You are on page 1of 125

รายงานโครงการบริการวิชาการ

เรื่อง
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
“การเลี้ยงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งน้้าในสวนล้าไย
ตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง”

โดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล

คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้้า
2559
รายงานโครงการบริการวิชาการ

เรื่อง การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ“การเลี้ยงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งน้้า
ในสวนล้าไยตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพือ่
เป็นทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง”

ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจ้าปี 2559


จ้านวน 50,000 บาท

หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล

งานบริการวิชาการเสร็จสิ้นสมบูรณ์
/ส.ค./2559

คำนำ
ปัจจุบันหลายภาคส่วนของประเทศไทยได้นาปรัชญาที่เกี่ยวกับการดาเนินชีวิตแบบพอเพียงมา
ปรับใช้ ซึ่งปรัชญาดังกล่าวสามารถช่วยให้ประชาชนในทุกระดับชั้นดารงชีวิตได้อย่างมั่นคงบนรากฐานที่
เข้มแข็ง สาหรับเกษตรกรการส่งเสริมให้ทุกคนมีการดารงชีพตามแนวทางดังกล่าวสามารถทาได้ โดย
การเดินทางสายกลางยึดหลักการพึ่งพาตนเอง คือ การทางานเกษตรที่เป็นแหล่งอาหาร โดยแบ่งพื้นที่
เป็นส่วนๆ เพื่อใช้ทาการเกษตรที่พึ่งพากัน เชื่อมโยงและเป็นวงจรของสิ่งมีชีวิตที่ต้องพึ่งพาอาศัยกันและ
กันทั้งพืชและสัตว์ พิจารณาถึงความหลากหลายมีระบบและสัดส่วนที่ เหมาะสมในแต่ละสภาพพื้นที่
แล้วค่อยๆ เพิ่มความพอเพียงขึ้นตามสภาพสังคมและรายได้ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยอาศัยความเพียร
ความอดทน ความซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยี
สมัยใหม่ที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนา
เทคโนโลยี จากภูมิปัญญาของเราเองเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย การออม สะสมเป็นเงินทุน
เกษตรทางภาคเหนือโดยเฉพาะในเขตจังหวัดเชียงใหม่และลาพูน มีการปลูกพืชเศรษฐกิจได้แก่
ลาไยกันมาก โดยลักษณะของแปลงปลูกลาไขจะมีการขุดร่องน้าเพื่อเก็บกักน้าไว้รดต้นลาไย โดยจะมี
น้ าอยู่ ใ นร่ อ งสวนตลอดทั้ ง ปี จากสภาพดั ง กล่ า วเกษตรกรสามารถใช้ ป ระโยชน์ เ พิ่ ม จากร่ อ งน้ า
นอกเหนือจากการเก็บกักน้าอย่างเดียวได้ โดยการเลี้ยงปลาชนิดที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตใน
สภาพดังกล่ าว เช่น ปลาหมอเป็น ต้น ดังนั้นในการให้ ความรู้ความเข้าใจแก่เกษตรกรในด้ านต่างๆ
เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาหมอในร่องสวน เช่น ลักษณะพันธุ์ปลาหมอที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงในพื้นที่ การ
อนุบาลลูกปลาหมอก่อนปล่อยเลี้ยง ตลอดจนการจัดการระหว่างการเลี้ยง การให้อาหาร เป็นต้น จะ
สามารถทาให้เกษตรกรนาความรู้ไปจัดการ การเลี้ยงได้อย่างเหมาะสมเพื่ อให้เกิดผลผลิตในระดับที่
เกษตรกรสามารถมีรายได้เพิ่มจากการเลี้ยงปลาหรือเพื่อการบริโภคในครัวเรือน ซึ่งสอดคล้องกับการ
ส่งเสริมให้ประชาชนมีการดารงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล
หัวหน้าโครงการ

สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
1.หลักการและเหตุผลของโครงการ 1

2.วัตถุประสงค์ของโครงการ 2

3.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2

4.ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 2

5.เป้าหมายการดาเนินโครงการ 2

6.วิธีการดาเนินโครงการ 2

7.ผลการดาเนินงาน 5

8.สรุปและประเมินผลการดาเนินงาน 9

9.รายงานผลความสาเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด 10

10.องค์ความรู้ที่ได้รบั จากการบริการวิชาการ 11

11.การบูรณาการองค์ความรู้ส่กู ารวิจัย 13

ภาคผนวก 16

ภาพกิจกรรม 17

รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ 22

แบบประเมินโครงการ 27

เอกสารประกอบการอบรม 73
1

โครงการบริการวิชาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559


1. หลักการและเหตุผลของโครงการ
เนื่องจากในเขตภาคเหนือปลาหมอเป็นปลาที่นิยมบริโภค เป็นที่ต้องการในตลาด มีราคาแพง
แต่ยังไม่สามารถผลิตให้เพียงพอและ ในธรรมชาติก็หาได้ยาก ซึ่งจากสถิติของกรมประมง ทาให้เห็น
ว่ า สั ด ส่ ว นผลผลิ ต ปลาหมอจากแหล่ ง น าธรรมชาติ มี แ นวโน้ ม ลดลง ในขณะที่ ผ ลผลิ ต จากการ
เพาะเลียงมีแนวโน้มสูงขึน แต่ยังไม่นิยมเลียงปลาหมอในเชิงพาณิชย์ สาเหตุเนื่องจากขาดแคลนพันธุ์
ปลาและการพืนที่การเลียง ดังนันจึงควรมีการส่งเสริมการเลียงปลาหมอเพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิต
ปลาหมอ โดยเป็นที่น่าสนใจในเขตภาคเหนือตอนบนโดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่และลาพูนซึ่งมีการ
ปลูกลาไยอย่างแพร่หลาย มีการขุดร่องนาและบ่อนา เพื่อเก็บกักนาไว้รดต้นลาไย ซึ่งขนาดของร่อง
หรือคูนาดังกล่าวมีสัดส่วนความยาวมากกว่าความกว้าง เช่น 200:3 เมตรและความลึกประมาณ
1.5-2 เมตร โดยจะมีนาอยู่ในร่องสวนตลอดปี ส่วนบ่อนาในสวนมีขนาดแตกต่างกันขึนอยู่กับพืนที่ที่
เหลือจากแปลงปลูกลาไย จากสภาพดังกล่าวเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์เพิ่มจากร่องนาและบ่อ
นาได้นอกเหนือจากการเก็บกักนาอย่างเดียว เพราะฉะนันการเลียงการเลียงปลาหมอในกระชัง ใน
ร่องสวน และเลียงในบ่อตามพืนทีว่ ่าง น่าจะเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการเพิ่มรายได้สาหรับเกษตรกรที่
มีพืนที่จากัด และเป็นแนวทางพัฒนาการเพาะเลียงปลาหมอต่อไป
ในปัจจุบันนีแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภค ผู้บริโภคให้ความสาคัญกับอาหารปลอดภัยและ
กระบวนการผลิตที่ไม่ ทาลายสิ่ง แวดล้อมและปราศจากสารเคมีตกค้างในอากาศ ดังนันการให้
ความรู้ความเข้าใจแก่เกษตรกรในด้านต่างๆที่เกี่ยวกับการเลียงปลาหมอตามแนวทางการลดต้นทุน
และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่นการจัดการอาหารที่เหมาะสม การทดแทนแทนปลาป่นด้วยถั่ว
เหลือง เพื่อลดต้นทุนในการผลิต หรือการใช้พืชธรรมชาติเป็นพรีไบโอติกผสมในอาหาร เพื่อเพิ่มการ
เจริ ญ เติ บ โตและการท างานของแบคที เ รี ย ที่ มี ป ระโยชน์ ใ นล าไส้ เพิ่ ม ความต้ า นทานโรคได้ จึ ง
สอดคล้องกับแนวทางเกษตรอินทรีย์ที่คานึงถึงสภาพแวดล้อม หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือยา
ปฏิชีวนะที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะในสภาพแวดล้อมและสัตว์นา หรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้
ซึ่งองค์ความรู้ดังกล่าวนี สามารถทาให้เกษตรกรนาไปจัดการการเลียงได้เหมาะสม เพื่อให้
เกิดผลผลิตในระดับที่เกษตรกรสามารถ มีรายได้เพิ่มจากการเลียงปลาหรือเพื่อบริโภคในครัวเรือน
ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี ก ารด ารงชี วิ ต ที่ ส ามารถพึ่ ง พาตนเองได้ ต ามแนว
เศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดี
2

2. วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1 เพื่อให้เกิดรายได้เพิ่มจากผลผลิตด้านประมงภายในสวนลาไยและแหล่งนาในร่องสวน
2.2 เพื่อเป็นการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2.3 เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรูก้ ารเลียงปลาหมอแบบลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสภาวะ
แวดล้อมในแหล่งนาในสวนลาไยและแหล่งนาในร่องสวน
2.4 เพื่อส่งเสริมการดารงแบบสามารถพึง่ พาตนเองได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
2.5 เพื่อนาองค์ความรู้จากการบริการวิชาการบูรณาการเข้าพันธกิจอื่น

3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
3.1 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มีความรูแ้ ละความเข้าใจเกี่ยวกับการเลียงปลาหมอ
3.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ศึกษาวิธีการเลียงปลาหมอร่องในสวน
3.3 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้นาวิธีการเลียงปลาหมอในร่องสวนไปปรับใช้เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับ
ครัวเรือน
3.4 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มีทักษะการจัดทากระชังเลียงปลาหมอ
3.5 เพื่อส่งเสริมอาชีพการเลียงปลาหมอให้เผยแพร่ไปยังกลุ่มผู้สนใจให้มากยิ่งขึน

4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ
การจัดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การฝึกอบรมปฏิบัติการเลียงปลาหมอในร่องสวนและ
แหล่งนาในสวนลาไยตามแนวทางการลดต้ นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นทางเลือกแก่
ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง” จานวน 1 รุ่น โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรผู้ปลูกลาไย เกษตรกรผู้เลียง
ปลาในบ่อดินและในกระชัง ผู้ว่างงานและผู้ที่สนใจทั่วไป จานวน 40 คน

5. เป้าหมายการดาเนินโครงการ
1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทกั ษะความสามารถในการเลียงปลาหมอในร่องสวนได้
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจโดยรวมต่อกิจกรรมทังหมดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จาก
กลุ่มเป้าหมายที่กาหนดไว้ทงหมดั 40 คน

6. วิธีการดาเนินโครงการ
1. วางแผนการดาเนินงานการดาเนินงานฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมายเป็ นเกษตรกรผู้ปลูกลาไย
เกษตรกรผู้เลียงปลาในบ่อดินและในกระชัง ผู้ว่างงานและผู้ที่สนใจทั่วไป จานวน 40 คน เพื่อส่งเสริม
และพัฒนาทักษะการเลียงปลาหมอในร่องสวน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เข้าฝึกอบรมมีความรู้ และความเข้าใจถึง
3

หลักการ และวิธีปฏิบัติในการเลียงปลาหมอในร่องสวน ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ เทศบาล


ตาบลหนองแฝก อ.สารภี จ.เชียงใหม่
2. การประชาสัมพันธ์โครงการ
- วิทยุชุมชนมหาวิทยาลัยแม่โจ้ FM 95.5 MHz
- การส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ไปยั ง หน่ ว ยงานต่ า งๆ อาทิ เ ช่ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล เทศบาล
กลุ่มสหกรณ์ กลุ่มแม่บ้าน เป็นต้น
3. เอกสาร อุปกรณ์และวัสดุต่างๆ
รวมรวบข้อมูลทางวิชาการต่างๆ เพื่อจัดทาเอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
“การฝึกอบรมปฏิบัติการเลียงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งนาในสวนลาไยตามแนวทางการลดต้นทุน
และลดผลกระทบต่ อสิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ เป็ น ทางเลือ กแก่ชุ มชนในการพึ่ งพาตนเอง” และจั ดเตรี ย ม
อุปกรณ์ที่จาเป็นในการใช้ฝึกอบรม เช่น ฝ้าตาข่ายสาหรับทากระชังผ้าอวน เป็นต้น
4. วิทยากร และผู้มีประสบการณ์
ติดต่อและประสานงานเพื่อเชิญวิทยากรและผู้ที่มีประสบการณ์ในการเลียงปลาในร่องสวน
ลาไย เพื่อร่วมถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการและประสบการณ์จริ ง จากการเลียงปลาหมอในร่องสวนซึ่ง
จะช่วยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้จากผู้มีประสบการณ์
5. การดาเนินโครงการฝึกอบรม
การอบรมเน้นเพิ่มความรู้และเคล็ดลับการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากนักวิชาการและ
วิทยากร และผู้ที่มีประสบการณ์ในการเลียงปลาหมอในร่องสวนลาไย ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกลาไย
เกษตรกรผู้เลียงปลาในบ่อดินและในกระชัง ผู้ว่างงานและผู้ที่สนใจทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้มี
ความรู้ ความมั่ นใจและสร้างแนวทางการประกอบอาชี พทังเป็น อาชี พ สามารถสร้างรายได้ใ ห้ แก่
ผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีรายละเอียดของกาหนดการแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ตารางการฝึกอบรมฯ เรื่อง “การฝึกอบรมปฏิบัติการเลียงปลาหมอในร่องสวนและแหล่งนา


ในสวนลาไยตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นทางเลือกแก่ชุมชนใน
การพึ่งพาตนเอง”
เวลา กิจกรรม
08.00-08.30 น. ลงทะเบียนและพิธีเปิดการฝึกอบรม
บรรยายพิเศษ เรื่อง “การเลียงปลาหมอในร่องสวน”
08.30-10.00 น.
โดย ผศ.ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล
บรรยายพิเศษ เรื่อง “การจัดการและวางแผนการเลียงปลาหมอในร่องสวน” โดย
10.00-11.00 น. ผศ.ดร.เทพรัตน์ อึงเศรษฐพันธ์
**รับประทานอาหารว่างในห้องประชุม**
4

