You are on page 1of 13

1

สัทศาสตร์

 สัทศาสตร์ (Phonetics) แบ่งออกเป็ น

1. สรีรสัทศาสตร์ (Articulatory phonetics) ศึกษาเกี่ยวกับ


อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง และการทำงานของอวัยวะเหล่านัน

เช่น การทำงานของปอด กล่องเสียง เส้นเสียง ลิน
้ ฟั น
2. กลสัทศาสตร์ (Acoustic phonetics) ศึกษาลักษณะทาง
กายภาพของคลื่นเสียง เช่น ความถี่ของเสียง (frequency)ควา
มเข้มของเสียง (intensity)
3. โสตสัทศาสตร์ (Auditory phonetics) ศึกษาเกี่ยวกับการรับ
ฟั งเสียงของหู ลักษณะทางภายภาพและการทำงานของหู

 เสียงพูด (Speech sounds) ต้องผ่านกระบวนการทำงาน 3

กระบวนการ คือ

กระบวนการทำงานของปอด (Respiratory process)


เป็ นการทำงานของปอด (lungs) กล้ามเนื้อ ปอด (muscle of lungs)
และหลอดลม (trachea) เพื่อผลิตกระแสลมหรือลมหายใจออกมา
และกระแสลมจะถูกแปรให้เป็ นเสียงจาก กระบวนการทำงานของ
เส้นเสียง (Phonatory process) โดยภายในกล่องเสียง (larynx)
จะมีเส้นเสียง (vocal cords) กระแสลมถูกแปรไปจากการทำงานของ
เส้นเสียง และผ่านไปยัง กระบวนการทำงานของอวัยวะที่ใช้ในการ
ออกเสียงภายในปาก (Articulatory process) โดยกระแสลมผ่าน
ไปยังช่องปาก (oral cavity) ช่องจมูก (nasal cavity) แล้วอวัยวะที่ใช้
ในการออกเสียง เช่น ลิน
้ ฟั น เพดานปากจะเคลื่อนที่สัมพันธ์กัน
ทำให้กระแสลมกลายเป็ นเสียงต่างๆ
2

 กระแสลมที่ใช้ในการออกเสียง (airstream)
o ทิศทางของกระแสลม (directions of airstream)
- กระแสลมพุง่ ออก (egressive airstream)
- กระแสลมพุง่ เข้า (ingressive airstream)
- กระแสลมทางตรง (central airstream) (ส = ลิน
้ ยกขึน
้ ไป
ติดกับฟั นบนด้านข้าง)
- กระแสลมทางข้างลิน
้ (lateral airstream) (ล = ปลายลิน

จรดปุ ่มเหงือก)

 กลไกกระแสลมที่ใช้ในการออกเสียง (airstream mechanism)


แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ
1. กลไกกระแสลมจากปอด (pulmonic airstream
mechanism)
กลไกกระแสลมประเภทนีเ้ กิดจากการทำงานของปอดและ
กล้ามเนื้อปอด บีบตัวผลักดันลมให้กลายเป็ นกระแสลม (พุ่ง
ออก – การพูด / พุ่งเข้า – การหาว, กรน, สะอื้น, พูดยาวๆ)
2. กลไกกระแสลมจากกล่องเสียง (glottalic airstream
mechanism) หรือ (pharyngeal
airstream mechanism)
กลไกกระแสลมประเภทนีเ้ กิดจากการที่เส้นเสียงเมื่อปิ ด
สนิทหรือเกือบปิ ดสนิทแล้วเคลื่อนที่ขน
ึ ้ หรือลง ถ้าเส้นเสียง
เคลื่อนที่ลงก็จะดึงกระแสลมให้พงุ่ เข้า ถ้าเส้นเสียงเคลื่อนที่ขน
ึ้
3

