You are on page 1of 34

หมอพืชชุมชน คือ เกษตรกรผูที่ไดรับการถายทอดองคความรูดานวินิจฉัยและจัดการศัตรูพืชเพื่อทําหนาที่

เปนผูชวยเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรหรือหมอพืชในพื้นที่ ใหบริการและใหคําแนะนําที่ถูกตองเกี่ยวกับการวินิจฉัย
อาการผิ ด ปกติ ข องพื ช และการจั ด การศั ต รู พื ช เบื้ อ งต น ให แ ก เ กษตรกรในชุ ม ชน ตลอดจนเป น เครื อ ข า ยติ ด ต อ
ประสานงาน สงตอปญหาศัตรูพืชหรือขอมูลที่เกี่ยวของ รวมถึงเชื่อมโยงเครือขายการดําเนินการคลินิกพืชในระดับชุมชน
หรือหมูบาน ทําใหเกษตรกรสามารถเขาถึงการบริการไดอยางสะดวก รวดเร็ว และทั่วถึงเพิ่มมากขึ้น
คูมือแนวทางการฝกอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน ป 2567 ฉบับนี้จัดทําขึ้นเปนแนวทางสําหรับเจาหนาที่
ในการจั ด การฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาเกษตรกรสู ก ารเป น หมอพื ช ชุ ม ชน รวมถึ ง การสร า งและเชื่ อ มโยงเครื อ ข า ย
การดําเนินงานคลินิกพืช ตลอดจนสามารถนําแนวทางไปพัฒนาตอยอดเพื่อใชประโยชนในการดําเนินงานดานอารักขาพืช
ที่เกี่ยวของตอไป

กรมสงเสริมการเกษตร
กองสงเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุย
กลุมสงเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช
ตุลาคม 2566
หนา
1. หลักการและเหตุผล 1
2. นิยามและบทบาทของหมอพืชชุมชน 1
3. วัตถุประสงค 2
4. กลุมเปาหมาย 2
5. ผูรับผิดชอบ/ผูดําเนินการ 2
6. ระยะเวลาดําเนินการ 2
7. ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน 2
8. วิทยากร 4
9. เนื้อหาหลักสูตร 5
10. ผลที่คาดวาจะไดรับ 8
11. ผูประสานงาน 8
12. แผนผังความเชื่อมโยงของคลินิกพืช หมอพืช และหมอพืชชุมชน 9
ภาคผนวก 10
ภาคผนวกที่ 1 แบบจัดทําแผนการอบรม 11
ภาคผนวกที่ 2 ตารางแผนปฏิบัติงานฯ ป 2567 12
ภาคผนวกที่ 3 ตัวอยางตารางเตรียมการอบรม 14
ภาคผนวกที่ 4 ใบสมัครหมอพืชชุมชน 19
ภาคผนวกที่ 5 ประกาศนียบัตรหมอพืชชุมชน 20
ภาคผนวกที่ 6 ตัวอยางทําเนียบหมอพืชชุมชน 23
ภาคผนวกที่ 7 แบบสอบถามความคิดเห็นการฝกอบรม 25
ภาคผนวกที่ 8 แบบรายงานการอบรม 27
1

คูมือการฝกอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน ป 2567

1. หลักการและเหตุผล
การขับเคลื่อนภาคการเกษตรของประเทศไทยมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ประกอบ
กับแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ประเด็นการเกษตร แผนแมบทยอยเกษตร
ปลอดภั ย มุงเน น ให เ กิดการพั ฒ นาคุ ณภาพมาตรฐานและการรับ รองความปลอดภัย ในระดับ ตาง ๆ เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข งขั น ให มากขึ้ น โดยสนับสนุนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ลด ละ เลิกการใช สารเคมี
ที่เปนอันตราย เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามปญหาของภาคการเกษตรยังคงพบการเขาทําลายและ
การรบกวนของศัตรูพืชที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งจากปจจัยผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศ สภาพสมดุลธรรมชาติถูกทําลาย การลดลงของศัตรูธรรมชาติ ทําใหผลผลิตทางการเกษตรเกิดความเสียหาย
พืช ออนแอ ผลผลิ ตลดลง หรือผลผลิ ตมักไมไดคุณภาพตามความตองการของตลาด สงผลกระทบตอรายไดและ
ความเปนอยูของเกษตรกร และที่สําคัญยังพบวาเกษตรกรสวนใหญยังขาดความรูดานการวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช
และการจัดการศัตรูพืชซึ่งสงผลตอการเลือกวิธีการจัดการศัตรูพืชที่ถูกตองและเหมาะสม และยังพบอีกวาเกษตรกร
ในบางพื้นที่มีการใชสารเคมีในการแกไขปญหาศัตรูพืชที่เกินความจําเปนซึ่งสงผลกระทบตามมาอยางมากมาย ดังนั้น
การพัฒนาองคความรูและทักษะในการทําการเกษตรจึงเปนกาวยางที่สําคัญในกระบวนการยกระดับผลิตภาพการผลิต
ของภาคเกษตรไทย โดยเฉพาะองคความรูดานการวินิจฉัย อาการผิดปกติของพืช และการจัดการศัตรูพืช โดยวิธี
ผสมผสานซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนแหงความสําเร็จในกระบวนการผลิตพืช กรมสงเสริมการเกษตรไดเล็งเห็นความสําคัญ
ดังกลาว จึงไดพัฒนาเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรทําหนาที่หมอพืชใหบริการคลินิกพืชแกเกษตรกรในพื้นที่ และเพื่อให
การใหบริการดานอารักขาพืชแกเกษตรกรสามารถดําเนินการไดอยางครอบคลุมเขาถึงทุกพื้นที่อยางแทจริง จึงเกิด
การสรางเครือขายเชื่อมโยงการดําเนินงานในระดับชุมชนหรือเกษตรกรขึ้นผานการพัฒนาเกษตรกรใหเปนหมอพืช
ชุมชน โดยมุงเนนใหสามารถนําองคความรูที่ไดรับไปปรับใชจริงดวยตนเองและชวยเหลือเพื่อนเกษตรกรแกไขปญหา
อาการผิดปกติของพืชและศัตรูพืชไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหเกษตรกรสามารถผลิตสินคา
เกษตรออกสูตลาดไดอยางมีคุณภาพ เกิดเปนชุมชนแหงการพึ่งพาตนเองดานการบริหารจัดการศัตรูพืชไดอยางยั่งยืน
2. นิยามและบทบาทของหมอพืชชุมชน
นิยาม หมอพืชชุมชน คือ เกษตรกรผูผานการอบรมหลักสูตรหมอพืชชุมชนของกรมสงเสริมการเกษตร
ซึ่งมีความรูและความสามารถดานการวินิจฉัยและจัดการศัตรูพืชเบื้องตน โดยเฉพาะศัตรูพืชสําคัญของพืชเศรษฐกิจ
ในพื้นที่ มีบทบาทสําคัญในการเปนเครือขายสนับสนุนการดําเนินงานคลินิกพืชและที่เกี่ยวของระหวางเจาหนาที่
หมอพืชหรือนักวิชาการสงเสริมการเกษตรกับเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อใหการบริการดานอารักขาพืชของกรมสงเสริม
การเกษตรครอบคลุมเชื่อมโยงในทุกพื้นที่ โดยมีคุณลักษณะและบทบาท ดังนี้
2

คุณลักษณะของหมอพืชชุมชน
- สามารถวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องตนไดอยางถูกตอง
- สามารถเก็บขอมูล ภาพถาย และตัวอยางเพื่อการวินิจฉัยไดอยางถูกตอง
- มีจิตสาธารณะ และสามารถประสานงานกับเจาหนาที่และเกษตรกรได
บทบาทของหมอพืชชุมชน
- ใหบริการความรู คําแนะนํา แหลงขอมูลดานการอารักขาพืช รวมถึงประสานงานเชื่อมโยงการใหบริการ
คลินิกพืชระหวางหมอพืชหรือเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรกับเกษตรกรในพื้นที่
- สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจาหนาที่กรมสงเสริมการเกษตรดานการอารักขาพืช เชน สงตอภาพถายหรือ
ข อ มู ล ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ การวิ นิ จ ฉั ย อาการผิ ด ปกติ ข องพื ช ประชาสั ม พั น ธ ข อ มู ล ข า วสาร แจ ง เตื อ นสถานการณ
การระบาดศัตรูพืช แจงปญหาดานศัตรูพืชใหเจาหนาที่ ฯลฯ
3. วัตถุประสงค
3.1 เพื่อใหเกษตรกรมีความรูและความสามารถเกี่ยวกับการวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเศรษฐกิจหลักและ
ศัตรูพืชสําคัญที่พบเปนประจําในพื้นที่ รวมถึงการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานที่เหมาะสมและปฏิบัติไดจริง
3.2 เพื่อใหเกษตรกรเขาใจบทบาทและสามารถทําหนาที่หมอพืชชุมชนใหคําแนะนําที่ถูกตองเกี่ยวกับปญหาศัตรูพืช
เบื้องตนได และเปนเครือขายในการติดตอประสานงานที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานคลินิกพืชของกรมสงเสริมการเกษตร
4. กลุมเปาหมาย
4.1 เกษตรกรรายเดิมผูผานเกณฑการประเมินศักยภาพเปนหมอพืชชุมชนในหลักสูตรที่ 1 เขาอบรมตอเนื่อง
4.2 เกษตรกรรายใหมผูผานการคัดเลือกตามแนวทางการรับสมัครและหลักเกณฑการคัดเลือก พิจารณาโดย
สํานักงานเกษตรจังหวัดในพื้นที่เปาหมาย
5. ผูรับผิดชอบ/ผูดําเนินการ
สํานักงานเกษตรจังหวัด และศูนยสงเสริมเทคโนโลยีการเกษตรดานอารักขาพืช
6. ระยะเวลาดําเนินการ
เปาหมายเดิม หลักสูตรที่ 2 ตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2566 ถึงเดือนเมษายน 2567
เปาหมายใหม หลักสูตรที่ 1 ตั้งแตเดือนเมษายน ถึงเดือนกันยายน 2567
7. ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน
7.1 รับสมัครและพิจารณาคัดเลือก (สํานักงานเกษตรจังหวัด)
สํานักงานเกษตรจังหวัดเปดรับสมัคร โดยใชใบสมัครหมอพืชชุมชน (ภาคผนวกที่ 4) และพิจารณา
คัดเลือกเกษตรกรที่มีความสนใจในพื้นที่ ตามคุณสมบัติและเงื่อนไขการสมัคร ดังนี้
7.1.1 คุณสมบัติและเงื่อนไขของเกษตรกร
1) เปนเกษตรกรที่ปจจุบันอาศัยอยู ณ อําเภอ หรือจังหวัดที่เปดรับสมัคร
2) เปนผูมีทัศนคติที่ดีตออาชีพเกษตรกรรม มีจิตสาธารณะ และมีมนุษยสัมพันธที่ดี
3) มีความสนใจ ใฝรู และมีความพรอมที่จะเขารับการพัฒนาเปนหมอพืชชุมชน
4) สามารถเขารับการอบรมไดครบตามหลักสูตรหมอพืชชุมชนกําหนด
3

