You are on page 1of 109

3

การศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรีย
จากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร: กรณีศึกษาฟางขาว
ในพื้นที่ภาคเหนือ

โดย

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
4

บทคัดยอ
การศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร: กรณีศึกษาฟางข าว
ในพื้นที่ภาคเหนือ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสรางมูลคาเพิ่มการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว โดยศึกษา
เกษตรกรที่เขารวมโครงการผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ป 2565 ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม
และตาก จำนวน 85 ตัวอยาง
ผลการศึ กษาห วงโซ ค ุ ณค าการผลิ ตปุ  ยอิ นทรี ย  จากฟางข าว พบว า กิ จกรรมหลั ก (Primary
Activities) ประกอบดวย 1) วัตถุดิบที่ใชในการผลิต ไดแก ฟางขาว มูลสัตว วัสดุพืช สารเรงซุปเปอร พด.1
และ 2 น้ำหมักชีวภาพ รอยละ 88.04 ของวัตถุดิบไดจากแปลงเกษตรของตนเอง ญาติ และเพื่อนบาน และที่
เหลือรอยละ 11.96 ซื้อในทองถิ่น 2) กระบวนการหมักปุยอินทรียใชวิธีการผลิตตามสูตรของกรมพัฒนาที่ดิน
3) ปุยอินทรียบรรจุกระสอบขนาด 20 และ 25 กิโลกรัม ขนยายไปเก็บที่ (1) โรงเรือน (2) บริเวณชายคาบาน
(3) ใตรมไม 4) การตลาดและการขาย ปุยขนาด 25 กิโลกรัมตอกระสอบ ราคาเฉลี่ย 137.50 บาท ใชโรงเรือน
เปนทั้งสถานที่จำหนายและจัดเก็บปุย ตั้งอยูใกลบริเวณบาน มีการสมนาคุณปุยเมื่อซื้อจำนวนมาก ลูกคา
ไดแก เกษตรกรทั่วไปและหนวยงานภาครัฐ และ 5) การบริการดานการขาย มีบริการขนสงปุยใหแกลูกคา
ใหคำแนะนำวิธีการใชปุยและติดตามหลังการขายเพื่อรับทราบผลการใชปุยและชวยแกไขปญหาใหแกลูกคา
สำหรับกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) ประกอบดวย 1) โครงสรางพื้นฐานขององคกร แหลงผลิต
กองปุยอินทรียอยูใกลแปลงนาและแหลงน้ำใช ในการผลิตใชเงินทุนของตนเอง 2) การบริหารทรัพยากร
บุคคล ใชแรงงานในครัวเรือน การเอาแรงและจางแรงงานในหมูบานซึ่งไดรับการอบรมจากกรมพัฒนาที่ดิน
3) การวิจัยและพัฒนา มีการใชน้ำหมักชีวภาพ สารเรงซุปเปอร พด.1 และ 2 และการตรวจวัดความชื้ น
และอุณหภูมิของกองปุย และ 4) การจัดซื้อจัดหา สามารถจัดหาวัตถุดิบได อยางสะดวกและมี ปริ มาณ
เพียงพอในการผลิตปุย
สำหรับตนทุนการผลิตปุยอินทรียเฉลี่ย 3,281.27 บาทตอตัน ประกอบดวย ตนทุนผัน แปร
3,272.25 บาทตอตัน คิดเปนรอยละ 99.73 ของตนทุนทั้ งหมด และตนทุนคงที่ 9.02 บาทต อตั น
คิดเปนรอยละ 0.27 ของตนทุนทั้งหมด ราคาปุยที่จำหนายเฉลี่ย 5,500 บาทตอตัน ผลตอบแทนสุทธิ
เฉลี่ย 2,218.73 บาทตอตัน เมื่อเกษตรกรนำปุยอินทรียที่ผลิตไดใชรวมกับปุยเคมีในการทำนา สามารถ
ลดคาใชจายปุยเคมีได 209.59 บาทตอไร
ขอเสนอแนะ เกษตรกรควรรวมกลุ  มเพื่ อระดมทุ นจั ดซื้ อเครื่ องจั กรเพื่ อใช ในการบดย อยวั สดุ
และกลับกองปุย ทั้งนี้ กรมพัฒนาที่ดิน กรมสงเสริมการเกษตร และกรมสงเสริมสหกรณ ถาสนับสนุ น
เครื่องจักรควรดำเนินการผานกลุมเกษตรกรที่มีศักยภาพ เพื่อใหสามารถดูแลรักษาและใชเครื่องจักรไดอยาง
เป นธรรม และควรจั ดอบรมการผลิ ตปุ  ยให แก เกษตรกรรุ  นใหม เพื ่ อทดแทนแรงงานผู  ส ู งอายุ รวมถึ ง
ประชาสัมพันธเกี่ยวกับขั้นตอนและแนวทางปฏิบัติในการขอใบอนุญาตผลิตปุยอินทรียเพื่อการคา เพื่อให
เกษตรกรมีความเขาใจอยางชัดเจน
คำสำคัญ: หวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรีย ปุยอินทรีย

Abstract
The Organic Fertilizer Value Chain from Agricultural Waste: A Case Study of Rice Straw
in the Northern Region was investigated. The study aimed to examine and add value to the
production of organic fertilizer from rice straw, utilizing farmer interviews for data collection.
All interviewed farmers had participated in the organic fertilizer production project of the Land
Development Department (LDD) in 2022 from three provinces: Chiang Rai, Chiang Mai, and Tak.
The findings revealed the value chain of organic fertilizer from rice straw, comprising five
primary activities. The first activity was inbound logistics, involving raw materials for fertilizer
production, such as rice straw, manure, plant materials, Microbial Activator Super LDD1 and LDD2,
and bio-fermented liquid. The second activity was operations, encompassing the fermentation
process of the fertilizer using the LDD method. The third activity was outbound logistics, where the
organic fertilizer was packed in approximately 25 kilograms per sack and transferred to producers’
warehouses. The fourth activity was marketing and sales, with the organic fertilizer priced at 137.50
baht per sack, with sales promotions such as buy 20 get 1 free. The final primary activity was
service, offering customers fertilizer delivery and recommendations. In addition to these primary
activities, the findings demonstrated four supporting activities: organizational infrastructure, human
resources, research and development, and procurement. Specifically, the fertilizer production site
was located near water resources and raw materials. Furthermore, the fertilizer producers received
training from LDD. Moreover, the fertilizer contained Microbial Activator Super LDD1 and LDD2, and
bio-fermented liquid. Finally, the raw materials were sufficient for fertilizer production.
The study also indicated that the organic fertilizer cost 3,281.27 baht per ton, with 99.73
percent for variable costs and 0.27 percent for fixed costs. The average selling price of the fertilizer
was 5,500 baht per ton; therefore, the return for the farmer producers was 2,269.20 baht per ton.
Farmers applying organic fertilizers along with chemical fertilizers for farming could reduce chemical
fertilizer costs by approximately 209.59 baht per rai.
The results led to policy recommendations that farmers should seek funding to purchase
machinery for crushing materials and turning compost piles. Additionally, the Ministry of Agriculture
and Cooperative should support machinery through groups of potential farmers and provide
training courses for young, smart farmers on producing fertilizer.
Keywords: Organic Fertilizer, Value Chain.

คำนำ
ประเทศไทยมี พื้นที่ ทำนาถึ งร อยละ 44 ของพื้นที่ทำการเกษตรทั้งประเทศ จึงทำใหมีฟางข าว
ที่เปนวัสดุเหลือใชทางการเกษตรที่ยังไมไดนำไปใชประโยชน เกษตรกรสวนใหญกำจัดฟางขาวดวยการเผา
กอนการเตรียมดินในฤดูการทำนารอบถัดไป ซึ่งการเผานอกจากจะทำใหพื้นที่ทำการเกษตรเสื่อมโทรมแลว
ยังกอใหเกิดปญหามลพิษตามมาอีกดวย หากสงเสริมใหเกษตรกรนำฟางขาวมาใชใหเกิดประโยชนดวยการ
ผลิตเปนปุยอินทรียใชรวมกับปุยเคมีในการผลิต จะสามารถชวยลดตนทุนการใชปุยเคมี อีกทั้งยังเปนการ
ทำการเกษตรที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ซึ่งสอดคลองกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG Economy Model
ดังนั้น การศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร: กรณีศึกษาฟางข าว
ในพื้นที่ภาคเหนือ จึงเปนการสนับสนุนดานขอมูลใหเกษตรกรหันมาผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว เพื่อลด
ตนทุนการผลิต และสามารถจัดการวัสดุเหลือใชทางการเกษตรใหเกิดประโยชนสูงสุด อีกทั้งภาครัฐมีขอมูล
ใชประกอบการกำหนดนโยบายที่เหมาะสมเกี่ยวกับแนวทางการจัดการและการสงเสริมการใชวัสดุเหลือใช
ทางการเกษตร ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ขอขอบคุณเจาหนาที่จากกรม
พัฒนาที่ดิน สถานีพัฒนาที่ดินเชียงใหม สถานีพัฒนาที่ดินเชียงราย และสถานีพัฒนาที่ดินตาก ที่ใหความ
อนุเคราะหการประสานงาน ตลอดจนเกษตรกรที่ใหความรวมมือเปนอยางดียิ่งสำหรับขอมูลในการศึกษา
ในครั้งนี้จนเอกสารวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรฉบับนี้เสร็จสมบูรณ

สวนวิจัยเศรษฐกิจเทคโนโลยี ทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดลอม
สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
พฤศจิกายน 2566

สารบัญ
บทคัดยอ ข
ABSTRACT ง
คำนำ ฉ
สารบัญ ซ
สารบัญตาราง ญ
สารบัญภาพ ฏ
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ความสำคัญของงานวิจัย 1
1.2 วัตถุประสงคของงานวิจัย 3
1.3 ขอบเขตของงานวิจัย 3
1.4 นิยามศัพทเฉพาะ 3
1.5 วิธีการวิจัย 4
1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 6
บทที่ 2 การตรวจเอกสาร แนวคิดและทฤษฎี 7
2.1 การตรวจเอกสาร 7
2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ 13
บทที่ 3 ขอมูลทั่วไป 23
3.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 23
3.2 พื้นที่ทำการเกษตร 25
3.3 การเขารวมเปนสมาชิกในกลุมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร 26
3.4 แหลงเงินลงทุนทำปุย 27
3.5 ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีตอการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 27
3.6 ปจจัยที่เกษตรกรตองการไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติม 28
3.7 สรุปวิธีการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 29

สารบัญ (ตอ)
หน้า

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห 323


4.1 โซอุปทานการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 33
4.2 หวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 35
4.3 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 50
4.4 การประมาณการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวเหลือใชของประเทศ 54
4.5 การเพิ่มมูลคาในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 55
บทที่ 5 สรุปและขอเสนอแนะ 589
5.1 สรุป 59
5.2 ขอเสนอแนะ 63
บรรณานุกรม 65
ภาคผนวก 69
ภาคผนวกที่ 1 แบบสัมภาษณ 71
ภาคผนวกที่ 2 ปุยหมักสูตรกรมพัฒนาที่ดิน 89

สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 1.1 แสดงจำนวนประชากรเกษตรกรผูผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว โครงการการผลิต
ปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ในป 2565 5
ตารางที่ 3.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ 24
ตารางที่ 3.2 พื้นที่ทำการเกษตร ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ 26
ตารางที่ 3.3 การเปนสมาชิกสถาบันเกษตรกร ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ 26
ตารางที่ 3.4 แหลงเงินลงทุนผลิตปุย ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ 27
ตารางที่ 3.5 ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีตอปุยอินทรียจากฟางขาว ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ 28
ตารางที่ 3.6 ปจจัยที่เกษตรกรตองการไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติม ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ 28
ตารางที่ 4.1 แสดงปริมาณและมูลคาของวัสดุที่ใชผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน ป 2565
ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ 38
ตารางที่ 4.2 แสดงคาแรงงานและน้ำมัน ในการเก็บและขนวัสดุที่ใชผลิตปุยอินทรีย
จากฟางขาว 1 ตัน ป 2565 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ 39
ตารางที่ 4.3 แสดงคาแรงงานในการผลิตและขนยายปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน ป 2565
ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ 44
ตารางที่ 4.4 ตนทุนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน ป 2565 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ 52
ตารางที่ 4.5 ผลตอบแทนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน ป 2565 ของเกษตรกร
ในพื้นที่ภาคเหนือ 53
ตารางที่ 4.6 การใชปุยในการปลูกขาวนาป ปเพาะปลูก 2565/66 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ 54
ตารางที่ 4.7 พื้นที่เก็บเกี่ยวและปริมาณฟางขาว ขาวนาป ปเพาะปลูก 2565/66 และนาปรัง
ปเพาะปลูก 2565 55

สารบัญภาพ
หนา
ภาพที่ 1.1 แนวคิดการวิจัยหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 4
ภาพที่ 2.1 ปจจัยพื้นฐานของหวงโซคุณคาของ MICHAEL E. PORTER 18
ภาพที่ 3.1 วัสดุสำหรับการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 30
ภาพที่ 3.2 ลักษณะของคอกผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 31
ภาพที่ 3.3 วัสดุอื่นๆ สำหรับการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 31
ภาพที่ 3.4 ปุยอินทรียจากฟางขาว 32
ภาพที่ 4.1 โซอุปทานการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 34
ภาพที่ 4.2 ขั้นตอนการผลิตน้ำหมักชีวภาพ 40
ภาพที่ 4.3 ขั้นตอนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 42
ภาพที่ 4.4 หวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว ป 2565 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ 49
ภาพที่ 4.5 การสรางมูลคาเพิ่มในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 57

1

บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความสำคัญของงานวิจัย
ปุยเปนปจจัยสำคัญที่ชวยในการเจริญเติบโตและชวยใหผลผลิตพืชเพิ่มขึ้น เกษตรกรจึงนิยม
ใชปุยในการผลิต แตที่ผานมาเกษตรกรสวนใหญยังขาดความรูเรื่องการจัดการดินและการใชปุยที่ถูกตอง
หรือการใชปุยตามคำแนะนำแบบถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกเวลา และถูกวิธี สงผลใหตนทุนการผลิตในสวน
ของปุยเคมีสูงกวาความจำเปน (กรมสงเสริมการเกษตร, 2559) ปจจุบันไทยตองพึ่งพาการนำเขาปุยเคมี
จากตางประเทศโดยในป 2564 มีการนำเขาปุยเคมีรอยละ 98 ของปริมาณการใชปุยของประเทศ คิดเปน
ปริมาณรวม 5.5 ลานตัน มูลคา 70,103 ลานบาท แหลงนำเขาที่สำคัญ ไดแก จีน รัสเซีย และเบลารุส
จากวิกฤตเศรษฐกิจที่ตกต่ำทั่วโลกจากการแพรระบาดของโควิด-19 ทำใหเกิดปญหากับระบบโลจิสติ กส
การคาปุยเคมี ประกอบกับสถานการณความขัดแยงระหวางสหพันธรัฐรัสเซียและประเทศยูเครนตั้งแตตน
ป 2565 ทำใหรัสเซียซึ่งเปนผูผลิตและสงออกปุยรายใหญของโลกประกาศหามสงออกปุยเคมีทั้งหมด
นอกจากนี้ จีนและอินเดียซึ่งเปนผูผลิตและผูใชปุยเคมีลำดับตนๆ ของโลกไดกำหนดนโยบายลดการ
สงออกปุยเคมีและเพิ่มการผลิตสินคาเกษตรภายในประเทศ สงผลใหปริมาณปุยเคมีในตลาดโลกลดลง
และราคาเพิ่มสูงขึ้น สงผลตอราคาปุยเคมีภายในประเทศปรับตัวสูงขึ้นโดยเฉพาะในชวงเดือนมกราคม
ถึงเดือนกรกฎาคม 2565 แมปุยสำหรับผลิตปุยสูตรตางๆ ไดแก ยูเรีย (46-0-0) ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต
(18-46-0) และโพแทสเซียมคลอไรด (0-0-60) มีราคาขายสงตอตันเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 117.18 , 90.35
และ 155.88 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมา (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2565ก)
จึงสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการผลิตของเกษตรกร
จากสถานการณปุยเคมีราคาสูง กระทรวงเกษตรและสหกรณไดดำเนินมาตรการทั้งในระยะ
เรงดวน ระยะกลาง และระยะยาว ภายใตโครงการสงเสริมการผลิตและใชปุยอินทรียและวัสดุอินทรีย
เพื่อการแกไขปญหาปุยเคมีราคาแพง เนื่องจากการใชปุยอินทรียทดแทนปุยเคมีบางสวน จะทำใหตนทุน
คาปุยเคมีตอไรลดลงรอยละ 30 - 50 (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2564ก) รวมทั้งกระทรวงเกษตร
และสหกรณมีนโยบายในการสนับสนุนใหเกษตรกรนำวัสดุจากพื้นที่เกษตรและครัวเรือน มาเปนวัตถุดิบ
ในการผลิตปุยอินทรียเพื่อทดแทนปุยเคมีหรือใชรวมกับปุยเคมีได (กรมพัฒนาที่ดิน, 2565ก)
นอกจากนี้ การผลิตสินคาเกษตรที่สำคัญไดกอใหเกิดวัสดุเหลือใชทางการเกษตรเปนจำนวนมาก
โดยในป 2563 มีวัสดุเหลือใชทางการเกษตรในประเทศประมาณ 700 ลานตัน จำแนกเปน ยางพารา 447
ลานตัน ปาลมน้ำมัน 53 ลานตัน ขาว 19 ลานตัน มันสำปะหลัง 15 ลานตัน ออย 13 ลานตัน ขาวโพด
เลี้ยงสัตว 10 ลานตัน และจากแหลงผลิตดานเกษตรอื่นๆ (P. Abdul Salam, 2022, อางถึง DOAE (2020),
Wang et al. (2021), OAE (2020)) ซึ่งการกำจัดวัสดุเหลือใชดังกลาวเกษตรกรนิยมใชวิธีเผาภายใน
แปลง เนื่องจากรวดเร็วและสะดวกตอการไถเตรียมดินสำหรับการเพาะปลูกในฤดูถัดไป แตการเผา
มีผลกระทบตอสุขภาพของเกษตรกร เกิดมลพิษตอชุมชนและสิ่งแวดลอม (สังเวย เสวกวิหารี และ
2

ธนาพร บุญชู, 2564) รวมทั้งเปนการทำลายจุลินทรียและสิ่งมีชีวิตในดินที่เปนประโยชนตอการยอย


สลายธาตุอาหารพืช (สารินี สวนจันทร, 2561) อยางไรก็ตาม ยังมีเกษตรกรที่ปลอยทิ้งวัสดุเหลือใช
เหลานั้นภายในแปลงผลิต เพื่อใหยอยสลายเปนอินทรียวัตถุในแปลงปลูก โดยเฉพาะการปลูกขาว
ซึ่งอินทรียวัตถุจะทำใหดินมีความอุดมสมบูรณชวยในการเจริญเติบโตของพืช และเปนแหลงธาตุอาหาร
ใหแกจุลินทรียที่เปนประโยชนในดิน สวนวัสดุเหลือใชของพืชอื่นๆ ยอยสลายไดชาเนื่องจากมีความแข็ง
และขนาดใหญ (นายสมศักดิ์ จีรัตน, ม.ป.ป.)
ในป 2565 ประเทศไทยมี เนื้ อที่ เก็ บเกี่ ยวข าว 69.58 ลานไร จำแนกเป น นาป 60.06 ล านไร
และนาปรั ง 9.52 ล านไร (สำนั กงานเศรษฐกิ จการเกษตร, 2565ข) เมื ่ อแปรฟางข าวโดยใช อั ตราแปร
ของกรมพัฒนาที่ดิน ขาวนาปจะมีฟางขาวปริมาณ 420 กิโลกรัมตอไร สวนนาปรังจะมีฟางขาวปริ มาณ
199 กิโลกรัมตอไร ดังนั้น ในป 2565 จะมีฟางขาวรวมปริมาณ 27.12 ลานตัน ซึ่งจากปริมาณฟางขาว
ทั ้ งหมดเกษตรกรได น ำไปใช ประโยชน แล ว คิ ดเป นร อยละ 77 ของฟางข าวทั ้ งหมด (Penwadee
Cheewaphongphan, 2018) หรื อ 20.88 ล านตั น ส วนฟางข าวที ่ เกษตรกรยั งไม ได นำไปใช ประโยชน
ซึ ่ งเกษตรกรจะเผาหรื อปล อยทิ ้ งในแปลง คิ ดเป นร อยละ 23 ของฟางข าวทั ้ งหมด หรื อ 6.24 ล านตั น
ซึ ่ งจากผลการวิ เคราะห ปริ มาณธาตุ อาหารของฟางข าวจะให ธาตุ อาหารไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรั ส (P)
และโปรแตสเซียม (K) รวม 14.50 กิโลกรัมตอไร (วิสุทธิ์ เลิศไกร, 2559) ดังนั้น หากสงเสริมและสนับสนุน
ใหเกษตรกรเห็นความสำคัญในการจัดการนำฟางขาวที่เกิดขึ้น มาผลิตปุยอินทรีย จะสามารถใชทดแทน
หรือใชรวมกับปุยเคมีได ซึ่งจะชวยลดตนทุนการผลิตในสวนของปจจัยการผลิต และสนับสนุนการลด
มลพิษทางอากาศและการผลิตที่คำนึงถึงสิ่งแวดลอม แมวาปุยอินทรียที่ไดจากฟางขาวมีปริมาณธาตุ
อาหารพืชนอยกวาปุยเคมี แตกระบวนการปลดปลอยธาตุอาหารจะดำเนินการอยางชาๆ ทำใหการ
สูญเสียจากการชะลางนอยกวาการใชปุยเคมี รวมทั้งยังชวยปรับโครงสรางดิน สงผลใหผลผลิตเพิ่มขึ้น
(กรมพัฒนาที่ดิน, 2556) อีกทั้งสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลที่กำหนดเปาหมายเชิงยุทธศาสตร
ของประเทศในการขับเคลื่อน BCG Economy Model ไดแก เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจ
หมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) หรือการสรางมูลคาเพิ่มจากวัสดุ
เหลือใชทางการเกษตร การลดมลพิษจากการเผาตอซัง และการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรเห็นวา ปญหาดังกลาวขางตนมีความสำคัญตอการผลิตสินคา
เกษตร จึงทำการศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร กรณีศึกษา:
ฟางขาวในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อสนับสนุนมาตรการแกไขปญหาปุยเคมีราคาแพงของภาครัฐ โดยนำวัสดุ
เหลือใชทางการเกษตรมาผลิตปุยอินทรีย ซึ่งผลการศึกษาจะใชเปนขอเสนอแนะใหหนวยงานที่เกี่ยวของ
ในพื้นที่ ประกอบการวางแผนการสงเสริม และพัฒนารูปแบบการใชวัสดุเหลือใชทางการเกษตรเพื่อเพิ่ม
อินทรียวัตถุในดิน สนับสนุนการลดการใชปุยเคมี ที่จะชวยลดตนทุนการผลิตของเกษตรกรตอไป
3

1.2 วัตถุประสงคของงานวิจัย
เพื่อศึกษาการสรางมูลคาเพิ่มการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว

1.3 ขอบเขตของงานวิจัย
1.3.1 ศึกษาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร คือ ฟางขาว
1.3.2 กลุ  มตั ว อย างในการศึ ก ษา คื อ เกษตรกรผู  ผ ลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  จ ากฟางข าวในป 2565
และผานการอบรมโครงการผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน
1.3.3 พื้นที่ทำการศึกษา เปนพื้นที่ที่ไดรับการสงเสริมใหผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชจากฟาง
ขาว ภายใตโครงการการผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน จำนวน 3 จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงราย
เชียงใหม และจังหวัดตาก

1.4 นิยามศัพทเฉพาะ
1.4.1 ปุยอินทรีย หมายถึง ปุยที่ทำมาจากวัสดุอินทรีย ซึ่งผลิตดวยกรรมวิธีทำใหชื้น สับ หมัก
บด รอน สกัด หรือดวยวิธีการอื่น และวัสดุอินทรียถูกยอยสลายสมบูรณดวยจุลินทรียแตไมใชปุยเคมี
และปุยชีวภาพ (กรมวิชาการเกษตร, 2551) ปุยอินทรียแบงได 4 ชนิด คือ ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด
และปุยอินทรียน้ำหรือปุยอินทรียเหลว (โสฬส แซลิ้ม, 2559)
1.4.2 ปุยหมักสูตรของกรมพัฒนาที่ดิน เปนปุยอินทรียชนิดหนึ่งที่เกิดจากการนำซากหรือเศษ
เหลือจากพืชมาหมักรวมกัน และผานกระบวนการยอยสลายโดยใชสารเรงซุปเปอร พ.ด.1 จนเปลี่ยน
สภาพไปจากเดิมเปนวัสดุที่มีลักษณะออนนุม เปอยยุย ไมแข็งกระดาง และมีสีน้ำตาลปนดำ
1.4.3 สารเรงซุปเปอรของกรมพัฒนาที่ดิน แบงเปน 2 ชนิด ไดแก
1) สารเรงซุปเปอร พด.1 เปนกลุมจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพสูงในการยอยสลายวัสดุ
เหลือใชจากการเกษตร และอุตสาหกรรมแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตรเพื่อผลิตปุยหมักในเวลารวดเร็ว
และมีคุณภาพ สูงขึ้น ประกอบดวยเชื้อราและแอคติโนมัยซีสที่ยอยสารประกอบเซลลูโลสและแบคทีเรีย
ที่ยอยไขมัน
2) สารเรงซุปเปอร พด.2 เปนเชื้อจุลินทรียที่สามารถผลิตปุยอินทรียน้ำจากวั ต ถุ ดิ บ
ไดหลากหลาย เชน ผัก ผลไม ปลา หอยเชอรี่ เปลือกไข เศษกางและกระดูกสัตว เพิ่มประสิทธิภาพ
การละลายธาตุอาหารในการหมักวัตถุดิบจากเปลือกไข กาง และกระดูกสัตว เปนจุลินทรียที่เจริญ
ไดในสภาพความเปนกรด จุลินทรียสวนใหญสรางสปอร ทำใหทนตอสภาพแวดลอมและเก็บรักษา
ไดนาน สามารถผลิตปุยอินทรียในเวลาสั้นและไดคุณภาพชวยใหพืชแข็งแรง ตานทานตอการเขาทำลาย
ของโรค / แมลง
4

1.4.4 วัสดุเหลือใชทางการเกษตร หมายถึง สิ่งที่เหลือจากผลผลิตทางการเกษตร หรือสิ่งที่


ทิ้งคางจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร หรือซากทางการเกษตร เชน ตอซังขาว ฟาง ใบออย ตน
หรือใบมันสำปะหลัง ยาสูบ หรืออื่นๆ ที่มีมาจากภาคการเกษตร (ตุลญา โรจนทังคำ, 2557)
1.4.5 หวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรีย หมายถึง หวงโซที่อธิบายถึงการทำงานในทุกๆ กิจกรรม
ของการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร ตั้งแตการรับวัสดุนำเขา เชน ฟาง มูลสัตว
สารเรงซุปเปอร พด. เปนตน ผานวิธีการผลิตตามสูตรการผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน จนถึงการ
นำปุยอินทรียไปใชในการผลิต หรือสงมอบใหลูกคาในกิจกรรมของหวงโซคุณคาจะอธิบายเกี่ยวกับ
กิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
1.4.6 เอาแรง หมายถึง ชวยผูอื่นทำงานเพื่อตอไปเขาจะไดมาชวยตนทำงานในลักษณะเดียวกัน

1.5 วิธีการวิจัย
1.5.1 แนวคิดในการวิจัย

ทีม่ า: คณะผูวิจัย

ภาพที่ 1.1 แนวคิดการวิจัยหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว


5

1.5.2 การเก็บรวบรวมขอมูล
1) ข อ มู ล ปฐมภู ม ิ (Primary Data) เป น ข อ มู ล จากการสั ม ภาษณ เ กษตรกรผู  ผ ลิ ต
ปุยอินทรียจ ากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร คือ ฟางขาว ในป 2565 ตามสูตรของกรมพัฒนาที่ดิน และเปน
เกษตรกรที่เขารวมโครงการการผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน การเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบ
สำมะโน (Census) มีวิธีการ ดังนี้
1.1) สัมภาษณเกษตรกรทุ กรายที่ผลิต ปุ ย อิน ทรี ยจ ากฟางข าว ซึ่งผานการอบรม
โครงการผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ ดิน ป 2565 เพื่อศึกษาหวงโซคุ ณคา การผลิ ตปุ ยอิน ทรี ย
จำนวน 85 ราย (ตารางที่ 1.1)
1.2) พื ้ น ที่ ท ี ่ ใ ช ใ นการศึ ก ษา พิ จ ารณาจากการส ง เสริ ม ให ผ ลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  จ าก
ฟางขาว ของกรมพัฒนาที่ดิน ไดแก จังหวัดเชียงราย เชียงใหม และจังหวัดตาก

ตารางที่ 1.1 แสดงจำนวนประชากรเกษตรกรผูผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว โครงการการผลิตปุย


อินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ในป 2565

จังหวัด ประชากร (ราย)

เชียงราย 37

เชียงใหม 23

ตาก 25

รวม 85
ที่มา: สถานีพัฒนาที่ดินเชียงราย เชียงใหม และตาก, ป 2565

2) ข อมู ลทุ ต ิ ยภู มิ (Secondary Data) ได จากการรวบรวมข อมู ลจากเอกสารวิ ชาการ
บทความ รายงานการวิ จ ั ย เอกสารเผยแพร ข องหน ว ยงานต า งๆ ทั ้ งหน ว ยงานราชการ เอกชน
สถาบันการศึกษา ทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมถึงการสืบคนขอมูลจาก Website
1.5.3 การวิเคราะหขอมูล
1) การวิเคราะหเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) โดยวิเคราะหหวงโซคุณคาการผลิต
ปุยอินทรียจากฟางขาว ในกิจกรรมตางๆ ตามแนวคิดหวงโซคุณคา
6

2) การวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) เปนการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ


พรรณนา (Descriptive Statistic Analysis) ซึ่งเปนการอธิ บายคาสถิต ิ อยางง ายประกอบตาราง เชน คา
ผลรวม คาเฉลี่ย คารอยละ เพื่อใชในการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
และขอมูลทั่วไปของเกษตรกรผูผลิตปุยอินทรีย

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
16.1 ภาครัฐมีขอมูลใชประกอบการกำหนดนโยบายที่เหมาะสมเกี่ยวกับแนวทางการจัด การ
และการสงเสริมการใชวัสดุเหลือใชทางการเกษตรใหเกิดประโยชนอยางสูงสุด รวมถึงมีขอเสนอแนะ
ใหหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ใชประกอบการวางแผนการสงเสริมและพัฒนารูปแบบการใชวัสดุเหลือ
ใชทางการเกษตร
1.6.2 เกษตรกรสามารถนำขอมูลมาชวยในการตัดสินใจผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวเพื่ อลด
ตนทุนการผลิต
7

