You are on page 1of 48

ข้อมูลเพื่อการวางแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์

รายสินค้าจังหวัดภูเก็ต
(กุ้งทะเล)

กลุ่มสารสนเทศการเกษตร
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดภูเก็ต
เอกสารเลขที่ 1/2562 สิงหาคม 2562
คำนำ
การจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์รายสินค้าของจังหวัดภูเก็ต
เป็นการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดภูเก็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำระบบ
ฐานข้อมูลด้านการเกษตรไปใช้ประโยชน์ในการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์รายสินค้าของจังหวัด
สำนั ก งานเกษตรและสหกรณ์ จั งหวั ดภูเ ก็ต ได้ ศ ึก ษา วิ เ คราะห์ และจั ด ทำระบบฐานข้ อ มูล ด้าน
การเกษตรของจังหวัดเป็นรายสินค้า ซึ่งสินค้าเกษตรที่ได้จัดทำขึ้นคือ “กุ้งทะเล” เนื่องจาก มีความสำคัญ และ
กำลังพัฒนาศักยภาพเพื่อมุ่งผลทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดรายได้แก่เกษตรกร และเป็นผลผลิตที่ควรได้รับการ
พัฒนาอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ทั้งนี้ ยังมีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาการเกษตรจังหวัด และยังเชื่อมโยง
ไปถึงยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทั้งนี้ ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูล ทั้งจากเจ้าหน้า ที่
ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบของหน่ ว ยงาน เอกสารจากแหล่ ง อ้ า งอิ ง ตลอดจนเว็ บ ไซต์ ต ่ า ง ๆ เพื ่ อ เป็ น ประโยชน์
ต่อผู้สนใจในการนำไปเป็นฐานข้อมูลและเป็นแนวทางในการใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ต่อไป

กลุ่มสารสนเทศการเกษตร
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดภูเก็ต
สิงหาคม 2562
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 ข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดภูเก็ต
1 ด้านกายภาพ 1
2. ด้านการเกษตรกรรม 5
3. ด้านการประมง 8
4. ด้านปศุสัตว์ 11
5. ด้านเศรษฐกิจและสังคม 12
6. ด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร 14
บทที่ 2 สถานการณ์การเลี้ยงกุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต
1. เขตความเหมาะสมสำหรับเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดภูเก็ต 18
2. โรคที่พบ 21
3. สถานการณ์การเกิดโรคในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดภูเก็ต 26
4. ประเภทการเลี้ยง 27
5. การรวมกลุ่มของเกษตรกร 27
6. การกระจายผลผลิต 27
7 พฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากร 27
ในขั้นตอนการจับกุ้งทะเลของแพรับซื้อจังหวัดภูเก็ต
บทที่ 3 ด้านเศรษฐกิจ
๑. ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงกุ้งทะเล 29
๒. ราคาที่เหมาะสมของสินค้าเกษตรภาคใต้ (กุ้งทะเล) 30
๓. ราคาที่เกษตรกรขายได้ 30
๔. ต้นทุนและผลตอบแทนต่อกิโลการเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดภูเก็ต 31
๕. สถานการณ์ในปัจจุบัน 31
๖. แนวโน้มสถานการณ์ด้านผลผลิตปี 2563 32
๗. การตลาดและช่องทางการจำหน่าย
7.1 กุ้งขาวแวนนาไม 34
7.2 กุ้งกุลาดำ 35
ภาคผนวก
1. รายชื่อฟาร์มเพาะฟัก และโรงอนุบาลกุ้งทะเลใน จังหวัดภูเก็ต 36
2. รายชื่อฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต 39
3. รายชื่อฟาร์มเพาะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต 41
4. รายชื่อสถานที่จำหน่ายปัจจัยการผลิต ในจังหวัดภูเก็ต 41
5. สถิติการส่งออกกุ้งกุลาดำ กุ้งขาวแวนนาไม ประจำปี 2560 42
6. สถิติการส่งออกกุ้งกุลาดำ กุ้งขาวแวนนาไม ประจำปี 2561 43
บทที่ 1
ข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดภูเก็ต
1. ด้านกายภาพ
1.1 ลักษณะภูมิประเทศ
มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ วางตัวในแนวจากทิศเหนือไปทิศใต้ พื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ
70 เป็นภูเขา และร้อยละ 30 เป็นพื้นที่ราบอยู่ตอนกลางและตะวันออกของเกาะ พื้นที่ด้านทิศตะวันออก
เป็นดินเลนและป่าชายเลน ส่วนชายฝั่งด้านทิศตะวันตกเป็นภูเขาและหาดทราย
1.2 ลักษณะภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา
1.2.1 ภูมิอากาศ จังหวัดภูเก็ตมีลักษณะภูมิอากาศแบบเขตศูนย์สูตร อยู่ในเขตอิทธิพล
ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มีอากาศร้อนชื้นตลอดปี และมี 2 ฤดู
- ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน ถึงเดือนพฤศจิกายน
- ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม ถึงเดือนมีนาคม
1.2.2 อุณหภูมิและความชื่นสั มพัทธ์ จังหวัดภูเก็ต ในช่วงระหว่ างปี 2552 ถึง 2561
มี อุ ณ หภู มิ สู งสุ ด เฉลี่ ย ตลอดปี มี ค่ า อยู่ ในช่ ว ง 34.7-37.9 อุ ณ หภู มิ ต่ ำ สุ ด เฉลี่ ย ตลอดปี มี ค่ า อยู่ ในช่ ว ง
16.0-23.5 และมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่อปี 75.91-78
1.2.3 ปริมาณน้ำฝน จังหวัดภูเก็ตมีปริมาณน้ำฝน ระหว่างปี 2554 ถึง 2561 จะอยู่
ในช่วง 2,171.3 มม. ถึง 2,829.2 มม. ปริมาณน้ำฝนมากที่สุดในปี 2557 วัดได้ 2,829.2 มม.จำนวน
ฝนตก 185 วัน ส่วนฝนตกน้อยที่สุดในปี 2561 วัดได้ 2,171.3 มม. จำนวนวันฝนตก 175 วัน ดังตาราง
ตารางแสดงปริมาณน้ำฝน จำนวนวันฝนตก อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต
ที่ ปี พ.ศ. ปริมาณ จำนวนวัน อุณหภูมิ อุณหภูมิ ความชื้น
น้ำฝนเฉลี่ย ฝนตกเฉลี่ย สูงสุด เฉลี่ย ต่ำสุดเฉลี่ย สัมพัทธ์
(มม.) (วัน) (องศา) ºC (องศา) ºC (%)
1 พ.ศ.2554 2,400.60 188 35.20 22.40 77.56
2 พ.ศ.2555 2,788.30 198 36.40 23.50 78.00
3 พ.ศ.2556 2,603.40 175 37.50 22.90 76.60
4 พ.ศ.2557 2,829.20 185 37.00 21.50 75.91
5 พ.ศ.2558 2,488.70 158 37.50 22.60 76.20
6 พ.ศ.2559 2,552.30 179 37.90 22.80 76.85
7 พ.ศ.2560 2,775.70 193 36.10 22.00 77.64
8 พ.ศ.2561 2,171.30 175 34.70 16.00 76.55
ค่าเฉลี่ย 2,513.62 181.70 36.57 21.76 77.62
ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยาภูเก็ต ณ 26 กรกฎาคม 2562
1.3 กลุ่มชุดดิน
จากการศึกษาขอมูลแผนที่กลุมชุดดินสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจระดับจังหวัด มาตราสวน
1:50,000 ของจังหวัดภูเก็ต ซึ่งกรมพัฒนาที่ดินไดจัดทําขึ้น ประกอบด้วยกลุ่มชุดดิน และหนวยแผนที่ดิน
ตางๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ตารางแสดงกลุมชุดดินที่พบในจังหวัดภูเก็ต
กลุ่มชุดดิน ลักษณะเด่น
กลุ่มชุดดินในพื้นที่ลุ่ม
ดินเหนีย วลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ำปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึง เปนกรดจัด
6
การระบายน้ำเลวถึงคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณต่ำ
ดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ำ ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดาง การระบาย
7
น้ำคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณปานกลาง
ดินเลนเค็มชายทะเลที่มีศักยภาพกอใหเกิดเปนดินกรดกํามะถัน ปฏิกิริยา ดินเปนกลาง
13
ถึงเปนดาง การระบายน้ำเลวมาก ความอุดมสมบูรณปาน กลางถึงสูง
ดินรวนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ำ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก การระบาย
17
น้ำเลวถึงคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณต่ำ
ดินรวนหยาบลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ำ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงปานกลาง
22
การระบายน้ำเลวถึงคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณต่ำ
กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินชื้น
ดิ น เหนี ย วลึ ก ถึ งลึ ก มากที่ เกิ ด จากตะกอนลํ า น้ ำ หรื อ วัต ถุ ต นกํ าเนิ ด ดิ น เนื้ อ ละเอี ย ด
26
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณต่ำ
ดินรวนละเอียดลึกถึงลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ำหรือวัตถุต นกําเนิด ดินเนื้อหยาบ
34
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณต่ำ
ดินทรายที่มีชั้นดานอินทรียภายในความลึก 100 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรด
42 เล็ ก นอยถึ ง เปนกลาง การระบายน้ ำ คอนขางมากอยู บ นชั้ น ดิ น ที่ มี ก ารระบายน้ ำ
ดีปานกลางถึงคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณต่ำ
ดินทรายลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ำ หรือสันทรายชายทะเล ปฏิกิริยา ดินเปนกรด
43
เล็กนอยถึงเปนดาง การระบายน้ำคอนขางมาก ความอุดมสมบูรณต่ำ
ดิน รวนลึ กปานกลางถึงเศษหิ น กอนหิ นหรือชั้นหิ นพื้น ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก
50
การระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณต่ำ
ดิ น เหนี ย วลึ ก ปานกลางถึ ง ชั้ น หิ น พื้ น ลู ก รั ง หรื อ เศษหิ น ปฏิ กิ ริ ย าดิ น เปนกรดจั ด
53
การระบายน้ำดี ความอุดมสมบูรณต่ำ
พื้นที่ลาดชันเชิงซอนหรือพื้นที่ภูเขา
พื้น ที่ลาดชัน เชิงซอนที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต พื้นที่บริเวณนี้ยังไมมี
62 การศึกษา สํารวจและจําแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ซึ่งถือวายาก
ตอการจัดการดูแลรักษาสําหรับการเกษตร

2 | หน้า
ตารางแสดงหนวยแผนที่ดินตางๆ ที่พบแพรกระจายอยูในจังหวัดภูเก็ต
กลุมชุดดิน เนื้อที่ (ไร) กลุมชุดดิน เนื้อที่ (ไร) กลุมชุดดิน เนื้อที่ (ไร)
6 1,955 26C/53C 2,384 53B 4, 768
6/17p 1,726 26D 5,953 53C 3,899
7 4,739 26D/53D 1,183 53D 1,130
13 28,539 26E/53E 427 62 111,976
17p 112 34 4,438 AP 1,220
22 6,556 34B 1,135 ML 35,636
26 5,098 34D 337 U 9,895
26B 67,528 42 1,418 W 1,716
26B/53B 6,933 43 8,879 รวม 339,396
26C 19,416 50B 400
B มีความลาดชัน 2-5 % C มีความลาดชัน 5-12 %
D มีความลาดชัน 12-20 % E มีความลาดชัน 20-35 %
p มีการระบายน้ำเลว sp มีการระบายน้ำคอนขางเลว
ตารางแสดงการกระจายของกลุมชุดดินที่พบในอําเภอตางๆ เรียงลําดับตามกลุมที่มพี ื้นที่มากไปหาน้อย
กลุมชุดดิน
อำเภอ
ดินในพื้นที่ลุม ดินในพื้นที่ดอน
เมืองภูเก็ต 13, 6/17p, 22 62, 26B, 26C, 26B/53B,
53B, 53C, 26C/53C,
26D/53D, 26E/53E, 43,
50B, 26D, 26,
ถลาง 13, 7, 22, 6, 17p 26B, 62, 26C, 43, 26D, 26,
34, 53B, 26B/53B, 42,
53C, 34B, 53D, 34D,
กะทู้ 22 62, 26B, 26D, 26C,
26C/53C, 26D/53D

3 | หน้า
แผนที่ดินตามกลุ่มลักษณะเด่นและสภาพปัญหา - แนวทางการจัดการดินตามลักษณะเด่นและสภาพปัญหา
จากลักษณะและสมบัติของดินในกลุ่มชุดดินต่างๆ ที่พบแพร่กระจายอยู่ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต
สามารถจัดกลุ่มดินใหม่ตามลักษณะเด่น สภาพปัญหาหรือข้อจำกัดในการใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร
และสภาพพื้นที่ที่พบได้เป็น 10 กลุ่ม ดังนี้
ตารางอธิบายหนวยแผนที่ดินตามกลุมลักษณะเดนและขอจํากัดในการใชจังหวัดภูเก็ต

สัญลักษณ์ คำอธิบาย หน่วยแผนที่ดิน


ดินในพื้นที่ลุม
m5 ดินเหนียวที่มีปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดาง 7
m6 ดินเหนียวที่มีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดจัดมาก 6 6/17p
m8 ดินเลนชายทะเลที่มีน้ำทะเลทวมถึงเปนประจํา 13
m10 ดินรวนที่เกิดจากตะกอนลําน้ำ 17p 22
ดินในพื้นที่ดอนในเขตดินชื้น
m26 ดินเหนียวลึกมาก 26 26B 26B/53B 26C
26C/53C 26D 26D/53D
26E/53E
m28 ดินรวนลึกมาก 34 34B 34D
m29 ดินทรายที่มีชั้นดานอินทรีย์ 42
m30 ดินทรายหนา 43
m33 ดินลึกปานกลางที่มีลูกรัง กอนกรวด หรือ เศษหินปนอยู 50B 53B 53C 53D
มากในชวงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน
พื้นที่ลาดชันเชิงซอนหรือพื้นที่ภูเขา
m34 พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงมาก 62

