You are on page 1of 2

สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช

งูปลิง
Enhydris plumbea (Boie, 1827)
Olive water snake/Plumbeous water snake
งูปลิง – Enhydris plumbea (Boie, 1827

ลักษณะ งูขนาดตัวเล็ก (จากปลายปากถึงรูกน 272-302 มิลลิเมตร และหางยาว 40 มิลลิเมตร)


หัวแบนเล็กนอยและสวนหัวกวางกวาลําคอเล็กนอย สวนปลายของหัวมน ตาเล็ก ลําตัวสั้นและ
กลม หางสั้นและเรียวเล็กกวาลําตัวมาก ผิวหนังลําตัวมีเกล็ดปกคลุม เกล็ดบนหัวเปนแผนกวาง
เกล็ดบนหลังและดานบนของหางมีพื้นผิวเรียบและเปนมัน เกล็ดทองขยายกวาง เกล็ดใตหางเปน
แถวคู เกล็ดรอบลําตัวในตําแหนงกึ่งกลางตัวจํานวน 19 เกล็ด เกล็ดทองจํานวน 112-132 เกล็ด
และเกล็ดใตหางจํานวน 29-43 เกล็ด
ลําตัวมีดานบนของหัวและบนหลังสีเทาอมเขียวหรือสีเทาอมเหลือง หัวสีคล้ํากวา
ลําตัวเล็กนอย เกล็ดบนหลังและดานขางลําตัวมีขอบสีเขม คางและใตคอสีขาวหรือสีครีม ดาน
ทองและใตหางสีเหลืองและมีประสีดํายาวในแนวกลางตัว
การแพร กระจาย จีน อิน เดีย เมีย นมาร ลาว เวีย ตนาม กัม พูชามาเลยเซี ย อินโดนีเ ซีย ใน
ประเทศไทยพบทุกภาคของประเทศ ในพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราชพบในอางเก็บน้ํา
หรือแองน้ําขังตามรอยลอรถในแนวกันไฟหลังฝนตก ในปาเต็งรัง และในปาดิบแลง
พื้นที่อาศัย ในแหลงน้ําหรือพื้นที่ใกลเคียงแหลงน้ํา
นิสัย อาศัยในแหลงน้ําจืดและกินสัตวน้ํา (ปลา กบ เขียด) ชอบอาศัยในแหลงน้ําของระบบนิเวศ
น้ํานิ่งมากกวาระบบนิเวศน้ําไหล ออกหากินทั้งเวลากลางวันและเวลากลางคืน อาศัยในน้ําหรือ
ใกลเคียงแหลงน้ําตลอดเวลา และมีพฤติกรรมชูสวนหัวใหปลายหัวอยูผิวน้ําสวนลําตัวตั้งในแนวดิ่ง
และสวนทายตัวฝงอยูในโคลน นิ่ง และถาถูกรบกวนจะคอยๆ ถอยกลับเขาไปในโคลนหมดทั้งตัว
แตชวงเวลาฝนตกจะขึ้นจากแหลงน้ําและเลื้อยหาแหลงน้ําแหงอื่น บางครั้งจึงพบในแองน้ําขัง
ชั่วคราวที่กระจายอยูในปาเต็งรังและในปาดิบแลง งูชนิดนี้ตกลูกเปนตัว และพบลูกงูในเดือน
เมษายน-พฤษภาคม
สถานภาพ ไมไดเปนสัตวปาคุมครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535
และไมมีสถานภาพเพื่อการอนุรักษตามเกณฑของ Office of Natural Resources and
Environmental Policy and Planning (2005) และตามเกณฑของ IUCN (2008) ในพื้นที่สถานี
วิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราชพบไดนอยครั้ง

You might also like