บทที่ 2
การตรวจเอกสาร แนวคิดและทฤษฎี
2.1 การตรวจเอกสาร
2.1.1 การตรวจเอกสาร
1) งานวิจัยเกี่ยวกับหวงโซคุณคา
จากการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแบบจำลองหวงโซคุณคาของการผลิต
ปุยอินทรียมีคอนขางจำกัด จึงไดทบทวนงานวิจัยจากการผลิตปุยรูปแบบอื่นที่คลายคลึงกัน
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2564ข) ศึกษาหวงโซคุณคาขาวหอมมะลิอินทรีย
ภายใตโครงการความรวมมือการพัฒนาเกษตรอินทรียของกลุมจังหวัดภาคกลางตอนบนมีวัตถุประสงค
เพื่อศึกษาหวงโซคุณคาของขาวหอมมะลิอินทรีย ในพื้นที่กลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน พบวา เกษตรกร
ใหความสำคัญทุกขั้นตอนการผลิต ตั้งแตการจัดหาปจจัยการผลิต กระบวนการผลิต และการจำหนาย
ผลผลิตซึ่งมีทั้งจำหนายเปนขาวเปลือกเจาหอมมะลิอินทรียใหแกโรงสีขาวอินทรีย และจำหนายเปน
ขาวสารหอมมะลิอินทรียใหผูบริโภคโดยตรง เกษตรกรที่รวมกลุมกันผลิตสวนใหญไมมีปญหาเกี่ยวกับ
แหลงจำหนาย แตเกษตรกรที่ผลิตรายเดี่ยวไมสามารถเขาถึงตลาดและนำผลผลิตขาวเปลือกเจาหอม
มะลิอินทรียจำหนายใหแกโรงสีขาวอินทรียได เนื่องจากไมเปนเกษตรกรเครือขายของโรงสี จึงตอง
จำหนายใหกับโรงสีทั่วไปซึ่งไดรับผลตอบแทนต่ำกวา สำหรับโรงสีขาวอินทรียใหความสำคัญในการผลิต
ทุกขั้นตอน จะรับซื้อเฉพาะขาวเปลือกเจาหอมมะลิอินทรียที่ผลิตจากเกษตรกรที่เปนสมาชิกเทานั้น แม
ผลผลิตที่รับซื้อจะไมเพียงพอกับความตองการแตโรงสีจะไมรับซื้อจากผูที่ไมใชเครือขาย เพื่อควบคุม
มาตรฐานสินคาของโรงสี สำหรับตนทุนการผลิตขาวหอมมะลิอินทรียนอยกวาการผลิตขาวทั่วไป คิดเปน
รอยละ 19.90 แตผลผลิตตอไรต่ำกวาขาวแบบทั่วไป คิดเปนรอยละ 22.35 สวนราคาขาวหอมมะลิ
อินทรียสูงกวาราคาจำหนายขาวทั่วไป คิดเปนรอยละ 40.66 และผลตอบแทนสุทธิตอไรของการผลิต
ขาวหอมมะลิอนิ ทรียสูงกวาขาวทั่วไป คิดเปนรอยละ 133.96
ณิชนิตา นามวงค (2560) ไดศึกษาการจัดการหวงโซแหงคุณคาปุยหมักมูลไสเดือน
ดิน: กรณีศึกษาศูนยวิจัยและพัฒนาไสเดือนดิน มหาวิทยาลัยแมโจ มีวัตถุประสงคหนึ่งเพื่อศึกษาหวงโซ
แหงคุณคาธุรกิจปุ ยหมั กไสเดือนดิน ของศูนยวิ จัยและพัฒนาไสเดื อนดิน มหาวิ ทยาลัย แมโจ พบวา
ดานการผลิต มีโรงงานผลิตปุยหมักไสเดือนดินที่ตั้งอยูในมหาวิทยาลัยแมโจ 12 บอเลี้ยง เฉลี่ยการผลิต
4 ตันตอเดือน และมีพื้นที่บนฟารมของมหาวิทยาลัยฯ 30 บอเลี้ยง เฉลี่ยการผลิต 10 ตันตอเดือน
นอกจากนี้ มีอาคารเก็บสินคาความจุ 20 ตัน ดานการตลาด สวนใหญจำหนายปุยใหกับผูบริโภคทั่วไป
ที่เขามาศึกษาดูงานของศูนยฯ และผูคาสง/คาปลีกในพื้นที่ภาคเหนือและภาคกลาง ดานทรัพยากรบุคคล
ในโรงเลี้ยงไสเดือนดิน 7 คน ทำหนาที่ใสเศษผักผลไมและมูลสัตว ตากปุยหมัก แปรรูป บรรจุหีบหอ
และเคลื่อนยายปุยหมัก ระบบโลจิสติกสของปุยหมักแบงเปน 3 กลุม ประกอบดวย ผูจำหนายวัตถุดิบ
โรงเลี ้ ย งไส เ ดื อ นดิ น และผู  จ ำหน า ยปุ  ย หมั ก ไส เ ดื อ นดิ น กิ จ กรรมการผลิ ต มี ด ั ง นี ้ 1) กิ จ กรรม
8

การจัดหาวัตถุดิบ ประกอบดวย สายพันธุไสเดือนดิน มูลสัตว เศษผักผลไมตางๆ จากโรงคัดบรรจุ


ของโครงการหลวงเป น พวกเศษผั ก ผลไม และมี พ อ ค า คนกลางรั บ ซื ้ อ วั ต ถุ ด ิ บ จะทำหน าที ่ จ ั ด หา
และรวบรวมมูลสัตวโดยตรงกับเกษตรกร ปญหาการจัดหาวัตถุดิบของพอคาคนกลางคือความไมแนนอน
ของวัตถุดิบ เชน ในชวงฤดูฝนมูลสัตวจะหายากวัตถุดิบไมเพียงพอตอการผลิต 2) กิจกรรมจัดซื้อจัด
วัตถุดิบซื้อตามราคาของวัตถุดิบของพอคาคนกลางที่นำมาสงถึงโรงเลี้ยงไสเดือนดิน และสวนของเศษผัก
ผลไม ของโรงคั ด แยกของโครงการหลวง จะมี กระบวนการไปรั บ วั ต ถุ ด ิ บ เอง ราคาคิ ด ตามน้ ำหนั ก
ของวัตถุ ดิ บ ที่โรงคัดแยกฯ ตั้งไว 3) กิจกรรมการขนสงวัต ถุด ิบ มีแตเศษผักผลไม จากโรงคั ด แยก
ของโครงการหลวง ที่ศูนยฯ รับผิดชอบคาใชจายตางๆ สวนวัตถุดิบอยางอื่น พอคาคนกลางจะเปน
ผูรับผิดชอบ รวมถึงคาใชจายอื่นๆ ทั้งหมด ดังนั้น เมื่อตองการวัตถุดิบเปนจำนวนมาก ศูนยฯ จะตองหา
แหลงซื้อเพิ่มและขนสงเองทำใหคาใชจายเพิ่มขึ้น 4) กิจกรรมการรับและเก็บรักษาวัตถุดิบของพอคา
คนกลางจะมีการเก็บเฉพาะมูลสัตวเทานั้น เนื่องจากวัตถุดิบเศษผักผลไมและสายพันธุไสเดือนดิน
เก็บรักษาไมได 5) กิจกรรมการแปรรูปวัตถุดิบเปนปุย (ผานกระบวนการผลิต) เปนการนำดิน มูลวัว
สายพันธุไสเดือนดินมาเลี้ยงในบอ และมีการใสเศษผักผลไม มูลสัตวตางๆ ตามระยะเวลา เมื่อครบกำหนด
นำปุยออกมาตากใหแหง บางสวนนำมาแปรรูปปุยเปนแบบอัดเม็ด โดยศูนยฯ จะผลิตตามการจัดเก็บ
สินคาและการจำหนายสินคา กระบวนการผลิตขึ้นอยูกับฤดูกาลทำใหคาใชจายในการจัดเก็บสิ น คา
มีนอย และ 6) กิจกรรมการบริการลูกคา การขนสงปุยหมักไสเดือนดินขาออก สวนใหญจะผานพ อคา
คนกลางนำไปจำหนายเองทำใหไมมีคาใชจาย สำหรับปญหาในกระบวนโลจิสติกสของปุยหมักไสเดือน
ดินคือปญหาวัตถุดิบบางตัวไมเพียงพอตอการผลิต ทำใหศูนยฯ ตองหาแหลงเพิ่มเอง และขนสงเอง
ความไมแนนอนของวัตถุดิบในแตละพื้นที่มีไมครบตามจำนวน สงผลใหเกิดคาใชจายที่ไมคุมคา ดังนั้น
ผูที่เกี่ยวของตองวางแผนการดำเนินกิจกรรมเปนอยางดี ทั้งนี้ เพื่อควบคุมตนทุนของแตละกิจกรรม
ศศิธร ยะถาคำ (2560) ศึกษาการวิเคราะหหวงโซคุณคาหนอไมฝรั่งอินทรียในพื้นที่
อำเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาหวงโซคุณคาและแนวทางการพัฒนาหวงโซ
คุณคาหนอไมฝรั่งอินทรีย พบวา กิจกรรมหลักของหวงโซคุณคาหนอไมฝรั่งอินทรีย 1) โลจิสติกสขาเขา
วัตถุดิบที่ใชในการปลูกหนอไมฝรั่งฯ ครั้งแรกเกษตรกรซื้อเมล็ดพันธุจากจังหวัดกาญจนบุรีกิโลกรัมละ
8,000 บาท การปลู ก 1 ไร ใช ต  น กล าประมาณ 2,500 ต น บางส ว นจะนำมาเพาะกล าขยายพันธุ
และจำหน า ยราคาต น ละ 5 บาท ส ว นวั ต ถุ ด ิ บ ในการทำปุ  ย มาจาก 3 ส ว น คื อ ปุ  ย หมั ก ชี ว ภาพ
จากวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ  ม เกษตรอิ น ทรี ย  ช ี ว ภาพ ปุ  ย คอกจากการจั ด ซื ้ อ วั ต ถุ ด ิ บ เองโดยรวมกลุ ม
ซื้อในปริมาณมาก และปุยน้ำหมักชีวภาพโดยใชวัตถุดิบภายในสวนหรือในครัวเรือน 2) ขั้นตอนการผลิต
เกษตรกรเพาะกลาและการเตรียมดินเอง แตบางสวนจางเหมา มีการใชแรงงานในครัวเรือน การดูแล
รักษามีการรดน้ำ ใสปุยหมัก พรวนดิน การกำจัดแมลงเดิมเกษตรกรใชปุยเคมีจึงประสบปญหาโรค
รากเนาโคนเนาและเชื้ อราทางดิ น แกไขดวยโดยใชเชื้อไตรโคเดอร มา 1 กิโลกรัม ผสมกับปุ ย คอก
40 กิโลกรัม รองกนหลุมกอนปลูก สวนแมลงใชเชื้อราบิวเวอเรีย 3) โลจิสติกสขาออก ในชวงผลผลิตมาก
มีพอคาคนกลางมารับซื้อที่สวน เกษตรกรไมตองจายคาขนสง แตไมสามารถตั้งราคาเองได ในชวง
9

ผลผลิตออกนอยจะนำไปจำหนายใหรานคาในหมูบานในราคาเดียวกับพอคาคนกลาง 4) การตลาด
และการขาย เกษตรกรขายสินคา 3 อยาง คือ หนอไมฝรั่งสด 60 บาทตอกิโลกรัม / หนอขาว 80 บาท
ตอกิโลกรัม ตนกลาตนละ 5 บาท และเมล็ดหนอไมฝรั่งจากการปลูกกิโลกรัมละ 300 บาท 5) การ
ใหบริการหลังการขาย เกษตรกรใหคำแนะนำแกผูที่สนใจปลูกโดยไมมีคาใชจาย แตยังไมมีบริการหลัง
การขาย สำหรับกิจกรรมสนับสนุน โครงสรางพื้นฐาน มีการรวมกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู ภาครัฐ
สนั บ สนุ น ความรู  วั ต ถุ ด ิ บ และเงิ น ทุ น ผลิ ต ปุ  ยหมัก การบริ ห ารทรั พยากรมนุ ษย จะมี ห ั ว หนากลุม
เปนผูมีความเชี่ยวชาญการจัดการดินคอยใหคำแนะนำ มีการประชุมแลกเปลี่ยนความรูทุก 2 เดือน
3) การพัฒนาเทคโนโลยี ยังไมมีการนำเทคโนโลยีมาชวยในการผลิต และการจัดซื้อ มีการรวมกลุมซื้อ
วัตถุดิบทำปุยคอกชวยประหยัดตนทุนการขนสงและตอรองราคาได ในสวนของแนวทางการพัฒนาหวง
โซ คุ ณค า โลจิ ส ติ กส ขาเข าควรมี การคั ด กรองเมล็ ดพั น ธุ  ก อนปลู กและแช ด ว ยน้ำปุ  ย หมักเพื ่ อใหมี
สารอาหารและแข็งแรงทนตอโรค ขั้นตอนการผลิตควรมีความรูเรื่องเกษตรอินทรีย มีการทำแนวกันชน
ปองกันการปนเปอนจากสารเคมีบริเวณพื้นที่ใกลเคียง โลจิสติกสขาออก ควรมีการรวมกลุมกั นขาย
สิ น ค า โดยไม พ ึ ่ ง พ อ ค า คนกลางเพื ่ อ กำหนดราคาขายเอง การตลาดและการขายควรเพิ ่ ม การ
ประชาสัมพันธสินคาและชองทางการจัดจำหนายผานชองทางออนไลน หรือนำไปจำหนายตามศู นย
แสดงสินคาหรือสถานที่ของหนวยงานรัฐหรือเอกชน การบริหารทรัพยากรมนุษยควรมีการบันทึกรายชื่อ
สมาชิกที่เขาประชุมทุกครั้ง กระจายขาวสารผานกระบอกเสียงตามสายเพื่อใหทราบทั่วถึงกัน การพัฒนา
เทคโนโลยีควรมีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑใหดึงดูด สรางตราสินคาเพิ่มความนาสนใจ และขอรับรอง
มาตรฐานสินคา
ศักดิ์นรินทร แกนกลา (2559) ศึกษาหวงโซคุณคาผลิตภัณฑขาวอินทรีย อำเภอ
แม แตง จั งหวั ด เชี ย งใหม มี ว ั ต ถุ ป ระสงค เพื ่ อศึ ก ษาผลิ ต ภั ณ ฑ ข  าวอิ น ทรี ย  และป ญหาที ่ เ กิ ด ขึ้ น
ของผลิตภัณฑขาวอินทรียตามแนวทคิดของหวงโซคุณคาของ Michael E. porter พบวา กิจกรรมหลัก
การนำเขาวัตถุดิบสำหรับการปลูกขาวอินทรียมี 2 รูปแบบ คือ เกษตรกรทำการเก็บพันธุขาวไว เ อง
เมื่อเก็บเกี่ยวขาวเสร็จแลวจะเก็บใสกระสอบแยกตามแตละพันธุขาวไวอยางชัดเจนไมใหปนกันในยุงขาว
โดยซื้อพันธุขาวจากแหลงอื่น ราคากิโลกรัมละ 30 บาท จำกัดไมเกิน 5 กิโลกรัมตอราย ซึ่งเกษตรกร
เปนผูรับผิดชอบการขนสงโดยใชรถมอเตอรไซคพวงขางไปยังพื้นที่เพาะปลูก สำหรับวิธีการเพาะปลูก
เปนแบบนาหวาน นาดำ และปลูกแบบหยอดน้ำตมตนเดียว การดูแลรักษาใชน้ำหมักชีวภาพ การกำจัด
วัชพืชใชเคียวเกี่ ยวกำจั ด และถอนทำใหเ มล็ ดวัช พืชฝอตัว การบริหารจัดการน้ ำใช แหล งน้ ำ คลอง
สาธารณะ และมี บ  อ กั ก เก็ บ น้ ำ เป น ของตนเอง โลจิ ส ติ ก ส ข าออกเก็ บ เกี ่ ย วผลผลิ ต ใช แ รงงานคน
และเครื่องจักร แลวแปรรูปเอง การตลาดและการขายดำเนินการขายผลผลิตเอง แตยังไมมีการบริการ
หลังการขาย สวนกิจกรรมสนับสนุน ดานโครงสรางพื้นฐานองคกร เกษตรกรหันมาใสใจสุขภาพจึงมีการ
รวมตัวเปนกลุมวิสาหกิจชุมชน พื้นที่ที่ทำเกษตรและคาใชจายในการเพาะปลูกเปนของตนเอง ผลผลิต
ที่ไดนำไปขายใหกับกลุมกิโลกรัมละ 17 บาท เมื่อแปรรูปและขายผลิตภัณฑจะไดสวนแบงกำไรตามหุน
ของขาวที่นำไปขายใหกับกลุม ดานการจัดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย มีหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
10

เขามาสนับสนุนการดำเนินงาน ดานการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เกษตรกรยึดตามวิถีชีวิตของชาวนา


แบบดั้งเดิมโดยใชแรงงานปลูกขาว และมีการใชเครื่องจักร เชน เครื่องหยอดเมล็ดพันธุ รถเกี่ยวนวดขาว
และดานการจัดซื้อจัดหา มีการใชวัสดุในทองถิ่นหรือตามพื้นที่เพาะปลูกใชเปนวัตถุดิบทำน้ำหมักในการ
ทำเกษตร
2) งานวิจัยเกี่ยวกับการผลิตและการใชปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร
สามารถ ใจเตี ้ ย (2564) ได ศ ึ ก ษาการใช ป ระโยชน ว ั ส ดุ เ หลื อ ใช ท างการเกษตร
ของเกษตรกรในเทศบาลตำบลขี้เหล็ก อำเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใช
ประโยชนวัสดุเหลือใชทางการเกษตร และคาดการณปจจัยที่มีอิทธิพลตอการใชประโยชนวัสดุเหลือใชฯ
ในครัวเรือนของเกษตรกร พบวา เกษตรกรใชประโยชนจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตรโดยรวมอยูใน
ระดับปานกลาง โดยใชเพื่อเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว ซึ่งในพื้นที่มีการปลูกพืชไรหลากหลายชนิด
โดยเฉพาะขาวและพืชผัก ทำใหในรอบการผลิตแตละปมีเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตรจำนวนมากที่ไมได
ใชประโยชน ในพื้นที่มีกระบวนการผลิตสารชีวภาพจากเศษวัสดุอินทรียที่หลากหลาย ผลิตน้ำหมัก
ชีวภาพจากเศษผัก การทำปุยหมักจากเศษใบไม
ซูไฮมิน เจะมะลี (2560) ไดศึกษาการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ดจากทะลายเปลาปาลม
น้ ำ มั น ผสมขนไก กรณี ศ ึ ก ษา ชุ ม ชนบ า นกู เ ล็ ง หมู  2 ตำบลยี ่ ง อ อำเภอยี ่ ง อ จั ง หวั ด นราธิ ว าส
มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาวิธีการผลิตปุยอินทรียแบบกองและปุยอินทรียอัดเม็ดจากทะลายเปลาปาลม
น้ำมันผสมขนไก ศึกษาผลของปุยอินทรียอัดเม็ดจากทะลายเปลาปาลมน้ำมันผสมขนไกตอการใหธาตุ
อาหาร และอัตราการใชปุยอินทรียที่เหมาะสมตอสภาพดินและการเจริญเติบโตของตนกลาปาลมน้ำมัน
และตนทุนการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ดเปรียบเทียบกับชุดปุยสูตรทางการคาที่กำหนด พบวา การผลิตปุย
หมักจากทะลายเปลาปาลมน้ำมันผสมขนไก โดยนำวัสดุทะลายเปลาปาลมน้ำมันที่มีคุณสมบัติใหธาตุ
โพแทสเซียมสูง และขนไกใหธาตุไนโตรเจนสูง สับใหมีขนาดเล็กผสมกับมูลวัวและแกลบดำ และใชสาร
เรงซุปเปอร พด.1 ยอยสลายและหมักเปนเวลา 2 เดือน เมื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพดิน
กอนและหลังใชปุยเพื่อปลูกทดสอบกับตนกลาปาลมน้ำมันเปนเวลา 3 เดือน โดยดินหลังปลูกที่ใชปุย
อินทรียอัดเม็ดใหอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืชสูงขึ้น สวนปุยทางการคามีการสะสมฟอสฟอรัสในดินสูง
อัตราสวนที่เหมาะสมของปุยอินทรียอัดเม็ดตอการเจริญเติบโตของตนกลาปาลมน้ำมันอายุ 6 เดือน
ที่ปลูกในถุงดำโดยใชปุย 1 กิโลกรัม ผสมกับดิน 10 กิโลกรัม ใหปุยทุก 2 สัปดาห ครั้งละ 0.5 กิโลกรัม
สวนปุยสูตรทางการคาใหครั้งละ 200 กรัม จนครบ 3 เดือน พบวา การใหปุยอินทรียอัดเม็ดสงผลให
ต น กล า ปาล ม น้ ำ มั น มี ก ารสร า งใบใหม การเพิ ่ ม ขนาดลำต น และส ว นสู ง มากกว า การใช ป ุ  ย เคมี
โดยแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับตนทุนการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ดเปรียบเทียบกับปุย
ทางการคา พบวา ปุยอินทรียมี ตน ทุ นการผลิ ต 0.25 บาทตอกิโลกรัม สวนปุยทางการคามี ต  น ทุน
การผลิต 1.38 บาทตอกิโลกรัม แมวาตนทุนการผลิตปุยอินทรียจะถูกกวาปุยเคมีถึง 5 เทา แตปริมาณ
การใชปุยอินทรียมากกวาปุยเคมี
11

พรไพลิน จันทา และคณะ (2560) ไดศึกษาการเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทน


ในการปลูกขาวโดยใชปุยอินทรียและปุยเคมีของเกษตรกรในเขตตำบลแมกาษา อำเภอแมสอด จังหวัด
ตาก มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนของการปลูกขาวพันธุหอมมะลิโดยใช
ปุยอินทรียและปุยเคมี เพื่อเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนระหวางการปลูกขาวพันธุหอมมะลิ
โดยใชปุยอินทรียกับปุยเคมีของเกษตรกร โดยสอบถามเกษตรกรผูปลูกขาวพันธุหอมมะลิ ป 2559 แบงเปน
2 กลุม คือ เกษตรกรผูปลูกขาวโดยใชปยุ อินทรีย และเกษตรกรผูปลูกขาวโดยใชปุยเคมี พบวา เกษตรกร
ผูปลูกขาวโดยใชปุยอินทรียมีตนทุนเฉลี่ย 2,805.89 บาทตอไร รายไดเฉลี่ย 5,373.78 บาทตอไร
มี ผ ลตอบแทนเฉลี ่ ย 2,567.89 บาทต อไร ส ว นเกษตรกรผู  ป ลู กข าวใช ปุย เคมี มี ต  นทุ น ทั ้ งสิ ้ นเฉลี่ย
4,045.29 บาทตอไร รายไดเฉลี่ย 4,343.99 บาทตอไร มีผลตอบแทนเฉลี่ย 298.70 บาทตอไร ซึ่งจะเห็น
วาการปลูกขาวโดยใชปุยอินทรียมีตนทุนต่ำกวาการปลูกขาวโดยใชปุยเคมีเฉลี่ย 1,239.40 บาทตอไร
และการปลูกขาวโดยใชปุยอินทรียไดรับผลตอบแทนสูงกวาการปลูกขาวโดยใชปุยเคมีเฉลี่ย 2,269.19
บาทตอไร ทำใหเกษตรกรผู ปลู กขาวโดยใช ปุ ย อิน ทรีย มีร ายไดสู งกว าปลู กข าวโดยใชปุ ยเคมี เ ฉลี่ ย
1,029.79 บาทตอไร
รุ  งรั ต น มาประสิ ทธิ ์ (2559) ได ศึ กษาการใช ป ุ  ย อิ น ทรี ย  เ พื ่ อลดต น ทุ น การผลิ ต
ในนาขาวของเกษตรกรในจังหวัดพิจิตร เพื่อศึกษาความรูเกี่ยวกับปุยอินทรีย การใชปุยอินทรียในนาขาว
และปจจัยสำคัญในการใชปุยอินทรียเพื่อลดตนทุนการผลิตในนาขาว รวมถึงปญหาและขอเสนอแนะ
ในการใชปุยอินทรียเพื่อลดตนทุนการผลิตในนาขาวของเกษตรกร พบวา เกษตรกรสวนใหญมีความรู
เกี่ยวกับปุยอินทรียอยูในระดับมาก และมีการใชปุยคอกในระยะเตรียมดินเฉลี่ย 166.52 กิโลกรัมตอไร
มีการไถกลบพืชปุยสดกอนการทำนาใชเมล็ดพันธุพืชสดเฉลี่ย 6.97 กิโลกรัมตอไร ใชปุยอินทรียน้ำฉีดพน
ในแปลงนาในระยะขาวแตกกอเฉลี่ย 36.88 ซีซีตอน้ำ 20 ลิตร และใชปุยอินทรียอัดเม็ดในระยะขาวแตก
กอเฉลี่ย 36.39 กิโลกรัมตอไร ทั้งนี้ เกษตรกรไดใหความสำคั ญในการใชป ุย อิน ทรีย เ พื่ อลดต น ทุน
การผลิตในนาขาว ไดแก การปรับปรุงโครงสรางของดิน การเพิ่มอินทรียวัตถุในดินทำใหดินร วนซุย
การเตรียมดินงายขึ้น เพิ่มธาตุอาหารหลักและรอง รวมถึงปุยเคมีราคาแพง สำหรับปญหาการใช ปุย
อินทรีย ไดแก ปุยอินทรียปลอยธาตุอาหารชากวาปุยเคมีทำใหเห็นผลชา และไมสามารถปรับแตง
ธาตุอาหารใหเหมาะสมกับพืชไดเหมือนกับปุยเคมี อีกทั้งตองเสียคาใชจายในการขนสงมากกวาปุยเคมี
ปุยอินทรียตองใชเงินสดในการซื้อและหาซื้อไดยากกวาปุยเคมี นอกจากนี้ จำนวนแรงงานไมเพียงพอ
การผลิตปุยอินทรียมีความยุงยากและใชเวลานาน อีกทั้งไมมีสถานที่ในการผลิตและการเก็บรักษา
วิสุทธิ์ เลิศไกร (2559) ไดศึกษาการหมุนเวียนธาตุอาหารและเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน
จากเศษซากพืชในแปลงเกษตรกรรมดวยวิธีการไถกลบตอซังจากการปลูกขาว 1 ไร พบวา จะมีปริมาณ
ตอซังและฟางขาวเฉลี่ย 650 กิโลกรัมตอไร โดยการวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารจากตอซังและฟางขาว
จะใหธาตุอาหารไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) รวม 14.50 กิโลกรัมตอไร สวนการ
ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว 1 ไร จะมีปริมาณตอซังขาวโพดเฉลี่ย 995 กิโลกรัมตอไร จากการวิเคราะห
ปริมาณธาตุอาหารจะให N P และ K รวม 21.88 กิโลกรัมตอไร
12

โสภณ จอมเมือง (2555) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลตอบแทนระหวางการใชปุยเคมี


กับปุยอินทรีย (ปุยหมักชีวภาพ) ในการปลูกขาวโพดฝกออนของเกษตรกร ตำบลทาปลาดุก อำเภอแมทา
จังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงคเพื่อการเปรียบเทียบผลตอบแทนจากการปลูกขาวโพดฝกออนโดยการใช
ปุยเคมีและปุยอินทรีย (ปุยชีวภาพ) ดานผลผลิต ดานตนทุนการผลิต และดานรายได ในเวลา 90 วัน
เก็บเกี่ยวผลผลิตจำนวน 11 ครั้งติดตอกัน แบงการศึกษาเปน 2 ชุดทดลอง ไดแก ชุดที่ 1 การใชปุยเคมี
และชุดที่ 2 การใชปุยหมักชีวภาพ โดยปราศจากการควบคุมสิ่งแวดลอมเพื่อใหเปนไปตามสภาพปกติ
ที ่ เ กษตรกรปฏิ บ ั ต ิ จ ริ ง พบว า การปลู กข าวโพดฝ กอ อนโดยใช ป ุ  ย เคมี ให ผ ลผลิ ต ต น ทุ น การผลิ ต
และรายไดสูงกวาการปลูกโดยใชปุยอินทรีย (ปุยหมักชีวภาพ) ซึ่งการปลูกโดยใชปุยเคมีไดผลผลิต
กอนและหลังตัดแตง 2,232.00 และ 377.22 กิโลกรัมตอไร มีตนทุนการผลิต 6,640.00 บาทตอไร
รายไดเฉลี่ย 11,030.40 บาทตอไร ขณะที่การใชปุยอินทรีย (ปุยหมักชีวภาพ) ไดผลผลิตกอนและหลัง
ตัดแตง 1,843.00 และ 307.60 กิโลกรัมตอไร มีตนทุนการผลิต 6,150.00 บาทตอไร และมีรายไดเฉลี่ย
9,110.20 บาทตอไร ทั้งนี้ เมื่อพิจารณากำไรสุทธิจากการปลูก จะเห็นวา การปลูกโดยใชปุยเคมีมีกำไร
สุ ทธิ มากกว า การปลู กโดยใช ป ุ  ย อิ น ทรี ย  (ปุ  ย หมั กชี ว ภาพ) 4,390.40 และ 2,960.20 บาทต อ ไร
ตามลำดับ
สุ ภ าภรณ พวงชมภู และคณะ (2553) ได ศึ กษาการพั ฒนาการผลิ ตและการตลาด
ปุยอินทรียจากฟางขาวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการผลิตและการตลาด
ต นทุ นและผลตอบแทนการผลิ ต ป จจั ยที ่ มี ผลต อปริ มาณการผลิ ตปุ ยหมั กจากฟางข าว รวมถึ งป ญหา
และอุปสรรคการผลิตและการตลาดปุยหมักจากฟางขาว รอบปการผลิต 2551/52 พบวา มีกลุมผูผลิต
2 กลุม คือ กลุมผลิตเพื่อใชเอง สวนใหญจะไดรับการสงเสริมจากหนวยงานภาครัฐ และกลุมที่ผ ลิต
เพื่อจำหนาย ไดแก กลุมปุยอินทรียชีวภาพผลิตปุยหมักจากฟางขาวอัดเม็ด มีตนทุนรวมทั้งหมด 45,672
บาท เปนตนทุนคงที่ 21,198.75 บาท และตนทุนผันแปร 24,473.25 บาท ผลิตไดทั้งหมด 25,000
กิโลกรัม บรรจุกระสอบละ 50 กิโลกรัม ไดจำนวน 500 กระสอบ ราคากระสอบละ 230 บาท คิดรายได
ทั้งหมด 115,000 บาท ผลตอบแทนสุทธิ 69,328 บาท โดยกลุมจำหนายใหสมาชิกรอยละ 25 และ
จำหนายใหสหกรณในตำบล รอยละ 75 ซึ่งสหกรณฯ นําไปจำหนายปลีกใหบุคคลทั่วไปกระสอบละ 250
บาท สวนอีกกลุมที่ผลิตเพื่อจำหนายเปนแบบผงและแบบอัดเม็ด มีตนทุนรวมทั้งหมด 28,003.18 บาท
เปนตนทุนคงที่ 13,672.50 บาท และตนทุนผันแปร 14,330.70 บาท แบบอัดเม็ดผลิตไดทั้งหมด 3,000
กิโลกรัม บรรจุกระสอบละ 40 กิโลกรัม ไดจำนวน 250 กระสอบ ราคากระสอบละ 250 บาท คิดเปน
รายได 10,000 บาท แบบผงผลิตได 35 ถุง ราคาถุงละ 30 บาท คิดเปนรายได 1,050 บาท รวมรายได
ทั้งหมด 11,050 บาท ผลตอบแทนสุทธิ -16,953.18 บาท โดยกลุมจำหนายปุยหมักใหกับสมาชิกรอยละ
90 หากเปนสมาชิกที่ชวยผลิตปุยเปนประจำจะจำหนายในราคากระสอบละ 200 บาท และจำหนาย
ใหบุคคลอื่นในพื้นที่ใกลเคียงโดยไมผานสหกรณรอยละ 10 สำหรับปจจัยที่มีผลกระทบตอปริมาณ
ปุยหมักจากฟางขาวเรียงตามลำดับความสำคัญ คือ ปริมาณฟางขาวทั้งหมด แรงงานที่ใชในการผลิต
13

ตอรอบ ระยะเวลาในการหมัก ประสบการณการผลิต นอกจากนี้ ปญหาการผลิตและการตลาด คือ กําลัง


