You are on page 1of 8

ความหลากหลายทาง

ชีวภาพในท้องถิ่น
Biological Diversity
ตั๊กแตน (Grasshopper)
ตั๊กแตน จัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรพอดหรืออาโทรโฟดา( Arthropoda )

ตั๊กแตนมีหนวดที่ ค่ อนข้างสั้น เกือบส่วนใหญ่หนวดของตั๊กแตนจะสั้นกว่าขนาดตั ว


และมีอวัยวะสืบพันธุ์ที่ สั้น
ตั๊กแตนสายพันธุ์ที่ ส่งเสียงได้ง่ าย เกิดจากการถูขาที่ ซ่อนอยู่กับปีกหรือท้ อง หรือ
การกระพือปีก
อวัยวะรับเสียง (tympana) จะอยู่ที่ ส่วนท้ องท่ อนแรก
ขาที่ ซ่อนอยู่ของตั๊กแตนจะยาว และแข็งแรงเป็นพิเศษ เหมาะแก่การกระโดด จริง
อยู่ที่ ว่ามันมีปีก แต่ ว่าปีกก็ซ่อนอยู่ และก็เป็นเพียงเนื้ อเยื่ อที่ ไม่เหมาะที่ จะใช้บิน
ตั วเมียจะมีขนาดใหญ่ว่าตั วผู้ และมีอวัยวะสืบพันธุ์ที่ สั้นกว่าตั วผู้
มักจะมีสับสนได้ง่ ายระหว่างตั๊กแตนกับจิ้งหรีด ซึ่ งจิ้งหรีดจะจัดอยู่ในอั นดับย่อย
Orthoptera แต่ จะมีที่ แตกต่ างกันหลายอย่าง เช่น จำนวนท่ อนของหนวด
โครงสร้างของอวัยวะสืบพันธุ์ รวมไปถึ งตำแหน่งของอวับวะรับเสียง และวิธีการ
ส่งเสียง

ความสำคั ญต่ อท้ องถิ่ น


สามารถสร้างรายได้ในชุ มชน และ
ช่วยรักษาระบบนิเวศ
ไก่ (Gallus domesticus)
ลําตัวอกแน่ น กลม มีเนื้ อเต็ม กระดูกอกยาวตรง หลัง
เป็ นแผ่นกว้างมีกล้ามเนื้ อมาก สีขนลําตัวดํา มีขาว
แซมบ้างที่ หัว หัวปี ก ข้อขา สร้อยคอเหลือง ชัดเจน
ยาวประบ่า

ความสำคัญในท้องถิ่น
การอนุรักษ์ ไก่พื้ นเมืองในถิ่ นกำเนิดเดิม คื ออยู่กับเกษตรกรโดยตรงจะ
เหมาะสมกับสถานการณ์ ปัจจุ บันมากที่ สุด เพราะว่าจุ ดประสงค์ ของการ
อนุรักษ์ มุ่งเน้น เพิ่มรายได้เกษตรกรรายย่อย และการอนุรักษ์ โดยวิธีนี้
จะสามารถรักษาและดำรงไว้ซึ่ งความหลากหลายในด้านแหล่ งพันธุ กรรม
ของไก่พื้ นเมือง ลดความเสี่ยงต่ อการสูญหาย และจัดให้มีการรวบรวม
และศึ กษาคุณลั กษณะและศั กยภาพการผลิ ต ของไก่พื้ นเมืองในชุ มชนที่
เลี้ ยง จะเป็นการช่วยอนุรักษ์ และพัฒนาสายพันธุ์ไก่พื้ นเมืองของแต่ ละ
ท้ องถิ่ นที่ มี เอกลั กษณ์ให้คงอยู่คู่ ประเทศไทยตลอด
หมู (Sus scrofa domesticus)
• เป็ นสัตว์แบบกีบคู่ ลำตัวอ้วน มีจมูกและปากยื่ นยาว

