You are on page 1of 8

หนูพุกใหญ่ (great bandicoot)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Bandicota indica (Becstein, 1800)


ลักษณะ: หนูขนาดใหญ่ที่สุด ตัวเต็มวัยหนัก 200-1,000 กรัม ขน
ส่วนหลังมีสีดำ บางครัง้ มีสีน้ำตาลแดงเข้ม แผงขนสีดำด้านหลังจะ
ตัง้ ขึน
้ เมื่อตกใจ จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า หนูแผง เสียงร้องขู่ดังมากในลำ
คอ ตีนหลังมีสีดำและยาวมากกว่า 50 มิลลิเมตร เพศเมียมีเต้านม
บริเวณอก 3 คู่ ท้อง 3 คู่ พบได้ทุกภาคในประเทศไทย อาศัยอยู่
ตามดงหญ้าคา คันนาใหญ่ หรือคูคลองส่งน้ำ
หนูพุกเล็ก (lesser bandicoot)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Bandicota savilei (Thomas, 1914)
ลักษณะ: ลักษณะคล้ายหนูพุกใหญ่แต่มีขนาดเล็กกว่า น้ำหนัก
ประมาณ 200 กรัม ขนส่วนหลังมีสีเทาเข้ม ขนด้านท้องสีเทาอ่อน
หางมีสีเดียว บางครัง้ ปลายหางมีสีขาว ตีนหลังมีความยาวน้อย
กว่า 50 มิลลิเมตร มีเสียงร้องขู่เบาๆ

®œ
¼o° …
šŠ µª œ
µo

Rattus rattus (Linnaeus, 1758)

หนูท้องขาวบ้าน (roof rat, ship rat)


ชื่อวิทยาศาสตร์ Rattus rattus (Linnaeus, 1758)
ลักษณะ: ขนด้านหลังสีน้ำตาล กลางหลังมีขนสีดำแทรก ขนด้าน
ท้องสีขาวครีม บางครัง้ พบแถบขนสีน้ำตาลคล้ำจากส่วนคอถึง
กลางอก บริเวณตีนหลังมีขนยาว มีขนดำขึน
้ แทรก หางดำและมี
เกล็ดขนาดเล็ก มีความยาวมากกว่าความยาวหัวรวมกับลำตัว
จมูกและใบหน้าแหลม หูใหญ่ ตาโต โดยทัว่ ไปเพศเมียเต้านม
บริเวณอก 2 คู่ ท้อง 3 คู่ พบได้ทุกภาคในประเทศไทย
หนูนอร์เว หนูขยะ หนูท่อ (norway rat, brown rat, harbor
rat)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Rattus norvegicus (Berkenhout, 1769)
ลักษณะ: ขนด้านหลังสีน้ำตาล กลางหลังมีขนสีดำแทรก ขนด้าน
ท้องสีขาวครีม บางครัง้ พบแถบขนสีน้ำตาลคล้ำจากส่วนคอถึง
กลางอก บริเวณตีนหลังมีขนยาว มีขนดำขึน
้ แทรก หางดำและมี
เกล็ดขนาดเล็ก มีความยาวมากกว่าความยาวหัวรวมกับลำตัว
จมูกและใบหน้าแหลม หูใหญ่ ตาโต โดยทัว่ ไปเพศเมียเต้านม
บริเวณอก 2 คู่ ท้อง 3 คู่ พบได้ทุกภาคในประเทศไทย
หนูนาใหญ่ (ricefield rat)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Rattus argentiventer (Robinson and
Kloss, 1916)
ลักษณะ: หนูศัตรูข้าวทีสำ
่ คัญในภาคกลางและภาคใต้ ตัวเต็มวัย
หนัก 100-250 กรัม ขนด้านหลังสีเหลืองปนเทา มีขนสีดำแทรก
ขนด้านท้องสีเงินปนขาวหรือน้ำตาลอ่อน บริเวณตีนหลังมีขนสี
ขาว หางดำ มีความยาวสัน
้ กว่าความยาวหัวรวมกับลำตัว โดย
ทั่วไปเพศเมียเต้านมบริเวณอก 3 คู่ ท้อง 3 คู่