บรรยายพิเศษ “เรื่อง การป้องกัน และรักษาโรคในปลาหมอ”


11.00-12.00 น.
โดย ผศ.ดร.ชนกันต์ จิตมนัส
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง “การวางผังกระชังสาหรับการเลียงปลาในร่องสวนลาไย”โดย
1. ผศ.ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล
13.00-14.00 น.
2. ผศ.ดร.เทพรัตน์ อึงเศรษฐพันธ์
3. นายวินัย การะเกตุ
ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง “เทคนิคการทากระชังสาหรับการเลียงปลาในร่องสวน”
โดย 1. ผศ.ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล
14.00-17.00 น. 2. อ.ดร.จอมสุดา ดวงวงษา
3. นายวินัย การะเกตุ
** รับประทานอาหารว่างระหว่างการปฏิบตั ิการ**
17.00-17.30 น. มอบประกาศนียบัตรและพิธีปิดการฝึกอบรม

6. สรุปและประเมินผล
สรุปผลดาเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานที่กาหนดไว้และประเมินผลจากแบบสารวจความพึง
พอใจของผู้รับบริการที่เก็บตัวอย่างจากผู้เข้าร่วมโครงการและวิเคราะห์ผลตาม Frequencies variables
โดยมีช่วงการให้คะแนน 1-5โดยกาหนดให้

ระดับคะแนน 1 มีความพึงพอใจน้อยมาก
ระดับคะแนน 2 มีความพึงพอใจน้อย
ระดับคะแนน 3 มีความพึงพอใจปานกลาง
ระดับคะแนน 4 มีความพึงพอใจมาก
ระดับคะแนน 5 มีความพึงพอใจมากที่สุด

7. การเผยแพร่ข้อมูลและการนาเสนอผลของการดาเนินงาน
การนาเสนอผลการดาเนินโครงการภายใต้กิจกรรม “บริหารจัดการโครงการบริการวิชาการ”
ของสานักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการ
ของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามระบบกลไกและตัวชีวัดด้านบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย
5

7. ผลการดาเนินงาน
กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การฝึกอบรมปฏิบัติการเลียงปลาหมอใน
ร่องสวนและแหล่งนาในสวนลาไยตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น
ทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง” ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ เทศบาลตาบลหนองแฝก
อ.สารภี จ.เชียงใหม่ จานวนผู้เข้าร่วมโครงการทังหมด 40 คน เป้าหมายของการจัดกิจกรรมเพื่อให้
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องเทคโนโลยีการเลียงปลาหมอในร่องสวนลาไย ตามเป้าหมายการผลิต
และตัวชีวัดดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงเป้าหมาย และผลการดาเนินงานของผลผลิตและตัวชีวัด


ตัวชี้วัด ประเภท หน่วย เป้าหมาย ผลการ
นับ ดาเนินงาน
การบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจ เชิงปริมาณ พันธกิจ 1 3
อื่นๆ:ปัญหาพิเศษ
ค่าใช้จ่ายบริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับ เชิงต้นทุน ล้านบาท 0.05 0.05
จัดสรร
ร้อยละการนาไปใช้ประโยชน์ของผู้รับบริการ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 40 100
ร้อยละของโครงการที่ บ รรลุต ามวั ต ถุ ประสงค์ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 100
ของโครงการ
ร้อ ยละของโครงการบริ ก ารวิ ช าการแล้ ว เสร็ จ เชิงเวลา ร้อยละ 90 100
ตามระยะเวลาที่กาหนด
ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึนจาก เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 95.6
การเข้ารับบริการ
ร้ อ ยละและความพึ ง พอใจขอผู้ รั บ บริ ก าร/ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 80.0
หน่ ว ยงาน/องค์ ก รที่ รั บ บริ ก ารและวิ ช าชี พ ต่ อ
ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
ร้ อ ยละของความพึ ง พอใจขอผู้ รั บ บริ ก ารใน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 97.7
กระบวนการให้บริการ
6

ผลการดาเนินงานของการฝึกอบรม
ได้ดาเนินการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ จานวน 1 รุ่น กลุ่มเป้าหมายเป็น เกษตรกรผู้ปลูกลาไย
เกษตรกรผู้เลียงปลาในบ่อดินและในกระชัง ผู้ว่างงานและผู้ที่สนใจทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้ มี
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการเลียงปลาหมอ ได้ศึกษาวิธีการเลียงปลาหมอร่องในสวน การนา
วิธีการเลียงปลาหมอในร่องสวนไปปรับใช้เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน การมีความรู้ ความมั่นใจและ
สร้างแนวทางการประกอบอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ มีผู้เข้าร่วมโครงการ
รวมทังหมด 45 คน
การสารวจความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ โดยมีผู้ตอบแบบสารวจทังหมด 45 คน (N=45)
คิดเป็นกลุ่มตัวอย่างที่ร้อยละ 100.00 กลุ่มตัวอย่างในรุ่นที่ 1 เป็นเพศชายจานวน 37 คน (ร้อยละ 82.2)
เพศหญิงจานวน 8 คน (ร้อยละ 17.8) อายุอยู่ระหว่าง 47-64 ปี โดยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร
29 คน (ร้อยละ 64.4) ประกอบอาชีพค้าขาย 7 คน (ร้อยละ 15.6) ประกอบอาชีพรับจ้าง 3 คน (ร้อยละ
6.7) ประกอบอาชีพอื่นๆ 6 คน (ร้อยละ 13.3) มีระดับการศึกษา ประถมศึกษา 20 คน (ร้อยละ 46.7)
มัธยมศึกษา 22 คน (ร้อยละ 48.9) ปริญญาตรี 2 คน (ร้อยละ 4.4) ซึ่งก่อนฝึกอบรมเกษตรกร มี
ความรู้เกี่ยวกับการเลียงปลาหมอ ในระดับเล็กน้อย 17 (ร้อยละ 37.8) ระดับปานกลาง 19 คน (ร้อยละ
42.2) ระดับดี 3 คน (ร้อยละ 6.7) ระดับดีมาก 2 คน (ร้อยละ 4.4) และไม่มีความรู้เลย 4 คน (ร้อยละ
8.9) โดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกษตรกร ได้รับทราบข้อมูลการให้บริการทั งเอกสารการประชาสัมพันธ์
ป้ายประชาสัมพันธ์และจากคนรู้จัก ดังแสดงในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ


เทศบาลตาบลหนองแฝก อ.สารภี จ.เชียงใหม่
ปัจจัย จานวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 37 82.2
หญิง 8 17.8
อาชีพ
เกษตรกร 29 64.4
ค้าขาย 7 15.6
รับจ้าง 3 6.7
อื่นๆ 6 13.3
วุฒิการศึกษา
ประถมศึกษา 21 46.7
มัธยมศึกษา 22 48.9
7

