You are on page 1of 33

ผลกระทบด้านสุขภาพจากสารมลพิษทางอากาศ

กลุ่ม F2
แหล่งกำเนิดสารมลพิษทางอากาศ
1. แหล่งกำเนิดตามธรรมชาติ (Natural Sources)

ภูเขาไฟระเบิด

ไฟป่ า
1. แหล่งกำเนิดตามธรรมชาติ (Natural Sources)

ฟ้ าผ่า

ทะเล มหาสมุทร
2. แหล่งกำเนิดที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ (Man-Made Sources)

1) แหล่งกำเนิดที่เคลื่อนที่ได้ (Mobile Source)

เครื่องบิน
รถยนต์ เรือยนต์
2. แหล่งกำเนิดที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ (Man-Made Sources)

2) แหล่งกำเนิดที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Stationary Source)

ชุมชนเมือง พื้นที่การเกษตร
2. แหล่งกำเนิดที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ (Man-Made Sources)

โรงไฟฟ้ า โรงงานอุตสาหกรรม
ประเภทของสารมลพิษทางอากาศ
1. สารมลพิษที่มีลักษณะเป็ นอนุภาค (Particulate Matter)

1.1 ควัน (Smoke)


• เป็ นอนุภาคขนาดเล็ก เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารที่มคี าร์บอนเป็
นองค์ประกอบ เช่น น้ำมันเชือ้ เพลิง ถ่านหิน
• ควันที่ถกู ปล่อยจากท่อไอเสีย อาจมี CO2 , SO2, CO หรือก๊าซอื่นๆ ขึน้ กับชนิ
ดของเชือ้ เพลิง

1.2 ไอควันหรือฟูม (Fume)


• คือของแข็งที่มขี นาดเล็กกว่า 1 ไมครอน
• ส่วนใหญ่เกิดจากการควบแน่นของไอ
จากปฏิกิริยาทางเคมีบางอย่าง
1.3 หมอก (Fog)
• เป็ นละอองน้ำขนาดเล็กๆ ลอยใกล้พื้นดิน
ในสภาพอากาศที่ความชืน้ สัมพัทธ์เป็ น 100%

1.4 หมอกควัน (Smog)


• สภาวะที่ใช้เรียกการเกิด smoke และ fog ร่วมกัน

1.5 ละออง (Aerosol)


• อนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่ฟุ้งกระจาย
ในอากาศและลอยในอากาศได้เป็ นเวลานาน
• เช่น ละอองน้ำ หมอก ควัน เป็ นต้น
1.6 ฝุ่น (Dust)
• เป็ นอนุภาคของแข็งขนาดตัง้ แต่ 0.1 - 200 ไมครอน
• ฝุ่ นที่มขี นาดเล็กฟุ้ งกระจายและลอยอยู่ในอากาศได้นานกว่า

1.7 ไอระเหย (Vapours)


• สารที่อยู่ในรูปของก๊าซ ปกติจะอยู่ในรูปของเหลวหรือของแข็งที่
อุณหภูมแิ ละความดันปกติ
• เช่น อะซิโตน แอมโมเนีย เบนซิน 
1.8 สารตะกัว่ (Lead, Pb)
• โลหะหนักชนิดหนึง่ มีสีเทาหรือขาวแกมน้ำเงิน
• ปล่อยเข้าสูบ่ รรยากาศได้หลายรูปแบบ เช่น รูปของธาตุ
ตะกัว่ (Pb) ออกไซด์ของตะกัว่ (PbO, PbO2, PbxO3) ตะกัว่ ซัลเ
ฟต (PbSO4) และตะกัว่ ซัลไฟต์ เป็ นต้น
2. มลสารที่เป็ นก๊าซ (Gases Pollutants)

2.1 คาร์บอนมอนนอกไซด์ (Carbon monoxide, CO)


• ไม่มสี ี ไม่มีกลิ่น ไม่มรี ส จัดเป็ นก๊าซพิษ
• เกิดจาการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารประกอบคาร์บอน

2.2 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide, SO2)