การผลิตที่ไมเพียงพอตอความตองการ และการขอรับรองมาตรฐาน Q
รัชนีพร สุทธิภาศิลป และคณะ (2551) ไดศึกษาการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ดจากวัสดุ
เหลื อ ใช ท างการเกษตร มี ว ั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่ อ ศึ ก ษาการผลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  อ ั ด เม็ ด จากวั ส ดุ เ หลื อ ใช
ทางการเกษตร พบวา เกษตรกรในพื้นที่ที่ใชศึกษามีวัสดุเหลือใชฯ ไดแก เปลือกถั่วลิสง ตอซังถั่วลิสง
ฟางขาว แกลบดำ รำละเอียด กะหล่ำปลี คะนา กวางตุง มูลสุกร มูลไก และมูลคาวคาว ซึ่งวัสดุเหลือใชฯ
ที่มีศักยภาพสวนใหญที่มีปริมาณไนโตรเจนสูง ไดแก มูลคางคาว รำละเอียด เปลือกถั่วลิสง มีปริมาณ
ฟอสฟอรัสสูง ไดแก มูลคางคาว มูลไก มูลสุกร มีปริมาณโพแทสเซียมสูง ไดแก กวางตุง คะนา เปลือกถั่ว
ลิสง มีปริมาณแคลเซียมสูง ไดแก เปลือกถั่วลิสง มูลไก รำละเอียด และปริมาณแมกนีเซียมสูง ไดแก
แกลบดำ คะน า มู ล ค า งคาว สำหรั บ อั ต ราส ว นของวั ต ถุ ด ิ บ ในการผลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  อ ั ด เม็ ด พบว า
วัสดุที่เกษตรกรใชเปนสวนผสมตองบดใหละเอียดและคลุกเคลาใหเขากันโดยมีสวนผสม ดังนี้ มูลสุกร
รอยละ 20 มูลไกรอยละ 20 มูลคางคาวรอยละ 4 เปลือกถั่วลิสงบดรอยละ 18 รำละเอียดรอยละ 32
แกลบดำรอยละ 6 และใชกากน้ำตาลเปนตัวประสานในการอัดเม็ด

2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ
2.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับโซอุปทาน
แนวคิดเกี่ยวกับโซอุปทาน (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563 : 23 อางถึง Robert
B. HandfieldและErnest L. Nichols, Jr. 1999) หมายถึง การบริหารจัดการกิจกรรมและความสัมพันธ
ระหวางองค กรที ่เ กี ่ยวข องกั นตั้ งแต ตน น้ ำ (วัตถุดิบ) จนถึงปลายน้ำ (สินคาสำเร็จ รูป หรื อบริ การ)
ซึ่งมีลักษณะยาวตอเนื่องกันเหมือนโซ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพตลอดกระบวนการผลิตจนถึงมือผูบริโภค
โดยการใหความสำคัญตอการสื่อสาร การวิเคราะหขอมูลและนำไปใชรวมกัน เปนการสรางมูลคาเพิ่ม
ในการดำเนินงานและเปนการสรางความไดเปรียบในการแขงขันอยางยั่งยืน
การจัดการโซอุปทาน (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563 : 23 อางถึง ธนิตยโสรัตน,
2550) ไดใหความหมายที่เกี่ยวของกับ “การจัดการโซอุปทาน” ดังนี้การบริหารจัดการตั้งแตตนน้ำหรือแหลง
วัตถุดิบจนถึงปลายน้ำหรือมือผูบริโภค หรือการจัดการโซอุปทานนั้นเปนการนำกลยุทธวิธีการ แนวปฏิบัติ
หรือทฤษฎี มาประยุกตใชในการจัดการ การสงตอวัตถุดิบสินคาหรือบริการจากหนวยหนึ่งในโซอุปทานไปยัง
อีกหนวยหนึ่งอยางมีประสิทธิภาพโดยมีตนทุนรวมในโซอุปทานต่ำที่สุด และไดรับวัตถุดิบ สินคาหรือการ
บริ การตามเวลาที ่ ต  องการพร อมกั นนี ้ ย ั งมี การสร างความร วมมื อกั นในการแบ งป นข อมู ล ข าวสาร
ไม ว  าจะด วยวิ ธ ี การใดก็ ตามเพื ่ อให ทราบถึ งความต องการอั นเป นป จจั ยสำคั ญที ่ ทำให เกิ ดการส งต อ
ของวัตถุดิบ สินคาหรือการบริการ เพื่อนำไปสูการไดรับผลประโยชนรวมกันของทุกฝายดวย
14

องคประกอบของการจัดการโซอุปทาน
เนื่องจากสภาวะการแขงขันในปจจุบัน ที่ทำใหทุกภาคธุรกิจใสใจกับเรื่องการลดตนทุน
ในการดำเนินงานและคาใชจายที่เกิดขึ้นมากเปนพิเศษ การพยายามลดตนทุนเฉพาะภายในองคกร
เพียงอยางเดียวไมเพียงพอสำหรับภาวะในปจจุบันที่มีการแขงขันรุนแรง เพราะกวาผลิตภัณฑจะถึงมือ
ลู ก ค า (End Users) ต องผ านมื อผู  ผลิ ตมาหลายทอด ดั งนั ้ น การสร างความได เ ปรี ยบด านต นทุ น
(Cost Competitiveness) จึงจำเปนตองมาจากความรวมมือในหมูคูคาที่ผลิตภัณฑนั้นผานมือหรือ Chain
เปนพื้นฐาน กระบวนการทำงาน แผนงาน ตลอดจนขอมูลของบริษัทนั้น ถือเปนความลับและจำกัด
ขอบเขตการรั บรู  อยู แตในวงผู เ กี่ ยวของภายในเทานั้ น แตการที่แตล ะองค กรจะสร างกระบวนการ
เพื่อความรวมมือกันไดนั้น จำเปนตองมีการใชขอมูลรวมกัน (Information Sharing) โดยในการสราง
ปจจัยที่สามารถผลักดันใหเกิดการทำงานรวมกันนั้นจำเปนตองอาศัยปจจัยหลายประการ ไดแก
1) การจัดการความสัมพันธ (Relationship Management) เปนการจัดการปฏิสัมพันธ
ระหว างตั ว บริ ษ ั ท (Firm) กั บ คู  ค  าที ่ เ ป น Sources of suppliers และลู กค าที ่ เ ป น End Consumers
โดยประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการโซอุปทานอยูที่การจัดความสมดุลในการพึ่งพาระหวาง
หนวยงานธุรกิจในโซอุปทาน ในสวนที่เกี่ยวของกับอุปสงคและอุปทาน การจัดการความสัมพันธ ที่ มี
ประสิ ทธิ ภ าพจะต อ งพั ฒ นาไปสู  ว ั ฒ นธรรมขององค กรกั บ องค กรมากกว า การสร างความสั ม พั น ธ
ในลั กษณะที ่ เ ป น บุ คคลที ่ เ ป น Personal Relationship การจั ด ความสั มพั น ธ ไม ใช แค เ ป น “Good
Customer” แตตองพัฒนาไปสูระดับที่เปน “Good Partnership” ที่มีความยุติธรรมทางธุรกิจตอกัน
รวมถึงการไววางใจและเชื่อถือตอกัน
2) การจั ด การความร ว มมื อ (Chain Collaborate Management) ระหว า งองค ก ร
หรือระหวางหนวยงานตางบริ ษัท (Firm) เพื่อใหเกิดการประสานภารกิจ (Co-Ordination) ในสวน
ที่เกี่ยวของกับการไหลลื่นของขอมูลขาวสารในโซอุปทานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยกิจกรรมการ
จัดการโลจิสติกสซึ่งประสบความลมเหลว ปจจัยสำคัญเกิดการขาดประสิ ทธิภาพของการประสาน
ประโยชนและความรวมมือในการดำเนินกิจกรรมทางโลจิสติกสรวมกันในการกระจายสินคาและสงมอบ
สิ น ค าระหว างองค การต า งๆ ภายในโซ อุ ป ทานในลั กษณะที ่ เ ป น บู ร ณาการทางธุ ร กิ จ (Business
Integration) ซึ่งผลกระทบจากการขาดประสิทธิภาพหนวยงานใดหรือองคกรใดในโซอุปทาน จะสงผล
ตอตนทุนรวมและสงผลตอขีดความสามารถในการแขงขันของทุกธุรกิจในโซอุปทาน
3) การจั ด การความน า เชื ่ อ ถื อ (Reliability Value Management) การเพิ ่ ม ระดั บ
ของความเชื่อมั่นที่มีตอการสงมอบสินคาที่ตรงเวลา ไปสูความไววางใจและความนาเชื่อถือในการที่จะเพิ่ม
ประสิทธิภาพของการจัดการความไหลลื่นของสินคาในโซอุปทานภายใตเงื่อนไขของขอจำกัดของสถานที่
ตอเงื่อนไขของเวลา (Place and Time Utility) จำเป นที่ ต างฝายจะต องมีการปฏิบัติการอยางเปน
Best Practice จนนำไปสู การเชื่อมั่นที่เปน Reliability Value ซึ่งเปนปจจัยในการลดตนทุนสินคา
คงคลังสวนเกินหรือเรียกวา Buffer Inventory
15

4) การรวมพลังทางธุรกิจ (Business Synergy) ความรวมมือทางธุรกิจกลุมของ Suppliers


ในโซอุปทาน ทั้งที่มาจากกลุมอุตสาหกรรมสนับสนุนที่เปน Support Industries เชน ผูผลิตกลอง
ผูผลิตฉลาก ผูผลิตวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณที่ใชการผลิต บรรจุ ผสม และประกอบ รวมตลอดไปจนถึงธุรกิจ
ใหบริการโลจิสติกส โดยบริษัทจะตองมียุทธศาสตรในการจัดการความสมดุลของความสัมพันธของคูคา
(Suppliers Relationship Management: SRM) กั บความสั มพั นธ ของคู  ค าที ่ เป นลู กค า (Customers
Relationship Management: CRM) ทั้งระบบการสื่อสาร การประสานผลประโยชนที่เปน Win-Win
Advantage และการใชยุทธศาสตรรวมกัน ภายใตลูกคาคนสุดทายเดียวกัน
ระบบบริหารจัดการโซอุปทาน (Supply Chain Management)
ระบบบริหารจัดการโซอุปทาน (Supply Chain Management) (ไอทีแอลเทรด มีเดีย,
2552) หมายถึงการเชื่อมตอของหนวยหรือจุดตางๆ ในการผลิตสินคาหรือบริการ ที่เริ่มตนจากวัตถุดิบ
ไปยังจุดสุดทายคือลูกคา ซึ่งประกอบไปดวยสวนที่สำคัญ 3 สวน ดังนี้
1) ผูสงมอบ (Suppliers) หมายถึงผูที่สงวัตถุดิบใหกับโรงงานหรือหนวยบริการ เชน
เกษตรกร ผูผลิตสินคาเกษตร สงมอบสินคาเกษตรใหแกโรงงานอุตสาหกรรม หรือพอคาขายสง/ตัวแทน
โรงงานผลิต (Manufactures) หมายถึง ผูที่ทำหนาที่ในการแปรสภาพวัต ถุ ดิบ ที่ ไดรั บจากผู ส ง มอบ
ใหมีคุณคาสูงขึ้น
2) ศูนยกระจายสินคา (Distribution Centers) หมายถึงจุดที่ทำหนาที่ในการกระจาย
สินคาไปใหถึงมือผูบริโภคหรือลูกคาที่ศูนยกระจายสินคาหนึ่งๆ อาจจะมีสินคาที่มาจากหลายโรงงาน
การผลิต หรือเปนศูนยกลางในการรวบรวมสินคาเกษตร
3) ร านค าย อยและลู ก ค าหรื อ ผู บ ริ โ ภค (Retailers or Customers) คื อจุ ด ปลายสุ ด
ของโซอุปทานซึ่งเปนจุดที่สินคาหรือบริการตางๆ จะตองถูกใชจนหมดมูลคาและโดยที่ไมมีการเพิ่ม
คุณคาใหกับสินคาหรือบริการนั้นๆ ความสำคัญของโซอุปทานสินคาหรือบริการตางๆ ที่ผลิตออกสูตลาด
จะตองผานทุกจุดหรือหนวยตางๆ ตลอดทั้งสายของโซอุปทาน ดังนั้นคุณภาพของสินคาและบริการนั้น
จะขึ้นอยูก ับทุกหนวย มิใชหนวยใดหนวยหนึ่งโดยเฉพาะ ดวยเหตุผลนี้ จึงทำใหมีแนวคิดในการบูรณาการ
ทุกๆ หนวยเพื่อใหการผลิตสินคาหรือบริการเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพตามที่ลูกคา
คาดหวัง
กิจกรรมหลักโลจิสติกสในหวงโซอุปทาน ประกอบดวย
1) การจัดหา (Procurement) เปนการจัดหาวัตถุดิบหรือวัสดุที่ปอนเขาไปยังจุดตางๆ
ในสายของหวงโซอุปทาน
2) การขนสง (Transportation) เปนกิจกรรมที่เพิ่มคุณคาของสินคาในแงของการยาย
สถานที่หากการขนสงไมดีสินคาอาจจะไดรับความเสียหายระหวางทาง จะเห็นวาการขนสงก็มีผลตอตนทุน
โดยตรง
16

3) การจัดเก็บ (Warehousing) เปนกิจกรรมที่มิไดเพิ่มคุณคาใหกับตัวสินคา แตเปน


กิจกรรมที่ตองมีเพื่อรองรับกับความตองการของลูกคาที่ไมคงที่ รวมทั้งประโยชนในดานการประหยัด
เมื่อมีการผลิตของจำนวนมากในแตละครั้ง หรือผลิตภัณฑทางการเกษตรที่มีปริมาณวัตถุดิบที่ไมแนนอน
ขึ้นอยูกับฤดูกาล และสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง
4) การกระจายสินคา (Distribution) เปนกิจกรรมที่ชวยกระจายสินคาจากจุดจัดเก็บ
สงตอไปยังรานคาปลีกหรือซุปเปอรมารเก็ต
ความแตกตางของโลจิสติกสและโซอุปทาน
โลจิสติกส เปนกระบวนการที่เนนกิจกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนยาย การจัดเก็บ การกระจาย
สินคาและบริการ การวางแผนการผลิตและการสงมอบสินคาจากผูผลิตไปยังผูบริโภค ในขณะที่โซอุปทาน
จะเปนกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การจั ด การปฏิ สั ม พั น ธ ข องกระบวนการต างๆ ของหน ว ยงานต างๆ
ทั ้ ง ภายในองค ก รและระหว างองค กรต างๆ ให มี ความสอดคล องประสานในการทำงานรวมกั นให เกิด
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอการสงมอบสินคา ภายใตตนทุนที่สามารถแขงขันได โดยความแตกตาง
ที่ชัดเจนนั้น เห็นไดจากโลจิสติกสจะเนนพันธกิจเกี่ยวกับการเคลื่อนยายสินคาและบริการรวมทั้งขอมูล
ขาวสาร สวนโซอุปทาน จะเนนบทบาทเกี่ยวกับความสัมพันธและความรวมมือระหวางองคกรเพื่อให
โซอุปทานมีความบูรณาการ โดยกิจกรรมของโลจิสติกสจะดำเนินอยูภายในโซอุปทาน ดังนั้น โลจิสติกส
และโซอุปทาน จึงเปนกิจกรรมที่มีลักษณะเปนบูรณาการ ยากที่จะแยกแยะ
2.2.2 แนวคิดหวงโซการผลิต: หวงโซคุณคา (Value Chain)
หวงโซคุณคา หมายถึง กิจกรรมที่มีความสัมพันธ และเชื่อมโยงกัน เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม
ใหกับปจจัยการผลิต โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการนำวัตถุดิบปอนเขาสูกระบวนการผลิต กระบวนการ
จัดจำหนาย กระบวนการจัดสงสินคาสูผูบริโภค และกระบวนการบริการหลังการขาย การสรางคุณคา
ใหกับสินคาหรื อบริ การ นั้น อาจจะเปน การกระทำโดยบริ ษั ทเดี ยวหรื อหลายบริ ษั ท ดวยการแบ ง
ขอบเขตของกิจกรรมแลวสงตอคุณคา ในแตละชวงตอเนื่องกันไป หรือหวงโซคุณคา หมายถึง การสราง
คุ ณค าหรื อประโยชน อื ่ น ๆ มาประกอบกั น ให เ ป น ประโยชน ส ุ ด ท ายที ่ ล ู กค าต องการโดยมี ขั ้ น ตอน
ของกระบวนการสรางคุณคาที่ตอเนื่องกันเปนทอดๆ เหมือนหวงโซของกิจกรรมที่มีความเกี่ยวพันกัน
เพื่อสรางประโยชนสุดทายในผลิตภัณฑหรือบริการเพื่อสงตอไปใหลูกคาไดใชประโยชน การวิเคราะห
หวงโซคุณคา เปนการวิเคราะหเพื่อพิจารณาถึงความสามารถของกิจการในการแขงขัน โดยการศึกษา
ถึ งกิ จ กรรมต างๆ ทั ้ งกิ จ กรรมหลั กและกิ จ กรรมสนั บ สนุ น ว าสามารถช ว ยให ไ ด เ ปรี ย บด า นต น ทุ น
หรือความสามารถในการสรางความแตกตางเมื่อเปรียบเทียบกับคูแขงขันไดหรือไม ซึ่งจะใชเปนแนวทาง
ในการกำหนดจุ ด แข็ ง และจุ ด อ อ นของกิ จ กรรมได เ ป น อย า งดี Michael E. Porter (1985) ได ใ ห
แนวความคิดของหวงโซคุณคาวาเปนคุณคาหรือราคาสินคา ที่ลูกคาหรือผูซื้อยอมจายใหกับสินคา
ตั ว ใดตั ว หนึ ่ ง ซึ ่ งคุ ณค า ของสิ น ค า เหล า นี ้ เ ป น ผลจากการโยงใยคุ ณค า ต า งๆ ในกระบวนการผลิ ต
หรือดำเนินงานของบริษัทเจาของสินคา ซึ่งมีกิจกรรมตางๆ เกิดขึ้นมากมายระหวางการดำเนิน งาน
โดยมีความสัมพันธกันคลายลูกโซแบบตอเนื่อง การที่จะตรวจสอบวาสินคาและบริการมีคุณค ามาก
17

(จุดแข็ง) จากกิจกรรมใด และมีคุณคานอย (จุดออน) จากกิจกรรมใด Michael E. Porter ไดเสนอ


แบบจำลอง หวงโซคุณคาโดยมุงใหความสำคัญกับกิจกรรมในหวงโซคุณคาของแตละหนวยธุรกิจ ตั้งแต
การจัดหาแหลงวัตถุดิบ การแปรรูป ตลอดจนถึงกระบวนการสงมอบสินคาและบริการใหกับลู ก คา
โดยมุงสรางความสามารถ ในการแขงขันทางธุรกิจ ดวยการวิเคราะหมูลคาเพิ่มที่เกิดขึ้นในแตละขั้นตอน
หรือกิจกรรม โดยแบงกิจกรรมภายในองคกร เปน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมหลัก (Primary Activities)
และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) โดยกิจกรรมทุ กประเภทมี สวนในการชวยเพิ่ มคุ ณ คา
ใหกับสินคา
กิจกรรมหลัก (Primary Activities) 5 กิจกรรม ที่เกี่ยวของกับการผลิตหรือสรางสรรค
สินคาหรือบริการ การตลาด และการขนสงสินคาไปยังผูบริโภค ประกอบดวย
1) โลจิสติกสขาเขา (Inbound Logistics) กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการไดรับ การขนสง
การจัดเก็บ การแจกจายวัตถุดิบ การควบคุมระดับของวัตถุดิบ
2) การปฏิบัติการ (Operations) กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนหรือแปรรูปวัตถุดิบ
ใหออกมาเปนสินคา จะประกอบไปดวย กระบวนการผลิต วัตถุดิบ เครื่องจักรและเครื่องมือ
3) โลจิสติกสขาออก (Outbound Logistics) กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บ รวบรวม
จัดจำหนาย การขนสง การสื่อสาร สินคา และบริการไปยังลูกคา
4) การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) กิจกรรมที่เกี่ยวกับการชักจูงใหลูกคา
ซื้อ สินคาและบริการ การโฆษณา ชองทางการจัดจำหนาย ประชาสัมพันธ
5) การบริการ (Services) กิจกรรมที่ครอบคลุมถึงการใหบริการเพื่อเพิ่มคุณคาให กับ
สินคา รวมถึงการบริการหลังการขาย การแนะนำการใช
กิ จ กรรมสนั บสนุ น (Support Activities) 4 กิ จกรรม เป น กิ จ กรรมที ่ ช  ว ยสนั บ สนุน
ใหกิจกรรมหลักสามารถดำเนินไปได ประกอบดวย
1) โครงสรางพื้นฐานขององคกร (Firm Infrastructure) โครงสรางพื้นฐานขององคกร
ไดแก ระบบบัญชี ระบบการเงิน การบริหารจัดการขององคกร กิจกรรมหลักทั้ง 5 กิจกรรม จะทำงาน
ประสานกันไดดี จนกอใหเกิดคุณคาไดนั้นจะตองอาศัย กิจกรรมสนับสนุนทั้ง 4 กิจกรรม นอกจาก
กิ จ กรรมสนั บ สนุ น จะทำหน าที ่ ส นั บ สนุ น กิ จ กรรมหลั กแล ว กิ จ กรรมสนั บ สนุ น ยั งจะต องทำหน าที่
สนับสนุนซึ่งกันและกันอีกดวย
2) การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management) กิจกรรมที่เกี่ยวของ
กับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตั้งแตวิเคราะหงาน สรรหาและคัดเลือก ประเมินผล พัฒนา ฝกอบรม
ระบบเงินเดือน คาจาง และแรงงานสัมพันธ
3) การวิ จ ั ย และพั ฒ นา (Technology Development) กิ จ กรรมเกี ่ ย วกั บ การพั ฒ นา
เทคโนโลยี ที่ชวยในการเพิ่มคุณคาใหสินคา และบริการหรือกระบวนการผลิต
4) การจัดซื้อ/จัดหา (Procurement) กิจกรรมในการจัดซื้อจัดหา เพื่อมาใชในกิจกรรมหลัก
18

ที่มา: Michael E. Porter (1985)

ภาพที่ 2.1 ปจจัยพื้นฐานของหวงโซคุณคาของ Michael E. Porter

2.2.3 แนวคิดหวงโซคุณคาของธุรกิจเกษตร
แนวคิดหวงโซคุณคาของธุรกิจเกษตร หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่สัมพันธและเชื่อมโยงกัน
เพื่อรวมสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาและบริการ หวงโซคุณคานั้นเริ่มตนตั้งแตเรื่องของวัตถุดิบ เชน
เริ่มตั้งแตการจัดการวัตถุดิบ การขนสงเพื่อนำวัตถุดิบเขาสูกระบวนการผลิต ผลิตแลวจะจัดจำหนาย
อย างไร จั ด ส งสิ น ค าอย า งไร และมี การบริ ก ารหลั งการขายอย างไร เป น ต น ห ว งโซ คุ ณค าที ่ ว  า นี้
อาจเกิดขึ้นจากผูประกอบการรายเดียว หรือเกิดจากผูประกอบการหลายๆ รายที่มารวมตัวกัน โดยแบง
ขอบเขตของกิจกรรมแลวสงตอคุณคาในแตละขั้นตอนตอเนื่องกันไป (สำนักงานบริหารและพัฒนา
องคความรู (องคการมหาชน), 2564)
หวงโซคุณคาของธุรกิจเกษตรประกอบไปดวย 3 กิจกรรมหลัก คือ
1) กระบวนการกอนการผลิต (Pre-Production Process) คือการดำเนินการกอนที่จะมี
การผลิตซึ่งเกี ่ยวข องกับ การจัด เตรีย มวัต ถุ ดิบ และปจจัยการผลิต อื ่น ๆ ใหมีคุณภาพ และปริ มาณ
ที ่ เ หมาะสมก อ นทำการเพาะปลู ก เลี ้ ย งสั ต ว หรื อ ทำประมง เช น การวิ จ ั ย และพั ฒ นาพั น ธุ  พื ช
หรือพันธุกรรมสัตว การผลิตปุย และสารกำจัดแมลง การผลิตวัคซีน และยาสำหรับปศุสัตว รวมถึง
การเตรียมสถานที่ เงินทุน แรงงานคน และวัสดุอุปกรณทั้งหมดที่ตองใชในการดำเนินการ
2) กระบวนการผลิต (Production) คือการดำเนินการเพื่อเปลี่ยนวัตถุดิบและปจจัยการ
ผลิตใหกลายเปนสินคาหรือบริการที่พรอมนำไปจำหนาย เชน การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว และการแปรรูป
ผลผลิตซึ่งปจจุบันมีการนำเทคโนโลยี นวัตกรรม และระบบสารสนเทศเขามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิ ต ลดต น ทุ น และเพิ ่ ม ความสะดวกสบายให ก ั บ เกษตรกรหมายถึ ง กิ จ กรรมที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เพื่ อ
19

เปลี่ยนแปลงสภาพวัตถุดิบใหกลายเปนสินคาหรือบริการ เชนการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว และการ


แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
3) กระบวนการหลังการผลิต (Post-Production Process) เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นหลัง
การผลิต และการแปรรูป เพื่อสงมอบสินคา หรือบริการทางการเกษตรที่มีคุณภาพใหกับผูบริโภค โดยมี
เปาหมายเพื่อสรางประสบการณที่ดี และความพึงพอใจสูงสุด ประกอบดวยการดำเนินการสำคัญ 3 เรื่อง คือ
3.1) โลจิสติกสขาออก เกี่ยวของกับการดำเนินการเพื่อใหมั่นใจวาผูบริโภคจะไดรับ
สินคาที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และไดมาตรฐานตามที่กำหนด ทั้งการบริหารจัดการขนสง การกระจาย
สินคา และการเก็บรักษาสินคาที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหสินคายังคงคุณภาพขณะที่สงมอบหรือจำหนาย
ใหผูบริโภค
3.2) การขายและการตลาด ครอบคลุมตั้งแตการสรางตราสินคา การสรางภาพลักษณ
ของสินคา และการออกแบบบรรจุภัณฑ เพื่อชวยใหสินคาเปนที่รูจักและจดจำ รวมถึงเกิดความมั ่ นใจ
ในสิ นค าและบริ การ การบริ หารจั ดการช องทาง หรื อพื ้ นที ่ จำหน ายสิ นค าทั ้ งออนไลน และออฟไลน
อยางมีประสิทธิภาพจะชวยใหสินคาเขาถึงไดงาย และครอบคลุมชองทางการขายที่ตั้งเปาหมายไว
3.3) บริการ (Service) เพื่ออำนวยความสะดวก สรางความประทับใจ และชวยแกปญหา
ที่เกิดจากการใชสินคาหรือบริการ เชน อำนวยความสะดวกขณะซื้อ และหลังจากซื้อสินคา ใหบริการขอมูล
เชิงเทคนิคในการนำสินคาไปใชงานอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด รับคำติชมและความคิดเห็น
เพื่อนำกลั บมาพั ฒนาสินค าและบริ การให ตอบโจทย ความต องการและสร างความพึ งพอใจสู งสุดให กั บ
ผูบริโภค
2.2.4 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับตนทุนการผลิต
ต น ทุ น การผลิ ต (Cost of Production) สามารถแยกเป น ประเภทของต น ทุ น ตาม
ลักษณะและความหมายโดยทั่วไปได ดังนี้ (ศิริวัฒน ทรงธนศักดิ,์ 2562)
1) ตนทุนชัดแจงและตนทุนไมชัดแจง
1.1) ตนทุนชัดแจง (Explicit Cost) หมายถึง ตนทุนที่เห็นไดชัดแจงวามีการจายคาใชจาย
นั้นไปจริงเปนตัวเงิน
1.2) ตนทุนไมชัดแจง (Implicit Cost) หมายถึง ตนทุนที่ไมไดจายเงินออกไปจริง ในการ
ไดประโยชนจากปจจัยการผลิตนั้น
2) ต น ทุ น ค า เสี ย โอกาส (Opportunity cost) หรื อ ต น ทุ น ทางเลื อ ก (Alternatives
Cost) เปนตนทุนที่มีแนวคิดทางดานเศรษฐศาสตร ที่วาทรัพยากรมีจำกัด หากเลือกใชทรัพยากรนั้นไป
ในทางเลือกหนึ่งก็จะสูญเสียโอกาสที่จะนำไปใชอีกทางหนึ่ง เปนแนวคิดที่สำคัญในการที่จะใชทรัพยากร
ที่มีจำกัดใหมีประสิทธิภาพสูงสุด
20

3) ตนทุนทางบัญชีและตนทุนทางเศรษฐศาสตร
3.1) ต นทุ นทางบั ญชี (Accounting Cost) หรื อต นทุ นทางธุ รกิ จ (Business Cost)
หมายถึง ตนทุนที่มีคาใชจายตางๆ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากกิจกรรมการผลิตซึ่งคิดเฉพาะรายจายที่เห็นชัดเจน
มีการจายเกิดขึ้นจริง
3.2) ตนทุนทางเศรษฐศาสตร (Economic Cost) หมายถึง ตนทุนคาใชจายทั้งหมด
ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เนื ่ อ งจากการผลิ ต โดยมี ท ั ้ ง รายจ า ยที ่ จ  า ยเงิ น ออกไปจริ ง เห็ น ชั ด แจ ง (explicit cost)
และรายจายที่ไมมีการจายออกไปจริง เปนรายจายไมชัดแจง (implicit cost) ตนทุนทางเศรษฐศาสตร
ยังรวมตนทุนคาเสียโอกาส (opportunity cost) ไวดวย ทำใหตนทุนทางเศรษฐศาสตร จะสูงกวาตนทุน
ทางบัญชี ดังนั้นกำไรในทางเศรษฐศาสตรจึงนอยกวากำไรในทางบัญชีเสมอ
4) ตนทุนภายนอก ตนทุนเอกชน และตนทุนสังคม
4.1) ต น ทุ น ภายนอก หรื อ ผลกระทบภายนอก (Externality) ที ่ ม ี ผ ลกระทบต อ
บุคคลอื่น ซึ่งมีทั้งผลกระทบที่เปนประโยชนหรือผลดี (External Benefit หรือ Positive Externality)
และผลกระทบที่เปนผลเสียหรือผลกระทบทางลบ (External Cost หรือ Negative Externality)
4.2) ตนทุนเอกชน (Private Cost) หมายถึง ตนทุนหรือคาใชจายทั้งหมดที่ผูผลิต
ตองรับผิด ตนทุนเอกชน จะเทากับตนทุนทางเศรษฐศาสตร
4.3) ต น ทุ น ทางสั งคม (Social Cost) หมายรวมถึ ง ต น ทุ น เอกชน รวมกั บ ต น ทุน
ที่เปนผลกระทบภายนอก
5) ตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่
5.1) ต น ทุ น ผั น แปร หมายถึ ง ต น ทุ น การผลิ ต ที ่ เ ปลี ่ ย นแปลงไปตามปริ มาณของ
ผลผลิตเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการใชปจจัยผันแปรในการผลิต และปจจัยผันแปรจะใชหมดไปในชวง
การผลิตนั้น ๆ ตนทุนผันแปรในการผลิตแยกประเภทกิจกรรมแบงออกได 3 ประเภท คือ
1) ค าแรงงานในการผลิ ตทั ้ งแรงงานคน และแรงงานเครื ่ องจั กร ประกอบด วย
คาแรงงานในการเตรียมกลา การเตรียมปลูก การปลูก การปราบวัชพืช การใสปุย การฉีดพนยาสารเคมี
การใหน้ำ
2) คาแรงงานคนในการเก็บเกี่ยวและขนสง
3) คาวัสดุการเกษตรหรือปจจัยการผลิต ประกอบดวย คาเมล็ดพันธุคาภาชนะเพาะ
กลา คาปุยใสกลา คาสารเคมีใสกลา คาสารเคมี คาน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนคาซอมแซม อุปกรณตางๆ
เปนตน
5.2) ตนทุนคงที่ หมายถึง ตนทุนการผลิตที่ไมเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณของผลผลิต
เปนคาใชจายในการผลิตที่เกิดจากการใชปจจัยการผลิตที่คงที่ ซึ่งไมวาผูผลิตจะทำการผลิตมากหรือนอย
แคไหน ตนทุนคงที่ทั้งหมดจะคงที่เสมอ และผูผลิตไมสามารถจะเปลี่ยนแปลงปริมาณการใชปจจัย
ดังกลาวไดในชวงระยะเวลาของการผลิตนั้น ตนทุนคงที่ในการผลิตแยกประเภทกิจกรรม แบงออกได
2 ประเภท คือ
21