5) ยินยอมใหหนวยงานเก็บและเปดเผยขอมูลสวนบุคคลในสวนที่เกี่ยวของ เพื่อวัตถุประสงคในการจัดทํา
ทําเนียบหมอพืชชุมชนและเครือขายการดําเนินงานของกรมสงเสริมการเกษตร
หมายเหตุ ผูสมัครสามารถเปนสมาชิกของ ศจช. ศดปช. หรือเปน อกม. เกษตรกรปราชญเปรื่อง (SF) เกษตรกรรุนใหม (YSF)
หรืออื่นๆ ไดไมจํากัด
7.1.2 เกณฑการคัดเลือกผูเขาอบรม
1) เกษตรกรจากทุกอําเภอ อยางนอยอําเภอละ 2 คน โดยไมซ้ําตําบล
2) มีคุณสมบัติและเงื่อนไขครบถวนตามที่ระบุ
3) พิจารณาตามลําดับการสมัคร
หมายเหตุ หากสํานั กงานเกษตรจั งหวัดมีความจําเปน ตองปรับเกณฑการคั ดเลือก ขอใหทําหนังสือชี้แจงเหตุผ ล
ความจําเปนตอ กอป.ดวย สําหรับผูเขาอบรมรายเดิมตอเนื่องไปสูหลักสูตรที่ 2 ไมตองดําเนินการตามขอ 7.1
7.2 จัดทําแผนและเตรียมการอบรม (สํานักงานเกษตรจังหวัด และ ศทอ.)
สํานักงานเกษตรจังหวัดหารือรวมกับศทอ. ที่รับผิดชอบพื้นที่เพื่อดําเนินการ ดังนี้
7.2.1 จัดทําแผนการอบรม ตามแบบจัดทําแผนการอบรม (ภาคผนวกที่ 1) ใหสอดคลองกับตาราง
แผนปฏิบัติงานฯ ป 2567 (ภาคผนวกที่ 2) และแจงให กอป. ทราบภายในระยะเวลาที่กําหนด ทาง e-mail :
pestdiag.doae@gmail.com
7.2.2 เตรียมการอบรม ประกอบดวย
1) กํ า หนดรู ป แบบกระบวนการเรี ย นรู และจั ด เตรีย มเนื้ อหา สื่ อ ประกอบการฝ กอบรมให
ครบถวนเปนไปตามที่กําหนดไวในหลักสูตรและเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ ศักยภาพ และความพรอมของหนวยงาน
โดยเนนการเรียนรูแบบลงมือปฏิบัติ เพื่อใหเกษตรกรไดเรียนรูและเขาใจเนื้อหาหลักสูตรไดมากที่สุดจากการมีสวนรวม
ในการทํากิจกรรมผานการพูดคุยแสดงความคิดเห็น การฝกคิดและปฏิบัติจริงดวยตนเอง และการบรรยายถายทอด
ความรู จ ากวิ ทยากร โดยวางแผนจั ด เตรี ย มความพร อม และมอบหมายวิ ทยากรรวมถึ งผู รับ ผิ ดชอบที่เ กี่ย วขอ ง
ตามตัวอยางตารางเตรียมการฝกอบรม (ภาคผนวกที่ 3)
2) กําหนดและเตรีย มแบบทดสอบความรูกอน-หลังการอบรมพร อมเฉลย โดยแบบทดสอบ
ความรูตองสามารถวัดผลหรือประเมินความรูของผูรับการอบรมไดตรงตามวัตถุประสงคของหลักสูตรและเนื้อหา
การอบรมที่แตละหนวยงานไดดําเนินการ
3) เตรียมแบบสอบถามความคิดเห็นการฝกอบรม (ภาคผนวกที่ 7) ใบประกาศนียบัตรหมอพืช
ชุมชน (ภาคผนวกที่ 5) และทําเนียบหมอพืชชุมชน (ภาคผนวกที่ 6) รวมถึงสรางชองทางการติดตอสื่อสารระหวาง
หมอพืชชุมชนและเจาหนาที่ในพื้นที่
7.3 ดําเนินการจัดอบรม (สํานักงานเกษตรจังหวัด และ ศทอ.)
สํ า นั ก งานเกษตรจั ง หวั ด ร ว มกั บ วิ ท ยากรพี่ เ ลี้ ย งจาก ศทอ. ดํ า เนิ น การจั ด กระบวนการเรี ย นรู
ตามที่หนวยงานพิจารณาและกําหนดแผนไว โดย กอป. ไดกําหนดกรอบเนื้อหาหลักสูตรที่จําเปนตอการเรียนรูของ
หมอพืชชุมชนไว 2 หลักสูตรตอเนื่อง (รายละเอียดในขอ 9 เนื้อหาหลักสูตร ) ใหหนวยงานดําเนินการจัดอบรมใน
หลักสูตรที่ 1 หมอพืชชุมชน (8 รายวิชา) และหลักสูตรที่ 2 เสริมทักษะหมอพืชชุมชน (6 รายวิชา) ตามลําดับ
4

7.4 ประเมินผล (สํานักงานเกษตรจังหวัด)


7.4.1 ประเมินผลผูเขารับการอบรม แบงเปน 2 สวน ดังนี้
1) ประเมินความรู
2) ประเมินความคิดเห็นตอการอบรมและการนําไปใชประโยชน
7.4.2 เครื่องมือที่ใชสําหรับการประเมิน
1) แบบทดสอบความรูกอน-หลังการอบรม
2) แบบสอบถามความคิดเห็นการฝกอบรม
7.4.3 เกณฑการผานการประเมินเปนหมอพืชชุมชน ตองผานครบทั้ง 2 ขอดังนี้
1) ระยะเวลาเขารับการอบรมทั้งหมดตองไมนอยกวารอยละ 80 ของระยะเวลาการอบรมทั้งหมด
2) คะแนนจากการทําแบบทดสอบความรูหลังการอบรมไมนอยกวารอยละ 60 ของคะแนนเต็ม
ในแบบทดสอบ
7.5 รายงานผล (สํานักงานเกษตรจังหวัด)
รวบรวมขอมูลการดําเนินการจัดอบรม การประเมินผล และสรางทําเนียบหมอพืชชุมชนซึ่งเปนผูผานเกณฑ
การประเมินขอ 7.4.3 นํามาจัดทําเปนสรุปรายงานผลตามแบบจัดทํารายงานการอบรม (ภาคผนวกที่ 8) ในรูปแบบไฟล
word และ pdf หลังเสร็จสิ้นการอบรมภายใน 30 วัน สงให กอป. ทราบ ทาง e-mail : pestdiag.doae@gmail.com
7.6 สรางเครือขายการดําเนินงาน (สํานักงานเกษตรจังหวัด)
7.6.1 เผยแพรขอมูลทําเนียบหมอพืชชุมชน (ภาคผนวกที่ 6) ภายในพื้นที่
7.6.2 ใช ช องทางการติ ดต อสื่อสารที่ส รางขึ้น ระหวางหมอพืช ชุมชนและเจาหนาที่ในพื้น ที่สําหรับ
การติดตาม และการเขาถึง หรือรับ-สงขอมูลการวินิจฉัย สอบถาม-แกไขปญหาศัตรูพืช ขาวสารดานอารักขาพืช ฯลฯ
อยางรวดเร็วและสม่ําเสมอ
หมายเหตุ งบประมาณ เพื่อเปนคาใชจายตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยคาใชจายในการฝกอบรม การจัดงาน
และการประชุมระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕49 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕๕2 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. ๒๕๕5
8. วิทยากร
วิทยากรถายทอดความรูตามเนื้อหาหลักสูตรการอบรม ประกอบดวย
8.1 วิทยากรหลัก มีหนาที่ ดําเนินการวางแผน พิจารณาวิธีการอบรม และถายทอดความรูใหแกผูเขาอบรม
ผานกระบวนการตามที่พิจารณาแลว วามีความเหมาะสม ถู กตองครบถ วนตรงตามเนื้อหาที่ระบุในแตละรายวิช า
ของหลักสูตรการอบรม ไปจนถึงประเมินความรูผูเขาอบรมทั้งกอนและหลังไดรับการอบรม ซึ่งไดแก เจาหนาที่สงเสริม
การเกษตรผูปฏิบัติงานดานอารักขาพืชของสํานักงานเกษตรจังหวัด หรือสํานักงานเกษตรอําเภอ ที่ผานการฝกอบรม
หมอพื ช และการดํา เนิน งานคลินิ กพืช ของกรมสงเสริมการเกษตร หรือผานการอบรมหลักสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ย วของ
กับการวินิจฉัยและการจัดการศัตรูพืชที่จัดโดยกรมสงเสริมการเกษตรหรือหนวยงานที่เกี่ยวของหรือสถาบันการศึกษา
หรือเปนผูมีความรู ความสามารถ และประสบการณดานการวินิจฉัยและการจัดการศัตรูพืช
8.2 วิทยากรพี่เลี้ยง มีหนาที่ ดําเนินการเปนที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงใหคําแนะนําเกี่ยวกับกระบวนการถายทอด
ความรู ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของหลักสูตร รวมถึงขั้นตอนการประเมินความรูของผูเขาอบรมที่วิทยากรหลัก
5

