You are on page 1of 26

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้

(5Es)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาค
เรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารเข้าและออกจากเซลล์
จำนวน 2 คาบ (100 นาที)
วันที่ ..................................
โรงเรียน เลิร์น เอ็ดดูเคชั่น

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว
้ ัด/ ผลการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การ
ลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่
ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์
ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน
รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชีว
้ ัด
ว 1.2 ม. 1/5 อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลัก
ฐานเชิงประจักษ์ และยกตัวอย่างการแพร่และออสโมซิสในชีวิตประจำวัน
ผลการเรียนรู้
1. ทดลอง อภิปรายผล และอธิบายความหมายของการแพร่และออ
สโมซิส
3. บอกความแตกต่างของการแพร่และออสโมซิส
4. ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจำวัน

2. จุดประสงการเรียนรู้
ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายและบอกความแตกต่างของ
การแพร่และออสโมซิส รวมทัง้ สามารถยกตัวอย่างการแพร่และออส
โมซิสในชีวิตประจำวัน
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
ผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมฝึ กทักษะเพื่อร่วมกันอภิปราย
และสรุปผลเกี่ยวกับการแพร่และ ออสโมซิส
ด้านคุณลักษณะ (A)
ผู้เรียนมีความสนใจและตัง้ ใจในการเรียนและการทำกิจกรรม
ฝึ กทักษะ
3. สาระสำคัญ
เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของ
เซลล์ และมีการนำสารบางอย่างที่เซลล์ไม่ต้องการออกนอกเซลล์ การนำ
สารเข้าและออกจากเซลล์มีหลายวิธี เช่น การแพร่เป็ นการเคลื่อนที่ของ
สารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารต่ำ ส่วนออสโมซิส เป็ นการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จากด้านที่มี
ความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังด้านที่มีความเข้มข้นของสารละลาย
สูงกว่า

4. สาระการเรียนรู้
การแพร่ (diffusion) เป็ นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่
มีความเข้มข้นของสารมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อย
สำหรับการแพร่ที่เกิดขึน
้ กับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต สารจะเคลื่อนที่โดยการ
แพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งมีคณ
ุ สมบัติเป็ นเยื่อเลือกผ่านทำหน้าที่คัดกรอง
สารที่จะเข้าและออกจากเซลล์ ดังภาพ

การแพร่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

ตัวอย่างการแพร่ของสารในชีวิตประจำวัน เช่น การแพร่ของ


แก๊สที่ถุงลมปอด โดยแก๊สออกซิเจนจะเเพร่ออกจากถุงลมปอดเข้าสู่
หลอดเลือดฝอยเเละแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะเเพร่ออกจากหลอดเลือด
ฝอยเข้าสู่ถงุ ลมปอด
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเลือดแพร่เข้าสู่ถุงลมเพื่อกำจัดออก ส่วนแก๊ส
ออกซิเจนแพร่จากในถุงลมเข้าสู่เลือดเพื่อให้เซลล์เม็ดเลือดแดงลำเลียงไปให้แก่เซลล์
ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย

การออสโมซิส (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของ


โมเลกุลน้ำจากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำมาก (สารละลายความเข้มข้นต่ำ)
ไปสู่บริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำน้อยกว่า (สารละลายความเข้มข้นสูง) ผ่าน
เยื่อเลือกผ่าน จนกระทั่งสารละลายทัง้ สองบริเวณมีความเข้มข้นเท่ากัน

การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน

สารที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ เช่น เเป้ ง เเละโปรตีน ไม่สามารถ


เคลื่อนที่ผ่านเยื่อเลือกผ่านได้ ดังนัน
้ น้ำจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารน้อยจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อเลือกผ่านเพื่อไปเจือจางสารบริเวณที่มีความ
เข้มข้นมากกว่าจะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของระดับสารละลายในบีก
เกอร์บริเวณที่มีสารละลายโปรตีนเข้มข้นสูงจะมีระดับสารละลายสูงขึน

น้ำในดินออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ขนราก เเล้วพืชจะลำเลียงน้ำไปยังส่วนต่าง ๆ ของ