4 | หน้า
2. ด้านการเกษตรกรรม
2.1 การใช้พื้นที่ทางการเกษตร
ในปี พ.ศ.2561 จังหวัดภูเก็ตมีจำนวนพื้นที่ทำเกษตรกรรมประมาณ 91,815 ไร่ อยู่ในเขต
อำเภอถลาง มากที่สุด คือ 65,592 ไร่ อำเภอเมือง 14,976 ไร่ อยู่ในเขตอำเภอกะทู้น้อยที่สุด คือ 11,247 ไร่
โดยใช้เป็ น พื้น ที่ป ลู กยางพารามากที่ สุ ด 75,124 ไร่ รองลงมาเป็ นการปลู กไม้ผ ลไม้ยืนต้น 13,459 ไร่
พืชไร่ 2,070 ไร่ พืชผัก 1,023 ไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ 52 ไร่ และพืชสมุนไพร 27 ไร่ แต่มีพื้นที่ปลูกไม่มาก
นั ก รวมปริ ม าณการผลิ ต พื ช บางชนิ ด ไม่ เพี ย งพอกั บ ความต้ อ งการในพื้ น ที่ โดยเฉพาะพื ช ผั ก เนื่ อ งจาก
ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนมาดำเนินการด้าน
การท่องเที่ยวมากขึ้น
ตารางแสดงครัวเรือนเกษตรกร จังหวัดภูเก็ต
จำนวนครัวเรือน (หลัง)
อำเภอ
พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561
เมืองภูเก็ต 931 953 1,006
กะทู้ 757 762 777
ถลาง 3,407 3,406 3,484
รวม 5,095 5,121 5,267
ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต พ.ศ.2562 (ระบบทะเบียนเกษตรกร)
ตารางแสดงพื้นที่ทำการเกษตร จังหวัดภูเก็ต
พื้นที่ทำการเกษตร (ไร่)
อำเภอ
พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2562
เมืองภูเก็ต 24,080 16,998 14,976
กะทู้ 11,747 11,370 11,247
ถลาง 86,505 73,619 65,592
รวม 122,332 101,987 91,815
ที่มา: สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต พ.ศ.2561 และข้อมูลการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 2558-2559 (ระบบ Agri-Map
Online)
2.2 การผลิตด้านพืช
จากข้อมูลการถือครองพื้นที่ทำการเกษตร มีการนำไปใช้เพื่อผลิตไม้ผล-ไม้ยืนต้น และพืชไร่เป็นหลัก
และมีชนิดพืชที่ทำการผลิตประกอบด้วย ยางพารา มะพร้าว ทุเรียน สะตอ สับปะรด ปาล์มน้ำมัน ลองกอง
มังคุด เงาะ และข้าว ตามลำดับ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการผลิตพืชในจังหวัดภูเก็ต พบว่า มีแนวโน้มลดลงในด้านพื้นที่ปลูกจน
ทำให้ปริมาณผลผลิตของพืชลดลงตามไปด้วย ทั้งนี้เนื่องจากมีการนำพื้นที่เกษตรกรรมบางส่วนไปใช้ประโยชน์
นอกภาคเกษตรซึ่งให้ผลตอบแทนที่สูงกว่า เช่น การท่องเที่ยว การค้าปลีก-ค้าส่ง

5 | หน้า
ตารางแสดงลักษณะทางการเกษตรกรรมในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต
จำนวนพื้นที่ (ไร่)
ลักษณะการเกษตร พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561
นาข้าว 72 64 60
ไม้ผลไม้ยืนต้น 96,450 89,120 88,583
พืชผัก 2,004 1,366 1,023
พืชไร่ 2,530 2,058 2,070
ไม้ดอกไม้ประดับ 214 58 52
พืชสมุนไพร 27 27 27
รวม 101,270 92,693 91,815
ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต พ.ศ.2562

6 | หน้า
ตารางแสดงข้อมูลพืน้ ที่ปลูก พืน้ ที่ให้ผลผลิต ปริมาณผลผลิต และมูลค่าการผลิตพืชเศรษฐกิจทีส่ ำคัญจังหวัดภูเก็ต

จำนวนครัวเรือนเกษตรกร พื้นที่ปลูก
ที่ ชนิดพืช พื้นที่ให้ผลผลิต (ไร่) ปริมาณผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย มูลค่า (ล้านบาท)
(ราย) (ไร่)
2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561
1 ยางพารา 3,776 3,197 85,583 66,192 75,123.60 72,484 58,389.00 63,581.00 13,248 11,624.00 15,034.00 183 199 236.45 1,005.8 406.84 642.4
2 ปาล์มน้ำมัน 87 65 1,685 2,014 1,739.42 1,657 1,725.00 1,672.00 3,897 4,462.00 3,837.88 2,352 2,587.00 2295.38 15.90 13.39 11.52
3 มะพร้าว n/a n/a 4,930 n/a n/a 4,930.00 n/a 4,743.00 n/a 962 n/a n/a 54.48 n/a n/a
4 มะพร้าวผลแก่ 546 557 n/a 4,529 4,640.00 n/a 4,026.00 4,140.00 n/a 3,677.00 3,666.21 n/a 913 885.56 n/a 73.54 54.99
5 มะพร้าวผลอ่อน 254 213 n/a 894 1,093.00 n/a 600 687 n/a 3,092.00 3,344.38 n/a 5,153.00 4868.09 n/a 61.84 50.51
6 สะตอ 782 772 1,864 2,274 2,201.00 1,808.00 2,217.00 2,081.00 3,012.00 1,385.00 1,877.04 1,666.00 625 901.99 11.12 138.5 79.66
7 ข้าวนาปี 15 14 72 63 60 72 63 60 35 31 30 486 492 500.00 1.24 0.62 0.6
8 สับปะรดภูเก็ต 63 45 2,530 2,058 2,070.00 1,968 1,179.00 1,876.00 9,468 4,982.00 7,972.45 4811 4,266.00 4249.71 113.30 89.68 99.66
9 ทุเรียน 658 666 2,389 2,389 2,455.00 2,242 2,242.00 2,243.00 827 196 717.25 369 87 319.77 76.27 15.68 43.03
10 มังคุด 268 246 449 449 449 449 449 449 189 83 184.81 421 185 411.60 6.44 2.91 4.62
11 เงาะ 215 131 n/a 241 248 n/a 241 241 n/a 70 121.94 n/a 290 505.98 n/a 1.75 3.05
12 ลองกอง 211 197 1,054 634 634 617 617 617 209 38 162.67 339 62 263.65 16.88 0.95 4.88

รวม 6,875 6,103 100,556 81,737 90,713.02 86,227 71,748.00 77,647.00 10,314.00 29,640.00 36,951.00 n/a n/a n/a 1,304.43 806 995

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต ณ สิงหาคม พ.ศ. 2562

7 | หน้า
3. ด้านการประมง
3.1 ข้อมูลเกษตรกรทำประมง
จั งหวัดภู เก็ ตมี เกษตรกรที่ป ระกอบอาชีพ ด้านประมง จำนวน 1,369 ราย ครัว เรือ นเกษตรกร
ประกอบอาชีพด้านการประมง จำนวน 693 ครัวเรือน (สำนักงานพัฒ นาชุมชนจังหวัดภูเก็ต, 2560) มี
เรือประมง จำนวน 1,121 ลำ เป็ นเรือประมงพาณิชย์ จำนวน 360 ลำ และเรือประมงพื้นบ้าน จำนวน
761 ลำ
ตารางตารางแสดงข้อมลการทำประมงในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต
ที่ ข้อมูลการทำประมง จำนวน
1 จำนวนครัวเรือนเกษตรกรประกอบอาชีพประมง 693
2 จำนวนเกษตรกรที่ประกอบอาชีพด้านประมง 1,369
3 จำนวนเรือประมงพาณิชย์ (ลำ) 360
4 จำนวนเรือประมงพื้นบ้าน (ลำ) 761

ที่มา: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดภูเก็ต ณ พ.ศ. 2560 , สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต ณ พ.ศ.2562


ตารางแสดงปริมาณผลผลิตสัตว์น้ำที่จับได้จากการทำประมงรวมปลาทุกชนิด
พ.ศ. ปริมาณผลผลิตสัตว์น้ำที่จับได้ มูลค่าสัตว์น้ำ (บาท)
จากการทำประมงรวมปลาทุกชนิด (กก.)
2559 46,550,565 2,505,717,681
2560 25,796,041 1,405,280,168
2561 29,290,971 1,743,903,765
ที่มา : สำนักงานท่าเทียบเรือจังหวัดภูเก็ต ณ พ.ศ. 2561
3.2 ข้อมูลผลผลิตสัตว์น้ำ
1) การเพาะพันธุ์และอนุบาลลูกกุ้ง
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา จังหวัดภูเก็ตได้เริ่มกิจการด้านโรงเพาะฟักกุ้งวัยอ่อน
(Hatcheries) เป็ น ครั้ งแรก โดยเป็ น การเพาะฟั ก กุ้งกุ ล าดำ หลั งจากนั้ น ในปี พ.ศ.2545 จนถึงปั จ จุบั น
ผู้ ป ระกอบการได้ หั น มาดำเนิ น การเพาะฟั ก ลู ก กุ้ งแวนนาไมแทน โดยเพาะพั น ธุ์ลู ก กุ้ งวั ย อ่ อ นเป็ น ระยะ
Nauplius และระยะ Post larvae (กุ้งพี) เพื่อจำหน่ายสู่นากุ้ง ปัจจุบันประสบปัญ หาอย่างมากจากการที่
บริษัทใหญ่และนักธุรกิจต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจการเลี้ยงกุ้งทะเลแบบครบวงจรทั้งนากุ้ง และการเพาะพันธุ์
และอนุบาลลูกกุ้ง เป็นเหตุให้เกษตรกรรายย่อยซึ่งมีข้ อจำกัดด้านเงินทุน ประสบปัญหาไม่สามารถแข่งขันได้
และเลิกกิจการไปเป็นจำนวนมาก
2) การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
ในจังหวัดภูเก็ตมีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดค่อนข้างน้อยปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
คือ ปลาดุก ปลานิล ปลาทับทิม กบ

8 | หน้า
ตารางแสดงลักษณะการเพาะเลี้ยงและปริมาณการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต
ปีงบประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2561
พื้นที่ มูลค่า พื้นที่ มูลค่า พื้นที่ มูลค่า
ที่ ชนิดสัตว์น้ำ จำนวนเกษตรกร เลี้ยง จำนวนเกษตรกร เลี้ยง จำนวนเกษตรกร เลี้ยง
(ฟาร์ม) (ไร่) (ล้าน (ฟาร์ม) (ไร่) (ล้านบาท) (ฟาร์ม) (ไร่) (ล้านบาท)
บาท)
1 การเพาะพันธุ์และอนุบาลลูกกุ้ง
- กุ้งกุลาดำ, กุ้งขาวแวนนาไม 101 111.87 640.96 87 94 1,976.02 70 446 2,373.00
2 การเลี้ยงกุ้งทะเล
- กุ้งกุลาดำ,กุ้งขาวแวนนาไม 72 1,134 396.24 81 1,348 654.15 77 2,560 613
3 การเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
- การเลี้ยงปลาในกระชัง 221 47.5 221 47.5 221 48
· ปลากะพงขาว 94 3 n/a 94 3 n/a 94 3 n/a
· ปลาเก๋า 101 44 101 44 101 44
· ปลามง 26 0.5 26 0.5 26 1
- การเลี้ยงหอยทะเล 60 765 60 765 56 765
· หอยแครง 14 493 14 493 14 497
· หอยแมลงภู่ 34 5 n/a 34 5 n/a 34 5 n/a
· หอยมุก 6 260 6 260 6 260
· หอยนางรม 4 4 4 4 0 0
· หอยเป่าฮื้อ 2 3 2 3 2 3
- การเลี้ยงสัตว์น้ำอื่นๆ 61 2 42 1.7 27 14 2,353,000
· กุ้งมังกร 45 1 n/a 26 0.7 n/a 27 14
· ปูทะเล 5 0.5 5 0.5
· สาหร่ายทะเล 11 0.5 11 0.5
4 การเลี้ยงสัตว์น้ำจืด (ปลาน้ำจืด) 25 - n/a 25 - n/a 28 n/a
ที่มา : สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต ณ สิงหาคม 2562
9 | หน้า
3.2 บทวิเคราะห์ด้านการประมง
สัตว์น้ำจากการเพาะเลี้ยงที่ทำรายได้ให้กับจังหวัดภูเก็ตเป็นอันดับ 1 อย่างต่อเนื่องมาตลอดคือ
การเพาะและอนุบาลลูกกุ้งทะเลชนิดกุ้งขาวแวนนาไม เพื่อส่งออกไปขายให้กับผู้เลี้ยงใน 22 จังหวัดชายทะเลทั่ว
ประเทศ โดยเฉลี่ยในแต่ละเดือนมีผลผลิ ตของลูกกุ้งขาวแวนนาไมระยะนอเพลียส ประมาณ 151,735.57
ล้านตัว ระยะโพสลาวา 2,621.97 ล้านตัว รองลงมาคือการเลี้ยงกุ้งทะเลมีผลผลิตเฉลี่ยเดือนละ 182,555
กิโลกรัม ซึ่งแนวโน้มสถานการณ์การเลี้ยงในด้านผลผลิตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับย้อนหลัง 3 ปีที่ผ่านมาและในปี
ต่อไปคาดว่าผลผลิตน่าจะยังคงที่หรือเพิ่มขึ้นไม่มากนักเพราะมาตรการตรวจสอบพื้นที่นาเลี้ยงกุ้ง การบุกรุกป่า
ชายเลน การดำเนินคดีอย่างจริงจัง กับผู้บุกรุกหรือเลี้ยงกุ้งอยู่ในพื้นที่ที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ทำให้พื้นที่เลี้ยงกุ้งน่าจะ
ลดน้อยถอยลง ส่วนการเลี้ยงปลาในกระชัง ชนิดปลาที่นิยมเลี้ยงได้แก่ ปลาเก๋า ปลากะพง ปลามง ปลาช่อนทะเล
หรือการเลี้ยงสัตว์น้ำอื่นๆ ในกระชัง เช่น กุ้งมังกร สาหร่ายทะเล หอยทะเล และปูทะเล มีผู้เลี้ยงทั้งสิ้น 236 ราย
ทั้งหมดเลี้ยงในทะเลซึ่งเป็นที่สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน ยังอยู่ระหว่างการประกาศเขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดย
คณะกรรมการประมงประจำจังหวัด ส่วนใหญ่จะเลี้ยงและจำหน่ายในตลาดท้องถิ่น สำหรับการเลี้ยงปลาน้ำจืดซึ่ง
ส่วนใหญ่เลี้ยงเพื่อบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก หรือส่งขายตามตลาดในท้องถิ่น ซึ่งมีจำนวนปริมาณน้อยมากเมื่อ
เทียบกับสัตว์น้ำชนิดอื่นๆ หรือเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นๆ เป็นเพราะสภาพพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย น้ำกร่อย ดินเก็บกัก
น้ำได้ไม่ดี ตลาดไม่นิยมบริโภค แหล่งลูกพันธุ์สัตว์น้ำอยู่ไกล จึงไม่เป็นที่นิยมของเกษตรกร ปัญหาหลักที่ส่งผล
กระทบต่อเกษตรกรในช่วงนี้คือ ข้อกำหนดของกฎหมายที่เคร่งครัดในเรื่องการใช้พื้นที่ที่สาธารณประโยชน์ใน
ทะเล การบุกรุกป่าชายเลน จังหวัดภูเก็ตครอบคลุมไปด้วยพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม และพระราชกำหนดการ
ประมง พ.ศ.2558 และกฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดคือการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เป็นกิจกรรมการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำควบคุม พ.ศ. 2559 ที่กำหนดให้การเลี้ยงกุ้งทะเล การเลี้ยงหอยทะเล และการเลี้ยงสัตว์น้ำ
ทุกชนิ ดในกระชัง เป็ นสัตว์น้ ำควบคุม ผู้เลี้ยงจะต้องเลี้ยงภายในเขตที่คณะกรรมการประมงประจำจังหวัด
ประกาศเขตกำหนดให้เลี้ยงได้เท่านั้น และต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กรมประมงกำหนดจึงทำให้ผู้เลี้ยงบางส่วน
อาจปรับตัวไม่ได้ หรือเลี้ยงอยู่ในเขตที่ไม่อนุญาตให้เลี้ ยง จึงอาจจะเลิกอาชีพนี้ไปในที่สุดปัญหาอีกอย่างหนึ่งที่
ประสบพบเจอตลอดมาตามช่วงเวลาของทุกปีคือโรคระบาดของสัตว์น้ำ และสภาพดินฟ้าอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย
ต่อการเลี้ยงสัตว์น้ำ หรือภัยธรรมชาติ สร้างความเสียหายให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำพอสมควร

10 | หน้า
4. ด้านปศุสัตว์
เกษตรกรในจั งหวัดประกอบอาชีพเลี้ ยงไก่ไข่ ไก่เนื้อ สุ กรขุน กระบือ โคเนื้อ ไก่พื้นเมือง เป็ดเนื้อ เป็ดไข่ แพะพ่อพันธุ์ แพะแม่พั น ธุ์ ตามลำดับ และ
เนื่องจากพื้นที่จังหวัดภูเก็ตมีบ้านพักอาศัยมากขึ้น ทำให้พื้นที่เกษตรกรรมลดลง ไม่สามารถขยายพื้นที่เลี้ยงและตั้งฟาร์มเพิ่มเติม

ตารางปริมาณการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต
ลำดับ ชนิดสัตว์ 2560 2561 2562

เกษตรกร จำนวน (ตัว) ตัวละ (บาท) ราคารวม เกษตรกร จำนวน (ตัว) ตัวละ (บาท) ราคารวม เกษตรกร จำนวน (ตัว) ตัวละ (บาท) ราคารวม
(ราย) (บาท) (ราย) (บาท) (ราย) (บาท)

1 ไก่ไข่ 5 118,000 1,089 128,502,000 21 145,615 1,089 158,574,735 1 140,885 1,089 153,423,765
2 ไก่เนือ้ 7 655,605 76 49,825,980 4 13,075 76 993,700 9 107,075 76 8,137,700
3 สุกรขุน 38 14,099 8,760 123,507,240 20 7,912 6,500 51,428,000 18 2,593 6,500 16,854,500
4 กระบือ 99 940 34,000 31,960,000 97 875 25,500 22,312,500 100 1,031 25,500 26,290,500
5 โคเนือ้ 87 945 42,000 39,690,000 98 945 27,000 25,515,000 121 1,372 27,000 37,044,000
6 ไก่พื้นเมือง 2,511 81,001 165 13,365,165 2,441 71,354 220 15,697,880 2,622 79,211 220 17,426,420
7 เป็ดเนือ้ 2 260 360 93,600 3 126 420 52,920 3 126 420 52,920
8 เป็ดไข่ 8 3,500 1,260 4,410,000 10 5,073 65 329,745 10 5,073 65 329,745
9 แพะพ่อพันธุ์ 39 301 6,000 1,806,000 35 284 6,000 1,704,000 48 291 6,000 1,746,000
10 แพะแม่พันธุ์ 39 1,045 6,000 6,270,000 35 973 6,000 5,838,000 48 1,540 600 924,000

หมายเหตุ : ไก่ไข่ 1 ตัว ไข่ได้เฉลี่ยปีละ 330 ฟอง ราคาฟองละ 3.3 บาท รวม 1,089 บาท/ปี/ตัว
ไก่เนื้อ เลี้ยงปีละ 5 รุ่น ๆ ละ131,121 ตัว ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดภูเก็ต ณ สิงหาคม 2562
เป็ดไข่ 1 ตัว ไข่ได้เฉลี่ยปีละ 280 ฟอง ฟองละ 4.5 บาท รวม 1,260 บาท/ปี/ตัว
* ข้อมูล 2560-2561 อยู่ระหว่างการปรับปรุงระบบข้อมูลของกรมปศุสัตว์
11 | หน้า
5. ด้านเศรษฐกิจและสังคม
5.1 ด้านเศรษฐกิจ
5.1.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภูเก็ต
สภาวะเศรษฐกิจและการค้าของจังหวัดภูเก็ตผูกขาดกับภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ
ภาคธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว และหากเหตุการณ์ทางการเมืองภายในประเทศเป็นไปอย่างสงบ ก็จะ
ส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดในทางที่ดีขึ้น เนื่องจากนักท่องเที่ยวจะมีความมั่นใจถึงความปลอดภัยใน
ชีวิ ต และทรั พ ย์ สิ น ปี 2559 จั งหวัด ภู เก็ ต มี มู ล ค่ าผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมจั งหวั ด ณ ราคาประจำปี (Gross
Provincial product : GPP) เท่ากับ 191,695 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.5 ของ GRP และร้อยละ 1.3
ของ GDP และมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP per capita) รายได้ต่อคนต่อปี เท่ากับ 357,498
บาท สูงเป็นอันดับ 1 ของภาคใต้และเป็นอันดับ 8 ของประเทศ มาจากการผลิตในภาคเกษตร 5,375 ล้าน
บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.8 และภาคนอกเกษตร 186,319 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 97.2
เมื่อพิจารณาตามโครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัด 5 อันดับแรก ได้แก่ สาขาโรงแรมและ
ภัตตาคาร คิดเป็นร้อยละ 43.4 สาขาการขนส่ง คิดเป็นร้อยละ 19.90 การขายส่งและการขายปลีก การ
ซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ คิดเป็นร้อยละ 5.5 กิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน คิดเป็นร้อย
ละ 5.1 และกิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัยคิดเป็นร้อยละ 5.0 และอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 21.1
ตามลำดับ
ตารางแสดงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตรของจังหวัดภูเก็ต

รายการ ปี พ.ศ.2558 (ล้านบาท) ปี พ.ศ.2559 (ล้านบาท )


ภาคการเกษตร 4,886 5,375
นอกภาคการเกษตร 163,050 186,319
167,936 191,694

ที่มา : สถิตผิ ลิตภัณฑ์มวลรวมภาคและจังหวัด สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ


5.1.2 กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
จั งหวัด ภู เก็ ต มี อ งค์ ก รชุ ม ชนมาขอรับ การจดทะเบี ย นและได้ รับ การอนุ มั ติ แล้ ว
จำนวน 295 กลุ่ม จำนวนสมาชิก 5,501 คน อำเภอถลางมีองค์กรชุมชนมาขอรับการจดทะเบียนมากที่สุด
รองลงมาคือ อำเภอเมือง และอำเภอกะทู้ ตามลำดับ
ตารางแสดงการจำแนกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเป็นรายอำเภอ
จำนวน
จำนวนวิสาหกิจ (แห่ง)
สมาชิก
อำเภอ
ณ ปัจจุบนั
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
(ราย)
เมืองภูเก็ต 91 95 76 60 66 73 72 76 84
กะทู้ 50 54 52 45 59 61 67 70 72
ถลาง 105 106 109 119 141 146 156 168 174
รวม 246 255 237 224 266 280 295 314 330
ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562

12 | หน้า
ประเภทสินค้าวิสาหกิจชุมชน มีการผลิตที่หลากหลาย แต่สามารถจำแนกได้ ดังนี้
1) สินค้าที่เป็นประเภทอาหาร
2) สินค้าที่ไม่ใช่อาหาร (เสื้อผ้า,เครื่องประดับ)
3) สินค้าบริการ เช่น นักท่องเที่ยวเชิงเกษตร
4) สินค้าการเกษตรที่เป็นอุปทานลูกโซ่ (Supply Chain) เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพของสินค้า
วิสาหกิจชุมชน
5) สินค้าประเภทอื่น ๆ เช่น ปศุสัตว์และประมง
ตารางแสดงการจำแนกประเภทสินค้าวิสาหกิจชุมชน
จำนวน
จำนวน
ที่ ประเภทสินค้าวิสาหกิจชุมชน สมาชิก ชนิดสินค้าที่ทำการผลิต
(กลุ่ม)
(คน)
1 สินค้าประเภทอาหาร 75 700 แปรรูปผลไม้ น้ำพริก ขนม เครื่องแกง

2 สินค้าประเภทผ้า 34 250 ผ้าบาติก ผ้าปาเต๊ะ ผ้าลายสกรีน


3 สินค้าประเภทศิลปะประดิษฐ์ 8 80 ของชำร่วย เข็มกลัด พวงกุญแจ กรอบรูป
และของที่ระลึก
4 ประเภทการผลิตพืชและ 52 600 ผลไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ ก้อนเชื้อเห็ด เห็ด ผักพื้นเมือง
การขยายพันธุ์พืช ผักไฮโดรโปนิกส์ ร้านค้าชุมชน ออมทรัพย์ชุมช
5 ประเภทการบริการ 139 950 ร้านค้าชุมชน ออมทรัพย์ชุมชน ท่องเที่ยว
ซ่อมเครื่องจักรกล
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ กระชังปลา
6 ประเภทการประมง 42 300
ปลาดุก ปู หอย
7 ประเภทปศุสัตว์ 28 200 การเลี้ยงไก่พื้นเมือง นมแพะ โค กระบือ เป็ด
ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562
ตารางแสดงประเภท ปริมาณ คุณภาพและสถานที่จำหน่ายสินค้าวิสาหกิจชุมชน
ประเภทสินค้าวิสาหกิจชุมชน
ที่ หน่วยวัด ปริมาณสินค้า คุณภาพสินค้า แหล่งจำหน่ายสินค้า
จังหวัดภูเก็ต
1 สินค้าประเภทอาหาร ตลาดจำหน่ายสินค้า

}
1.1 ปลาฉิ้งฉ้างแปรรูป เกษตร
1.2 กุ้งเสียบแปรรูป กระปุก/ 1,000 ชุด/ปี อย.
1.3 น้ำพริก กระป๋อง
1.4 ขนม
1.5 เครื่องดื่ม

}
2 ประเภทผ้า - ตลาดจำหน่ายสินค้า
2.1 ผ้าบาติก เกษตร
2.2 ผ้าทอ ผืน 200 ผืน/ปี
2.3 ผ้าปาเต๊ะปักเลื่อม

13 | หน้า
ประเภทสินค้าวิสาหกิจชุมชน
ที่ หน่วยวัด ปริมาณสินค้า คุณภาพสินค้า แหล่งจำหน่ายสินค้า
จังหวัดภูเก็ต

}
3 ประเภทศิลปะประดิษฐ์และ
ของที่ระลึก
3.1 ดอกไม้จากเกล็ดปลา ชุด 50 ชุด/ปี - ตลาดจำหน่ายสินค้า
3.2 เครื่องประดับจากมุก
4 ประเภทการผลิตพืชและ

}
การขยายพันธ์พืช
4.1 ผลิตยางพันธุ์ดี
4.2 ผลิตพืชผัก ชุด 200 ชุด/ปี - ตลาดจำหน่ายสินค้า
4.3 พืชสมุนไพร
4.4 ผลิตไม้ดอกไม้ประดับ

5 ประเภทการบริการ
5.1 ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
5.2 การออมทรัพย์
5.3 บริการที่พัก บริการนวด
แผนไทย
} แห่ง 139 แห่ง - -

ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต

5.2 ด้านสังคม
5.2.1 กลุ่มเกษตรกร กลุ่มสหกรณ์และกลุ่มอาชีพ
จังหวัดภูเก็ตมีกลุ่มเกษตรกร กลุ่มสหกรณ์และกลุ่มอาชีพ รวม 2 ประเภท กล่าวคือ ในภาค
การเกษตรและนอกภาคการเกษตร ในภาคการเกษตร มีกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 กลุ่ม สมาชิก 1,058 คน
เงินทุนหมุนเวียน 114,120,356.81 บาท มีสหกรณ์การเกษตร จำนวน 5 สหกรณ์ สมาชิก 3,831.00
คน เงินทุนหมุนเวียน 444,100,377.58 บาท
ข้อมูลกลุ่มเกษตรกร กลุ่มสหกรณ์และกลุ่มอาชีพในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต
ประเภทเกษตรกร/สหกรณ์ กลุ่ม/สหกรณ์ สมาชิก
ที่ และกลุ่มอาชีพ (คน)
1 ประเภทในภาคเกษตร
1.1 กลุ่มเกษตรกร 1 1,058
1.2 สหกรณ์การเกษตร 5 3,821
2 ประเภทนอกภาคเกษตร
2.1 สหกรณ์บริการ 21 4,411
2.2 สหกรณ์ออมทรัพย์ 14 15,543
2.3 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 4 8,858
2.4 สหกณ์ร้านค้า 4 2,646
2.5 กลุ่มอาชีพ 18 246
รวม 67 36,583