ดําเนิ นการให มีความถูกตองเหมาะสมและเกิด ประสิทธิ ภาพ ไปจนถึงเปน วิทยากรสนับ สนุนการถ ายทอดความรู


ซึ่งไดแก เจาหนาที่สงเสริมการเกษตรของศูนยสงเสริมเทคโนโลยีการเกษตรดานอารักขาพืช
9. เนื้อหาหลักสูตร
หลักสูตรการฝกอบรมหมอพืชชุมชนมุงเนนการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติเพื่อใหเกิดความเขาใจนําไปสู
การปรับใชไดจริงเกี่ยวกับหลักการวินิจฉัยศัตรูพืชเบื้องตนและการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานที่มีประสิทธิภาพ
และเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ โดยหลักสูตรกําหนดใหมี
ความตอเนื่อง จํานวน 2 หลักสูตร ขอบเขตของเนื้อหารายวิชาทั้งหมดประกอบดวย
9.1 หลักสูตรที่ 1 หมอพืชชุมชน (จํานวน 8 รายวิชา)
วัตถุประสงค เพื่อเตรียมความพรอมหมอพืชชุมชนใหเขาใจบทบาทหนาที่ เกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวินิจฉัย
และการจัดการศัตรูพืชเบื้องตน สามารถนําไปปรับใชในการทําการเกษตรของตนเองได
รายวิชาที่ 1 บทบาทหนาที่ของหมอพืชชุมชน และความสําคัญของการวินิจฉัยศัตรูพืช
คํา อธิ บายรายวิชา เพื่อให เ กิดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของหมอพืช ชุมชน สามารถแนะนําการ
ใหบริการคลินิกพืชของกรมสงเสริมการเกษตร เชน ที่ตั้ง การใหบริการ เปนตน และเตรียมความพรอมกอนเขาสูการ
เรียนรู ทราบถึงความสําคัญของการวินิจฉัยเพื่อนําไปสูการจัดการศัตรูพืชที่ถูกตองเหมาะสม
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการเสนอความคิดเห็น และการบรรยายใหความรู
หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 2 การจัดการเพื่อการปองกันศัตรูพืช
คําอธิบายรายวิชา เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการอยางเปนระบบเพื่อการปองกันการเขาทําลาย
หรื อลดความเสีย หายที่ เ กิ ดจากศั ตรู พืช ไดแก หลักการปลูกพืชหรือระบบการผลิตพืช เชน ปจจัย ที่มีผ ลตอการ
เจริญเติบโตของพืช (ธาตุอาหาร แสง อุณหภูมิ ความชื้น ฯลฯ) และการจัดการแปลงที่ดีเพื่อปองกันศัตรูพืช เชน
การเขตกรรม การจัดการดินและน้ํา การใสปุย ปฏิทินการปลูกพืช เปนตน โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการเสนอความคิดเห็น ถาม-ตอบ ฝกปฏิบั ติ
วิ เ คราะห พืช เศรษฐกิ จ ในพื้ น ที่ การจั ดทํ า แผนการจัดการเพื่ อปอ งกัน ศัตรู พืช สํ าคัญ และการบรรยายใหค วามรู
ควรยกตัวอยางพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ประกอบการบรรยายใหสอดคลองกับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความ
เหมาะสม
รายวิชาที่ 3 ลักษณะอาการผิดปกติของพืช
คํ า อธิ บ ายรายวิ ชา เพื่ อ ให ส ามารถอธิ บ ายหรื อ จํ า แนกลั ก ษณะอาการผิ ด ปกติ ข องพื ช ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในรู ป แบบต า งๆ
เมื่อเปรียบเทียบกับตนพืชปกติได โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการถาม-ตอบ ฝกปฏิบัติโดยการอธิบาย การเขียน
หรือวาดภาพบรรยายลักษณะอาการผิดปกติจากตัวอยางพืชจริงที่หาไดในพื้นที่หรือภาพประกอบที่มีความชัดเจน
และการบรรยายใหความรู ควรยกตัวอยางพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ประกอบการบรรยายใหสอดคลอง
กับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
6

รายวิชาที่ 4 สาเหตุของอาการผิดปกติของพืช
คํ า อธิ บ ายรายวิ ช า เพื่ อ ให ส ามารถจํ า แนกกลุม สาเหตุของอาการผิ ดปกติ ที่พ บได เบื้ องตน ทั้ง จากสิ่ง มีชี วิต และ
สิ่งไมมีชีวิต โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่
รูปแบบการถ า ยทอดความรู ตั วอย างเชน เรีย นรูแบบมีสว นรว มโดยการถาม-ตอบ ฝกปฏิบัติโ ดยการอธิบ าย
หรือกิจกรรมฝกจําแนกกลุมสาเหตุจากตัวอยางพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญที่หาไดในพื้นที่ หรือภาพประกอบที่มี
ความชัดเจน และการบรรยายใหความรู ควรยกตัวอยางพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ประกอบการบรรยาย
ใหสอดคลองกับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 5 การวินิจฉัยศัตรูพืชเบื้องตน
คําอธิบายรายวิชา เพื่อใหเกิดความเขาใจหลักการวินิจฉัยและสามารถวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องตนได
โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต ฝกปฏิบัติโดยการอธิบาย หรือ
กิจกรรมฝกวินิจฉัยอาการผิดปกติจากตัวอยางพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญที่หาไดในพื้นที่ หรือภาพประกอบที่มี
ความชัดเจน และการบรรยายใหความรู ควรยกตัวอยางพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ประกอบการบรรยาย
ใหสอดคลองกับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 6 การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน
คํ า อธิ บ ายรายวิ ช า เพื่ อ ให เ กิ ด ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ หลั ก การและวิ ธี ก ารจั ด การศั ต รู พื ช ด ว ยวิ ธี ผ สมผสานที่ มี
ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทของตัวเกษตรกรและพื้นที่ บนพื้นฐานสําคัญ 5 ประการ ไดแก มีประสิทธิภาพ
เหมาะสมกั บสภาพพื้น ที่ เกษตรกรสามารถปฏิบั ติได คุ มคากับ การลงทุน และมีความปลอดภั ยตอตั วเกษตรกร
สภาพแวดลอม และผูบริโภค โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่
รู ปแบบการถ า ยทอดความรู ตั ว อย า งเช น เรีย นรู แบบมีส ว นรว มโดยการถาม-ตอบ ฝก ปฏิบัติโ ดยการอธิบ าย
หรือกิจกรรมฝกการเลือกใชวิธีการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสม การจัดทําปฏิทินการจัดการศัตรูพืช หรือทําความรูจัก
Pest Management Decision Guide (PMDG) ของพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ และการบรรยาย
ให ความรู ควรยกตัว อย างพืช เศรษฐกิจ และศัตรูพืชสําคัญในพื้น ที่ป ระกอบการบรรยายใหส อดคลองกับเนื้อหา
หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 7 การสืบคนขอมูลและแหลงอางอิง
คําอธิบายรายวิชา เพื่อสามารถสืบคนและพิจารณาเลือกใชขอมูลจากแหลงอางอิงทางวิชาการดานการจัดการศัตรูพืช
ที่นาเชื่อถือเพื่อนํามาใชประกอบการวินิจฉัยและการจัดการศัตรูพืชไดอยางถูกตอง
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต ฝกปฏิบัติโดยกิจกรรมฝกหัดสืบคน
ข อ มู ล การจั ดการศั ตรู พืช และการบรรยายให ค วามรู ควรยกตั ว อย างพืช เศรษฐกิจ และศั ตรู พื ช สํ าคั ญในพื้ น ที่
ประกอบการบรรยายใหสอดคลองกับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 8 การเก็บตัวอยางและการถายภาพเพื่อการวินิจฉัย
คํ า อธิ บายรายวิ ชา เพื่ อให เ กิ ดความเข า ใจเกี่ย วกับ วิธีการและสามารถเก็บ ตัว อยางพืช ตัว อยางแมลงศัตรูพื ช
และตัวอยางดินไดอยางถูกตอง รวมถึงสามารถถายภาพอาการผิดปกติของพืชเพื่อการวินิจฉัยไดอยางชัดเจน
7

รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต ฝกปฏิบัติโดยกิจกรรมถายภาพอาการ