ลำต้น

ตัวอย่างการออสโมซิสที่เกิดขึน
้ ในชีวิตประจำวัน เช่น การดูดน้ำของ
พืช เนื่องจากบริเวณรากของพืชจะมีเซลล์ขนรากทำหน้าที่ดูดน้ำจากดิน
ที่เป็ นเช่นนีเ้ พราะปริมาณน้ำในดินมีมากกว่าปริมาณน้ำในขนราก ดังนัน

น้ำจึงออสโมซิสเข้าสู่พืชได้ พืชจะลำเลียงน้ำไปตามลำต้นเเล้วส่งให้แก่
เซลล์ต่าง ๆ ต่อไป
5. การจัดกระบวนการเรียนรู้

ขัน
้ ตอนการ เวลา
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ สื่อ
จัดการเรียนรู้ (นาที)
Engagement ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการให้ - น้ำมันหอม 10
(ขัน
้ สร้างความ นักเรียนดมกลิ่นและสังเกตสี ระเหย เช่น
สนใจ) ของน้ำมันหอมระเหย ให้ผู้ น้ำมัน
เรียนช่วยกันตอบว่าเป็ นน้ำมัน กุหลาบ
หอมระเหยของพืชชนิดใด น้ำมันยูคาลิ
เมื่อร่วมกับถามตอบแล้ว ครู ปตัส
ตัง้ ประเด็นอีกครัง้ โดยใช้แนว
คำถามดังนี ้
- เพราะเหตุใดพืชบางชนิดจึง
มีกลิ่นหอม
(กลิ่นเป็ นอนุภาคของสารเคมี
ขนาดเล็ก กลิ่นหอมเป็ นกลิ่นที่
พืชใช้ล่อแมลงให้มาช่วยถ่าย
เรณู)
- อนุภาคของสารที่มีสี
เคลื่อนที่อยู่ในตัวกลาง เช่น
น้ำ หรือน้ำมันได้อย่างไร
(ผู้เรียนหาคำตอบจากกิจกรรม
ฝึ กทักษะ การทดลองเรื่องการ
แพร่ของสาร)
- ทำไมเมื่อแช่พืชไว้ในน้ำมัน
หอมระเหยแล้ว พืชอาจจะ
เหี่ยวได้
(ผู้เรียนหาคำตอบจากกิจกรรม
ฝึ กทักษะ การทดลองเรื่องหัว
ไชเท้าออสออส)
Exploration ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ - ใบกิจกรรม 60
(ขัน
้ สืบเสาะและ ประมาณ 4-5 คน แต่ละกลุ่ม ฝึ กทักษะ -
หาข้อมูล) กำหนดบทบาทหน้าที่ของ 1.1 กิจกรรม
สมาชิก และดำเนินกิจกรรม - ใบกิจกรรม ละ 30
การเรียนร่วมกัน 2 กิจกรรม ฝึ กทักษะ นาที
กิจกรรมละ 30 นาที ดังนี ้ 1.2 - คาบ
1. ผู้เรียนร่วมกันทำกิจกรรม - หนังสือ ละ 1
ฝึ กทักษะ “การทดลอง เรียน กิจกรรม
เรื่องการแพร่ของสาร” โดย วิทยาศาสตร์
ใช้ใบกิจกรรมฝึ กทักษะ 1.1 ม.1 เล่ม 1
2. ผู้เรียนร่วมกันทำกิจกรรม
ฝึ กทักษะ “การทดลอง
เรื่องหัวไชเท้าออสออส” โดย
ใช้ใบกิจกรรมฝึ กทักษะ 1.2
ครูสังเกตและบันทึกผล
กิจกรรม
Explanation 1. ผู้เรียนร่วมกันอภิปราย - ใบกิจกรรม
(ขัน
้ อธิบายและ และสรุปภายในกลุ่มเกี่ยวกับ ฝึ กทักษะ
ลงข้อสรุป) การเคลื่อนที่ของสารจากการ 1.1
ทำการทดลอง แล้วบันทึกลง - ใบกิจกรรม
ในใบกิจกรรมฝึ กทักษะ 1.1, ฝึ กทักษะ
1.2 1.2
2. แต่ละกลุ่มเลือกตัวแทน - หนังสือ
ออกมานำเสนอผลการ เรียน
อภิปรายของกลุ่ม วิทยาศาสตร์
3. ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุป ม.1 เล่ม 1
เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของสาร
ในแต่ละกิจกรรม โดยครูใช้
คำถามกระตุ้นความสนใจของ
ผู้เรียนดังนี ้
- จากที่ได้ทำการทดลองเกี่ยว
กับการเคลื่อนที่ของด่างทับทิม
ในน้ำ ในช่วง 5 นาทีแรก ผู้
เรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ได้อย่างไรบ้าง
- จากการทดลองนำชิน
้ หัวไช
เท้าไปแช่ในน้ำเกลือ ทำไมชิน

