You are on page 1of 18

1

Extremophile and its applications


จุลินทรียที่เจริญในสภาวะผิดปกติและการนําไปใชประโยชน

เรียบเรียงโดย
นางสาวธิลาวรรณ อาจนนลา นิสิตชั้นปที่ 3
ภาควิชาชีววิทยา สาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

บทนํา

สิ่งมีชีวิตในโลกแตเดิมถูก แบงออกเปน 2 กลุมใหญๆ โดยอาศัยลักษณะของเซลล คือ สิ่งมีชีวิต


พวกโพรแคริโอติกเซลล (Pro มาจากคําในภาษากรีกที่แปลวา "กอน" สวน karyon มาจากคําวา "นิวเคลียส")
และสิ่งมีชีวิตพวกยูแคริโอติกเซลล (Eu มาจากคําวา "แท") ที่ตั้งชื่อเชนนี้เพราะสิ่งมีชีวิตพวกโพรแคริโอต
ไมมีเยื่อหุมนิวเคลียส หรือหุมสารพันธุกรรม ในขณะที่สิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอตจะแตกตางออกไป คือ มีเยื้อ
หุมนิวเคลียส สิ่งมีชีวิตจัดเปนพวกโปรแคริโอต ไดแก สิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรีย และสาหรยสีน้ําเงินแกม
เขียวหรือไซยาโนแบคทีเรีย สวนสิ่งมีชีวิตที่จัดเปนพวกยูแคริโอต ไดแก สิ่งมีชีวิตประเภทสาหราย โปรโตร
ซัว เห็ด รา พืช และสัตว แตจากการศึกษาความสัมพันธของลําดับสารพันธุกรรมระหวางสิ่งมีชีวิตในกลุม
โปรแคริโอต ดวยวิธีการวิเคราะหลําดับเบสในป พ.ศ.1977 โดย Carl Woese พบวาลําดับเบสในชาง 16 S
rRNA ของสิ่งมีชีวิตในกลุมโปรแคริโอตมีความแตกตางกันอยูจนสามารถแบงสิ่งมีชีวิตในกลุมนี้ออกเปน
สองกลุม คือ แบคทีเรีย และอารคีแบคทีเรีย หลังจากการคนพบดังกลาว Carl Woese จึงเสนอใหแบง
สิ่งมีชีวิตในโลกทั้งหมดออกเปน 3 โดเมน คือ ยูคาริโอตา ( Eukaryota ) ยูแบคทีเรีย(Eubacteria) และอารคี
แบคทีเรีย( Archaea bacteria)
อารคีแบคทีเรียเปนสิ่งมีชีวิตที่แตกตางจากแบคทีเรียมาก ไมวาจะเปนผนังเชลลหรืวาลําดับสาร
พันธุกรรม โดยจะมีลําดับเบสคลายกับสิ่งมีชีวิตพวกยูแคริโอต แตมีลักษณะเชลลเดียวกับสิ่งมีชีวิตพวกยูแค
ริโอต ดังนั้นเพื่อปองกันความสับสนกับแบคทีเรียจึงเรียกอารคีแบคทีเรียใหมวา อารคี ซึ่งมาจากคําวา
anclent ที่แปลวา โบราณ อารคีเปนสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก มีรูปรางหลายแบบ เชน รูปรางกลม (coccus)
รูปแทง (rod) รูปรางคลายเสนผม( hair-like form) หรือรูปสามเหลี่ยม (trlangular shape) และสี่เหลี่ยม
(square shape) อยางไรก็ตามสิ่งที่สําคัญที่ทําใหสิ่งมีชีวิตในกลุมอารคีกลายเปนสิ่งที่นาสนใจไมไดมาจาก
การที่อารคีถูกแบงออกจากแบคทีเรียหรือเปนสิ่งมีชีวิตกลุมใหม แตมาจากการที่สิ่งมีชีวิตในกลุมนี้สวนใหญ
จัดเปนสิ่งมีชีวิตพวก Extremophile คือ สามารถเจริญและสืบพันธุไดในสภาวะที่รุนแรง เชน สภาวะที่มี
อุณหภูมิสูง ความเปนกรดสูง และสภาวะที่เค็มจัด เปนตน โดยสิ่งมีชีวิตในกลุมอารเคีสามารถแบงออกได
เปนกลุมใหญๆ ได 3 กลุม คือ กลุมเมทาโนเจน ( Menthanogens) กลุมฮาโลไฟล (Halophile) และกลุม
เทอรโมแอซิโดไฟล ( Thermoacidophile)
2

