You are on page 1of 68

การออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในจากกากกาแฟผสมวัสดุจากธรรมชาติ

เสาวลักษณ์ แพงสีแก้ว

ศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปประยุกต์บัณฑิต
สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
พ.ศ. 2559
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิยาลัยอุบลราชธานี
ใบรับรองวิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ปริญญาศิลปประยุกต์บณั ฑิต
สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์

เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในจากกากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติ
ผู้วิจัย นางสาว เสาวลักษณ์ แพงสีแก้ว
ได้พิจารณาเห็นชอบโดย
……………………………………………………….อาจารย์ที่ปรึกษา
(อาจารย์จักรภพ เสาเวียง)

……………………………………………………….กรรมการ
(ดร.ติ๊ก แสนบุญ)

……………………………………………………….กรรมการ
(อาจารย์เสกสันต์ ศรีสันต์)

…………………………….…………………………กรรมการ
(อาจารย์กรกิฎ เหล่าสกุล)
คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี รับรองแล้ว

………………………………………………………...
(อาจารย์ศิริพร ฉัตรสุวรรณ์)
หัวหน้ากลุ่มวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์
คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีปีการศึกษา 2559
กิตติกรรมประกาศ

ศิลปนิพนธ์เรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในจากกากกาแฟและวัสดุจากธรรมติได้สาเร็จ
ลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลืออย่างดีของอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์อาจารย์จักรภพ เสาเวียงที่ช่วย
แนะนาความรู้ให้นาไปพัฒนาผลงานการออกแบบ สาหรับการสารวจวัสดุที่นามาใช้ในการออกแบบนั้น
ได้ลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อที่จะนาไปศึกษาและพัฒนาวัสดุให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่แปลกใหม่ ขอบคุณ
อาจารย์ จักรภพ เสาเวียงหรืออาจารย์จักร ที่แนะนาเทคนิคต่างๆคอยช่วยเหลือข้าพเจ้ามาโดยตบอด
และแนะนาแต่สิ่งที่ดีๆให้ ขอบคุณอาจารย์ พัชริดา ปรีเปรม อาจารย์เสกสันต์ ศรีสันต์ ดร. ติ๊ก แสน
บุญ อาจารย์ ปิยะนันท์ กรินรักษ์ อาจารย์ ขนิษฐา ขันคา และอาจารย์สโรชา มังคลา ทีค่ อยให้
คาแนะนาตลอดมาและขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง พีๆ่ ที่ทางานทีร่ ้านเพลโตในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีทุ
สาขา ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและให้กากกาแฟมาทดลองฟรี ขอบคุณนักศึกษามหาวิทยาลัยอีก
หลายคณะที่ให้ความร่วมมือในการทาแบบสอบถามในครัง้ นี้
การทาวิจัยใจครั้งนี้ของขอบพระคุณอย่างยิ่งคือผู้ปกครองที่สนับสนุนการทางานในครั้งนี้ตลอดมา
ขอขอบคุณเพื่อนๆในรุ่นทุกคนที่คอยช่วยและติชมผลงาน ซึ่งผลงานอาจจะมีปัญหาบ้างเล็กน้อย
เพราะว่าผู้วิจัยยังขาดประสบการณ์ขาดทักษะการเรียนรู้ที่ต้องใช้ความสามารถสูง แต่ก็ได้รับการ
ปรับปรุงจากคาแนะนาของอาจารย์หลายๆท่านและเพื่อนๆ ในคณะทีใ่ ห้คาแนะนาเป็นอย่างดี ข้าพเจ้า
นางสาว เสาวลักษณ์ แพงสีแก้ว จึงขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ไม่สามารถกล่าวได้
หมด ผู้วิจัยรู้สกึ ซาบซึ้งในความกรุณาและกาลังใจอันยิ่งใหญ่ของท่านจึงกราบขอบพระคุณ ณ โอกาสนี้

( เสาวลักษณ์ แพงสีแก้ว )
ผู้วิจัย
บทคัดย่อ

เรื่อง : การออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในจากกากกาแฟและวัสดุจากธรรมชาติ