ก็จะดึงกระแสลมให้พุ่งออก กลไกกระแสลมประเภทนีจ
้ ะใช้ลม
เฉพาะที่เหนือจากช่องคอ (pharynx) ขึน
้ ไปเท่านัน
้ ทำให้มี
ปริมาตรอากาศน้อย ได้ยินเป็ นเสียงค่อนข้างสัน
้ (เด็กหัดพูด)

กลไกกระแสลมประเภทนีท
้ ำให้เกิดเสียง 2 ประเภท คือ
1) เสียงที่เกิดจากกลไกส่งกระแสลมจากกล่องเสียงชนิดพุ่ง
ออก (an egressive glottalic
airstream mechanism) หรือเสียงลมจากคอออก (ejective)
[ p’ Bilabial / t’ Dental alveolar / k’ Velar / s’
Alveolar fricative ]
เสียงประเภทนี ้ มีเส้นเสียงที่ปิดสนิทเป็ นตัวผลักดันลม
และมีการกักลม ณ จุดใดจุด
หนึ่งในช่องปาก ซึ่งอาจจะเป็ นที่ริมฝี ปากทัง้ สอง ที่ปุ่มเหงือก
หรือที่เพดานอ่อน เส้นเสียงจะ
เคลื่อนตัวเข้าหากันและปิ ดสนิท และจะเคลื่อนตัวขึน
้ ทำให้
อากาศที่อยู่ภายในที่ถูกกักมีความ
ดันมากขึน
้ และเมื่อเปิ ดที่กักลมส่วนหน้าออก ลมก็จะพุ่งออก
เสียงลมจากคอออกนีถ
้ ือว่าเป็ น
เสียงอโฆษะ (voiceless)
Example :
p’ = voiceless bilabial ejectives
เสียงนีใ้ ช้กลไกกระแสลมจากกล่องเสียงชนิดพุ่งออก (an
egressive glottalic airstream
4

mechanism) เกิดจากมีการกักลม ณ ริมฝี ปากทัง้ สอง เส้น


เสียงจะเคลื่อนตัวเข้าหากันและปิ ดสนิท (closed glottis) และ
จะเคลื่อนตัวขึน
้ เล็กน้อย ทำให้พ้น
ื ที่ในช่องปากเล็กลง (oral
cavity) อากาศที่อยู่ภายในที่ถูกกักมีความดันมากขึน
้ และเมื่อ
เปิ ดริมฝี ปากทัง้ สอง ลมก็จะพุ่งออก เกิดกระแสลมแบบพุ่งออก
(egressive airstream) และเป็ นเสียงไม่สั่น (voiceless)
[ pa: = pulmonic / p’pa: = glottalic pumonic ]

2) เสียงที่เกิดจากกลไกส่งกระแสลมจากกล่องเสียงชนิดพุ่ง
เข้าร่วมกับกลไกส่งกระแสลมจากปอดชนิดพุ่งออก (an
ingressive glottalic airstream mechanism and an
egressive pulmonic airstream mechanism) หรือเสียงลม
จากคอเข้า (implosive)
เสียงประเภทนีม
้ ีการเคลื่อนตัวลงของเส้นเสียงเป็ นตัวผลัก
ดันลม มีการกักลมที่ส่วนหนึ่ง
ของช่องปาก ซึ่งอาจจะเป็ นที่ริมฝี ปากทัง้ สอง ปุ ่มเหงือก
เพดานแข็ง เพดานอ่อน หรือลิน
้ ไก่
เส้นเสียงที่ไม่ได้ปิดสนิทจะเคลื่อนตัวลงเล็กน้อย และเนื่องจาก
เส้นเสียงนัน
้ ไม่ได้ปิดสนิท ทำให้
ลมจากปอดสามารถเคลื่อนผ่านเส้นเสียงออกมาได้เล้กน้อย จึง
ทำให้เส้นเสียงสั่นเป็ นเสียงโฆษะ
(voiced) จากการเคลื่อนตัวของเส้นเสียง ทำให้อากาศในช่อง
ปากมีความดันน้อยลง เมื่อเปิ ดที่
5