Extremophile
คือ จุลินทรียที่เจริญในสภาวะที่รุนแรง มีทั้งเอ็กตรีมทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิ ความดันหรือ
รังสี และเอ็กทรีมทางภูมิศาสตร- เคมี ไดแก ความแหงแลง ความเค็มและความเปนกรด – ดางอีกดวย สวน
ใหญแลว Extremophiles อยูใน domain Archaea

ภาพที่ 1 สายวิวัฒนาการของ Extremophiles ที่จัดอยูใน domain Archaea


ที่มา : http://en.c itizendium.org/images /thmb/3/39/Tree_phylogeny_3_domain.gif/300px-
Tree_phylogeny_3_domain.gif

แหลงที่พบสิ่งมีชีวิตกลุม Extremophiles
Extremophiles สามารถพบไดในบริเวณตางๆ ดังนี้
1. ทะเลสาบน้ําเค็ม (hypersaline lake) ซึ่งมีความเค็มของเกลือสูงในระดับ 2-5M พบจุลินทรียกลุม
Extreme halophile
2. ทะเลลึก (Deep sea) เปนบริเวณที่มีความดันสูง จึงพบ Barophile
3. น้ําพุรอน (Hotspring) และปากปลองภูเขาไฟ (Geysers) ซึ่งในบริเวณนี้จะพบ extremophile กลุม
Hyperthermophile
3

4. บริเวณขั้วโลกทั้งขั้วโลกใตและขั้วโลกเหนือ ( North pole) มีอุณหภูมิต่ํา อากาศหนาวเย็น ใตชั้น


น้ําแข็ง ขั้วโลก พบจุลินทรียกลุม Extreme psychrophile
5. ทะเลทราย (Deserts) ซึ่งเปนบริเวณที่มีความแหงแลง พบพวก xerophile

A B C

D E F

ภาพที่ 2 แหลงทีพบสิ่งมีชีวิตกลุม Extremophile


A. ทะเลสาบน้ําเค็ม (Hypersaline), B. ทะเลลึก (Deep sea), C. น้ําพุรอน (Hotspring), D.น้ําพุรอน
(Hotspring), E. ปากปลองภูเขาไฟ (Geysers) และ F. ทะเลทราย (Deserts)

ที่มา : www.divermag.com/.../deep_sea_imax.jpg , www.jordanbkk.com/image/dead-sea-7.jpg ,


www.intute.ac.uk/images/BTH_deserts.jpg, www.filetransit.com/images/screen/3410825030a,
www.seco.cpa.state.tx.us/Images/re_geo-hotsprng
4

Environmental extremes
Extremophiles ในสิ่งแวดลอมสามารถแบงได ดังนี้
1. อุณหภูมิ
2. ความดัน
3. ความเค็ม
4. ความแหงแลง
5. รังสี
6. pH

อุณหภูมิ (Temperature extreme)


Hyperthermophile
สิ่งมีชีวิตในกลุม Hyperthermophile สามารถเจริญไดในที่ที่มีอุณหภูมิ 80 องศาเชลเซียส หรือ
อุณหภูมิสูงกวา 80 องศาเชลเซียส ตัวอยาง เชน Pyrolobus fumarii, Thermus aquaticus
Extreme Psychrophile
กลุมสิ่งมีชีวิตหนึ่งที่ชอบเจริญในที่ที่มีอุณหภูมิต่ํามาก ๆ คือชอบอุณหภูมิที่ ศูนยองศา โดย
สูงสุดที่ยังสามารถเจริญไดคือ อุณหภูมิ 10 องศา ตัวอยาง Psychromonas ingrahamii

ความดัน (Pressure)
Barophile และ Piezophile สิ่งมีชีวิตในกลุมนี้จะอาศัยอยูในที่มีความดันสูง อาศัยอยูใตทะเล
หรือมหาสมุทรลึก ตัวอยางเชนแบคทีเรีย Shewanella sp. (Chiaki Kato และคณะ, 1998)

ความเค็ม (Salinity extremes)