1) ตนทุนคงที่ที่เปนเงินสด หมายถึง คาใชจายที่ผูผลิตจะตองจายในรูปเงินสด


ในจำนวนที่คงที่ เชน คาเชาที่ดิน คาวัสดุอุปกรณการแปรรูป เปนตน
2) ตนทุนคงที่ไมเปนเงินสด หมายถึง คาใชจายจำนวนคงที่ที่ผูผลิตไมไดจ าย
ออกจริงในรูปของเงินสด หรือเปนคาใชจายคงที่ที่ประเมิน เชน คาสึกหรอหรือคาเสื่อมราคาของอุปกรณ
การเกษตร และคาใชที่ดินของตนเอง แตประเมินตามอัตราคาเชาที่ดินในทองถิ่นนั้น ในการวิเคราะห
ตนทุน สามารถแสดงความสัมพันธไดดังนี้
ตนทุนผันแปรทั้งหมด = คาใชจายในการเตรียมดินเพาะปลูกและดูแลรักษา +
คาวัสดุการเกษตรหรือปจจัยการผลิต + คาใชจาย
ในการเก็บเกี่ยวและขนสง
ตนทุนคงที่ทั้งหมด = คาเชาที่ดิน + คาใชที่ดิน + คาภาษีที่ดิน +
คาเสื่อมราคาอุปกรณ

ตนทุนทั้งหมด หมายถึง ตนทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นทั้งที่เปนเงินสดและไมเปน


เงินสดซึ่งประกอบไปดวย ตนทุนคงที่ทั้งหมดและตนทุนผันแปรทั้งหมด

ตนทุนทั้งหมด = ตนทุนผันแปร + ตนทุนคงที่

การวิเคราะหผลตอบแทน สวนประกอบผลตอบแทน พิจารณาได ดังนี้


1) ผลตอบแทนทั้งหมด หมายถึง ผลตอบแทนทั้งหมดที่ไดจากการผลิตผลิตผล
ทางการเกษตรตอปการผลิต ซึ่งเทากับปริมาณผลผลิตทั้งหมดคูณดวยราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ

ผลตอบแทนทั้งหมด = จำนวนผลผลิต x ราคาของผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ

2) ผลตอบแทนสุทธิ คือ สวนที่เหลือจากการนำผลตอบแทนหักดวยตน ทุน


ทั้งหมด ซึ่งผลตอบแทนสุทธิใชในการพิจารณาถึงผลกระทบที่มีผลตอกำไรในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง
ในราคาขาย ผลตอบแทนสุทธิสามารถคำนวณไดดังนี้
ผลตอบแทนสุทธิ = ผลตอบแทนทั้งหมด – ตนทุนทั้งหมด
22

6) ตนทุนระยะสั้น ตนทุนระยะยาว และการประหยัดตอขนาด


6.1) ต น ทุ น ระยะสั ้ น (Short run Cost) ประกอบด ว ย ต น ทุ น คงที ่ ท ี ่ ไ ม ม ี ก าร
เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต และตนทุนผันแปรจะเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต
6.2) ตนทุนการผลิตในระยะยาว (long run Cost) หมายถึง ในระยะยาวหนวยผลิต
หรือผูผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงจำนวนการใชปจจัยการผลิตไดทุกชนิด ปจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลง
ไดตามจำนวนผลผลิตที่หนวยผลิตตองการ ดังนั้น ปจจัยการผลิตทุกชนิดจึงเปนปจจัยผันแปร และจะมี
เพียงตนทุนผันแปรเพียงอยางเดียว
6.3) การประหยั ดต อขนาด (Economy of Scale) หมายถึง การผลิตสินคาในจำนวน
ที่มากพอที่จะทำใหไดเปรียบเรื่องตนทุนจากการที่ตนทุนตอหนวยลดลง
7) ตนทุนรวม ตนทุนเฉลี่ย และตนทุนเพิ่ม
7.1) ตนทุนรวม (Total Cost) หมายถึง มูลคาของตนทุนทั้งหมดที่ใชในการผลิต ซึ่งก็คือ
ผลรวมของตนทุนผันแปร กับ ตนทุนคงที่
7.2) ต นทุ นเฉลี ่ ย (Average Cost) หรื อต นทุ นต อหน วย หมายถึ ง ต นทุ นรวมหารด วย
ปริมาณผลผลิต
7.3) ต นทุ นเพิ ่ ม (Marginal Cost) หรื อ ต นทุ นหน วยสุ ดท าย หมายถึ ง ต นทุ นรวม
ที่เพิ่มขึ้นเมื่อผลิตสินคาเพิ่มขึ้นหนึ่งหนวย
23

บทที่ 3
ขอมูลทั่วไป
การศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร: กรณีศึกษาฟางขาว
ในพื้นที่ภาคเหนือ ผูวิจัยไดดำเนินการเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณเกษตรกรที่เขารวมโครงการการผลิต
ปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ในป 2565 ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จำนวน 37 ราย จังหวัดเชียงใหม
จำนวน 23 ราย และจั ง หวั ด ตาก จำนวน 25 ราย รวมเกษตรกรกลุ  ม ตั ว อย า ง จำนวน 85 ราย
ผลการศึกษา มีดังนี้

3.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรผูผลิตปุ ยอิ นทรียจ ากฟางขาว จำนวน 85 ราย พบวา เกษตรกร
เพศชาย จำนวน 58 ราย คิ ด เป น ร อ ยละ 68.24 ของเกษตรกรทั ้ ง หมด และเกษตรกรเพศหญิ ง
จำนวน 27 ราย คิดเปนรอยละ 31.76 ของเกษตรกรทั้งหมด โดยอายุเฉลี่ยของเกษตรกรมีอายุ 60.33 ป
หรือ 60 ป 4 เดือน เกษตรกรสวนใหญมีอายุ 60 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 54.12 ของเกษตรกรทั้งหมด
รองลงมาไดแก ชวงอายุ 50 - 59 ป ชวงอายุ 40 - 49 ป และชวงอายุ 30 - 39 ป คิดเปนรอยละ 28.24
15.29 และ 2.35 ของเกษตรกรทั้งหมด ทั้งนี้ เกษตรกรผูสูงอายุเมื่อมีเวลาวางจากการทำการเกษตร
จะผลิตปุยอินทรียใชเอง เพื่อลดตนทุนและเพิ่มรายไดอีกทางหนึ่งดวย ระดับการศึกษาของเกษตรกร
สวนใหญ รอยละ 57.65 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา รองลงมา ไดแก ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
มัธยมศึกษาตอนตน ปริญญาตรี และ ปวช. ปวส. โดยคิดเปนรอยละ 21.18 9.41 8.24 และ 3.53
ของเกษตรกรทั้งหมด ตามลำดับ สำหรับรายไดในภาคเกษตร เกษตรกรสวนใหญมีรายไดนอยกว า
50,000 บาทต อ ป คิ ด เป น ร อ ยละ 37.65 ของเกษตรกรทั ้ ง หมด รองลงมามี ร ายได อ ยู  ใ นช ว ง
50,001 - 100,000 บาทตอป 100,001 - 150,000 บาทตอป 150,001 - 200,000 บาทตอป มากกวา
250,000 บาทตอป และ 200,001 - 250,000 บาทตอป โดยคิดเปนรอยละ 21.18 18.82 11.76 7.06
และ 3.53 ของเกษตรกรทั้งหมด ตามลำดับ
จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกร สวนใหญมีจำนวนสมาชิกในภาคเกษตร 1 - 3 ราย คิดเปน
รอยละ 56.47 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมา คือ 4 - 6 ราย และ 7 รายขึ้นไป คิดเปนรอยละ 40
และ 3.53 ของเกษตรกรทั ้ งหมด ตามลำดั บ สำหรั บ การทำปุ  ย อิ น ทรี ย จ ากฟางข าวจะใช แรงงาน
ในครัวเรือนตนเองเปนสวนใหญและมีจำนวนแรงงานเฉลี่ย 2 รายตอครัวเรือน
ประสบการณในการทำการเกษตรของเกษตรกร เฉลี่ยอยูที่ 35.29 ป หรือ 35 ป 3 เดือน
สวนใหญอยูที่ 21 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 75.29 ของเกษตรกรทั้งหมด รองลงมาอยูในชวง 16 - 20 ป
11 - 15 ป 6 - 10 ป 1 - 5 ป คิ ดเป นร อยละ 11.76 4.71 7.06 และ 1.18 ของเกษตรกรทั ้ งหมด
ตามลำดับ สำหรับประสบการณในการทำปุยอินทรียจากฟางขาวเฉลี่ย 11.32 ป หรือ 11 ป 4 เดือน
สวนใหญอยูในชวง 1 - 5 ป คิดเปนรอยละ 36.47 รองลงมาเปนชวง 6 - 10 ป 21 ปขึ้นไป 11 - 15 ป
24

และ 16 - 20 ป คิ ดเป นร อยละ 28.24 14.12 12.94 และ 8.24 ของเกษตรกรทั ้ งหมด ตามลำดั บ
ซึ่งเกษตรกรทำปุยอินทรียดวยวิธีการที่ไดปฏิบัติตามกันมาก อนที่จะเขารับการอบรมตามสูต รของ
กรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 3.1)

ตารางที่ 3.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ


หนวย: ราย
รายการ จำนวน รอยละ
เพศ
ชาย 58 68.24
หญิง 27 31.76
ชวงอายุ (ป)
30 - 39 2 2.35
40 - 49 13 15.29
50 - 59 24 28.24
มากกวา 60 ป 46 54.12
อายุของเกษตรกรเฉลี่ย 60.33 ป
ระดับการศึกษา
ประถมศึกษา 49 57.65
มัธยมศึกษาตอนตน 8 9.41
มัธยมศึกษาตอนปลาย 18 21.18
ปวช. ปวส. 3 3.53
ปริญญาตรี 7 8.24
รายได (บาท/ป)
นอยกวา 50,000 32 37.65
50,001 – 100,000 18 21.18
100,001 – 150,000 16 18.82
150,001 – 200,000 10 11.76
200,001 – 250,000 3 3.53
มากกวา 250,000 6 7.06
25

ตารางที่ 3.1 (ตอ)


หนวย: ราย
รายการ จำนวน รอยละ
จำนวนสมาชิก
1-3 48 56.47
4-6 34 40.00
7 รายขึ้นไป 3 3.53
ประสบการณทำการเกษตร (ป)
1-5 1 1.18
6 – 10 6 7.06
11 – 15 4 4.71
16 – 20 10 11.76
21 ปขึ้นไป 64 75.29
ประสบการณทำการเกษตร เฉลี่ย 35.29 ป
ประสบการณทำปุย (ป)
1-5 31 36.47
6 - 10 ป 24 28.24
11 - 15 ป 11 12.94
16 - 20 ป 7 8.24
21 ปขึ้นไป 12 14.12
ประสบการณทำปุย เฉลี่ย 11.32 ป
ที่มา: จากการสำรวจ

3.2 พื้นที่ทำการเกษตร
พื้นที่ทำการเกษตรของเกษตรกรเฉลี่ย 27.56 ไร สวนใหญมีขนาด 21 ไรขึ้นไป คิดเปนรอยละ
54.12 รองลงมาคือ ขนาด 6 - 10 ไร 1 - 5 ไร 11 - 15 ไร 16 - 20 ไร คิดเปนรอยละ 17.65 11.76
9.41 และ 7.06 ของเกษตรกรทั้งหมด ตามลำดับ
26

ตารางที่ 3.2 พื้นที่ทำการเกษตร ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ


หนวย: ราย

พื้นที่ทำการเกษตร (ไร) จำนวน รอยละ

1-5 10 11.76
6 - 10 15 17.65
11 - 15 8 9.41
16 - 20 6 7.06
21 ไรขึ้นไป 46 54.12
พื้นที่ทำการเกษตร เฉลี่ย 27.56 ไร
รวม 85 100.00
ที่มา: จากการสำรวจ

3.3 การเขารวมเปนสมาชิกในกลุมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
เกษตรกรทุกรายเปนสมาชิกสถาบันเกษตรกรที่จัดตั้งขึ้นภายในชุมชนและกลุมออมทรั พย
ของชุ มชน นอกจากนี ้ เกษตรกรยั งเป นสมาชิ กธนาคารเพื ่ อการเกษตรและสหกรณ การเกษตร (ธ.ก.ส)
รอยละ 43.48 รองลงมาเปนสมาชิกกลุ มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน สหกรณการเกษตร และกลุมอื ่ นๆ
(อาทิ กลุมนาแปลงใหญ กลุมไมผล) คิดเปนรอยละ 23.91 10.87 8.70 และ 13.04 ตามลำดับ (ตารางที่ 3.3)

ตารางที่ 3.3 การเปนสมาชิกสถาบันเกษตรกร ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ


หนวย: ราย
การเปนสมาชิกสถาบันเกษตรกร จำนวน รอยละ
ธ.ก.ส. 40 43.48
กลุมเกษตรกร 22 23.91
กลุมวิสาหกิจชุมชน 10 10.87
สหกรณการเกษตร 8 8.70
อื่นๆ 12 13.04
หมายเหตุ: เกษตรกร 1 ราย ตอบไดมากกวา 1 คำตอบ
ที่มา: จากการสำรวจ
27

3.4 แหลงเงินลงทุนทำปุย
เกษตรกรทุกคนใชเงินลงทุนของตนเองในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว โดยไมไดกูยืมเงิน
จากสถาบั น การเงิ น หรื อ แหล ง เงิ น ทุ น อื ่ น เนื ่ อ งจากการผลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  จ ากฟางข า วใช ว ั ส ดุ ห ลั ก
เปนฟางขาวและมูลสัตวซึ่งหาไดงายและราคาไมสูง (ตารางที่ 3.4)
ตารางที่ 3.4 แหลงเงินลงทุนผลิตปุย ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ

หนวย: ราย
แหลงเงินลงทุนผลิตปุย จำนวน รอยละ
ทุนตนเอง 85 100.00
กูเงินลงทุน - -
รวม 85 100.00
ที่มา: จากการสำรวจ

3.5 ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีตอการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
3.5.1 ขอดี
จากการศึกษาพบวา เกษตรกรสวนใหญ รอยละ 48.15 มีความเห็นวาการใชปุยอินทรีย
จากฟางขาวแทนการใชปุยเคมีทำใหตนทุนลดลง รองลงมา ไดแก การใชปุยอินทรียจากฟางขาวชวยเพิ่ม
ผลผลิต เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเพิ่มคุณภาพของดิน คิดเปนรอยละ 22.22 18.52 และ 11.11
ตามลำดับ
3.5.2 ขอเสีย
จากการศึกษาพบวา เกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวสวนใหญไดผลผลิตลดลง
ในชวงที่มีการปรับเปลี่ยนจากการใชปุยเคมีมาใชปุยอินทรีย รอยละ 41.18 รองลงมาคือเกษตรกรตองใช
ปุยอินทรียปริมาณมากกวาปุยเคมีในการทำการเกษตร รอยละ 27.06 เกษตรกรตองใชเวลาในการหมัก
ปุยนาน หากเกษตรกรไมการวางแผนการผลิตปุยจะสงผลใหไมมีปุยอินทรียใชไดในปริมาณที่เพียงพอ
และทันเวลา รอยละ 20.00 และปุยอินทรียที่ไดมีลักษณะเปนผงทำใหไมสะดวกในการหวานเหมือนปุย
ที่เปนเม็ด รอยละ 17.65 (ตารางที่ 3.5)
28

ตารางที่ 3.5 ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีตอปุยอินทรียจากฟางขาว ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ

หนวย: ราย
รายการ จำนวน รอยละ
ขอดี
ลดตนทุนการผลิต 65 48.15
เพิ่มผลผลิตตอไร 30 22.22
เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและสุขภาพ 25 18.52
เพิ่มคุณภาพของดิน 15 11.11
ขอเสีย
ผลผลิตลดลงในชวงปรับเปลี่ยน 35 41.18
ปริมาณการใชมากกวาปุยเคมี 23 27.06
การหมักปุยใชเวลานาน 17 20.00
ไมสะดวกในการนำไปใช 15 17.65
หมายเหตุ: เกษตรกร 1 ราย ตอบไดมากกวา 1 คำตอบ
ที่มา: จากการสำรวจ

3.6 ปจจัยที่เกษตรกรตองการไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติม
จากการศึกษาพบวา เกษตรกรตองการไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดหาเครื่องสับ
วัสดุเหลือใชทางการเกษตรขนาดใหญ คิดเปนรอยละ 43.80 รองลงมา ไดแก จัดหาตลาดสำหรั บ
จำหน ายปุ  ย อิ น ทรี ย  จั ด อบรมด านเกษตรสมั ย ใหม คิ ด เป น ร อยละ 31.38 และ 24.82 ตามลำดั บ
(ตารางที่ 3.6)
ตารางที่ 3.6 ปจจัยทีเ่ กษตรกรตองการไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติม ป 2565 ในพื้นที่ภาคเหนือ

หนวย: ราย
รายการ จำนวน รอยละ
เครื่องบดสับวัสดุเหลือใชทางเกษตรขนาดใหญ 60 43.80
จัดหาตลาด 43 31.38
จัดอบรมดานเกษตรสมัยใหม 34 24.82
หมายเหตุ: เกษตรกร 1 ราย ตอบไดมากกวา 1 คำตอบ
ที่มา: จากการสำรวจ
29

3.7 สรุปวิธีการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
การผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวของเกษตรกรไดรับการถายทอดความรูจากกรมพัฒนาที่ดิน
โดยการนำฟางขาวและเศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตรอื่นๆ มาหมักรวมกับมูลสัตว และใชสารเรง
ซุปเปอร พด.1 ชวยเรงการยอยสลาย เมื่อหมักไดระยะเวลาหนึ่ง เศษวัสดุทั้งหมดจะเปลี่ยนสภาพ
จากของเดิมกลายเปนผงเปอยยุยมีสีดำหรือสีน้ำตาลเขม มีวิธีเตรียมวัสดุ และวิธีการทำดังนี้
3.7.1 วิธีการเตรียมวัสดุ
1) เตรียมฟางขาวแหงปริมาณ 1 ตัน เศษใบไมแหง เชน ใบลำไย ใบจามจุรี ปริมาณ 65
กิโลกรัม และมูลสัตวแหง ปริมาณ 290 กิโลกรัม แบงวัสดุทั้งหมดออกเปน 3 สวน เพื่อผลิตกองปุย
จำนวน 3 ชั้น
2) เตรียมน้ำหมักชีวภาพ จากการสำรวจ เกษตรกรมีวิธีการเตรียมน้ำหมัก ดังนี้
2.1) นำเศษพื ช ผั กในท องถิ ่ น เช น ผั กบุ  ง กวางตุ  ง กะหล่ ำ เป น ต น ปริ มาณ 30
กิโลกรัม หรือกลวยน้ำวาสุก มะละกอสุก และฟกทอง อยางละ 10 กิโลกรัม รวม 30 กิโลกรัม สับเปน
ชิ้นเล็กๆ นำมาใสถังหมักขนาด 120 ลิตร แลวใสกากน้ำตาล 10 ลิตร
2.2) นำสารเรงซุปเปอร พด.2 จำนวน 2 ซอง มาละลายน้ำ 20 ลิตร คนใหเขากัน
ประมาณ 5 นาที นำมาเทใสถังหมักที่ใสวัตถุดิบและกากน้ำตาลไวแลว จากนั้นคนใหเขากันอีกครั้ง
ปดฝาไมต  องสนิทนำไปวางในที่ ร ม หมักไวประมาณ 30 - 45 วัน จะไดน้ำหมั กประมาณ 50 ลิตร
โดยเกษตรกรแบงมาใชสำหรับผลิตปุย 20 ลิตร
3) น้ำสำหรับรดกองปุย
3.1) น้ำผสมสารเรงซุปเปอร พด.1 จำนวน 2 ซอง ตอน้ำ 20 ลิตร
3.2) น้ำผสมน้ำหมักชีวภาพ จำนวน 20 ลิตร ตอน้ำ 50 ลิตร
30

ที่มา: จากการสำรวจ
ภาพที่ 3.1 วัสดุสำหรับการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว

3.7.2 วิธีการทำ
จากการสำรวจ เกษตรกรผลิ ต กองปุ  ยขนาดกวาง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สู ง 1 เมตร
โดยแบงวัสดุออกเปน 3 ชั้น แตละชั้นสูงประมาณ 30 เซนติเมตร มีวิธีการดังนี้
1) การทำชั้นกองปุย
ชั้นที่ 1 นำฟางขาวปูพื้นเปนอันดับแรก แลวตามดวยเศษใบไมแหง ย่ำใหพอแนนและ
รดน้ำเปลาใหชุ ม และโรยมูลสัตวแหง รำและแกลบ จากนั้นรดดวยน้ ำหมั กชีวภาพ และรดน้ำที ่ มี
สวนผสมสารเรงซุปเปอร พด.1 ปริมาณเฉลี่ย 7 ลิตร ใหทั่วทั้งกองปุย แลวจึงรดน้ำเปลาใหทั่วทั้งกองปุย
อีกครั้ง
ชั้นที่ 2 และชั้นที่ 3 ทำแบบเดียวกับชั้นที่ 1
2) การคลุมกองปุย
เมื่อทำชั้นกองปุยเสร็จแลวเกษตรจะคลุมกองปุยเพื่อรักษาความชื้น สำหรับวัสดุ
อุ ป กรณที ่ ใช ส  ว นใหญ ได แก สแลน นอกจากนี ้ เกษตรกรบางรายคลุ มกองปุ  ย ด ว ยวั ส ดุ อื ่ น ๆ เช น
ทางมะพราว พลาสติก สังกะสีเกา เปนตน
3) เกษตรกรหมักปุยไวเฉลี่ย 90 วัน โดยระหวางการหมักเกษตรกรจะทดสอบความชื้น
ของปุยโดยใชมือลวงเขาไปในกองปุย ถากองปุยขาดความชื้นเกษตรกรจะรดน้ำใหชุม โดยบางรายรดน้ำ
31

ทุกสัปดาห หรือบางรายรดน้ำทุก 10 วัน และกลับกองปุยเมื่อหมักไปแลวประมาณ 30 วัน เพื่อชวยเพิ่ม


ออกซิเจนและลดความรอนใหแกกองปุย เมื่อครบ 90 วันจะไดปุยหมักที่มีสีดำหรือน้ำตาลเขม และรวนซุย

ที่มา: จากการสำรวจ
ภาพที่ 3.2 ลักษณะของคอกผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว

ที่มา: จากการสำรวจ
ภาพที่ 3.3 วัสดุอื่นๆ สำหรับการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
32

ที่มา: จากการสำรวจ
ภาพที่ 3.4 ปุยอินทรียจากฟางขาว
บทที่ 4
33

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห

การศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร กรณีศึกษาฟางขาว
ในพื้นที่ภาคเหนือ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสรางมูลคาเพิ่มในการผลิตปุยอินทรียจากฟางข าว
โดยรวบรวมขอมูลจากเกษตรกรที่นำฟางขาวมาใชเปนวัสดุหลักในการผลิตปุยอินทรีย ภายใตโครงการ
การผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ป 2565 ซี่งการศึกษาหวงโซคุณคาแบงกิจกรรมการผลิตปุยอินทรีย
จากฟางขาว เปน 2 ลักษณะ ไดแก กิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุน โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการจัดหา
วัตถุดิบเพื่อนำเขาสูการผลิต การจัดจำหนาย การจัดสงสินคาไปสูผูบริโภค ซึ่งในแตละชวงกิจกรรม
จะมีความสัมพันธที่เชื่อมโยงกันและมีสวนสนับสนุนการเพิ่มคุณคาใหกับปุยอินทรียที่ผลิตจากฟางขาว
รวมทั้งไดศึกษาตนทุนและผลตอบแทนจากการผลิตปุยอินทรีย เพื่อวิเคราะหมูลคาที่เพิ่มขึ้นของการนำ
ฟางขาวมาใชประโยชน

4.1 โซอุปทานการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
โซอุปทานการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว เปนการศึกษาการเชื่อมตอของกิจกรรมในกระบวนการ
จัดการผลิตปุยอินทรีย เริ่มตั้งแตการจัดหาวัสดุตางๆ เพื่อนำมาผลิตใหกลายเปนปุยอินทรีย และสงมอบ
ปุยอินทรียใหถึงมือผูบริโภคคนสุดทาย สามารถจำแนกเปนโซอุปทานตนน้ำ คือ เกษตรกร เปนผูจัดหา
วัตถุดิบในการผลิตจากแปลงของตนเอง ญาติ เพื่อนบาน รานคา แมคาในตลาด และสถานีพัฒนาที่ดิน
เพื ่ อส งมอบผลผลิ ตต อไปยั งโซ อุ ปทานกลางน้ ำ คื อ เกษตรกรเพื ่ อดำเนิ นการผลิ ตปุ  ยอิ นทรี ย จากนั้ น
จะสงมอบตอไปยังโซอุปทานปลายน้ำ คือ เกษตรกร ญาติและเพื่อนบาน และจำหนายใหแกหนวยงาน
ราชการและเกษตรกรทั่วไป ดังนี้ (ภาพที่ 4.1)
4.1.1 โซอุปทานตนน้ำ คือ เกษตรกร ซึ่งเปนผูที่มีองคความรูเกี่ยวกับการผลิตปุยอินทรีย เนื่องจาก
ไดรับการอบรมการผลิตปุยอินทรียตามสูตรของกรมพัฒนาที่ดิน ทำหนาที่ผูจัดหาวัตถุดิบสำหรั บผลิ ต
ปุยอินทรียโดยรวบรวมวัตถุดิบจากแปลงของตนเอง ญาติ เพื่อนบาน รานคา แมคาในตลาด และสถานีพัฒนา
ที่ดินในพื้นที่ ไดแก ฟางขาว มูลสัตว วัสดุพืช (เศษหญา ใบไม ซังขาวโพด มูลสัตว) น้ำหมักชีวภาพ แกลบ
รำ สารเรงซุปเปอร พด. 1 และ 2
4.1.2 โซอุปทานกลางน้ำ คือ เกษตรกร เมื่อรวบรวมวัตถุดิบเรียบรอยแลว เกษตรกรจะเปนผูนำ
วัตถุดิบเหลานั้นเขาสูกระบวนการผลิตปุยอินทรีย ตามสูตรของกรมพัฒนาที่ดิน ปุยอินทรียที่ผลิตได
จะบรรจุกระสอบใชแลว ขนาด 25 กิโลกรัมตอกระสอบ เพื่อจำหนาย สำหรับปุยอินทรียที่เกษตรกรผลิต
เพื่อใชเองมีทั้งบรรจุกระสอบและเก็บไวในกองปุยเชนเดิม
4.1.3 โซอุปทานปลายน้ำ คือ เกษตรกร ญาติ เพื่อนบาน หนวยงานราชการ เกษตรกรทั่วไป
เป น ผู  ใช ป ุ ยอิ น ทรี ย  โดยเกษตรกรผู ผ ลิ ตนอกจากเป นผู ใช ปุ  ยอิ น ทรี ย เ อง ยั งได แบ งปุ ย ให แกญาติ
และเพื่อนบานนำไปใชดวย สวนการจำหนายจะมีลูกคาทั้งที่เปนหนวยงานราชการและเกษตรกรทั่วไป
34

34
ที่มา: จากการสำรวจ

ภาพที่ 4.1 โซอุปทานการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว


35

4.2 หวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
4.2.1 กิ จกรรมหลั ก (Primary Activities) 5 กิ จกรรม เปนกิจกรรมที่ เกี ่ยวข องกั บการผลิ ต
ปุยอินทรียจากฟางขาว รวมถึงการจัดเก็บ การขนสง การตลาด และการบริการ รายละเอียดดังนี้
1) โลจิสติกสขาเขา (Inbound Logistics) เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการรวบรวม
ปจจัยการผลิต รวมถึงแหลงที่มา การขนสง และการจัดเก็บวัสดุในการผลิต สำหรับการผลิตปุยอินทรีย
จากฟางขาว 1 ตัน นอกจากฟางขาวซึ่งเปนวัสดุหลักแลว มีสวนวัสดุอื่นๆ ไดแก มูลสัตว เศษใบไม สารเรง
ซุปเปอร พด.1 และ พด.2 น้ำหมักชีวภาพ แกลบ และรำ ซึ่งสวนใหญจัดหาวัสดุจากแปลงเกษตรของตนเอง
ญาติ และเพื่อนบาน มีบางสวนที่ซื้อจากทองถิ่น การขนยายและจัดเก็บวัสดุโดยรถอีแตนและรถเข็น
จากนั้นจึงนำไปเก็บในบริเวณโรงเรือน หรือใตรมไมใกลกับสถานที่หมักปุย โดยใชแรงงานในครัวเรื อน
ขนยายและจัดเก็บวัสดุเฉลี่ย 3 คน วัสดุที่ใชในการผลิตปุยอินทรีย มีดังนี้
1.1) ฟางขาว
การผลิตปุยอินทรีย 1 ตัน เกษตรกรใชฟางขาวปริมาณ 1 ตัน มีแหลงที่มา ดังนี้
(1) ฟางข าวจากที ่ นาของตนเอง ญาติ และเพื ่ อนบ าน คิ ดเป นร อยละ 88.04
ของฟางขาวทั้ งหมด โดยเกษตรกรเก็บฟางข าวหลังการเก็ บเกี่ยวดวยรถเกี่ยวเสร็ จแลว ใชแรงงาน
ในครัวเรือนเฉลี่ย 3 ราย ในการกวาดใหเปนกองและขนยายฟางขาว จากนั้นเกษตรกรสวนใหญจะขน
ฟางขาวดวยรถอีแตน รถยนต และรถเข็น ตามระยะทางใกลไกลหรือความสะดวก แลวนำไปเก็บ ไว
ใตรมไมหรือที่โลงใกลกับสถานที่หมักปุย ซึ่งอยูใกลกับแปลงนา เกษตรกรใชฟางขาวของตนเอง ญาติ
และเพื่อนบาน โดยไมมีคาใชจายปริมาณเฉลี่ย 880.36 กิโลกรัม ซึ่งการซื้อขายฟางขาวในพื้นที่มีราคา
1,610 บาทตอตัน (1.61 บาทตอกิโลกรัม) จึงคิดเปนมูลคา 1,417.38 บาท สำหรับคาแรงงานเก็บและขน
ฟางข า วเฉลี ่ ย 101.26 บาทต อ รอบการผลิ ต และค า น้ ำ มั น ในการขนฟางข า วเฉลี ่ ย 40.40 บาท
ตอรอบการผลิต
(2) การซื ้ อฟางก อน คิ ดเป นร อยละ 11.96 ของฟางทั ้ งหมด โดยเกษตรกร
ซื ้ อฟางก อนจากแปลงนาของเพื ่ อนบ าน และผู  จำหน ายในหมู  บ  าน ผู  จำหน ายจะเป นผู จ ัดสงฟางก อน
เกษตรกรซื้อฟางกอนเฉลี่ย 119.64 กิโลกรัม ราคาฟางขาวเฉลี่ย 1,610 บาทตอตัน คิดเปนเงิน 192.62 บาท
จะเห็นไดวาการผลิตปุยอินทรีย 1 ตัน เกษตรกรใชฟางขาว 1 ตัน คิดเปนมูลคา
1,610 บาทตอตัน ประกอบดวย ฟางขาวของตนเอง ญาติ และเพื่อนบาน คิดเปนปริมาณเฉลี่ย 880.36
กิโลกรัม คิดเปนมูลคา 1,417.38 บาท และฟางขาวที่ซื้อปริมาณเฉลี่ย 119.64 กิโลกรัม คิดเปนเงิน
192.62 บาท
1.2) มูลสัตว เกษตรกรใช มู ล สั ต ว ปริ มาณเฉลี ่ ย 290 กิ โ ลกรั ม ส ว นใหญ ใชมูลวัว
เปนหลัก นอกจากนี้ มีการใชมูลสัตวอื่นๆ อาทิ มูลไก มูลสุกร เกษตรกรใชมูลสัตวจากสัตวที่เลี้ยงเอง
หรือไดจากญาติและเพื่อนบานโดยไมมีคาใชจาย มีปริมาณเฉลี่ย 66.60 กิโลกรัม ซึ่งการซื้อขายมูลสัตว
ในพื้นที่มีราคา 1.56 บาทตอกิโลกรัม คิดเปนมูลคา 103.89 บาท สวนมูลสัตวที่เหลือเกษตรกรซื้อจาก
ฟารมเลี้ยงสัตวของเพื่อนบานและผูจำหนายในหมูบานปริมาณเฉลี่ย 223.40 กิโลกรัม คิดเปนเงิน
36