ปริญญาตรี 2 4.4

ความรู้ก่อนเข้ารับการฝึกอบรมฯ
ไม่มีความรู้เลย 4 8.9
เล็กน้อย 17 37.8
ปานกลาง 19 42.2
ดี 3 6.7
ดีมาก 2 4.4

ความพึงพอใจต่อโครงการของผู้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมฯ พบว่าผู้เข้าฝึกอบรมส่วนใหญ่
ความพึงพอใจ ในด้านต่างๆดังนี
ด้านความเหมาะสมของวันเวลาที่จัดฝึกอบรม
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านความเหมาะสมของวันเวลาที่จัด
ฝึกอบรม อยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 31 คน (ร้อยละ 68.9) รองลงมาคือ ระดับ 3 และ
ระดับ 5 มีจานวนเท่ากับ 9 คนและ 5 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 20.0 และ 11.4 ตามลาดับ )
ด้านความเหมาะสมของสถานที่
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านความเหมาะสมของสถานที่ อยู่ใน
นะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 31 คน (ร้อยละ 68.9) รองลงมาคือ ระดับ 3 และ 5 มี
จานวนเท่ากับ 8 และ 6 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 17.8 และ 13.3 ตามลาดับ)
ด้านอาหาร เครื่องในการฝึกอบรม
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านอาหาร เครื่องในการฝึกอบรม
อยู่ในนะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 39 คน (ร้อยละ 86.7) รองลงมาคือ ระดับ 5 และ 3
มีจานวนเท่ากับ 3 และ 3 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 6.7 และ 6.7 ตามลาดับ)
ด้านเอกสารที่ใช้ประกอบในการฝึกอบรม
พบว่ า ผู้ เ ข้ า รั บ การอบรมฯ ส่ ว นใหญ่ มี ค วามพึ ง พอใจในด้ า นเอกสารที่ ใ ช้ ป ระกอบในการ
ฝึกอบรม อยู่ในนะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 31 คน (ร้อยละ 68.9) รองลงมาคือ ระดับ
5 และ 3 มีจานวนเท่ากับ 13 และ 1 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 28.9 และ 2.2 ตามลาดับ)
ด้านความเหมาะสมของเวลาในแต่ละหัวข้อ
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านความเหมาะสมของเวลาในแต่ละ
หัวข้อ อยู่ในนะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 34 คน (ร้อยละ 75.6) รองลงมาคือ ระดั บ 3
และ 5 มีจานวนเท่ากับ 6 และ 5 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 13.3 และ 11.1 ตามลาดับ)
8

ด้านความเหมาะสมของวิทยากรในการฝึกอบรม
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านความเหมาะสมของวิทยากรในการ
ฝึกอบรม อยู่ในระดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 29 คน (ร้อยละ 64.4) รองลงมาคือ ระดับ
5 มีจานวนเท่ากับ 16 คน (ร้อยละ 35.6)
ด้านความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากการอบรม
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านความรู้ที่เพิ่มขึนหลังจากการอบรม
อยู่ในนะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 35 คน (ร้อยละ 77.8) รองลงมาคือ ระดับ 5และ 3
มีจานวนเท่ากับ 8 และ 2 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 17.8 และ 4.4 ตามลาดับ)
ด้านความสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ประโยชน์
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านความสามารถนาความรู้ที่ได้รับจาก
การฝึกอบรมไปใช้ประโยชน์ อยู่ในนะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 34 คน (ร้อยละ 75.6)
รองลงมาคื อ ระดั บ 3 และ 5 มี จ านวนเท่ า กั บ 9 และ 2 คน ตามล าดั บ (ร้ อ ยละ 20.0 และ 4.4
ตามลาดับ)
ด้านความสามารถนาความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอด/เผยแพร่ให้แก่ผู้อื่นได้
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านความสามารถนาความรู้ที่ได้ไป
ถ่ายทอด/เผยแพร่ให้แก่ผู้อื่นได้ อยู่ในนะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 38 คน (ร้อยละ
84.4) รองลงมาคือ ระดับ 3 และ 5 มีจานวนเท่ากับ 6 และ 1 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 13.3 และ 2.2
ตามลาดับ)
ด้านความพึงพอใจโดยรวมในการฝึกอบรม
พบว่ า ผู้เ ข้ารับ การอบรมฯ ส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจในด้านความพึงพอใจโดยรวมในการ
ฝึกอบรม อยู่ในนะดับอยู่ในระดับ 4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี จานวน 38 คน (ร้อยละ 84.4) รองลงมาคือ ระดับ
5 และ 3 มีจานวนเท่ากับ 6 และ 1 คน ตามลาดับ (ร้อยละ 13.3 และ 2.2 ตามลาดับ)ดังแสดงในตาราง
ที่ 4
9

ตารางที่ 4 แสดงผลการประเมินการอบรม โครงการบริการวิชาการ เรื่อง “การเลียงปลาหมอในร่อง


สวน และแหล่งนาในสวนลาไยตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น
ทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง” (วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559)

ปัจจัย ความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการอบรมฯ
1 2 3 4 5 ค่าเฉลี่ย S.D ระดับ
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
(จานวนคน) (จานวนคน) (จานวนคน) (จานวนคน) (จานวนคน)
1. ความเหมาะสมของวั น เวลาในการจั ด 0 0 9 31 5 3.91 .557 ปานกลาง
ฝึกอบรม 0 0 20 68.9 11.1
2. ความเหมาะสมของสถานที่ 0 0 8 31 6 3.96 .562 ปานกลาง
0 0 17.8 68.9 13.3
3. อาหาร เครื่องดื่มในการฝึกอบรม 0 0 3 39 3 4.00 .369 ดี
0 0 6.7 86.7 6.7
4.เอกสารที่ใช้ประกอบในการฝึกอบรม 0 0 1 31 13 4.27 .495 ดี
0 0 2.2 68.9 28.9
5. ความเหมาะสมของเวลาในแต่ละหัวข้อ 0 0 6 34 5 3.98 .499 ปานกลาง
0 0 13.3 75.6 11.1
6. ความเหมาะสมของวิทยากรในการฝึกอบรม 0 0 0 29 16 4.36 .484 ดี
0 0 0 64.4 35.6
7. ความรู้เพิ่มขึนหลังจากฝึกอบรม 0 0 2 35 8 4.16 .457 ดี
0 0 4.4 77.8 17.8
8. ท่ า นสามารถน าความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ จากการ 0 0 9 34 2 3.84 .475 ปานกลาง
ฝึกอบรมไปใช้ประโยชน์ 0 0 20.0 75.6 4.4
9.ท่ า นสามารถน าความรู้ ที่ ไ ด้ ไ ปถ่ า ยทอด/ 0 0 6 38 1 3.89 .383 ปานกลาง
เผยแพร่ให้แก่ผู้อื่นได้ 0 0 13.3 84.4 2.2
10. ความพึงพอใจโดยรวมในการฝึกอบรม 0 0 1 38 6 4.11 .383 ดี
0 0 2.2 4.4 13.3