Halophile
คือ กลุมสิ่งมีชีวิตที่ชอบเจริญในที่มีความเขมของเกลือสูง เชน น้ําาเกลือ หรือทะเลสาบน้ําเค็มที่
มีการระเหยของน้ําสูงๆ โดยทั่วไปสิ่งมีชีวิตในกลุมนี้จะเจริญไดในที่มีเกลือโซเดียมคลอไรด 2-5 M
ตัวอยางอารเคียในกลุม Halobacteria เปนชนิดที่ทนตอความเค็มไดมากที่สุด และสาหราย Dunaliella salina
เปนกลุมฮาโลไฟลยังมีลักษณะที่นาสนใจอีกอยางหนึ่ง คือ ในสภาวะปกติของการเจริญเติบโตสิ่งมีชีวิตพวก
ฮาโลไฟลสวนใหญจะมีการสรางเม็ดสีจําพวกแคโรทีนอยด (carotenoid) ขึ้นมาโดยเซลลเหลานี้จะมีสีแดง
หรือสมขึ้นอยูกับปริมาณเม็ดสีที่สรางขึ้น แตเมื่ออยูในสภาวะที่มีออกซิเจนนอยเยื่อหุมเซลลของพวกฮาโล
ไฟลจะเต็มไปดวยโปรตีนชนิดหนึ่งซึ่งมีชื่อเรียกวา"แบคทีริโอโรดอปซิน"(bacteriorhodopsin)โดยโปรตีน
ชนิดนี้จะทําหนาที่คลายกับคลอโรฟลล (chlorophyll) ของพืชแตกตางกันตรงที่มีสีมวง (พรพจน ,2544 )
5

4. ความแหงแลง (Desiccation)
Xerophile
คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถเจริญไดในทีที่มีความแหงแลง เชน ในทะเลทราย

5. รังสี (Radiation )
สิ่งมีชีวิตในกลุมนี้เปนพวกที่สามารถทนตอระดับรังสีไดสูง สวนมากเปนรังสีอัลตราไวโอเลต
แตสิ่งมีชีวิตกลุมนี้สามารถตานรังสีปรมาณูไดดวย ตัวอยางเชน Micrococcus radiodurans, Deinococcus
radiodurans. โดยD. radiodurans เปนแบคทีเรียแกรมลบ และเปนสปชีสที่เปนรูจักมากที่สุด เพราะสามารถ
ทนตอสภาพรังสีที่สูงได D. radiodurans ถูกคนพบในป ค.ศ. 1956 โดย Arthur W. Anderson จาก Oregon
Agricultural Experiment Station เมือง Corvallis มลรัฐออริกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา เขาทําการทดลอง
เกี่ยวกับเเนื้อสัตวฉายรังสี และพบวาหลังจากฉายรังสีในปริมาณสูงถึง 10,000 เกรยซึ่งสามารถฆาเซลลสิ่งมี
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่เขารูจัก เนื้อสัตวที่ไดรับรังสีก็ยังเกิดการเนาเสีย เขาจึงแยกและเพาะเลี้ยงแบคทีเรียที่
กอใหเกิดการเนาเสียนั้น แบคทีเรียนี้ไดรับการขนานนามในภายหลังวา Deinococcus radiodurans แปลตาม
ศัพทวา “ผลไมประหลาดที่ทนรังสี” ( กนกพร ,สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ )

6. pH
Alkaliphile
คือ สิ่งมีชีวิตที่เจริญในที่ที่มีความเปนดางสูง เจริญไดที่ pH 9 หรือ pHมากกวา 9 ตัวอยาง
Natronobacterium, Spirulina spp.

Acidophile
คือ สิ่งมีชีวิตที่เจริญดีดีในที่ที่มีความเปนกรดสูง pH ต่ําๆ ตัวอยางเชนไซยาโนแบคทีเรียชนิด
Cyanidium caldarium, แบคทีเรียชนิด Ferroplasma sp. และสาหราย Dunaliella acidophila
6

ตารางที่ 1 การจัดกลุมและตัวอยางของ Extremophile


Table 1 Classification and examples of extremophiles
Environmental Type Definition Examples
parameter
Temperature Hyperthermophile Growth >80°C Pyrolobus fumarii,
113°C
Thermophile Growth 60–80 °C Synechococcus lividis
Mesophile 15–60 °C Homo sapiens
Psychrophile <15 °C Psychrobacter, some
insects
Radiation Deinococcus
radiodurans
Pressure Barophile Weight-loving Unknown
Piezophile Pressure-loving For microbe, 130 MPa
Gravity Hypergravity >1g None known
Hypogravity <1g None known
Vacuum Tolerates vacuum Tardigrades, insects,
(space devoid omatter)f microbes, seeds
Desiccation Xerophiles Anhydrobiotic Artemia salina;
nematodes, microbes,
fungi, lichens
Salinity Halophile Salt-loving (2–5 M Halobacteriaceae,
NaCl) Dunaliella salina
pH Alkaliphile pH > 9 Natronobacterium,
Bacillus firmus OF4,
Spirulina spp. (all pH
10.5)
Acidophile low pH-loving Cyanidium caldarium,
Ferroplasma sp. (both
pH 0)
7

Oxygen tension Anaerobe Cannot tolerate O2 Methanococcus


Microaerophile Tolerates some O2 Clostridium
Aerobe Requires O2 H. sapiens
Chemical Gases C. caldarium (pure CO2)
extremes Metals Can tolerate high Ferroplasma
concentrations of metal acidarmanus (Cu, As,
(metalotolerant) Cd, Zn); Ralstonia sp.
CH34 (Zn, Co, Cd, Hg,
Pb)