348.50 บาท เกษตรกรขนมูลสัตวดวยรถอีแตน แลวนำไปเก็บใตรมไมหรือที่โลงใกลกับสถานที่หมักปุย


แรงงานที่ใชเก็บและขนมูลสัตวเปนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 1 ราย คิดเปนมูลคาเฉลี่ย 23.65 บาท
ตอรอบการผลิต และแรงงานจางเฉลี่ย 1 ราย คิดเปนคาแรงงานเฉลี่ย 4.35 บาทตอรอบการผลิ ต
รวมคาแรงงานในการเก็บและขนมูลสัตว 28.00 บาทตอรอบการผลิต สำหรับคาน้ำมันในการขนมูลสัตว
เฉลี่ย 18.39 บาทตอรอบการผลิต
จะเห็นไดวา การผลิตปุยอินทรีย 1 ตัน เกษตรกรใชมูลสัตวรวมในการผลิต 290
กิโลกรัม ราคา 1.56 บาทตอกิโลกรัม คิดเปนมูลคา 452.40 บาท ประกอบดวย มูลสัตวที่ตนเองเลี้ยง
หรือไดรับจากญาติและเพื่อนบาน ปริมาณเฉลี่ย 66.60 กิโลกรัม คิดเปนมูลคา 103.90 บาท และเปนมูล
สัตวที่ซื้อปริมาณเฉลี่ย 223.40 กิโลกรัม คิดเปนเงิน 348.50 บาท
1.3) วั สดุ พื ชที ่ ใช ร  วมกั บฟางข าวในการผลิ ตปุ  ยอิ นทรี ย  ได แก ใบไม แห ง ต นและ
กากถั่วเขียว และซังขาวโพด เกษตรกรใชวัสดุพืชดังกลาวรวมในการผลิตปุยอินทรียโดยใบไมแหง ไดแก
ใบจามจุรี ลำไย เงาะ มะมวง และใบหญา เนื่องจากเปนวัสดุที่หาไดงายในพื้นที่ สามารถเก็บจากแปลง
ของตนเอง บริเวณบานหรือในหมูบาน ซึ่งไมมีคาใชจาย ปริมาณเฉลี่ย 46.60 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ
71.69 ของวัสดุพืชทั้งหมด ใบไมแหงในพื้นที่ราคาเฉลี่ย 1 บาทตอกิโลกรัม คิดเปนเงิน 46.60 บาท
สวนวัสดุพืช ไดแก ตนและกากถั่วเขียวและซังขาวโพด เกษตรกรซื้อจากเพื่อนบานเฉลี่ย 18.40 กิโลกรัม
คิดเปนรอยละ 28.31 ของวัสดุพืชทั้งหมด เกษตรกรขนใบไมดวยการแบกหรือใชรถเข็น แลวนำไปเก็บ
ใตรมไมหรือที่โลงใกลกับสถานที่หมักปุย แรงงานที่ใชเก็บและขนใบไมเปนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย
1 ราย คาแรงงานเก็บและขนใบไมเฉลี่ย 21.53 บาทตอรอบการผลิต
จะเห็นไดวา การผลิตปุยอินทรีย 1 ตัน เกษตรกรใชวัสดุพืชรวมในการผลิต
รวม 65 กิโลกรัม ราคา 1 บาทตอกิโลกรัม คิดเปนเงิน 65 บาท วัสดุพืชที่จัดหาเอง ไดแก ใบจามจุรี
ลำไย เงาะ มะมวง และใบหญา ปริมาณเฉลี่ย 46.60 กิโลกรัม คิดเปนมูลคา 46.60 บาท และจัดซื้อ
ไดแก ตนและกากถั่วเขียว และซังขาวโพด ปริมาณเฉลี่ย 18.40 กิโลกรัม คิดเปนเงิน 18.40 บาท
1.4) สารเรงซุปเปอร พด.1 การผลิตปุยอินทรียเกษตรกรใชสารเรง พด.1 เพื่อชวย
ย อยสลายวั ส ดุ ที ่ ใช ผ ลิ ต ปุ  ย เกษตรกรได ร ั บ สารเร ง พด.1 จากกรมพั ฒ นาที ่ ด ิ น โดยไม มี ค าใช จ  า ย
โดยเจาหนาที่ในพื้นที่ของแตละจังหวัดมอบหมายใหหมอดินอาสานำไปแจกจายใหแกเกษตรกรเครือขาย
สารเรง พด.1 ของกรมพัฒนาที่ดินหามจำหนาย แตจากการสอบถามเจาหนาที่กรมพัฒนาที่ดิน ปริมาณ
100 กรัม มีราคา 12 บาทตอซอง เกษตรกรใชสารเรง พด.1 เฉลี่ย 2 ซองตอรอบการผลิต คิดเปนมูลคา
24 บาท
1.5) สารเรงซุ ปเปอร พด.2 เกษตรกรใช สารเร ง พด.2 สำหรับผลิ ตน้ ำหมั กชี วภาพ
โดยไดรับแจกจายจากหมอดิ นอาสาเช นเดียวกั บสารเร ง พด.1 ซึ่งสารเรง พด.2 ของกรมพัฒนาที ่ ดิ น
หามจำหนาย แตจากการสอบถามเจาหนาที่กรมพัฒนาที่ดิน ปริมาณ 25 กรัม มีราคา 13 บาทตอซอง
เกษตรกรใชสารเรง พด.2 เฉลี่ย 2 ซองตอรอบการผลิต คิดเปนมูลคา 26 บาท
37

1.6) น้ ำหมั กชี ว ภาพ เกษตรกรผลิ ต น้ ำหมั ก เฉลี ่ ย 50 ลิ ต ร นำมาใช ในการผลิ ต


ปุยอินทรีย เฉลี่ย 20 ลิตรตอรอบการผลิต คิดเปนรอยละ 40 ของน้ำหมัก สวนที่เหลือนำไปใชสำหรับ
ปลูกพืชผักและไมผล เกษตรกรผลิตน้ำหมักจากพืช ซึ่งวัสดุที่ใชผลิตสวนใหญรวบรวมจากแปลงผลิตของ
ตนเอง ไดแก กลวยน้ำวาสุก มะละกอสุก ฟกทอง หนอกลวย รวมถึงเศษพืชผักสวนครัว และมีบางสวน
ที่ไดมาจากแปลงของเพื่อนบานและตลาดนัดโดยไมมีคาใชจาย ไดแก เศษพืชผักตางๆ เชน ผักบุง
กวางตุง ใบกะหล่ำ ผลไมตกเกรดหรือเนาเสีย เชน สม สับปะรด เกษตรกรใชเศษพืชผักและผลไมในการ
ผลิ ตน้ ำหมั กปริ มาณเฉลี ่ ย 30 กิ โลกรั ม ซึ ่ งมี ราคาเฉลี ่ ย 5 บาทต อกิ โลกรั ม คิ ดเป นมู ลค า 150 บาท
และกากน้ ำตาลปริ มาณเฉลี ่ ย 10 กิ โ ลกรั ม ราคาเฉลี ่ ย 14 บาทต อกิ โ ลกรั ม คิ ดเป นเงิ น 140 บาท
รวมคาใชจายในการผลิตน้ำหมัก คิดเปนเงิน 290 บาท แตเนื่องจากเกษตรกรนำน้ำหมักมาใชในการผลิต
ปุยอินทรีย รอยละ 40 ของน้ำหมักที่ผลิตได จึงคิดเปนเงิน 116 บาท สวนใหญเกษตรกรขนวัสดุตางๆ
ดวยตนเอง คิดเปนคาแรงงานเก็บและขนวัสดุที่ใชผลิตน้ำหมักเฉลี่ย 14.50 บาทตอรอบการผลิต
1.7) แกลบ เกษตรกรใช แกลบร วมผลิ ตปุ  ยอิ นทรี ย ซึ ่ งได ร ั บมาจากโรงสี ของญาติ
เฉลี ่ ย 9.52 กิ โลกรั ม ทำให ไม มี ค าใช จ าย ซึ ่ งในพื ้ นที ่ มี การซื้ อขายราคาเฉลี ่ย 0.64 บาทต อกิ โลกรัม
คิดเปนมูลคา 6.09 บาท สวนแกลบที่เหลือเกษตรกรซื้อจากโรงสีในหมูบานปริมาณเฉลี่ย 8.47 กิโลกรัม
ราคา 0.64 บาทตอกิโลกรัม คิดเปนเงิน 5.42 บาท รวมปริมาณแกลบที่ใชเฉลี่ย 17.99 กิโลกรัมตอรอบ
การผลิต คิดเปนเงิน 11.51 บาทตอรอบการผลิต เกษตรกรสวนใหญขนแกลบดวยรถเข็น คิดเปนคาแรงงาน
เฉลี่ย 10.38 บาท
1.8) รำ เกษตรกรใชรำรวมผลิตปุยอินทรีย ซึ่งไดรับมาจากโรงสีของญาติ ปริมาณ
เฉลี่ย 1.28 กิโลกรัม ซึ่งในพื้นที่มีการซื้อขายราคาเฉลี่ย 0.88 บาทตอกิโลกรัม คิดเปนมูลคา 1.13 บาท
สวนรำที่เหลือเกษตรกรซื้อจากโรงสีในหมูบานปริมาณเฉลี่ย 14.60 กิโลกรัม คิดเปนเงิน 12.85 บาท
รวมปริมาณรำที่ใชเฉลี่ย 15.88 กิโลกรัมตอรอบการผลิต คิดเปนเงิน 13.98 บาทตอรอบการผลิ ต
สวนใหญเกษตรกรขนรำดวยรถเข็นมีคาแรงงานเฉลี่ย 4.26 บาทตอรอบการผลิต
สำหรับกิจกรรมโลจิสติกสขาเขา เกษตรกรควรระมัดระวังการจัดเก็บรักษาวัสดุเพื่อใหมี
คุณภาพเหมาะสมสำหรับนำไปผลิตปุยอินทรีย เชน การเก็บรักษาวัสดุในที่รมพนจากแสงแดดและฝน
ใชฟางขาวและมูลสัตวแหงเพื่อปองกันการเกิดเชื้อราที่กอใหเกิดโรคพืช เปนตน
สรุปโลจิสติกสขาเขาในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน (ตารางที่ 4.1 - 4.2)
38

ตารางที่ 4.1 แสดงปริมาณและมูลคาของวัสดุที่ใชผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน ป 2565 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ


ปริมาณ: กิโลกรัม มูลคา: บาท
ราคาตอหนวย ซื้อ ไดฟรี รวม
รายการ
(บาท) ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา
ฟางขาว 1.61 กิโลกรัม 119.64 192.62 880.36 1,417.38 1,000 1,610
มูลสัตว 1.56 กิโลกรัม 223.40 348.50 66.60 103.90 290 452.40
วัสดุพืช 1 กิโลกรัม 18.40 18.40 46.60 46.60 65 65
สารเรง พด.1 12 ซอง - - 2 ซอง 24 2 ซอง 24

38
สารเรง พด.2 13 ซอง - - 2 ซอง 26 2 ซอง 26
น้ำหมักชีวภาพ ( ผักผลไม) 5 กิโลกรัม - - 12 ลิตร 60 20 ลิตร 60
กากน้ำตาล 14 กิโลกรัม 4 56 - 4 56
แกลบ 0.64 กิโลกรัม 8.47 5.42 9.52 6.09 17.99 11.51
รำ 0.88 กิโลกรัม 14.60 12.85 1.28 1.13 15.88 13.98
คาน้ำมันเชื้อเพลิง
35 ลิตร 1.84 67.93 - - 1.84 67.93
ขนวัสดุและปุย
รวม - - 701.73 - 1,685.10 - 2,386.82
ที่มา: จากการสำรวจ
39

ตารางที่ 4.2 แสดงคาแรงงานและน้ำมันในการเก็บและขนวัสดุที่ใชผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน


ป 2565 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ
หนวย: บาท
คาแรงงานเก็บและขนวัสดุ
ตอรอบการผลิต คาน้ำมันเก็บและขนวัสดุ
รายการ
ตอรอบการผลิต
คาจาง ตนเอง รวม
ฟางขาว 15.65 88.18 103.83 40.40
มูลสัตว 4.35 23.65 28.00 18.39
ใบไม - 21.53 21.53 -
วัสดุที่ใชผลิตน้ำหมัก
- 14.50 14.50 -
ชีวภาพ
แกลบ 10.38 10.38 -
รำ 4.26 4.26 -
ขนปุย - - - 9.14
รวม 20 162.50 182.50 67.93
ที่มา: จากการสำรวจ

2) การปฏิ บั ต ิ ก าร (Operations) เป น กิ จ กรรมที่ เกี ่ย วข องกับ การผลิต ปุ ย อินทรีย


จากฟางขาว ไดแก การเตรียมวัสดุสำหรับผลิตปุย การหมักปุย การผลิตน้ำหมัก สำหรับรดในกองปุย
การรดน้ำกองปุยเพื่อเพิ่มความชื้น การกลับกองปุยเพื่อคลุกเคลาวัสดุและระบายอากาศ ขั้นตอนการ
จัดเตรียมวัสดุและการผลิตปุยอินทรีย 1 ตัน ดังนี้
2.1) ขั้นตอนการจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ
(1) การเตรียมฟางขาวแหงปริมาณ 1 ตัน และวัสดุพืชเฉลี่ย 65 กิโลกรัม ไดแก
ใบหญา ใบผลไมตางๆ ใบจามจุรี ตนและกากถั่วเขียว ซังขาวโพด
(2) การเตรียมน้ำหมักชีวภาพ (ภาพที่ 4.2) ดังนี้
- เกษตรกรส ว นใหญ ใ ช เ ศษพื ช ผั ก ที ่ ม ี ใ นท อ งถิ ่ น เช น ผั ก บุ  ง กวางตุ ง
ใบกะหล่ำ เปนตน ผลไมตกเกรดหรือเนาเสีย อาทิ สม สับปะรด บางรายใชกลวยน้ำวาสุก มะละกอสุก
และฟกทอง สับเปนชิ้นเล็กๆ ปริมาณรวมเฉลี่ย 30 กิโลกรัม จากนั้นนำมาใสถังหมักขนาด 120 ลิตร
แลวใสกากน้ำตาล 10 ลิตร
40

- นำสารเรงซุปเปอร พด.2 เฉลี่ย 2 ซอง ละลายน้ำ 20 ลิตร คนใหเขากัน


ระยะเวลาประมาณ 5 นาที นำมาเทใสถังหมักที่ใสวัสดุและกากน้ำตาลไวแลว จากนั้นคนใหเขากัน
อีกครั้ง และปดฝาถังไมตองแนนเพื่อใหมีอากาศถายเท หลังจากนั้นนำไปวางในที่รม ระยะเวลาการหมัก
ประมาณ 30 - 45 วัน จะไดน้ำหมักเฉลี่ย 50 ลิตร เกษตรกรใชน้ำหมักในการผลิตปุยอินทรีย เฉลี่ย 20 ลิตร
(3) การเตรี ย มมู ล สั ต ว ใช ม ู ล สั ต ว แ ห ง ที ่ ม ี ใ นท อ งถิ ่ น ได แ ก มู ล วั ว มู ล ไก
หรือมูลสุกร ปริมาณเฉลี่ย 290 กิโลกรัม
(4) การเตรียมน้ำผสมสารเรง พด.1 สัดสวนสารเรงซุปเปอร พด.1 เฉลี่ย 2 ซอง
ผสมน้ำเปลา 20 ลิตร คนไปในทิศทางเดียวกันระยะเวลา 10 - 15 นาที เพื่อกระตุนใหจุลินทรียตื่นตัว
พรอมยอยวัสดุตางๆ ในกองปุย
(5) การผสมสารเรงซุปเปอร พด.1 และน้ำหมักชีวภาพสำหรับรดกองปุยหมัก
- น้ำผสมสารเรง พด.1 ในอัตราสวนน้ำเปลา 20 ลิตร ตอสารเรง พด.1
จำนวน 2 ซอง
- น้ำผสมน้ำหมักชีวภาพ ในอัตราสวนน้ำเปลา 20 ลิตร ตอน้ำหมักชีวภาพ
1 ลิตร
(6) อุปกรณสำหรับทำปุยอินทรียจากฟางขาว ไดแก จอบ คราด พลั่ว บัวรดน้ำ
ถังน้ำ สายยาง และวัสดุสำหรับคลุมกองปุย เชน ทางมะพราว พลาสติก สังกะสีเกา เปนตน

ที่มา: จากการสำรวจ

ภาพที่ 4.2 ขั้นตอนการผลิตน้ำหมักชีวภาพ


41

2.2) ขั้นตอนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
กองปุ  ยอิ นทรี ย  ส วนใหญมี ขนาดเฉลี ่ยกวาง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สู ง 1 เมตร
โดยแบงเปน 3 ชั้น แตละชั้นสูงประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ขั้นตอนการผลิต ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมและจัดเตรียมวัสดุตางๆ อาทิ ฟางขาว มูลสัตว ใบไมแหง
และอุปกรณ อาทิ จอบ บัวรดน้ำ ถังน้ำ สำหรับผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
ขั้นตอนที่ 2 รูปแบบกองปุย จากการสำรวจ มี 2 รูปแบบ คือ
แบบที ่ 1 กองบนพื ้ น ดิ น เป น วิ ธ ี ที่ สะดวกและง าย โดยใช พื ้นที่
ราบเรียบไมมีน ้ำทว มขั ง ไดแก พื้นที่ในแปลงนาขาวที ่เ พิ่ งเก็บ เกี่ยวเสร็ จ พื้นที่บริเวณแปลงผลไม
พื้นที่ทั่วไปที่มีรมเงาของตนไม พื้นที่ที่ใกลกับคอกเลี้ยงสัตวหรือแหลงกักเก็บน้ำ ทั้งนี้ เพื่อความสะดวก
และประหยัดคาจายในการขนยายวัสดุและใกลแหลงวัสดุที่ใชผลิตปุย
แบบที่ 2 กองในคอก ลักษณะของคอกปุยมีหลายรูปแบบ ไดแก
ทำดวยสังกะสีเกา ไมไผที่มีในหมูบาน สแลนลอมเปนคอก บอเลี้ยงปลา บอเลี้ยงกบและบอซี เมนต
ซึ่งปลอยรางไมไดใชงานแลว ทั้งนี้ เพื่อลดตนทุนการทำคอกปุย นอกจากนี้ ขอดีของการทำคอกปุย
เพื่อปองกันสัตวเลี้ยงคุยเขี่ยกองปุย
ขั้นตอนที่ 3 การทำกองปุย มีวิธีการดังนี้
3.1 การทำชั้นปุย
ชั ้ น ที ่ 1 นำฟางข า วปู พ ื ้ น เป น อั น ดั บ แรก แล ว ตามด ว ย
เศษใบไมแหง ย่ำใหพอแนนและรดน้ำเปลาใหชุม และโรยมูลสัตวแหง รำและแกลบ จากนั้นรดดวย
น้ำหมักชีวภาพ และรดน้ำที่มีสวนผสมสารเรงซุปเปอร พด.1 ปริมาณเฉลี่ย 7 ลิตร ใหทั่วทั้งกองปุย
แลวจึงรดน้ำเปลาใหทั่วทั้งกองปุยอีกครั้ง
ชั ้ น ที ่ 2 และชั ้ น ที ่ 3 ปฏิ บ ั ต ิ ล ั ก ษณะเดี ย วกั น กั บ ชั ้ น ที ่ 1
(ภาพที่ 4.3)
42

ที่มา: จากการสำรวจ

ภาพที่ 4.3 ขั้นตอนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว

3.2 การคลุมกองปุยเพื่อรักษาความชื้น วัสดุอุปกรณที่เกษตรกร


สวนใหญใชคลุมกองปุยเปนวัสดุเกาที่ผานการใชงานแลว ไดแก สแลน นอกจากนี้เกษตรกรบางราย
ยังคลุมกองปุยดวยวัสดุอื่นๆ เชน ทางมะพราว พลาสติก สังกะสี เปนตน
สำหรั บ ขั ้ น ตอนการหมั ก ปุ  ย แรงงานส ว นใหญ เ ป น แรงงาน
ในครัวเรือน แรงงานเอาแรงชวยเหลือกันในทองถิ่น และแรงงานจาง ประมาณ 2 - 3 คนตอการผลิต
ปุย 1 ตัน คิดเปนคาแรงงานในการทำกองหมักปุยเฉลี่ย 200 บาทตอรอบการผลิต และคาจางแรงงาน
เฉลี่ย 226.88 บาทตอรอบการผลิต
ขั้นตอนที่ 4 เกษตรกรหมักปุยเฉลี่ย 90 วัน โดยระหวางการหมักจะทดสอบ
ความชื้นของปุ ยโดยสุ มลวงกองปุ ยดานในออกมาจำนวน 1 กำมือ และคลายมื อดูล ั กษณะของปุ ย
หากปุยจับกันเปนกอน แสดงวามีความชื้นพอเพียง แตหากปุยไมจับกันเปนกอน แสดงวาขาดความชื้น
ถากองปุยขาดความชื้นเกษตรกรตองรดน้ำใหชุม โดยรักษาความชื้นประมาณรอยละ 50 – 60 เพื่อให
จุลินทรียสามารถยอยวัสดุตางๆ ไดดี เกษตรกรรดน้ำกองปุยเฉลี่ย 6 ครั้ง สำหรับแรงงานรดน้ำกองปุย
ใชแรงงานตนเอง คิดเปนคาแรงงานในการรดน้ำกองหมักปุยเฉลี่ย 112.50 บาทตอรอบการผลิต
43

ขั้นตอนที่ 5 การพลิกกลับกองปุ ย เมื่อหมักกองปุย เฉลี่ย 30 วัน เกษตรกร


จะกลับกองปุย 1 ครั้ง เพื่อคลุกเคลาวัสดุใหเขากัน ชวยเพิ่มออกซิเจนและลดความรอนใหแกกองปุย
เมื่อครบ 90 วันจะไดปุยหมักที่มีสีดำหรือน้ำตาลเขมและรวนซุย สำหรับแรงงานกลับกองปุย เกษตรกร
ใชแรงงานตนเอง แรงงานเอาแรง และแรงงานจาง เฉลี่ย 3 คน คิดเปนคาแรงงานในการกลับกองหมัก
ปุยเฉลี่ย 60.94 บาทตอรอบการผลิต และคิดเปนคาจางแรงงาน 20 บาทตอรอบการผลิต
ขั้นตอนที่ 6 การเก็บปุย เมื่อวัสดุตางๆ ถูกยอยสลายกลายเปนปุยอินทรียแลว
เกษตรกรสวนใหญจะบรรจุกระสอบ แลวนำไปจัดเก็บในที่รม บางรายจะเก็บในกองปุยเหมือนเดิมโดยใช
สังกะสีหรือทางมะพราวหรือวัสดุอื่นๆ คลุมกองปุย เพื่อปองกันแสงแดดและฝน รักษาคุณภาพของปุย
3) โลจิสติกสขาออก (Outbound Logistics)
จากการสำรวจพบวา เกษตรกรผูผลิตปุยอินทรียมีทั้งผลิตเพื่อใชเองในครัวเรือน
จำนวน 80 ราย คิดเปนรอยละ 94.12 ของเกษตรกรทั้งหมด และเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียเพื่อใชเอง
ในครัวเรือนและจำหนาย จำนวน 5 ราย คิดเปนรอยละ 5.88 ของเกษตรกรทั้งหมด แรงงานที่ใชบรรจุ
กระสอบเฉลี่ย 153.75 บาทตอรอบการผลิต โดยใชแรงงานของตนเอง แรงงานเอาแรง และแรงงานจาง
เฉลี่ย 3 คน คิดเปนคาแรงงานเฉลี่ย 135 บาทตอรอบการผลิต และคาจางมูลคาแรงงานเฉลี่ย 18.75
บาทตอรอบการผลิต สำหรับคาแรงงานขนยายปุยอินทรียเฉลี่ย 75 บาทตอรอบการผลิต โดยคิดเปน
คาแรงงาน 65.50 บาทตอรอบการผลิต และคาจางแรงงาน 12.50 บาทตอรอบการผลิต
เกษตรกรที่ผลิตปุยเพื่อใชเอง มีขั้นตอนการจัดการโลจิสติกสขาออก ดังนี้
(1) การจัดเก็บ เมื่อเกษตรกรบรรจุกระสอบเรียบรอยแลว จะจัดเก็บปุยอิน ทรี ย
ในบริเวณโรงเรือนที่สรางไวนานแลวเพื่อจัดเก็บวัสดุหรืออุปกรณทางการเกษตร นอกจากนี้ มีการเก็บ
ปุยอินทรียไวใตถุนหรือชายคาบาน หรือใตตนไมที่มีรมเงา สำหรับรายที่ไมไดบรรจุกระสอบจะเก็บปุย
ไวที่กองปุยหมักเชนเดิม แลวนำพลาสติกหรือสังกะสีเกามาคลุมเพื่อปองกันแสงแดดและฝน เพื่อรักษา
คุณภาพของปุย
(2) บรรจุภัณฑ เกษตรกรสวนใหญบรรจุปุยใสกระสอบที่ใชแลวขนาดเฉลี่ย 20 และ 25
กิโลกรัมตอกระสอบ เพื่อความสะดวกสำหรับการขนยายปุยไปใชงาน กระสอบปุยที่ใชบรรจุราคาเฉลี่ยใบละ
2 บาท สวนเกษตรกรที่เก็บปุยไว ในกองปุยเมื่ อใชงานจะตั กใสบุงกี๋ หรื อรถเข็น บางรายบรรจุกระสอบ
กอนนำไปใชงาน
(3) การขนยายปุยอินทรียไปใชงาน เกษตรกรสวนใหญใชแรงงานในครัวเรือนและแรงงาน
เอาแรงในการขนยายปุยจากที่จัดเก็บไปใชในแปลงเกษตรดวยรถอีแตน หากแปลงเกษตรอยูใกลจะขนยาย
ดวยรถเข็น
44

สำหรับเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียเพื่อใชเองและจำหนาย มีขั้นตอนการจัดการ ดังนี้


(1) การจัดเก็บ ปุยอินทรียที่ผลิตเสร็จแลว เกษตรกรนำไปเก็บบริเวณโรงเรือนซึ่งอยู
ใกลกับกองหมักปุย เพื่อเตรียมจำหนายและนำไปใชเองบางสวน
(2) บรรจุภัณฑ เกษตรกรบรรจุป ุ ยใส กระสอบที ่ ใช แลว โดยไมปรับเปลี ่ยนไปใช
กระสอบใหมที่พิมพรายละเอียดเครื่องหมายหรือตราผลิตภัณฑไวที่บรรจุภัณฑ เนื่องจากเห็นวาเปนการ
เพิ่มคาใชจายจะสงผลกระทบตอตนทุนการผลิต ตองเพิ่มราคาจำหนาย ในที่สุดจะสงผลกระทบตอลูกคา
กระสอบที่ใชบรรจุปุยมีราคาเฉลี่ยใบละ 2 บาท บรรจุ 25 กิโลกรัมตอกระสอบ แรงงานที่ใชบรรจุ
กระสอบเปนแรงงานในครัวเรือนแรงงานเอาแรง และแรงงานจางเฉลี่ย 3 ราย
(3) การขนยายปุยอินทรียใหลูกคา เกษตรกรขนปุยใหลูกคาดวยรถยนต ใชแรงงาน
ในครัวเรือน แรงงานเอาแรง และแรงงานจางเฉลี่ย 3 ราย
รายละเอียดคาแรงงานในการผลิตและขนยายปุยอินทรีย (ตารางที่ 4.3)

ตารางที ่ 4.3 แสดงค า แรงงานในการผลิ ต และขนย า ยปุ  ย อิ น ทรี ย  จ ากฟางข า ว 1 ตั น ป 2565


ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ
หนวย: บาท
คาแรงงานตอรอบการผลิต
รายการ รวม
คาจาง ตนเอง

เตรียมวัสดุทำชั้นปุย 26.88 200 226.88


รดน้ำกองหมักปุย - 112.50 112.50

กลับกองหมักปุย 20 60.94 80.94

บรรจุปุยใสกระสอบ 18.75 135.00 153.75

ขนยายปุย 12.50 62.50 75.00

รวม 78.13 570.94 649.07


ที่มา: จากการสำรวจ
45

4) การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) เป นกิ จกรรมที ่ เกี ่ ยวกั บการจู งใจ
ใหลูกคาซื้อปุยอินทรียและการใหบริการลูกคา ชองทางการจัดจำหนาย และการโฆษณาประชาสัมพันธ
ผลการศึกษา ดังนี้
(1) ผลิตภัณฑ (Product) ปุยอินทรียผลิตตามสูตรของกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งผูผลิต
เปนหมอดิน อาสาที ่มีความรู ความสามารถและเชี ่ยวชาญในดานปุย อิน ทรีย อีกทั้งยั งเป นวิ ทยากร
ถายทอดความรูใหแกเกษตรกรในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวดวย จึงทำใหลูกคามีความมั่นใจ
ในคุณภาพของปุยฯ และมีความพึงพอใจหลังจากไดซื้อปุยอินทรียไปใช เนื่องจากตนพืชแข็งแรง ผลผลิต
มีรสชาติดี
(2) ราคา (Price) ปุยอินทรีย บรรจุ 25 กิโลกรัมตอกระสอบ ราคาจำหนายเฉลี่ย
137.50 บาทตอกระสอบ (5.50 บาทตอกิโลกรัม) เกษตรกรกำหนดราคาจำหนายจากตนทุนการผลิต
ซึ่งเปนราคาที่ส ามารถแข งขั นกับปุยชนิด อื่ นในท องตลาดได ซึ่งลูกคาเห็นว าเปนราคาที ่เหมาะสม
และมีงบประมาณเพียงพอในการซื้อปุยอินทรียไดอยางตอเนื่องในแตละรอบการผลิต
(3) ช องทางการจำหน าย (Place) เกษตรกรใช โรงเรื อนซึ ่ งเป นทั ้ งสถานที ่ จ ั ดเก็ บปุย
และจำหนาย โดยตั้งอยูใกลบาน ลูกคาสามารถซื้อปุยอินทรีย ณ จุดจำหนาย หรือโทรศัพทสั่งจองลวงหนา
ประมาณ 2 - 3 วัน หากไมมีปุยอินทรียในสตอกตองรอการผลิตในรอบใหม โดยใชระยะเวลารอประมาณ
3 - 5 เดือน ทั้งนี้ ยังไมมีการจำหนายแบบออนไลนเนื่องจากผลิตปุยอินทรียไดในปริมาณจำกัด อีกทั้ง
ไมมีองคความรูเกี่ยวกับวิธีการจำหนายแบบออนไลน
(4) การสงเสริมการตลาด (Promotion) มีหนวยงานภาครัฐ อาทิ สถานีพัฒนาที่ดิน
สำนักงานเกษตรอำเภอ ชวยประชาสัมพันธการจำหนายปุย และเกษตรกรผูจำหนายซึ่งเปนหมอดิน
อาสาและเปนวิทยากรใชโอกาสประชาสัมพันธแนะนำปุยของตนเอง ในระหวางถายทอดความรูการผลิต
ปุยอินทรีย ใหแกกลุมเกษตรกร รวมถึงลูกคาที่ซื้อปุยอินทรียมีความพอใจตอคุณภาพของปุยอินทรีย
ชวยบอกตอลูกคารายอื่นๆ นอกจากนี้ ในการจำหนายปุยอินทรียผูจำหนายมีการสมนาคุณปุยอินทรีย
ใหกับลูกคา กรณีซื้อจำนวนมากตั้งแต 100 กระสอบขึ้นไป โดยใหปุยอินทรียเพิ่มอีก 5 กระสอบ
5) การบริการ (Services) เปนกิจกรรมที่ครอบคลุมถึงการใหบริการเพื่อเพิ่มคุ ณคา
ใหกับปุยอินทรีย รวมถึงการแนะนำการใชและการบริการหลังการขาย ซึ่งลูกคาเปนเกษตรกรทั ่วไป
ทั้งในและนอกหมูบ านรวมถึงเกษตรกรในพื้น ที่ต างอำเภอ เกษตรกรที่มาศึกษาดู งานหรื อเยี ่ ย มชม
การผลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  และหน ว ยงานราชการที ่ ซ ื ้ อ ไปแจกจ า ยให ก ั บ เกษตรกรในโครงการต า งๆ
ซึ่งการใหบริการลูกคา มีดังนี้
(1) มีบริการจัดสงปุยใหกับลูกคาโดยคิดคาบริการตามระยะทาง กรณีซื้อ 50 กระสอบ
ขึ้นไป ระยะทาง 10 - 20 กิโลเมตร คิดคาบริการ 200 บาทตอเที่ยว หากระยะทาง 20 กิโลเมตรขึ้นไป
คิดคาบริการ 300 บาทตอเที่ยว
(2) มีการแนะนำวิธีการใชปุยอินทรียกอนจำหนายปุยใหลูกคา เพื่อใหลูกคานำปุย
ไปใชไดถูกวิธีเหมาะสมกับพืชแตละชนิด
46

