You are on page 1of 11

1.

แก๊สใดที่พบเป็ นส่วนประกอบของอากาศ แห้งมากที่สุด


1. แก๊สอาร์กอน
2. แก๊สไนโตรเจน
3. แก๊สไฮโดรเจน
4. แก๊สออกซิเจน

2. ส่วนประกอบของอากาศชื้นที่แตกต่างจาก อากาศแห้งมาก
ที่สุดคืออะไร
1 ปริมาณแก๊สไนโตรเจน
2. ปริมาณแก๊สออกซิเจน
3. ปริมาณไอน้ำและฝุ ่นละออง
4. ปริมาณแก๊สออกซิเจนและปริมาณไอน้ำ
3. ส่วนประกอบของอากาศที่ทำให้ บรรยากาศแปรปรวนมากที่สุด คือ
1. ไอน้ำ
2. ฝุ ่นละอองในอากาศ
3. ปริมาณแก๊สออกซิเจน
4. ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

4. ข้อใดคือส่วนประกอบที่ไม่พบ ในบรรยากาศ
1. ไอน้ำ
2. สารเคมี
3. คลื่นวิทยุ
4. ฝุ ่นละออง
5. บริเวณที่มีปริมาณไอน้ำเป็ นส่วนประกอบ มากที่สุดคือ
1. บริเวณแหล่งชุมชน
2. บริเวณทะเลทราย
3. บริเวณพื้นที่แห้งแล้ง
4. บริเวณชายทะเลภูเขา และป่ าไม้