หัวไชเท้าจึงมีขนาดเล็กลง
4. ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุป
ความหมายของการแพร่และ
ออสโมซิส
- เมื่อได้ข้อสรุปแล้ว ครูจึงถาม
ต่อว่า การแพร่และออสโมซิส
แตกต่างกันอย่างไร
Elaboration ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนา - VDO 20
(ขัน
้ ขยายความ ถึงการแพร่และออสโมซิสใน clip :
รู้) ชีวิตประจำวัน การทำไข่
- ครูยกตัวอย่างการทำไข่เค็ม เค็ม
ซึ่งเป็ นภูมิปัญญาในการถนอม - หนังสือ
อาหาร เรียน
- ครูให้นักเรียนยกตัวอย่าง วิทยาศาสตร์
การแพร่และออสโมซิสในชีวิต ม.1 เล่ม 1
ประจำวัน
Evaluation 1. ผู้เรียนทำแบบทดสอบเรื่อง - แบบ 10
(ขัน
้ ประเมิน) การเคลื่อนที่ของสารเข้าและ ทดสอบ
ออกจากเซลล์
2. ครูตรวจใบกิจกกรรมฝึ ก
ทักษะ 1.1, 1.2

6. สื่อการเรียนการสอน
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
2. ใบกิจกรรมฝึ กทักษะ 1.1 เรื่อง การแพร่ของสาร
3. ใบกิจกรรมฝึ กทักษะ 1.2 เรื่อง หัวไชเท้าออสออส
4. แบบทดสอบเรื่องการเคลื่อนที่ของสารเข้าและออกจาก
เซลล์
5: VDO clip การทำไข่เค็ม :
https://www.youtube.com/watch?v=foxgWI8pPIY

7. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
สิ่งที่ต้องวัดผลและ เกณฑ์การ
วิธีวัด เครื่องมือวัด
ประเมินผล ประเมิน
ด้านความรู้ความ - ตรวจชิน
้ งาน - ใบกิจกรรมฝึ ก - มีผล
เข้าใจ (K) ทักษะ 1.1 ประเมิน
- ใบกิจกรรมฝึ ก คุณภาพระดับ
สามารถอธิบายความ
ทักษะ 1.2 ดีขน
ึ ้ ไป
หมายและบอกความ
- แบบทดสอบ - ทำคะแนน
แตกต่างของการแพร่
80 % ขึน
้ ไป
และออสโมซิส รวม
ทัง้ สามารถยก
ตัวอย่างการแพร่และ
ออสโมซิสในชีวิต
ประจำวัน

ด้านทักษะ - การสังเกต - แบบสังเกต - มีผล


กระบวนการ (P) พฤติกรรม การ ประเมิน
สามารถปฏิบัติ ทำกิจกรรมฝึ ก คุณภาพระดับ
กิจกรรมฝึ กทักษะ ทักษะ ดีขน
ึ ้ ไป
เพื่อร่วมกันอภิปราย
และสรุปผลเกี่ยวกับ
การแพร่และออสโม
ซิส
ด้านคุณลักษณะ - การสังเกต - แบบสังเกต - มีผล
(A) พฤติกรรม การ ประเมิน
ผู้เ รีย นมีค วามสนใจ เรียน คุณภาพระดับ
และตัง้ ใจในการเรียน ดีขน
ึ ้ ไป
และการทำกิจ กรรม
ฝึ กทักษะ

กิจกรรมฝึ กทักษะ 1.1


การทดลองเรื่อง การแพร่ของสาร
สมาชิก ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่
ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่
ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่
ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่

วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาการเกิดกระบวนการแพร่ของสาร
2. อธิบายความหมายของกระบวนการแพร่

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ด่างทับทิม 4. บีกเกอร์ขนาด 100 ml 3
ใบ
2. ผลึกจุนสี 5. ช้อนตักสาร 2 คัน
3. น้ำหมึกสี 6. น้ำกลั่น 150 ml

วิธีการทดลอง
1. ใส่น้ำสะอาดลงในบีกเกอร์ทงั ้ 3 ใบ ใบละ 50 มิลลิลิตร
2. หยดน้ำหมึกสีแดง 3 หยด และใส่เกล็ดด่างทับทิม 2-3 เกล็ด
และผลึกจุนสี 2-3 ผลึก ลงใน บีกเกอร์แต่ละใบตามลำดับ

บีกเกอร์ที่ 1 บีกเกอร์ที่ 2 บีกเกอร์ที่


3
หยดน้ำหมึกสีแดง 3 หยด ใส่เกล็ดด่างทับทิม 2-3 เกล็ด ใส่ผลึก
จุนสี 2-3 ผลึก
ในน้ำ 50 ml ในน้ำ 50 ml ใน
น้ำ 50 ml

3. สังเกตการเปลี่ยนแปลงในวินาทีแรกและเมื่อผ่านไป 15 นาที
หลังจากใส่สารลงในน้ำ และบันทึกผลการทดลอง

สมมติฐาน

ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น
ตัวแปรตาม
ตัวแปรควบคุม

บันทึกผลการทดลอง
การเปลีย
่ นแปลงใน การเปลีย
่ นแปลงเมื่อผ่าน
การทดลอง
วินาทีแรก ไป 15 นาที
น้ำหมึกสีแดงใน
น้ำ
เกล็ดด่างทับทิม
ในน้ำ

ผลึกจุนสีในน้ำ

อภิปรายผลการทดลอง

คำถามท้ายการทดลอง

1. เมื่อใส่สารลงในน้ำกลั่นในช่วง 2-3 วินาทีแรก สีของของเหลวส่วนบน


และส่วนล่างเป็ นอย่างไร

2. หลังจากใส่สารลงในน้ำเป็ นเวลา 15 นาที มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่


อย่างไร

3. สารที่นำมาทดลองเคลื่อนที่ในน้ำกลั่นได้อย่างไร
กิจกรรมฝึ กทักษะ 1.2
การทดลองเรื่อง หัวไชเท้าออสออส
สมาชิก ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่
ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่
ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่
ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่

วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเข้าและออกจากเซลล์
2. อธิบายความหมายของออสโมซิส

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. หัวไชเท้า 2 หัว 5. บีกเกอร์ขนาด 250 ml
3 ใบ
2. น้ำกลั่น 100 ml 6. แท่งแก้วคนสาร
3 แท่ง
3. สารละลายเกลืองแกงเจือจาง 100 ml 7. ชุดมีด
1 ชุด
4. สารละลายเกลืองแกงเข้มข้น 100 ml
วิธีการทดลอง
1. ตัดชิน
้ หัวไชเท้าทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีมวล 20.0 กรัม จำนวน 3
ชิน
้ เเล้วนำเเต่ละชิน
้ ไปเเช่ในของเหลวที่เเตกต่างกันปริมาตร
100 ml ดังภาพ

บีกเกอร์ที่ 1 บีกเกอร์ที่ 2
บีกเกอร์ที่ 3
แช่ชน
ิ ้ หัวไชเท้า แช่ชน
ิ ้ หัวไชเท้า ในสารละลาย
แช่ชน
ิ ้ หัวไชเท้า ในสารละลาย
ในน้ำกลั่น 100 ml เกลืองแกงเจือจาง 100 ml
เกลืองแกงแข้มข้น 100 ml
2. เเช่ชน
ิ ้ หัวไชเท้าเป็ นเวลา 2 ชั่วโมง จากนัน
้ นำขึน
้ มาซับน้ำให้เเห้ง
วาดภาพชิน
้ หัวไชเท้าหลังเเช่ในของเหลว ชั่งน้ำหนักเเละบันทึก
ผลการทดลอง

