You are on page 1of 5

ความสำคัญของปรสิต  ปรสิตเป็ นสาเหตุในหารเกิดโรคโดยเฉพาะในเขตร้ อนซึง่ เป็ นอากาศที่เหมาะสมกับการเจริ ญเติบโตของไข่

พยาธิ, โปรโตซัว และไข่แมลงต่างๆ ดังนันโรคทางปรสิ


้ ตจึงมีโอกาสพบได้ มาก
 ในไทยมีการสูญเสียอย่างมหาศาลกับโรคอันเนื่องมาจากปรสิต
ปรสิตคืออะไร ? สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ทงภายใน(endoparasite)และภายนอก(ectoparasite)ของอี
ั้ กสิ่งมีชีวิตหนึง่ หรื อ host
อาจอาศัยอยู่ในตัวของ host ในชัว่ ระยะเวลหนึง่ หรื อตลอดชีวิตแต่จะต้ องทำความเสียหายให้ กบั ตัว host
ที่มาของปรสิต ☺ จากน้ำและอาหาร
o Mode of infection คือ host กินปรสิตระยะติดต่อเข้ าไป
☺ จากดิน
o Host กินดินที่เปื อ้ นปรสิตเข้ าไป
o Host มีการสัมผัสกับดิน
☺ จากสัตว์ ขาปล้ องที่เป็ นปรสิต
o การสัมผัสโดยตรง หรื อถูกกัดหรื อกินเนื ้อเยื่อ(เป็ นการติดภายนอก)
☺ จากสัตว์ ขาปล้ องที่เป็ นพาหะนำโรค
o Host กินสัตว์ขาปล้ อง หรื อถูกกัดหรื อดูดเลือด
Mode of infection ☼ ทางปาก – เข้ าไปอยู่ในอวัยวะนันๆเลย ้ / เข้ าตับกับเลือดก่อน
☼ ทางจมูก – ฝั งตัวที่ผวหนัง / เข้ าแล้ วเคลื่อนไปยังอวัยวะต่างๆไม่เจริ ญเป็ นตัวแก่ / เข้ าเส้ นเลือดที่ผิวหนัง
☼ อื่นๆ – ทางผิวหนัง / ทางสายรก / ทางการสัมผัสโดยตรง
การแบ่ งชนิดของปรสิต ► Ectoparasite : อยู่ภายนอก
o Arthropods
 Insect : แมลง (มีหวั ,อก,ท้ อง) lice , fleas
 Arachnida : แมง (หัว+อก,ท้ อง) ticks , mites
► Endoparasite : อยู่ภายใน
o Protozoa
 Flagellates กลุม่ ที่แซ่
 Ciliates กลุม่ ที่ใช้ cilia
 Pseudopods กลุม่ ที่ใช้ เท้ าเทียม
 Apicomplexa ไม่มีอวัยวะในการเคลื่อนที่ ใช้ การสไลด์ไป
o Helminthes
 Roundworm : พยาธิตวั กลม
 Flatworm : พยาธิตวั แบน
‫ ﻬ‬Fluke พยาธิใบไม้
‫ ﻬ‬Tapeworm พยาธิตวั ตืด
 Thorny – headed worm : พยาธิหวั หนาม
► Facultative parasite : ใช้ ชีวิตอยู่อย่างอิสระ ไม่มีhost ก็ไม่เป็ นไร
► Obligatory parasite : ใช้ ที่วิตแบบยึดติดกับ host ไม่มีก็ตาย
► Accidental / Incidental parasite : อาศัยใน host ที่ไม่ใช่ host ปกติของตัวมัน เรี ยก occasional par
► Aberrant / Erratic parasite : อยู่ในอวัยวะที่ไม่ใช่เป้าหมายของตัวเอง มันถูก host สร้ างเป็ น cyst
► Temporary parasite : เข้ าไปอยู่เพียงชัว่ หนึง่ ของวัฏจักรชีวิต
