชนิด
ง. สารละลาย

ข้อที่ 2 : สารเนื้อเดียวแตกต่าง
ข้อที่ 1 : ข้อความนีม
้ ีความหมาย จากสารละลายใน
ตรงกับข้อใด ข้อใดต่อไปนี ้
ก. สารบริสุทธิ ์ ก. สารเนื้อเดียวมีอยู่ได้หลาย
ข. สารละลายน้ำ สถานะ
แต่สารละลายต้องอยู่ได้ในสถานะ ข้อที่ 4 : สารใดแตกต่างไปจาก
ของเหลว กลุ่มอื่น
ข. สารเนื้อเดียวอาจประกอบ ก. น้ำเกลือ น้ำอัดลม น้ำเชื่อม
ด้วยสารเพียงอย่างเดียวหรือหลาย ข. ทองแดง ทองคำ สังกะสี
สารก็ได้ แต่สารละลาย ค. ทองเหลือง ทองสำริด นาก
ต้องประกอบขึน
้ ด้วยสารอย่างน้อย ง. ทิงเจอร์ไอโอดีน น้ำโซดา
2 ชนิด แก๊สหุงต้ม
ค. สารเนื้อเดียวเป็ นสารไม่
ข้อที่ 5 : ทองเหลืองมีสารองค์
บริสุทธิ ์ แต่สารละลายเป็ นสาร
ประกอบใด
บริสุทธิ ์
ก. สังกะสี – ทองแดง
ง. สารเนื้อเดียวอาจมองเห็น
ข. ทองแดง – สังกะสี
ลักษณะเนื้อสารว่าส่วนใดเป็ นสาร
ค. ทองแดง – ทองคำ
ใด แต่สารละลายไม่สามารถมอง
ง. ทองเหลือง – ทองแดง
เห็นได้ว่าเนื้อสารส่วนใดเป็ นสารใด
ข้อที่ 6 : ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ทำให้เกิด
ข้อที่ 3 : ในสารละลายทุกชนิด
สารละลาย
ประกอบด้วย
สารประเภทใดบ้าง ก. น้ำ + โซเดียมคลอไรด์
ข. น้ำ + คอปเปอร์ซัลเฟต
ก. ตัวถูกละลาย – ตัวทำละลาย
ค. เอทานอล + น้ำตาล
ข. ตัวละลาย – ตัวไม่ละลาย
ง. น้ำ + คลอรีน
ค. ตัวทำละลาย – ตัวชอบ
ละลาย ข้อที่ 7 : แอลกอฮอล์ล้างแผลเป็ น
ง. ตัวละลาย – ตัวสารละลาย สารละลายที่เกิดจากแอลกอฮอล์
70 กับน้ำกลั่น 30 ข้อใดเป็ น
สารตัวทำละลาย
ก. แอลกอฮอล์ 50 

ข. แอลกอฮอล์ 70 

ค. น้ำกลั่น 30 

ง. น้ำกลั่น 50 

ตอนที่ 2 อัตนัยจำนวน 1 ข้อ คะแนนเต็ม 3 คะแนน


คำชีแ
้ จง : จงเติมคำในช่องว่างให้ถูกต้อง

การแข็งตัว การหลอมเหลว การระเหิด

การควบแน่น การระเหย การระเหิด


กลับ
แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 (ว 30262)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย เรื่อง สภาพการละลายได้ของสาร
เวลา 2 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายจีรวัฒ หวังสิน
วันที่ 26 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2563
โรงเรียนปลาค้าววิทยานุสรณ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร


ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและ
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลาย และ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี

ตัวชีว
้ ัด

ว 2.1 ม.2/4 ออกแบบการทดลองและทดลองในการ


อธิบายผลของชนิดตัวละลาย
ชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมทัง้ อธิบาย
ผลของความดันที่มีต่อ
สภาพละลายได้ของสาร โดยใช้สารสนเทศ

2. สาระสำคัญ

สภาพละลายได้ หมายถึง ความสามารถในการละลายได้ของตัว


ละลายในตัวทำละลายจนเป็ นสารละลายอิ่มตัว ณ อุณหภูมิหนึ่ง ๆ การ
ละลายของตัวละลายในตัวทำละลายขึน
้ อยู่กับปั จจัยต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็ น อุณหภูมิ ชนิดของตัวทำละลาย ขนาดของตัวทำละลาย
ความดัน การคน การเขย่า การปั่ น
และการเหวี่ยง

3.จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีว
้ ัด
 ด้านความรู้ : K
3.1 อธิบายความหมายของคำว่าสภาพละลายได้ของสารและปั จจัย
ที่มีผลต่อการละลายของสารได้
 ด้านทักษะ : P
3.2 ออกแบบการทดลองและทดลองปั จจัยที่มีผลต่อการละลายของ
สารได้
 ด้านคุณธรรม จริยธรรม : A
3.3 ใฝ่ เรียนรู้และมุ่งมั่นในการทำงาน

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สภาพการละลายได้ของสาร

5. สมรรถนะผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์
6.2 ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
6.3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่ เรียนใฝ่ รู้
7. ภาระงาน/ชิน
้ งาน
7.1 ภาระงาน
1. ใบบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ สภาพการละลายได้ของสาร
2. แบบฝึ กหัด เรื่อง สภาพการละลายได้ของสาร

8. กิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง


 วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es
(5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1

สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) : 15 - สังเกต - กิจกรรม
นาที พฤติกรรม จิตศึกษา
ถ้าครูมีน้ำอยู่ครึ่งแก้ว และมีเกลืออยู่ 1
การมีส่วน
กิโลกรัม นักเรียนคิดว่าจะละลายเกลือได้หมด
ร่วม
หรือไม่
(แนวตอบ : ไม่หมด)
4. ครูสร้างสถานการณ์และตัง้ ถามกระตุ้นให้เกิด
การคิดวิเคราะห์
 ถ้าไม่หมด แล้วจะสามารถละลายเกลือได้
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
เท่าไหร่
(แนวตอบ : เกลือจะสามารถละลายในน้ำได้
จนกว่าจะเห็นเม็ดเกลือที่ไม่ละลาย)
 เราจะสังเกตได้อย่างไรว่า น้ำไม่สามารถ
ละลายเกลือได้อีก
(แนวตอบ : สังเกตเห็นเม็ดเกลือที่ก้นภาชนะ)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายร่วมกันในชัน

เรียน
6. ครูติดหัวข้อการเรียนรู้ สภาพการละลายได้
ของสาร

ขัน
้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Explore) : 40 - การมีส่วน กิจกรรม
นาที ร่วมใน การทดลอง
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม ตัวแทนมารับใบ กิจกรรมการ เรื่อง สภาพ
บันทึกกิจกรรม เรียนรู้ การละลาย
2. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับสภาพการละลายได้ - การตอบ ได้ของสาร
ของสารจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชัน
้ คำถาม
มัธยมศึกษาปี ที่ 2
3. ครูนำเสนอกิจกรรมการทดลองเรื่อง สภาพ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
การละลายได้ของสาร
และแนะนำรายละเอียดกิจกรรรมพอสังเขป
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบบันทึกกิจกรรม
และการทดลอง
เรื่องสภาพการละลายได้ของสารและออกแบบ
ตารางบันทึกผลร่วมกัน
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำการทดลองและ
อภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
 สภาพการละลายได้ของน้ำตาลที่อุณหภูมิ
ห้อง
1. ตวงน้ำสะอาดปริมาตร 200 ลบ.ซ.ม.
ใส่ในบีกเกอร์
2. ชั่งน้ำตาลก่อนการทดลองและบันทึก
ผล
3. ค่อยๆ ตักน้ำตาลลงในบีกเกอร์แล้ว
คนให้ละลาย จนกว่าจะสังเกตเม็ด
น้ำตาลที่ก้นบีกเกอร์
4. ชั่งน้ำตาลหลังการทดลองและบันทึก
ผล
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
 สภาพการละลายได้ของน้ำตาลเมื่อเพิ่ม
อุณหภูมิ
1.นำบีกเกอร์สารละลายน้ำตาลที่
อุณหภูมิห้องมาให้
ความร้อน
2.ค่อยๆ ใส่น้ำตาลลงไปทีละน้อย คนให้
ละลาย จนกว่าจะสังเกตเม็ดน้ำตาลที่
ไม่ละลายอยู่ก้นบีกเกอร์
3.ชั่งน้ำตาลที่เหลือจากการทดลองและ
บันทึกผล

ขัน
้ ที่ 3 อภิปรายและลงข้อสรุป (Explain) : - การมีส่วน - วิดีทัศน์
20 นาที ร่วมการตอบ สภาพการ
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง คำถาม ละลาย
และตรวจสอบ ได้ของสาร
ความถูกต้องของการบันทึกกิจกรรมโดย
อภิปรายร่วมกันในชัน
้ เรียน
2. นักเรียนและครู ร่วมกันสรุปผลและองค์ความ
รู้ของการทำกิจกรรมการทดลองเรื่อง สภาพ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
การละลายได้ของสาร
3. ครูนำเสนอวิดีทัศน์เกี่ยวกับสภาพการละลาย
ได้ของสาร ให้นักเรียนได้เข้าใจมากขึน

(https://www.youtube.com/)
4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารละลาย
(แนวตอบ :
 สภาพละลายได้ เป็ นคุณสมบัติที่บ่งบอก
ถึงความสามารถในการละลายของสารละลาย
ชนิดต่างๆ จนทำให้เกิดสารละลายอิ่มตัว
สารละลายใดมีค่าสภาพละลายได้สูง
สารละลายนัน
้ ละลายได้ง่าย

 สารละลายอิ่มตัว (saturated solution)


คือ สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่เต็มความจุ
ของตัวทำละลายแต่ละชนิด ณ อุณหภูมิ
ที่กำหนด
 สารละลายไม่อิ่มตัว (unsaturated
solution) คือ สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่
น้อยกว่าความจุของตัวทำละลาย ณ อุณหภูมิ
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ที่กำหนด