14 | หน้า
สหกรณ์การเกษตร
ที่ สหกรณ์การเกษตร ที่อยู่ สมาชิก ทุนดำเนินงาน
(ราย) (บาท)
1 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด เลขที่ 42/2 ถ.หลวงพ่อ ต.ตลาด 707 673,384.39
ลูกค้า ธ.ก.ส. จำกัด ใหญ่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000
2 สหกรณ์การเกษตรเมืองภูเก็ต เลขที่ 478/18 ถ.เจ้าฟ้า ต.ตลาด 1,205 184,483,940.67
จำกัด เหนือ อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000
3 สหกรณ์การเกษตรกะทู้ จำกัด เลขที่ 12/3 ถ.วิชิตสงคราม ต.กะทู้ 968 194,636,051.53
อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต 83210
4 สหกรณ์การเกษตรเมืองถลาง เลขที่ 176/5 ม.7 ถ.เทพกระษัตรี 804 62,882,874.16
จำกัด อ.ถลาง จ.ภูเก็ต 83110
5 สหกรณ์กองทุนสวนยางฉลอง เลขที่ 7/6 ม.7 ต.ฉลอง อ.เมือง จ. 137 1,424,126.83
จำกัด ภูเก็ต 83000

กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดภูเก็ต
ที่ กลุ่มเกษตรกร ที่อยู่ สมาชิก ทุนดำเนินงาน
(ราย) (บาท)
1 กลุ่มเกษตรกรทำสวนป่าคลอก เลขที่ 105 ม.2 ต.ป่ าคลอก 1,058.00 114,120,356.81
อ.ถลาง จ. ภูเก็ต 83110
ที่มา : สำนักงานสหกรณ์จังหวัดภูเก็ต ณ สิงหาคม 2562
6. ด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร
โครงสร้างพื้น ฐานด้านการเกษตรของจังหวัดภูเก็ต ที่สำคัญประกอบด้วย ท่าเทียบเรือน้ำลึก ท่าเทียบ
เรือประมง โรงฆ่าสัตว์และโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรที่สนับสนุนสินค้ายางพารา
ตารางแสดงข้อมูลด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรจังหวัดภูเก็ต
ที่ ชื่อโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร จำนวน สถานที่ตั้ง หมายเหตุ
1 ท่าเทียบเรือประมง 1 แห่ง ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง
2 ท่าเทียบเรือน้ำลึก 1 แห่ง ตำบลวิชิต อำเภอเมือง
3 โรงงานปลาป่น 1 โรง ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง
4 โรงงานฆ่าสัตว์ 1 โรง ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง เทศบาลนครภูเก็ต
5 โรงรมยาง 4 โรง ตำบลศรีสุนทร อำเภอเมือง ไม่มีการดำเนินการ
6 โรงอัดยางก้อน 2 โรง หมู่ 2 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง ไม่มีการดำเนินการ
7 โกดังเก็บยาง ขนาด 940 ตัน 2 โกดัง สนง.กองทุนสงเคราะห์ฯ ไม่มีการดำเนินการ
8 ลานเทปาล์ม - -

15 | หน้า
ที่ ชื่อโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร จำนวน สถานที่ตั้ง หมายเหตุ
9 ตลาดยางพารา
9.1 กลุ่มเกษตรกรทำสวนป่าคลอก 1 แห่ง หมู่ 2 ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง กำลังการผลิต 200 ตัน
9.2 สหกรณ์กองทุนสวนยางฉลอง จำกัด 1 แห่ง หมู่ 7 ตำบลฉลอง อำเภอเมือง กำลังการผลิต 100 ตัน
10 สถานที่จำหน่ายปัจจัยการผลิตด้านการเกษตร
จังหวัดภูเก็ต
10.1 อำเภอเมืองภูเก็ต 4 แห่ง - ร้านซุปเปอร์ชีป
- โกวิทการเกษตร
- ภูเก็ตเคมีภัณฑ์
- ภูเก็ตการเกษตร
10.2 อำเภอถลาง 1 แห่ง
10.3 อำเภอกะทู้ -

6.1 ด้านการจัดการที่ดิน
สรุปพื้นที่และผลการดำเนินงานจัดหาที่ดิน ในพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดภูเก็ต ได้มอบ ส.ป.ก.4-01
ในพื้นที่ 3 อำเภอ 13 ตำบล จำนวน 465 ราย 552 แปลง เนื้อที่ประมาณ 8,117 ไร่ดังนี้
(1) อำเภอเมืองภูเก็ต จำนวน 240 ราย 288 แปลง เนื้อที่ประมาณ 4,639 ไร่
(2) อำเภอกะทู้ จำนวน 193 ราย 229 แปลง เนื้อที่ประมาณ 3,088 ไร่
(3) อำเภอถลาง จำนวน 32 ราย 35 แปลง เนื้อที่ประมาณ 390 ไร่
ตารางแสดงผลดำเนินการจัดที่ดินและมอบเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. 4-01 ให้กับเกษตรกร
ตำบล ตาม พื้นที่ประกาศ พื้นที่ที่นำมา
พื้นที่จัดที่ดินแล้ว พื้นที่คงเหลือ
อำเภอ พ.ร.ฎ. ประกาศ เขตปฏิรปู ฯ ดำเนินการจัด
(มอบ ส.ป.ก.4-01)
เขตฯ ตาม พ.ร.ฎ. ที่ดินได้
(ไร่) (ไร่) (ราย) (แปลง) (ไร่) (ไร่)
เมืองภูเก็ต รัษฎา 274 160 6 9 160 -
กะรน 5,459 3,404 93 122 2,518 886
ฉลอง 2,060 1,346 87 102 1,250 96
ราไวย์ 3,354 1,578 54 55 711 867
เกาะแก้ว 485 - - - - -
วิชิต - - - - - -
รวม อ.เมือง 6 ตำบล 11,632 6,488 240 288 4,639 1,849
กะทู้ กมลา 4,148 911 9 11 124 787
กะทู้ 6,194 1,292 50 57 894 398
ป่าตอง 5,800 2,998 134 161 2,070 928
รวม อ.กะทู้ 3 ตำบล 16,142 5,201 193 229 3,088 2,113
ถลาง เชิงทะเล 1,065 444 25 26 163 281
ศรีสุนทร 950 759 4 4 49 710
ป่าคลอก 1,606 178 3 5 178 -
เทพกระษัตรี 977 - - - - -
รวม อ.ถลาง 4 ตำบล 4,598 1,381 32 35 390 991
รวมทั้งหมด 13 ตำบล 32,372 13,070 465 * 552 8,117 4,953

ที่มา : สำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดภูเก็ต ณ 31 กรกฎาคม 2562

16 | หน้า
6.2 การชลประทาน/แหล่งน้ำ
จังหวัดภูเก็ต มีการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำและสามารถใช้เก็บน้ำแล้ว จำนวน 3 แห่ง ปริมาณ
ความจุรวม 21.6 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการอุปโภคและบริโภค ในส่วนของการทำ
การเกษตรจะใช้น้ำจากบ่อน้ำตื้น และแหล่งน้ำตามธรรมชาติ
ตารางแสดงโครงการชลประทานและปริมาณความจุของอ่างเก็บน้ำจังหวัดภูเก็ต
ปี พ.ศ. ปริมาณความจุ
ที่ ชื่อโครงการ สถานที่ตั้ง หมายเหตุ
ที่สร้าง (ลบ.ม.)
1 อ่างเก็บน้ำบางวาด 2526 ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ 10.2
2 อ่างเก็บน้ำบางเหนียวดำ 2551 ตำบลศรีสุนทร อำเภอถลาง 7.2
3 อ่างเก็บน้ำคลองกะทะ 2556 ตำบลฉลอง อำเภอเมือง 4.20
ที่มา : โครงการชลประทานภูเก็ต ณ 31 กรกฎาคม 2562

17 | หน้า
บทที่ 2
สถานการณ์การเลี้ยงกุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต

1 เขตความเหมาะสมสำหรับเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดภูเก็ต
จากข้อมูลระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุกออนไลน์ (Agri Map Online) กรมพัฒนา
ที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำแนกได้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม 98,235 ไร่ หรือประมาณร้อยละ 28.63
ของจังหวัด แบ่งเป็นสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 4,993 ไร่ ประมาณร้อยละ 1.45 ของจังหวัด หรือคิดเป็นร้อยละ
5.08 ของพื้นที่เกษตรกรรม รายละเอียด แสดงในตาราง
ตารางแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินจังหวัดภูเก็ต
ประเภท เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ
พื้นที่ป่า 104,034 30.32
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 102,422 29.85
ไม้ยืนต้น 76,715 22.36
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 21,197 6.17
พื้นที่น้ำ 16,350 4.76
ไม้ผล 10,666 3.1
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 4,993 1.45
พืชไร่ 2,684 0.78
พื้นที่นา 1,355 0.39
ทุ่งหญ้าและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 870 0.25
พื้นที่ลุ่ม 835 0.24
พืชสวน 566 0.16
พืชน้ำ 386 0.11

ที่มา : ข้อมูลการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2560-2561)

เนื้อที่ (ไร่) แผนภูมิแสดงแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินจังหวัดภูเก็ต


150,000
100,000
50,000
0
พื้นที่ชุมชนและ…

ทุ่งหญ้าและ…
สถานที่เพาะเลี้ยง…
พื้นที่เบ็ดเตล็ด
พื้นที่ป่า

พื้นที่ลุ่ม
ไม้ผล

พืชสวน
ไม้ยืนต้น

พื้นที่น้า

พื้นที่นา

พืชน้้า
พืชไร่

ประเภท
เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ

18 | หน้า
แผนที่การใช้ที่ดิน จังหวัดภูเก็ต (Agri Map พ.ศ. 2560/2561)

ตารางแสดงเขตความเหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดภูเก็ต
ประเภท เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ
อำเภอเมือง 3,820 55.5
อำเภอถลาง 1,727 25.1
อำเภอกะทู้ 1,334 19.4
รวม 6,880 100
ที่มา : http://kea-agrimap.appspot.com/ ข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2562

19 | หน้า
แผนที่แสดงตำแหน่งฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์จังหวัดภูเก็ต

ที่มา : ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเขต 5 (ภูเก็ต)

20 | หน้า
2. โรคที่พบ
โรคกุ้งทะเลสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือโรคติดเชื้อ ซึ่งเกิดจากเชื้อโรค พยาธิหรือปรสิต แบคทีเรีย
รา ไวรัส แพร่ระบาดได้ และโรคไม่ติดเชื้อ ซึ่งเกิดจากอาหาร สิ่งแวดล้อม การจัดการเลี้ยง
โรค ลักษณะของโรค การป้องกัน
1) โรคที่เกิดจากพยาธิหรือปรสิต ลักษณะอาการของโรค
- พยาธิหรือปรสิตภายนอก เกิดในสภาพที่มีอินทรีย์สารสูง ออกซิเจนต่ำ การ
จัดการที่ไม่ดี ปล่อยกุ้งหนาแน่นเกินไป
การรักษา
ใช้ฟอร์มาลินเข้มข้น 25 - 40 ซีซี/ตัน แช่ตลอด
หรือ 50 -100 ซีซี/ตัน แช่ 1 ชั่วโมง แช่ซ้ำโดย
ทิ้ ง ร ะ ย ะ 2 - 3 วั น ห รื อ ใช้ cutrineplus
0.2 - 0.5 กรัม/ตัน แช่ 4 ชั่วโมง
การป้องกันโรค
1. ใช้น้ำสะอาด ผ่านการกรอง ฆ่าเชื้อ
2. ควบคุมปริมาณสารอินทรีย์ ตะกอนในบ่อ
3. ในบ่อดิน ถ่ายน้ำให้ กุ้งลอกคราบ ให้ อากาศ
ออกซิเจนเพียงพอ
- พยาธิหรือปรสิตภายใน ลักษณะอาการของโรค
พบได้ในกุ้งกลุ่ม penaeid ทุกชนิด มีอาการ
รุนแรงในกุ้ง
วัยรุ่น กินอาหารลด ไม่ค่อยโต FCRs สูง
การรักษาและป้องกันโรค
ใช้กระเทียมสดบดละเอียด 10 กรัมต่ออาหาร
1 กก. ผสมให้กุ้งกินทุกมื้อ ติดต่อกัน 2-3
สัปดาห์

- โรคหลังขาว ลักษณะอาการของโรค
เกิดจากปรสิต microsporidian
การรักษาและป้องกันโรค
- ยังไม่มียา/สารเคมีรักษา
- ควบคุ ม การแพร่ ก ระจาย โดยแยกกุ้ ง ป่ ว ย
เผา ทำลาย
- ไม่ใช้พ่อแม่พันธุ์ที่ติดเชื้อ
- ไม่ให้อาหารสด

21 | หน้า
โรค ลักษณะของโรค การป้องกัน
2) โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ลักษณะอาการของโรค
- โรคเรืองแสง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Vibrioharveyi พบอัตรา
การตายสู งในกุ้งระยะวัยอ่อนถึงวัยรุ่น ลอยหั ว
มี แ สงเรื อ งในเวลากลางคื น กุ้ ง กิ น อาหารลด
หรือไม่กินอาหาร
การรักษา
ใช้ยาปฏิชีวนะที่ได้รับการรับรองจาก อย. ผสม
อาหารให้กิน 5-7 วันตามอัตราส่วนที่แนะนำไว้ที่
ฉลากยา และต้องหยุดยาก่อนจับขายอย่างน้อย
30 วัน
การป้องกันโรค
ควบคุมคุณ ภาพน้าในบ่อ และความมีบ่อพักน้ ำ
เพื่อใช้ถ่ายเทน้ำในระหว่างการเลี้ยง หรือเมื่อเกิด
ปัญหาขึ้น
- โรควิบริโอซิส ลักษณะอาการของโรค
ส า เ ห ตุ เ ชื้อ แ บ ค ทีเ รีย ก ลุ่ม Vibrio spp.
ไ ด้แก่ V.harveyi, V. parahaemoliticus,
V.alginolyticus,V. vulnificus, Vibrio sp.
อาการ
ตับอักเสบ ซีดเหลือง
โตตัวสีชมพู หางกร่อน กินอาหารลดลง ทยอยตาย
การรักษา
ใช้ยาปฏิชีวนะที่มี อย. ผสมอาหารให้กิน 5-7 วัน
ตามอัตราส่วนที่แนะนาไว้ที่ฉลากยา และต้อง
หยุดยาอย่างน้อย 30วันก่อนจับขาย
การป้องกันโรค
ควบคุมคุณภาพน้าในบ่อให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
ไม่ปล่อยกุ้งแน่นเกินไป