► Periodic parasite : ปรสิตที่มารบกวนชัว่ ขณะ เช่น ต้ องการอาหาร(ยุง)
► Hyper parasite : เป็ นปรสิตของปรสิตอีกทีหนึง่
► Monoxenous parasite : ปรสิตที่มี host เดียว
► Heteroxenous parasite : ปรสิตที่มีหลาย host
► Stenozenous parasite : ปรสิตที่มี host range แคบมาก
► Euryzenous parasite : ปรสิตที่มี host range กว้ างมาก
► Pseudo / Spurious parasite : สิ่งที่เมื่อตรวจพบแล้ วทำให้ เข้ าใจว่าเป็ นปรสิต
symbiosis เป็ นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่ตา่ งกัน 2 ชนิดโดยมีความสัมพันธ์ตอ่ กันอย่างถาวร โดยผู้อาศัยเรี ยก
ว่า symbiont และผู้ถกู อาศัยเรี ยกว่า host โดยธรรมชาติจะจับแยกจากกันไม่ได้
☼ ภาวะพึ่งพาอาศัย (mutualism) > อยู่แบบได้ ประโยชน์ร่วมกัน
☼ ภาวะอิงอาศัย (commensalism) > อีกฝ่ ายได้ อีกฝ่ ายไม่เสีย
☼ ภาวะปรสิต (parasitism) > อีกฝ่ ายได้ อีกฝ่ ายเสีย
‫ ﻬ‬Parasitiasis เป็ นภาวะที่ host มีปริ มาณปรสิตอย่างสมดุลไม่ก่อให้ เกิดโรคหรื อเกิดได้ น้อย
‫ ﻬ‬Parasitiosis เป็ นภาวะที่มีปรสิตอย่างไม่สมดุล(มาก)ซึง่ ผลกระทบนี ้จะทำให้ เกิดโรค
ประเภทของ Host ֎ Definitive / Final host : มีระยะตัวแก่ของปรสิต
֎ Abnormal / Accidental : host ยอมให้ ทงๆที ั ้ ่ไม่เคยมี ปรสิตโตต่อไม่ได้
֎ Intermediate host : มีแค่ระยะตัวอ่อน แค่เข้ ามาเพื่อโต
o 1st intermediate host ระยะแรก
o 2nd intermediate host ระยะที่ 2
֎ Paratenic / Transport host : อาจเป็ นตัวนำพาเข้ า final host ปรสิตจะโตขึ ้น
֎ Principle host : เป็ น host หลักโดยธรรมชาติ
֎ Supplemental host : เป็ น host รอง พบรองลงมา
֎ Experimental host : host ที่เป็ นเพราะการทดลอง
֎ Reservoir host : แหล่งของ host พบมากในสัตว์ป่า
Carrier / Vector (พาหะ) - Biological vector มีการเจริ ญเติมโตของปรสิตร่วมด้ วย
- Mechanical vector ไม่มีการเจริ ญของปรสิตร่วมด้ วย
Life – cycle of parasite ☺ Direct life cycle : เติบโตได้ โดยไม่ต้องพึง่ intermediate host
Egg --> lavar --> infective stage --> parasitic stage --> adult
☺ Indirect life cycle : เติบโตได้ โดยพึง่ intermediate host
Egg --> miracidium --> sporocyst --> redia --> cercaria --> metacercaria --> cattle --> adult
แบ่ งชัน้ พยาธิ
Class Turbellaria Class Monogenea