(3) มี บริ การติ ดตามหลั งการจำหน ายปุ  ย กรณี แปลงของลู กค าอยู  ใกล ผ ู  จำหน าย
จะติ ดตามถึ งแปลง กรณี แปลงลู กค าอยู  ไกลจะใช ว ิ ธ ี โ ทรศั พท ส อบถาม เพื ่ อรั บ ทราบผลการใช ปุ ย
และปญหาอุปสรรครวมถึงใหแนะนำเกี่ยวกับการใชปุยของลูกคาเพิ่มเติม
จากกิจกรรมหลักในการผลิ ตปุ ย อิน ทรีย จากฟางข าวจะเห็น ไดว า นอกจากฟางข าว
ที่เปนวัสดุหลักในการผลิตแลวเกษตรกรมีการใชวัสดุอื่นๆ เชน มูลสัตว อาทิ มูลวัว มูลไก มูลสุกร วัสดุ
พืช อาทิ ใบลำไย เงาะ จามจุรี แกลบ รำ ตอซังขาวโพด กากและตนถั่ว ซึ่งวัสดุเหลานี้สามารถจัดหาได
ในทองถิ่น สวนใหญไดจากแปลงเกษตรของตนเอง นอกจากนี้ มีวัสดุที่ไดรับการสนับสนุนจากสถานี
พัฒนาที่ดิน คือ สารเรงซุปเปอร พด.1 และ 2 สำหรับกิจกรรมโลจิสติกสขาเขา เกษตรกรควรระมัดระวัง
การเก็บรักษาวัสดุเพื่อใหมีคุณภาพที่เหมาะสมนำไปผลิตปุยอินทรีย เชน เก็บรักษาวัสดุในที่รมพนจาก
แสงแดดและฝน ใชฟางขาวและมูลสั ตว แห งเพื่ อป องกัน การเกิ ดเชื้ อราที่ ก อให เกิดโรคพืช เปนต น
เมื ่ อ เกษตรกรจั ด หาวั ส ดุ ค รบถ ว นแล ว ส ว นใหญ จ ะนำไปเก็ บ บริ เ วณโรงเรื อ น ที ่ ร  ม หรื อ ใต ร  มไม
หรื อบริ เ วณที ่ จ ะผลิ ต กองปุ  ย เพื ่ อความสะดวกในการขนวั ส ดุ จากนั ้ น นำวั ส ดุ มาผลิ ต ปุ  ย ตามสู ต ร
ของกรมพัฒนาที่ดิน โดยสวนใหญใชแรงงานในครัวเรือนและการเอาแรงชวยเหลือกัน ดังนั้น คาใชจาย
ในการผลิตสวนใหญจึงเปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสด
เมื่อปุยสามารถนำไปใชงานไดแลวเกษตรกรสวนใหญจะบรรจุกระสอบวางไวในโรงเรือน
หรือที่รมพนจากแสงแดดเพื่อรักษาคุณภาพปุย บางรายเก็บไวในกองปุยเมื่อนำไปใชจะบรรจุกระสอบ
หรือตักใสรถเข็นเพื่อไปใชงานตอไป กรณีผลิตเพื่อจำหนายเกษตรกรบรรจุปุยใสกระสอบเก็บในโรงเรือน
ใกลกับกองปุยเพื่อรอจำหนายโดยตรงหนาโรงเรือน ทั้งนี้ ลูกคาสามารถโทรศัพทสั่งจองลวงหนาได
ในส ว นของการให บริการเกษตรกรผู  จำหนายมี บริการจัด ส งกรณีซื ้อปริ มาณมากโดยคิด ค าบริการ
ตามระยะทาง และใหคำแนะนำเกี ่ยวกับวิธี การใช รวมถึงติดตามหลังการขายเพื่ อรั บทราบป ญหา
และแกไขการผลิตพืชใหกับลูกคา อยางไรก็ตาม ชองทางการจำหนายปุยอินทรียจากฟางขาวของเกษตรกร
ยังเปนชองทางการจำหนายแบบทั่วไป ประชาสัมพันธผานโครงการอบรมตางๆ ของกรมพัฒนาที่ดิ น
และการแนะนำของลูกคาที่ซื้อปุยไปใชแลวบอกตอ บรรจุภัณฑเปนกระสอบที่ใชแลวเพื่อลดต นทุน
การผลิ ต ยั งไม มี แนวคิ ด สร างตราสิ น ค าเปน ของตนเองและส งเสริ มด านการตลาดเพื ่ อจู งใจลูกคา
เนื ่ อ งจากมี ค วามเชื ่ อ มั ่ น ในคุ ณ ภาพของปุ  ย ด ว ยตั ว ผู  ผ ลิ ต ที ่ เ ป น หมอดิ น อาสามี อ งค ค วามรู
และประสบการณ และเปนวิทยากรถายทอดความรูดานการผลิตปุยอินทรีย
สำหรับการผลิตปุยอินทรีย เพื่อจำหนาย เกษตรกรยังไมมีการขออนุญาตผลิตเพื่อการคา
เนื่องจากจำหนายภายในทองถิ่นเปนสวนใหญ ประกอบกับขาดความรูเกี่ยวกับขั้นตอนและแนวทาง
ปฏิบัติการขอใบอนุญาตผลิตปุยอินทรียเพื่อการคา
47

4.2.2 กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) 4 กิจกรรม เปนกิจกรรมที่ชวยสนั บ สนุ น


ใหกิจกรรมหลักสามารถดำเนินไปได ประกอบดวย
1) โครงสรางพื้นฐานขององคกร (Firm Infrastructure)
(1) พื้นที่ที่ใชผลิตปุยอินทรีย เกษตรกรสวนใหญใชฟางขาวหลังจากการเกี่ยวข าว
ดังนั้น พื้นที่ผลิตปุยสวนใหญจึงอยูใกลแปลงนา เพื่อความสะดวกในการขนยายฟางขาวซึ่งเปนวัสดุหลัก
และอยูใกลแหลงน้ำใชเพื่อสามารถใชน้ำไดอยางสะดวก ทั้งนี้ พื้นที่ที่ใชผลิตปุยอินทรีย อยูหางจาก
แหลงน้ำดื่มและเปนพื้นทีไ่ มมีน้ำทวมขัง
(2) เงินทุน เกษตรกรใชเงินทุนของตนเองในการผลิตปุย ไมมีการกูยืมเงินจากสถาบัน
การเงินหรือแหลงเงินกูอื่นๆ เนื่องจากวัสดุหลักที่ใชผลิตสวนใหญสามารถหาไดในทองถิ่นและมีราคาถูก
ไดแก ฟางขาว มูลสัตว ใบไม และเศษพืชผักผลไมสำหรับผลิตน้ำหมัก
(3) การทำบัญชีรายรับ-รายจาย เกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียเพื่อใชเองสวนใหญยังไมมี
การทำบัญชีรายรับ-รายจาย เนื่องจากเห็นวายุงยาก ไมเขาใจหลักการทำบัญชี และไมเห็นประโยชน
ในการทำบัญชี ประกอบกับสวนใหญผลิตเพื่อใชเองในครัวเรือนไมไดผลิตเพื่อการคา สำหรับเกษตรกร
ที่ผลิตเพื่อจำหนายมีการทำบัญชีรับจายแบบงายๆ ไมละเอียดเนื่องจากไมมีเวลา
2) การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management)
(1) การรวมกลุ  มของเกษตรกร มี การรวมกลุ  มผู  ผลิ ตปุ ยอิ นทรีย เพื ่ อปรึ กษาหารื อ
แลกเปลี่ยน ประสบการณการผลิต หาวิธีการเพื่อลดตนทุนการผลิตและเพิ่มคุณภาพใหกับปุย อีกทั้ง
รวมกลุมกันเพื่อขอใหหนวยงานราชการเขามาสนับสนุนการเพิ่มองคความรู เทคนิคใหมๆ ในการผลิต
ปุยอินทรีย
(2) แรงงานที่ใชผลิตปุยอินทรียมีทั้งแรงงานในครัวเรือน การเอาแรงของสมาชิ ก
ในกลุมและแรงงานจาง เกษตรกรสวนใหญจะใชแรงงานในครัวเรือน โดยเกษตรกรผูไดรับการอบรม
จะแนะนำวิธีการทำใหแกคนอื่นๆ ในครัวเรือน บางรายมีการรวมมือในการใชแรงงานชวยเหลือกัน
ระหวางสมาชิกภายในกลุม และบางรายจางแรงงานในการทำปุยอินทรีย
(3) การอบรมพัฒนาความรู เกษตรกรไดรับการอบรมอยางสม่ำเสมอจากหนวยงาน
ภาครัฐ เพื่อเพิ่มพูนความรูและเทคนิคการผลิตปุยอินทรีย การอบรมสวนใหญเปนเรื่องเกี่ยวกับการผลิต
ปุ  ย อิ น ทรี ย  การผลิต น้ำ หมักจากวั ต ถุด ิ บต างๆ ที ่ มี ในท องถิ ่ น เช น เศษพื ช ผั กและผลไม หอยเชอรี่
เศษปลา เป น ต น นอกจากนี้ เกษตรกรมี การสื ่ อสารผ านช องทางไลน กลุ  มเพื ่ อแลกเปลี ่ ย นความรู
และประสบการณตางๆ
3) การวิจัยและพัฒนา (Technology Development) กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนา
เทคโนโลยี ที่ชวยในการเพิ่มคุณคาในกระบวนการผลิตปุยอินทรีย
เกษตรกรมีการใชน้ำหมักชีวภาพจากพืชเพื่อชวยยอยสลายวัสดุ ทดแทนน้ำหมักปลา
เนื่องจากไมมีในทองถิ่น รวมทั้งใชสารเรงซุปเปอร พด.1 และ 2 ซึ่งศึกษาวิจัยโดยกรมพัฒนาที่ดิน
นอกจากนี ้ การตรวจวั ดความชื ้น และอุ ณหภูมิ ในกองปุ  ย วิ ธ ี ป ฏิบ ั ติ ต องใช มื อล วงเขาไปในกองปุย
48

ประมาณขอมือเพื่อสัมผัสอุณหภูมิภายในกอง แตเกษตรกรใชไมไผชวยในการวัดความชื้นและอุณหภูมิ
แทนการใชมือ โดยแทงเขาไปในกองปุย หากมีอุณหภูมิสูงสามารถใชสายยางสอดเขาไปตามรูเพื่อรดน้ำ
ซึ่งจะสามารถรดน้ำไดทั่วทั้งกองและสะดวกมากขึ้น
4) การจั ด หา/จั ด ซื ้ อ (Procurement) กิ จ กรรมในการจั ด ซื ้ อ จั ด หาเพื ่ อ ใช ใ น
กิจกรรมหลัก
การผลิตปุยอินทรีย สามารถดำเนินการจัดหาและจัดซื้อวัสดุไดอยางสะดวก และมี
เพียงพอสำหรับการผลิต อีกทั้งสามารถสั่งจองไดลวงหนา ซึ่งวัสดุหลักๆ สามารถจัดหาและจัดซื้อได ดังนี้
(1) ฟางขาว เกษตรกรจัดหาฟางขาวจากพื้นที่นาของตนเอง ญาติ และเพื่อนบาน
สวนการซื้อสามารถจัดซื้อจากเพื่อนบาน และผูจำหนายในหมูบานเดียวกัน
(2) วัสดุพืช อาทิ ใบไมแหง เศษพืชผัก จัดหาไดจากแปลงเกษตรของตนเอง บริเวณบาน
และในพื้นที่สาธารณะของหมูบาน สวนการซื้อสามารถจัดซื้อตนและกากถั่วเขียวและซังขาวโพดจาก
เพื่อนบาน
(3) มูลสัตว ไดแก มูลโค ไก หมู กระบือ เกษตรกรจัดหาจากคอกเลี้ยงสัตวของตนเอง
ญาติ และเพื่อนบาน รวมทั้งซื้อมูลสัตวแหงจากฟารมเลี้ยงสัตวภายในหมูบาน
(4) สารเรงซุปเปอร พด.1 และ 2 ไดรับการสนับสนุนจากสถานีพัฒนาที่ดิน
จากกิ จ กรรมสนั บ สนุ น ของการผลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  จ ากฟางข าวจะเห็ น ได ว  า เกษตรกร
สวนใหญใชพื้นที่สำหรับผลิตปุยอินทรีย เปนพื้นที่ที่สะดวกตอการขนยายวัตถุดิบและอยูใกลแหลงน้ำ
เชน แปลงนาขาวหลังเก็บเกี่ยว ในแปลงไมผล หรือบอซีเมนตที่เคยใชเลี้ยงปลาหรือกบ โดยใชเงินทุน
ตนเองเนื่องจากสวนใหญเปนตนทุนที่ไมเปนเงินสด สวนการพัฒนาองคความรูดานการผลิตปุยเกษตรกร
มีการรวมกลุมเพื่อขอรับการสนับสนุนองคความรูจากหนวยงานภาครัฐ แลวนำมาถายทอดใหแรงงาน
ในครัวเรือนและแรงงานเอาแรง นอกจากนี้ เกษตรกรบางรายหาความรูเพิ่มจากสื่อออนไลนต  างๆ
เพื่อเพิ่มคุณภาพใหปุยอินทรีย อยางไรก็ตาม เกษตรกรยังไมมีการนำเทคโนโลยีและเครื่องจักรมาใช
ในการผลิต ซึ่งขั้นตอนการผลิตที่สามารถนำเครื่องจักรมาชวยผลิตปุยได คือ ขั้นตอนการกลับกอง
เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญผลิตปุยเพื่อใชเองจึงผลิตแบบกองเล็ก สามารถใชแรงงานคนไดสะดวก
แตหากผลิตเพื่อจำหนายตองผลิตกองใหญขึ้นหรือจำนวนกองมากขึ้น การนำเครื่องจักรมาชวยกลับกอง
ปุยทำใหมีความสะดวกและรวดเร็ว เกษตรกรจึงตองการใหภาครัฐสนับสนุนเครื่องจักรดังกลาว รวมถึง
ตองการเครื่องยอยวัสดุเพื่อใชยอยฟางขาวใหมีขนาดเล็กลง สามารถลดระยะเวลาการหมักให ไดปุย
อินทรีย เร็วขึ้น อีกทั้งวัสดุเหลือใชที่มีในทองถิ่นหลายอยางมีขนาดใหญและแข็ง อาทิ กิ่งไม ใบไมแหง
หากมีเครื่องยอยวัสดุจะสามารถนำวัสดุเหลือใชตางๆ เหลานี้มาผลิตปุยไดทั้งหมด ไมตองปล อยทิ้ง
เปนขยะหรือกำจัดดวยการเผาอยางปจจุบัน
49

สรุปกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนของหวงโซคุณคาปุยอินทรียจากฟางขาว (ภาพที่ 4.4)

49
ที่มา: จากการสำรวจ

ภาพที่ 4.4 หวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว ป 2565 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ


50

4.3 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
4.3.1 ตนทุนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
การผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว มีตนทุนการผลิตทั้งหมด เฉลี่ย 3,281.27 บาทตอตั น
ประกอบดวย ตนทุนผันแปร 3,272.25 บาท คิดเปนรอยละ 99.73 และตนทุนคงที่ 9.02 บาท คิดเปน
รอยละ 0.27 ของตนทุนทั้งหมด โดยสวนใหญมีคาใชจายที่ไมเปนเงินสด 2,467.64 บาท คิดเปนรอยละ
75.20 และคาใชจายที่เปนเงินสด 813.63 บาท คิดเปนรอยละ 24.80 ของตนทุนทั้งหมด รายละเอียด
มีดังนี้ (ตารางที่ 4.4)
1) ตนทุนผันแปร
ตนทุนผันแปรในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวเฉลี่ย 3,272.25 บาท สวนใหญ
เปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสด 2,458.62 บาท และคาใชจายที่เปนเงินสด 813.63 บาท ประกอบดวย
1.1) คาแรงงาน
ตนทุนคาแรงงานเฉลี่ย 831.57 บาทตอตัน คิดเปนรอยละ 25.34 ของตนทุน
ทั้งหมด สวนใหญเปนคาแรงงานในขั้นตอนการผลิตปุย ไดแก คาเตรียมวัสดุและทำกองปุย คารดน้ำ
และคากลับกองปุย เฉลี่ย 420.32 บาทตอตัน คิดเปนรอยละ 12.81 ของตนทุนทั้งหมด นอกจากนี้
มีคาแรงงานบรรจุและขนสงปุยเฉลี่ย 228.75 บาทตอตัน และคาแรงงานขนวัสดุเฉลี่ย 182.50 บาท
ตอตัน ซึ่งคาแรงงานสวนใหญจะเปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสดเฉลี่ย 733.44 บาทตอตัน คิดเปนรอยละ
22.35 ของต นทุ นทั ้ งหมด เนื ่ องจากเกษตรกรใช แรงงานในครั วเรื อน ส วนค าแรงงานที ่ เป นเงิ น สด
เฉลี่ย 98.13 บาทตอตัน คิดเปนรอยละ 2.99 ของตนทุนทั้งหมด เปนการจางแรงงานในหมูบาน
1.2) คาวัสดุ
การผลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  จ ากฟางข า ว 1 ตั น มี ต  น ทุ น ค า วั ส ดุ ใ นการผลิ ต เฉลี่ ย
2,386.83 บาท คิ ด เป น ร อยละ 72.75 ของต น ทุ น ทั ้ งหมด ส ว นใหญ เ ป นค าใชจ  ายที่ ไม เป นเงินสด
1,685.10 บาท และเปนเงินสด 701.73 บาท จำแนกเปน
(1) คาฟางข าว มีตนทุนเฉลี ่ย 1,610 บาท คิดเปนร อยละ 49.07 ของต นทุน
ทั้งหมด สวนใหญเปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสด 1,417.38 บาท เนื่องจากเกษตรกรใชฟางขาวของตนเอง
และไดจากญาติและเพื่อนบานซึ่งไมมีคาใชจาย สวนคาใชจายที่เปนเงินสด 192.62 บาท โดยซื้อฟางขาว
จากผูจำหนายในหมูบาน
(2) คามูลสัตว ตนทุนเฉลี่ย 452.40 บาท คิดเปนรอยละ 13.79 ของตนทุน
ทั้งหมด สวนใหญเปนคาใชจายที่เปนเงินสด 348.50 บาท สวนคาใชจายที่ไมเปนเงินสด 103.90 บาท
เนื่องจากสัตวที่เลี้ยงใหมูลสัตวไมเพียงพอสำหรับการผลิตปุย จึงซื้อมูลสัตวเพิ่มจากเกษตรกรรายอื่น
ในหมูบาน
51

(3) คาวัสดุพืช ตนทุนเฉลี่ย 65 บาท คิดเปนรอยละ 1.98 ของตนทุนทั้งหมด


สวนใหญจะเปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสด 46.60 บาท สวนคาใชจายที่เปนเงินสด 18.40 บาท เนื่องจาก
ในบริเวณแปลงปลูกพืชและในหมูบานมีตนไมจำนวนมากเกษตรกรจึงสามารถเก็บวัสดุพืชมาผลิตปุย
เชน ใบลำไย เงาะ ใบหญา ใบจามจุรี เปนตน สำหรับใบไมแหงที่ซื้อสวนใหญจะเปนตอซังขาวโพด
ตนถั่วเขียว
(4) คาน้ำหมักชีวภาพ ตนทุนเฉลี่ย 116 บาท คิดเปนรอยละ 3.54 ของตนทุน
ทั ้ งหมด เป น ค าใชจ ายที่ไมเ ป นเงิน สด 60 บาท ส ว นค าใช จ ายที่ เปน เงิ นสด 56 บาท ซึ ่ งวั สดุที่ซื้อ
คือกากน้ำตาล สวนวัสดุอื่นๆ เกษตรกรสามารถเก็บไดจากในครัวเรือนและไดรับจากแมคาในตลาด
โดยไมมีคาใชจาย ไดแก ฟกทอง กลวยน้ำวา มะละกอสุก เศษผัก เศษอาหาร
(5) คาสารเรงซุปเปอร พด.1 และ พด.2 รวมตนทุนเฉลี่ย 50 บาท คิดเป น
รอยละ 1.52 ของตนทุนทั้งหมด เปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสดทั้งหมด เนื่องจากเกษตรกรไดรับ การ
สนับสนุนจากกรมพัฒนาที่ดิน โดยสารเรงซุปเปอร พด.1 ราคาซองละ 12 บาท เกษตรกรใชเฉลี่ย 2 ซอง
คิ ด เป น เงิ น 24 บาท ส ว นสารเร งซุ ป เปอร พด.2 ราคาซองละ 13 บาท เกษตรกรใช เ ฉลี ่ ย 2 ซอง
คิดเปนเงิน 26 บาท
(6) คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ ไดแก รำ แกลบ รวมเปนตนทุนเฉลี่ย 25.50 บาท
คิ ด เป น รอยละ 0.78 ของตนทุนทั ้งหมด สวนใหญเป นค าใชจ ายที่ เปนเงินสด 18.28 บาท โดยซื ้ อรำ
มีคาใชจาย 13.98 บาท และแกลบ 11.52 บาท สวนคาใชจายที่ไมเปนเงินสด 7.22 บาท ซึ่งเกษตรกร
จัดหารำและแกลบไดเองบางสวน
(7) คาน้ำมันในการขนวัสดุมาผลิตปุยและขนปุยไปใชและจำหนาย ตนทุนเฉลี่ย
67.93 บาท คิดเปนรอยละ 2.07 ของตนทุนทั้งหมด เปนคาใชจายที่เปนเงินสดทั้งหมด น้ำมันราคาเฉลี่ย
ลิตรละ 37 บาท ปริมาณที่ใชเฉลี่ย 1.84 ลิตร
1.3) คาเสียโอกาสเงินลงทุน/ดอกเบี้ยเงินกู เกษตรกรมีตนทุนคาเสียโอกาสเงินลงทุน
คิดเปนเงินเฉลี่ย 53.86 บาทตอตัน คิดเปนรอยละ 1.64 ของตนทุนทั้งหมด
2) ตนทุนคงที่
การผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวมีตนทุนคงที่ 9.02 บาท คิดเปนรอยละ 0.27 ของ
ตนทุนทั้งหมด เปนคาใชจายที่ไมเปนเงินสดทั้งหมด ประกอบดวย คาเสื่อมอุปกรณการเกษตร 8.15
บาท และคาเสียโอกาสเงินลงทุนอุปกรณการเกษตร 0.87 บาท
52

ตารางที่ 4.4 ตนทุนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน ป 2565 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ


หนวย: บาท/ตัน
รายการ เงินสด ไมเปนเงินสด รวม รอยละ
1. ตนทุนผันแปร 813.63 2,458.62 3,272.25 99.73
1.1 คาแรงงาน 98.13 733.44 831.57 25.34
1) คาขนวัสดุ 20.00 162.50 182.50 5.56
2) คาผลิตปุย 46.88 373.44 420.32 12.81
- คาเตรียมวัสดุทำชั้นปุย 26.88 200.00 226.88 6.91
- คารดน้ำกองปุย - 112.50 112.50 3.43
- คากลับกองปุย 20.00 60.94 80.94 2.47
3) คาบรรจุและขนสง 31.25 197.50 228.75 6.97
- คาบรรจุกระสอบ 18.75 135.00 153.75 4.69
- การขนสง 12.50 62.50 75.00 2.28
1.2 คาวัสดุ 701.73 1,685.10 2,386.83 72.75
1) คาฟางขาว 192.62 1,417.38 1,610.00 49.07
2) คามูลสัตว 348.50 103.90 452.40 13.79
3) คาใบไมแหง 18.40 46.60 65.00 1.98
4) คาน้ำหมักชีวภาพ 56.00 60.00 116.00 3.54
5) คาสารเรงซุปเปอร พด.1 - 24.00 24.00 0.73
6) คาสารเรงซุปเปอร พด.2 - 26.00 26.00 0.79
7) คาวัสดุการเกษตรอื่นๆ 18.28 7.22 25.50 0.78
8) คาน้ำมันเชื้อเพลิงขนวัสดุและปุย 67.93 - 67.93 2.07
1.3 คาเสียโอกาสเงินลงทุน/ดอกเบี้ยเงินกู 13.77 40.08 53.86 1.64
2. ตนทุนคงที่ - 9.02 9.02 0.27
2.1 คาเสื่อมอุปกรณการเกษตร - 8.15 8.15 0.24
2.2 คาเสียโอกาสเงินลงทุนอุปกรณการเกษตร - 0.87 0.87 0.03
3. ตนทุนรวม 813.63 2,467.64 3,281.27 100.00
ที่มา: จากการสำรวจ
53

4.3.2 ผลตอบแทนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
การผลิ ต ปุ  ย อิ น ทรี ย  1 ตั น เกษตรกรจำหน ายในราคาเฉลี ่ ย 5.5 บาทต อกิ โ ลกรั ม
หรื อ 5,500 บาทต อตั น เมื ่ อลบด วยต นทุ นการผลิ ตรวมเฉลี ่ ย 3,281.27 บาทต อตั น ลบด วยรายได
ที่เกษตรกรไดรับ ปรากฏวามีผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 2,218.73 บาทตอตัน คิดเปนอัตราผลตอบแทนรอยละ
67.61 ของตนทุนทั้งหมด เมื่อนำราคาจำหนายปุยอินทรียเปรียบเทียบกับราคารับซื้อฟางขาวจากแปลงนา
1,610 บาทตอตัน พบวา สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหแกฟางขาวเฉลี่ย 3,890 บาทตอตัน หรือ 3.89 บาทตอ
กิโลกรัม (ตารางที่ 4.5)
ตารางที ่ 4.5 ผลตอบแทนการผลิต ปุ ยอิ น ทรี ย จ ากฟางข าว 1 ตั น ป 2565 ของเกษตรกรในพื ้นที่
ภาคเหนือ

หนวย: บาทตอตัน
รายการ จำนวน
1. ราคาเกษตรกรขายได 5,500.00
2. ตนทุนการผลิต 3,281.27
3. ผลตอบแทนสุทธิ (บาท) 2,218.73
4. อัตราผลตอบแทน (รอยละ) 67.61
5. มูลคาเพิ่มของฟางขาว 3,890.00
ที่มา: จากการสำรวจ

จากการศึกษา พบวา การปลูกขาว 1 ไร กรณีเกษตรกรใชปุยเคมีเพียงอยางเดียวจะใชปริมาณ


เฉลี่ย 35.26 กิโลกรัมตอไร คิดเปนเงิน 922.70 บาทตอไร เมื่อเกษตรกรผลิตปุยอินทรียแลวนำมาใช
ในการปลู กข าวร ว มกั บ การใช ป ุ ย เคมี ส งผลให ล ดปริมาณการใชป ุ  ย เคมี ล ง คิ ด เป น ร อยละ 47.22
ของปริมาณการใชปุยเคมี โดยใชปุยเคมี 18.61 กิโลกรัมตอไร คิดเปนเงิน 486.88 บาท และใชปุย
อิ น ทรี ย เ ฉลี ่ ย 278.27 กิ โ ลกรั ม คิ ด เป น เงิ น 226.23 บาท เมื ่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การใช ป ุ  ย เคมี
เพียงอยางเดียวในการปลูกขาว ทำใหตนทุนการใชปุยเคมีของเกษตรกรลดลงเฉลี่ย 209.59 บาทตอไร
หรือคิดเปนรอยละ 22.71 ของตนทุนปุยเคมี (ตารางที่ 4.6)
54

ตารางที่ 4.6 การใชปุยในการปลูกขาวนาป ปเพาะปลูก 2565/66 ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ

ปริมาณ: กิโลกรัม มูลคา: บาท


ปุยเคมี ปุยอินทรีย รวม
รายการ
ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา
การใชปุยเคมี 35.26 922.70 - - 35.26 922.70
การใชปุยเคมีรวมกับอินทรีย 18.61 486.88 278.27 226.23 296.88 713.11
ที่มา: จากการสำรวจ

4.4 การประมาณการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวเหลือใชของประเทศ
ป 2565 ประเทศไทยมีเนื้อที่เก็บเกี่ยวขาว 69.58 ลานไร จำแนกเปน นาป 60.06 ลานไร
และนาปรั ง 9.52 ลานไร เมื่อแปรฟางข าวโดยใช อั ตราแปรของกรมพั ฒนาที่ ด ิน ขาวนาป มี ฟางข าว
420 กิโลกรัมตอไร สวนนาปรังมีฟางขาว 199 กิโลกรัมตอไร ดังนั้น ในป 2565 จะมีฟางขาวปริมาณ
27.12 ลานตัน (ตารางที่ 4.7) ซึ่งจากปริมาณฟางขาวทั้งหมดเกษตรกรนำไปใชประโยชน เชน อัดเปน
ฟางกอน ใชเลี้ยงสัตว ใชเปนวัสดุเพาะหรือคลุมแปลง คิดเปนรอยละ 77 ของฟางขาวทั้งหมด หรือ 20.88
ลานตัน สวนฟางขาวที่เกษตรกรยังไมไดนำไปใชประโยชน ซึ่งเกษตรกรจะเผาหรือปลอยทิ้งในแปลงนา
คิดเปนรอยละ 23 ของฟางขาวทั้งหมด หรือ 6.24 ลานตัน ดังนั้น หากสงเสริมใหเกษตรกรนำฟางขาว
ที่เหลือใชมาผลิตปุยอินทรีย จะสามารถลดตนทุนการใชปุยเคมีในนาขาวของประเทศไดถึง 5,073.05
ลานบาท
ปุยอินทรีย 278.27 กิโลกรัม คิดเปนเงิน 226.23 บาท
ปุยอินทรีย 1,000 กิโลกรัม คิดเปนเงิน 812.99 บาท
ฟางขาว 1 ตัน ผลิตปุยอินทรียได 1 ตัน
ฟางขาวเหลือใช 6.24 ลานตัน คิดเปนปุยอินทรีย 6.24 ลานตัน
ปุยอินทรีย 6.24 ลานตัน คิดเปนเงิน 5,073.05 บาท
55

ตารางที ่ 4.7 พื ้ น ที ่ เ ก็ บ เกี ่ ย วและปริ ม าณฟางข า วข า วนาป ป เ พาะปลู ก 2565/66 และนาปรั ง
ปเพาะปลูก 2565
เนื้อที:่ ลานไร ปริมาณ: ลานตัน
เนื้อที่เก็บเกี่ยวขาว ปริมาณฟาง*
รายการ
นาป นาปรัง รวม นาป นาปรัง รวม
รวมทั้งประเทศ 60.06 9.52 69.58 25.23 1.89 27.12
ภาคเหนือ 14.61 3.28 17.89 6.14 0.65 6.79
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 36.38 1.88 38.27 15.28 0.37 15.66
ภาคกลาง 8.35 4.28 12.63 3.51 0.85 4.36
ภาคใต 0.72 0.07 0.79 0.30 0.01 0.32
รอยละ 86.32 13.68 100.00 93.02 6.98 100.00
หมายเหตุ: *จากการคำนวณ ใชอัตราแปรฟางขาวนาป 420 กิโลกรัมตอไร , อัตราแปรฟางขาวนาปรัง 199 กิโลกรัม
ตอไร อางอิงจากกรมพัฒนาที่ดิน, 2554
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2565