8. สรุปและประเมินผลการดาเนินงาน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เรื่อง “การเลียงปลาหมอในร่องสวน และแหล่งนาในสวน
ลาไยตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นทางเลือกแก่ชุมชนในการ
พึ่งพาตนเอง” เป็นการถ่ายทอดและการส่ งเสริมการใช้เทคโนโลยีเลียงปลาหมอในร่องสวนลาไยเพื่อ
สร้างอาชีพและรายได้ แก่เ กษตรกรผู้ปลูกลาไย เกษตรกรผู้เลี ยงปลาหมอในบ่อดิ น และในกระชัง
ผู้ว่างงานและผู้ที่สนใจทั่วไป เป็นการดาเนินการร่วมกับการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม กับ
ภารกิจด้านการเรียนการสอนในสาขาวิชา ของทางคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนา
มหาวิ ทยาลัยแม่โจ้ การวิจั ย การทะนุบ ารุงศิ ลปวัฒนธรรม โดยกิจกรรมของโครงการยังเป็นการ
10

แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ จากผู้ประกอบการด้านสัตว์นา คณาจารย์ บุคลากรประจาคณะ


เทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเกษตรกรหรือประชาชนที่มีความ
สนใจ และเพื่อสร้างแนวคิดสู่การประกอบอาชีพทางเลือกให้สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ตารางที่ 5 ผลการดาเนินงานตามตัวชีวัด
ตัวชี้วัด ประเภท เป้าหมาย ตัวชี้วัด
ค่าใช้จ่ายบริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร เชิงต้นทุน 0.065 0.08
ร้อยระการนาไปใช้ประโยชน์ของผู้รับบริการ เชิงคุณภาพ 80 80.0
ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เชิงคุณภาพ 90 100
ร้อยละของโครงการบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่ เชิงเวลา 90 100
กาหนด
ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึนจากการเข้ารับบริการ เชิงปริมาณ 40 95.6
ร้อยละและความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ เชิงคุณภาพ 80 80.0
รับบริการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการวิชาการ
ร้ อ ยละของความพึ ง พอใจของผู้ รั บ บริ ก ารในกระบวนการ เชิงคุณภาพ 80 97.7
ให้บริการ

9. รายงานผลความสาเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกร นักเรียนและบุคคลทั่วไปที่สนในความรู้เกี่ยวกับการเลียงปลาหมอในร่อง
สวนลาไยและแหล่งนาในส่วนลาไย ตามแนวทางการลดต้นทุนและลดกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็น
ทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง

ตารางที่ 6 ผลความสาเร็จตามเป้าหมายตัวชีวัด
ตัวชี้วัด ประเภท หน่วยนับ เป้าหมาย ผลลัพธ์
ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กร เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 80
ที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากาการ
บริการ
ร้ อ ยละของโครงการที่ บ รรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 100
โครงการ
ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กาหนด เชิงเวลา ร้อยละ 90 100
จานวนผู้รับบริการ เชิงปริมาณ คน 40 45
ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ เชิงต้นทุน ล้านบาท 0.065 0.065
ได้รับจัดสรร
ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ใ น เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 97.7
11

กระบวนการให้บริการ
ร้อยละของผู้เข้ารับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึนจากการเข้า เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 95.6
รับการบริการ

10. องค์ความรู้ที่ได้รับจาการบริการวิชาการ
10.1 เพื่อให้เกิดรายได้เพิ่มจากผลผลิตด้านประมงภายในสวนลาไย
ด้วยการปลูกลาไยยังนิยมยกแปลงเพื่อให้มีร่องนาเก็บนาไว้ใช้ในฤดูแล้งและเพื่อลด
แรงงานและค่าใช้จ่ายในการกาจัดวัชพืช จึงควรส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์จากแหล่งนาเพื่อเพิ่ม
อาหารโปรตีนและสร้างรายได้เสริม การให้เลียงปลาหมอในร่องสวนลาไยจึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสม
เนื่องจากปลาหมอเป็นปลาที่นิยมรับประทานในพืนที่ มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อมและโรค การ
ส่งเสริมให้เกษตรมีความรู้เกีย่ วกับการเลียง การจัดการคุณภาพนา การผลิตอาหารปลาเพื่อลดต้นทุนก็
สามารถเลียงปลาหมอในร่องสวนลาไยได้อย่างมีประสิทธิภาพ แล้วยังเป็นการทาเกษตรแบบพอเพียง
อีกด้วย
10.2 เพื่อเป็นการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ร่องสวนลาไยแต่เดิมมีประโยชน์ไว้ระบายนาไม่ให้ท่วมขังลาไยในฤดูฝน และเป็นที่กัก
เก็บนาไว้รดลาไยในฤดูแล้งเท่านัน การส่งเสริมให้เกษตรเลียงปลาหมอในร่องสวนเพิ่มเติมจึงเป็นการ
ใช้พืนที่ที่มีอยู่เดิมให้เกิดประโยชน์เพิ่ม รวมทังผลิตปลาหมอที่ได้จากการเลียงยังใช้เป็นอาหารและสร้าง
รายได้เสริมให้กับเกษตรกรระหว่างรอเก็บผลผลิตลาไยได้อีกทางหนึ่ง
10.3 เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้การเลียงปลาหมอแบบลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสภาวะ
แวดล้อมในแหล่งนาในสวนลาไย
เกษตรกรผู้ปลูกลาไยในพืนที่จังหวัดเชียงใหม่และลาพูนมีมากกว่า 5 แสนไร่ ซึ่งยังไม่
รวมพืนที่ปลูกลาไยที่กระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ แล้วยังมีคู่แข่งทังจีน เวียดนาม เป็นต้น ซึ่ง
กระบวนการให้ได้มาซึ่งผลผลิตลาไยส่วนใหญ่ยังจาเป็นต้องพึ่งสารเคมี ทาให้แนวโน้มผลผลิตลาไยต้ อง
ลดลงทุกๆ ปีเนื่องจากความโทรมของต้นลาไยที่มีสารเคมีสะสมมากเกินไป การให้เกษตรกรได้เรียนรู้
การเลียงปลาหมอในร่องสวนลาไยนัน ทาให้เกษตรต้องคานึงถึงการใช้สารเคมีที่อาจจะส่งผลต่อปลา
หมอที่เลียงไว้ โดยต้องลดการใช้สารเคมีแล้วใช้วิธีการบารุงต้นลาไยด้วยปุ๋ยจากธรรมชาติทังปุ๋ยหมัก
หรือปุ๋ยมูลสัตว์ หากมีการรวมกลุ่มและพัฒนากระบวนการผลิตลาไยให้มีความปลอดภัยเพิ่มขึนก็
สามารถพัฒนาสู่การเป็นกลุ่มผลิตลาไยอินทรีย์ที่สามารถสร้างมูลค่าลาไยให้เพิ่มขึนได้หลายเท่า แต่
หากพิจารณาผลผลิตลาไยที่ลดลงไปซึ่งรวมถึงรายได้ที่หายไปด้วยนัน ก็สามารถแทนที่รายได้จาก
ผลผลิตปลาหมอที่สามารถจาหน่ายได้ตลอดปีแล้วยังสามารถจาหน่ายได้ในราคาที่สูงกว่าท้องตลาด
เนื่องจากเป็นปลาหมอที่มาจากการเลียงแบบอินทรีย์ซึ่งก็หมายถึงรายได้ที่เพิ่มขึนเช่นกัน
12