โดย : นางสาว เสาวลักษณ์ แพงสีแก้ว

ชื่อปริญญา : ศิลปประยุกต์บัณฑิต

สาขา : การออกแบบผลิตภัณฑ์

ประธานกรรมการที่ปรึกษา : อาจารย์ จักรภพ เสาเวียง

ศัพท์สาคัญ : ผลิตภัณฑ์ ตกแต่งภายใน กากกาแฟ วัสดุ ธรรมชาติ

กากกาแฟพบได้ในทุกที่ที่เป็นร้านขายกาแฟ สามารถหาได้ง่ายในพื้นที่ต่างๆแต่ละอาเภอมีร้าน
ขายกาแฟมากกว่า20ที่ เพราะกาแฟเป็นที่นิยมรับประทานเป็นอันดับต้นๆของประเทศไทย เพื่อใช้ดื่ม
ให้ร่างกายรู้สึกกระปี้กระเป่า จึงทาให้ร้านกาแฟแต่ละร้านมีการนาเมล็ดกาแฟมาขายเป็นกาแฟปั่น
และก่อให้เกิดกากกาแฟเหลือทิ้งมากมาย และนอกจากจะใช้ในการนามาแปรรูปทาเป็นปุ๋ย และนามา
เป็นสครับขัดผิวแล้ ว กากกาแฟยังสามารถนามาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆได้หลายอย่างและทาให้
น่าสนใจยิ่งขึ้น ด้วยคุณสมบัติที่มีเฉพาะตัวของกากกาแฟและวัสดุที่มีที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่และ
สามารถย่อยสลายไปตามธรรมชาติ ถือเป็นการช่วยรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมและเป็นการใช้ทรัพยากร
ที่มีอยู่อย่างจากัดให้มีประโยชน์สูงสุด
ผู้ วิ จั ย จึ ง มี แ นวคิ ด ในการสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากกากกาแฟขึ้ น มาเพื่ อ ให้ เ หมาะกั บ การใช้ ง านที่
เหมาะสมและบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือได้ผลิตภัณฑ์จากกากกาแฟผสมวัสดุจากธรรมชาติ และ
การศึกษากระบวนการขึ้นรูปต่างๆจากกากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติที่สามารถเป็นไปได้ในการนามาต่อ
ยอดสร้างผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในขึ้นมา เพื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายคือเด็กผู้หญิงวัยรุ่นถึงวัยจะ
ออกไปทางานทีช่ ื่นชอบงานแฮนด์เมด
ABSTRACT

TITLE : INTERIOR DESIGN OF COFFEE GROUNDS AND NATURAL


MATERIALS

AUTHOR : MISS SAOWWALAK PHAENGSRIKAEW

DEGREE : BACHCLOR OF APPLIED ARTS


MAJOR : PRODUCT DESIGN
CHAIRPERSON : MR.JAKKAPHOP SAOWENG

KEY WORDS : INTERIOR PRODUCT, COFFEE GROUNDS, NATURAL MATERIALS

Coffee residue is found everywhere in the coffee shop. Easy to find in each area,
each district has more than 20 coffee shops. Because coffee is a popular food in
Thailand. To drink to feel the body blowing. So each coffee shop has coffee beans to
sell it. And cause a lot of waste of coffee. And in addition to being used as a fertilizer
and as a scrub skin. Coffee residue can also be added to other products and make it
more attractive. With unique properties of coffee residue and recycled materials, it
can be biodegradable. It is a campaign to save the environment and use limited
resources to maximize the benefits.
The researcher has the idea to create a product from coffee grounds to suit the
proper use and achieve the intended purpose is the product of natural coffee
grounds mix. And the study of the process of forming coffee grounds mixed with
natural materials is possible to bring the interior decoration products. To fit the target
audience is the adolescent girl to go out to work favorite handmade.
สารบัญ

หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อภาษาไทย ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง ช
สารบัญภาพ ซ
บทที่ 1 บทนา
1.1ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 2
1.3 ขอบเขตการวิจัย 2
1.4 ประโยชน์ที่คิดว่าจะได้รับ 2
1.5 กรอบแนวคิดการวิจัย 2
1.6 ตารางแสดงการดาเนินงาน 2
1.7 คานิยามศัพท์ 3
2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกากกาแฟและคุณสมบัติของกากกาแฟ 4
2.2 วัสดุธรรมชาติที่ใช้ในงานออกแบบ 7
2.3 วัสดุที่ใช้เป็นตัวประสาน 10
2.3.1 ชนิดของคุณสมบัติวัสดุประสาน 10
2.3.1.1 วัสดุประสานธรรมชิต 11
2.3.1.2 วัสดุประสานสังเคราะห์เป็นกาวที่ผลิตขึ้นจากเคมี 13
2.3 การเก็บรักษาวัสดุประสาน 15
2.4 การทดลองคุณสมบัติของกากกาแฟและวัสดุผสมจากธรรมชาติ 16
2.5 เชื้อรา 21

