You are on page 1of 10

1

Lab Phylum Platyhelminthes

(Platys = แบน + helmins = หนอน)

ผศ.ดร. พัฒนสุดา ศิรินุพงศ์

รายชื่อกลุ่ม

1. นายอาซาร บุญคง รหัสนักศึกษา 6320114098

2. นางสาวอาริยา แวหะยี รหัสนักศึกษา 6320114099

3.นางสาวเอื้องฟ้ า สุภาวรรณ์ รหัสนักศึกษา 6320114100

Class หลักๆ ที่นักศึกษาต้องเรียนใน lab platyhelminthes

 Class Turbellaria (ดำรงชีวิตแบบ Free Living ) ได้แก่


พลานาเรีย
 Class Monogenea (ดำรงชีวิตแบบ Ectoparasites)
Common name ชื่อสามัญ
คือ…………………………….ได้แก่......................................................
..........................................
 Class Trematoda (ดำรงชีวิตแบบ........................)
Common name
คือ…………………………….ได้แก่......................................................
................................................
2

 Class Cestoda (ดำรงชีวิตแบบ........................) Common


name
คือ…………………………….ได้แก่......................................................
................................................................................

*******ลักษณะ 3 ประการในแง่ของการวิวัฒนาการขึน
้ มา
เหนือ Phylum ก่อนหน้านี ้
1. มีความซับซ้อนขึน
้ มาในการประสานงานระดับอวัยวะ (มี
ระบบประสาทส่วนกลาง) CNS
2. มีสมมาตรแบบ bilateral symmetry
3. การมีชน
ั ้ mesoderm

Characteristics ของสัตว์ในไฟลัมนี ้ ที่นักศึกษาควรทราบ

1. การมีเนื้อเยื่อสามชัน
้ (triploblastic), Dorsoventrally flatten

2. มีสมมาตรร่างกายเป็ นแบบ bilateral symmetry 3.


Hermaphrodite * except blood fluke

4. Acoelom 5. Flame cells (อวัยวะขับถ่าย) 6. Incomplete


digestive tract 7. No circular system

8. เป็ นพวกแรกที่เริ่มมีการรวมตัวของอวัยวะที่เรียกว่า cephalization


นั่นคือ มี ganglion

9. Nonsegmentation
3

ทบทวนงานแลป zoo Phylum Platyhelminthes

1.ศึกษาลักษณะต่าง ๆ ของหนอนตัวแบนในกลุ่มต่าง ๆ โดยแยกออกตาม


class ได้แก่ Class turbellaria Class monogenea Class
trematoda และ Class cestoda พร้อมทัง้ บอกความเหมือนและความ

แตกต่างของสัตว์ในแต่ละ class

สัตว์ในไฟลัมแพลทีเฮลมินธิส สามารถแบ่งออกเป็ น 4 หมวดชัน



(Class) คือ

 เทอร์เบลลาเรีย (Turbellaria) เป็ นกลุ่มหนอนตัวแบนที่ดำรงชีวิต


ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งมีอยู่ราว 4,500 ชนิด อาศัยอยู่ทงั ้ บนดินที่มีสภาพ
ชื้นแฉะและในแหล่งน้ำ ไม่ว่าจะเป็ นแหล่งน้ำจืดหรือแหล่งน้ำเค็ม มี
ขนาดลำตัวตัง้ แต่ 5 เซนติเมตรไปจนถึง 50 เซนติเมตร เช่น พลานา
เรีย หนอนตัวแบนขนาดเล็กบางชนิดสามารถว่ายน้ำโดยใช้การโบก
สะบัดของซีเลีย (Cilia) หรือแฟลกเจลลัม 

 โมโนกีเนีย (Monogenea) เป็ นกลุ่มหนอนตัวแบนที่ดำรงชีวิต


แบบปรสิต โดยอยู่ตามเหงือก ครีบ และผิวภายนอกของปลา โดย
4

เฉพาะปลาน้ำจืด ซึ่งหนอนตัวแบนเหล่านี ้ จะมีขอเกี่ยว


(Hooks) หรือปุ ่มดูด (Haptor) ที่ใช้สำหรับยึดเกาะโฮสต์ (Host) ห
รือผิวภายนอกของปลา ซึ่งตลอดชีวิตเพียงต้องการอาศัยโฮสต์เพียง
ประเภทเดียว