• ไม่มสี ี มีกลิ่นกรด
• โดยมากเกิดจากการเผาไหม้เชือ้ เพลิง (Fossil Fuels) เช่น น้ำมัน และถ่านหิน
ซึ่งมีซัลเฟอร์เป็ นองค์ประกอบ
• ทำปฏิกิริยากับละอองน้ำในบรรยากาศได้เป็ นกรดซัลฟูริค (H2SO4) ก่อให้เ
กิดฝนกรด
2.3 ก๊าซโอโซน
• ก๊าซรูปแบบหนึง่ ของออกซิเจน ไม่เสถียร แต่มพี ลังงานใน
การทำปฏิกิริยาออกซิเดชันสูง
• เกิดจากปฏิกิริยาเคมี Photochemical Oxidation ระหว่างสาร
ประกอบไฮโดรคาร์บอนและก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจนโดยมี
แสงแดดเป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา

2.4 ก๊าซ CFCs (Chlorofluorocarbons)


• ทำลายโอโซนในชัน้ บรรยากาศ
ทำให้รงั สีอลุ ตราไวโอเล็ตสามารถ
ส่งมาถึงพื้นโลกได้มากขึน้
2.5 ออกไซด์ของไนโตรเจน
1.ก๊าซไนตริคออกไซด์ (NO)
• ไม่มสี ี ไม่มีกลิ่น ทำปฏิกิริยากับก๊าซออกซิเจนเปลี่ยนเป็ นไ
นโตรเจนไดออกไซด์

2. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
• สีน ้ำตาลแกมแดงมีกลิ่นฉุน
ละลายน้ำได้ดี
• ทำปฏิกิริยากับละอองน้ำใน
บรรยากาศได้เป็ นกรดไนตริก
(HNO3) ก่อให้เกิดฝนกรด
นอกจากนีย้ งั สามารถแบ่งสารมลพิษอากาศได้เป็ น
2 ประเภท ตามลักษณะการเกิด คือ

1. สารมลพิษอากาศปฐมภูมิ (Primary Air Pollutants)


• คือ แก๊สที่เข้าสูช่ นั้ บรรยากาศโดยตรง
• เช่น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน
ขีเ้ ถ้าและเขม่าควันดำ เป็ นต้น

2. สารมลพิษอากาศท ุติยภ ูมิ (Secondary Air Pollutants)


• คือ แก๊สที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
• เช่น ก๊าซโอโซน
ผลกระทบต่อสุขภาพของสารมลพิษ
1. ฝุ่ นละอองขนาดเล็ก
อันตรายจากคุณสมบัตทิ างเคมี
• ฝุ่ นละอองที่มคี ณ
ุ สมบัตเิ ป็ นกรด อาจก่อการระคายเคืองและการอักเสบของทาง
เดินหายใจ

อันตรายจากโรคติดเชือ้
• ละอองจากการไอจาม เป็ นแหล่งแพร่เชือ้ ไวรัสและโรคติดต่อต่างๆ
• ละอองราหรือเชือ้ แบคทีเรียอาจปะปนมากับฝุ่ นละอองได้

อันตรายจากปฏิกิริยาต่อระบบทางเดินหายใจ
• เกิดการระคายเคือง ไอจาม หรือมีน ้ำมูกไหล เกิดการอักเสบในโพรงจมูก
• หากระคายเคืองเรื้อรัง อาจก่อให้เกิดพังผืดภายในปอด ทำให้ปอดมีประสิทธิภาพ
การทำงานลดลง
2. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
การเข้าสูร่ ่างกาย
• เมือ่ เข้าสูร่ ่างกายทางผิวหนังหรือทางเดินหายใจ จะเปลี่ยนแปลงเป็ นสาร
ซัลไฟต์ไบซัลไฟต์และไฮโดรเจน ก่อให้เกิดการระคายเคือง

อาการเฉียบพลัน
• ผิวหนัง: กัดกร่อนผิวหนัง ผิวหนังไหม้
• ตา: ระคายเคืองตา
• ทางเดินหายใจ: หลอดลมหดตัว หลัง่ น้ำเมือก ไอ
หายใจลำบาก อาจเสียชีวิตจากการขาดอากาศหายใจ

อาการแบบเรื้อรัง
• ทำให้การดมกลิ่นเสียไป
• ทำลายหลอดลมและเนือ้ ปอด นำไปสูก่ ารอักเสบ
3. ออกไซด์ของไนโตรเจน

ก๊าซไนตริกออกไซด์(NO)
• ไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ แต่เมือ่ อยู่ในอากาศจะทำปฏิกิริยากับก๊าซออกซิเจน
กลายเป็ นก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (No2)

ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2)
• เมือ่ รวมตัวกับน้ำจะกลายเป็ นกรดไนตริก (HNO3) มีฤทธิ์กดั กร่อนทำให้เกิด
การระคายเคือง เยื่อบุทางเดินของลมหายใจ
• ถ้าหายใจไปในปริมาณเท่ากับหรือมากกว่า 100 ppm. ภายในเวลา 2-3 นาที
จะเป็ นอันตรายถึงชีวิตได้
• เป็ นอันตรายต่อปอด ทำให้เกิดปอดอักเสบ หลอดลมตีบ
• ทำให้เกิดก๊าซโอโซน
• เกิดจากสารระเหยอินทรีย์ (Volatile Organic Compound) ทำ
ปฏิกิริยากับ NOx โดยมีแสงแดดเร่งปฏิกิริยา ทำให้เกิดการ
ทำลายของเนือ้ ปอด ประสิทธิภาพการทำงานของปอดลดลง
โดยเฉพาะในเด็กและคนชรา

อันตรายจาก Nitric Acid


• ทำปฏิกิริยาระหว่าง NOx กับแอมโมเนีย
• มีผลต่อทางเดินหายใจ ทำลายเนือ้ ปอด
• ผูป้ ่ วยโรคถุงลมโป่ งพองและหลอดลมอักเสบอาการแย่ลง
• ผูป้ ่ วยโรคหัวใจอาการแย่ลง
4. คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)

• ยับยัง้ การขนส่งออกซิเจนของฮีโมโกลบินในเลือดไปยังอวัยวะต่างๆ
• ผลกระทบต่อร่างกายขึน้ อยู่กบั ปริมาณคาร์บอนมอนอกไซด์ในอากาศและ
สุขภาพของแต่ละบุคคล
ความเข้มข้น ระยะเวลาที่
ของ CO ใน หายใจเอา
อาการแสดง
อากาศ ก๊าซเข้าสู ่
(ppm) ร่างกาย


ความเขม ้ ก๊าซสูงสุดที่ตรวจวัดไดบ
้ ขน ้ ริ เวณที่อยู ่
9 ชว่ งเวลาสั นๆ
อาศั ย กำหนดโดย ASHRAE

ความเขม ้ ก๊าซสูงสุดที่ตรวจวัดได้บริ เวณสถานที่


้ ขน
35 8 ชั ่วโมง
ทำงาน กำหนดโดย OSHA

200 2-3 ชั ่วโมง ปวดศีรษะเล็กน้อย เหนื่ อยลา้ คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ

ิ เมื่อหายใจ
ปวดศีรษะรุ นแรงขึ้น เป็ นอันตรายตอ่ ชีวต
400 1-2 ชั ่วโมง
เอาก๊าซเขา้ สูร่ ่างกายนานมากกวา่ 3 ชั ่วโมง

คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ เห็นภาพหลอน หมดสติ


800 45 นาที
ภายใน 2 ชั ่วโมงและเสียชีวต ิ ภายใน 2-3 ชั ่วโมง

ปวดศีรษะ คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ และเสียชีวต



1600 20 นาที
ภายใน 1 ชั ่วโมง

ปวดศีรษะ คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ และเสียชีวต



3200 5-10 นาที
ภายใน 1 ชั ่วโมง.

ปวดศีรษะ คลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ และเสียชีวต



6400 1-2 นาที
ภายใน 20-30 นาที

12800 1-3 นาที ิ ภายใน 1-3 นาที


เสียชีวต
 5. โอโซน ()

• ระบบทางเดินหายใจ : ก่อการระคายเคืองเฉพาะที่บริเวณเยื่อบุ
- ความเข้มข้นต่ำเป็ นระยะเวลาสัน้ ๆ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อโพรง จมูก
และตา
- ความเข้มข้นสูงสามารถทำให้เกิด Pulmonary edema และทำลายเนือ้ ปอด
จนนำไปสูก่ ารเสียชีวิต

• ความเสียหายต่อโครโมโซม
6. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

• ระบบประสาทส่วนกลาง
• ระบบหัวใจและหลอดเลือด
– พิษโดยตรง
– เสียชีวิตเฉียบพลัน
– สมองขาดเลือด