กักลมส่วนหน้าออก กระแสลมจากภายนอกที่มีความดัน
มากกว่าจึงพุ่งเข้ามา ทำให้เกิดกระแส
ลมชนิดพุง่ เข้า
[ b Bilabial / d Dental alveolar / ʄ Palatal / g
Velar / G Uvula ]
Example :
เส้นเสียงนีใ้ ช้กลไกกระแสลมจากกล่องเสียงชนิดพุ่งเข้าร่วม
กับกลไกส่งกระแสลมจากปอด
ชนิดพุ่งออก (an ingressive glottalic airstream
mechanism and an egressive
pulmonic airstream mechanism) เกิดจากมีการกักลม
ณ....... เส้นเสียงจะเคลื่อนตัวเข้า
หากันแต่ไม่ปิดสนิท จึงทำให้ลมจากปอดสามารถเคลื่อนตัวผ่าน
เส้นเสียงออกมาได้เล็กน้อย ทำ
ให้เส้นเสียงสั่นเป็ นเสียงโฆษะ (voiced) ขณะเดียวกันเส้นเสียง
จะเคลื่อนตัวลงเล็กน้อย ทำให้
พื้นที่ในช่องปากใหญ่ขน
ึ ้ (oral cavity) อากาศในช่องปากมี
ความดันน้อยลง พอเปิ ดปากอากาศ
ภายนอกซึ่งมีความดันมากกว่าจึงพุ่งเข้า จึงทำให้เกิดกระแสลม
แบบพุ่งเข้า (ingressive
airstream)

 สภาพช่องเส้นเสียง (the state of the glottis)


6

บนหลอดลม (trachea) มีกล่องเสียง (larynx) ภายในกล่องเสียง


มีเส้นเสียง (vocal cords) 2 เส้น
เป็ นตัวแปรกระแสลมที่เคลื่อนผ่านออกมาจากหลอดลมให้เป็ นเสียง
กล่องเสียง (larynx) ประกอบด้วยกระดูกอ่อน 3 ส่วน คือ
1. กระดูกอ่อนไทรอยด์ (thyroid)
2. กระดูกอ่อนไครคอยด์ (cricoid)
3. กระดูกอ่อนแอริทินอยด์ (arytenoid)

สภาพช่องเส้นเสียงที่มีลักษณะต่างๆกัน เกิดจากการทำงานของ
เส้นเสียง (vocal cords) ร่วมกับกระดูกอ่อนไทรอยด์, ไครคอยด์,
และแอริทินอยด์ ทำให้เกิดสภาพช่องเส้นเสียงแตกต่างกัน ดังนี ้

1. สภาพช่องเส้นเสียงปิ ดสนิท (closed glottis)


เส้นเสียงบีบตัวเข้าชิดกันจนปิ ดสนิท แล้วจึงเปิ ดออกให้
กระแสลมผ่านออกไป
(เสียงพยัญชนะกักหรือหยุดฐานเส้นเสียง (glottal stop) / ยก
ของหนัก หรือ กลัน
้ ลมหายใจ)

2. สภาพช่องเส้นเสียงเปิ ดกว้าง (open glottis)


สภาพเส้นเสียงจะอยู่ในลักษณะที่ด้านหน้าติดกัน ด้านหลังแยก
ออกจากกัน ทำให้ลมผ่านช่อง
ระหว่างเส้นเสียงออกไปอย่างสะดวก (เวลาเราหายใจปกติ) เกิดเสียง
ประเภทอโฆษะ (voiceless) ขึน

3. สภาพช่องเส้นเสียงสั่น (glottis in vibration)


การที่เส้นเสียงเคลื่อนตัวเข้าหากันขณะที่กระแสลมเคลื่อนผ่าน
เส้นเสียงนัน
้ แรงดันของกระแส
7