โรค Early Mortality Syndrome (EMS) ลักษณะอาการของโรค


ช่วงแรกกุ้งในบ่อจะไม่แสดงอาการผิดปกติอย่าง
ชัดเจนมากนัก ไม่มีการเกยขอบบ่อให้เห็น แต่จะ
มีการว่ายน้ำแบบเฉื่อย กินอาหารลดลง เปลือก
นิ่ม และมีสีเข้มขึ้น หลังจากนั้นจะเริ่มพบกุ้งตาย
ในยอ และตายในก้นบ่อ สุดท้ายจะพบซากกุ้ง
ลอยขึ้นมา และทยอยตายมากขึ้น จนกระทั้งตาย
เกือบหมดบ่อตามลำดับ

22 | หน้า
โรค ลักษณะของโรค การป้องกัน
การป้องกัน
1. ต้องเลือกกุ้งที่สุขภาพดี แข็งแรง มาจากแหล่ง
ที่เชื่อถือในคุณภาพได้ เพื่อป้องกันกุ้งที่เสี่ยงต่อ
การเกิดโรคมาปล่อย หรืออาจจะเพิ่มความมั่นใจ
ก่อนปล่อยกุ้งอาจจะมีการตรวจดูตับของกุ้งก่อน
ก็ได้ ลักษณะของลูกกุ้งที่ดีคือ ตับใหญ่ ไขมัน
เยอะ กล้ามเนื้อหางใหญ่
2. ก่อนปล่อยกุ้งจะต้องทรีตน้ำด้วยคลอรีน ซึ่ง
ปริมาณที่ใช้ต้องสามารถฆ่าเชื้อได้ อีกทั้งต้องมี
ระบบไบโอซีเคียวริตี้ (Biosecurity) ที่ดีด้วย
- โรคฟิลาเมนตัส ลักษณะอาการของโรค
เกิดจากแบคทีเรียชนิดเส้นสาย
filamentusbacteria มักพบในลูกกุ้งวัยอ่อนบ่อ
เก่า มีการสะสมตะกอน ของเสีย
การรักษา
แช่ฟอร์มาลิน 25 - 30 ซีซี/ตัน ถ่ายน้ากระตุ้น
การลอกคราบ
การป้องกันโรค
จัดการคุณภาพน้ำพื้นบ่อ ให้ดี

3) โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ลักษณะอาการของโรค
- โรคตัวแดงดวงขาว ลำตัวกุ้งมีสีแดง มีดวงขาวบริเวณผิวใต้เปลือก
(White Spot Syndrome Virus, WSSV) ขนาด 1 – 2 มิลลิเมตร บริเวณส่วนหัวและ
ลำตัวกุ้ง มีอัตราการตายสูงมาก 40 - 100%
ภายใน 5 - 10 วัน
การป้องกันโรค/การรักษา
1. จัดโปรแกรมการเลี้ยงเพื่อหลีกเลี่ยงการปล่อย
ลูกกุ้งในช่วงปลายปี ถ้าจะเลี้ยงจริงในช่วงที่เสี่ยง
ไม่ควรเลี้ยงเต็มพื้นที่
2. แม่กุ้งที่นามาเพาะควรผ่านการตรวจด้วย PCR
3. เลือกลูกกุ้งคุณภาพดี โดยเฉพาะลูกกุ้งในช่วง
ที่เสี่ยงต้องมีการตรวจอย่างละเอียดและกระบวน
การผลิตของโรงเพาะฟัก สามารถป้องกันการติด
เชื้อไวรัสดวงขาวได้
4. ในแหล่งที่มีการระบาดของโรค ควรฆ่าเชื้อ
และพาหะในน้ำ

23 | หน้า
โรค ลักษณะของโรค การป้องกัน
- โรคหัวเหลือง (YellowheadDisease) ลักษณะอาการของโรค
เกิ ด จากเชื้ อ ไวรั ส ชนิ ด SS RNA กุ้ ง ลำตั ว ซี ด
เหงือกและบริเวณตับและตับอ่อนมีสีเหลืองเห็น
ชัดเจน กุ้งกินอาหารเพิ่มมากผิดปกติ จากนั้นจะ
เริ่มกินลดลง กุ้งเริ่มแสดงอาการหัวเหลือง ตาย
เร็วมากภายใน 3 - 5 วัน
การรักษา
ยังไม่มียารักษาโรคติดเชื้อไวรัสหัวเหลือง โดยไม่
ทำอันตรายต่อกุ้ง
การป้องกันโรค
1. ป้องกันและกาจัดพาหะที่อาจจะนำเชื้อไวรัส
เข้าสู่บ่อเลี้ยง
2. ตรวจหาเชื้อไวรัสหัวเหลืองในลูกกุ้งก่อนปล่อย
เลี้ยง
3. งดใช้อาหารสดเลี้ยงกุ้ง
4. ฆ่าเชื้อในบ่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยคลอรีน
เข้มข้น 30ส่วนในล้านส่วน
5. เลี้ยงกุ้งด้วยระบบปิด และควรมีบ่อพักน้ำ
- โรคแคระแกร็น (Infectious ลักษณะอาการของโรค
Hepatopancreatic Hemopoietic กุ้งแคระแกร็นและโตช้า กรีคดงอ ส่วนหัวกุ้งจะ
Necrosis Disease) สั้นกว่าปกติมักพบกุ้งแคระแกรนประมาณ 30-
90% ของกุ้งที่เลี้ยง
การรักษา
ยังไม่มียารักษาโรคติดเชื้อไวรัส โดยไม่ทำ
อันตรายต่อกุ้ง
การป้องกันโรค
1. ป้องกันและกาจัดพาหะที่อาจจะนาเชื้อไวรัส
เข้าสู่บ่อเลี้ยง
2. ตรวจหาเชื้อไวรัส IHHNV ในลูกกุ้งก่อนปล่อย
เลี้ยงด้วยวิธี PCR
3. ฆ่าเชื้อในบ่อและอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยคลอรีน
เข้มข้น 30 ส่วนในล้านส่วน
4. เลี้ยงกุ้งด้วยระบบปิด และควรมีบ่อพักน้ำ

24 | หน้า
โรค ลักษณะของโรค การป้องกัน
- โรคทอร่าซินโดรม (Taura Syndrome ลักษณะอาการของโรค
Disease) กุ้งขาววัยอ่อนและกุ้งวัยรุ่นในกุ้งที่มีอายุ 14 - 40 วัน
หลั งจากปล่ อยเลี้ ยง บริเวณหางมี สี แดงชัดเจน
ถ้ า เป็ น มากลาตั ว มี สี แ ดงเปลื อ กนิ่ ม เซื่ อ งซึ ม
มีอัตราการตาย 40 - 90% ถ้ากุ้งรอดตาย
จากการติดเชื้อ จะปรากฏรอยแผลสีดำที่เปลือก
การรักษา
ยั ง ไม่ มี ย ารั ก ษาโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โดยไม่ ท ำ
อันตรายต่อกุ้ง
การป้องกันโรค
1. ป้องกันและกาจัดพาหะที่อาจจะน้ ำเชื้อไวรัส
เข้าสู่บ่อเลี้ยง
2. ลดความหนาแน่นของกุ้งที่เลี้ยง
3. ตรวจหาเชื้อไวรัสในลูกกุ้งก่อนปล่อยเลี้ยงด้วย
วิธี PCR
4. ฆ่าเชื้อในบ่อและอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยคลอรีน
เข้มข้น 30 ส่วนในล้านส่วน
5. เลี้ยงกุ้งด้วยระบบปิด และควรมีบ่อพักน้ำ
- โรคไวรัสเอ็มบีวี (Monodon ลักษณะอาการของโรค
Baculovirus : MBV) พบได้ในกุ้ง Penaeid เกือบทุกชนิด ในระยะกุ้ง
วัยอ่อน ถึงกุ้งพี ทำให้เจริญเติบโตช้า
การป้องกันโรค
คัดพ่อแม่พันธุ์ที่ไม่มีเชื้อนี้ ล้างไข่กุ้ง/นอเพลียส
ด้วยฟอร์มาลิน
200 - 300 ซีซี/ตัน หรือไอโอโดฟอร์ 10 - 30
ซีซี/ตัน นาน 1 นาที

ที่มา : สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง


สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน)
http://www.thailandshrimp.org/agriculture_vannamei9.html
http://www.nicaonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=1432:-
ems-&catid=41:2012-02-20-03-00-02&Itemid=123

25 | หน้า
3. สถานการณ์การเกิดโรค ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดภูเก็ต

ช่วงเดือนสิงหาคม 2562

โซนสารสิน-แหลมทราย
- พบเชื้อเรืองแสง วิบริโอ ฮาวีอาย
ในน้ำบ่อเลี้ยง

โซนพารา-มัสยิดอ่าวปอ
- EMS (Vp3)
ในบ่อเลี้ยง

โซนอ่าวปอ-บางแป-บางโรง-ยามู
- EMS (Vp3)
ในบ่อเลี้ยง

โซนเกาะแก้ว สำปำ
EMS (Vp3)
ในบ่อเลี้ยง

ที่มา : ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เขต 5 ภูเก็ต

26 | หน้า
4. ประเภทการเลี้ยง

ประเภทการเลี้ยง
ชนิดสินค้า
โรงเพาะฟักและอนุบาล ฟาร์มเลี้ยง
กุ้งกุลาดำ 26 20
กุ้งขาว 44 57
รวม 70 77
ที่มา : แบบรายงานการสำรวจเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต

5. การรวมกลุ่มของเกษตรกร
กลุ่มวิสาหกิจผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงและแปรรูปสัตว์น้ำ จ.ภูเก็ต
สถานที่ตั้ง 131/17 ม.5 ต.รัษฎา อ.เมือง จ.ภูเก็ต
สมาชิก 20 ราย

6. การกระจายของผลผลิต
ตารางที่แสดงการกระจายผลผลิตกุ้งทะเลของจังหวัดภูเก็ต ปี 2560- พ.ค.2562

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.


รายการ 2560 2561
62 62 62 62 62
ปริมาณกุ้ง
1,988 2,238.8 184.9 239.3 203.2 99.5 184.9
ประมง (ตัน)
% yoy
38.7 12.6 -19.2 27.2 25.2 -29.1 -38
(ร้อยละ)
ที่มา : สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต

7. พฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากรในขั้นตอนการจับกุ้งทะเลของแพรับซื้อจังหวัดภูเก็ต
(1) ศึกษาพฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากรในขั้นตอนการจับกุ้งทะเล
(2) ศึกษาระดับ ความรู้ ความเข้าใจในการดูแลด้านสุขภาพและการปฏิบัติงานที่ถูกสุขลักษณะของ
หัวหน้าและรองหัวหน้าชุดจับกุ้งทะเลของแพรับซื้อจังหวัดภูเก็ต โดยประชากรที่ใช้ศึกษา ได้แก่ บุคลากรที่
ปฏิบั ติงานในขั้น ตอนการจับ กุ้งทะเลของแพที่ขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ตทั้งสิ้น 5 แพ
รวม 181 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์สำหรับหัวหน้า/รองหัวหน้าชุดจับกุ้ง และแบบสังเกต
พฤติกรรมด้ านสุ ข ลั กษณะใช้กั บ บุ ค ลากรในขั้น ตอนการจับ กุ้งทะเล วิเคราะห์ ข้อ มูล โดยใช้ ค่าสถิ ติร้อยละ
และอธิบายปรากฏการณ์พฤติกรรมด้านสุขลักษณะที่เกิดขึ้นจากการสังเกตการณ์โดยผู้วิจัย

27 | หน้า
ผลการวิจัยพบว่าแพรับซื้อมีบุคลากรเฉลี่ย 36 คน ส่วนใหญ่สัญชาติไทย หัวหน้าและรองหัวหน้าชุด
ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 41.60 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์ทำงานในแพรับซื้อ
กุ้งทะเลเฉลี่ย 8.10 ปี ความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและการปฏิบัติงานที่ถูกสุขลักษณะของหัวหน้า
และรองหัวหน้าชุดของแพ ได้คะแนนร้อยละ 86.66 อยู่ในเกณฑ์ผ่านการประเมิน
ผลการประเมินพฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในภาพรวมไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด
ด้านสุขลักษณะของกรมประมงจากการประเมินพฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากร ทั้งหมด 4 ด้าน พบว่า
ด้านที่ปฏิบัติไม่สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนดด้านสุขลักษณะของกรมประมงเรียงลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด
ดังนี้ ด้านการแต่งกาย ด้านการรับประทานอาหาร ด้านการปฏิบัติตน พบบุคลากรแสดงพฤติกรรมไม่สอดคล้อง
กับข้อกำหนดด้านสุขลักษณะของกรมประมงมากกว่าร้อยละ40 และพฤติกรรมที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่มี
ผลให้ผลิตภัณฑ์นั้นไม่ปลอดภัยต่อการบริ โภค ส่วนด้านสุขภาพทั่วไปพบบุคลากรแสดงพฤติกรรมไม่สอดคล้อง
กับข้อกำหนดด้านสุขลักษณะของกรมประมงน้อยกว่าร้อยละ 40
ข้อบกพร่องที่พบส่วนใหญ่เกิดจากความไม่รู้และไม่เข้าใจของบุคลากรในระดับผู้ปฏิบัติ จึงควรเน้นย้ำ
ให้หัวหน้างานหรือผู้ประกอบการตระหนักถึงความสำคัญของสุขอนามัยและความปลอดภัยของอาหาร และ
ต้องถ่ายทอดความรู้ พร้อมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ผู้ปฏิบัติ กรมประมงควรกำหนดมาตรฐานสุขอนามัย
การจับและการรักษาสัตว์น้ำหลังการจับมารองรับขั้นตอนดังกล่าวเพื่อให้ทุกกระบวนการผลิตจากฟาร์มสู่โต๊ะ
อาหารด้านการประมงมีความปลอดภัย สามารถควบคุมและตรวจสอบได้ (ที่มา : พฤติกรรมด้านสุขลักษณะ
ของบุคลากรในขั้นตอนการจับกุ้งทะเลของแพรับซื้อจังหวัดภูเก็ต ธีระพงษ์ อภัยภักดี สุนิติ จิรวงศ์สวัสดิ์)