ที่มา: Lynn J. Rothschild และ Rocco L. Mancinelli, (2001)

ประโยชนของ Extremophiles
Biotechnology
Hyperthermophile
ในกลุมของ Hyperthermophile จะนํา Thermus aquaticus มาใชประโยชนในการตรวจเอกลักษณ
ของสิ่งมีชีวิต โดยเราใช Taq polymerase ที่ไดจากการสกัดเอนไซมจาก T. aquaticus ที่สามารถทํางานไดที่
อุณหภูมิสูงมาใชแทนเอนไซม DNA polymerase ที่สกัดไดจากแบคทีเรียทั่ว ๆ ไป ซึ่งไมทนตอความรอนใน
เทคนิค Polymerase chain reaction (PCR) ซึ่งเทคนิคดังกลาวจะตองใชความรอนสูงกวา 90°C ในการแยก
สายของดีเอ็นเอ ดังนั้น การใชเอนไซม DNA polymerase ที่สกัดไดจาก T. aquaticus ทําใหเราสามารถเพิ่ม
จํานวนดีเอ็นเอไดเปนระบบอยางตอเนื่องโดยไมตองมีการเติมเอนไซม DNA polymerase เขาไปใน
ปฎิกิริยาบอย ๆ (MICHAEL A. INNIS และคณะ, 1988)

Pyrococcus furiosus
Pfu DNA polymerase เปนเอนไซมที่แยกไดจาก Pyrococcus furiosus ซึ่งเจริญไดดีที่อุณหภูมิ 100 °C
สําหรับตัวเอนไซมมีคุณสมบัติทนความรอนสูงมาก โดยหลังจากนําเอนไซมไปไวที่ 95°C เปนเวลา1 ชั่วโมง
activity มากกวา 95% ยังคงอยู เอนไซมไมมีกิจกรรมของ 5′-3′ exonuclease แตจะมี 3′-5′ exonuclease ดวย
เหตุนี้จึงทําให เอนไซมมี fidelity ที่สูงเหมาะสําหรับงาน PCR ที่ตองการความถูกตองของลําดับเบสใน
amplified product สูง เชน การทํา genomic cloning, การศึกษาการกลายพันธุ (Karl Otto Stetter, 1994)
8

Dunaliella salina

เปนสาหรายสีเขียว (green alga) สะสมสารประเภท carotenoids ในสภาวะที่ความเขมขนของ


แสงสูง สีของเซลลจึงมักเปนสีออกสมมากกวาที่จะเปนสีเขียว นิยมเลี้ยงเพื่อนํามาสกัดเอาสาร carotene
ซึ่งมีคุณสมบัติ เปน antioxidant และเปนสารตั้งตนในการสังเคราะหวิตามิน เอ,carotene ในสาหราย
Dunaliella มีปริมาณ ~ 90% ของ carotenoids ที่สาหรายประเภทนี้สรางขึ้นมา (Packo P. Lamers, 1998)
Dunaliella salina มีปริมาณเบตา – แคโรทีน สะสมอยูในเซลลสูง เบตาคาโรทีนมีคุณสมบัติเดน
คือ มีฤทธิ์ตอตานอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากการทํางานของเซลลในรางกาย และเกิดจากแสงแดดมากระทบ
ผิวหนัง ซึ่งเกิดประโยชน คือ 1. ปองกันริ้วรอยเหี่ยวยนของผิวพรรณ
2. ปองกันโรคหัวใจ
3 ปองกันโรคมะเร็ง
4. เพิ่มภูมิตานทานโรคแกรางกาย
ในปจจุบันมีผลิตภัณฑสาหราย หรือสารสกัด carotenoids จากสาหราย Dunaliella salina ใน
ทองตลาดมากมาย

Alkalizymes
การประยุกตใช extremophile ในกลุม Alkaliphile มีการนําเอนไซมที่ผลิตโดยแบคทีเรียกลุมนี้
มาใชในดาน biotechnology ซึ่งไดแก เอนไซม pullulanases, lipases, xylanases, Proteases และ cellulases
(Bertus van den Burg, 2003)