ลมจากใต้เส้นเสียงจะดันให้เส้นเสียงแยกตัวออกจากกัน เมื่อแรงดัน
หมดไป ก็ทำให้เส้นเสียงปิ ดตัวเข้าหากัน จากนัน
้ กระแสลมกลุ่มต่อไป
ก็จะดันให้เส้นเสียงแยกออกจากกันอีก ลักษณะนีท
้ ำให้เส้นเสียงมี
ลักษณะเปิ ด-ปิ ดสลับกันไป ทำให้เกิดสภาวะเส้นเสียงสั่น เกิดเสียง
ประเภทโฆษะ (voiced) ขึน
้ และจำนวนครัง้ ของการเปิ ด-ปิ ด ทำให้
เกิดระดับเสียง (pitch) (เสียงสูง-ต่ำ)

4. สภาพช่องเส้นเสียงเป็ นแบบเสียงกระซิบไม่ก้อง (whisper)


เส้นเสียงจะเคลื่อนที่เข้าชิดกัน แต่ส่วนท้ายประมาณเศษ 1
ส่วน 3 ของเส้นเสียงทัง้ หมดและอยู่ตรงส่วนกระดูกอ่อนแอริทินอยด์
แยกออกจากกัน

5. สภาพช่องเส้นเสียงเป็ นเสียงพูดลมแทรก (breathy voiced)


ช่องเส้นเสียงจะแยกจากกันเล็กน้อยและอยู่ในสภาพสั่น มี
กระแสลมไหลผ่านออกมา
ค่อนข้างมาก (เวลาออกเสียง h ที่อยู่ระหว่างเสียงสระ เช่น ahead,
behind)

6. สภาพช่องเส้นเสียงเป็ นแบบเสียงพูดต่ำลึก (creaky voiced)


เส้นเสียงช่วงหลังที่เชื่อมกับกระดูกอ่อนแอริทินอยด์จะชิดติด
กัน แต่เส้นเสียงด้านหน้าจะสั่น
ช้าๆ

3. กลไกกระแสลมจากเพดานอ่อน (velaric airstream


mechanism) หรือ (oral airstream mechanism)
8

กลไกกระแสลมประเภทนีเ้ กิดจากการที่ลน
ิ ้ ส่วนหลัง (back
of the tongue) ยกขึน
้ ไปจรด
เพดานอ่อน (velum) เมื่อเคลื่อนลิน
้ ส่วนหลังที่ติดกับเพดานอ่อน
ไปข้างหน้าจะเกิดกระแสลมแบบ
พุ่งออก ถ้าเคลื่อนไปข้างหลังจะเกิดกระแสลมแบบพุง่ เข้า
เป็ นการใช้กระแสลมภายในช่องปาก
เท่านัน
้ เช่น เสียงเดาะลิน
้ (clicks)
กลไกกระแสลมประเภทนีท
้ ำให้เกิดเสียง 1 ประเภท คือ
1) เสียงที่เกิดจากกลไกส่งกระแสลมจากเพดานอ่อนชนิดพุ่ง
เข้า (an ingressive
velaric airstream mechanism) หรือเสียงเดาะลิน
้ (click)
[ ]
= voiceless bilabial clicks (เสียงเดาะลิน
้ ฐานริม
ฝี ปากทัง้ สอง)
เสียงประเภทนีม
้ ีลน
ิ ้ ส่วนหลัง (back of the tongue) ซึ่งยก
ขึน
้ ไปจรดเพดานอ่อน
(velum) เป็ นตัวผลักดันลม มีการปิ ดกักในช่องปากตาม
ตำแหน่งต่างๆ (ริมฝี ปากทัง้ สอง) ขณะเดียวกันก็ยกลิน
้ ส่วนหลัง
ขึน
้ ไปติดกับเพดานอ่อน จากนัน
้ อุ้งลิน
้ ก็จะหย่อนไปข้างหลังเล็ก
น้อย ทำให้ภายในช่องปากมีพ้น
ื ที่มากขึน
้ อากาศในช่องปากมี
ความดันน้อยลง เมื่อเปิ ดที่กักลมส่วนหน้าออก กระแสลมจาก
ภายนอกที่มีความดันมากกว่าก็จะเคลื่อนเข้ามา ทำให้เกิด
9