2.5.1. การขยายพันธ์ของเชื้อรา 22
2.6 ผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้สาหรับตกแต่งภายใน 23
2.6.1 ประเภทเครื่องเรือน 23

2.6.2 ประเภทเครื่องประดับ 24

2.7 กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทของตกแต่งและแบบต่างๆ 27

2.8 หลักการออกแบบ 28

2.8.1 หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ 28

2.8.2 การออกแบบ ECO DESIGN 30

2.9 แรงบันดาลใจในการออกแบบ 32

2.10 กรณีศกึ ษาผลิตภัณฑ์ทใ่ี กล้เคียง 32

3 การวิเคราะห์ข้อมูลในการออกแบบ

3.1 วิเคราะห์และสรุปผลคุณสมบัติกากกาแฟผสมขี้เลื่อย 35
3.2 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ของกากกาแฟผสมวัสดุจากธรรมชาติ 36
3.3 การวิเคราะห์วัสดุประสาน 36
3.4 การวิเคราะห์และป้องกันการเกิดเชื้อรา 36
3.5 การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้สาหรับตกแต่งภายใน 37
3.6 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย 40
3.7 การวิเคราะห์แรงบันดาลใจในการออกแบบ 42
4 การออกแบบ
สารบัญ(ต่อ)
หน้า
4.1 การศึกษาแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์ 43

4.2 การวิเคราะห์ inspiration 43

4.3 แบบร่าง 44

4.4 แบบจริง 46

4.5 โมเด 46

5 การสรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลวิจัย 47

5.2 การอภิปรายผล 47

5.3 ข้อเสนอแนะ 48

เอกสารอ้างอิง 49

ภาคผนวก 52

ประวัติผู้วิจัย 57
สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
1 ตารางแผนแสดงการดาเนินงาน 2

2 ตารางทดลองคุณสมบัติของกากกาแฟปละวัสดุธรรมชาติ 16

3 ตารางแสดงผลระยะเวลาการทดลอง 36

4 ตารางการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้สาหรับตกแต่งภายใน 38
สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า

1 กากกาแฟ 4

2 กากกาแฟช่วยดับกลิ่นในตู้เย็น 5

3 กากกาแฟขัดผิว 6

4 กากกาแฟใช้ทาปุ๋ย 6

5 กากกาแฟไล่มด 7

6 กากกาแฟใช้ล้างมือ 7

7 นุ่น 8

8 ฟางข้าว 9

9 ขี้เลื่อย 10

10 ดินเหนียว 10

11 กาวไขสัตว์ 11

12 กาวเคซีน 11

13 กาวแป้งเปียก 12

14 กาวยางธรรมชาติ 12

15 โซเดียมซิลิเกต 13

16 กาวอีพอกซี่ 14

17 กาวซิลิโคน 14
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
18 กาวอะครีลิค 15

19 เชื้อรา 22

20 เฟอร์นิเจอร์ 24

21 วิทยุ 24

22 ที่เสียบกระดาษทิชชู่ 25

23 นาฬิกาติดผนัง 25

24 กรอบรูปวอลเปเปอร์ 26

25 โคมไฟรีไซเคิล 26

26 วอลเปเปอร์ติดผนัง 27

27 การทากรอบรูปจากโมเสค 27

28 การทาแผ่นรองแก้วน้าจากโมเสค 28

29 สัญลักษณ์ ECO DESIGN 31

30 เชือ้ เพลิงอัดแท่งจากกากกาแฟ 33

31 การออกแบบโคมไฟจากกากกาแฟ 34

32 การออกแบบเก้าอี้ร้านกาแฟของ TCDC 34

33 นาฬิกาจากแกลบ 35

34 ถังจากการอัดฟางข้าว 35
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
35 เชื้อรา 37