 ปั จจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร
- อุณหภูมิ (temperature)
- ชนิดของตัวถูกละลาย
- ชนิดของตัวทำละลาย
- ความดัน
- การคน การเขย่า หรือการปั่ นเหวี่ยง)
5. นักเรียนบันทึกองค์ความรู้ที่ได้ลงในสมุด
บันทึก
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) : 15 - สมุดบันทึก
นาที
1. ครูตงั ้ คำถามเกี่ยวกับสารละลายเชื่อมโยงกับ
ชีวิตประจำวัน
ของนักเรียน
 นักเรียนคิดว่าสภาพการละลายได้ของสาร
แต่ละชนิดจะมีค่าเท่ากันหรือไม่ เพราะอะไร
(แนวคำตอบ : ไม่เท่ากัน ขึน
้ อยู่กับประเภท
ของตัวถูกละลาย
ตัวทำละลาย อุณหภูมิ ความดัน )
2. ครูให้การบ้านนักเรียนไปสืบค้นเกี่ยวกับ
สภาพการละลายได้ของสารที่นักเรียนสนใจมา
คนละ 1 ชนิด เพื่ออภิปรายกับเพื่อนในชัน
้ เรียน
ต่อไป
ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate): 20 นาที - แบบฝึ กหัด
1. นักเรียนทำแบบฝึ กหัดทบทวนเนื้อหาการ - แบบ
เรียนรู้ ทดสอบ
2. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หลังเรียน
3. นักเรียนส่งสมุดบันทึก ใบบันทึกกิจกรรม - ผลงาน
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
แบบฝึ กหัด

9. การวัดและประเมินผล

เกณฑ์การ
สิ่งที่ต้องการวัด เครื่องมือ วิธีการวัด
ประเมินผล
ด้านความรู้ : K แบบทดสอบ แบบประเมิน 7 คะแนน
อธิบายความ ผลการทดสอบ ขึน
้ ไปผ่าน
หมายของ
คำว่าสภาพละลาย
ได้ของสารและปั จจัย
ที่มีผลต่อการละลาย
ของสารได้
ด้านทักษะ : P สมุด แบบประเมิน 4 คะแนน
ออกแบบการ ใบบันทึก ผลงาน ขึน
้ ไปผ่าน
ทดลองและทดลอง กิจกรรม
ปั จจัยที่มีผลต่อการ
ละลายของสารได้
ด้านคุณธรรม การสังเกต แบบประเมิน 4 คะแนน
จริยธรรม : A พฤติกรรม การสังเกต ขึน
้ ไปผ่าน
ใฝ่ เรียนรู้และมุ่ง พฤติกรรม
มั่นในการทำงาน
10. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

11. ปั ญหาและอุปสรรค/แนวทางแก้ไขปั ญหา


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
12. ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

…………………………………
………………
(นายจีรวัฒ หวังสิน)
ผู้สอน
/ /

ความคิดเห็นของครูพี่เลีย
้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ……………………
…………………….........
(………………………
……………………….)
ครูพี่เลีย
้ ง

ความคิดเห็นของครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ………………………
…………………..…
(………………………
……………………….)
ครูหัวหน้ากลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ…………………………......
........……….....

(……………….………………………………….)

ผู้อำนวยการโรงเรียน
ปลาค้าววิทยานุสรณ์
แบบประเมินผลการทดสอบหลังเรียน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง สภาพการ
ละลายได้ของสาร
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
คะแนน)
อัตนัย
(10

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด
รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)

คะแนน)
อัตนัย
(3

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7 – 10 ผ่าน
ต่ำกว่า 7 ไม่ผ่าน
แบบประเมินผลงาน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง สภาพการ
ละลายได้ของสาร
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด

รายการ
ประเมิน ระดับ
คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

ที่ รายชื่อ รายการ คะแนนรวม ระดับ


ประเมิน
คุณภา

ใบบันทึก
กิจกรรม
(6)

สมุด

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. สมุด สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี
ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย
จดบันทึก จดบันทึกการ จดบันทึก
การแสดงความ แสดงความคิด การแสดงความ
คิดเห็นแต่ละ เห็นแต่ละ คิดเห็นแต่ละ
คำถามครบถ้วน คำถามไม่ครบ คำถามเล็กน้อย
ถ้วน
2. ใบบันทึก บันทึกใบ บันทึกใบ บันทึกใบ
กิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม
ครบถ้วนและทำ ครบถ้วน และ และแบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัดถูก แบบฝึ กหัดไม่ ไม่ถก
ู ต้องครบ
ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถ้วน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง สภาพการ
ละลายได้ของสาร
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
การทำงาน
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน


1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา

ใฝ่ เรียนรู้
(6)

มุง่ มั่นใน
การ

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ใฝ่ เรียนรู้ ตัง้ ใจเรียนและ ตัง้ ใจเรียน ไม่ตงั ้ ใจเรียน
แสวงหาความรู้ และแสวงหา และแสวงหา
จากแหล่งเรียนรู้ ความรู้จาก ความรู้จาก
ต่างๆอย่าง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
สม่ำเสมอ ต่างๆบางครัง้ เพียง
แหล่งเดียว
2. มีความมุ่ง ทำงานด้วย ทำงานด้วย พยายามให้
มั่นในการ ความขยัน อดทน ความขยัน งานสำเร็จตาม
ทำงาน และพยายามให้ อดทน และ เป้ าหมาย
งานสำเร็จตาม พยายามให้งาน
เป้ าหมายในเวลา สำเร็จตามเป้ า
ที่กำหนด หมาย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินผลการทดสอบหลังเรียน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง สภาพการ
ละลายได้ของสาร
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด
รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)

คะแนน)
อัตนัย
(10

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)

คะแนน)
อัตนัย
(10

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7 – 10 ผ่าน
ต่ำกว่า 7 ไม่ผ่าน

แบบประเมินผลงาน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง สภาพการ
ละลายได้ของสาร
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด

ที่ รายชื่อ รายการ คะแนนรวม ระดับ


ประเมิน (6) คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม
สมุด

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา

ใบบันทึก
กิจกรรม
(6)