หนูนาเล็ก (lesser ricefield rat)


ชื่อวิทยาศาสตร์ Rattus losea (Swinhoe, 1870)
ลักษณะ: หนูศัตรูพืชที่สำคัญของข้าวและธัญพืชเมืองหนาว ตัว
เต็มวัยหนัก 77-100 กรัม ขนด้านหลังสีน้ำตาลคล้ำปนดำ นุ่มและ
ไม่มีขนแข็งแทรก ขนด้านท้องสีเทาขีเ้ ถ้า บริเวณตีนหลังมีสี
น้ำตาลคล้ำ หางมีความยาวสัน
้ กว่าความยาวหัวรวมกับลำตัว โดย
ทั่วไปเพศเมียเต้านมบริเวณอก 2 คู่ ท้อง 3 คู่ พบได้ทุกภาคใน
ประเทศไทย โดยเฉพาะภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ

หนูจ๊ ด
ี (polynesian rat)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Rattus exulans (Peal, 1848)
ลักษณะ: หนูขนาดเล็กที่สด
ุ ตัวเต็มวัยหนัก 27-60 กรัม ขนด้าน
หลังสีน้ำตาลแก่ ขนด้านท้องสีเทาคล้ำ บริเวณตีนหลังมีความยาว
ประมาณ 22-26 มิลลิเมตร หางมีความยาวมากกว่าความยาวหัว
รวมกับลำตัว โดยทัว่ ไปเพศเมียเต้านมบริเวณอก 2 คู่ ท้อง 2 คู่
พบได้ทุกภาคในประเทศไทย อาศัยอยู่ตามห้องเก็บของ ลิน
้ ชักตู้
และยุ้งฉาง
หนูป่ามาเลย์ (malayan wood rat)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Rattus tiomanicus (Miller, 1900)
ลักษณะ: หนูศัตรูปาล์มที่สำคัญ ตัวเต็มวัยหนัก 55-152 กรัม ขน
ด้านหลังสีน้ำตาลปนเขียวมะกอก ขนด้านท้องสีขาวปนเทา โดย
ทั่วไปเพศเมียเต้านมบริเวณอก 2 คู่ ท้อง 3 คู่ พบมากทางภาคใต้
อาศัยอยู่ในสวนปาล์ม

หนูหริ่งนาหางยาว (ryukyu mouse)


ชื่อวิทยาศาสตร์ Mus caroli (Bonhote, 1902)
ลักษณะ: หนูศัตรูพืชที่สำคัญของข้าว ธัญพืชเมืองหนาว และพืช
ไร่ ฟั นแทะคู่บนตัง้ ฉากกับ palate มีสีแทนหรือน้ำตาลเข้ม ฟั น
แทะคู่ล่างมีสีขาว จมูกสัน
้ ตีนหลังใหญ่สีเทา หางมีสองสี ด้านบน
มีสีดำ ด้านล่างมีสีขาว มีความยาวมากกว่าความยาวหัวรวมกับลำ
ตัว พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคตะวันออก

หนูหริ่งนาหางสัน
้ (fawn-colored mouse)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Mus caroli (Bonhote, 1902)
ลักษณะ: หนูศัตรูพืชที่สำคัญของข้าว ธัญพืชเมืองหนาว และพืช
ไร่ ฟั นแทะคู่บนงอเข้า ไม่ตงั ้ ฉากกับ palate ฟั นแทะคู่ล่างมีสีขาว
หรือคล้ำกว่าหนูหริ่งนาหางยาว จมูกยาว ตีนหลังสีขาว หางสองสี
แต่อ่อนกว่าหนูหริ่งนาหางยาว มีความยาวสัน
้ กว่าความยาวหัว
รวมกับลำตัว พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ และภาคตะวันออก

You might also like