36 กลุ่มเป้าหมาย 42

37 แบบร่างที่1 44

38 แบบร่างที่2 45

39 แบบร่างที่3 45

40 แบบร่างที่4 46

41 แบบจริง 46

42 โมเดล 47
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
ต้นกาแฟ ค้นพบครั้งแรกในเอธิโอเปีย (Ethiopia) เนื่องจากชายเลี้ยงแพะสังเกตเห็นแพะที่เลี้ยง
อยู่มีอาการกระปรี้กระเปร่าเป็นพิเศษหลังจากได้กินผลสีแดงคล้ายเชอรี่ของต้นไม้ชนิดหนึ่ง ชายเลี้ยง
แพะจึ ง ลองเก็ บ ผลชนิ ด นั้ น มาลองกิ น ดู บ้ า งปรากฏว่ า เกิ ด อาการเช่ น เดี ย วกั บ แพะ ข่ า วดั ง กล่ า ว
แพร่หลายอย่างรวดเร็วจนกระทั่ งทราบไปถึงผู้สอนศาสนาที่รู้ถึง ความมหัศจรรย์ของผลสีแดงนี้ พระ
ผู้สอนศาสนาจึงทดลองน้าผลเชอรี่ดังกล่าวไปแช่น้าและดื่มน้้านั้นดู ท้าให้เกิดความรู้สึกกระฉับกระเฉง
เหตุนี้จึงเป็นต้นก้าเนิดของการดื่มน้้าผลเชอรี่หรือผลกาแฟนั่นเอง ความนิยมของกาแฟเริ่มแพร่กระจาย
ในอาหรับมากขึ้นกระทั่งในปี ค.ศ.1534 สุลต่านแห่งอิสตันบูล นามว่า ออสโตมัส สั่งประกาศให้เป็นสิ่ง
ผิดกฎหมายแต่เหมือนยิ่งห้ามก็เหมือนยิ่งยุหนึ่งปีต่อมากาแฟเป็นที่นิ ยมมากขึ้นและมีร้านกาแฟเกิดขึ้น
เป็นพี่พบปะของเหล่านักคิด นักปราชญ์ ศิลปิน แต่องค์กรศาสนากับมองว่าร้านกาแฟเป็นที่ซ่องสุ มท้า
ให้คนไม่สนใจศาสนา จึงประกาศว่ากาแฟเป็นเครื่องดื่มสีด้ามืดของปีศาจซาตานความนิยมในกาแฟจึง
ลดลง กระทั่งยุคของสมเด็จสันปะปาคลีเมนที่ 13 ได้ทดลองเครื่องดื่มดังกล่าวและประกาศว่าแท้จริง
แล้วกาแฟมิได้เป็นอย่างข้อกล่าวหากาแฟจึงกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นการดื่มกาแฟ
เริ่มแพร่หลายไปอย่างกว้างขวาง ต่อมามีการน้าผลกาแฟไปเผยแพร่แก่ชาวยุโรปท้าให้เครื่องดื่มชนิดนี้
เป็นที่แพร่หลายไปทั่วยุโรปอย่างรวดเร็ว ในปี ค.ศ. 1700 เริ่มมีการน้าต้นกาแฟไปปลูกแถบอเมริกาใต้
ซึ่งกลายเป็นที่นิยมปลูกกันมากในระยะเวลาต่อมา ปัจจุบันพื้นที่แถบอเมริกาใต้ปลูกกาแฟมากกว่า 19
ล้านตัน
คนไทยดื่มกาแฟโดยเฉลี่ยคนละ 130-150 ถ้วย/ปี โดยมีผู้บริโภคกาแฟเป็นประจ้าคิดเป็นร้อยละ
30 ของประชากรทั้งประเทศ (แหล่งข้อมูล : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย) ปัจจุบันเราทราบกันดีว่ากาแฟเป็น
เครื่องดื่มที่เป็นที่นิยมเนื่องจากช่วยให้สดชื่ นและกระตุ้นร่างกายให้กระปี้ก ระเปร่า แต่ที่น่าสนใจกว่า
นั้นคือกากกาแฟที่เรามักจะโยนทิ้ง ไปหลังจากชงกาแฟแล้วสามารถน้าไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง
นอกจากการแปรรูปน้ามาท้าปุยยเพื่อให้เป็นประโยชน์กั บต้นไม้ยังสามารถน้ามาท้าเป็นวัสดุที่ใช้ในการ
ออกแบบได้ จากเว็ปไซต์ Thailand Creative & Design Center (TCDC) ในบทความเรื่อง “JAVE
core นวัตกรรมวัสดุกากกาแฟเพื่อความยั่งยืนของวัฒนธรรมร้านกาแฟ” ผลจากการศึกษาพบว่า ผศ.
ดร.สิงห์ อินทรชูโต ได้ท้าการร่วมมือกับสตาร์บัค เพื่อท้าวิจัยในการขึ้นรูปวัสดุเหลือใช้จากกากกาแฟ
เหลือทิ้งและน้าไปออกแบบเฟอร์นิเจอร์ภายในร้านสตาร์บัค เพื่อให้เป็นวัสดุใหม่ส้าหรับการออกแบบ
เฟอร์นิเจอร์ จนสามารน้าไปขึ้นได้ส้าเร็จ ในรูปแบบแผ่นเรียบซึ่งสามารถน้าไปใช้ในงานก่อสร้าง ใช้เป็น
วัสดุทดแทนไม้
ดังนั้นจากการที่กากากาแฟสามารถขึ้นรูปในลักษณะวัสดุอัดแผ่นแล้วนั้น ผู้วิจัยสนใจการน้ากา
กาแฟที่เหลือทิ้งมาทดลองพัฒนาให้เป็นวัตถุดิบส้าหรับงานออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในบ้าน
ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปริมาณกากขยะเหลือทิ้งจากร้านกาแฟสดแล้ว ยังจะน้าไปต่อยอดเป็น สินค้าใน
เชิงธุรกิจสร้างสรรค์ได้ในอนาคต
2
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงกำร
1.2.1 ศึกษาคุณสมบัติและทดลองกรรมวิธกี ารขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ด้วยวัสดุผสม ที่มาจากกากกาแฟ
และวัสดุธรรมชาติ
1.2.2 ศึกษากระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายใน
1.2.3 ออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายใน

1.3 ขอบเขตกำรวิจัย
1.3.1 ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ
1.3.1.1 ศึกษาคุณสมบัติของกากกาแฟและวัสดุธรรมชาติ
1.3.1.2 ศึกษากระบวนการขึ้นรูปจากกากกาแฟและวัสดุธรรมชาติ
1.3.1.3 การออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในด้วยแนวคิด Eco design
1.3.2 ขอบเขตด้ำนพื้นที่
1.3.2.1 ร้านกาแฟสด เพลโต ว. แพทย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1.3.2.2 ร้านกาแฟสด เพลโต หน้าตึก วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1.3.2.3 ร้านคุณหมูนางฟ้า มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1.3.2.4 ร้านกาแฟ อะเมซอน สาขามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

1.4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.4.1 ได้ข้อมูลคุณสมบัติและผลทดลองกรรมวิธีการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ด้วยวัสดุผสม ที่มาจากกาก
กาแฟและวัสดุธรรมชาติ
1.4.2 ได้กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายใน
1.4.3 ผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายใน

1.5 กรอบแนวคิดกำรวิจัย
1.5.1 ศึกษาจากผลิตภัณฑ์ข้างเคียง
1.5.2 ศึกษาวัสดุ รูปแบบ และกรรมวิธีการผลิต
1.5.3 ศึกษาการตลาด
1.5.4 ออกแบบ
1.5.5 สรุปผลและน้าเสนอผลงานออกแบบ

1.6 ตำรำงแผนแสดงกำรดำเนินงำน
ขั้นตอน ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
ดำเนินงำน 2559 2559 2559 2559 2559 2560 2560 2560 2560 2560
1. เสนอหัวข้อ
วิจัย
3
2. รวบรวม
ข้อมูลที่
เกี่ยวข้อง
3 วิเคราะห์
ข้อมูลจากการ
เก็บรวบรวม
ข้อมูล
4. กระบวนการ
ออกแบบและ
ผลิตผลงาน
ต้นแบบ
5. สรุปและ
น้าเสนอผลงาน
การออกแบบ
6. ส่งรูปเล่ม
รายงานฉบับ
สมบูรณ์