Alkaline Protease
แบคทีเรียที่พบวาผลิต Alkaline Protease สวนใหญเปนแบคทีเรียในจีนัส Bacillusไดแก Bacillus pumilus
Bacillus halodurans, Bacillus alcalophilus และ Bacillus clausii
ประโยชนของ Alkaline Proteases
เอนไซม alkaline protease ที่ผลิตขึ้นเพื่อใชในผงซักฟอกมีหลายชนิด สามารถยอยสลาย
peptide bond ในโปรตีนไดดี ทั้งยังยอย ester bond ของไขมันไดอีกดวย ทนทานตอระดับ pH ตาง ๆ ไดดี
และทํางานไดดีโดยไมตองการ ions เปน cofactor ซึ่งนับวาเปนขอดี ก็เพราะวาในผงซักฟอก หรือน้ํายาทํา
ความสะอาดทั้งหลาย มักมี ion chelating agent เพื่อปรับใหน้ําออนลง อุตสาหกรรมหนังมีการใช alkaline
protease เพื่อยอยสลายขนสัตวและยอยหนังสัตวเพื่อใหหนังสัตวออนตัวสามารถพับ และเย็บได (Aehle W
และคณะ, 1993)
9

Alkaline Lipase
แบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม Alkaline Lipase พบวามีหลายจีนัสสามารถผลิตเอนไซมนี้ได โดยพบ
กระจายอยูในจีนัส Thermococcus, Natrobacterium, Bacillus, Methylobacter
ประโยชนของ Alkaline Lipase
Alkaline Lipase ใชเปนสวนผสมในน้ํายาซักผา น้ํายาลางจาน เพื่อชวยในการยอยสลายคราบไขมัน

Alkaline Xylanase
มีจุลินทรียที่มีความสามารถในการผลิตทั้งในกลุมของรา ยีสต และแบคทีเรีย ในกรณีแบคทีเรียมัก
พบวาเปนแบคทีเรียในจีนัส Bacillus ไดแก Bacillus pumilus, Aspergillus nidulans KK-99 ,Bacillus firmus
และ Bacillus funiculus
ประโยชนของ Alkaline Xylanase
ใชในอุตสาหกรรมการทํากระดาษ ใชในการฟอกสีเยื่อกระดาษ ฟอกสีเสนใยลินินและทําให
เสนใยนุมขึ้น เติมในน้ําผลไมทําใหน้ําผลไมใส (Beg QK และคณะ, 2001)

Alkaline Pullulanase
สวนใหญพบแบคทีเรียในจีนัส Bacillusที่ผลิตเอนไชม Pullulanase ไดแก Bacillus halodurans
Clostridium thermohydrosulfuricum, Bacillus alcalophilus และ Bacillus sp.
ประโยชนของ Alkaline Pullulanase
ใชผสมในน้ํายาลางจานเพื่อชวยยอยคารโบฮัยเดรตที่ตกคาง

S-layer of Deinococcus radiodurans


S-layer หรือ sureface layer เปนชั้นโปรตีนที่เคลือบผิวชั้นนอกของแบคทีเรียแกรมบวก พบได
ในแบคทีเรียบางชนิด เชน Bacillus cereus, Lactobacillus และ Deinococcus

S-layer ของแบคทีเรีย Deinococcus radiodurans มีลักษณะ 6 เหลี่ยม 6 มุม


ชองวางหรือระยะตาขาย 19 นาโนเมตร ขนาดรู 5.5 นาโนเมตร

ภาพที่ 3 S- layer ของ Deinococcus radiodurans


ที่มา : www.agavebio.com/Catalog/S-layer%20Catalog.pdf
10

ประโยชนของ S-layer ใชทํา Molecular sieves คือ ตัวกรองระดับ โมเลกุล จะใชกรองสารที่มีโมเลกุล


ขนาดเล็ก ผานรูที่มีขนาดเทา ๆ กัน มีรายงานการประยุกตใช S-layer ของ Deinococcus ในการตรวจจับ
ความเขมขนของแคลเซียมอิออนในกระแสโลหิต

ประโยชนดาน Environment

(A) (B)
ภาพที่ 4 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ Deinococcus radiodurans
(A) D. radiodurans บนอาหารเลี้ยงเชื้อ และ (B) กลุมเซลลขอ D. radiodurans
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Deinococcus_radiodurans