• ระบบทางเดินอาหาร
• ระบบทางเดินหายใจ
– เกิดการระคายเคือง
– การสำลัก (Aspiration)
– พิษโดยตรงต่อเนือ้ เยื่อปอด
• ไต
– ท่อไตทำงานผิดปกติ
การป้องกันและค่ามาตรฐานในอากาศของประเทศไทย
การป้องกัน

นโยบายป้องกันและขจัดมลพิษทางอากาศ ประกอบด้วยนโยบาย 4 ประการ


1. เร่งรัดการลดมลพิษทางอากาศ อันเนือ่ งมาจากยานพาหนะ
อุตสาหกรรม และกิจกรรมก่อสร้างและการขนส่ง
2. รักษาคุณภาพอากาศในพื้นที่ที่มคี ณ ุ ภาพอากาศให้เป็ นไปตาม
มาตรฐานที่กำหนด ไม่ให้เสื่อมโทรมลงเกินเกณฑ์มาตรฐาน
3. ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ระบบขนส่งที่มมี ลพิษน้อย
4. ส่งเสริมให้ภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนทัว่ ไป ทัง้ ที่เป็ นผูก้ อ่ มลพิษ
และผูไ้ ด้รบั มลพิษ ได้มสี ว่ นร่วมในการรักษาคุณภาพอากาศ
แนวทางดำเนินการ
1. แนวทางด้านการจัดการ
• กำหนดพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับอุตสาหกรรมแยกจากแหล่งชุม
ชนและที่อยู่อาศัย โดยการใช้ผงั เมืองรวมที่กำหนดไว้
• ติดตาม ตรวจสอบ วิเคราะห์และจัดทำฐานข้อมูลคุณภาพอากา
ศในบรรยากาศทัว่ ไปและการระบายสารมลพิษทางอากาศจากแหล่
งกำเนิดอย่างต่อเนือ่ ง

2. แนวทางด้านการลงท ุน
• ปรับปรุงหรือเพิ่มมาตรฐานเชือ้ เพลิงให้ได้มาตรฐานสากล ส่งเ
สริมการเลิกใช้เชือ้ เพลิงที่มสี ารพิษ
• ส่งเสริมการสร้างระบบขนส่งมวลชนในเมืองใหญ่และระหว่างเ
มืองที่มปี ระสิทธิภาพ
3. แนวทางด้านกฎหมาย
• กำหนดและปรับปรุงมาตรฐานทัว่ ไปและมาตรฐานแหล่งกำเนิด ร
วมทัง้ กำหนดวิธีการตรวจวัดให้ได้ตามมาตรฐานสากล และให้มกี ารบั
งคับใช้กฎหมายต่อผูฝ้ ่ าฝื น
• ตรวจสภาพยานพาหนะด้านมลพิษในท่อไอเสีย

4. แนวทางด้านการสนับสน ุน
• ให้หน่วยงานมีสว่ นรวมในการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อให้
ความรูแ้ ละตระหนักถึงพิษภัยของสารมลพิษทางอากาศ และรับทราบ
ถึงการบังคับใช้กฎหมายกับผูก้ อ่ มลพิษทางอากาศทุกประเภท
• สนับสนุนการศึกษาวิจยั ด้านเทคโนโลยีการควบคุมและกำจัดอาก
าศเสีย
ค่ามาตรฐานในอากาศของประเทศไทย
แหล่งอ้ างอิ ง

1. Levine MD. Hydrocarbon Toxicity. http://emedicine.medscape.com/article/821143-overview#a5


(accessed 29 September 2017).
2. New York City Department of Health & Mental Hygiene . Carbon Monoxide (CO).
http://www.aboutcarbonmonoxide.com/health.htm (accessed 29 September 2017).
3. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. มลพิษทางอากาศ.
http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_polair.html (accessed 29 September 2017).
4. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. มาตรฐานคุณภาพอากาศ.
http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_std_airsnd01.html (accessed 29 September 2017).
5. ธัชชา รัมมะศักดิ.์ ฝุ่ นละอองและผลต่อสุขภาพ. http://www.stou.ac.th/study/sumrit/6-
59(500)/page2-6-59(500).html (accessed 29 September 2017).
6. สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี. ความรูเ้ บื้องต้นมลพิษทางอากาศ.
http://www.sut.ac.th/im/data/LecAP5.pdf (accessed 29 September 2017).
7. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ซัลเฟอร์ได
ออกไซด์. http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/69 (accessed 29 September 2017).

You might also like