สมุด

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. สมุด สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี
ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย
จดบันทึก จดบันทึกการ จดบันทึก
การแสดงความ แสดงความคิด การแสดงความ
คิดเห็นแต่ละ เห็นแต่ละ คิดเห็นแต่ละ
คำถามครบถ้วน คำถามไม่ครบ คำถามเล็กน้อย
ถ้วน
2.ใบบันทึก บันทึกใบ บันทึกใบ บันทึกใบ
กิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม
ครบถ้วนและทำ ครบถ้วน และ และแบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัดถูก แบบฝึ กหัดไม่ ไม่ถก
ู ต้องครบ
ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถ้วน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม
วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง สภาพการ
ละลายได้ของสาร
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา

การทำงาน
ใฝ่ เรียนรู้
(6)

มุง่ มั่นใน

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน
การ

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ใฝ่ เรียนรู้ ตัง้ ใจเรียนและ ตัง้ ใจเรียน ไม่ตงั ้ ใจเรียน
แสวงหาความรู้ และแสวงหา และแสวงหา
จากแหล่งเรียนรู้ ความรู้จาก ความรู้จาก
ต่างๆอย่าง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
สม่ำเสมอ ต่างๆบางครัง้ เพียง
แหล่งเดียว
2. มีความมุ่ง ทำงานด้วย ทำงานด้วย พยายามให้
มั่นในการ ความขยัน อดทน ความขยัน งานสำเร็จตาม
ทำงาน และพยายามให้ อดทน และ เป้ าหมาย
งานสำเร็จตาม พยายามให้งาน
เป้ าหมายในเวลา สำเร็จตามเป้ า
ที่กำหนด หมาย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ชื่อ.......................................................................................
ไม่ผ่าน

แบบทดสอบ

สภาพการละลายได้ของ

คำชีแ
้ จง : จงโยงเส้นความสัมพันธ์ของข้อความให้ถูกต้อง

สารละลายที่มีตัวถูก
สภาพการละลายได้ ละลายอยู่เต็มความจุของ
ของสาร ตัวทำละลายแต่ละชนิด

ชนิดของตัวถูกละลาย
สารละลายอิ่มตัว

ความสามารถในการ
ละลายของสารละลาย
สารละลายไม่อิ่มตัว
ชนิดต่างๆ ในตัวทำ

ชนิดของตัวทำละลาย
ปั จจัยในการละลาย
ของสาร

การคน การเขย่า หรือ


การปั่ นเหวี่ยง

สารละลายที่มีตัวถูก
ละลายอยู่เต็มความจุของ
ตัวทำละลายแต่ละชนิด

ความดัน
แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 (ว 30262)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย เรื่อง ความเข้มข้นของ
สารละลายและการนำไปใช้ เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายจีรวัฒ หวังสิน
วันที่ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2563
โรงเรียนปลาค้าววิทยานุสรณ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร


ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและ
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลาย และ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี

ตัวชีว
้ ัด

ว 2.1 ม.2/5 ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายใน


หน่วยความเข้มข้นเป็ นร้อยละ
ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร

ว 2.1 ม.2/6 ตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้


เรื่องความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยยกตัวอย่างการใช้สารละลาย
ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและปลอดภัย

2. สาระสำคัญ

ความเข้มข้นของสารละลายเป็ นค่าที่แสดงปริมาณของตัวละลายที่
ละลายอยู่ในตัวทำละลายหรือในสารละลาย ได้แก่ ร้อยละโดยมวล เป็ น
หน่วยที่บอกถึงปริมาณตัวละลายเป็ นกรัมที่ละลาย
ในสารละลาย 100 กรัม นิยมใช้กับสารละลายที่เป็ นของแข็ง ร้อยละโดย
ปริมาตร เป็ นหน่วยที่บอกถึง
ปริมาตรของตัว ละลายเป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ละลายในสารละลาย
100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
นิยมใช้กับสารละลายที่เป็ นของเหลว หรือแก๊ส และร้อยละโดยมวลต่อ
ปริมาตรเป็ นหน่วยที่บอกถึง
ปริมาณของตัวละลายเป็ นกรัมที่ละลายในสารละลาย 100 ลูกบาศก์
เซนติเมตร นิยมใช้กับตัวละลาย
ที่เป็ นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็ นของเหลว

สารละลายถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งจะใช้ที่ความเข้มข้นแตก
ต่างกัน เช่น น้ำส้มสายชู
มีความเข้มข้นของกรดแอซีติกร้อยละ 4-18 โดยปริมาตร แอลกอฮอล์ล้าง
แผลมีความเข้มข้นของเอทิล

3.จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชีว
้ ัด
 ด้านความรู้ : K
3.1 อธิบายความหมายและคำนวณหาความเข้มข้นของสารละลาย
ในหน่วยร้อยละโดยมวล
ร้อยละโดยปริมาตร และร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร
3.2 อธิบายและระบุความเข้มข้นของสารละลายในการนำ
สารละลายไปใช้ประโยชน์
 ด้านทักษะ : P
3.2 เตรียมสารละลายในหน่วยร้อยละโดยปริมาตรและร้อยละโดย
มวลต่อปริมาตรได้
 ด้านคุณธรรม จริยธรรม : A
3.3 ใฝ่ เรียนรู้และมุ่งมั่นในการทำงาน

4. สาระการเรียนรู้
4.1 ความเข้มข้นของสารละลาย

5. สมรรถนะผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์
6.2 ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
6.3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่ เรียนใฝ่ รู้