Class Trematoda Phylum


Platyhelminthes Class Cestoda
Phylum Nematoda
Acanthocephalan (Thorny-headed worm)
Class Secernentea
Helminthes (‘Phasmidia’)
Phylum
Acanthocephala Class Adenophorea
(‘Aphasmidia’)

ลักษณะทั่วไปของพยาธิ ☼ มีลกั ษณะแบนแบบ dorsalventrally และสมมาตรกันทัง้ 2 ด้ าน


ตัวแบน ☼ ไม่มีช่องว่างลำตัวหรื อ acoelomate
☼ ระบบทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ หรื อไม่มีเลยในพยาธิตวั ตืด
☼ ระบบขับถ่ายประกอบด้ วย flame cell / protonephridia และออกทางท่อขนาดใหญ่(excretory bladder
+ excretory pore)อยู่ท้ายสุดของลำตัว
☼ อวัยวะต่างๆถูกฝั งอยู่ในเนื ้อเยื่อชนิดพิเศษ (parenchyma)
☼ ไม่มีระบบหายใจและไหลเวียนเลือด
☼ ระบบประสาทอยู่ระหว่างเนื ้อเยื่อหลวมๆและถูกล้ อมด้ วยชันกล้ ้ ามเนื ้อแบบกลมและยาว
☼ Longitudinal nerve 2 เส้ นวางอยู่ข้างลำตัว และมี ganglia อยู่ด้านหน้ าของลำตัว
☼ ผิวของพยาธิไม่มี cuticle ทำให้ ไม่สามารถดำรงชีวิตภายนอกตัว host ได้ ซึง่ ต่างจากพยาธิตวั กลม
☼ พยาธิมีชนั ้ metabolism active tegument เป็ นกลไกสำคัญในการดูดซึมอาหารผ่านการ active
transport หรื อ pinocytosis โดยเฉพาะในพยาธิตวั ตืด
☼ ส่วนมากมีอวัยวะสืบพันธุ์ทงั ้ 2 เพศอยู่ในตัวเดียวกันหรื อเรี ยกว่า กะเทย (hermaphroditic /
monoecious) ยกเว้ น blood fluke (ที่มนั เป็ น 2 ตัวติดกันอีกตัวอยู่ในร่อง)
☼ Male reproductive organ
o Testes และ ระบบท่อนำเชื ้อ (vas efferen + vas deferen)
o Seminal vesicle เป็ นถุงเก็บน้ำเชื ้อ
o Cirrus เป็ นอวัยวะช่วยในการสอดใส่
☼ Female reproductive organ
o Ovary + Oviduct (ระบบท่อนำไข่)
o Ootype เป็ นส่วนหนึง่ ของ Oviduct ที่เปลี่ยนโครงสร้ างมีหน้ าที่เป็ นตัวกลางในการผสม หรื อ
เรี ยกว่า ที่พกั ชัว่ คราวของไข่รอผสม
☼ Vitelline gland ทำหน้ าที่สร้ าง vitelline cell เป็ นเปลือกไข่ โอบล้ อม ovum ที่ทำหน้ าที่เป็ น yolk cell
☼ Mehils’ gland ที่อย่ล้อมรอบ ootype สร้ าง secretion กระตุ้นการสร้ างเปลือกไข่
☼ Seminal receptacle เป็ นส่วนหนึง่ ของ oviduct มีทอ่ ต่อออกนอกตัว
o ในพยาธิใบไม้ เรี ยกว่า laurer’s canal (อาจเปิ ดหรื อไม่เปิ ดออกนอกตัวก็ได้ )
o ในพยาธิตวั ตืด เรี ยกว่า vagina
☼ ระยะตัวอ่อน มีโครงสร้ างต่างจากตัวเต็มวัยเป็ นอย่างมาก
พยาธิใบไม้ trematodes
ลักษณะทั่วไป  เป็ นหนอนตัวแบน + เป็ นกะเทย *ยกเว้ นใน blood fluke (Schistosomatidae)
 มี oral และ ventral หรื อ posterior sucker
 ทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
 มีรูปร่างหลากหลาย
o รูปร่างคล้ ายใบไม้ (leaf-like)
o รูปหอก (lanceolate-like)
o รูปกรวย (cone-like)
 ไม่มีช่องว่างในลำตัว (acoelomate)
 อวัยวะเต็มไปด้ วยของเหลวและ CNT สานกันเป็ นร่างแห
 มีอวัยวะที่ใช้ ยดึ เกาะ
o Oral sucker อยู่ล้อมรอบส่วนปากและอยู่สว่ นหน้ าของลำตัว
o Ventral sucker มักอยู่บริ เวณรอยแยกของลำไส้ (bifurcation of caecum)
o อยู่สว่ นท้ ายของลำตัวเรี ยก posterior sucker
o บางตัวอาจมี genital sucker
 ผิวชันนอกเป็
้ น integument ปกคลุมด้ วยหนามเล็กๆหรื อเป็ นก้ อนตะปุ่ มตะป่ำ
 มีกล้ ามเนื ้อเป็ นวง(outer circular layer)อยู่ด้านนอก ถัดมาด้ านในเป็ นกล้ ามเนื ้อตามยาว(middle