4.5 การเพิ่มมูลคาในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
ผลการศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรีย สามารถจำแนกภารกิจในกิจกรรมหลักและ
กิจกรรม สนับสนุนที่สามารถเพิ่มคุณคาใหแกปุยอินทรีย โดยแบงเปนชวงตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ
ดังนี้ (ภาพที่ 4.5)
4.5.1 ตนน้ำ
ตนน้ำ คือ กิจกรรมโลจิสติกสขาเขา (Inbound Logistics) กิจกรรมที่สามารถเพิ่มมูลคา
ใหกับการผลิตปุยอินทรีย โดยเกษตรกรสามารถเพิ่มมูลคาดวยการนำวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาใช
ใหเกิดประโยชน ซึ่งฟางขาวเปนวัสดุหลักที่มีในทองถิ่น หากไมนำมาผลิตปุยจะถูกปลอยทิ้งในแปลงนา
หรือกำจัดดวยการเผา ดังนั้น การนำฟางขาวมาผลิตปุยนอกจากจะเพิ่มมูลคาใหฟางขาวแลว ยังสราง
ประโยชนทางออมคือชวยลดการเผาที่สรางมลภาวะ คุณสมบัติฟางขาวควรใชฟางขาวแหงเนื่องจาก
เหมาะสมในการผลิตปุยอินทรีย อีกทั้งสะดวกตอการขนยายและจัดเก็บ หากเปนฟางเปยกมีความเสี่ยง
ตอการเกิดเชื้อราเมื่อนำมาผลิตปุยอินทรีย สงผลตอคุณภาพของปุย นอกจากนี้ เกษตรกรมีการนำวัสดุ
เหลือใชทางการเกษตรอื่นๆ ที่มีในทองถิ่นมารวมผลิตปุยอินทรียดวย เชน มูลสัตว เศษพืชผัก ผลไม
เปลือกสับปะรด ใบลำไย เพื่อเพิ่มคุณภาพใหแกปุย ซึ่งเปนการชวยกำจัดเศษวัสดุเหลือใชในทองถิ่น
ไดอีกดวย
56

4.5.2 กลางน้ำ
กลางน้ำ คือ กิจกรรมการปฏิบัติการ (Operation) ซึ่งวิธีการผลิตปุยอินทรียที่สามารถเพิ่ม
มูลคา ใหปุยอินทรีย คือ การผลิตตามวิธีที่ไดมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาของกรมพัฒนาที่ดิน รวมถึง
การผลิ ตที ่ เกษตรกร ส ว นใหญ ใ ห ค วามสำคั ญ เอาใส ใ จ ทำให ไ ด ป ุ  ย อิ น ทรี ย  ท ี ่ ม ี ค ุ ณ ภาพเหมาะสม
ตอการปลูกพืช ดังนี้
1) ปฏิบัติตามขั้นตอนวิธีการผลิตของกรมพัฒนาที่ดิน
2) การใชฟางขาว มูลสัตว วัสดุพืช และเศษพืชผักผลไม ตามอัตราสวนที่กรมพัฒนาที่ดิน
กำหนด
3) การพลิ กกลั บ กองปุ  ย ช ว ยระบายอากาศและคลุ กเคล าวั ส ดุ และวั ส ดุ ย  อยสลาย
ไดเร็วขึ้น สามารถลดระยะเวลาในการหมักปุย
4) การคลุมกองปุยเพื่อควบคุมความชื้นและอุณหภูมิใหแกกองปุย
4.5.3 ปลายน้ำ
ปลายน้ ำ ประกอบด วย กิ จกรรมโลจิ สติ กส ขาออก (Outbound Logistics) การตลาด
และการขาย (Marketing and Sales) และการบริการ (Services) รวมถึงกิจกรรมสนับสนุน ซึ่งกิจกรรม
ที่สามารถเพิ่มมูลคาใหปุยอินทรีย ดังนี้
การตลาดและการขาย (Marketing)
1) การผลิตปุยอินทรียมีการนำวัสดุเหลือใชอื่นๆ ที่มีในทองถิ่นมารวมผลิตดวย จึงไดปุย
ที่มีคุณภาพเหมาะสมตอการผลิตทางการเกษตร อีกทั้งปลอดภัยกับผูผลิต ผูใช และสิ่งแวดลอม
2) ผูผลิตและผูจำหนายเปนหมอดินอาสา ซึ่งไดรับการอบรมเรื่องปุยอยางตอเนื่องจาก
หนวยงานภาครัฐ และเปนวิทยากรถ ายทอดความรู การผลิ ตปุ ยใหแก เ กษตรกร อีกทั้งมีการศึ กษา
หาความรูเพิ่มเติมจากแหลงตางๆ และมีประสบการณในการผลิตปุยอินทรีย ทำใหปุยอินทรีย มีคุณภาพ
นาเชื่อถือ
3) ผูจำหนายปุยอินทรียสามารถรับคำสั่งซื้อลวงหนาไมผานพอคาคนกลาง อีกทั้ง
กำหนดราคาไมแพงเนื่องจากผลิตจากวัสดุในทองถิ่นและผูผลิตเปนผูจำหนายเอง
4) การประชาสัมพันธของผูผลิตปุย สามารถประชาสัมพันธผานชองทางการเปนวิทยากร
ถายทอดความรูเกี่ยวกับปุยใหกับเกษตรกรรายอื่นๆ ทำใหไมมีคาใชจายในการประชาสัมพันธ อีกทั้ง
เกษตรกรทั่วไปที่เปนลูกคาบอกตอใหกับเกษตรกรรายอื่นๆ รวมถึงหนวยงานภาครัฐชวยประชาสัมพันธ
โดยการนำปุยไปจัดแสดงนิทรรศการในงานตางๆ
5) การใหปุยอินทรียสมนาคุณแกลูกคาเมื่อซื้อเปนจำนวนมาก
การบริการหลังการขาย (Services)
1) ผูจำหนายมีการใหคำแนะนำเกี่ยวกับการใชปุยแกลูกคา
2) การติดตามลูกคาหลังการจำหนายทั้งลงพื้นที่ในแปลงผลิตและโทรศัพทสอบถาม
57

57
ที่มา: จากการสำรวจ

ภาพที่ 4.5 การสรางมูลคาเพิ่มในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว


58
59

บทที่ 5
สรุปและขอเสนอแนะ
5.1 สรุป
การศึ กษาห ว งโซ คุ ณค าการผลิ ต ปุ ย อิ น ทรี ย จ ากวั สดุ เ หลื อใช ทางการเกษตร: กรณี ศึ กษา
ฟางขาวในพื้นที่ภาคเหนือ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสรางมูลคาเพิ่มการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
โดยจัดเก็บขอมูลจากเกษตรกรที่เขารวมโครงการการผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ป 2565 ใน
พื้นที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม และตาก เครื่องมือที่ใชศึกษาวิจัยคือแนวคิดหวงโซคุณคา (Value Chain)
และแนวคิดตนทุนการผลิต ซึ่งประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ภาครัฐมีขอมูลใชประกอบการกำหนดนโยบายที่
เหมาะสมเกี่ยวกับแนวทางการจัดการและการสงเสริมการใชวัสดุเหลือใชทางการเกษตรใหเกิดประโยชน
อยางสูงสุด ในสวนของเกษตรกรมีขอมูลมาใชตัดสินใจผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวเพื่อลดตนทุนการผลิต
ผลการศึกษาสรุป ดังนี้
5.1.1 ขอมูลทั่วไป
เกษตรกรผู  ผลิ ตปุ  ยอิ นทรี ย  จากฟางข าว จำนวน 85 ราย พบว า ส วนใหญเป นเพศชาย
คิดเปนรอยละ 68.24 ของเกษตรกรทั้งหมด เกษตรกรมีอายุมากกวา 60 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 54.12
จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา คิดเปนรอยละ 57.65 มีรายไดในภาคเกษตรนอยกวา 50,000 บาท
ตอป คิดเปนรอยละ 37.65 สมาชิกในครัวเรือนเกษตรเฉลี่ย 1 - 3 คน มีประสบการณทำการเกษตร
เฉลี่ย 35.29 ป และประสบการณในการทำปุยอินทรียเฉลี่ย 11.32 ป มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 27.56
ไร เกษตรกรเขารวมเปนสมาชิก ธ.ก.ส. มากที่สุดรอยละ 43.48 การผลิตปุยอินทรีย จะใชแรงงาน
ในครัวเรือนเปนสวนใหญ
สำหรับความคิดเห็นตอการผลิตปุยอินทรีย ของเกษตรกร พบวา ขอดี คือ ชวยลดตนทุน
การผลิตมากที่สุด รองลงมา คือ เพิ่มผลผลิตตอไร เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ และเพิ่มคุณภาพ
ของดิน ในสวนขอเสีย คือ ผลผลิตจะลดลงในชวงปรับเปลี่ยนจากปุยเคมีไปใชปุยอินทรีย มากที่สุด
รองลงมา คื อ ไม ส ะดวกในการนำไปใช ปริ มาณการใช ป ุ  ย อิ น ทรี ย ม ากกว าปริ มาณการใช ป ุ  ย เคมี
และระยะเวลาการหมักปุยใชเวลานาน สำหรับปจจัยที่เกษตรกรตองการไดรับการสนับสนุน ไดแก
ความตองการเครื่องบดสับวัสดุเหลือใชทางการเกษตร มากที่สุด รองลงมา คือ การจัดหาตลาดใหแก
เกษตรกรที่มีศักยภาพการผลิตปุยอินทรียเพื่อจำหนาย และการจัดอบรมดานการเกษตรสมัยใหมใหแก
เกษตรกร
5.1.2 โซอุปทานการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
โซอุปทานการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว โซอุปทานตนน้ำและกลางน้ำ คือ เกษตรกร
เปนผูจัดหาวัสดุตางๆ เพื่อนำมาดำเนินการผลิตปุยอินทรีย แลวสงมอบตอไปยังโซอุปทานปลายน้ำ
คือ เกษตรกร ญาติและเพื่อนบาน และจำหนายใหแกหนวยงานราชการและเกษตรกรทั่วไป
60

5.1.3 หวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
1) กิจกรรมหลัก (Primary Activities) 5 กิจกรรม
1.1) โลจิสติกสขาเขา เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการรวบรวมปจจัยการผลิต รวมถึง
แหลงที่มา การขนสง และการจัดเก็บวัสดุในการผลิต สำหรับการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน
นอกจากฟางขาวซึ่งเปนวัสดุหลัก ยังมีวัสดุอื่นๆ ไดแก มูลสัตว เศษใบไม สารเรงซุปเปอร พด.1 และ พด.2
น้ำหมักชีวภาพ แกลบ และรำ ซึ่งสวนใหญไดวัสดุจากแปลงเกษตรของตนเอง ญาติ และเพื่อนบาน
มีบางสวนที่ซื้อจากคนทองถิ่น ใชแรงงานในครัวเรือน 1 - 2 คน การขนยายและจัดเก็บวัสดุโดยรถอีแตน
และรถเข็น แลวนำไปเก็บไวบริเวณโรงเรือน หรือใตรมไมที่ใกลกับสถานที่หมักปุย
1.2) การปฏิ บ ั ต ิ ก าร (Operations) เป น กิ จ กรรมต อ เนื ่ อ งจากโลจิ สติ กส ขาเข า
เมื่อรวบรวมวัสดุตางๆ ครบถวนแลว จึงนำเขาสูขั้นตอนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว 1 ตัน ดังนี้
(1) นำวัสดุสำหรับผลิตปุยอินทรียทั้งหมด แบงเปน 3 สวน สำหรับทำชั้นกองปุย
3 ชั้น ขนาดกองกวาง 2 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 1 เมตร จากนั้นจัดเตรียมน้ำหมัก 20 ลิตร โดยใชสารเรง พด.2
ในการหมัก และเตรียมน้ำสำหรับรดกองปุย ไดแก น้ำผสมสารเรง พด.1 จำนวน 20 ลิตร และน้ำผสมน้ำหมัก
50 ลิตร
(2) การทำกองปุย ชั้นที่ 1 นำฟางขาวปูพื้น ตามดวยวัสดุพืชคือเศษใบไมแหง
ย่ำใหพอแนนและรดน้ำเปลาใหชุม แลวโรยมูลสัตวแหง รำและแกลบ จากนั้นรดดวยน้ำหมักชีวภาพ
และรดน้ำที่มีสวนผสมสารเรง พด.1 ปริมาณ 7 ลิตร ใหทั่วทั้งกองปุย แลวจึงรดน้ำเปลาใหทั่วทั้งกองปุย
อีกครั้ง สำหรับชั้นที่ 2 และชั้นที่ 3 ปฏิบัติลักษณะเดียวกันกับชั้นที่ 1
(3) การดูแลรักษา เมื่อทำกองปุยเสร็จแลวจะคลุมกองปุยเพื่อรักษาความชื้น
ดวยวัสดุตางๆ เชน สแลน ทางมะพราว พลาสติก สังกะสีเกา เปนตน ระหวางการหมักกองปุยมีการ
รดน้ำกองปุยเฉลี่ย 6 ครั้งๆ ละ 30 นาที เมื่อหมักกองได 30 วัน จะกลับกองปุยดวยแรงงานคน 1 ครั้ง
ในแตละครั้งใชระยะเวลาเฉลี่ย 2 ชั่วโมง 30 นาที เมื่อครบ 90 วัน จะไดปุยหมักที่มีสีดำหรือน้ำตาลเขม
และรวนซุย
กระบวนการหมั กปุ  ย เกษตรกรส ว นใหญ ใช ร ะยะเวลาการหมั กกองปุ  ย นาน
ถึง 3 เดือน เนื่องจากวัสดุยอยสลายไดชา หากนำเครื่องยอยวัสดุมาชวยในขั้นตอนการเตรียมวัสดุ ทำให
วัสดุมีขนาดเล็ก ชวยใหวัสดุยอยสลายไดรวดเร็ว ใชเวลายอยสลายเพียง 45 วัน สามารถนำปุยมาใชได
สำหรับการกลับกองปุยใชแรงงานในครัวเรือน แรงงานเอาแรง และแรงงานจาง รวม 2 - 3 คน ซึ่งเปน
แรงงานผูสูงอายุจึงไมสะดวกตอการปฏิบัติในขั้นตอนนี้
1.3) โลจิสติกสขาออก (Outbound Logistics) เมื่อไดปุยอินทรีย จากกิจกรรมการ
ปฏิบัติการ โลจิสติกสขาออกจึงเปนกิจกรรมที่เกี่ยวกั บการจัดเก็บ รวบรวม และการขนสง เกษตรกร
ดำเนินการ ดังนี้
61

เกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียเพื่อใชเอง จะนำปุยอินทรีย บรรจุกระสอบที่ใชแลว


ขนาด 20 และ 25 กิโลกรัม เพื่อความสะดวกในการนำไปใชงาน จากนั้นขนยายไปจัดเก็บในโรงเรื อน
ชายคาบาน บางรายเก็บไวใตตนไมที่มีรมเงา บางรายที่ไมไดบรรจุใสกระสอบจะเก็บไวที่กองหมักปุย
แลวนำพลาสติกหรือสังกะสีเกามาคลุมเพื่อปองกันแสงแดดและฝน เมื่อนำปุยไปใชงานจะบรรจุใสกระสอบ
ใชแลวหรือขนดวยบุงกี๋และรถเข็น
สำหรับเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียเพื่อใชเองและจำหนาย จะบรรจุใสกระสอบ
ที่ใชแลว ขนาด 25 กิโลกรัมตอกระสอบ เพื่อประหยัดคาใชจาย แลวขนยายดวยรถเข็นไปเก็บในโรงเรือน
ซึ่งอยูใกลกับกองหมักปุยเพื่อเตรียมจำหนาย เกษตรกรขนสงปุยใหลูกคาดวยรถยนต
1.4) การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) เป น กิ จ กรรมของเกษตรกร
ผู  ผ ลิ ต เพื ่ อจำหน าย หลั งจากผลิ ต และจั ด เก็ บ ปุ  ย อิ น ทรี ย เ รี ย บร อยแล ว เกษตรกรที ่ เ ป น ทั ้ งผู  ผ ลิ ต
และผู  จ ำหน ายปุ  ย เป น หมอดิ น อาสาที ่ มี ความรู  ความเชี ่ ย วชาญในการผลิ ต จึ งสามารถสร างความ
นาเชื่อถือใหกับคุณภาพของปุยอินทรีย กำหนดราคาจำหนาย 137.50 บาทตอกระสอบ หรือ 5.50 บาท
ตอกิโลกรัม สถานที่จำหนายใชโรงเรือนซึ่งเปนทั้งที่จัดเก็บปุยและจำหนายโดยตั้งอยูใกลบริเวณบาน
ทั ้ งนี ้ เกษตรกรไม มี องค ความรู  เ กี ่ ย วกั บ การจำหน ายแบบออนไลน สำหรั บ การส งเสริ มการตลาด
มีหนวยงานภาครัฐชวยประชาสัมพันธ ผูจำหนายประชาสัมพันธปุยของตนเองในขณะเปนวิทยากร
ถายทอดความรู รวมถึงลูกคาที่ซื้อปุยอินทรียชวยบอกตอลูกคารายอื่น นอกจากนี้ ผูจำหนายมีการใหปุย
อินทรียสมนาคุณแกลูกคาเมื่อซื้อจำนวนมาก
1.5) การบริการ (Services) มีการใหคำแนะนำวิธ ีการใชป ุย อิน ทรี ยเ พื่ อใหล ู ก คา
นำปุยไปใชไดถูกวิธีเหมาะสมกับพืชแตละชนิด กรณีลูกคาซื้อจำนวนมากมีบริการจัดสงปุยใหกับลูกคา
โดยคิ ดค าบริ การตามระยะทาง รวมทั ้ งมีการติ ดตามหลั งการจำหน ายปุ  ยเพื ่ อรั บ ทราบผลการใช ปุ ย
และปญหาอุปสรรคใหแกลูกคา
2.2 กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) 4 กิจกรรม
1) โครงสรางพื้นฐานขององคกร (Firm Infrastructure) เกษตรกรสวนใหญใช พื ้ น ที่
สำหรับผลิตปุยอินทรียเปนพื้นที่ที่สะดวกตอขนยายวัตถุดิบและอยูใกลแหลงน้ำ เชน แปลงนาขาวหลัง
เก็บเกี่ยวในแปลงไมผล หรือบอซีเมนตที่เคยใชเลี้ยงปลาหรือกบ โดยใชเงินทุนตนเอง
2) การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management) เกษตรกรไดรับการ
อบรมจากกรมพัฒนาที่ดิน และนำมาถายทอดใหแรงงานในครัวเรือนและแรงงานเอาแรง บางรายหาความรู
เพิ่มจากสื่อออนไลนตางๆ เพื่อเพิ่มคุณภาพใหปุยอินทรีย
3) การวิจัยและพัฒนา (Technology Development) มีการใชน้ำหมักชีวภาพเพื่อชวย
ยอยสลายวัสดุ และใชสารเรงซุปเปอร พด.1 และ 2 ซึ่งศึกษาวิจัยโดยกรมพัฒนาที่ดิน และมีการตรวจวัด
ความชื้นและอุณหภูมิในกองปุย
4) การจัดหา/จัดซื้อ (Procurement) วัสดุเพื่อมาใชในกิจกรรมการผลิตปุยอินทรีย สามารถ
จัดหาและจัดซื้อวัสดุไดสะดวก และมีเพียงพอสำหรับการผลิต อีกทั้งสามารถสั่งจองไดลวงหนา
62

5.1.4 ตนทุนและผลตอบแทนการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
เกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรียจากฟางขาวมีตนทุนการผลิตทั้งหมดเฉลี่ย 3,281.27 บาทตอ
ตัน ประกอบดวย ตนทุนผันแปร 3,272.25 บาท คิดเปนรอยละ 99.73 ของตนทุนทั้งหมด และตนทุนคงที่
9.02 บาท คิดเปนรอยละ 0.27 ของตนทุนทั้งหมด โดยสวนใหญมีคาใชจายที่ไมเปนเงินสด 2,467.64
บาท คิดเปนรอยละ 75.20 ของตนทุนทั้งหมด และคาใชจายที่เปนเงินสด 813.63 บาท คิดเปนรอยละ
24.80 ของตนทุนทั้งหมด เกษตรกรจำหนายปุยอินทรีย ราคาเฉลี่ย 5,500 บาทตอตัน เมื่อลบดวยตนทุน
การผลิตรวมเฉลี่ย 3,281.27 บาทตอตัน ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 2,218.73 บาทตอตัน คิดเปนอัตรา
ผลตอบแทน รอยละ 67.61 ของตนทุนทั้งหมด เมื่อนำราคาจำหนายปุยอินทรีย เปรียบเทียบกับราคารับ
ซื้อฟางขาวจากแปลงนา 1,610 บาทตอตัน พบวา สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหแกฟางขาวเฉลี่ย 3,890
บาทตอตัน หรือ 3.89 บาทตอกิโลกรัม
เกษตรกรนำปุยอินทรียมาใชปลูกขาวเฉลี่ย 278.27 กิโลกรัมตอไร คิดเปนเงิน 226.23
บาทตอไร เมื่อใชปุยเคมีเพียงอยางเดียวในการปลูกขาวเฉลี่ย 35.26 กิโลกรัมตอไร คิดเปนเงิน 922.70
บาทตอไร การใชปุยอินทรียสามารถทดแทนการใชปุยคมี และทำใหตนทุนปุยเคมีของเกษตรกรลดลง
เฉลี่ย 209.59 บาทตอไร หรือคิดเปนรอยละ 22.71 ของตนทุนปุยเคมีที่เกษตรกรเคยใช
ทั้งนี้ ในป 2565 ประเทศไทยมีพื้นที่เก็บเกี่ยวขาวนาป 60.06 ลานไร และขาวนาปรัง
9.52 ลานไร จะมีฟางขาวปริมาณ 27.12 ลานตัน ซึ่งเกษตรกรนำฟางขาวไปใชประโยชนแลวคิดเปน
รอยละ 77 ของฟางขาวทั้งหมด หรือ 20.83 ลานตัน สวนฟางขาวที่เกษตรกรยังไมไดนำไปใชประโยชน
คิดเปนรอยละ 23 ของฟางขาวทั้งหมด หรือ 6.24 ลานตัน ดังนั้น หากสงเสริมใหเกษตรกรนำฟางขาว
ที่เหลือใชมาผลิตปุยอินทรีย จะสามารถลดตนทุนการใชปุยเคมีในนาขาวของประเทศไดถึง 5,073.05
ลานบาท
5.1.5 การสรางมูลคาเพิ่มในการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
จากกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนในหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากฟางขาว
สามารถเพิ่มคุณคาใหแกปุยอินทรียในหวงโซคุณคาได ดังนี้
1) ชวงตนน้ำ ไดแก การนำวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาใชใหเกิดประโยชน หากไม
นำมาผลิตปุยจะถูกปลอยทิ้งในแปลงนาหรือกำจัดดวยการเผา ทั้งนี้เกษตรกรมีการนำวัสดุเหลือใช
ทางการเกษตรอื่นๆ มารวมผลิตปุยอินทรีย ซึ่งเปนการชวยกำจัดเศษวัสดุเหลือใชในทองถิ่นไดอีกดวย
2) ชวงกลางน้ำ ไดแก เกษตรกรใชวิธีการผลิตที่เพิ่มมูลคาใหปุยอินทรียดวยวิธีการผลิต
ปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน ทำใหไดปุยอินทรีย ทีม่ ีคุณภาพเหมาะสมตอการปลูกพืช
3) ชวงปลายน้ำ ไดแก การเพิ่มมูลคาปุยอินทรียโดยคุณสมบัติของผูผลิตและผูจำหนายที่
เปนหมอดินอาสาและวิทยากรถายทอดความรูในการทำปุยอินทรียใหแกเกษตรกร ทำใหปุยอินทรีย
มีคุณภาพและไดรับความเชื่อถือจากลูกคา นอกจากนี้ มีการสงเสริมดานการตลาด สามารถรับคำสั่งซื้อ
ล ว งหน าและกำหนดราคาไม แพง เนื ่ องจากใช ว ั ส ดุ ในท องถิ ่ น ไม มี ค าใช จ  ายในการประชาสั มพั นธ
63

มีการสมนาคุณปุยอินทรียใหแกลูกคา เมื่อซื้อจำนวนมาก รวมทั้งการใหคำแนะนำเกี่ยวกับการใชปุย


อินทรียและติดตามผลการใชปุยอินทรีย จากลูกคา

5.2 ขอเสนอแนะ
5.2.1 เกษตรกรควรรวมกลุมเพื่อระดมทุนจัดซื้อเทคโนโลยีลดระยะเวลาการหมักปุย เชน เครื่อง
บดยอยวัสดุทางการเกษตร เพื่อชวยยอยฟางขาวและวัสดุอื่นๆ และเครื่องจักรเพื่อใชในขั้นตอนกลับกองปุย
ทั้งนี้ กรมพัฒนาที่ดิน กรมสงเสริมการเกษตร และกรมสงเสริมสหกรณซึ่งเปนหนวยนงานที่มีบทบาทหนาที่
สงเสริมการดำเนินกิจกรรมของกลุมเกษตรกร หากจะสนับสนุนเทคโนโลยีเพื่อชวยในการผลิตปุยอินทรีย
จะตองคัดเลือกกลุมเกษตรกรที่มีศักยภาพและมีการบริหารจัดการที่ดี เพื่อใหสมาชิกสามารถดูแลรั กษา
และใชเครื่องจักรอยางทั่วถึงและเปนธรรม
5.2.2 กรมพัฒนาที่ดิน กรมสงเสริมการเกษตร และกรมสงเสริมสหกรณ ควรพัฒนาหรือสราง
แรงจูงใจใหเกษตรกรรุนใหมรวมผลิตปุยอินทรีย เชน จัดอบรมถายทอดองคความรูและสาธิตการผลิตปุย
อินทรีย ศึกษาดูงานกลุ มผูผลิตปุยอินทรีย ที่มีศักยภาพ เปนตน เนื่องจากปจจุบันแรงงานผูผลิ ตปุ ย
สวนใหญเปนผูสูงอายุ
5.2.3 กรมพัฒนาที่ดินควรประชาสัมพันธเกี่ยวกับขั้นตอนและแนวทางปฏิบัติในการขอใบอนุญาต
ผลิตปุยอินทรียเพื่อการคา เพื่อใหเกษตรกรมีความเขาใจอยางชัดเจน
64
65

บรรณานุกรม
กรมพัฒนาที่ดิน. (2556). การปรับปรุงบำรุงดิน. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

กรมพัฒนาที่ดิน. (2565ก). กรมพัฒนาที่ดินแนะนำเกษตรกรใชปุยเคมีตามคาวิเคราะหลดตนทุนได


15-20% [ออนไลน].เขาถึงไดจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/993107
(วันที่สืบคน ขอมูล: 10 ตุลาคม 2565)

กรมพัฒนาที่ดิน. (2565ข). ปุยหมักสูตรกรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ.


[ออนไลน].เขาถึงไดจาก http://180.180.244.229/osb/Index.htm?mode=research
(วันที่สืบคนขอมูล: 20 ตุลาคม 2564)

กรมวิชาการเกษตร. (2551). พระราชบัญญัติปุย 2518 แกไขเพิ่มเติม 2550. ราชกิจจานุเบกษา.


เลม 125 ตอนที่ 7 ก หนา 2.

กรมสงเสริมการเกษตร. (2559). ปจจัยที่มีผลตอการยอมรับเทคโนโลยีการใชปุยตามคาวิเคราะหดิน.


[ออนไลน].เขาถึงไดจาก http://www.ppsf.doae.go.th/wordpress/wp-content/
(วันที่สืบคน ขอมูล: 19 ตุลาคม 2565)

ซูไฮมิน เจะมะลี และ ยะโกะ ขาเร็มดาเบะ. (2560). การผลิตปุยอินทรียอัดเม็ดจากทะลายเปลา


ปาลมน้ำมันผสมขนไก: กรณีศึกษา ชุมชนบานกูเล็ง หมู 2 ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ
จังหวัดนราธิวาส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก https://epms.arda.or.th/src/Research/
OldSummaryExSummary. aspx?ID=10062 (วันที่สืบคนขอมูล: 4 ตุลาคม 2565).

ณิชนิตา นามวงค. (2560). การจัดการหวงโซแหงคุณคาปุยหมักมูลไสเดือนดิน : กรณีศึกษาศูนยวิจัย


และพัฒนาไสเดือนดิน มหาวิทยาลัยแมโจ. สาขาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยแมโจ.

ตุลญา โรจนทังคำ. (2557). การมีสวนรวมของประชาชน ชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการ


จัดทำขอบัญญัติวาดวยการควบคุมการเผาวัสดุเหลือใชทางการเกษตร. มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.

พรไพลิน จันทา. สุนิสา ปูกันกะ. ดวงพร พันธไชย. พัชรี ทวีชัยไพศาล. และ นพรัตน อนุสรณ. (2560).
การเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนในการปลูกขาวโดยใชปุยอินทรียและปุยเคมี
ของเกษตรกรในเขตตำบลแมกาษา อำเภอแมสอด จังหวัดตาก. รายงานสืบเนื่องจากการ
ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4, 490-497. สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
66

รัชนีพร สุทธิภาศิลป และธัญวรรณ ศรีเดชะกุล. (2551). การผลิตปุยอินทรียอัดเม็ดจากวัสดุเหลือใช


ทางการเกษตร. วารสารวิจัยราชภัฎเชียงใหม. ประจำปที่ 10 ฉบับที่ 2 (เมษายน - กันยายน
2552). 103 - 108

รุงรัตน มาประสิทธิ์. (2559). การใชปุยอินทรียเพื่อลดตนทุนการผลิตในนาขาวของเกษตรกรในจังหวัด


พิจิตร. วิทยานิพนธ. หลักสูตรเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตแขนงวิชาสงเสริมการเกษตร, สาขาวิชา
เกษตรศาสตรและสหกรณ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วิสุทธิ์ เลิศไกร. (2559). การหมุนเวียนธาตุอาหารและเพิ่มอินทรียวัตถุในดินจากเศษซากพืชในแปลง


เกษตรกรรมดวยวิธีการไถกลบตอซัง. สำนักวิชาการและแผนงาน. สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม.

ศศิธร ยะถาคำ. (2560). การวิเคราะหหวงโซคุณคาหนอไมฝรั่งอินทรียในพื้นที่อำเภอแมแตง


จังหวัดเชียงใหม. สาขาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยแมโจ.

ศักดิ์นรินทร แกนกลา. (2559). หวงโซคุณคาผลิตภัณฑขาวอินทรีย อำเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม.


สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยแมโจ.

สมศักดิ์ จีรัตน. (ม.ป.ป.) การผลิตปุยหมักเพื่อใชในการปรับปรุงดินและรักษาสิ่งแวดลอม.


คณะเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สมศักดิ์ เพียบพรอม. (2531). การจัดการฟารมประยุกต ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตรและทรัพยากร.


คณะเศรษฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สังเวย เสวกวิหารี และ ธนาพร บุญชู. (2564). การวิจัยและพัฒนาการใชประโยชนจากของเหลือทิ้งทาง


การเกษตร;แกลบและฟางขาว. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลพระนคร.

สามารถ ใจเตี้ย. (2564). การใชประโยชนวัสดุเหลือใชทางการเกษตรของเกษตรกรในเทศบาลตำบล


ขี้เหล็ก อำเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม. ศูนยความเปนเลิศดานนวัตกรรมสาธารณสุขศาสตร
และสิ่งแวดลอมชุมชน, คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม.
วารสารวิจัยและสงเสริมวิชาการเกษตร 38(2): 79-88

สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน). (2564). รูจักกับ Value Chain


ในการเกษตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก https://www.okmd.or.th/okmd-
kratooktomkit/4057/ (วันที่สืบคนขอมูล: 4 ตุลาคม 2565).
67

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). การศึกษาโซอุปทานผลักสลัดอินทรีย. กรุงเทพฯ: กระทรวง


เกษตรและสหกรณ.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2564ก). การศึกษาการบริหารจัดการกลุมเกษตรกรที่ผลิตปุยอินทรีย.


สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2564ข). หวงโซคุณคาขาวหอมมะลิอินทรีย ภายใตโครงการความ


รวมมือการพัฒนาเกษตรอินทรียของกลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน. สำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรที่ 7. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2565ก). ขอมูลเศรษฐกิจการเกษตร ปจจัยการผลิต ปริมาณและมูลคา


การนำเขาปุยเคมี. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก https://www.oae.go.th/view/ (วันที่สืบคน
ขอมูล: 4 ตุลาคม 2565).