ผิดปกติของพืชจากตัวอยางจริงดว ยโทรศัพทมือถือ และการบรรยายใหความรู ควรยกตัว อยางพืชเศรษฐกิจและ
ศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ประกอบการบรรยายใหสอดคลองกับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
9.2 หลักสูตรที่ 2 เสริมทักษะหมอพืชชุมชน (จํานวน 6 รายวิชา)
วัต ถุประสงค เพื่อพัฒ นาศั กยภาพของหมอพืช ชุมชนโดยการเสริมสรางทักษะดานการจัดการศัตรูพืช รวมถึง
การวินิจฉัยศัตรูพืชเบื้องตนไดอยางมีประสิทธิภาพ เพิ่มขีดความสามารถขยายไปสูการใหบริการเกษตรกรในชุมชน
ภายใตเครือขายคลินิกพืชได
รายวิชาที่ 1 การจัดการศัตรูพืชอยางมีประสิทธิภาพ
คําอธิบายรายวิชา เพื่อเสริมความรูดานการจัดการหรือควบคุมศัตรูพืชดวยวิธีผสมผสาน โดยเพิ่มเติมเนื้อหาวิธีการ
ยกตั วอยางใหล ะเอีย ดมากขึ้น ได แก วิ ธีเ ขตกรรม วิธีกล วิธีกายภาพ วิธีฟสิกส ชีววิธี สารสกัดธรรมชาติจากพืช
และการใช ส ารเคมี ภายใต พื้น ฐานสํ า คัญ 5 ประการ ไดแก มีป ระสิทธิภ าพ เหมาะสมกับ สภาพพื้น ที่ เกษตรกร
สามารถปฏิบัติได คุมคากับการลงทุน และมีความปลอดภัยตอตัวเกษตรกร สภาพแวดลอม และผูบริโภค สามารถ
เปรียบเทียบขอดีขอจํากัดของแตละวิธีการ รวมถึงความรูเกี่ยวกับหลักการสํารวจ ติดตาม เฝาระวังสถานการณศัตรูพืช
ในแปลง หรืออาจเพิ่มเติมเกี่ยวกับการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร (AESA) เมื่อพิจารณาขอมูลรอบดาน เชน ชนิดและปริมาณ
ของศัตรูพืช ระยะการเจริญเติบโตของศัตรูพืชหรือพืช สภาพแวดลอม ประกอบกันแลวสามารถตัดสินใจเลือกใชวิธี
การจัดการเพื่อการควบคุมศัตรูพืชไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต กรณีศึกษา ฐานเรียนรู ฝกปฏิบัติโดย
กิจกรรมฝกการสํารวจแปลง ฝกการเลือกใชวิธีการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมในสถานการณหรือขอจํากัดที่แตกตางกัน
และการบรรยายใหความรู ควรยกตัวอยางพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ประกอบการบรรยายใหสอดคลอง
กับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 2 การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี
คําอธิบายรายวิชา เพื่อเสริมความรูความเขาใจหลักการจัดการหรือควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี เชน หลักการพิจารณา
เลือกและวิธีการใชสารชีวภัณฑและแมลงศัตรูธรรมชาติที่ถูกตองเหมาะสมกับชนิดศัตรูพืชและใหเกิดประสิทธิภาพ
ขอดีและขอจํากัดของการจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี หลักการผลิตขยายชีวภัณฑพื้นฐานที่ใชจัดการศัตรูพืชในพื้นที่
อยางงาย เปนตน
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต ฐานเรียนรู ฝกปฏิบัติโดยกิจกรรม
ฝกการเลือกใชชีวภัณฑและแมลงศัตรูธรรมชาติที่เหมาะสมกับชนิดศัตรูพืชในสถานการณหรือขอจํากัดที่แตกตางกัน
และการบรรยายใหความรู ควรยกตัวอยางพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ประกอบการบรรยายใหสอดคลอง
กับเนื้อหา หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 3 การควบคุมศัตรูพืชดวยสารเคมี
คําอธิบายรายวิชา เพื่อเสริมความรูความเขาใจหลักการจัดการหรือควบคุมศัตรูพืชโดยใชสารเคมีทางการเกษตร
เชน หลักการพิจารณาเลือกและวิธีการใชสารเคมีที่ถูกตองและปลอดภัย ขอจํากัดหรือขอควรระวังในการควบคุม
ศัตรูพืชดวยสารเคมี เปนตน
8

รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต ฐานเรียนรู ฝกปฏิบัติโดยกิจกรรม


ฝกการเลือกใชสารเคมีที่เหมาะสมกับชนิดศัตรูพืชในสถานการณหรือขอจํากัดที่แตกตางกัน และการบรรยายใหความรู
ควรยกตัวอยางพื ชเศรษฐกิจ และศัตรูพืช สําคัญในพื้น ที่ประกอบการบรรยายใหสอดคลองกับเนื้อหา หรือวิธีอื่น ๆ
โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 4 การสัมภาษณและการเก็บขอมูลเพื่อการวินิจฉัยศัตรูพืช
คําอธิบายรายวิชา เพื่อใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับขอมูลพื้นฐานที่สําคัญสําหรับใชในการวินิจฉัยอาการผิดปกติของ
พืช สามารถทําการสัมภาษณหรือเก็บขอมูลที่จําเปนในการวินิจฉัยเบื้องตน หรือแนะนําผูอื่นได รวมไปถึงสงตอขอมูล
สําหรับการวินิจฉัยที่เปนประโยชนหรือประสานงานกับเจาหนาที่หมอพืชในพื้นที่ได
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต ฝกปฏิบัติโดยกิจกรรมฝกการเก็บขอมูล
กรอกแบบบันทึกการวินิจฉัยอาการผิดปกติ การสัมภาษณเกษตรกร หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 5 ฝกปฏิบัติวินิจฉัยศัตรูพืชภาคสนาม
คําอธิบายรายวิชา เพื่อใหเกิดทักษะความสามารถในการสังเกตและการเก็บขอมูลอาการผิดปกติของพืช และอื่นๆ
ในสภาพแปลงปลูกจริง เพื่อใชประกอบการวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเศรษฐกิจสําคัญในพื้นที่
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการสาธิต ฝกปฏิบัติโดยกิจกรรมฝกการสังเกต
และวิ นิ จ ฉั ย อาการผิ ด ปกติ ข องพื ช ในสภาพแปลงจริ ง ควรยกตั ว อย า งพื ช เศรษฐกิ จ และศั ต รู พื ช สํ า คั ญ ในพื้ น ที่
หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
รายวิชาที่ 6 รูจักคลินิกพืชและเครือขายการดําเนินงาน
คําอธิบายรายวิชา เพื่อใหเกิดความเขาใจและทราบขอมูลเกี่ยวกับคลินิกพืช และบทบาทของหมอพืชชุมชนที่มีตอ
เครือขายการดําเนินงานอารักขาพืชของกรมสงเสริมการเกษตร รวมไปถึงประโยชนที่หมอพืชชุมชนจะไดรับทั้งตอ
ตนเองและสวนรวม
รูปแบบการถายทอดความรู ตัวอยางเชน เรียนรูแบบมีสวนรวมโดยการเสนอความคิดเห็น ถาม-ตอบ และบรรยาย
ใหความรู หรือวิธีอื่นๆ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
10. ผลที่คาดวาจะไดรับ
10.1 หมอพืชชุมชน (เกษตรกร) สามารถวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องตนได โดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจหลัก
และศัตรูพืชสําคัญในพื้นที่ และสามารถจัดการปญหาศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานอยางถูกตองเหมาะสมไดดวยตนเอง
ตลอดจนสามารถบริการใหคําแนะนําที่ถูกตองแกเกษตรกรในพื้นที่ไดเชนเดียวกัน
10.2 เครือขายดําเนินงานคลินิกพืชของกรมสงเสริมการเกษตรเกิดการพัฒนาและเชื่อมโยงใหครอบคลุม
ทั่วถึ งไปสูร ะดั บชุมชนหรือหมู บานผานการมีสวนรว มในการติดตอประสานงานที่เกี่ย วของของหมอพืช ชุมชนกั บ
เจาหนาที่หมอพืชหรือนักวิชาการสงเสริมการเกษตรในพื้นที่
11. ผูประสานงาน (สวนกลาง)
กลุมสงเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองสงเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุย โทรศัพท 02 561 4663
e-mail : pestdiag.doae@gmail.com
9

12. แผนผังความเชื่อมโยงของคลินิกพืช หมอพืช และหมอพืชชุมชน

- ศูนยกลางการประสานงาน สนับสนุนวิชาการ แนะนํา ถายทอดเทคโนโลยี


กองสงเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุย การวินิจฉัยและการจัดการศัตรูพืชทีเ่ หมาะสม
- จัดทําแผนพัฒนาและขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพหมอพืช/หมอพืชชุมชน
และการดําเนินงานคลินกิ พืช รวมถึงการเชื่อมโยงเครือขาย
- ติดตามและประเมินผลหมอพืช/หมอพืชชุมชน และการดําเนินงานคลินกิ พืช

- ศูนยกลางของภูมิภาค ใหบริการ/สนับสนุนการตรวจวินิจฉัยและใหคําแนะนําการจัดการ
ศัตรูพืชที่เหมาะสม
ศูนยสงเสริมเทคโนโลยีการเกษตรดานอารักขาพืช - สงเสริมและถายทอดเทคโนโลยีการวินจิ ฉัยระดับพื้นทีแ่ ละจัดการศัตรูพชื ดวยวิธีผสมผสาน
- ผลิต/ขยาย และสนับสนุนชีวภัณฑเบื้องตนที่เหมาะสมกับชนิดศัตรูพืชและบริบทของพื้นที่
- บันทึก/ตรวจสอบขอมูลการใหบริการคลินิกพืชผานระบบสารสนเทศเพื่อการอารักขาพืช

- ใหบริการตรวจวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องตน และใหคําแนะนํา
สํานักงานเกษตรจังหวัด (ระดับจังหวัด) การจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ (จําแนกชนิดสาเหตุหรือชนิดศัตรูพชื ได
เชน เชือ้ ราโรคแอนแทรคโนส ดวงเตาแตงแดง)
- ถายภาพ เก็บตัวอยาง และขอมูลอาการผิดปกติของพืชเพือ่ การวินิจฉัย
สํานักงานเกษตรอําเภอ (ระดับอําเภอ) - บันทึก/ตรวจสอบขอมูลการใหบริการคลินิกพืชผานระบบสารสนเทศเพื่อการอารักขาพืช
- ประสานงานเครือขายคลินกิ พืช หมอพืชชุมชน และเกษตรกรในพืน้ ที่

- วินจิ ฉัยอาการผิดปกติของพืชและจัดการศัตรูพืชเบื้องตน (จําแนกกลุมสาเหตุหลักได


เชน โรค แมลง สิ่งแวดลอม) ในพืชเศรษฐกิจประจําพืน้ ที่
หมอพืชชุมชน (ระดับหมูบาน) - ถายภาพ เก็บตัวอยาง และขอมูลอาการผิดปกติของพืชเบื้องตน
- รับสงขอมูล หรือแจงปญหาศัตรูพืช ประสานงานกับเกษตรกรและเครือขายเจาหนาที่
หมอพืชในพื้นที่
10

ภาคผนวก

หมายเหตุ ดาวนโหลดไฟลคูมือฯ ไดที่ QR code นี้


11

แบบจัดทําแผนการฝกอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน ป 2567


จังหวัด ..............................................