10.4 เพื่อส่งเสริมการดารงชีวิตแบบสามารถพึ่งพอตนเองได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
แนวร่องสวนลาไยนอกจากสามารถเลียงปลาหรือสัตว์นาต่างๆ ได้แล้ว ยังสามารถปลูก
พืชอายุสัน หรือพืชผักสวนครัว เพื่อเพิ่มรายได้อีกทาง โดยใช้นาในร่องสวนที่เลียงปลาหมอรดเพื่อลด
ค่าใช้จ่ายส่วนของปุ๋ยต่างๆ ที่จะต้องใช้ ดังนันในพืนที่ปลูกลาไยจึงสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย
เพื่อให้เกษตรกรลดรายจ่ายต่างๆ สร้างรายได้เพิ่มและเป็นการทาเกษตรแบบปลอดภัยมีการใช้สารเคมี
ลดลง ส่งผลให้สุขภาพชีวิตดีขึนและพึ่งพาตนเองได้
13

11. การบูรณาการองค์ความรู้สู่การวิจัย

การบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พนั ธกิจอื่นๆ: ปัญหาพิเศษ ได้บรรลุตามเป้าหมายที่ตงไว้



1.1 นางสาว ปานราวรรณ พรหมแก้วมา
14

1.2 นาย เศรษฐี จาปาดิบ


15

1.3 นางสาว พลอย เสียงเพลิน


16

ภาคผนวก
17

ภาพกิจกรรม
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเลี้ยงปลาหมอในร่องสวน และแหล่งน้้าในสวน
ล้าไยตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นทางเลือกแก่ชุมชนใน
การพึ่งพาตนเอง”
18

วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์การเรียนรู้ กศน.


บ้านบวกครกเหนือ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่
19
20
21
22

รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

“การเลี้ยงปลาหมอในร่องสวน และแหล่งน้้าในสวนล้าไย
ตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง”

วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์การเรียนรู้ กศน.


บ้านบวกครกเหนือ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่
27

แบบส้ารวจความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการ

“การเลี้ยงปลาหมอในร่องสวน และแหล่งน้้าในสวนล้าไย
ตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง”

วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์การเรียนรู้ กศน.


บ้านบวกครกเหนือ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73

เอกสารประกอบการอบรม

“การเลี้ยงปลาหมอในร่องสวน และแหล่งน้้าในสวนล้าไย
ตามแนวทางการลดต้นทุนและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นทางเลือกแก่ชุมชนในการพึ่งพาตนเอง”

วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์การเรียนรู้ กศน.


บ้านบวกครกเหนือ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่
ปลาหมอไทย
ผศ.ทิพสุคนธ ์ พิมพ ์พิมล
คณะเทคโนโลยีการประมงและทร ัพยากรทางน้ า มหาวิทยาลัย
แม่โจ้
ปลาหมอไทย

เป็ นปลาทีมี่ ความทนทาน ทรหด อดทนสูง


มีอวัยวะพิเศษช่วยหายใจ
่ นาน้
อาศัยอยู่ได ้ในบริเวณทีมี ้ อยๆ หรือทีชุ
่ ม
่ ชืน้
ได ้เป็ นเวลานาน
ปลาหมอไทย
 ในเขตภาคเหนื อปลาหมอเป็ นปลาทีนิ ่ ยม
บริโภค
 เป็ นทีต ่ ้องการในตลาดสูง มีราคาแพง
 แต่ยงั ตไม่เิ บืสองต
จากสถิ ้ ามารถผลิ
้นทาใหต้เห็
ใหน้เพี
ไดย้ว่งพอ
าสัดส่และใน
วนผลผลิต
ธรรมชาติก็หาได ้ยาก ปลาหมอ
จากแหล่งนาธรรมชาติ ้ มแี นวโน้มลดลง
ในขณะทีผลผลิ ่ ตจากการเพาะเลียงมี ้ แนวโน้ม
สูงขึน้

แต่ยงั ไม่นิยมเลียงปลาหมอในเชิ งพาณิ ชย ์
ปลาหมอไทย
อาหารและนิ สย ั การ
กินอาหาร
ปลาหมอไทยเป็ นปลากินเนื อ้
้ มี
เป็ นปลาผูล้ า่ สัตว ์นาที ่ ขนาด
เล็กกว่า
ชอบกินอาหารทีผิ ่ วนาและ

กลางนา้
ความดกไข่และนิ สย ั การ

วางไข่
ปลาหมอไทยวางไข่ในช่วงฤดูฝน

 ชอบวางไข่ในนาใหม่ ่ ยกว่า
หรือฝนแรกทีเรี

“นาแดง”
 อุณหภูมต ่ าปกติ เมือฝนเริ
ิ ากว่ ่ ่
มตก

พ่อ-แม่พน
ั ธุ ์ปลาหมอ ร ัง
ไข่ของปลาหมอ
การเพาะพันธุ ์ปลา
หมอไทย
การจัดการพ่อแม่
พันธุ าเร็
หัวใจสาคัญของความส ์ปลา
จในการเพาะพันธุ ์
ปลา
คือ การจัดการพ่อแม่ปลาให ้สมบูรณ์เพศพร ้อม
ผสมพันธุ ์วางไข่
วิธก
ี ารเพาะพันธุ ์
การกระตุน้ การวางไข่ดว้ ยฮอร ์โมน
สั
Suprefact
ง เคราะห ์

Motilium
อ ัตราความเข้มข้นของฮอร ์โมน
ั ธุ ์ปลา น้ าหนัก 1 กก.
แม่พน
 ใช้ Supreface 15
ไมโครกร ัม
 ใช้ Motilium 5 มิล ลิ
ก ร ัม
พ่อพันธุ ์ปลา น้ าหนัก 1 กก.
 ใช้ Supreface 5
ไมโครกร ัม
 ใช้ Motilium 5 มิลลิกร ัม