สมมติฐาน
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น
ตัวแปรตาม
ตัวแปรควบคุม

บันทึกผลการทดลอง

ของเหลวที่ใช้แช่ชน
ิ ้ หัวไชเท้า
สารละลายเก
ข้อมูล สารละลายเก
น้ำกลั่น ลืองแกงเจือ
ลืองแกงเข้มข้น
จาง
วาดภาพ
ลักษณะ
ของชิน
้ หัวไชเทา
หลังเเชสาร
นํา้ หนักของชิน

หัวไช
เทากอนเเชสาร
นํา้ หนักของชิน

หัวไชเทาหลัง
เเชสาร

อภิปรายผลการทดลอง
คำถามท้ายการทดลอง

1. หัวไชเท้าที่หั่นเป็ นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง หลัง


จากเเช่ในของเหลวที่เเตกต่างกัน เพราะเหตุใดจึงเป็ นเช่นนัน

2. น้ำหนักของชิน
้ หัวไชเท้าที่แช่ในสารละลายเกลือแกงเจือจางและ
สารละลายเกลือแกงเข้มข้นแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

3. น้ำเคลื่อนที่เข้าและออกจากเซลล์ได้อย่างไร

4. สร้างแผนผังความคิดเปรียบเทียบการแพร่และออสโมซิส
แบบทดสอบ
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารเข้าและออกจากเซลล์
วิชา วิทยาศาสตร์ จำนวน 10
ข้อ 10 คะแนน
ระดับ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
เวลา 10 นาที

ชื่อ-สกุล ชัน
้ ม.1/
เลขที่

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้อง
1. การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากไป
ยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อย เรียกปรากฏการณ์นว
ี ้ ่าอะไร
ก. การแพร่ ข. ออสโมซิส
ค. การกระจัด ง. การคายน้ำ

2. ข้อใดเป็ นการแพร่
ก. เซลล์ขนรากดูดน้ำในดินเข้าสู่ราก
ข. น้ำเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์เม็ดเลือดแดง
ค. เซลล์ผักกาดเหี่ยวเมื่อแช่อยู่ในน้ำเกลือ
ง. แก๊สออกซิเจนเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ประสาท

3. ข้อใดคือความหมายของการออสโมซิส
ก. การเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากไปยัง
บริเวณที่มีความเข้มข้นน้อย
ข. การเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยไปยัง
บริเวณที่มีความเข้มข้นมากโดยใช้พลังงาน
ค. การเคลื่อนที่ของน้ำจากบริเวณที่มีน้ำมาก (ความเข้มข้นของสาร
น้อย) ไปยังบริเวณที่มีน้ำน้อย (ความเข้มข้นของสารมาก) ผ่าน
เยื่อเลือกผ่าน
ง. การเคลื่อนที่ของน้ำจากบริเวณที่มีน้ำน้อย (ความเข้มข้นของสาร
มาก) ไปยังบริเวณที่มีน้ำมาก (ความเข้มข้นของสารน้อย) ผ่าน
เยื่อเลือกผ่าน

4. ข้อใดเป็ นการออสโมซิส
ก. การเติมน้ำตาลลงไปในนม ทำให้นมมีรสหวาน
ข. การแช่ถงุ ชาในน้ำร้อน ทำให้น้ำเปลี่ยนเป็ นสีน้ำตาล
ค. การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนระหว่างหลอดเลือดฝอยกับ
อวัยวะ
ง. การแช่เนื้อเยื่อของเซลล์ผักกาดในสารละลายกลูโคส ทำให้
เซลล์เหี่ยว

5. โครงสร้างใดของเซลล์ทำหน้าที่เป็ นเยื่อเลือกผ่าน
ก. โปรตีน ข. นิวเคลียส
ค. โครโมโซม ง. เยื่อหุ้มเซลล์

6. เมื่อนำเซลล์พืชใส่ลงไปในสารละลายที่เข้มข้นน้อยกว่าเซลล์พืช
เซลล์พืชจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ก. เซลล์เหี่ยว ข. เซลล์เต่ง
ค. เซลล์แตก ง. ไม่เปลี่ยนแปลง