การดําเนินงาน หมายเหตุ
กิจกรรม
วัน/เดือน/ป สถานที่
1. จัดทําแผนการอบรม
2. เปดรับสมัคร และคัดเลือกผูเขาอบรม
3. เตรียมเนื้อหาและสื่อเพื่อการอบรม
4. แผนการอบรม (ขึ้นอยูกับผูรบั ผิดชอบกําหนด)
หลักสูตรที่..............ครั้งที่ ......... เปาหมาย...........คน
หลักสูตรที่..............ครั้งที่ ......... เปาหมาย...........คน
หลักสูตรที่..............ครั้งที่ ......... เปาหมาย...........คน
5. จัดสงรายงานผลการอบรม

หมายเหตุ :
เปาหมายเดิม (ไมมีกิจกรรมตามขอ 2) ขอใหรายงานฯ ภายในเดือนธันวาคม 2566
เปาหมายใหม ขอใหรายงานฯ ภายในเดือนมิถุนายน 2567
ทาง e - mail : pestdiag.doae@gmail.com

ลงชื่อ..............................................ผูรายงาน
(.....................................................)
เบอรโทรศัพท.................................................
วันที่...........................................
12

ตารางแผนปฏิบัติงาน 1 การฝกอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน ปงบประมาณ 2567 (เปาหมายเดิมตอเนื่องไปสูหลักสูตรที่ 2)

ระยะเวลาดําเนินงาน
หมายเหตุ
กิจกรรม ต.ค.-66 พ.ย.-66 ธ.ค.-66 ม.ค.-67 ก.พ.-67 มี.ค.-67 ผูรับผิดชอบ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
การพัฒนาหมอพืชชุมชน (เปาหมาย ....คน/........... บาท)
งบประมาณโอนจัดสรรแลว
1. จัดทําและรายงานแผนการอบรม

2. เปดรับสมัคร และคัดเลือกผูเขาอบรม

3. เตรียมเนื้อหาและสื่อเพื่อการอบรม (กษจ. หารือรวมกับ ศทอ.)

4. ขออนุมัติจัดอบรมและที่เกี่ยวของ

5. จัดการอบรมตามแผน

6. สรุปรายงานผลการอบรม

หมายเหตุ ชวงระยะเวลาดําเนินงานปรับเปลีย่ นไดตามความเหมาะสมของผูดําเนินการ

12
13

ตารางแผนปฏิบัติงาน 2 การฝกอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน ปงบประมาณ 2567 (เปาหมายใหม)

ระยะเวลาดําเนินงาน
หมายเหตุ
กิจกรรม เม.ย.-67 พ.ค.-67 มิ.ย.-67 ก.ค.-67 ส.ค.-67 ก.ย.-67 ผูรับผิดชอบ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
การพัฒนาหมอพืชชุมชน (เปาหมาย ....คน/........... บาท)
คาดวางบประมาณโอนจัดสรรแลว
1. จัดทําและรายงานแผนการอบรม

2. เปดรับสมัคร และคัดเลือกผูเขาอบรม

3. เตรียมเนื้อหาและสื่อเพื่อการอบรม (กษจ. หารือรวมกับ ศทอ.)

4. ขออนุมัติจัดอบรมและที่เกี่ยวของ

5. จัดการอบรมตามแผน

6. สรุปรายงานผลการอบรม

หมายเหตุ ชวงระยะเวลาดําเนินงานปรับเปลีย่ นไดตามความเหมาะสมของผูดําเนินการ

13
14

ตารางเตรียมการอบรม หลักสูตรการพัฒนาหมอพืชชุมชน ป .............. (ตัวอยางสําหรับเจาหนาที่)


หลักสูตรที่ 1 หมอพืชชุมชน (8 รายวิชา)

เวลา รายวิชา วิธีการ/รายละเอียด เตรียมการ/สื่อการสอน ผูรับผิดชอบ


หลักสูตรที่ 1 หมอพืชชุมชน (จํานวน 7 รายวิชา)
วัน/ เวลา - ลงทะเบียน ติดปายชื่อผูเขาอบรม และถายภาพ - เตรียมถายภาพผูอบรมรายบุคคลสําหรับจัดทํา - ใบลงทะเบียน และปายชื่อ .......
ทําเนียบฯ ทําเนียบหมอพืชชุมชนประจําพื้นที่ - จุดถายภาพ (พื้นหลังสีพื้น) .......
- พิธีเปด/ชี้แจงวัตถุประสงคและรายละเอียดการ - ชี้แจงวัตถุประสงคและรายละเอียด - คํากลาวพิธีเปด .......
ฝกอบรม - ถายภาพหมู - แบบทดสอบกอนอบรม (Pre-test) พรอมเฉลย .......
- ทําแบบทดสอบกอนอบรม (Pre-test) - แนะนําวิทยากร
- แนะนําตัวผูเขาอบรม
รายวิชาที่ 1 บทบาทหนาที่ของหมอพืชชุมชน และความสําคัญของการวินิจฉัยศัตรูพืช
วัน/ เวลา - บทบาทหนาที่ของหมอพืชชุมชน - บรรยายบทบาทหนาที่ของหมอพืชชุมชน - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ความสําคัญของการวินิจฉัยศัตรูพืช - บรรยายความสําคัญของการวินจิ ฉัยเพื่อนําไปสูการ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
จัดการศัตรูพืชที่ถูกตองเหมาะสม
- ถาม-ตอบ /แสดงขอคิดเห็น
รายวิชาที่ 2 การจัดการเพื่อการปองกันศัตรูพืช
วัน/ เวลา - ความสําคัญของการจัดการเพื่อการปองกันศัตรูพืช - บรรยายความสําคัญของการจัดการอยางเปนระบบ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ฝกวิเคราะหพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ เพื่อการปองกันการเขาทําลายหรือลดความเสียหายที่ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- หลักการปลูกพืชหรือระบบการผลิตพืชที่ดี เกิดจากศัตรูพืช - เตรียมกระดาน กระดาษ ดินสอ สี หรืออื่นๆ .......
- บรรยายปจจัยที่มผี ลตอการปลูกพืชหรือการเขาทําลาย
ของศัตรูพืช
- กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน วิเคราะหพืชเศรษฐกิจในพื้นที่
จัดทําปฏิทินการปลูกพืช
รายวิชาที่ 3 ลักษณะอาการผิดปกติของพืช
วัน/ เวลา - ลักษณะอาการผิดปกติของพืช - บรรยายลักษณะอาการผิดปกติของพืชในรูปแบบตางๆ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ฝกจําแนกอาการผิดปกติ (เนนพืชเศรษฐกิจ) - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน อธิบายลักษณะอาการผิดปกติ - เตรียมตัวอยางพืชเศรษฐกิจในพืน้ ที่ที่เกิดอาการผิดปกติ ...... .
ที่เกิดขึ้น จําแนกรูปแบบอาการผิดปกติ กระดาน กระดาษ ดินสอ สี หรืออื่นๆ

14
15

เวลา รายวิชา วิธีการ/รายละเอียด เตรียมการ/สื่อการสอน ผูรับผิดชอบ


รายวิชาที่ 4 สาเหตุของอาการผิดปกติของพืช
วัน/ เวลา - กลุมสาเหตุของอาการผิดปกติจากสิ่งมีชีวิตและ - บรรยาย/สาธิตเพื่อจําแนกกลุม สาเหตุของอาการ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
สิ่งไมมีชีวิต ผิดปกติที่พบไดเบื้องตน ทั้งจากสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ฝกจําแนกกลุมสาเหตุของอาการผิดปกติเบื้องตน (เนนพืชเศรษฐกิจ) - เตรียมตัวอยางพืชเศรษฐกิจในพืน้ ที่ที่เกิดอาการผิดปกติ .......
- กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน จําแนกกลุมสาเหตุอาการ กระดาน กระดาษ ดินสอ สี หรืออื่นๆ
ผิดปกติ
รายวิชาที่ 5 การวินิจฉัยศัตรูพืชเบื้องตน
วัน/ เวลา - หลักการวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องตน - บรรยาย/สาธิตหลักการวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ฝกวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องตน เบื้องตน (เนนพืชเศรษฐกิจ) - เตรียมตัวอยางพืชเศรษฐกิจในพืน้ ที่ที่เกิดอาการผิดปกติ .......
- กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกการวินิจฉัยอาการผิดปกติ กระดาน กระดาษ ดินสอ สี หรืออื่นๆ
จากตัวอยางพืชจริง
รายวิชาที่ 6 การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน
วัน/ เวลา - วิธีการจัดการควบคุมศัตรูพืช - บรรยาย/สาธิตวิธีการจัดการควบคุมศัตรูพืช ไดแก - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- หลักการจัดการศัตรูพืชดวยวิธีผสมผสานหรือ IPM วิธีเขตกรรม วิธีกล วิธีฟสิกส ชีววิธี วิธีใชสารสกัดจาก - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
ที่มีประสิทธิภาพ ธรรมชาติและสารเคมี - เตรียมตัวอยางพืชเศรษฐกิจในพืน้ ที่ที่เกิดอาการผิดปกติ .......
- ฝกการเลือกใชวิธีการจัดการศัตรูพืช - บรรยายหลักการจัดการศัตรูพืชดวยวิธีผสมผสานหรือ กระดาน กระดาษ ดินสอ สี
IPM ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทของตัว
เกษตรกรและพื้นที่ (เนนพืชเศรษฐกิจ) บนพื้นฐานสําคัญ
5 ประการ
- กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกการเลือกใชวิธีการจัดการ
ศัตรูพืชที่เหมาะสม
รายวิชาที่ 7 การสืบคนขอมูลและแหลงอางอิง
วัน/ เวลา - วิธีการสืบคนขอมูล และการพิจารณาแหลงอางอิง - บรรยาย /สาธิตวิธีการสืบคนขอมูล และหลักการ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ฝกสืบคนขอมูลจากแหลงอางอิงที่นาเชื่อถือ พิจารณาจากตัวอยางแหลงอางอิงที่นาเชื่อถือ - เตรียมเอกสารวิชาการ แผนพับ คูมือ คําแนะนํา ใน .......
- กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกการสืบคนขอมูลที่เกี่ยวของ รูปแบบฉบับจริง หรือไฟลดิจิทัลสําหรับการดาวนโหลดผาน
กับการวินิจฉัยหรือการจัดการศัตรูพืชจากแหลงขอมูล เว็บไซตและคิวอารโคด อุปกรณทเี่ ชื่อมตออินเตอรเน็ตได
ตางๆ เชน โทรศัพทมือถือ แทปเล็ต คอมพิวเตอร หรืออื่นๆ ที่
เหมาะสม