7. ภาระงาน/ชิน
้ งาน
7.1 ภาระงาน
1. ใบบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ความเข้มข้นของสารละลาย
2. แบบฝึ กหัด เรื่อง ความเข้มข้นของสารละลาย
8. กิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง
 วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es
(5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) : 15 - สังเกต - กิจกรรม
นาที พฤติกรรม จิตศึกษา
1. เตรียมความพร้อมโดยกิจกรรมจิตศึกษา การมีส่วน
Brain gym เพื่อเตรียมสติและความพร้อมใน ร่วม
การเรียนรู้ของผู้เรียน
2. ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสภาพการละลาย
ได้ของสาร
3. จากนัน
้ ครูตงั ้ คำถามกระตุ้นความสนใจของ
นักเรียนเกี่ยวกับ
การทดลองสภาพการละลายได้ของสาร
(แนวตอบ : การเอาน้ำตาลมาละลายในน้ำ
สะอาด)
4. ครูตงั ้ ถามกระตุ้นให้เกิดการคิดวิเคราะห์
 นักเรียนคิดว่า สารละลายน้ำตาลที่เรา
ทดลองไปในวันนัน

มีความเข้มข้นเท่าใด
(แนวตอบ : ไม่ทราบ แต่ทราบปริมาตรน้ำ
และปริมาณน้ำตาลที่ใช้)
 นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถหาความเข้ม
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ข้นของสารละลายน้ำได้ได้อย่างไร
(แนวตอบ : ใช้การคำนวณ )
นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายร่วมกันในชัน

เรียน
5. ครูติดหัวข้อการเรียนรู้ ความเข้มข้นของ
สารละลาย
ขัน
้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Explore) : 40 - การมีส่วน กิจกรรม
นาที ร่วมใน ความเข้ม
1. นักเรียนจับคู่ ตัวแทนมารับใบบันทึกกิจกรรม กิจกรรมการ ข้นของ
2. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความเข้มข้นของ เรียนรู้ สารละลาย
สารละลายในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์พ้น
ื - การตอบ
ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 คำถาม
3. ครูนำเสนอกิจกรรมเรื่อง ความเข้มข้นของ
สารละลาย และแนะนำรายละเอียดกิจกรรรม
พอสังเขป
4. นักเรียนศึกษาใบบันทึกกิจกรรม เรื่องความ
เข้มข้นของสารละลาย
5. นักเรียนแต่ละคู่ร่วมกันอภิปรายและคำนวณ
หาความเข้มข้นของสาร
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
 ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อย
ละโดยมวล
 ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อย
ละโดยปริมาตร
 ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อย
ละโดยมวลต่อปริมาตร
ความเข้มข้นของสารละลายเป็ นการ - การมีส่วน
บอกถึงอัตราส่วนปริมาณตัวถูกละลายกับ ร่วมการตอบ
ปริมาณตัวทำละลายในสารละลายหนึ่ง ๆ คำถาม
อัตราส่วนดังกล่าวจะมีได้ 2 ลักษณะ คือ
1.ปริมาณของตัวถูกละลายใน
สารละลายทัง้ หมด
2.ปริมาณของตัวถูกละลายในตัวทำ
ละลายทัง้ หมด
 ร้อยละโดยมวล (w/w) หมายถึงมวลของ
ตัวถูกละลายต่อมวลของสารละลาย 100
หน่วย มักใช้กับตัวถูกละลายที่เป็ นของแข็ง
 ร้อยละโดยปริมาตร (V/V) หมายถึง
ปริมาตรของตัวถูกละลายต่อปริมาตร
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ทัง้ หมดของสารละลาย 100 หน่วย มักใช้
กับตัวถูกละลายและตัวทำละลายที่เป็ น
ของเหลว
 ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (w/V) หมาย
ถึงมวลของตัวถูกละลายในสารละลาย
ทัง้ หมด 100 หน่วยปริมาตรหน่วยชนิดนี ้
มักใช้กับสารละลายที่ตัวถูกละลายเป็ น
ของแข็งละลายใน
ตัวทำละลายที่เป็ นของเหลว)
ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) : 15 - สมุดบันทึก
นาที
1. ครูตงั ้ โจทย์ปัญหาในการเตรียมสารละลาย
เพื่อให้นักเรียนคำนวณหาปริมาตรของสารตัว
ทำละละลาย สารตัวถูกละลาย เพื่อสามารถ
นำไปใช้ในการเตรียมสารละลาย
 คำนวณหาปริมาตรสารตัวทำละลาย
 คำนวณหาปริมาณสารตัวถูกละลาย

ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate): 20 นาที - แบบฝึ กหัด
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
1. นักเรียนทำแบบฝึ กหัดทบทวนเนื้อหาการ เรื่องความ
เรียนรู้ เข้มข้นของ
2. นักเรียนส่งสมุดบันทึก ใบบันทึกกิจกรรม สารละลาย
แบบฝึ กหัด - ผลงาน

ชั่วโมงที่ 3

สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
น้ำยาล้างห้องน้ำ ประกอบด้วย - สังเกต - กิจกรรม
Hydrochloric acid และ Ethoxylate พฤติกรรม จิตศึกษา
Alcohol) การมีส่วน
ร่วม
 แล้วนักเรียนคิดว่าถ้ามีความเข้มข้นของ
กรดสูง จะเป็ นอันตรายต่อผู้ใช้หรือไม่
(แนวตอบ : เป็ นอันตราย เพราะมีฤทธิ ์
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
กัดกร่อน อาจทำให้
เกิดการระคายเคืองผิวหนังได้)
 แล้วเราจะมีวิธีการเลือกซื้อได้อย่างไร
(แนวตอบ : อ่านฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อดู
ปริมาณความเหมาะสมของกรดไฮโดรคลอริก
ในผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างห้องน้ำ)
4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายร่วมกันในชัน