longitudinal layer)(อาจไม่มีก็ได้ ) ด้ านในสดเป็ นกล้ ามเนื ้อเฉียง (inner diagonal layer)
 ระบบทางเดินอาหาร
֎ เริ่ มจากช่องปากเปิ ดที่ oral sucker --> pharynx --> esophagus --> intestinal blind caeca
֎ ลำไส้ แตกเป็ น 2 แฉก และปลายตัน มีหลายแบบ
1. ลำไส้ มีลกั ษณะแบบตรง
2. ลำไส้ แบบแขนง / branched
3. ลำไส้ แบบหยัก / zigzag
֎ พยาธิกินเศษอาหารจากลำไส้ + epithelium + mucus + bacteria ในบางชนิดกินเลือด
 ระบบประสาท(nervous system)ประกอบด้ วย cephalic ganglia 2 ชุดให้ เส้ นประสาท 3 คู่ คือ
dorsal,ventral และ lateral nerve
 Male organ
☼ มี testes อยู่ 2 ใบอยู่ 2 แบบ คือ แบบ lobe กับ แบบแขนง(branch) มี Vas efferent ออกมาแล้ ว
รวมกันเป็ น Vas deferens ขยายใหญ่ขึ ้นเป็ น seminal vesicle ซึง่ เป็ นที่เก็บ sperm
☼ Cirrus pouch (sac) / prepuce เป็ นที่เก็บอวัยวะที่ใช้ ในการผสมพันธุ์ เรี ยกว่า cirrus / penis
☼ การจัดเรี ยงตัวของ Testes มี 3 แบบ
 แบบขนาน (horizontal)
 แบบซ้ อนกัน (tandem)
 แบบเฉียง (diagonal)
 Female organ
 มีรังไข่กลมอยู่ 1 อัน ในบางชนิดอาจเป็ น lobe หรื อ แขนง(branched) มีทอ่ นำไข่สนๆต่ ั ้ อออกมา
 Vitelline gland สร้ าง vitelline cell ซึง่ เป็ นส่วนสำคัญในการสร้ าง yolk ให้ กบั ไข่ และเป็ นองค์
ประกอบในการสร้ างเปลือกไข่
 Ootype เป็ นที่ที่ oviduct และ vitelline duct เปิ ดร่วมกันมีการขยายตัวขึ ้น เรี ยกว่า ootype
 Mehlis’ gland / Shell gland อยู่ล้อมรอบ ootype ทำหน้ าที่สร้ างสารคัดหลัง่ เพื่อกระตุ้นการสร้ าง
เปลือก บริ เวณนี ้จะมีการขยายตัวของท่อกลายเป็ น uterus วิ่งต่อไปจนถึง genital pore
 ใน Blood fluke เพศเมียจะอยู่ในร่ อง gynaecophoric canal ที่อยู่ในเพศผู้
 ไข่ โดยทัว่ ไปจะมี operculum ที่ปลายด้ านหนึง่ แต่ใน Blood fluke จะไม่มี operculum แต่มีหนาม
ลักษณะที่ใช้ ในการแยก  ขนาด  รูปร่าง  ตำแหน่งของ spine บนไข่
พยาธิใบไม้  ฝาปิ ด (operculum)  การมี miracidium
Life cycle Egg --> miracidium --> sporocyte --> redia --> cercaria --> metacercaria --> adult
֎ เป็ นแบบ indirect life cycle
֎ ในระยะ cercaria และ redia มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
֎ มี 3 intermediate host --> 1st เป็ นหอยเสมอ
֎ Cercaria อาจไชเข้ า final host ได้ โดยตรงหรื อ เป็ น encyst อยู่ใน transport host หรื อ อยู่บนหญ้ า
กลายเป็ น metacercaria ซึง่ เป็ น infective stage แต่ใน blood fluke เป็ นระยะ cercaria
֎ ระยะตัวอ่อนมีระยะสันและตายง่
้ าย แต่ encyst จะอยู่ทนและอยู่นาน

Cestodes Trematodes Nematodes


ตัวตืด ใบไม้ ตัวกลม
รูปร่ าง เป็ นปล้ องๆ คล้ ายใบไม้ ยาว ทรงกระบอก ไม่เป็ นปล้ อง
ไม่มี sucker และ hook มี buccal
หัว sucker มี hook sucker ไม่มี hook
capsule
ทางเดินอาหาร ไม่มี ไม่สมบูรณ์ สมบูรณ์
Body cavity ไม่มี ไม่มี มี
เพศ 2 เพศ hermaphrodite 2 เพศ เพศแยก
Life cycle มี intermediate host มี intermediate host ไม่มี intermediate host
- Cysticercoid
- Cysticercus - miracidium
- Coenurus - sporocyst - Rhabditiform larva
ลักษณะตัวอ่ อน - Hydatid cyst - redia - Filariform larva
- coracidium - cercaria - Microfilaria
- procercoid - metacercaria
- plerocercoid

You might also like