15
16

เวลา รายวิชา วิธีการ/รายละเอียด เตรียมการ/สื่อการสอน ผูรับผิดชอบ


รายวิชาที่ 8 การเก็บตัวอยางพืชและการถายภาพเพื่อการวินิจฉัย
วัน/ เวลา - ความสําคัญของการเก็บตัวอยางและภาพถายเพื่อ - บรรยาย /สาธิตวิธีการเก็บตัวอยางพืช ตัวอยางแมลง - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
การวินิจฉัย ศัตรูพืช ตัวอยางดิน สําหรับการสงตรวจวินิจฉัย รวมถึง - เตรียมตัวอยางพืชเศรษฐกิจในพืน้ ที่ที่เกิดอาการผิดปกติ .......
- การเก็บตัวอยางพืช วิธีการสงตอและชองทางการสงตอขอมูลหรือตัวอยาง หรือแมลงศัตรูพืช อุปกรณสําหรับการเก็บตัวอยางพืช แมลง
- การเก็บตัวอยางแมลงศัตรูพืช ดวย ศัตรูพืช ดิน และอุปกรณสําหรับการถายภาพที่หาไดงาย
- การเก็บตัวอยางดิน - กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกการถายภาพอาการผิดปกติ เชน โทรศัพทมือถือ
- การถายภาพเพื่อการวินิจฉัย ของพืชหรือแมลงศัตรูพืชจากตัวอยางจริงดวย
โทรศัพทมือถือ
วัน/ เวลา - ทําแบบทดสอบหลังอบรม (Post-test) - ทําแบบทดสอบและเฉลยคําตอบ - แบบทดสอบกอนอบรม (Post-test) พรอมเฉลย .......
- ppt สําหรับเฉลยคําตอบ .......
- ตรวจคําตอบ รวมคะแนน .......
วัน/ เวลา - มอบใบประกาศนียบัตรผูผานการอบรม - คัดเลือกผูผ านเกณฑการอบรมเขารับ - เตรียมพิมพใบประกาศนียบัตร .......
- ถายภาพ .......
วัน/ เวลา - สรุปและพิธีปดการอบรม - เตรียมสรุปและคํากลาวพิธีปด .......

หมายเหตุ:
1. ตารางเตรียมการอบรมนีเ้ ปนเพียงตัวอยาง วิธีการ/รายละเอียด/สื่อการสอน สามารถปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสมและความครบถวนของเนื้อหาที่หลักสูตรกําหนด
2. กําหนดการ วันและเวลา ในการจัดอบรมขึ้นอยูกับผูร ับผิดชอบพิจารณาตามความเหมาะสมและงบประมาณ
3. หลักสูตรพัฒนาหมอพืชชุมชน ประกอบดวย หลักสูตรที่ 1 หมอพืชชุมชน (8 รายวิชา) และหลักสูตรที่ 2 เสริมทักษะหมอพืชชุมชน (6 รายวิชา) ดําเนินการอบรมตามลําดับ
4. สํานักงานเกษตรจังหวัด และศูนยสงเสริมเทคโนโลยีการเกษตรดานอารักขาพืช พิจารณาจัดเตรียมการอบรม และมอบหมายวิทยากร รวมกันตามความเหมาะสม

16
17

ตารางเตรียมการอบรม หลักสูตรการพัฒนาหมอพืชชุมชน ป .................(ตัวอยางสําหรับเจาหนาที่)


หลักสูตรที่ 2 เสริมทักษะหมอพืชชุมชน (6 รายวิชา)

เวลา รายวิชา วิธีการ/รายละเอียด เตรียมการ/สื่อการสอน ผูรับผิดชอบ


หลักสูตรที่ 2 เสริมทักษะหมอพืชชุมชน (6 รายวิชา)
วัน/ เวลา - ลงทะเบียน ติดปายชื่อผูเขาอบรม และถายภาพ - เตรียมถายภาพผูอบรมรายบุคคลสําหรับจัดทํา - ใบลงทะเบียน และปายชื่อ .......
ทําเนียบฯ ทําเนียบหมอพืชชุมชนประจําพื้นที่ - จุดถายภาพ (พื้นหลังสีพื้น) .......
- พิธีเปด/ชี้แจงวัตถุประสงคและรายละเอียดการ - ชี้แจงวัตถุประสงคและรายละเอียด - คํากลาวพิธีเปด .......
ฝกอบรม - ถายภาพหมู - แบบทดสอบกอนอบรม (Pre-test) พรอมเฉลย .......
- ทําแบบทดสอบกอนอบรม (Pre-test) - แนะนําวิทยากร
- แนะนําตัวผูเขาอบรม
รายวิชาที่ 1 การจัดการศัตรูพืชอยางมีประสิทธิภาพ
วัน/ เวลา - การสํารวจและติดตามสถานการณศัตรูพืชในแปลง - บรรยายการสํารวจและติดตามสถานการณศตั รูพืชใน - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- การจัดทําปฏิทินจัดการศัตรูพืช แปลง (เนนพืชเศรษฐกิจ) - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ศึกษาตัวอยางของ PMDG - บรรยายเกีย่ วกับปฏิทินการจัดการศัตรูพืชและ PMDG - เตรียมกระดาน กระดาษ ดินสอ สี ตัวอยางของปฏิทินการ
- ฝก - กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกลงมือทําปฏิทินการจัดการ จัดการศัตรูพืชและตัวอยางของ PMDG หรืออื่นๆ
ศัตรูพืช (เนนพืชเศรษฐกิจ)
รายวิชาที่ 2 การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี
วัน/ เวลา - หลักการพิจารณาเลือกและวิธีการใชสารชีวภัณฑ - บรรยายหลักการพิจารณาเลือกและวิธีการใชสารชีวภัณฑ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
และแมลงศัตรูธรรมชาติ และแมลงศัตรูธรรมชาติที่ถูกตองเหมาะสมกับชนิด - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- ขอดีและขอจํากัดของการจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี ศัตรูพืชและใหเกิดประสิทธิภาพ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- หลักการผลิตขยายชีวภัณฑพื้นฐาน - บรรยายขอดีและขอจํากัดของการจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี - เตรียมอุปกรณสาธิต/ฐานเรียนรู หรืออื่นๆ .......
- ฝก - บรรยาย/สาธิต หลักการผลิตขยายชีวภัณฑพื้นฐานที่
ใชจัดการศัตรูพืชในพื้นที่อยางงาย
- กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกการเลือกใชชีวภัณฑกับชนิด
ศัตรูพืช
รายวิชาที่ 3 การควบคุมศัตรูพืชดวยสารเคมี
วัน/ เวลา - หลักการพิจารณาเลือกและวิธีการใชสารเคมีที่ - บรรยายหลักการจัดการหรือควบคุมศัตรูพืชโดยใช - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
ถูกตองและปลอดภัย สารเคมีทางการเกษตร - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......