เรียน
5. ครูติดหัวข้อการเรียนรู้ การนำความรู้เรื่อง
ความเข้มข้นของสารละลายไปใช้ประโยชน์
ขัน
้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Explore) : 15 - การมีส่วน กิจกรรม
นาที ร่วมใน บิงโกองค์
1. ครูนำเสนอกิจกรรม การนำความรู้เรื่องความ กิจกรรมการ ประกอบ
เข้มข้นของสารละลายไปใช้ประโยชน์ เรียนรู้ ของ
2. นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการนำความรู้เรื่อง - การตอบ สารละลาย
ความเข้มข้นของสารละลายไปใช้ประโยชน์ คำถาม
จากแหล่งการเรียนรู้อินเทอร์เน็ตและหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
2
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปเป็ น
ผังมโนทัศน์
เป็ นของตนเอง
 ด้านการเกษตร
การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน จะผสมสาร
อาหารที่พืชต้องการอยู่ในรูปของ
สารละลาย
การนำสารเคมีกำจัดศัตรูพืชไปใช้
ต้องนำมาเจือจางด้วยน้ำซึ่งเป็ นตัวทำ
ละลายให้ได้
 ด้านอุตสาหกรรม
ใช้แอลกอฮอล์และทินเนอร์เป็ นตัวทำ
ละลายในการผลิตสี หมึก สีย้อม และสี
น้ำมัน
 ด้านอาหาร
การปรุงอาหาร
การทำเครื่องดื่ม

 ด้านการแพทย์
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
ยาที่มีรสขมไม่ชวนรับประทาน จึง
ต้องเติมน้ำตาลหรือน้ำเชื่อมเพิ่มลงไป
เพื่อปรับรสชาติให้น่ารับ
ประทานขึน

การให้เกลือแร่หรือธาตุแคลเซียมแก่
คนไข้ต้องทำให้เป็ นสารละลาย
การผลิตยาเพื่อรักษาคนไข้ต้องทำให้
อยู่ในรูปของสารละลาย
 ด้านการดำรงชีวิต
การล้างจาน การชำระร่างกาย
การซักเสื้อผ้า
การทำความสะอาดเครื่องอุปโภคบริโภค
การลบรอยเปื้ อนเปรอะของสีน้ำมันที่
เสื้อผ้าหรือพู่กัน ต้องใช้น้ำมันสนล้าง
ออกแต่จะใช้น้ำไม่ได้เนื่องจากสีน้ำมัน
ไม่ละลายในน้ำแต่ละลายในน้ำมันสน
ขัน
้ ที่ 3 อภิปรายและลงข้อสรุป (Explain) : - การมีส่วน
10 นาที ร่วมการตอบ
1. นักเรียนและครู ร่วมกันสรุปผลและองค์ความ คำถาม
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
รู้ของการทำกิจกรรมเรื่อง การนำความรู้เรื่อง
ความเข้มข้นของสารละลายไปใช้ประโยชน์
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการนำความรู้เรื่อง
ความเข้มข้นของสารละลายไปใช้ประโยชน์
(แนวตอบ :
เกณฑ์การจำแนกสารเคมี
 สารปรุงแต่งอาหาร
 เครื่องดื่ม
 สารทำความสะอาด
 สารกำจัดแมลง และสารกำจัดศัตรูพืช
 เครื่องสำอาง
3. นักเรียนบันทึกองค์ความรู้ที่ได้ลงในสมุด
บันทึก
ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) : 5 - สมุดบันทึก
นาที
1. ครูตงั ้ คำถามเกี่ยวกับสารละลายเชื่อมโยงกับ
ชีวิตประจำวัน
ของนักเรียน
 นักเรียนรู้หรือไม่ สารมีสมบัติเป็ นกรด –
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
เบส สามารถสังเกตได้จากอะไร
(แนวคำตอบ : กรด จะมีรสเปรีย
้ ว เบส จะมี
รสฝาด)
2. ครูขยายความรู้เกี่ยวกับค่า pH ความเป็ นก
รด – เบสของสาร
เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกขึน

ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate): 15 นาที - ผลงาน
1. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. นักเรียนส่งสมุดบันทึก ใบบันทึกกิจกรรม
สื่อและ
การวัดผล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียน
ประเมินผล
รู้
แบบฝึ กหัด

9. การวัดและประเมินผล

เกณฑ์การ
สิ่งที่ต้องการวัด เครื่องมือ วิธีการวัด
ประเมินผล
ด้านความรู้ : K แบบทดสอบ แบบประเมิน 7 คะแนน
อธิบายความ ผลการทดสอบ ขึน
้ ไปผ่าน
หมายและคำนวณ
หาความเข้มข้นของ
สารละลายในหน่วย
ร้อยละโดยมวล ร้อย
ละโดยปริมาตร และ
ร้อยละโดยมวลต่อ
ปริมาตร
อธิบายและ
ระบุความเข้มข้น
ของสารละลายใน
การนำสารละลายไป
ใช้ประโยชน์