กระแสลมแบบพุง่ เข้า (ingressive airstream) ตรงส่วนกลาง


ของปาก
= voiceless alveolar lateral clicks (เสียงเดาะ
ลิน
้ ลมออกทางข้างลิน
้ )
เสียงประเภทนีม
้ ีปลายสุดลิน
้ (tip of the tongue) ยกขึน
้ ไป
จรดปุ ่มเหงือก (alveolar)
ส่วนข้างของลิน
้ ยกขึน
้ ไปจรดฟั นบนด้านข้าง ลิน
้ ส่วนหลังก็ยก
ขึน
้ ไปติดกับเพดานอ่อน จากนัน

อุ้งลิน
้ ก็จะหย่อนไปข้างหลังเล็กน้อย ทำให้ภายในช่องปากมี
พื้นที่มากขึน
้ อากาศในช่องปากมี
ความดันน้อยลง และเมื่อปล่อยลิน
้ ด้านข้างลง (ส่วนด้านหน้าที่
ปุ ่มเหงือกยังปิ ดอยู่) กระแสลม
จากภายนอกที่มีความดันมากกว่าก็พุ่งเข้าทางด้านข้างของลิน

 สภาพของเพดานอ่อน (the state of the velum)


ลักษณะการวางตัวของเพดานอ่อนอาจมีลักษณะยกขึน
้ (ติด
กับผนังคอ pharynx) หรือหย่อนลง
ถ้ายกขึน
้ (raised position) กระแสลมเคลื่อนเข้าออกทางปาก เรียก
ว่า เสียงออกทางปาก (oral sounds) ถ้าหย่อนลง (lowered
position) กระแสลมเคลื่อนตัวไปยังช่องจมูกได้ด้วย เรียกว่า เสียง
ออกทางจมูก (nasal sounds)
10

 อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง (articulators)

 ฐานหรืออวัยวะที่ใช้ในการออกเสียงซึ่งไม่เคลื่อนที่ (passive
articulators)
- ริมฝี ปากบน (upper lip) - เพดานแข็ง
(hard palate)
- ฟั นบน (upper teeth) - เพดานอ่อน
(velum)
- ปุ ่มเหงือก (alveolar ridge, gumridge) - ลิน
้ ไก่
(uvula)
- หลังปุ ่มเหงือก (postalveolar) - ผนังคอ
(pharyngeal wall)
- หน้าเพดานแข็ง (the front part of hard palate)

 กรณ์หรืออวัยวะที่ใช้ในการออกเสียงซึ่งเคลื่อนที่ (active
articulators)
- ริมฝี ปากล่าง (lower lip) - ลิน
้ ส่วนหลัง
(back of the tongue)
- ปลายสุดลิน
้ (tip of the tongue) - โคนลิน

(root of the tongue)
- ลิน
้ ส่วนปลาย (blade) - เส้นเสียง
(vocal cords)
- ลิน
้ ส่วนหน้า (front of the tongue)

 ฐานที่เกิดของเสียง (place of articulation)


11

1. ฐานริมฝี ปากทัง้ สอง (bilabial) 7. ฐานเพดานแข็ง


(palatal)
2. ฐานริมฝี ปากล่าง-ฟั นบน (labiodental) 8. ฐานเพดานอ่อน
(velar)
3. ฐานฟั น (dental) 9. ฐานลิน
้ ไก่ (uvula)
4. ฐานปุ ่มเหงือก (alveolar) 10. ฐานผนังคอ
(pharyngeal)
5. ฐานหลังปุ ่มเหงือก (postalveolar) 11. ฐานเส้นเสียง
(glottal)
6. ฐานส่วนหน้าของเพดานแข็ง (alveolar)