เพือความสะดวกในการแยกพ่ อแม่ปลา
 ควรปล่อยให ้ผสมพันธุ ์วางไข่ในกระชังตาห่าง

ซึงแขวนอยู ่ในบ่อ
 มีกระช ังผ้าโอล่อนแก ้ว รองร ับไข่ปลาอยู่อก

้ั
ชนหนึ ่ง

 อัตราส่วนปลาเพศเมียต่อเพศผู ้ เท่ากับ
1 ต่อ 2

 ระดับนาในบ่ อ 30 - 50 เซนติเมตร

 พ่นสเปรย ์นาและถ่ ่
ายเปลียนน า้
ตลอดเวลา
การอนุ บาลลู กปลา

การอนุ บาลลูกปลาเป็ นขันตอนที ่ าคัญ เพือให
ส ่ ้
ได ้ลูกปลา
ที ่
สมบู รณ์บแข็
เตรียมบ่ออนุ าลงแรงและมีอต ั รารอดตายสูง
ทานาเขี้ ยวและอาหารธรรมชาติ
หลังจากนั้น 3 วัน ใส่เชือโรตี
้ เฟอร ์และไร
แดงลงในบ่อ
หลังจากนั้นอีก 3 วัน จึงปล่อยลูกปลาลงบ่อ
ในช่วงเช ้า
การอนุ บาลลู กปลา
อายุลูกปลา ประเภทอาหารอนุ บาลลู ก
(วัน) ปลา
1-3 อาหารจากถุงอาหาร
3 - 10 โรตีเฟอร ์ และไข่แดงต ้มสุก
บดละเอียด
ละลายนา้ สาดทัวบ่
่ อ
7 - 20 ไรแดง อาหารผงสาเร็จรูปหรือ
ปลาป่ นผสม
ราละเอียด อัตรา 1 : 1
15 - 25 อาหารเม็ดจิว๋ หรือเม็ดเล็กพิเศษ

การเลียงปลาหมอ
ไทย

การเลียงปลาหมอไทย
เตรียมบ่อ ในบ่อดิน

 กาจัดศัตรูปลาวัชพืชและพันธุ ์ไม้นาออกให ้
หมด
 หว่านปูนขาว ประมาณ 150 – 200 กก./ไร่
 ตากบ่อให ้แห ้งเป็ นระยะเวลา 2 - 3 สัปดาห ์

 ใช ้อวนไนลอนสีฟ้ากันรอบบ่ ่ องกันปลา
อเพือป้
หลบหนี

 สูบนาลงบ่ อก่อนปล่อยลูกปลาประมาณ 60 -
100 เซนติเมตร
การเลือกลูกพันธุ ์ปลา

ขนาดลูกปลาทีเหมาะสมในการปล่ ้ อดินมี
อยเลียงบ่
2 ขนาด
ลูกปลาขนาด 2 - 3 เซนติเมตร หรือเรียกว่า
“ขนาดใบมะขาม”
มีอายุ 25 - 30 วัน
อั
ตขนาด
ราปล่อ2ยลู
- ก3ปลา
นิ ว้ ซึงเป็
่ นลูกปลาอายุ 60 - 75
วันลูกปลา ขนาด 2 - 3 เซนติเมตร อัตราปล่อย 30

- 50 ตัว/ตรม.
หรือ 50,000 - 80,000 ตัว/ไร่
การปล่อยลูกพันธุ ์ปลา คือ ช่วงเช ้าหรือเย็น
การให ้อาหาร
โปรแกรมการให ้อาหารปลาหมอไทยในบ่อดิน
ระยะเวลา
อายุป120 น้ าหนักปลา มืออาหาร
ลา วัน ้ ้
(มือ/
(วัน) (กร ัม) วัน)
1-7 0.5 - 8.5 3-4
8-4 8.5 - 18.5 3-4
15 - 20 18.5 - 26.5 3-4
20 - 25 26.5 - 35.0 3-4
26 - 32 35.0 - 43.0 3-4
33 - 37 43.0 - 50.0 3-4
38 - 60 50.0 - 81.5 2-3
61 - 67 81.5 - 91.5 2-3
68 - 120 91.5 -164.5 2-3
ระยะเวลาเลียง ้

 ขึนอยู ่
่กบั ขนาดปลาทีตลาดต ้องการ

 ทัวไปใช ้ ประมาณ 90 - 120
้เวลาเลียง
วัน
วิถก
ี ารตลาดของปลา
หมอไทย
โรคและการป้ องกัน
การป้ องกันและกาจัด
โรคปลา
โรคปลามักระบาดในต ้นฤดูฝนหรือช่วงรอยต่อของ
ส่วนใหญ่มก ่ ้นจากปัจจัยภาวะแวดล ้อมของนา้
ั เริมต
และสภาพพืนบ่ ้ อเสือมโทรม

่ ณหภูมน
เมืออุ ้ า่ ภูมต
ิ าต ิ ้านทานและสุขภาพปลา
จะอ่อนแอ ปรสิตภายนอกจะเจริญเติบโต
ขยายตัวสูงมาก ส่งผลให ้ปลาป่ วย
โรคตกเลือดตาม
ซอกเกล็ด
อาการ
 มีแผลสีแดงเป็ นจาๆ ้ ตามลาตัว โดย
เฉพาะทีครี่ บ
และซอกเกล็ด
้ ังจะทาให ้เกล็ดหลุด
 ถ ้าเป็ นแผลเรือร
การป้ องกั
บริน และร ักษา
เวณรอบๆ
 หว่านเกลือเม็ด 200 - 300 กก./ไร่ ระดับ
นา้ 1 ม.
โรคเกล็ดพอง

อาการ
 มีเกล็ดพอง และมีตกเลือดบริเวณ
ผิวหนัง
 มีแผลเป็ นปุยขาวๆ ปนเทา คล ้าย
ส าลี
ป กคลุม
การป้ องกันและร ักษาอยู

 หว่านเกลือเม็ด 200 - 300 กก./ไร่ ระดับ
นา้ 1 ม.
ร่วมกับปูนขาว 60 - 100 กก./ไร่ สาดทัว่
บ่อ
โรคแผลตาม
ลาตัว
อาการ
 เกล็ดหลุดและผิวหนังเริม่
เปื่ อย
ลึกลงไปจนถึงชน้ั
การป้ องกันและรกลักษา ้ามเนื อ้
่ อาการของโรค อาจผสมยา
 ถ ้าปลาเริมมี
ปฏิชวี นะจาพวก ออกซิเตตร ้าซ ัยคลินใน
อาหาร
 อัตรา 3 - 5 ก./อาหาร 1 กก. ให ้ปลากิน
ติดต่อกัน 7 วัน
การป้ องกันโรคระบาดปลา
ในบ่ อ เลี ้
ยง
 ถ ้าพบปลาป่ วยในช่วงปลายฤดูฝนต่อกับฤดู
หนาว
้ ้าบ่อโดยทันที
ใหร้ บี ปิ ดบ่อหรืองดการเติมนาเข
 ลดปริมาณอาหารทีให ่ ้ปลากินเพือป้
่ องกันนา้
เน่ าเสีย
 ควบคุมคุณภาพนาในบ่ ้ อโดยใช ้ปูนขาวอัตรา
60 - 100 กก./บ่อ
1 ไร่ ระดับนาลึ ้ ก 1 ม.
ข้อปฏิบต ่
ั เิ มือปลาในบ่ ้
อเลียงป่ วย
ด้วยโรคระบาด