ด้านทักษะ : P สมุด แบบประเมิน 4 คะแนน


เตรียม ใบบันทึก ผลงาน ขึน
้ ไปผ่าน
สารละลายในหน่วย กิจกรรม
ร้อยละโดยปริมาตร
และร้อยละโดยมวล
ต่อปริมาตรได้

ด้านคุณธรรม การสังเกต แบบประเมิน 4 คะแนน


จริยธรรม : A พฤติกรรม การสังเกต ขึน
้ ไปผ่าน
ใฝ่ เรียนรู้และมุ่ง พฤติกรรม
มั่นในการทำงาน
10. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

11. ปั ญหาและอุปสรรค/แนวทางแก้ไขปั ญหา


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
12. ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

…………………………………
………………
(นายจีรวัฒ หวังสิน)
ผู้สอน
/ /

ความคิดเห็นของครูพี่เลีย
้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ……………………
…………………….........
(………………………
……………………….)
ครูพี่เลีย
้ ง

ความคิดเห็นของครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ………………………
…………………..…
(………………………
……………………….)
ครูหัวหน้ากลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ…………………………......
........……….....

(……………….………………………………….)

ผู้อำนวยการโรงเรียน
ปลาค้าววิทยานุสรณ์
แบบประเมินผลการทดสอบหลังเรียน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง ความเข้มข้น
ของสารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
คะแนน) (10)
อัตนัย
(10

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
คะแนน)
อัตนัย
(10

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7 – 10 ผ่าน
ต่ำกว่า 7 ไม่ผ่าน

แบบประเมินผลงาน
วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง ความเข้มข้น
ของสารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด

รายการ
ประเมิน ระดับ
คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา

ใบบันทึก
กิจกรรม
(6)
สมุด พ

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. สมุด สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี
ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย
จดบันทึก จดบันทึกการ จดบันทึก
การแสดงความ แสดงความคิด การแสดงความ
คิดเห็นแต่ละ เห็นแต่ละ คิดเห็นแต่ละ
คำถามครบถ้วน คำถามไม่ครบ คำถามเล็กน้อย
ถ้วน
2. ใบบันทึก บันทึกใบ บันทึกใบ บันทึกใบ
กิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม
ครบถ้วนและทำ ครบถ้วน และ และแบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัดถูก แบบฝึ กหัดไม่ ไม่ถก
ู ต้องครบ
ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถ้วน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/2) เรื่อง ความเข้มข้น
ของสารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
การทำงาน
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน

1 เด็กชายกรรชัย โพธารินทร์
2 เด็กชายก้องภพ ปรากฏ
3 เด็กชายกิตติพงษ์ รื่นเริง
4 เด็กชายกุลชวาล โสมรักษ์
5 เด็กชายจิตตินัย ลาภสาร
6 เด็กชายจิตติพัฒน์ โพธาริ
นทร์
7 เด็กชายจิระยุธ ทุมรัตน์
8 เด็กชายชลันธร บุญญา
สุรินทร์
9 เด็กชายณรงค์ชัย แก้วอุดร
10 เด็กชายณัฐชนน แสนโท
11 เด็กชายธนาวัฒน์ ศรีโยธา
12 เด็กชายธรรค์ มงคลทอง
13 เด็กชายธีรศักดิ ์ ฝ้ ายป่ าน
14 เด็กชายโรจร์ศักดิ ์ นาคพันธ์
15 เด็กชายวรโชติ โสระเวช
16 เด็กชายวุฒิชัย วันทาพงษ์
17 เด็กชายสงกรานต์ จันทะโม
คา
18 เด็กชายสิปปกร ยอดแก้ว
19 เด็กชายศุภากร สุรารักษ์
20 เด็กหญิงกัญญาพัชร ถัม
กำเนิด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน
การ

21 เด็กหญิงธนัญชนก มิสา
22 เด็กหญิงนภัทร อุปกา
23 เด็กหญิงพรสุดา มุทาพร
24 เด็กหญิงมนต์นภา ปทักขินงั
25 เด็กหญิงวรัชญา จันทร์มี
26 เด็กหญิงสุทธิดา นำภา
27 เด็กหญิงสุนิษา มุทาพร
28 เด็กหญิงอภัสรา จันทร์อ่อน
29 เด็กหญิงอรวรรณ มุทาพร

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ใฝ่ เรียนรู้ ตัง้ ใจเรียนและ ตัง้ ใจเรียน ไม่ตงั ้ ใจเรียน
แสวงหาความรู้ และแสวงหา และแสวงหา
จากแหล่งเรียนรู้ ความรู้จาก ความรู้จาก
ต่างๆอย่าง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
สม่ำเสมอ ต่างๆบางครัง้ เพียง
แหล่งเดียว
2. มีความมุ่ง ทำงานด้วย ทำงานด้วย พยายามให้
มั่นในการ ความขยัน อดทน ความขยัน งานสำเร็จตาม
ทำงาน และพยายามให้ อดทน และ เป้ าหมาย
งานสำเร็จตาม พยายามให้งาน
เป้ าหมายในเวลา สำเร็จตามเป้ า
ที่กำหนด หมาย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินผลการทดสอบหลังเรียน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง ความเข้มข้น
ของสารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
คะแนน)
อัตนัย
(10

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
(10)
คะแนน)
อัตนัย
(10


21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
7 – 10 ผ่าน
ต่ำกว่า 7 ไม่ผ่าน
แบบประเมินผลงาน

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง ความเข้มข้น
ของสารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด

รายการ
ประเมิน ระดับ
คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
ใบบันทึก
กิจกรรม