28 | หน้า
บทที่ 3
ด้านเศรษฐกิจ
จังหวัดภูเก็ตเริ่มมีการเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างแพร่หลายในปี พ.ศ 2531 โดยในช่วงแรกของการเลี้ยงเริ่ม
จากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ และต่อมาเกษตรกรเริ่มปรับเปลี่ยนมาเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม เนื่องจากระยะเวลาในการ
เลี้ยงเร็วกว่า โตเร็ว อัตราการปล่อยกุ้งต่อบ่อสูงกว่า

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา การเพาะเลี้ยวกุ้งขาวแวนนาไมของจังหวัดภูเก็ตเริ่มประสบปัญหาโรค


กุ้งมาโดยตลอด ทั้งโรคเดิมที่ประสบมานาน คือ โรคไวรัส (โดยเฉพาะโรคตัวแดงดวงขาว) และโรคอื่ นๆ ได้แก่
โรคขี้ขาว ซึ่งพบในช่วงเวลาเดียวกับการเกิดโรค EMS ซึ่งโรคขี้ขาวเป็นโรคที่ทำให้เกิดการอักเสบของลำไส้อัน
เป็นผลมาจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ทำให้ประสิทธิภาพการดูดซึมอาหารของกุ้งลดลง โดยสาเหตุร่วมมาจากลูก
พันธุ์กุ้งที่นำมาเลี้ยงมีคุณภาพต่ำ และการจัดการเลี้ ยงที่ไม่เหมาะสม การปรับปรุงสายพันธุ์กุ้งขาวแวนนาไม
ทำให้ลูกกุ้งเริ่มอ่อนแอ ประเทศคู่แข่ง เช่น อินเดีย ผลิตกุ้งขาวออกสู่ตลาดเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้ราคากุ้ง
ตกต่ำมาโดยตลอด ทำให้ผลผลิตที่ได้ไม่ตรงกับเป้าหมายที่วางไว้ ในขณะที่กุ้งกุลาดำเป็นที่ต้องการของตลาด
โดยเฉพาะตลาดประเทศจีน เกษตรกรจึงเริ่มกลับมาเลี้ยงกุ้งกุลาดำมากขึ้น

1. ต้นทุนและผลตอบแทนในการเลี้ยงกุ้งทะเล
ตารางแสดงต้นทุนการเลี้ยงกุ้งทะเล
ต้นทุนการการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม
ปี ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ ต้นทุนต่อไร่ ต้นทุนต่อกิโลกรัม
(บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/กก.)
2557 197,598 15,152 212,750 108.46
2558 198,061 15,073 213,134 116.94
2559 192,338 15,073 207,411 121.06
2560 195,679 14,996 210,676 119.55
2561 198,208 14,996 213,205 119.51
2562* 199,834 14,996 214,830 118.56
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ข้อมูล ณ ก.ค. 62
หมายเหตุ : กุ้งกุลาดาไม่มีข้อมูลต้นทุน

29 | หน้า
2.ราคาที่เหมาะสมของสินค้าเกษตรภาคใต้ (กุ้งทะเล)
ตารางแสดงราคาที่เหมาะสมของสินค้าเกษตรภาคใต้ (กุ้งทะเล) ปี 2560 – 2561
ต้นทุนรวม
จุดคุ้มทุน ราคาที่เหมาะสม
(บาท/กก.)
(บาท/กก.) (บาท/กก.)
2560 2561 2562
119.55 119.51 118.56 119.21 143.05
ที่มา :สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่ 8

3.ราคาที่เกษตรกรขายได้
ตารางแสดงราคากุ้งทะเลที่เกษตรกรในจังหวัดภูเก็ตขายได้ตั้งแต่ปี 2559-2562
หน่วย บาท/กก.
ชนิดสินค้า 2559 2560 2561 2562
กุ้งกุลาดำ 233 249 280 350
กุ้งขาวแวนนาไม 171 196 190 250

ที่มา : ข้อมูลปี 2559-2561 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ,เอกสารเผยแพร่ สถิติการเลี้ยงกุ้งทะเล


กรมประมง, ข้อมูล ปี 2562 สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต

ราคา/กก.

ราคาเฉลี่ยที่เกษตรกรขายได้
400
350
300 280
233 249 250
200 196 190
171
100

0
2559 2560 2561 2562 พ.ศ.
กุ้งกุลาดา กุ้งขาวแวนนาไม

30 | หน้า
4. ต้นทุนและผลตอบแทนต่อกิโลการเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดภูเก็ต

กุ้งกุลาดำ
จำหน่ายกุ้งเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 350 บาท/กก
ต้นทุน 210 บาท/กก
ผลตอบแทนสุทธิ 140 บาท/กก

กุ้งขาวแวนนาไม
จำหน่ายกุ้งเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 250 บาท/กก
ต้นทุน 120 บาท/กก
ผลตอบแทนสุทธิ 130 บาท/กก
จำหน่ายพ่อแม่พันธุ์
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 500 บาท/กก
ต้นทุน 180 บาท/กก
ผลตอบแทนสุทธิ 320 บาท/กก

ที่มา : ข้อมูลจากการสอบถามเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต

ในปี 2562 จังหวัดภูเก็ตมีฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล จำนวน 77 ฟาร์ม พื้นที่ 1,755 ไร่ โดยใช้เป็นพื้นที่


เลี้ยงกุ้งกุลาดำ 703 ไร่ กุ้งขาวแวนนาไม จำนวน 1,082 ไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ,เอกสารเผยแพร่
สถิติการเลี้ ยงกุ้งทะเล กรมประมง) สถานที่ตั้งฟาร์มจะอยู่ในบริเวณอำเภอถลางประมาณ 80 เปอร์เซ็น ต์
และอำเภอเมือง ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์

5. สถานการณ์ในปัจจุบัน
ปัจจุบันประสบปัญหาจากการที่บริษัทใหญ่และนักธุรกิจต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจการเลี้ยงกุ้งทะเลแบบ
ครบวงจรทั้งนากุ้ง เริ่มตั้งแต่การเพาะพันธุ์และอนุบาลลูกกุ้ง จนถึงฟาร์มเลี้ยงกุ้ง เป็นเหตุให้เกษตรกรรายย่อย
ซึ่งมีข้ อ จำกัด ด้ านเงิน ทุ น ประสบปั ญ หาไม่ ส ามารถแข่งขัน ได้ และเลิ ก กิ จการไปเป็ น จำนวนมาก จากการ
สอบถามเกษตรกรในพื้ น ที่ พบว่า ต้น ทุนส่ วนใหญ่ เกิดจาก ค่าเช่า ค่าพันธุ์กุ้ง ค่าอาหาร ค่าไฟ ค่าแรงงาน
ค่าอาหาร ค่าฉีดล้างเลนในบ่อ และเวชภัณฑ์ เป็นต้น สำหรับพื้นที่เลี้ยงกุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต 90 เปอร์เซ็นต์
เป็นพื้นที่เช่า ซึ่งค่าเช่าต่อปีมีมูลค่าสูงเมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดอื่น

31 | หน้า
การผลิต
ผลผลิตกุ้งทะเลจากการเพาะเลี้ยงของจังหวัดภูเก็ตในช่วง 3 ปี ที่ผ่านมา (2559-2561) มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.46 สำหรับภาพรวมของจังหวัดภูเก็ต ในปี 2561 มีผลผลิตกุ้งทะเลทั้งหมด 2,918 ตัน
โดยเป็นผลผลิตจากการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม 1,795 ตัน คิดเป็นร้อยละ 61.51 และผลผลิตจากการเลี้ยงกุ้ง
กุลาดำ 1,123 ตัน ร้อยละ 38.49 ตัน ของผลผลิตกุ้งทะเลจากการเพาะเลี้ยงทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (2559 - 2561) ราคากุ้งขาวแวนนาไมที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย 185.7 บาท
ต่อกิโลกรัม กุ้งกุลาดำเฉลี่ย 254 บาทต่อกิโลกรัม
6. แนวโน้มสถานการณ์ด้านผลผลิตปี 2563
ด้านผลผลิต
สถานการณ์การเลี้ยงในด้านผลผลิตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับย้อนหลัง 3 ปีที่ผ่านมาคาดว่าผลผลิตน่าจะยัง
คงที่หรือเพิ่มขึ้นไม่มากนักเพราะมาตรการตรวจสอบพื้นที่นาเลี้ยงกุ้ง การบุกรุกป่าชายเลน การดำเนินคดีอย่าง
จริงจัง กับผู้บุกรุกหรือเลี้ยงกุ้งอยู่ในพื้นที่ที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์

32 | หน้า
ตารางแสดงจำนวนเนื้อที่เพาะเลี้ยง ผลผลิต มูลค่า และราคา กุ้งทะเล จังหวัดภูเก็ต ระหว่างปี พ.ศ.2555-2561

ปี กุ้งรวม กุ้งกุลาดำ กุ้งขาวแวนนาไม


จำนวน ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ เนื้อที่ ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ราคาเฉลี่ย บาท/ ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ (ไร่) ราคาเฉลี่ย บาท/
ฟาร์ม เนื้อที่ (ไร่) (ตัน) (กก.) มูลค่า (บาท) (ไร่) (ตัน) (กก.) มูลค่า (บาท) กก เนื้อที่ (ไร่) (ตัน) (กก.) มูลค่า (บาท) กก

2555 72 1,478 4,307 2,914 610,855,150 150 212 1,413 36,040,000 170 1,337 4,095 3,063 574,815,150 140

2556 66 1,234 2,873 2,328 541,704,807 156 215 1,378 44,958,650 209 1,078 2,658 2,466 496,746,157 187

2557 65 1,272 2,382 1,873 480,786,000 375 553 1,475 129,494,000 234 897 1,829 2,039 351,292,000 192

2558 61 1,168 1,853 1,586 336,310,000 371 528 1,423 120,727,000 229 797 1,325 1,662 215,583,000 163

2559 64 1,690 2,848 1,685 548,846,000 650 1,014 1,560 236,126,000 233 1,040 1,834 1,763 312,720,000 171

2560 72 1,744 2,815 1,614 605,945,000 658 1,028 1,562 255,670,000 249 1,086 1,787 1,645 350,275,000 196

2561 77 1,770 2,918 1,649 655,490,000 695 1,123 1,616 314,440,000 280 1,075 1,795 1,670 341,050,000 190

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ,เอกสารเผยแพร่ สถิติการเลี้ยงกุ้งทะเล กรมประมง,สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต

33 | ห น้ า
7. การตลาดและช่องทางการจำหน่าย
7.1 การตลาดกุ้งขาวแวนนาไม
การซื้อขายกุ้งขาวแวนนาไม โดยทั่วไปในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จะเคลื่อนย้ายกุ้งจากแหล่งผลิตหรือบ่อ
ผ่านพ่อค้าคนกลาง (packing house) ระดับต่าง ๆ จนถึงผู้บริโภคหรือพ่อค้าส่งออก มีการซื้อขายระดับฟาร์ม
- พ่อค้าคนกลางจะซื้อโดยวิธีการประมูลที่ปากบ่อแล้วส่งจำหน่ายให้โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปเพื่อ
การส่งออกโดยตรง
- จำหน่ายผ่านนายหน้าหรือผู้รวบรวมส่งไปจำหน่ายต่อให้ตลาดปลายทางที่ภาคกลาง หรือเป็นตลาด
ส่งออกผลิตภัณฑ์กุ้ง โรงงานแปรรูปแช่เยือกแข็งกุ้งเพื่อการส่งออก เป็นต้น
เกษตรกรจะจับกุ้งขายให้พ่อค้าคนกลางเจ้าประจำหรือเคยซื้อขายรู้จักที่บ่อเลี้ยง พ่อค้ าคนกลางจะสุ่ม
กุ้ ง ดู คุ ณ ภาพ ขนาด ปริ ม าณ จะซื้ อ ขายด้ ว ยวิ ธี "ประมู ล " พ่ อ คนคนกลางที่ เสนอราคาสู ง จะได้ จั บ กุ้ ง
หรือเกษตรกรเป็ น ผู้ จับ สำหรับ ค่าใช้จ่ ายในการจับ จะมีการตกลงกันว่าใครจะเป็ นผู้ จ่าย โดยวิธีการจัดชั้น
คุณภาพสามารถแบ่งลักษณะคุณภาพได้ 2 ลักษณะ คือ การจับเพื่อการซื้อขายภายในประเทศ และเพื่อการค้า
ส่งออก ข้อจำกัดหรือเงื่อนไขขึ้นอยู่กับความต้องการของพ่อค้า

การค้ากุ้งจะแตกต่างจากการค้าผลิตผลเกษตรอื่นๆ คือมีผู้ซื้อและผู้ ขายไม่มากนัก แต่มีการแข่งขันกัน


ค่อนข้างสูง เพราะต่างมีความรู้และทราบข้อมูลข่าวสาร และมีประสบการณ์มาก จากโครงสร้างของตลาดกุ้ง
ขาวแวนนาไม จะเห็น ว่าวิถีการตลาดของกุ้งตั้งแต่จับจากเกษตรกรหรือฟาร์มผู้เลี้ยง ผู้รวบรวมถึงผู้แปรรูป
ส่งออกและผู้บริโภคภายในประเทศ เป็นดังนี้

วิถีการตลาดสินค้ากุง้ ขาวแวนนาไมจังหวัดภูเก็ต

เกษตรกร (ฟาร์ม)
100 %

ผู้รวบรวม แปรรูป/อุตสาหกรรม
พ่อค้ารายย่อยในท้องที่
ตัวแทนนายหน้าท้องถิ่น อาหารในจังหวัด
20%
75% 5%