 ทรีมาโตดา (Trematoda) เป็ นกลุ่มหนอนตัวแบนที่ดำรงชีวิตเป็ น


ปรสิตอยู่ภายในร่างกายของโฮสต์ ซึ่งมีอยู่ราว 11,000 ชนิด และ
ตลอดช่วงชีวิตของกลุ่มหนอนตัวแบนประเภทนี ้ ต้องการโฮสต์
ถึง 2 ประเภท คือ อาศัยสัตว์มีกระดูกสันหลังเป็ นโฮสต์ลำดับแรก
(Primary Host) ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และอาศัยสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลังเป็ นโฮสต์ลำดับที่ 2 (Intermediate Host) เพื่อ
สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เช่น พยาธิใบไม้ (Flukes)

 เซสโตดา (Cestoda) เป็ นกลุ่มหนอนตัวแบนที่ดำรงชีวิตแบบ


ปรสิตภายในร่างกายของสัตว์มีกระดูกสันหลัง แต่มีระยะตัวอ่อนอยู่
ภายในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีอยู่ราว 3,400 ชนิด เช่น พยาธิ
ตัวตืด (Tape Worm) ซึง่ บริเวณส่วนหัวจะมีปุ่มดูดและขอเกี่ยวที่
เรียก “สโคเลกซ์” (Scolex) ใช้สำหรับยึดเกาะโฮสต์ ขณะที่ตามลำ
5

ตัวจะแบ่งเป็ นข้อปล้อง (Proglottid) ซึง่ บางชนิดอาจมีจำนวน


ปล้องนับพัน ทำให้ลำตัวของหนอนตัวแบนกลุ่มนีอ
้ าจมีความยาว
มากถึง 25 เมตร

Taenia saginata ตืดวัว หัวล้าน == no hook


Taenia solium ตืดหมู มีผม ==== hooks
Diphyllobothrium latum ตืดปลา
2.ศึกษาและสังเกตพฤติกรรม การเคลื่อนที่ การตอบสนองต่อสิง่ เร้า
ที่มากระตุ้นพลานาเรีย (ทัง้ นีใ้ ห้สงั เกตจากที่เราไปดูในโรงเรือนชำ
แปลงเกษตรและรายงานผลค่ะ)

3.เราจะ focus กันที่ cross section ของพลานาเรียกันนะจ้ะ

4.ศึกษาระยะต่าง ๆ ของปลิงใส พยาธิใบไม้ และพยาธิตัวตืด

5.เปรียบเทียบความแตกต่างของพยาธิใบไม้ Clonorchis sinensis และ


Fasciola hepatica

6.เปรียบเทียบความแตกต่างของพยาธิตัวตืดสกุล Taenia sp. และ


Diphyllobothrium sp.
6

7.ให้เด็ก ๆ ทบทวนภาพพยาธิที่ครูได้โชว์ให้ดูไปแล้ว และจำลักษณะไข่


ของพยาธิบางตัวที่เด่น ๆ

ตัวอย่างสัตว์ในห้องปฏิบัติการ

Class turbellaria คลิป 2 movement

ส่วน หน้า

ส่วน กลาง

ส่วนท้าย
7

ภาพตัดตามขวางลำตัวพลานาเรีย

Source: http://faculty.baruch.cuny.edu/jwahlert/bio1003/images/platyhelminthes/
planaria_cs.jpg

Class Monogenea
8

Class

Trematoda
Clonorchis sinensis พยาธิใบไม้ตับคน (lab)

http://www.biosci.ohio-state.edu/~parasite/labeled_clonorchis.html
9

https://www.slideshare.net/doctorrao/fasciola-hepatica

Class Cestoda
10

ระยะของปล้อง 3 ระยะ

Immature segment (Proglottid) เด็ก ระบบสืบพันธุ์ไม่ชัด

Mature segment วัยเจริญ ระบบสืบพันธุ์เห็นชัด

Gravid segment แก่ มดลูกสลาย

You might also like