Deinococcus radiodurans
Deinococcaceae ประกอบดวยแบคทีเรียสองสกุล คือ Deinococcus และ Deinobacter ทั้งสองสกุล
ตางกันตรงที่ Deinococcus เปนแบคทีเรียแกรมบวก แต Deinobacter เปนแบคทีเรียแกรมลบ Deinococcus
radiodurans เปนสปชีสที่เปนรูจักมากที่สุด
Deinococcus radiodurans ถูกคนพบในป ค.ศ. 1956 โดย Arthur W. Anderson จากเมือง Corvallis
มลรัฐออริกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา เขาทําการทดลองเกี่ยวกับเนื้อสัตวฉายรังสี และพบวาหลังจากฉาย
รังสีในปริมาณสูงถึง 10,000 เกรย ซึ่งสามารถฆาเชลลสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่เขารูจัก เนื้อสัตวที่ไดรับรังสีก็ยัง
เกิดการเนาเสีย เขาจึงแยกและเพาะเลี้ยงแบคทีเรียที่กอใหเกิดการเนาเสียนั้น แบคทีเรียนี้ไดรับการขนาน
นามในภายหลังวา Deinococcus radiodurans แปลตามศัพทวา ผลไมประหลาดซึ่งทนตอรังสี
ปจจัยสําคัญที่ทําใหเชลลโดยทั่วไปออนแอตอรังสีคือ อันตรายจากรังสีมีตอดีเอ็นเอซึ่งเปนสาร
พันธุกรรม และโปรตีนซึ่งเปนโครงสรางและเปนเครื่องจักรอันสําคัญของเชลล D. radiodurans มีกลไก
11

ปองกันทั้งดีเอ็นเอและโปรตีนของเชลล เชลลของแบคทีเรียชนิดนี้ประกอบดวยโครโมโซมมากถึง 4 ชุด


หากดีเอ็นเอในโครโมโซมชุดหนึ่งชุดใดเกิดความเสียหาย ดีเอ็นเอในโครโมโซมชุดอื่นก็สามารถทํางาน
ตอไปได และ D.radiodurans ยังสามารถซอมแซมการแตกหักของดีเอ็นเอโดยเฉพาะ double – strand break
ไดอยางรวดเร็ว (ภายใน 12-24 ชั่วโมง) เริ่มดวยการเชื่อมตอชิ้นสวนดีเอ็นเอผานกระบวนการ single-strand
annealing ตามดวยการถายแบบขอมูลทางพันธุกรรมจากดครโมโซมที่ไมถูกทําลายดวยกระบวนการ
homologous recombination
นอกจากรังสีจะกออันตรายตอชีวโมเลกุลโดยตรง รังสีชนิดกอไอออนยังกอใหเดิดอนุมูลอิสระขึ้น
ภายในเชลล โดยเฉพาะอนุมูลอิสระไฮดรอกซิล (hydroxyl radical) และซุปเปอรออกไซด (superoxide)
อนุมูลอิสระนี้วองไวตอปฎิกิริยามากและเปนอันตรายตอดีเอ็นเอและโปรตีนของเชลล D. radiodurans มี
เม็ดสีชนิดแคโรทีนอยดซึ่งทําใหมันมีสีแคงและชวยปองกันอนุมูลอิสระ นอกจากนี้มันยังมีเอนซมที่สามารถ
ปองกันปฎิกิริยาออกซิเดชัน เชน superoxide dismutase และ catalaseโดยพบวา catalase ของD. radiodurans
มีประสิทธิภาพมากกวา catalase ของแบคทีเรียชนิดอื่นๆ และยังพบวา D. radiodurans มีสัดสวนของ
แมงกานีสตอเหล็ก (Mn : Fe) สูงและพบความสัมพันธในเชิงบวกระหวางปริมาณของแมงกานีสในเชลลกับ
ความทนตอรังสี แมงกานีสเปน cofactor ที่สําคัญสําหรับการทํางานของเอนไซม superoxide dismutaseแต
นักวิทยาศาสตรเชื่อวา แมงกานีส (Mn) มีบทบาทอยางยิ่งในการปกปองโปรตีนจากปฎิกิริยาออกซิเดชัน
มากกวาการเปนเพียง cofactor ความทนตอรังสีและสภาพแวดลอมทําให D.radiodurans กลายเปน
suerBUG ที่นํามาดัดแปลงดวยเทคนิคพันธุวิศวกรรม เพื่อใชในการทําความสะอาดน้ําทิ้ง ซึ่งปนเปอนดวย
โลหะหนักและสารกัมมันตรังสี ตัวอยาง ยีน bacterial mercuric reductase จาก Escherichia coli ถูกตัดตอใส
เขาไปใน D.radiodurans เพื่อใชกําจัดปรอทในน้ําทิ้ง ซึ่งปนเปอนสารกัมมันตรังสีจากโรงงานผลิตอาวุธ
นิวเคลียร และยีน tod และ xyl จาก Psuedomonas putida ถูกใสเขาไปใน D.radiodurans เพื่อใชกําจัด
toluene ในน้ําทิ้งซึ่งปนเปอนสารกัมมันตรังสี (Hassan Brim และคณะ, 2000)
12

