You are on page 1of 6

Crop requirement: มะละกอ (Papaya)

เรียบเรียง: ทรงพล ทาเจริญ นักวิชาการเกษตร 7ว


กลุมสงเสริมการผลิตไมผล

ที่ รายการ ความเหมาะสม ขอจํากัด


1 สภาพภูมิอากาศ -มะละกอเจริญเติบโตไดดีบริเวณเขตรอนชื้น -สภาพพื้นที่ที่มีอากาศหนาวจัดโดยเฉพาะบริเวณ
จึงเจริญเติบโตไดดีบริเวณที่มีอุณหภูมิเฉลี่ย 25-32 ที่มีอุณหภูมิต่ํากวา -2 องศาเซลเซียส จะทําให
องศาเซลเซียสโดยเฉพาะบริเวณใกลเสนศูนยสูตร ตนมะละกอเสียหายได
-มะละกอเจริญเติบโตไดดีบริเวณพื้นที่ที่ไดรับแสง -มะละกอที่ปลูกบริเวณที่มีสภาพอากาศหนาวเย็น
แดดเต็มที่ จะแกและสุกชากวาปกติ
-สภาพพื้นที่ปลูกมะละกอควรเปนที่อับลม หรือไม -บริเวณที่มีลมพัดแรงเปนประจําจะทําใหตนมะละกอ
มีลมพัดแรงเปนประจํา โคนลมงาย หักงาย หรือใบหักเสียหาย
-มะละกอเจริญเติบโตออยูในบริเวณเขตละติจูด -บริเวณพื้นที่มีลมพัดแรงเปนประจําควรปลูกไมกันลม
32 องศาเหนือ ถึง 32 องศาใต เชน ไผ กระถิน สน หรือยูคาลิปตัส เปนตน

2 สภาพพื้นที่ -เปนพื้นที่ที่น้ําไมทวมถึง หรือน้ําขังแฉะ -สภาพพื้นที่ที่เปนที่สะสมของโรคใบจุดวงแหวน


-การปลูกมะละกอเพื่อการคาควรปลูกในพื้นที่ที่มี ไมควรปลูกมะละกอ
ความสูงไมเกิน 1,500 เมตร จากระดับน้ําทะเล และมี -มะละกอเปนพืชที่ไมทนทานตอการถูกน้ําทวม
ความลาดชันนอยกวา 15 เปอรเซ็นต ถาน้ําทวมโคนตนนาน 1-2 วัน มะละกอจะตายหมด
-พื้นที่ปลูกมะละกอควรมีการกระจายตัวของฝน -การปลูกมะละกอในที่ลุม หรือที่มีน้ําทวมขังเปน
อยูระหวาง 1,500-2,000 มิลลิเมตรตอป หรือมี ประจําตองยกรองปลูก หรือทําคันคูปองกันน้ํา
ฝนตกจํานวน 6-8 เดือนตอป

3 สภาพดิน -มะละกอสามารถเจริญเติบโตไดในดินทั่วไป -การปลูกมะละกอในดินเหนียวควรปรับปรุงดินให


แตตองเปนดินที่ระบายน้ําดี และน้ําไมขังแฉะ รวนซุย และระบายน้ําไดดี
-ดินควรมีสภาพความเปนกรดเปนดางอยูใน -การปลูกมะละกอในดินทราย หรือทรายจัด ตน
ระดับปานกลาง (pH = 6.-7.0) มะละกอมักโคนลมงาย เมื่อฝนตกหนักหรือลมแรง
-ดินควรมีลักษณะเปนดินรวนปนทรายเพียง ควรปรับปรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัสตุใหแกดินให
เล็กนอย หรือดินเหนียวปนดินรวน มาก และทําติดตอกันทุกๆป ใหดินอุดมสมบูรณยิ่งขึ้น
-ดินควรมีหนาดินลึกไมนอยกวา 1 เมตร -ดินที่เปนกรดจัด หรือดางจัด ตองปรับปรุงดินกอน
-ดินควรเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง ปลูกมะละกอ
-มะละกอเปนพืชไมทนดินเค็ม (ดินเค็ม คือ ดินที่มี
ปริมาณเกลือที่ละลายน้ําไดมากเกินไปจนเปนอัตราย
ตอพืช โดยมะละกอดินที่มีคาการนําไฟฟาของสาร
ละลายดิน (EC)ที่สกัดจากดินที่อิ่มตัวดวยน้ําสูงกวา
2 เดซิซีเมนตอเมตร(dS/m) จะทําใหการเจริญเติบโต
และผลผลิตลดลง)
-2-
ที่ รายการ ความเหมาะสม ขอจํากัด
4 ความตองการธาตุอาหาร -มะละกอเปนพืชที่มีความตองการธาตุอาหารครบ -บริเวณพื้นที่ที่เปนดินทราย หรือทรายจัด ดินมักจะ
ทุก 16 ธาตุเชนเดียวกับพืชอื่นๆ หากพื้นที่ใดขาด ขาดธาตุโบรอน และมะละกอจะแสดงอาการผล
ธาตุอาหารใดธาตุอาหารหนึ่งมะละกอก็จะเจริญ เปนตะปุมตะปา ดังนั้นควรใสดวยโบแรกซ(Borex)
เติบโตไมดี นอกจากธาตุอาหารหลักที่ตองใสใหกับแลว อัตรา 0.5 กรัมโรยรอบๆโคนตนที่เปนโรคจะชวยลด
ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริมที่มีความสําคัญ อาการดังกลาวได
กับมะละกอไมนอยไดแก แคลเซี่ยม(Ca) แมกนีเซี่ยม
(Mg) สังกะสี(Zn) และโบรอน(B) เปนตน