17
18

เวลา รายวิชา วิธีการ/รายละเอียด เตรียมการ/สื่อการสอน ผูรับผิดชอบ


- ขอจํากัดในการควบคุมศัตรูพืชดวยสารเคมี - บรรยายขอจํากัดหรือขอควรระวังในการควบคุม
ศัตรูพืชดวยสารเคมี
รายวิชาที่ 4 การสัมภาษณและการเก็บขอมูลเพื่อการวินิจฉัยศัตรูพืช
วัน/ เวลา - การเก็บขอมูลสําหรับการวินิจฉัย - บรรยาย/สาธิต การเก็บขอมูลสําคัญเพื่อประกอบการ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- การกรอกแบบบันทึกอาการผิดปกติของพืช วินิจฉัยศัตรูพืช - เตรียมตัวอยางพืชเศรษฐกิจในพืน้ ที่ที่เกิดอาการผิดปกติ .......
- ฝกสัมภาษณเกษตรกรเพื่อเก็บขอมูลประกอบการ - กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกสัมภาษณเกษตรกร หรือฝก และแบบบันทึกอาการผิดปกติของพืช .......
วินิจฉัย กรอกแบบบันทึกอาการผิดปกติของพืช
รายวิชาที่ 5 ฝกปฏิบัติวินิจฉัยศัตรูพืชภาคสนาม
วัน/ เวลา - ฝกสังเกตและการเก็บขอมูลอาการผิดปกติของพืช - กิจกรรมฝกปฏิบัติ เชน ฝกการวินิจฉัยโดยการสังเกต - เตรียมแปลงปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ .......
ในสภาพแปลงปลูกจริง อาการผิดปกติของพืชและเก็บขอมูลประกอบในสภาพ
แปลงจริง
รายวิชาที่ 6 รูจักคลินิกพืชและเครือขายการดําเนินงาน
วัน/ เวลา - การใหบริการคลินิกพืช - บรรยายการใหบริการคลินิกพืช - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
- บทบาทของหมอพืชชุมชน - บรรยายบทบาท/ความสําคัญของหมอพืชชุมชนที่มีตอ - ppt หรือสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวของ .......
เครือขายการดําเนินงานอารักขาพืชของกรมสงเสริม
การเกษตร
วัน/ เวลา - ทําแบบทดสอบหลังอบรม (Post-test) - ทําแบบทดสอบและเฉลยคําตอบ - แบบทดสอบกอนอบรม (Post-test) พรอมเฉลย .......
- ppt สําหรับเฉลยคําตอบ .......
- ตรวจคําตอบ รวมคะแนน .......
วัน/ เวลา - มอบใบประกาศนียบัตรผูผานการอบรม - คัดเลือกผูผ านเกณฑการอบรมเขารับ - เตรียมพิมพใบประกาศนียบัตร .......
- ถายภาพ .......
วัน/ เวลา - สรุปและพิธีปดการอบรม - เตรียมสรุปและคํากลาวพิธีปด .......

หมายเหตุ:
1. ตารางเตรียมการอบรมนีเ้ ปนเพียงตัวอยาง วิธีการ/รายละเอียด/สื่อการสอน สามารถปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสมและความครบถวนของเนื้อหาที่หลักสูตรกําหนด
2. กําหนดการ วันและเวลา ในการจัดอบรมขึ้นอยูกับผูร ับผิดชอบพิจารณาตามความเหมาะสมและงบประมาณ
3. หลักสูตรพัฒนาหมอพืชชุมชน ประกอบดวย หลักสูตรที่ 1 หมอพืชชุมชน (8 รายวิชา) และหลักสูตรที่ 2 เสริมทักษะหมอพืชชุมชน (6 รายวิชา) ดําเนินการอบรมตามลําดับ
4. สํานักงานเกษตรจังหวัด และศูนยสงเสริมเทคโนโลยีการเกษตรดานอารักขาพืช พิจารณาจัดเตรียมการอบรม และมอบหมายวิทยากร รวมกันตามความเหมาะสม

18
19
18

ใบสมัครหมอพืชชุมชน รูป
จังหวัด....................................

1. นาย/นาง/นางสาว ชือ่ ...........................................................นามสกุล...........................................................


2. เลขประจําตัวประชาชน
3. วัน /เดือน /ปเกิด................................................................ อายุ ................................................................ป
4. ที่อยูตามบัตรประชาชน
บานเลขที่ …………….. หมูที่……....บาน...........................................ตําบล …………...............……..........…..…..
อําเภอ………………………………......จังหวัด...…………...........…...........รหัสไปรษณีย........……………...................
5. ที่อยูอาศัยปจจุบัน
 เหมือนกับที่อยูตามบัตรประชาชน
 บานเลขที่ …………….. หมูที่……....บาน...........................................ตําบล …………...............…......…..…..
อําเภอ………………………………......จังหวัด...…………...........…...........รหัสไปรษณีย........……………...................
6. ชองทางการติดตอ
เบอรโทรศัพท................................................................. ID Line..................................................................
E-mail............................................................................ Facebook.............................................................
7. การศึกษาสูงสุด
 ประถมศึกษา  มัธยมศึกษาตอนตน
 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)  อนุปริญญา/ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
 ปริญญาตรี  ปริญญาโท
 ปริญญาเอก  อื่น ๆ ระบุ...................................................
8. การประกอบอาชีพ
- เกษตรกร ปลูกพืช......................................................................พื้นที่จํานวน......................................ไร
- อาชีพหลัก/อาชีพเสริม (ระบุ).....................................................................................................................
9. สถานภาพเกษตรกร/การเปนสมาชิก (ตอบไดมากกวา 1)
 อาสาสมัครเกษตรหมูบาน (อกม.)  เกษตรกรปราดเปรื่อง (SF)
 เกษตรกรรุนใหม (YSF)  แมบานเกษตรกร
 ศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.)  ศูนยจัดการดินปุยชุมชน (ศดปช.)
 ศพก./ เครือขาย ศพก.  แปลงใหญ / สมาชิกแปลงใหญ
 วิสาหกิจชุมชน / เครือขายวิสาหกิจชุมชน  อื่น ๆ ระบุ............................................................
ขาพเจายินยอมใหเปดเผยขอมูลสวนบุคคล เพื่อจัดทําทําเนียบหมอพืชชุมชนสําหรับเผยแพรและติดตอสื่อสาร
ลงชื่อผูสมัคร...............................................................
(................................................................)
วันที่.............../....................../...................
. 19

ขอมอบใบประกาศนียบัตรนี้เพื่อแสดงวา

ไดผานการอบรมหมอพืชชุมชน
หลักสูตรที่ ๑ หมอพืชชุมชน
ประจําป ๒๕๖7

(นายพีรพันธ คอทอง)
อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร
20

ขอมอบใบประกาศนียบัตรนี้เพื่อแสดงวา

ไดผานการอบรมหมอพืชชุมชน
หลักสูตรที่ ๒ เสริมทักษะหมอพืชชุมชน
ประจําป ๒๕67

(นายพีรพันธ คอทอง)
อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร
21

ทําเนียบหมอพืชชุมชน

จังหวัด.....................................

ประจําป.........................................
22
23

ทําเนียบหมอพืชชุมชน
ประจําจังหวัด.....................................
1. อําเภอ..................................

ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู


1 .................................... เลขที่....... หมู. ....... 2 .................................... เลขที่....... หมู. .......
หมูบ าน.................. หมูบ าน..................
ตําบล..................... รูปภาพ
ตําบล.....................
รูปภาพ
อําเภอ................... หมอพืชชุมชน
อําเภอ...................
หมอพืชชุมชน
จังหวัด.................. จังหวัด..................
โทร....................... โทร.......................

2. อําเภอ..................................

ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู


1 .................................... เลขที่....... หมู. ....... 2 .................................... เลขที่....... หมู. .......
หมูบ าน.................. หมูบ าน..................
รูปภาพ
ตําบล..................... รูปภาพ
ตําบล.....................
หมอพืชชุมชน
อําเภอ................... หมอพืชชุมชน
อําเภอ...................
จังหวัด.................. จังหวัด..................
โทร....................... โทร.......................

3. อําเภอ..................................

ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู


1 .................................... เลขที่....... หมู. ....... 2 .................................... เลขที่....... หมู. .......
หมูบ าน.................. หมูบ าน..................
รูปภาพ ตําบล..................... รูปภาพ
ตําบล.....................
หมอพืชชุมชน อําเภอ................... หมอพืชชุมชน
อําเภอ...................
จังหวัด.................. จังหวัด..................
โทร....................... โทร.......................
23
24
ตัวอยาง
ทําเนียบหมอพืชชุมชน
ประจําจังหวัด ชัยนาท
1. อําเภอเมือง

ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู


1 นายวินิจ รักษพืช 57 หมู 1 2 นาง พรรณ สุขใจ 61 หมู 8
บานหัวรอ บานไรเตียน
ตําบลเขาทาพระ ตําบลทาชัย
อําเภอเมืองชัยนาท อําเภอเมืองชัยนาท
จังหวัดชัยนาท จังหวัดชัยนาท
โทร. 09 87654321 โทร. 08 87754728

2. อําเภอสรรพยา

ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู


1 นาง สมใจ ราเริง 77 หมู 3 2 นางสาว ความสุข ใจดี 82 หมู 5
บานเขาแกว บานกรุณา
ตําบลเขาแกว ตําบลบางหลวง
อําเภอสรรพยา อําเภอสรรพยา
จังหวัดชัยนาท จังหวัดชัยนาท
โทร. 09 87658833 โทร. 09 77754321

3. อําเภอหันคา

ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู ที่ ชื่อ - สกุล ที่อยู


1 นาง รวย มีเงิน 3 หมู 9 2 นาย สมคิด ใจแน 23 หมู 2
บานดอนตูม บานดอนไร
ตําบลหันคา ตําบลหนองแซง
อําเภอหันคา อําเภอหันคา
จังหวัดชัยนาท จังหวัดชัยนาท
โทร. 08 87659785 โทร. 08 87695685
24
25

แบบสอบถามความคิดเห็นการฝกอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน
ดําเนินการโดย สํานักงานเกษตรจังหวัด.................................
หลักสูตรที่ 1 หมอพืชชุมชน วันที่.............................