ตารางที่ 2 ประโยชนของ Extremophiles ในดาน Biotechnology


Table 2. Potential applications of extremophiles in biotechnology
Source Use
Thermophiles
DNA polymerase DNA amplification by PCR
DNA ligase Ligase chain reaction (LCR)
Alkaline phosphatase Diagnostics
Proteases and lipases Dairy product
Lipases, pullulanase, amylopullulanase, and Baking and brewing and amino acid production
proteases from keratin
-Amylases, glucoamylaseglucosidase, Starch processing, and glucose and fructose for
pullulanase, amylopullulanase and xylose/glucose sweeteners
isomerases
Alcohol dehydrogenase Chemical synthesis
Xylanases Paper bleaching
Antibiotics Pharmaceutical
S-layer proteins and lipids Molecular sieves
Oil degrading microorganisms Surfactants for oil recovery
Sulphur oxidizing microorganisms Bioleaching, coal, and waste gas desulfurization
Thermophilic consortia Waste treatment and methane production
Psychrophiles
Alkaline phosphatase Molecular biology
Proteases, lipases, cellulases, and amylases Detergents
Lipases and proteases Cheese manufacture
Proteases Contact-lens cleaning solutions, meat tenderizing
Polyunsaturated fatty acids Food additives, dietary supplements
Various enzymes Modifying flavours
-Galactosidase Lactose hydrolysis in milk product
Ice nucleating proteins Artificial snow, ice cream, other freezing
applications in the food industry
Ice minus microorganisms Frost protectants for sensitive plants
13

Various enzymes (e.g. dehydrogenases) Biotransformations


Various enzymes (e.g. oxidases) Bioremediation, environmental biosensors
Methanogens Methane production
Halophiles
Bacteriorhodopsin Optical switches and photocurrent generators in
bioelectronics
Polyhydroxyalkanoates Medical plastics
Rheological polymers Oil recovery
Eukaryotic homologues (e.g. myc oncogene Cancer detection, screening antitumour drugs
product)
Lipids Liposomes for drug delivery and cosmetic
packaging
Lipids Heating oil
Compatible solutes Protein and cell protectants in a variety of industrial
uses (e.g. freezing, heating)
Various enzymes (e.g. nucleases, amylases, Various industrial uses (e.g. flavouring agents)
proteases)
-Linoleic acid,carotene and cell extracts (e.g. Health foods, dietary supplements, food colouring,
Spirulina and Dunaliella) and feedstock
Microorganisms Fermenting fish sauces and modifying food textures
and flavours
Microorganisms Waste transformation and degradation
(e.g.hypersaline waste brines contaminated with a
wide range or organics)
Membranes Surfactants for pharmaceuticals
Alkaliphiles
Proteases, cellulases, xylanases, lipases and Detergents
pullulanases
Proteases Gelatin removal on X-ray film
Elastases, keritinases Hide dehairing
Cyclodextrins Foodstuffs, chemicals, and pharmaceuticals
14

Xylanases and proteases Pulp bleaching


Pectinases Fine papers, waste treatment, and degumming
Alkaliphilic halophiles Oil recovery
Various microorganisms Antibiotics
Acidophiles
Sulphur-oxidizing microorganisms Recovery of metals and desulfurication of coal
Microorganisms Organic acids and solvents
Organic solvent tolerant microbes Bioconversion of water insoluble compounds (e.g.
sterols), bioremediation, biosurfactants
Radiation-resistant microbes Degradation of organopollutants in radioactive
mixed-waste environments
Oligotrophs/oligophiles Bioassay of assimilable organic carbon in drinking
water
Barophiles Microbially enhanced oil recovery process

ที่มา : CURRENT SCIENCE, VOL. 89, NO. 1, 10 (2005)


15

สรุป

Extremophile เปนสิ่งมีชีวิตที่สามารถเจริญไดในสภาวะที่รุนแรงหรือสภาวะแวดลอมที่ผิดปกติ
สิ่งมีชีวิตกลุมนี้สามารถเจริญไดในบริเวณตางๆ ไดแก น้ําผุรอน ปากปลองภูเขาไฟ ใตทะเลลึกหรือใต
มหาสมุทรที่มีความดันของน้ําสูงๆ บริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใตที่มีอากาศหนาวเย็น บริเวณที่มีความ
แหงแลง เชน ทะเลทราย บริเวณที่มีรังสีสูง รวมถึงในบริเวณที่มีสภาพความเปนกรด – ดางสูงในปจจุบันได
มีการศึกษาและใชประโยชนจากสิ่งมีชีวิตในกลุมExtremophileอยางกวางขวางทั้งในดานเทคโนโลยีชีวภาพ
และดานอุตสาหกรรม ไดแก การใชประโยชนในกระบวนการ polymerase chain reaction เพื่อตรวจหา
เอกลักษณของสิ่งมีชีวิ การใชประโยชนของเอนไซมในอุตสาหกรรมประเภทตางๆนั้น สวนใหญจะเปนการ
ใชเอนไซม ไดแก เอนไซม proteases, lipases, xylanases, cellulases และpullulanases อุตสาหกรรมการ
ผลิตสารทําความสะอาด เชน ผงซักฟอก น้ํายาลางจาน เพื่อชวยยอยสลายคราบไขมันและคารโปรไฮเดรตที่
ตกคาง อุตสาหกรรมการทํากระดาษ ผาและหนัง เชนใชในการฟอกสีเยื่อกระดาษ ฟอกสีเสนใยลินินและทํา
ใหเสนใยนุมขึ้น และอุตสาหกรรมน้ําผลไม เชน ชวยยอยสลายเสนใยหรือเยื่อของผลไมทําใหสามารถคั้นน้ํา
ผลไมไดปริมาณมากขึ้นและยังชวยลดความขนของน้ําผลไมเนื่องมาจากเสนใยที่ปนอยูในน้ําผลไมดวย ทํา
ใหน้ําผลไมใสและมีความหนืดลดลง เปนตน
16