 ลักษณะการออกเสียง (manner of articulation) ใช้


กลไกกระแสลมจากปอด
1. เสียงกัก (plosive)
มีการกักลมไว้ในช่องปาก เพดานอ่อนยกตัวขึน
้ ปิ ดลมไม่ให้
ขึน
้ ช่องจมูก เมื่ออวัยวะที่ใช้ในการออกเสียงที่เคลื่อนที่ได้ (AA)
เคลื่อนออกจากอวัยวะที่ไม่เคลื่อนที่ (PA) ลมก็จะพุ่งออกจากช่อง
ปาก
1) เสียงกักแบบธนิต (aspirated plosive)
เสียงกักที่เมื่อออกเสียงแล้วมีกลุ่มลมแทรกตามออกมา
หลังจากที่เปิ ดฐานกรณ์ (พา, ทา, คา, pie, tie, kind)
2) เสียงกักแบบสิถล
ิ (unaspirated plosive)
เสียงกักที่เมื่อออกเสียงแล้วมีกลุ่มลมแทรกตามออกมา
หลังจากที่เปิ ดฐานกรณ์ (ปา, ตา, กา, spy, style, sky)

2. เสียงนาสิก (nasal)
12

มีการกักลมไว้ในช่องปาก แต่เพดานอ่อนไม่ได้ยกตัวขึน

ทำให้ลมที่ถูกกักอยู่ในช่องปากสามารถผ่านออกมาทางช่องจมูกได้
3. เสียงรัวลิน
้ (trill)
AA เคลื่อนไปตีกับ PA ปิ ด-เปิ ดซ้ำๆกันอย่างเร็ว ติดต่อกัน
หลายครัง้ ขณะที่มีกระแสลมเคลื่อน
ผ่าน
4. เสียงกระดกลิน
้ หรือเสียงสะบัดลิน
้ (tap or flap)
คล้ายกับเสียงรัวลิน
้ เพียงแต่ AA เคลื่อนไปตีกบ
ั PA เพียงครัง้
เดียว ส่วนเสียงสะบัดลิน
้ คือส่วน
ของปลายลิน
้ ยกขึน
้ ไปจรดส่วนหลังของปุ ่มเหงือก แล้วสะบัด
ผ่านลงอย่างรวดเร็ว
5. เสียงเสียดแทรก (fricative)
เป็ นเสียงที่เกิดขึน
้ โดย AA เคลื่อนที่เข้าไปใกล้กับ PA ทำให้
ช่องทางเดินของกระแสลมเป็ นช่องแคบ ลมที่ผ่านออกมาจึงต้อง
แทรกออกมาเป็ นเสียงเสียดแทรก
6. เสียงกึ่งเสียดแทรก (affricate)
เป็ นเสียงผสมระหว่างเสียงกักกับเสียงเสียดแทรก คือ AA จะ
เคลื่อนไปปิ ดสนิทกับ PA จากนัน

จะเคลื่อนตัวแยกออกช้าๆ จึงทำให้เกิดช่องแคบให้กระแสลม
แทรกออกมา
7. เสียงเปิ ด (approximant)
เป็ นเสียงที่เกิดจาก AA เคลื่อนที่เข้าไปยัง PA แต่อยู่ห่างกัน
มากจนเกิดช่องว่างทำให้กระแสลม
สามารถผ่านไปได้อย่างสะดวก
8. เสียงข้างลิน
้ (lateral app.)
13

เป็ นการกักลมไว้ตรงช่องกลางของปาก โดยยกส่วนของลิน


้ ไป
แตะฐานบนเพดานปากให้สนิท แล้วปล่อยให้กระแสลมผ่านออก
มาทางด้านข้างของลิน
้ ข้างใดข้างหนึง่ หรือทัง้ สองข้าง

You might also like