(6)
สมุด

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. สมุด สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี สมุดบันทึกมี
ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย ความเรียบร้อย
จดบันทึก จดบันทึกการ จดบันทึก
การแสดงความ แสดงความคิด การแสดงความ
คิดเห็นแต่ละ เห็นแต่ละ คิดเห็นแต่ละ
คำถามครบถ้วน คำถามไม่ครบ
ถ้วน คำถามเล็กน้อย
2. ใบบันทึก บันทึกใบ บันทึกใบ บันทึกใบ
กิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรม
ครบถ้วนและทำ ครบถ้วน และ และแบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัดถูก แบบฝึ กหัดไม่ ไม่ถก
ู ต้องครบ
ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบถ้วน ถ้วน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม

วิชา วิทยาศาสตร์ 3 (ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3) เรื่อง ความเข้มข้น
ของสารละลาย
ชีแ
้ จง : ให้ผู้สอนแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตาม
รายการที่กำหนด

รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา
การทำงาน
ใฝ่ เรียนรู้

(6)
มุง่ มั่นใน


1 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
2 เด็กชายก้องภพ บุบผา
3 เด็กชายกิตติศักดิ ์ มีทอง
แสน
4 เด็กชายจิรายุ ลาภสาร
5 เด็กชายชัชวาล ลาภรัตน์
6 เด็กชายชิติพัทธ์ ดวงโสภา
7 เด็กชายณรงค์ฤทธิ ์ โล่ห์คำ
8 เด็กชายณัฐภัทร ศรีเงิน
9 เด็กชายเทียนชัย นามวงศ์
10 เด็กชายนนทชัย บรรจง
11 เด็กชายพงศ์ศิริ ยิ่งยงค์
12 เด็กชายพัชรพล โสระเวช
13 เด็กชายภัทร วันดีวงษ์
14 เด็กชายภัทรชนน ผิวแก้ว
15 เด็กชายยศพล แก้วแสน
16 เด็กชายรฐนนท์ ทองคาน
17 เด็กชายสามารถ คำภา
18 เด็กชายโอภาส ลาภรัตน์
19 เด็กชายกฤษฎิ๋ เข็มแก้ว
20 เด็กชายก้องภพ บุบผา
รายการ
ระดับ
ประเมิน คะแนนรวม
ที่ รายชื่อ คุณภา

ใฝ่ เรียนรู้
(6)

มุง่ มั่นใน
การ

21 เด็กหญิงกัญญาณี ป้ องเพชร
22 เด็กหญิงกัญญารัตน์ สาร
คณา
23 เด็กหญิงธันยพร กาเผือก
24 เด็กหญิงปณิตา บุญทา
25 เด็กหญิงปาริฉัตร โหงคำ
จันทร์
26 เด็กหญิงพรปวีณ์ สมสะอาด
27 เด็กหญิงพิมพ์ชนก สุดาชม
28 เด็กหญิงสุพรรษา แร่ทอง
29 เด็กหญิงอรพรรณ ทอง
ประสาท
30 เด็กหญิงธิดาพร สายสิน
31 เด็กหญิงปนัดดา เนิน
ทราย
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ใฝ่ เรียนรู้ ตัง้ ใจเรียนและ ตัง้ ใจเรียน ไม่ตงั ้ ใจเรียน
แสวงหาความรู้ และแสวงหา และแสวงหา
จากแหล่งเรียนรู้ ความรู้จาก ความรู้จาก
ต่างๆอย่าง แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
สม่ำเสมอ ต่างๆบางครัง้ เพียง
แหล่งเดียว
2. มีความมุ่ง ทำงานด้วย ทำงานด้วย พยายามให้
มั่นในการ ความขยัน อดทน ความขยัน งานสำเร็จตาม
ทำงาน และพยายามให้ อดทน และ เป้ าหมาย
งานสำเร็จตาม พยายามให้งาน
เป้ าหมายในเวลา สำเร็จตามเป้ า
ที่กำหนด หมาย
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4–6 ผ่าน
ต่ำกว่า 4 ไม่ผ่าน

ชื่อ.......................................................................................

แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน
ความเข้มข้นของสารละลาย
ตอนที่ 1 อัตนัยจำนวน 5 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คำชีแ
้ จง ให้แสดงวิธีทำอย่างละเอียด (ข้อละ 2.5 คะแนน)
1. ถ้านำน้ำตาลทรายมา 50 กรัม ละลายน้ำให้เป็ นสารละลาย 1000
ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายนีม
้ ีความเข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อ
ปริมาตรเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
2. สารละลายโซเดียมคลอไรด์จำนวน 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีโซเดียม
คลอไรด์ 50 กรัม สารละลายโซเดียมคลอไรด์มีความเข้มข้นร้อยละโดย
มวลต่อปริมาตรเท่าไหร่
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……….
3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเอทานอลเข้มข้น 20 % โดยปริมาตร
จำนวน 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะต้องใช้เอทานอลจำนวนเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……….

4. ทองเหลือง 70 กรัม มีเหล็กอยู่ 10 กรัม ทองเหลืองนีม


้ ีความเข้มข้น
ร้อยละโดยมวลเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……….
5. น้ำยาล้างห้องน้ำ 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีส่วนประกอบเป็ นกรดไฮ
โดรคลอริกมีความเข้มข้น 15% โดยปริมาตร จะมีกรดไฮโดรคลอริกอยู่
กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……….

You might also like