ตลาดกลางกรุงเทพและ แปรรูป/อุตสาหกรรมอาหารใน
ปริมณฑล ประเทศ

ส่งออกต่างประเทศ

ที่มา : จากการสำรวจ , สศท.8

34 | หน้า
เกษตรกรจะจำหน่ ายกุ้งให้ พ่อค้าตัวแทนนายหน้าท้องถิ่นมากที่สุ ด คือ ประมาณร้อยละ 75 ของ
ผลผลิตทั้งหมด รองลงมาเป็นการจำหน่ายให้พ่อค้าท้องที่ประมาณร้อยละ 20 ของผลผลิตทั้งหมด ตามลำดับ
ส่ว นอีกร้อยละ 5 เกษตรกรจะจำหน่ ายโดยตรงให้ ผู้ แปรรูปและอุตสาหกรรมอาหารในท้องถิ่น โดยจากผู้
รวบรวมที่กล่าวมาข้างต้น จะส่งกุ้งไปยังตลาดกลางเพื่อประมูลราคาโดยห้ องเย็นหรือโรงงานแปรรูป กทม.
และปริมณฑล ซึ่งส่วนใหญ่เพื่อจำหน่ายกุ้งส่งออกในลักษณะกุ้งมีชีวิตและแช่เย็นไปยังต่างประเทศ เช่น จีน มาเก๊า
ฮ่องกง ไต้หวัน มาเลเซีย เวียดนาม ญี่ปุ่น เป็นต้น

7.2 ตลาดกุ้งกุลาดำ
ตลาดกุ้ ง กุ ล าดำในปั จ จุ บั น เป็ น ตลาดที่ นั บ ว่ า ดี ม าก เนื่ อ งจาก มี ค วามต้ อ งการของทั้ ง ตลาด
ภายในประเทศและภายนอกประเทศ ทำให้ราคากุ้งกุลาดำมีราคาค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่เพื่อจำหน่ายกุ้งส่งออก
ในลักษณะกุ้งมีชีวิตและแช่เย็นไปยังต่างประเทศ เช่น จีน มาเก๊า ฮ่องกง มาเลเซีย เป็นต้น

วิถีการตลาดสินค้ากุ้งกุลาดำจังหวัดภูเก็ต

เกษตรกร (ฟาร์ม)
100 %

ตลาดภายในประเทศ ตลาดต่างประเทศ
40% 60 %

จีน
ภายในจังหวัด 10 % ต่างจังหวัด 30% มาเก๊า

กระบี่ ฮ่องกง
ตลาดสด
มาเลเซีย
ร้านอาหาร พังงา
เวียดนาม
สุราษฎร์ธานี
ญี่ปุ่น
ไต้หวัน

ที่มา : ข้อมูลจากการสอบถามเกษตรกร

35 | หน้า
ภาคผนวก
1.รายชื่อฟาร์มเพาะฟัก และโรงอนุบาลกุ้งทะเลใน จังหวัดภูเก็ต

ที่อยู่ฟาร์ม ชนิดสัตว์น้ำ
ประเภทการเลี้ยง
ชื่อฟาร์ม พื้นที่
ลำดับ หมายเลข
โรง เลี้ยง
ที่ โทรศัพท์
เลขที่ หมู่ ตำบล อำเภอ เพาะ อนุบาล (ไร่)
พันธุ์หลัก พันธุ์รอง ฟัก
1 เชน แฮทเชอรี่ 8/7 9 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / / 1
2 เชน แฮทเชอรี่ 25 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / 0.5
3 เชน แฮทเชอรี่ 24/16 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 0.5
4 เชน แฮทเชอรี่ 24/11 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / 0.5
5 รจนาฟาร์ม 2 51/1 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / / 1.5
6 นายคงคา เทียนเครือ 66/1 2 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / / 1
7 S.T.N.ฟาร์ม 35/8 8 วิชิต เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 1.25
8 ไทย@ฟาร์ม 147/13 4 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / / 2
เทพ
9 ปรีดา แฮชเชอรี่ 48/21 6 กระษัตรี ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 1 0815399092
10 นายรุ่งโรจน์ พิมานพรหม 44/4 6 เทพกระษัตรี ถลาง กุ้งกุลาดำ / / 2
11 นายภทร ชุมรัมย์ 48/36 6 เทพกระษัตรี ถลาง กุ้งกุลาดำ / 1
12 พี.พี.เค แฮชเชอรี่ 1 51/4 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 1.5 0994929536
13 พี พี เค แฮชเชอรี่ 2 51/2 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 0994929536
14 นายรุ่งโรจน์ พิมานพรหม 48/3 4 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ / 1
เทพ
15 เจริญรุ่งเรืองฟาร์ม 2 39/3 6 กระษัตรี ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / / 1
16 KJ แฮทเชอรี่ 200/6 4 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / / 0.5
17 กู๊ดนิวส์แฮชเชอรี่(GNH4) 151/6 4 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ / 1.04 0954258989
18 Giant Farm 3 162/8 4 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ / 1.25
นายยุทธเวทย์ ยืนยงเลิศ
19 สวัสดิ์ 60/6 5 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / / 1 0817872878
20 PKH (ภูเก็ตแฮชเชอรี่) 8/2 8 วิชิต เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / / 4.75
เทพ
21 เจริญรุ่งเรืองฟาร์ม1 48/25 6 กระษัตรี ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 0.5 0869486494
22 P-sure 40 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / / 2 866856556
23 ไทยแปซิฟิก อควาคัลเจอร์ 1/17 2 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / 0.75
24 ยุทธเวทย์ ฟาร์ม 167/12 4 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 0.5 0817872878
25 VSF ฟาร์ม 161/5 3 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / / 2
26 ไทย@ฟาร์ม 1 120/3 4 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / / 2
กุ้งขาว/แวน
27 ธีระยุทธ ไบโอ ฟาร์ม 70/8 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต นาไม / 1 0816919351
กุ้งขาว/แวน
28 นายมนู ชูมณี 70/10 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต นาไม กุ้งกุลาดำ / / 1
กุ้งขาว/แวน
29 คิวซีแฮทเชอรี่ 9/14 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต นาไม / 2
กุ้งขาว/
30 นายวินัย ว่องอาวัชนาการ 7/2 8 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / / 1
กุ้งขาว/
31 นุสราฟาร์ม 21/8 2 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 0.5
กุ้งขาว/
32 ศรีตรังฟาร์ม 11/5 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / / 0.5 0819582413
บริษัทเจริญโภคภัณฑ์
อาหารจำกัด (มหาชน) กุ้งขาว/
33 ฟาร์มพรหมเทพ 58/31 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 1.6 0835504091
กุ้งขาว/
34 ไทยแปซิฟิก 4 58/8 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 0.5

36 | ห น ้ า
ที่อยู่ฟาร์ม ชนิดสัตว์น้ำ
ประเภทการเลี้ยง
ชื่อฟาร์ม พื้นที่
ลำดับ หมายเลข
โรง เลี้ยง
ที่ โทรศัพท์
เลขที่ หมู่ ตำบล อำเภอ เพาะ อนุบาล (ไร่)
พันธุ์หลัก พันธุ์รอง ฟัก
บริษัทเจริญโภคภัณฑ์
อาหาร จำกัด (มหาชน) กุ้งขาว/
35 ฟาร์มพรหมเทพ 2 58/27 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 1
กุ้งขาว/
36 ไทยแปซิฟิก 1 1/12 2 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 1
กุ้งขาว/
37 ไทยแปซิฟิก 3 1/18 2 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 0.5
กุ้งขาว/
38 ไทยแปซิฟิก 5 1/14 2 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 0.5
กุ้งขาว/
39 ไทยแปซิฟิก 9 58/12 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 1 0878360000
กุ้งขาว/
40 นายถิรเดช จินดาพล 109/3 2 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / / 0.1 0818938054
กุ้งขาว/
41 ฟาร์มเก็บทรัพย์ 24/7 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / / 0.5 0819790586
กุ้งขาว/
42 นายอำพน สาธิตศิลป์ 58/7 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 0.53
กุ้งขาว/
43 ไทยแปซิฟิก 14 58/3 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / / 0.35 0878360000
กุ้งขาว/
44 ไทยแปซิฟิก 15 10 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / /
กุ้งขาว/
45 นายคำ ยางดี 24/10 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 1
กุ้งขาว/
46 แหลมทรายแฮชเชอรี่ 47 6 เทพกระษัตรี ถลาง แวนนาไม / / 0.28 0818951988
กุ้งขาว/
47 คงคาฟาร์ม 6 48/20 6 เทพกระษัตรี ถลาง แวนนาไม / 1 0980495822
กุ้งขาว/
48 นายณัฐพล เพ็ชรนิล 60/3 5 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / / 0.5
กุ้งขาว/
49 อ่าวปอ พันธุ์กุ้ง 84/2 6 ป่าคลอก ถลาง แวนนาไม / 0.5
บริษัท อีสท์เอเซีย อควาคัล กุ้งขาว/
50 เจอร์ จำกัด 188/6 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / / 2 0896523930
บริษัท อีสท์เอเซีย อควาคัล กุ้งขาว/
51 เจอร์ จำกัด 162/9 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / 10
กุ้งขาว/
52 ป.เจริญพันธุ์ ฟาร์ม 44 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม /
บริษัทอีสท์เอเซีย อควาคัล กุ้งขาว/
53 เจอร์ จำกัด 167/7 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / / 1
กุ้งขาว/
54 INSHRIMP 40/12 9 ฉลอง เมืองภูเก็ต แวนนาไม / / 2.75 0817978789
กุ้งขาว/
55 นอร์ธซีฟาร์ม 2 7/3 3 ฉลอง เมืองภูเก็ต แวนนาไม / / 1.56 0827829599
กุ้งขาว/
56 บูรพานอเพลียส 1-2 195 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / 0.75 076613677
กุ้งขาว/
57 O' Siam Hatchery 162/6 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / / 1.25 0984031093
เทพ กุ้งขาว/
58 คิว จี แฮชเชอรี่ (ภูเก็ต) 46/5 6 กระษัตรี ถลาง แวนนาไม / / 1.5 0936246479
เทพ กุ้งขาว/
59 เบญจพลฟาร์ม 48/20 6 กระษัตรี ถลาง แวนนาไม / 0.5 0980495822
เทพ กุ้งขาว/
60 เบญจพลฟาร์ม 1 43/3 6 กระษัตรี ถลาง แวนนาไม / 0.5 0806958855
61 เค 1 ฟาร์ม 161/5 3 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/ / 2 0800476114

37 | ห น ้ า
ที่อยู่ฟาร์ม ชนิดสัตว์น้ำ
ประเภทการเลี้ยง
ชื่อฟาร์ม พื้นที่
ลำดับ หมายเลข
โรง เลี้ยง
ที่ โทรศัพท์
เลขที่ หมู่ ตำบล อำเภอ เพาะ อนุบาล (ไร่)
พันธุ์หลัก พันธุ์รอง ฟัก
แวนนาไม
กุ้งขาว/
62 ฮาลาลฟาร์ม 195 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / / 0.25 0954181180
กุ้งขาว/
63 พิสิษฐ์ฟาร์ม 14/9 2 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 0.5 0884496565
SIAM ANDAMAN กุ้งขาว/
64 SEABASS 14/9 2 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / / 1
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเขต กุ้งขาว/
65 ๕ (ภูเก็ต) 100 4 ป่าคลอก ถลาง แวนนาไม / / 10 0986269464
บริษัท อีสท์เอเซีย อควาคัล กุ้งขาว/
66 เจอร์ จำกัด 107/2 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / 2 076581261
กุ้งขาว/
67 ราไวย์ฟาร์ม 24/15 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 0.75 817978789
กุ้งขาว/
68 K.K.ฟาร์ม 188/5 4 ไม้ขาว ถลาง แวนนาไม / / 1 0819687002
กุ้งขาว/
69 แบงค์ฟาร์ม 42 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต แวนนาไม / 0.5 0952929992
เบญจพลฟาร์ม 3 เทพ กุ้งขาว/
70 (นางสาวอรทัย จุลนนท์) 44/4 6 กระษัตรี ถลาง แวนนาไม / 1.5 0630592017
ที่มา : แบบรายงานการสำรวจเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562

38 | ห น ้ า
2. รายชื่อฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต
จำนวน
ประเภท พื้นที่
ลำดับ บ่อ หมายเลข
ที่อยู่ฟาร์ม ชนิดสัตว์น้ำ การ เลี้ยง
ที่ เลี้ยง โทรศัพท์
ชื่อฟาร์ม เลี้ยง (ไร่)
(บ่อ)
ฟาร์ม
เลขที่ หมู่ ตำบล อำเภอ
พันธุ์หลัก พันธุ์รอง เลี้ยง
1 หินลูกเดียวฟาร์ม 25/4 5 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 3 32.75
2 วรรณดีฟาร์ม 54/9 4 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 2.17
3 นางศศกร รู้จัก 14/2 2 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 3 15
4 บุญส่งฟาร์ม 67/3 7 เกาะแก้ว เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 12 0896465112
นางสาวพัชรา
5 ชัยปัญญา 39/2 1 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 1 20.25
6 สินไทยฟาร์ม 94/1 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 5 37 0840544993
7 อรษาฟาร์ม 81/9 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 5.925
8 ที.เจ.ฟาร์ม 204/24 3 ศรีสุนทร ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 14.25
9 ชุติมาฟาร์ม 98/9 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 5 46
10 เกรียงไกร พึ่งแรง - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 3 10
11 - 85 8 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 3 10
12 333 ฟาร์ม 33/3 1 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 8 17
13 ชินประพินพร 132/6 2 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 4 50
14 มั่งเจริญฟาร์ม 2 12/9 2 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 2 19.18
15 ต้นข้าวฟาร์ม 86/3 4 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 3 12.25 0848377716
16 ภูเก็ตณัฏฐพล ฟาร์ม 55/4 10 เทพกระษัตรี ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 7.75 0814164596
17 ภูเก็ตณัฏฐพลฟาร์ม 3 54/19 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 30 0986785269
ภูเก็ตณัฎฐพล
18 ฟาร์ม 2 - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 1 11.76 0814164596
ทรายแก้ว แฮชเชอรี่
19 (คุณณัฐพล เพ็ชรนิล) 60/3 5 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 30 2 0815369112
ธนกรฟาร์ม (นายถิร
20 เดช จินดาพล) 109/3 2 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 12 3.5 0818938054
ถิรเดช จินดาพล (ธน
21 กรฟาร์ม) 109/4 2 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 12 3.5 0818938054
22 สบายจิตต์ฟาร์ม 43/4 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 6.75
23 พารากุลาดำ 2 95/7 6 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 9 40 0819561911
24 พารากุลาดำ 1 79/3 4 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 22 125.4 0819561911
25 2T - Farm 30/18 3 รัษฎา เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 4 12 0897290979
26 บางแป ฟาร์ม 9/1 2 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 16 68
นายเธียรสิน มงคลนิธิ 084-
27 เสถียร 66/30 1 วิชิต เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 15 6275799
28 ศศิชาฟาร์ม 90/3 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 3 16.77
29 เบ็ญจพันธ์ฟาร์ม วิชิต เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 1 12 0864702199
30 ประชันฟาร์ม 61/8 5 เกาะแก้ว เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 5 22 0818949725
31 ศรีตรัง บางชีเหล้า 30/15 2 รัษฎา เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 4 83 0988959243
32 นายประเทือง ทองชู 30/15 2 รัษฎา เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 8 83 0943167878
33 อ่าวกุ้งฟาร์ม 111 9 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 8 70 0819560827
34 แหลมหิน 90/12 7 เกาะแก้ว เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 3 14
ศรีตรังฟาร์มภูเก็ต 081676850
35 (เดอะมารีน) ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 10 80 ,0843955465
36 ด่านหยิด 2 - 3 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 4 53
37 พารา 1 - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 9 28
38 อ่าวปอ - 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 8 69.76 0896483328