5 สภาพน้ํา -มะละกอเปนพืชที่ตองการน้ํามากเชนเดียวกับพืชผัก -ตนมะละกอที่ขาดน้ําจะชะงักการเจริญเติบโต


โดยพบวาในตอนเหนือของรัฐ Queenland ประเทศ สวนยอดเรียวเล็กลง ใบเล็กลง ผลเล็กลง
Australian มะละกอมีความตองการน้ําประมาณ ดอกที่ออกมาจะเปนดอกตัวผู หรือเปนหมันมาก
70 ลิตร/ตน/สัปดาห ทําใหการติดผลนอย และผลผลิตลดลง
-การปลูกมะละกอในเชิงธุรกิจ ตองมีแหลงน้ํา
ที่สามารถใหแกตนมะละกอไดในชวงเวลาที่ตองการ
-มะละกอเปนพืชที่ไมชอบน้ํากรอย หรือน้ําเค็ม ถา
หากไดรับน้ําเค็มหรือน้ํากรอยมากจะเกิดอาหารใบไหม
และแหงเหี่ยว
-ไมควรรดตนมะละกอดวยน้ําที่มีความเค็มมากกวา
1.2 เดซิซีเมนตอเมตร (dS/m)

เอกสารอางอิง

1.วัฒนา สวรรยาธิปติ. 2527. การปลูกมะละกอ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 42 หนา


2.ทวีเกียรติ ยิ้มสวัสดิ์. 2526. มะละกอ. มหาวิทยาลัยขอนแกน, จังหวัดขอนแกน. 42 หนา
3.มนู โปสมบูรณ. 2542. การปลูกมะละกอ. กรมสงเสริมการเกษตร, กรุงเทพฯ 19 หนา
4.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2549. เพศมะละกอ. ฐานขอมูลพันธุดีในประเทศไทย, กรุงเทพฯ
5.อุทัย นพคุณวงศ รศ.ฉลองชัย แบบประเสริฐ สุวคนธ โคตรมี และวิไล ปราสาทศรี. 2532. มะละกอ, กรมสงเสริมการเกษตร. 44 หนา
6.ประพันธ นันทะไชย. 2525. แนวทางปรับปรุงพันธุมะละกอ. รายงานการสัมมนาสํานักงานเกษตรและสหกรณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,
จังหวัดขอนแกน 8 หนา
7.สุวิทย ชัยเกีรียรติยศ. 2542. พันธุและการปรับปรุงพันธุมะละกอศรีสะเกษ, เอกสารประกอบการฝกอบรม เรื่องเทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุมะละกอ
ศูนยวิจัยพืชสวนศรีสะเกษ . 7 หนา
8.อัมพร ทองปลิว และสุวรรณพงศ ทองปลิว. 2542. การปลูกมะละกอ, เอกสารประกอบการฝกอบรม เรื่องเทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุมะละกอ
ศูนยวิจัยพืชสวนศรีสะเกษ . 7 หนา
-3-
9.ประเสริฐ หนูจีน. 2542. การชวยผสมเกสรและเก็บเกี่ยวผลผลิตมะละกอเพื่อเก็บเมล็ดพันธุ, เอกสารประกอบการฝกอบรม เรื่องเทคนิคการผลิตเมล็
ศูนยวิจัยพืชสวนศรีสะเกษ . 7 หนา
10.อุดม คําชา. 2542. การจัดการและควบคุมคุณภาพเมลดพันธุมะละกอ, เอกสารประกอบการฝกอบรม เรื่องเทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุมะละกอ
ศูนยวิจัยพืชสวนศรีสะเกษ . 7 หนา
11.ฉลองชัย แบบประเสริฐ. 2532. การปลูกมะละกอ. เอกสารเผยแพรอีสานเขียว. 20 หนา
12.Papaw Information Kit. 2000. Queenland Horticulture Institute, Department of Primary Industries, Queenland, Australain.
ล็ดพันธุมะละกอ

You might also like