บรรณานุกรม

กนกพร บุญศิริชัย. 2545. แบคทีเรียทนรังสี. กลุมวิจัยและพัฒนานิวเคลียร สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร


แหงชาติ, กรุงเทพฯ.

Aehle, W., A.Amory , D.Schomburg , H.Sobek , D.Wilke and R.Vetter . 1993. Rational protein
engineering and industrial application:structure prediction by homology and rational design of
protein-variants with improved “washing performance” – the alkalineprotease from Bacillus
alcalophilus. J. Biotechnol . 28 :31–40.

Baumeister, W., M. Barth, R.Guckenberger, R.Hegerl, M.Hahn and W.O. Saxton. 1987. Three-
dimensional Structure of the Regular Surface Layer (HPI Layer) of Deinococcus radiodurans. J.
Mol. Biol. 187 : 241-250.

Van den Burg B.2003. Extremophiles as a source for novel enzymes. Current Opinion in Microbiology.
6 :213–218.

Chandralata Raghukumar, S. Shivaji and T. Satyanarayana. 2005. Extremophilic microbes:


Diversity and perspectives. Current science. 87 : 1, 10.

Chiaki, K., H. Horikoshi, j.Tamaoka, L.Li, Y. Nakamura, and Y. Nogi. 1998. Extremely Barophilic
Bacteria Isolated From the Mariana Trench , Challenger Deep, at a Depth of 11,00 Meters.
Appl.Environ.Microbiol. 64 : 1510-1513.
17

Fiala, G., K.O. Stetter. 1986. “Pyrococcus furiosus sp. Nov. represents a novel genus of marine
heterotrophic archaebacteria growing optimally at 100 °C” Archive of Microbiology. 145 : 56-61.
Dol: 10.1007/BF00413027 (http://dx.dol.org/10.10007/BF00413027)

Haruyuki ,A., 2005. Recent progress towards the application of hyperthermophiles and their enzymes.
Current Opinion in Chemical Biology. 9:166–173.

Hassan, B., C.M. Sara, J.D. Michael, K.F. James, P.W. Lawrence, W.M. Kenneth and Z. Min. 2000.
Engineering Deinococcus radiodurans for metal remediation in radioactive mixed waste
Environments. Nature biotechnology. 18 : 85-90.

Ito, S. 1997. Alkaline cellulases from alkaliphilic Bacillus : Enzymatic properties, genetics, and
Application to detergents. Springer-Verlag. 1 : 61-66.

Korikoshi, K. 1999. Alkaliphiles: Some Applications of Their Products for Biotechnology. Microbiology
and molecular biology reviews. p. 735–750.

Lynn J. Rothschild and Rocco L. Mancinelli. 2001. Life in extreme environments. NASA Ames Research
Center, Moffett Field, California 94035-1000, USA

Michael,. A. I., B.M. Kenneth , H.G. David and D.B. Mary ann. 1988. DNA sequencing with Thermus
aquaticus DNA polymerase and direct sequencing of polymerase chain reaction-amplified DNA.
Proc. Natl. Acad. Sci. USA. 85 : 9436-9440.
18

Michael, J.D. 2000. Engineering radiation-resistant bacteria for environmental biotechnology.


Current Opinion in Biotechnology. 11:280–285.

Packo ,P.L., J.Marcel and H.W. Rene. 2003. Exploring and exploiting carotenoid accumulation in
Dunaliella salina for cell-factory applications. Trends in Biotechnology . 26 :11.

Valentina ,V.U. 2006. Bioremediation of toxic heavy metals using acidothermophilic autotrophes.
Bioresource Technology. 97 : 1237–1242.

You might also like