6. แก๊สโอโซนมีบทบาทต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก อย่างไร
5. ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก
6. ใช้ในการหายใจแทนแก๊สออกซิเจนได้
7. ดูดกลืนรังสีที่เป็ นอันตรายไม่ให้ผ่าน ชัน
้ บรรยากาศมาถึงพื้น
โลก
8. ช่วยในการดูดซับความร้อนจาก พื้นโลกไม่ให้หนีออกนอก
กำหนดให้
A คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
B คือ แก๊สไนโตรเจน
C คือ แก๊สอาร์กอน
D คือ แก๊สออกซิเจน
7. ข้อใดเรียงลำดับส่วนประกอบของ อากาศแห้งจากมากไปน้อย
ได้ถูกต้อง
1. D , B , A , C
2. D , B , C , A
3. B , D , A , C
4. B , D , C , A
8. ข้อใดต่อไปนีก้ ล่าวไม่ถูกต้อง
1. ส่วนประกอบของอากาศแห้ง แตกต่างจากส่วนประกอบของ อากาศชื้น
คือ ไอน้ำ
2. ส่วนประกอบของอากาศเรียงตามดับ จากมากไปน้อย คือ แก๊สไนโตรเจน
แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สอาร์กอน
3. อัตราส่วนของแก๊สออกซิเจนต่อ แก๊สไนโตรเจนในอากาศประมาณ 1 ต่อ 4
4. ปริมาณไอน้ำในอากาศตามสถานที่ ต่าง ๆ จะไม่คงที่ขน ึ ้ อยู่กับอุณหภูมิ
และสิ่งแวดล้อมใกล้เคียง
9. บรรยากาศ หมายถึง
5. สสารที่อยู่รอบตัวเรา
6. อากาศที่ห่อหุ้มโลก
7. สารที่มีสถานะแก๊สอยู่เหนือพื้นดินขึน
้ ไป 100 เมตร
8. ชัน
้ ของไอน้ำที่ห่อหุ้มโลก
10. ส่วนประกอบของอากาศใดมีมากที่สุด
1. ไนโตรเจน
2. ออกซิเจน
3. คาร์บอนไดออกไซด์
4. อาร์กอน
11. ส่วนประกอบของอากาศในข้อใดต่อไปนีม ้ ีปริมาณน้อยที่สุด
1. ไนโตรเจน
2. ออกซิเจน
3. คาร์บอนไดออกไซด์
4. อาร์กอน
12. ชัน
้ เทอโมสเฟี ยร์ มีลักษณะสำคัญ คือ
5. อุกกาบาตที่หลุดเข้ามาจะถูกเผาไหม้ในชัน
้ นี ้
6. อากาศแตกตัวเป็ นไอออน สามารถส่งคลื่นวิทยุได้
7. เกิดปรากฏการณ์ทางอากาศ เช่น ฟ้ าผ่า ฟ้ าร้อง เกิดพายุ
8. เครื่องบิน บินที่ชน
ั ้ ความสูงนี ้
13. ชัน
้ สตราโตสเฟี ยร์ มีลักษณะสำคัญ คือ
1. อุกกาบาตที่หลุดเข้ามาจะถูกเผาไหม้ในชัน้ นี ้
2. อากาศแตกตัวเป็ นไอออน สามารถส่งคลื่นวิทยุได้
3. เกิดปรากฏการณ์ทางอากาศ เช่น ฟ้ าผ่า ฟ้ าร้อง เกิดพายุ
4. เครื่องบิน บินที่ชน
ั ้ ความสูงนี ้
14. ชัน้ โทรโพสเฟี ยร์ มีลักษณะสำคัญ คือ
5. อุกกาบาตที่หลุดเข้ามาจะถูกเผาไหม้ในชัน ้ นี ้
6. อากาศแตกตัวเป็ นไอออน สามารถส่งคลื่นวิทยุได้
7. เกิดปรากฏการณ์ทางอากาศ เช่น ฟ้ าผ่า ฟ้ าร้อง เกิดพายุ
8. เครื่องบิน บินที่ชนั ้ ความสูงนี ้
15. ถ้าแบ่งชัน
้ บรรยากาศตามความสูง จะแบ่งจากต่ำไปสูงได้อย่างไร
1. เทอร์โมสเฟี ยร์ โทรโพสเฟี ยร์ สตราโทสเฟี ยร์ มีโซสเฟี ยร์
2. มีโซสเฟี ยร์ เทอร์โมสเฟี ยร์ โทรโพสเฟี ยร์ สตราโทสเฟี ยร์
3. สตราโทสเฟี ยร์ มีโซสเฟี ยร์ เทอร์โมสเฟี ยร์ โทรโพสเฟี ยร์
4. โทรโพสเฟี ยร์ สตราโทสเฟี ยร์ มีโซสเฟี ยร์ เทอร์โมสเฟี ยร์
16. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับความดันบรรยากาศ
5. ที่ระดับน้ำทะเล ความดันบรรยากาศมีค่าเท่ากับ 1 เสมอ
6. ทุกๆ ความสูง 11 m จะมีความดันบรรยากาศลดลง 1 mmHg
7. ยิ่งสูงความดันบรรยากาศยิ่งมาก
8. ที่ระดับความสูงเดียวกันจะมีความดันบรรยากาศเท่ากันเสมอ
17. ข้อใดคือเครื่องมือวัดความดันอากาศ
1. อัลติมเตอร์
2. บารอมิเตอร์
3. เทอร์มอมิเตอร์
4. ไฮโกรมิเตอร์
18. ข้อใดไม่ใช่หน่วยของความดันอากาศ
5. ปาสคาล
6. นิวตัน / ตารางเมตร
7. บาร์
8. นิวตัน.เมตร
19. ข้อใดคือความสัมพันธ์ของความดันอากาศและอุณหภูมิ
1. ความกดอากาศสูง อุณหภูมิต่ำ
2. ความกดอากาศสูง อุณหภูมิสูง
3. ความกดอากาศต่ำ อุณหภูมิต่ำ
4. ความกดอากาศสูง อุณหภูมิไม่คงที่
20. ชัน
้ มีโซสเฟี ยร์ มีลักษณะสำคัญ คือ
5. อุกกาบาตที่หลุดเข้ามาจะถูกเผาไหม้ในชัน
้ นี ้
6. อากาศแตกตัวเป็ นไอออน สามารถส่งคลื่นวิทยุได้
7. เกิดปรากฏการณ์ทางอากาศ เช่น ฟ้ าผ่า ฟ้ าร้อง เกิดพายุ
8. เครื่องบิน บินที่ชนั ้ ความสูงนี ้

You might also like