 ห ้ามทาการเปลียนน ้ อถ่ายเทนา้
าหรื

 ช ้อนปลาทีตายหรื ่
อป่ วยใกล ้ตายออกเท่าทีจะ
ทาได ้ และทาลาย
โดยการฝังดินหรือเผาทิง้
 ให ้งดอาหารหรือลดปริมาณอาหารลง
 ใส่ปน ้
ู ขาวลงในบ่อเลียงในอั
ตรา 60-100 กก./
บ่อขนาด 1 ไร่
้ ก 1 เมตร
ระดับนาลึ
การผลิตอาหารปลา
อาหารเม็ดชนิ ดต่างๆ
การเตรียมวัตถุดบ

วัตถุดบ ่ นแหล่ง
ิ ทีเป็
โปรตีน

่ สง
ถัวลิ เศษปลา


ถัวเหลื
องสุก ปลาป่ น
การเตรียมวัตถุดบ

วัตถุดบ ่ นแหล่ง
ิ ทีเป็
พลังงาน

ราละเอียด ข ้าวโพด

แป้ งมัน ปลายข ้าวต ้ม


สาปะหลัง สุก
การเตรียมวัตถุดบ

วัตถุดบ ิ อาหารในกลุ่มไขมัน
หรื อ น้ ามัน ่ พ
เป็ นสารอาหารทีให ้ ลังงานและแหล่งของกรด
ไขมันทีจ่ าเป็ นดังกล่าวข ้างต ้น นอกจากนี มี
้ การใช ้
เป็ นสารแต่ ง กลิ่นอาหารเพื่อกระตุ น ์ ้ ากิน
้ สัต ว น
อาหารได ้มากขึน้
กรรมวิธข
ี องการ
ผลิตอาหาร
สู ตรอาหาร การผสม

การบด
การอ ัดเม็ด
วัตถุดบ

การชง่ ั การทาให้
น้ าหนัก แห้ง
สู ตรอาหาร
 ควรพิจารณาเลือกใช ้ให ้เหมาะสมกับชนิ ด อายุ
หรือระยะของสัตว ์นา้ และระบบการเลียง ้
์ ้ าที่เลียงจั
 ชนิ ด ของสัต ว น ้ ด อยู่ ใ นกลุ่ ม กิน พืช
หรือกินเนื อ้
วิธก
ี าร
1. เตรียมวัตถุดบ ่ ้ทาอาหารพร ้อม
ิ ทีใช
้ านวณและชงวั
ทังค ่ ั ตถุดบ ิ ตามสัดส่วน
วิธก
ี าร

2. นาวัตถุดบ
ิ แต่ละชนิ ดมาบดให ้
ละเอียด
วิธก
ี าร
้ กน้อย
3. คลุกเคล ้าให ้เข ้ากันเติมนาเล็
4. ส่วนปลายข ้าวต ้องนาไปต ้มก่อนที่
จะนาไปผสม
วิธก
ี าร
่ ดเม็ด
5. นามาเข ้าเครืองอั
วิธก
ี าร
่ ้ในทีร่่ มจน
6. นาไปผึงไว
แห ้ง
ปั จจัยสาคญ ้
ั ในขันตอนการผลิ ตอาหาร
สัตว ์น้ า มีดงั นี คื้ อ
 วัตถุดบ ่ ้ต ้องบดละเอียด
ิ ทีใช
 วัตถุดบ ่ ้ควรจะใหม่ สด
ิ ทีใช
 วัตถุดบ ิ แห ้งไม่ควรเก็บนานเกิน 1-3 เดือน
 วัตถุดบ ่ นแป้ งดิบควรทาใหส้ ุกเพื่อช่วยให ้
ิ ทีเป็
ขบวนการย่อยอาหารเร็วขึน้
 การผสมอาหารควรมีการผสมกันอย่างทัวถึ ่ ง
 อาหารควรมีความชืนไม่ ้ เกิน 10-12%
สู ตรอาหาร
ปลาป่ น
โปรตี
น 30% 20.5
ราละเอียด 30.0

กากถัวเหลือง 37.5
ปลายข ้าว 11.5
พรีมก
ิ ซ ์ หรือวิตามินซี 0.5
รวม 100
การเสริมพืชท้องถินบางชนิ ่ ด
ในอาหาร

เพือเพิ ่ ัตรารอดและเพิม
มอ ่
ผศ.ทิพสุคนธ ์ พิมพ ์พิมล
ศ ักยภาพ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทร ัพยากรทางน้ า มหาวิทยาลัย
้ แม่โจ้
ในการเลียงปลาหมอไทย

การนาพืชท ้องถินมาผสมในอาหารเลี ้
ยงปลาหมอ
เป็ นแนวทางหนึ่ ง ทีช่ ่ วยเพิมศั
่ กยภาพในการผลิต
ทาหน้าทีไปกระตุ ่ ้นแบคทีเรียกลุม ่ ประโยชน์
่ ทีมี
ในลาไส ้ของปลา
้ อก่
ยังยับยังเชื ้ อโรค
ส่งผลให ด
ลดการเกิ ้ความต ้านทานโรคและอั
สารพิษ ระหว่างการหมัตกรารอดของ
อาหารใน
ลาไสปลาดี ขน
้ใหญ่ ึ ้ ทาให ้เกษตรกรไม่ต ้องใช ้ยาปฏิชวี นะ
ในการร ักษาโรคปลา

การเสริมพืชท้องถินใน
อาหาร
วิธก
ี าร
ปล่อยลูกปลาหมอในอัตรา 25 ตัว/ตารางเมตร
ให ้อาหารเม็ดสาเร็จรูปโปรตีน 30%
้ ้า หัวหอมใหญ่ และกระเทียม)
(เสริม กล ้วยนาว
นาวัตถุดบิ มาคลุกเคล ้าให ้ทัว่ แล ้วเคลือบด ้วยไข่
่ ้แห ้ง
ขาว ผึงให
ให ้อาหาร 3% ของนาหนั้ กตัว วันละ 2 ครง้ั
ปร ับปริมาณอาหารทีให ่ ้ทุก 14 วัน
ผลการ
อ ัตรารอด (%) ทดลอง
100.0
a
อ ัตรารอด (%)
80.0
60.0 b
40.0 b c
20.0 c
0.0


พืชท้องถิน
ผลการ
ทดลอง
อ ัตราส่วนผลตอบแทนต่

ต้นทุน1.0
อ ัตราส่วนผลตอบแทน
0.8
0.6
0.4
0.2
0.0


พืชท้องถิน
ผลการ
ทดลอง
ประสิทธิภาพการใช้
โปรตีน
ประสิทธิภาพของ 2.0
1.5 a
1.0
โปรตีน
b
0.5
c c
0.0


พืชท้องถิน
ข้อเสนอแนะ
 ค ว า ม แ ป ร ป ร ว น ข อ ง อ า ก า ศ เ ช่ น ฝ น ต ก
ติดต่อกัน ส่งผลต่อการกินอาหารของปลาหมอ
 ควรสังเกตการกินของปลาคือให ้กินอิมพอดี ่
 อาหารทีผสม่ ถา้ เตรียมทีละมากจะเกิดราขึนใน ้
ระหว่างการเก็บร ักษาได ้

You might also like