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2565ข). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ป 2565. กรุงเทพฯ:


กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

สุภาภรณ พวงชมภู และนงลักษณ สุพรรณไชยมาตย. (2553). โครงการ การพัฒนาการผลิต


และการตลาดปุยอินทรียจากฟางขาวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ภาควิชาเศรษฐศาสตร
การเกษตร, คณะเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยขอนแกน, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

โสภณ จอมเมือง. (2555). การศึกษาเปรียบเทียบผลตอบแทนระหวางการใชปุยเคมีกับปุยอินทรีย


(ปุยหมักชีวภาพ) ในการปลูกขาวโพดฝกออนของเกษตรกร ตำบลทาปลาดุก อำเภอแมทา
จังหวัด ลำพูน. มหาวิทยาลัยแมโจ.
โสฬส แซลิ้ม. (2559). ปุยอินทรียและการใชประโยชนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาที่ดิน.
Michael E. Porter. (1985). Competitive Advantage: Creating and Sustaining Superior
Performance. A Division of A1acmillan, Inc. New York.
P. Abdul Salam. (2022). Thai-German Cooperation on Energy, Mobility, and Climate
(TGC-EMC). Asian Institute of Technology.

Penwadee Cheewaphongphan. (2018). Study on the Potential of Rice Straws as


a Supplementary Fuel in Very Small Power Plants in Thailand. [ออนไลน]. เขาถึง
ไดจาก https://www.mdpi.com/1996-1073/11/2/270. (วันที่สืบคนขอมูล: 4 ตุลาคม 2565).
68
69

ภาคผนวก
70
71

ภาคผนวกที่ 1
แบบสัมภาษณ
การศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร:
กรณีศึกษาฟางขาวในพื้นที่ภาคเหนือ
72
73

แบบสัมภาษณ
เรื่อง การศึกษาหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร
กรณีศึกษา: ฟางขาวในพื้นที่ภาคเหนือ

สำรวจวันที่............เดือน...................................พ.ศ. 2566
คำชี้แจง โปรดกรอกรายละเอียดหรือทำเครื่องหมาย √ ลงไปในชอง
ชื่อผูตอบแบบสอบถาม (นาย/นาง/นางสาว)..............................................โทรศัพท..................................
บานเลขที่............หมูที่...........ชื่อหมูบาน...................................................ตำบล.......................................
อำเภอ.................................................... จังหวัด  เชียงราย  เชียงใหม  ตาก

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกษตรกร (ขอมูลของป 2565)


1. เพศ  [1] หญิง  [2] ชาย
2. อายุ.................................ป
3. สถานภาพในครัวเรือน [1] ไมไดเปนหัวหนาครัวเรือน [2] เปนหัวหนาครัวเรือน
4. สมาชิกทั้งหมด (รวมผูตอบ).............................คน ชาย.........................คน หญิง............................คน
4.1 เปนแรงงาน ใน ภาคเกษตร...............................คน
4.2 เปนแรงงาน นอก ภาคเกษตร............................คน
5. ระดับการศึกษา
 [1] ไมไดเรียนหนังสือ  [2] ประถมศึกษา  [3] มัธยมศึกษาตอนตน  [4] มัธยมศึกษาตอนปลาย
 [5] อนุปริญญา/ปวช./ปวส.  [6] ปริญญาตรีหรือเทียบเทา  [7] สูงกวาปริญญาตรี
 [8] อื่นๆ (ระบุ) ....................................................................................................................................
6. ทานเริ่มประกอบอาชีพเกษตรกรรมหลัก เมื่อป พ.ศ. .................... รวมเปนเวลา..............................ป
โดยอาชีพที่เปนรายไดหลักจากภาคเกษตร
 [1] พืชไร  [2] พืชผัก/ไมดอก/สมุนไพร  [3] ไมผลไมยืนตน  [4] ปศุสัตว  [5] ประมง
 [6] อื่น ๆ ระบุ ...................................................................................................................................................................
7. ทานมีพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด............... แปลง รวมพื้นที่ทำการเกษตรทั้งหมด............................ ไร
ความเปนเจาของที่ดิน จำนวนพื้นที่ (ไร) ในเขตชลประทาน (ไร) นอกเขตชลประทาน (ไร)
(1) ที่ดินของตนเอง
(2) เชา
(3) ทำฟรี

8. ทานใชน้ำจากแหลงใด ในการทำการเกษตร
1] น้ำฝน  [2] บอน้ำในไรนา  [3] ระบบคลองชลประทาน  [4] คลองน้ำ/แหลงน้ำธรรมชาติ
74

9. ทานมีหนี้สินหรือไม
 [1] ไมมีหนี้สิน
 [2] มีหนี้สิน ถามี โปรดระบุแหลงกูยืมหลัก
 ในระบบ ระบุ..........................อัตราดอกเบี้ยรอยละ........ตอป สัดสวนรอยละ............ของหนี้สินทั้งหมด
 นอกระบบ ระบุ.......................อัตราดอกเบี้ยรอยละ........ตอป สัดสวนรอยละ............ของหนี้สินทั้งหมด
10. ทานเปนสมาชิกกลุมเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรและเขารวมโครงการของภาครัฐ หรือไม
 [1] ไมไดเปนสมาชิกกลุมใดๆ
 [2] เปนสมาชิก (เลือกไดมากกวา 1 ขอ)
กลุม/สถาบันการเงิน
 [1] ธ.ก.ส.  [2] สหกรณ  [3] กลุมเกษตรกร/ออมทรัพย [4] กลุมวิสาหกิจชุมชน
 [5] กลุมอื่นๆ ระบุ ………………............................... [6] อื่นๆ ระบุ...........................................
โครงการของภาครัฐ
 [1] ศพก.  [2] แปลงใหญ  [3] Smart/Young smart farmer  [4] Zoning by Agri-Map
 [5] ธนาคารสินคาเกษตร  [6] มาตรฐานสินคาเกษตร GAP/เกษตรอินทรีย
 [7] โครงการสงเสริมเกษตรทฤษฎีใหม
 [8] อื่นๆ ระบุ.................................................................................................................................................................
11. ทานเคยไดเขารับการอบรมบางหรือไม ในชวง 3 ปที่ผานมา
[1] ไมเคย
[2] เคย (เลือกไดมากวา 1 ขอ)
 โดยหนวยงานหรือสถาบันตางๆ
 หลักสูตรดานการผลิต ระบุ.............................................................................................
 [1] Onsite  [2] Online
 หลักสูตรดานการตลาด ระบุ..........................................................................................
 [1] Onsite  [2] Online
 โดยเรียนรูดวยตนเองผานระบบออนไลน เชน Youtube, Facebook, ...............................
เรื่อง .....................................................................................................................................
12. ทานประสบปญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือไม ในรอบ 3 ปที่ผานมา
[1] ไมเคย
[2] เคย (เลือกไดมากวา 1 ขอ)
 ภัยน้ำทวม ......................ครั้ง  ภัยแลง .........................ครั้ง  วาตะภัย ...........................ครั้ง
 โรคแมลงศัตรูพืชระบาด ระบุ.....................................................................................................จำนวน.................ครั้ง
 อื่น ๆ ระบุ ....................................................................................................................................... จำนวน ..............ครั้ง
75

สวนที่ 2 การผลิตปุยอินทรียจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร
1. รายไดในครัวเรือน
1.1 รายได ใน ภาคการเกษตร.............................................บาท/เดือน หรือ บาท/ป
1.2 รายได นอก ภาคการเกษตร..........................................บาท/เดือน หรือ บาท/ป
2. พื้นที่ปลูก ขาว ..............................................ไร
3. ประสบการณในการปลูกขาว ....................... ป
4. พื้นที่ปลูกพืช อื่นๆ ระบุ.............................................................................................จำนวน..............ไร
5. ประสบการณผลิตปุยอินทรีย ...................... ป
6. ปฏิทินการผลิต และปริมาณปุยอินทรีย
6.1 ปฏิทินการผลิตปุยปละ ............... ครั้ง ชวงเดือนใดบาง
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

6.2 ปริมาณปุย จำนวน ....................... ตัน

7. ไดรับคำแนะนำ การผลิตปุยอินทรีย จากแหลงใด (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


7.1 สถานีพัฒนาที่ดิน
7.2 หมอดินอาสา
7.3 สำนักงานเกษตรจังหวัด/อำเภอ
7.4 ปราชญชาวบาน (ระบุชื่อปราชญ หรือกลุม)..........................................................................
7.5 อินเทอรเน็ต
7.6 อื่นๆ (ระบุ).............................................................................................................................
8. ลักษณะ พื้นที่/กองปุย ที่ผลิต
8.1 ผลิตในโรงเรือน
1) เทกองกับพื้น ขนาด กวาง*ยาว*สูง.............................................................เมตร
2) จัดทำคอกสำหรับทำปุย ขนาด กวาง*ยาว*สูง............................................เมตร
8.2 ผลิตในที่โลง หรืออื่นๆ ระบุ.....................................................................................
1) เทกองกับพื้น ขนาด กวาง*ยาว*สูง.............................................................เมตร
2) จัดทำคอกสำหรับทำปุย ขนาด กวาง*ยาว*สูง............................................เมตร
76

สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมในหวงโซคุณคาการผลิตปุยอินทรีย
1. โลจิสติกสขาเขา (Inbound Logistic) (การขนสง การจัดเก็บ การแจกจายวัตถุดิบ การจัดการ Stock
วัตถุดิบในการผลิตปุย)
1.1 แหลงที่มาของวัตถุดิบ
ตนเอง/ฟรี ซื้อ
รายการ ปริมาณ ราคา ปริมาณ ราคา แหลงซื้อ
(กก.) (บาท/กก.) (กก.) (บาท/กก.)
วัสดุเหลือใช
- ฟางขาว

มูลสัตวตางๆ
-มูลโค
-มูลกระบือ
-มูลสุกร
-มูลสัตวปก
มูลอื่นๆ ระบุ.........
น้ำหมักชีวภาพ
-น้ำหมักจากเศษพืช/ผัก
-น้ำหมักจากเศษซากสัตว
-น้ำหมักอื่นๆ
สารเรง พด.
-สารเรง พด. 1
-สารเรง พด. 2
-สารเรง พด. ...
วัสดุอื่นๆ ระบุ
77

2. การขนสงและการจัดเก็บวัตถุดิบ ตอรอบการผลิตปุย 1 ตัน // ราคาคาแรงงานในพื้นที่...................... บาทตอวัน


การขนสงดวยตนเอง การจางขนสง ลักษณะ/รูปแบบการจัดเก็บ

รายการ (วัน หรือ ระยะทาง ปริมาณ ราคา ระยะทาง เก็บที่


จำนวน จำนวน คาจาง มีที่เก็บ
รถที่ใช ชม. หรือ ไป-กลับ น้ำมัน น้ำมัน รถที่ใช จำนวน ไป-กลับ คาน้ำมัน บาน อื่นๆ ไมมี
แรงงาน รอบ เหมา (โรงเรือน
ขนสง นาที) (กม.) (บาท) (บาท/ ขนสง รอบ (กม.) (บาท) (ใตถุน ระบุ ที่เก็บ
คน (บาท) ยุง)
ลิตร) ขางบาน)
วัสดุเหลือใช

- ฟางขาว

มูลสัตวตางๆ

-มูลโค

77
-มูลกระบือ

-มูลสุกร

-มูลสัตวปก
มูลอื่นๆ ระบุ
...................
น้ำหมักชีวภาพ

-จากเศษพืชผัก

-จากเศษ
ซากสัตว
- อื่นๆ..
78

1.2 การขนสงและการจัดเก็บวัตถุดิบ ตอรอบการผลิตปุย 1 ตัน // ราคาคาแรงงานในพื้นที่...................... บาทตอวัน (ตอ)


การขนสงดวยตนเอง การจางขนสง ลักษณะ/รูปแบบการจัดเก็บ

รายการ (วัน หรือ ระยะทาง ปริมาณ ระยะทาง


จำนวน จำนวน ราคา คา คาจาง มีที่เก็บ เก็บที่บาน
รถที่ใช ชม. หรือ ไป-กลับ น้ำมัน รถที่ใช จำนวน ไป-กลับ อื่นๆ ไมมี
แรงงาน รอบ น้ำมัน น้ำมัน เหมา (โรงเรือน (ใตถุน
ขนสง นาที) (กม.) (บาท) ขนสง รอบ (กม.) ระบุ ที่เก็บ
คน (บาท/ลิตร) (บาท) (บาท) ยุง) ขางบาน)

สารเรง พด.

-สารเรง พด. 1

-สารเรง พด. 2

-สารเรง พด. ...

78
-สารเรง พด. ...

วัสดุอื่นๆ ระบุ
79

2. การปฏิ บ ั ต ิ ก าร (Operations) (กิ จ กรรมที ่ เ ปลี ่ ย นหรื อ แปรรู ป วั ต ถุ ด ิ บ ให อ อกมาเป น สิ น ค า


ประกอบดวย กระบวนการผลิต วัตถุดิบ เครื่องจักรและเครื่องมือ)
2.1 กระบวนการผลิตปุยอินทรีย 1 ตน
ทำเอง / เอาแรง จาง
จำนวน (วัน จำนวน (วัน
คาจาง
รายการ จำนวน จำนวน ครั้ง/ หรือ ชม.) คาแรงงาน ครั้ง/ หรือ
จำนวน แรงงาน
แรงงาน แรงงาน รอบ ตอ ในพื้นที่ รอบ ชม.) ตอ
คน (บาท/
ตนเอง เอาแรง การ รอบการ (บาท/วัน) การ รอบการ
วัน)
ผลิต ผลิต ผลิต ผลิต
1. การทำกองหมักปุย
1.1 การวางวัสดุ

1.2 การผสมสารเรง พด.

1.3 การรดน้ำสารเรง พด.

1.4 การรดน้ำหมัก

2. การผลิตน้ำหมัก

3. การรดน้ำเปลา

4. การกลับกองปุย

5. การบรรจุกระสอบ / ถุง

6. อื่นๆ (ระบุ).....................

2.2 ลักษณะทางกายภาพของปุยที่ผลิตได เชน


สี ...................................................................................................................................................
กลิ่น...............................................................................................................................................
อุณหภูมิ .......................................................................................................................................
ความชื้น ......................................................................................................................................
ความละเอียด ..............................................................................................................................
อื่นๆ (ระบุ)...................................................................................................................................
80

2.3 เครื่องมือและอุปกรณ ที่ใชในการผลิต


ราคา ชื้อ ของตนเอง/ ไดฟรี ใชงาน อายุการ ใชในการ
รายการ (บาท/ มาแลว ใชงาน ทำปุย
จำนวน มูลคา จำนวน มูลคา กี่ป รอยละ
หนวย) (หนวย) (บาท) (หนวย) (บาท)
1. จอบ

2. พลั่ว

3. บัวรดน้ำ

4. สายยางรดน้ำ

5. พลาสติกคลุมดิน

6. สแลน (มวน)

7. ถังน้ำหมัก ขนาด ..........


ลิตร
8. ถุง/กระสอบ

9. การทำคอก (ไม)

10. การทำคอก (กออิฐบล็อก)

11. โรงเรือนผลิตปุย

12. อื่นๆ ระบุ............

13. อื่นๆ ระบุ..............

3. โลจิสติกสขาออก (Outbound Logistics) (กิจกรรมการจัดเก็บ รวบรวม จัดจำหนาย การขนสง


การสื่อสาร สินคาและบริการไปยังลูกคา)
3.1 ปุยอินทรียที่ผลิตไดเก็บไวที่ใด
1. โรงเรือน 3. ในอาคาร
2. บริเวณบาน เชน ขางบาน ใตถุนบาน
4. อื่นๆ ระบุ...............................................................................................................
3.2 ปุยที่ผลิตใชเอง จำนวน ............................. ระบุหนวย กก.หรือตัน ตอป
3.3 ปุยที่ผลิตเพื่อจำหนาย จำนวน ............................. ระบุหนวย กก.หรือตัน ตอป
81

3.4 การขนสงปุยไปใชในแปลง หรือจัดสงใหลูกคา (กรณีถามีการขายปุย)

ขนดวยตนเอง / ขนใหลูกคา จางขนสง


รถที่ใช จำนวนรอบ ระยะทาง คาน้ำมัน อัตราคาจาง
รายการ (บาท/กก.)
ขนสง (รอบ) ไป-กลับ (กม.) (บาท/ลิตร)
ตอรอบ ตอรอบ / ลูกคาขนเอง
ขนไปใชในแปลง
ตนเอง
ขนไปสงใหลูกคา

3.3.5 การสื่อสาร/ประชาสัมพันธ การผลิตปุย หรือ การจำหนายปุย


....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
3.3.6 การบริการลูกคา
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
4. การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) (กิ จกรรมชั กจู งให ล ู กค าซื ้ อ สิ นค าและบริ การ
การโฆษณา ชองทางการจัดจำหนาย ประชาสัมพันธ)
4.1 คุณภาพของปุยอินทรีย
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
4.2 ราคาปุยอินทรีย
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
4.3 สถานที่จำหนาย
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
4.4 การสื่อสารประชาสัมพันธ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
82

5. การบริการ (Services) (กิจกรรมที่ครอบคลุมการใหบริ การเพื่อเพิ่ มคุ ณคาใหกับสิน คา รวมถึง


การบริการหลังการขาย การแนะนำการใช)
รายการ มี / รูปแบบใด ไมมี
5.1 มีบริการหลังการขายปุยอินทรีย

5.2 ถาหากปุยอินทรียที่ผลิตไมไดคุณภาพ
มีการแกปญหาหรือไม อยางไร
5.3 มีการใหคำแนะนำการใชปุยอินทรีย
หรือไม อยางไร

6. การจัดหา/จัดซื้อ (Procurement) (กิจกรรมการจัดซื้อจัดหา เพื่อมาใชในกิจกรรมหลัก)


6.1 ประสานกับคนขายวัตถุดิบอยางไร / การติดตอการนัดหมาย / การตกลงราคา / การจายเงิน
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
6.2 หากวัตถุดิบไมเพียงพอจะดำเนินการอยางไร
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
6.3 วัตถุดิบที่สามารถใชทดแทนได
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
7. การวิจัยและพัฒนา (Technology Development) (กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี ที่ชวยในการ
เพิ่มคุณคาใหสินคา และบริการหรือกระบวนการผลิต) ซึ่งเปนเทคนิคพิเศษนอกเหนือจากสูตรการ
ผลิตปุยอินทรียของกรมพัฒนาที่ดิน
กระบวน รายละเอียด ตอการผลิตปุยอินทรีย 1 ตัน
การผลิต
7.1 การผลิต - ใชวัสดุอะไรบาง และปริมาณที่ใช
น้ำหมัก ...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
- หมักน้ำหมัก................. วัน หรือ เดือน ปริมาณน้ำหมักที่ได ........................ลิตร
- ปริมาณน้ำหมักที่ใชในการผลิตปุยอินทรีย ........................ ลิตร
7.2 สารเรง - พด. ....... จำนวน..............ซอง ผสมในน้ำเปลา.....................ลิตร คนกับน้ำเปลา....................นาที
ซุปเปอร พด. - นำไปใชในขั้นตอนใดของการผลิตปุยฯ ........................................................................................
...............................................................................................................................................................
83

กระบวน รายละเอียด ตอการผลิตปุยอินทรีย 1 ตัน


การผลิต
7.3 การหมักปุยฯ - ทำกองปุยฯ แบงวัสดุที่ใชหมัก ออกเปน .....................ชั้น
- แตละชั้นสูง..................ซม. หรือ เมตร ใชวัสดุอะไร เทาใด
...............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
- มีการเหยียบย่ำวัสดุใหแนนหรือไม
.............................................................................................................................................................
- แตละชั้นรดดวยน้ำอะไรบาง
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

7.4 การหมักปุยฯ - กองปุยฯ แตละครั้ง ระยะเวลาหมัก............................... วัน หรือ เดือน จึงจะนำไปใชงานได

7.5 การรดน้ำ - ใชน้ำ ............................... รดกองปุยฯ ปริมาณ................................... ลิตร / ครั้ง


กองปุยฯ - ระยะเวลาการรดน้ำกองปุยฯ
.............................................................................................................................................................
7.6 การกลับ - กลับกองปุย จำนวน ........................... ครั้ง
กองปุยฯ - ระยะเวลาการกลับกองปุยฯ ......................... วัน หรือ เดือน /ครั้ง
7.7 การคลุม - คลุมกองปุยฯ หรือไม เพื่อ
กองปุยฯ ...............................................................................................................................................................
- ใชอะไรคลุมกองปุยฯ
.............................................................................................................................................................
7.8 เครื่องจักร - การผลิตปุยฯ ใชเครื่องจักรอะไรบาง ในขั้นตอนใด
ที่ใชผลิตปุยฯ ..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
84

8. การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management) (กิจกรรมการบริหารทรัพยากร


บุคคล ตั้งแต วิเคราะหงาน สรรหาและคัดเลือก ประเมินผล พัฒนา ฝกอบรม ระบบเงินเดือน คาจาง
และแรงงานสัมพันธ)
8.1 แรงงานที่ใชในการผลิตปุย
แหลงที่มาของแรงงานจาง 1.คนในหมูบาน 2.คนนอกหมูบาน 3.จากตางจังหวัด
4.จางตางดาว 5.อื่น ๆ ระบุ .............................................

8.2 การอบรมพัฒนาความรูของแรงงาน และประสบการณในการทำปุย


...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
8.3 เคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการทำปุยอินทรีย
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
1. เคย จากหนวยงาน
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
2. ไมเคย

9. โครงสรางพื้นฐานขององคกร (Firm Infrastructure) (ระบบบัญชี ระบบการเงิน การบริหาร


จัดการขององคกร)
9.1 แหลงเงินทุนในการผลิตปุย
1. ทุนตนเอง
2. กูเงินลงทุน จาก...............................................................................................................
ระยะเวลาในการกู...........................................................................................................
วิธีการชำระเงินกู.............................................................................................................
3. ทุนฟรี จาก .....................................................................................................................
9.2 การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจาย
1. ทำ อยางไร .....................................................................................................................
2. ไมทำ เนื่องจาก................................................................................................................
9.3 รูปแบบการขายปุยอินทรีย
1. จัดจำหนายเอง 1.1 ( ) มีรานคา 1.2 ( ) ผานระบบออนไลน
2. มีพอคาคนกลางมารับซื้อไปจำหนาย
85

สวนที่ 4 ปญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน และขอเสนอแนะ


กิจกรรม ปญหาและอุปสรรค แนวทางแกไข
1. โลจิสติกสขาเขา
- การจัดหาปจจัยการผลิต
- การขนสงปจจัยการผลิต
- การจัดเก็บปจจัยการผลิต
- .........................................

2. การปฏิบัติ (กระบวนการผลิต)

3. โลจิสติกสขาออก
- การจัดเก็บและรวบรวมปุยและวัตถุดิบ
- การจำหนาย การขนสง การสื่อสาร
และบริการไปยังลูกคาปุย
4. การตลาดและการขาย
5. การบริการ
6. การจัดหา/จัดซื้อปจจัยการผลิต
7. เครื่องมือ เครื่องจักร
8. การจัดการแรงงาน

ขอเสนอแนะอื่นๆ เกี่ยวกับการนำฟางขาวมาผลิตปุยอินทรีย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
86

สวนที่ 5 ผลผลิตและปริมาณการใชปุยในการผลิต
5.1 ผลผลิตขาว

รายการ พันธุขาว ระบุ.......................................... พันธุขาว ระบุ.......................................


ใชปุยอินทรีย รายการ ใชปุยอินทรีย
ใชปุย ใช ใชปุย ใช
รวมกับ รวมกับ
อินทรีย ปุยเคมี อินทรีย ปุยเคมี
ปุยเคมี ปุยเคมี
1. พื้นที่ปลูก (ไร) 1. พื้นที่ปลูก (ไร)

2. ปริมาณผลผลิต 2. ปริมาณผลผลิต
ป 2565 (ตัน) ป 2565 (ตัน)
3. ปริมาณผลผลิต 3. ปริมาณผลผลิตตอไร
ตอไร (กก./ไร) (กก./ไร)
4. ราคาขาย 4. ราคาขาย (บาท/ตัน)
(บาท/ตัน)

5.2 ปริมาณปุยที่ใชในการผลิตขาว
ปริมาณปุยที่ใชในการผลิต (กก./ไร)
รายการ (1) (2) ปุยเคมี
รวม (1)+(2)
ปุยอินทรีย สูตรปุย ปริมาณ
1) ป 2565
ใชปุยอะไรในการผลิต

2) ป 2566
คิดวาจะใชปุยอะไร
ในการผลิต

5.3 ปริมาณการใชปุยอินทรียกับพืชอื่นๆ เชน ไมผล ไมยืนตน พืชผัก (ระบุชนิด)


รายการ ปริมาณปุยอินทรียที่ใช ปริมาณหรือลักษณะผลผลิต
87

5.4 ขอดีและขอเสีย ของการปรับเปลี่ยนจากการใช ปุยเคมี มาใช ปุยอินทรีย หรือ การใชปุยอินทรีย


รวมกับปุยเคมี ในการทำนาของทานมีอะไรบาง
ขอดี ขอเสีย
1. 1.
2. 2.
3. 3.
4. 4.
5. 5.
88
89

ภาคผนวกที่ 2
ปุยหมักสูตรกรมพัฒนาทีด่ ิน
90
91

ปุยหมักสูตรกรมพัฒนาที่ดิน
ปุยหมักจากวัสดุอินทรีย เชน วัสดุพืชจากแปลงเกษตร วัสดุจากโรงงานแปรรูปเศษวัสดุทั่วไป
เปนปุยอินทรียที่ผานกระบวนการยอยสลายโดยกิจกรรมจุลินทรียใชประโยชนในการปรับปรุงโครงสราง
ดิน เพิ่มอินทรียวัตถุ และธาตุอาหารพืช

1. วัสดุที่ใชในการผลิต
สำหรับผลิตปุยหมัก 1,000 กิโลกรัม
ชนิดที่ วัสดุ จำนวน ความสำคัญ แหลงที่มา
(กก.)
1 วัสดุพืช 1,000 เปนแหลงของอินทรียวัตถุ แปลงเกษตร
2 มูลสัตว 200 เปนแหลงธาตุอาหาร คอกสัตว
และจุลินทรีย
3 น้ำหมักชีวภาพจากปลา 9 ลิตร เปนแหลงไนโตรเจน กรมพัฒนา
ที่ดิน
4 สารเรงซุปเปอร พด.1 1 ซอง เปนจุลินทรียยอยสลายเศษ กรมพัฒนา
ประกอบดวยจุลนิ ทรีย จากพืช ที่ดิน
8 สายพันธุ ไดแก
เชื้อรายอยเซลลูโลส 4 สายพันธุ
1. Scytalidium thermophilum
2. Chaetomium
thermophilum
3. Corynascus verrucosus
4. Scopulariopsis brevicaulis
แอคติโนมัยซิสยอยเซลลูโลส
2 สายพันธุ
1. Streptomyces champavatii
2. Streptomyces sp.
แบคทีเรียยอยไขมัน 2 สายพันธุ
1. Bacillus subtilis A1
2. Bacillus subtilis A2
92

2. วิธีการผลิต
2.1 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจากปลา โดยการใชปลาเล็กปลานอย 30 กก. ผลไมฉ่ำน้ำ 10 กก.
กากน้ำตาล 10 กก. น้ำ 10 ลิตร สารเรงซุปเปอร พด.2 จำนวน 1 ซอง หมักไวเปนเวลา 15 – 20 วัน
กรองนำน้ำหมักไปใชในขั้นตอนตอไป
2.2 ผสมสารเรงซุปเปอร พด.1 ในน้ำ 20 ลิตร คนนาน 5-10 นาที เพื่อกระตุนใหจุลินทรียออก
จากสภาพที่เปนสปอรและพรอมที่จะเกิดกิจกรรมการยอยสลาย สำหรับใชในขั้นตอนที่ 5
2.3 แบงวัสดุพืชออกเปน 3 – 4 สวน นำสวนที่หนึ่งกองเปนชั้น ขนาดกวาง 2 เมตร ยาว 3 เมตร
สูง 30 – 40 เซนติเมตร ย่ำใหพอแนนและรดน้ำใหชุม จากนั้นโรยมูลสัตวบริเวณผิวหนากองวัสดุพืช
2.4 รดดวยน้ำหมักชีวภาพจากปลา (จากขั้นตอนที่ 1) ใหทั่วกอง
2.5 รดดวยน้ำสารเรงซุปเปอร พด.1 (จากขั้นตอนที่ 2) ใหทั่วกอง
2.6 ทำแบบเดียวกันตั้งแตขั้นตอนที่ 3-5 โดยกอง 3-4 ขั้น คลุมกองเพื่อควบคุมความชื้นและ
อุณหภูมิ
2.7 ในระหวางการหมักกองปุย ใหรดน้ำเพื่อรักษาความชื้น 50-60% และกลับกองปุย ทุ กๆ
7-10 วัน เพื่อระบายอากาศ และคลุกเคลาวัสดุ
2.8 หมั กในนาน 45-60 วั น (ระยะเวลาขึ ้ น กั บ วั ส ดุ ที ่ ใช ห มั ก ) จะได ป ุ  ย หมั กที ่ มี คุ ณ ภาพ
โดยสังเกตจากปุยที่มีสีดำหรือน้ำตาลเขม และรวนซุย

3. ชนิดวัสดุ

ชนิดวัสดุ ความสำคัญ แหลงที่มา


ฟางขาว/ตนและซังขาวโพด/ • ยอยสลายไดดี เปนแหลง แปลงเกษตรกรรม/
ทะลายปาลม อินทรียวัตถุ โรงงานผลิตปาลมน้ำมัน
ใบไม/เศษหญา • ยอยสลายงาย เปนแหลง ไมยืนตนทั่วไป/เศษวัชพืช
อินทรียวัตถุ
• ใบพืชตระกูลถั่ว เชน จามจุรี
จะมีไนโตรเจนสูง
เปลือกถั่ว • ยอยสลายงาย เปนแหลง พื้นที่เกษตรกรรม
อินทรียวัตถุ
• มีไนโตรเจนสูง
93

ชนิดวัสดุ ความสำคัญ แหลงที่มา


ผักตบชวา • ยอยสลายงาย เปนแหลงอินทรียวัตถุ แหลงน้ำธรรมชาติ
• มีโพแทสเซียมสูง
• วัสดุดูดน้ำมาก หลังการหมักน้ำหนัก
ปุยลดลง 10 เทา
เปลือกทุเรียน • ยอยสลายงาย เปนแหลงอินทรียวัตถุ ตลาดผลไม และแหลงแปรรูป
• มีฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมสูง ทุเรียน
เปลือกเมล็ดกาแฟ • ยอยสลายงาย เปนแหลงอินทรียวัตถุ โรงสีกาแฟ
• มีโพแทสเซียมสูง
ฟลเตอรเคก/กากหมอกรอง • ยอยสลายงาย เปนแหลงอินทรียวัตถุ โรงงานน้ำตาล
• มีฟอสฟอรัสคอนขางสูง
• คา pH ประมาณ 8.0-9.0
กากออย • ยอยสลายไดดี มีเสนใยมาก โรงงานน้ำตาล
ขี้เลื่อย/ขุยมะพราว • ยอยสลายชา โรงเลื่อยไม/โรงงานแปรรูป/
พื้นที่เกษตรกรรม/โรงสี
มูลสัตว • เปนแหลงธาตุอาหารพืช และแหลง คอกสัตว
จุลินทรียตามธรรมชาติ
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

4. คุณภาพของปุยหมักสูตรกรมพัฒนาที่ดิน
ปริมาณธาตุอาหารโดยเฉลี่ย ไนโตรเจน 1.00% ฟอสฟอรัส 0.5% และโพแทสเซียม 0.5%
ปริมาณอินทรียวัตถุไมต่ำกวา 20%

5. การใชเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
ชนิดพืช อัตรา วิธีการใส ประโยชน
พืชผัก/พืชไร 2 ตัน/ไร หวาน - เพิ่มธาตุอาหารหลัก
ธาตุอาหารรองและธาตุอาหาร
ไมผล 30 – 50 กก./หลุม รองกนหลุมตอนปลูกพืชและ เสริม
หวานรอบทรงพุมในชวงพืช - เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
เจริญเติบโต - ปรับปรุงโครงสรางดิน
- อุมน้ำในดิน

You might also like