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองสี่เหลี่ยม และกรอกรายละเอียดลงในชองวางที่ตรงกับทานและความคิดเห็นของทาน


มากที่สุด เพื่อประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดฝกอบรมในโอกาสตอไป
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
เพศ � หญิง � ชาย อายุ ......... ป
ระดับการศึกษา
� ประถมศึกษา � มัธยมศึกษาตอนตน � มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. � อนุปริญญา/ปวส.
� ปริญญาตรี � ปริญญาโท � ปริญญาเอก � อื่นๆ .....................
สวนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการฝกอบรม
มาก มาก ปาน นอย นอย
ประเด็น ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
1. ทานคิดวากอนการอบรมตนเองมีความรูความเขาใจดานวินิจฉัยศัตรูพืชอยูใ นระดับใด
2. ทานคิดวากอนการอบรมตนเองมีความรูความเขาใจดานการจัดการศัตรูพืชอยูใ นระดับใด
3. ทานคิดวาภายหลังการอบรมตนเองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหัวขอตอไปนี้อยูในระดับใด
- การจัดการเพื่อการปองกันศัตรูพืช
- ลักษณะอาการผิดปกติของพืชและสาเหตุ
- หลักการวินิจฉัยศัตรูพืชเบื้องตน
- วิธีการเก็บตัวอยางและขอมูลสําหรับการวินิจฉัยศัตรูพืช
- การจัดการศัตรูพืชดวยวิธีผสมผสาน
- วิธีการคนหาแหลงขอมูลอางอิง
- บทบาทหนาที่ของหมอพืชชุมชน
- การใหบริการคลินิกพืช
4. ทานคิดวาภายหลังการอบรมสามารถนําความรูไปใชประโยชนเกี่ยวกับหัวขอตอไปนี้อยูในระดับใด
- สามารถวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องตนได
- สามารถเลือกวิธีจดั การศัตรูพชื ไดอยางถูกตองเหมาะสม
- สามารถสืบคนขอมูลอางอิงจากแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือได
- สามารถถายภาพ เก็บตัวอยางและขอมูล เพื่อการวินิจฉัยอาการปกติของพืชได
- สามารถแนะนําหรือชวยเหลือเพื่อนเกษตรกรในชุมชนเกี่ยวกับการวินิจฉัยอาการผิดปกติ
ของพืชและการจัดการศัตรูพืชเบื้องตนได
สวนที่ 3 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่นๆ เพิ่มเติม

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอบคุณสําหรับการทําแบบสอบถาม
25
26

แบบสอบถามความคิดเห็นการฝกอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน
ดําเนินการโดย สํานักงานเกษตรจังหวัด.................................
หลักสูตรที่ 2 เสริมทักษะหมอพืชชุมชน วันที่.............................

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองสี่เหลี่ยม และกรอกรายละเอียดลงในชองวางที่ตรงกับทานและความคิดเห็นของทาน


มากที่สุด เพื่อประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดฝกอบรมในโอกาสตอไป
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
เพศ � หญิง � ชาย อายุ ......... ป
ระดับการศึกษา
� ประถมศึกษา � มัธยมศึกษาตอนตน � มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. � อนุปริญญา/ปวส.
� ปริญญาตรี � ปริญญาโท � ปริญญาเอก � อื่นๆ .....................
สวนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการฝกอบรม
มาก มาก ปาน นอย นอย
ประเด็น ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
1. ทานคิดวากอนการอบรมตนเองมีความรูความเขาใจดานวินิจฉัยศัตรูพืชอยูใ นระดับใด
2. ทานคิดวากอนการอบรมตนเองมีความรูความเขาใจดานการจัดการศัตรูพืชอยูใ นระดับใด
3. ทานคิดวาภายหลังการอบรมตนเองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหัวขอตอไปนี้อยูในระดับใด
- การจัดการศัตรูพืชใหเกิดประสิทธิภาพ
- การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี
- การควบคุมศัตรูพืชดวยสารเคมีอยางถูกตองและปลอดภัย
- การสัมภาษณและเก็บขอมูลเพื่อการวินิจฉัยศัตรูพืช
- การวินิจฉัยศัตรูพืชในแปลงปลูก
- การใหบริการคลินิกพืชและเครือขายการดําเนินงาน
4. ทานคิดวาภายหลังการอบรมสามารถนําความรูไปใชประโยชนเกี่ยวกับหัวขอตอไปนี้อยูในระดับใด
- สามารถเลือกวิธีจดั การศัตรูพชื ดวยวิธีผสมผสานไดอยางถูกตองเหมาะสม
- สามารถแนะนําหรือชวยเหลือเพื่อนเกษตรกรในชุมชนเกี่ยวกับการวินิจฉัยอาการผิดปกติ
ของพืชและการจัดการศัตรูพืชไดอยางแมนยําขึ้น
- สามารถแนะนําและชวยประสานงานการใหบริการคลินิกพืชกับเพื่อนเกษตรกรในชุมชนได
สวนที่ 3 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่นๆ เพิ่มเติม

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอบคุณสําหรับการทําแบบสอบถาม
26
27
แบบรายงานผลการอบรม หลักสูตรหมอพืชชุมชน ป............หลักสูตรที่..........
จังหวัด............................
***********************************************************
1. หลักการและเหตุผล
…………………………………………………........……………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. วัตถุประสงค
2.1………………………………………………………………………………………............………………………………………………....
2.2…………………………………………………………………………………………..........…………………………………………………
3. กลุมเปาหมาย (จํานวนเกษตรกร เชน อําเภอ ก. จํานวน 1 คน)
............................................................................................................................................................................
4. ระยะเวลาดําเนินโครงการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
5. วิธีการดําเนินงาน
(อธิบายขั้นตอนวาทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร รวมกับใคร อยางไร)
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. ผลการดําเนินงาน
(สรุปผลที่เกิดจากการดําเนินการตามขอ 5 พรอมรูปภาพประกอบ)
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
7. ผลการประเมิน
(ใหอธิบายรายละเอียดผลการประเมินผูเ ขารวมอบรม จากผลการทดสอบความรูกอน–หลังการอบรม และการประเมินความ
คิดเห็นการฝกอบรม เชน สถิติที่ใชในการวิเคราะห ผลการวิเคราะหขอมูล และสรุป)
7.1 ประเมินความรู (แนบไฟล word แบบทดสอบที่ใชพรอมเฉลย และไฟล excel คะแนนจากแบบทดสอบกอน-หลังอบรม
รายบุคคลมาดวย)
คะแนน (คํานวณเปน % ของคะแนนเต็ม 100 คะแนน)
ชื่อ-สกุล
กอนเรียน (%) หลังเรียน (%)
นาย ก 60 75
นาย ข 45 65
คาเฉลี่ย ( X )
คามากที่สุด (Max)
คานอยที่สุด (Min)
7.2 สรุปผลผูผาน/ไมผาน เกณฑการอบรม (ตามเกณฑระยะเวลาการเขารวมและผานแบบทดสอบหลังอบรมคะแนน
ไมนอยกวารอยละ 60)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
7.3 ประเมินความคิดเห็นตอการอบรมและการนําไปใชประโยชน (รายละเอียดหนาถัดไป)
..................................................................................................................................................................................
27
28

ใหสรุปขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นตอการอบรม ดังตารางตอไปนี้
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
ตารางที่ 1 แสดงจํานวนรอยละของเพศผูฝกอบรม
เพศ จํานวน (คน) รอยละ
ชาย
หญิง
รวม
ตารางที่ 2 แสดงอายุผูเขาอบรมและสรุปจํานวนรอยละของอายุผูฝกอบรม
สรุปชวงอายุ จํานวน (คน) รอยละ
ต่ํากวา 20 ป
20 - 29 ป
30 – 39 ป
40 – 49 ป
50 – 59 ป
60 ปขึ้นไป
รวม
ตารางที่ 3 แสดงจํานวนรอยละของระดับการศึกษาผูฝกอบรม
ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนตน
มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.
อนุปริญญา/ปวส.
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
อื่นๆ
รวม

สวนที่ 2 ความคิดเห็นในการฝกอบรม
ขอ ประเด็น ความคิดเห็น X ระดับ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด คาเฉลี่ย ความ
(5) (4) (3) (2) (1) คิดเห็น
1 .................................................. จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
2 .................................................

รวม
28
29

เกณฑในการประเมิน
แบบสอบถามเปนแบบ Rating Scale เปนขอความเชิงบวกทั้งหมด แบงเปน 5 ระดับ คือ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก
พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจนอย และพึงพอใจนอยที่สุด โดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี้
ระดับความพึงพอใจ คะแนน เกณฑประเมินระดับความคิดเห็น ( X )
มากที่สุด 5 4.21 - 5.00
มาก 4 3.41 - 4.20
ปานกลาง 3 2.61 - 3.40
นอย 2 1.81 - 2.60
นอยที่สุด 1 1.00 - 1.80
ตัวอยางการคํานวณคาเฉลี่ย (n = 50 คน)
ขอ ประเด็น ความคิดเห็น X ระดับ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด รวมทั้งสิ้น ความ
คาเฉลี่ย
(5) (4) (3) (2) (1) (n) คิดเห็น
1 ………………………. จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
2 ………………………. 26 11 5 4 4 50 201/50 มาก
(52%) (22%) (10%) (8%) (8%) = 4.02
26x5=130 11x4=44 5x3=15 4x2=8 4x1=4 201
รวม

สวนที่ 3 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่นๆ เพิ่มเติม


(ใหสรุปความคิดเห็นในแตละประเด็นมาดวย) .........................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
8. งบประมาณ
วงเงินจัดสรร ผลการเบิกจาย คงเหลือ
แหลงงบประมาณ กิจกรรม
(บาท) (บาท) (บาท)
งบกรมสงเสริม สรางเครือขายและพัฒนา
การเกษตร หมอพืชระดับชุมชน
งบอื่น ระบุ..... ระบุ.....
9. ปญหา/อุปสรรคในการดําเนินงาน (ยกเวนเรื่องงบประมาณ)
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
10. ขอเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนาหมอพืชชุมชนที่จังหวัดจะดําเนินการตอไป
.................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ชือ่ ..........................................................(ผูรายงาน)
ตําแหนง .....................................................
เบอรโทรศัพท ............................................

หมายเหตุ จัดสงรายงานผลใหกรมสงเสริมการเกษตร ภายใน 30 วันหลังเสร็จสิ้นการอบรม รูปแบบไฟล word


และไฟล pdf พรอมไฟลภาพกิจกรรมที่เปน original file (JPEG) ทาง E-mail : pestdiag.doae@gmail.com
29

You might also like