ความสำคัญในท้องถิ่น
- เป็นสัตว์เลี้ ยงง่ าย ใช้แรงงานน้อย
- ให้ลูกดก ขยายพันธุ์ได้เร็ว คื นทุนได้ในเวลาสั้น
- ใช้พื้ นที่ ในการเลี้ ยงน้อย
- มู ลใช้เป็นปุ๋ยอย่างดี ใช้เลี้ ยงปลาเพิ่มผลผลิ ตได้
- เป็นอาชีพที่ เกษตรกรนิยมเลี้ ยงเพื่ อใช้เป็นอาหาร
ในครอบครัว หรือขายเพื่ อเป็นรายได้เสริม มีการปรับปรุงพันธุ์สุกร
ให้เหมาะสมยิ่งขึ้ น โดยมีปัจจัยสำคั ญในการเลี้ ยงสุกร
ปลานิล (Oreochromis niloticus)
มีริมฝี ปากบนและล่างเสมอกัน มีเกล็ด 4 แถวตรง
บริเวณแก้ม และ จะมีลายพาดขวางลำตัวประมาณ 9-
10 แถบ

ความสำคัญในท้องถิ่น

ปลานิล เป็นปลาที่ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในหมู่


ประชาชนชาวไทย มีต้ นกำเนิดมาจากพันธุ์ปลา Nile tilapia
ปลาชนิดนี้เจริญเติ บโตดี เลี้ ยงง่ าย และเนื้ อมีรสชาติ ดี เหมาะ
ที่ จะเป็นแหล่ งอาหารโปรตี นที่ สำคั ญของประชาชนทั่วไป
ผีเสื้อ (Chaetodon trifasciatus)

ลั กษณะทั่วไป
เป็ นสัตว์ที่ ไม่มีกระดูกภายใน จึงทำให้มันแตกต่ างจากสัตว์
เลี้ ยงลูกด้วยหรือนกที่ มีโครงกระดูกในร่างกาย ลำตั วของมัน
เป็นวงแหวนหลายวงเรียงต่ อกันด้วยเนื้ อเยื่ อบางๆ เปลื อกที่
ห่อหุ้มตั วเป็นสาร Chitin 2 ตาของผีเสื้ อมีเลนส์ตานับพัน มัน
มีหนวด 1 คู่ ทำให้หน้าที่ ดมกลิ่ น และมีวงหนึ่ งวงสำหรับดูดน้ำ
หวานจากเกสรดอกไม้

ความสำคั ญในท้ องถิ่ น


ผีเสื้ อจัดว่าเป็นแมลงที่ มีความสำคั ญต่ อระบบนิเวศอี กชนิดหนึ่ ง
โดยในระยะที่ เป็นตั วหนอนจะกัดกินใบไม้ในป่า มิให้มีมาย หรือหนา
แน่นจนเกินไป ช่วยให้แสงแดดสอดส่องลงถึ งพื้ นด้านล่ าง ซึ่ งเป็น
ประโยชน์ต่ อสิ่งมีชีวิตอื่ นๆ อี กมาก ในขณะเดียวกัน ก็เป็นอาหาร
ของนกชนิดต่ างๆ รวมทั้งสัตว์ชนิดอื่ นๆ ซึ่ งเป็นจุ ดเริ่มต้ นของ
การถ่ ายทอด พลั งงานในระบบนิเวศ เมื่ อเริ่มเข้าสู่ระยะตั วเต็ มวัย
ที่ เรียกว่า ผีเสื้ อ เพศเมีย ซึ่ งกินน้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหารหลั ก
จะบินไปมาระหว่างดอกไม้คอกหนึ่ ง สู่อี กดอกหนึ่ ง ทำให้เกิดการ
ผสมเกษร ระหว่างเกษรตั วผู้กับเกษรตั วเมีย ทำให้เกิดการกระจาย
พันธืของพืชชนิดนั้นๆ และอี กทั้งยังเป็นอาหารของนก กิ้งก่า และ
สัตว์ชนิดอื่ นๆ ด้วย ก่อให้เกิดความสมดุลในระบบนิเวศและความ
ยั่งยืนในธรรมชาติ ตลอดไป
สมาชิกในกลุ่ม

นาย ภานุกร บุญทิน เลขที่ 10


นางสาว หทัยกาญจน์ หมวดดารักษ์ เลขที่ 20
นางสาว ปิยะฉัตร วงษ์งาม เลขที่ 21
นางสาว จันทรมาศ สีคุณหลิ่ว เลขที่ 26
นางสาว สุคนธา ดาวเล็ก เลขที่ 32
นางสาว ศิริกัญญา ศรีหนองโคตร เลขที่34
THANK
YOU

You might also like