7. นำเซลล์ชนิดเดียวกันขนาดเท่ากันไปใส่ในสารละลาย A B และ C ที่


มีความเข้มข้นแตกต่างกันเป็ นเวลานาน 60 นาที ได้ผลการทดลอง
ดังนี ้
จงเรียงลำดับความเข้มข้นของสารละลาย A, B และ C จากความ
เข้มข้นมากที่สุดไปน้อยที่สุด
ก. A, B, C
ข. B, A, C
ค. C, A, B
ง. C, B, A

8. ข้อใดต่อไปนีก
้ ล่าวได้ถูกต้อง
ก. แร่ธาตุและน้ำเข้าสู่รากพืชด้วยการแพร่
ข. แร่ธาตุและน้ำเข้าสู่รากพืชด้วยการออสโมซิส
ค. แร่ธาตุเข้าสู่รากพืชโดยการแพร่ น้ำเข้าสู่รากพืชด้วยการออสโม
ซิส
ง. แร่ธาตุเข้าสู่รากพืชโดยการออสโมซิส น้ำเข้าสู่รากพืชด้วยการ
แพร่

9. การทดลองใดมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการแพร่ของสาร
ก. นำบีกเกอร์ที่มีน้ำกลั่นไปตัง้ กลางแดด แล้วสังเกตระดับน้ำที่ลด
ลง
ข. หยดน้ำสีผสมอาหารลงในน้ำ แล้วสังเกตสีของน้ำที่เปลี่ยนแปลง
ไป
ง. หั่นชิน
้ มันฝรั่งเป็ นทรงลูกบาศก์ นำไปแช่ในน้ำเกลือ แล้วสังเกต
รูปทรงที่เปลี่ยนแปลงไป
ค. นำใบสาหร่ายหางกระรอกวางบนสไลด์ แล้วสังเกตโครงสร้าง
เซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง

10. เมื่อใส่ปุ๋ยลงในดินรอบ ๆ โคนพืชมากเกินไป พืชจะตาย


เพราะเหตุใด
ก. ปุ๋ยแพร่เข้าไปในเซลล์มากเกินไปทำให้เซลล์แตก
ข. น้ำออสโมซิสออกจากเซลล์มากเกินไปทำให้เซลล์เหี่ยว
ค. ปุ๋ยและน้ำเคลื่อนที่เข้าไปในเซลล์มากเกินไป จนเซลล์แตก
ง. น้ำออสโมซิสเข้าไปในเซลล์มากเกินไป ทำให้เซลล์เต่งจนแตก


แบบสังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรมฝึ กทักษะ

การทำกิจกรรมฝึ กทักษะที่ เรื่อง

คำชีแ
้ จง ให้ทำเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่
นักเรียนปฏิบัติ

รายการ
รับผิดชอบ รับฟั ง นำเสนอ มีความคิด ทำงานเสร็จ
งาน ความคิด ผลงาน ริเริม
่ ตามเวลาที่
เล
ชื่อ - สกุล ทีไ่ ด้รบ
ั เห็น ได้นา่ สนใจ สร้างสรรค์ กำหนด
ขที่
มอบหมาย ของผูอ
้ น
ื่ (2 (2 คะแนน) (2 คะแนน)
(2 (2 คะแนน)
คะแนน) คะแนน)
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดับ ดี
คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้
คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

คำชีแ
้ จง ให้ทำเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่
นักเรียนปฏิบัติ
เล ชื่อ - สกุล รายการ
ให้ความ แสดง ตัง้ ใจ มีความรับ ส่งงานทีไ่ ด้
ร่วมมือใน ความ ทำงาน ผิดชอบต่อ รับมอบ
การจัดการ กระตือรือร้ ตามทีไ่ ด้รบ
ั งานทีไ่ ด้รบ
ั หมายตาม

ขที่ เรียนการ นในการ มอบหมาย มอบหมาย เวลาที่


สอน เรียน กำหนด
(2 (2 คะแนน)
(2 (2 คะแนน) (2
คะแนน) คะแนน) คะแนน)

เกณฑ์การประเมิน คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก


คะแนน 7-8 ระดับ ดี
คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้
คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง

You might also like