You are on page 1of 2

สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช

สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช

งูลายสอสวน งูลายสอบาน
Xenochrophis flavipunctatus (Hallowell, 1860)
Yellow-spotted keelback
งูลายสอสวน งูลายสอบาน – Xenochrophis flavipunctatus (Hallowell, 1860)

ลั ก ษณะ งู ข นาดตั ว ปานกลาง (จากปลายปากถึ ง รู ก น 403 มิ ล ลิ เ มตร และหางยาว 164


มิลลิเมตร) หัวกลมรีและสวนของหัวกวางกวาลําคอเล็กนอย สวนปลายของหัวเรียว ตาคอนขาง
ใหญ ลําตัวปอม หางยาวและสวนปลายหางเรียว ผิวหนังลําตัวมีเกล็ดปกคลุม เกล็ดบนหัวเปน
แผนกวาง เกล็ดบนหลังมีสัน โดยสันของแผนเกล็ดมีขนาดใหญขึ้นตามลําดับไปทางดานทายของ
ลําตัว เกล็ดทองขยายกวาง เกล็ดใตหางเปนแถวคู เกล็ดรอบลําตัวในตําแหนงกึ่งกลางตัวจํานวน
19 เกล็ด เกล็ดทองจํานวน 132 เกล็ด และเกล็ดใตหางจํานวน 77 เกล็ด
ลําตัวมีดานบนของหัวและบนหลังสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลอมเขียว ดานขางของหัวมี
เสนสีดําจากดานลางของตาลงไปที่เกล็ดขอบปากบนแผนที่ 6 และมีเสนสีดําจากทางดานทายตา
(แตไมติดกับตา) ลงไปที่มุมขากรรไกร ทางดานทายของมุมขากรรไกรมีเสนสีดําพาดเฉียงขึ้นไปที่
สวนบนของทายทอย บนหลังและทางดานบนของหางมีจุดใหญสีดํากระจายอยูทางดานบนของ
ลําตัวและจุดสีดํามีขนาดเล็กลงตามลําดับไปทางดานทายลําตัวและเลือนเมื่อไปถึงหาง ทาง
สวนลางของลําตัวมีปนยาวสีดําพาดขวางเปนระยะตลอดความยาวลําตัว คาง ใตคอ ดานทอง
และใตหางสีขาว แตเกล็ดทองมีขอบดานทายเปนสีดํา
การแพรกระจาย จีน อินเดีย เมียนมาร ลาว เวียตนาม กัมพูชา มาเลยเซีย ในประเทศไทยพบ
ทุกภาคของประเทศ ในพื้นที่สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราชพบบริเวณโดยรอบอางเก็บน้ํา
พื้นที่อาศัย ใกลแหลงน้ํา
นิสั ย หากิ น เวลากลางวั น ในพื้น ที่ใกลแ หลง น้ํา และกิน สั ตวน้ํา (ปลา กบ เขี ย ด) และชอบน้ํ า
มากกวางูลายสาบคอแดงหรืองูลายสาบเขียวขวั้นดํา นิสัยดุและฉกกัดถาเขาไปใกล ชวงเวลาที่
เลื้อยและตองการใหเร็วขึ้นจะพุงใหลําตัวยกสูงขึ้นมาจากพื้นดินเปนระยะ วายน้ําไดเร็วและดําน้ํา
ไดนาน ไมพบพฤติกรรมแสรงบาดเจ็บใกลตายเหมือนกับของงูลายสอใหญ
สถานภาพ ไมไดเปนสัตวปา คุมครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุม ครองสัตวปา พ.ศ. 2535
และไมมีสถานภาพเพื่อการอนุรักษตามเกณฑของ Office of Natural Resources and
Environmental Policy and Planning (2005) และตามเกณฑของ IUCN (2008) ในพืน้ ที่สถานี
วิจัยสิง่ แวดลอมสะแกราชพบไดบอยครั้ง

You might also like