39 | ห น ้ า
จำนวน
ประเภท พื้นที่
ลำดับ บ่อ หมายเลข
ที่อยู่ฟาร์ม ชนิดสัตว์น้ำ การ เลี้ยง
ที่ เลี้ยง โทรศัพท์
ชื่อฟาร์ม เลี้ยง (ไร่)
(บ่อ)
ฟาร์ม
เลขที่ หมู่ ตำบล อำเภอ
พันธุ์หลัก พันธุ์รอง เลี้ยง
39 หงษ์ฟ้าฟาร์ม 136 9 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 5 27.07
40 บูรพานอเพลียส3 58/26 6 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 14 0.25 0954181180
41 บูรพานอเพลียส 4 11/6 5 ราไวย์ เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 34 0.75 0954181180
42 นายมนัส อุดมทรัพย์ 288 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 1 10
43 แหลมหิน 2 101/1 1 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 4 25
สมบูรณ์พันธ์เพาะเลี้ยง
44 สัตว์น้ำ 39/2 1 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 3 35 0859591496
45 ด่านหยิด 3 - 3 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 9 68
นายเศรษฐ์ อัคสินธวัง
46 กูร 211/3 3 ศรีสุนทร ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 10 172
47 สงวน กุลวานิช 30/3 6 เทพกระษัตรี ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 3 24.25 0817375447
48 ฟาร์มท่าเรือ 211/4 3 เกาะแก้ว เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 25 97.78 76617290
นายสมบูรณ์ นาคชัย
49 เนรมิต 83 8 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 10
50 ด่านหยิด 1 - 3 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 24
51 วรรณดีฟาร์ม 3 139/1 1 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 5 20 0815884224
52 ยลดาฟาร์ม 1 - 6 เทพกระษัตรี ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 5 21.5
53 S.C.ฟาร์ม 66/6 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 4 20
54 สหมิตรฟาร์ม 157/7 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม กุ้งกุลาดำ / 4 28.3
55 ไทรทองฟาร์มภูเก็ต 60 5 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาว/แวนนาไม / 23 2.85 0842829542
56 ลิขิตฟาร์ม 27/7 3 เกาะแก้ว เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 5 30 0816935135
57 นพมิตรฟาร์ม 58 3 ฉลอง เมืองภูเก็ต กุ้งขาว/แวนนาไม / 1 3.5
นางสาวสาลี จินดา
58 รัตนวงศ์ - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 4 16
นางสาวสาลี จินดา
59 รัตนวงศ์ - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 4 13 0894742842
60 ป่าคลอกฟาร์ม - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 4 18.59 0897243691
61 โชติเกษมสิทธิ์ 204/23 3 ศรีสุนทร ถลาง กุ้งกุลาดำ / 1 25 0611737345
62 พารวย ฟาร์ม - 4 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 3 10 0814164596
63 มารวย ฟาร์ม 1 43/5 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 3 24.17 0814164596
ภูเก็ตณัฎฐพล ฟาร์ม
64 2 - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 4 11.76 0814164596
65 มารวยฟาร์ม 3 198/3 1 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 2 9.5 0814164596
66 มารวยฟาร์ม 2 54/18 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 3 19 0814164596
67 ภูเก็ตณัฏฐพลฟาร์ม 3 54/19 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 2 30 0986785269
ธนกรฟาร์ม (นายถิร
68 เดช จินดาพล) 109/3 2 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ / 12 3.5 0818938054
69 มังกรฟาร์ม 47 4 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ กุ้งขาว/แวนนาไม / 2 15
70 วัชระฟาร์ม 54/10 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 4 9.75 0874181884
71 มั่งเจริญ ฟาร์ม 1 136/7 7 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 4 20
72 นายวินัย มั่งเจริญ - 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 4 9
73 ไอ ที ฟาร์ม 1 33 4 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 2 13
74 ไอ ที ฟาร์ม 9 11/17 3 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 5 40
75 อุดมทรัพย์ 80/8 6 ป่าคลอก ถลาง กุ้งกุลาดำ / 2 15 0805255015
76 แหลมหิน 3 37/90 3 เกาะแก้ว เมืองภูเก็ต กุ้งกุลาดำ / 4 131.5 0918235999
77 ASV FARM 160/1 3 ไม้ขาว ถลาง กุ้งกุลาดำ / 9 45 0815973567

40 | ห น ้ า
3. รายชื่อฟาร์มเพาะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งทะเลในจังหวัดภูเก็ต
จำนวน
ประเภท พื้นที่
ลำดับ บ่อ
ที่อยู่ฟาร์ม ชนิดสัตว์น้ำ การ เลี้ยง หมายเลขโทรศัพท์
ที่ เลี้ยง
ชื่อฟาร์ม เลี้ยง (ไร่)
(บ่อ)
ฟาร์ม
เลขที่ หมู่ ตำบล อำเภอ
พันธุ์หลัก พันธุ์รอง เลี้ยง
1. ธนากร ฟาร์ม 109/3 2 ไม้ขาว ถลาง กุ้งขาวแวนนาไม / 081-8938054
บริษัทซายอาคควาสยาม
2 จำกัด 74/9 6 เทพกระษัตรีย์ ถลาง กุ้งขาวแวนนาไม /
3 ไทยแปซิฟิก 2 109/3 2 ราไวย์ เมือง /

4. รายชื่อสถานที่จำหน่ายปัจจัยการผลิต ในจังหวัดภูเก็ต
ลำดับที่ ชื่อผู้รับใบอนุญาตขาย ที่อยู่สถานที่ขาย/เก็บ ประเภทการขาย
1 นางสาวญัฏฐ์กชพร ภูวสิริเมธีกุล 39/19 หมู่ที่ 4 ถ.เจ้าฟ้าตะวันออก ต.ฉลอง จ.ภูเก็ต ขายปลีก
2 นายโยธิน ช่วยการกล้ 100/4 ม.1 ต.ศรีสุนทร อ.ถลาง จ.ภูเก็ต ขายปลีก
3 นายโยธิน ช่วยการกล้า 37/12 ม.2 ต.วิชิต อ.เมือง จ.ภูเก็ต ขายปลีก
4 นายสุนทร จันทร์ตระกูล 116 ม.1 ถ. เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต ขายปลีก
5 นางโสพิศ สิทธิโชค 25/45 ม.3 ถ.เจ้าฟ้า ต.วิชิต อ.เมือง จ.ภูเก็ต ขายปลีก

ที่มา : สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562

41 | ห น ้ า
5. สถิติการส่งออกกุ้งกุลาดำ กุ้งขาวแวนนาไม ประจำปี 2560
กุ้งกุลาดำ

กุ้งกุลาดำ มีชีวิต

ปลายทาง น้ำหนัก หน่วย ราคา วัตถุประสงค์

จีน (CHINA) 2,764,047.80 KGM = กิโลกรัม 690,367,804.94 เพื่อการค้า/บริโภค

ฮ่องกง (HONG KONG) 1,325,869.00 KGM = กิโลกรัม 771,889,381.90 เพื่อการค้า/บริโภค

กุ้งกุลาดำ แช่เย็น

จีน (CHINA) 2,160.00 KGM = กิโลกรัม 838,470.80 เพื่อการค้า/บริโภค

ลูกพันธ์กุ้งขาว

มาเลเซีย (MALAYSIA) 236.00 KGM = กิโลกรัม 247,770.72 (7,068,144ตัว) เพื่อทำพันธุ์

กุ้งขาว

กุ้งขาว มีชีวิต

ปลายทาง น้ำหนัก หน่วย ราคา วัตถุประสงค์

จีน (CHINA) 443,063.12 KGM = กิโลกรัม 107,537,001.91 เพื่อการค้า/บริโภค

สหรัฐอเมริกา (UNITED STATES ) 5.00 KGM = กิโลกรัม 6,577.18 (150ตัว เพื่อทำพันธุ์)

เวียดนาม (VIET NAM) 8,322.08 KGM = กิโลกรัม 2,829,566.27 (29,100ตัว เพื่อทำพันธุ์)

ญี่ปุ่น (JAPAN) 1.73 KGM = กิโลกรัม 101,209.15 (51ตัว เพื่อทำพันธุ์)

มาเลเซีย (MALAYSIA) 24.57 KGM = กิโลกรัม 1,319,539.32 (630ตัว เพื่อทำพันธุ์)

ฮ่องกง (HONG KONG) 1,361,659.38 KGM = กิโลกรัม 903,403,234.50 เพื่อการค้า/บริโภค

กุ้งขาว แช่เย็น

จีน (CHINA) 7,120.00 KGM = กิโลกรัม 2,359,375.82 เพื่อการค้า/บริโภค

เกาหลีใต้ (KOREA, REPUBLIC OF (SOUTH)) 16,380.00 KGM = กิโลกรัม 5,430,191.29 เพื่อการค้า

ลูกพันธ์กุ้งขาว

มาเลเซีย (MALAYSIA) 13 KGM = กิโลกรัม 10,260.40 (156,000ตัว) เพื่อทำพันธุ์

ญี่ปุ่น (JAPAN) 20.00 KGM = กิโลกรัม 6,149.22 (13,500ตัว) เพื่อทำพันธุ์


ที่มา : ด่านตรวจสัตว์น้ำจังหวัดภูเก็ต ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562

42 | ห น ้ า
6. สถิติการส่งออกกุ้งกุลาดำ กุ้งขาวแวนนาไม ประจำปี 2561
กุ้งกุลาดำ

กุ้งกุลาดำ มีชีวิต

ปลายทาง น้ำหนัก หน่วย ราคา วัตถุประสงค์

จีน (CHINA) 3,496,820.50 KGM = กิโลกรัม 790,728,972.57 เพื่อการค้า/บริโภค

มาเก๊า (MACAU) 4,320.00 KGM = กิโลกรัม 682,442.92 เพื่อการค้า/บริโภค

ฮ่องกง (HONG KONG) 545,762.00 KGM = กิโลกรัม 122,003,463.47 เพื่อการค้า/บริโภค

กุ้งกุลาดำ แช่เย็น

จีน (CHINA) 1,656.00 KGM = กิโลกรัม 706531.76 เพื่อการค้า/บริโภค

กุ้งกุลาดำ ตากแห้ง

จีน (CHINA) 75.00 KGM = กิโลกรัม 12263.14 เพื่อการค้า/บริโภค

กุ้งขาว

กุ้งขาว มีชีวิต

ปลายทาง น้ำหนัก หน่วย ราคา วัตถุประสงค์

จีน (CHINA) 1,422,977.44 KGM = กิโลกรัม 278,994,881.43 เพื่อการค้า/บริโภค

มาเก๊า (MACAU) 6,356.00 KGM = กิโลกรัม 997,741.44 เพื่อการค้า/บริโภค

ฮ่องกง (HONG KONG) 1,218,338.04 KGM = กิโลกรัม 202,995,631.51 เพื่อการค้า/บริโภค

กุ้งขาว แช่เย็น

จีน (CHINA) 8,040.00 KGM = กิโลกรัม 2,572,954.89 เพื่อการค้า/บริโภค

ไต้หวัน 904.00 KGM = กิโลกรัม 10,485.00 เพื่อการค้า/บริโภค

กุ้งขาว แช่แข็ง

จีน (CHINA) 50.00 KGM = กิโลกรัม 8,420.69 เพื่อการค้า/บริโภค

ลูกพันธ์กุ้งขาว

ญี่ปุ่น 3.81 KGM = กิโลกรัม 182,396.46 เพื่อทำพันธุ์

มาเลเซีย 231.36 KGM = กิโลกรัม 7,967,509.27 เพื่อทำพันธุ์

เวียดนาม 491.64 KGM = กิโลกรัม 7,022,369.59 เพื่อทำพันธุ์

ที่มา : ด่านตรวจสัตว์น้ำจังหวัดภูเก็ต ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562

43 | ห น ้ า
บรรณานุกรม
- สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
- สำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ต
- เอกสารเผยแพร่ สถิติการเลี้ยงกุ้งทะเล กรมประมง
- http://kea-agrimap.appspot.com
- ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเขต 5 (ภูเก็ต)
- สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง
- สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน)
- http://www.thailandshrimp.org/agriculture_vannamei9.html
- http://www.nicaonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=1432:-
ems-&catid=41:2012-02-20-03-00-02&Itemid=123
- พฤติกรรมด้านสุขลักษณะของบุคลากรในขั้นตอนการจับกุ้งทะเลของแพรับซื้อจังหวัดภูเก็ต ธีระพงษ์ อภัยภักดี
สุนิติ จิรวงศ์สวัสดิ์)
- สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต
- สำนักงานสหกรณ์จังหวัดภูเก็ต
- สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดภูเก็ต
- ด่านกักกันสัตว์ภูเก็ต
- โครงการชลประทานภูเก็ต
- สำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดภูเก็ต
- สำนักงานท่าเทียบเรือประมงภูเก็ต

You might also like