1.7 คำนิยำมศัพท์
1.7.1 กำกกำแฟ หมายถึง ผงกาแฟบดที่กลั่นเอสเพรสโซ่ออกมาจากเครื่องท้ากาแฟตามร้าน
กาแฟสดจากนั้นก็จะเคาะลงในภาชนะที่เตรียมไว้ ก่อนจะน้าไปทิ้งเป็นขยะ
1.7.2 กำรขึ้นรูป (Forming) หมายถึง กระบวนการผลิตประเภทหนึ่งที่เปลี่ยนรูปร่างของ
วัตถุดิบ (Raw Material) ให้เป็นผลิตภัณฑ์ (Product) หรือชิ้นงานที่มีรูปร่างตามต้องการ โดยใช้
แม่พิมพ์หรือเครื่องมือเฉพาะ (Dieหรือ Forming Tool) ในการขึ้นรูปขณะที่วัตถุดิบอยู่ในสภาวะ
ของแข็งโดยไม่มีการเสียเศษ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายในของวัสดุนั้น ๆ
1.7.3 วัสดุ (Materials) หมายถึง สสารต่างๆ ที่ได้จากธรรมชาติหรือมนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น ซึ่ง
น้ามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างได้
1.7.4 วัสดุประสำน (Solder materials) หมายถึง วัสดุประสานเป็นวัสดุที่ใช้ติดวัตถุชนิด
เดียวกัน หรือวัตถุต่างชนิดกันเข้าด้วยกันให้แน่นโดยผลิตจากวัสดุธรรมชาติเช่น กาวยางไม้หรือวัสดุ
สังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ เช่น อีพอกซี่วัสดุประสานน้าไปใช้ในงานการท้าเครื่องเรือน อุตสาหกรรม
กระดาษ อุตสาหกรรมรถยนต์เครื่องบิน เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเลคทรอนิกส์ฯลฯ
1.7.5 กำรตกแต่งภำยใน (Interior decorating) หมายถึง การจัดประดับเพื่อความงามของ
อาคารสถานที่ทั้งภายในอาคาร โดยการใช้สิ่งประดิษฐ์คิด ค้นขึ้นหรือจากธรรมชาติน้ามาดัดแปลงเพื่อ
การตกแต่ง เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านประโยชน์ใช้สอยและให้คุณค่า ความสวยงาม
บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรม
ในการวิ จัย เรื่ อง “การออกแบบผลิต ภั ณ ฑ์ต กแต่ ง ภายในด้ ว ยกากกาแฟเพื่ อใช้ ป ระโยชน์ ใ น
สานักงาน”ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาเป็นแนวทางและการสร้าง
กรอบแนวความคิดในการทาวิจัยครั้งนี้
2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกากกาแฟและคุณสมบัติของกากกาแฟ
กากกาแฟหมายถึง ผงกาแฟบดที่กลั่นเอสเพรสโซ่ออกมาจากเครื่องทากาแฟตามร้านกาแฟสด
จากนั้นก็จะเคาะลงในภาชนะที่เตรียมไว้หลังจากนั้นก็ทิ้งไป

ภาพที่ 2.1 ภาพกากกาแฟ


ที่มา http://food.mthai.com 20/10/2559
กาแฟเป็นเครื่องดื่มที่ทาจากเมล็ด ซึ่งได้จาก ต้นกาแฟหรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟคั่ว มีการ
ปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้า
ทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทาให้ มีสรรพคุณ
ชูกาลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่ม ซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก
เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกาลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบ
อาระเบียบและทางตะวันออกเฉียงเหนือของเอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยาย
ในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็น
หลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหารซูฟีในเยเมน แถบอาระเบียบ จาก โลกมุสลิม
ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กในจีนัส (Coffee) หลายสปีชีส์
โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่( Coffee Arabica) และกาแฟ “โรบัส” ที่ได้จาก
ชนิด(Coffee Canephora) ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อรสนิยมใบกาแฟ
(Hemileiavastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งมีคู่มีการปลูกในละติน
5

อเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นาไป


ผ่านกรรมวิธีและทาให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่
ต้องการ และ จะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนาเสนอได้ในหลายวิธี
กากกาแฟที่เป็นของทิ้งจากร้านกาแฟสด มีจานวนต่อวันโดยปริมาณที่ได้ในแต่ละวันจะไม่
เท่ากัน เพราะบางวันลูกค้าเยอะบางวันลูกค้าน้อยแต่เฉลี่ยแล้วในระยะเวลา 1สัปดาห์ กากกาแฟสดที่
เหลือจากการบริโภคมีประมาณ 40 กิโลกรัมต่อที่ ยกเว้นวันหยุด เสาร์อาทิตย์จะได้ปริมาณที่น้อยกว่า
วันธรรมดา กากกาแฟมีประโยชน์หลายอย่างสามารถจาแนกได้ดังนี้

2.1.1 กากกาแฟที่ใช้แล้วนาไปตากแดดให้แห้งและบรรจุใส่ถุงผ้าเล็กๆนาไปไว้ในตู้เย็นเพื่อ
ช่วยดูดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์หรือจะนากากกาแฟใส่ไว้ในถ้วยและวางไว้ในตู้เย็นก็ได้ เพราะกากกาแฟมี
สรรพคุณในการดูดกลิ่นได้ดีและถ้าอยากให้มีกลิ่นหอมเพิ่มขึ้นก็ให้เอากลิ่นที่ชอบ เช่น กลิ่นส้ม กลิ่นวา
นิลลาหรือกลิ่นดอกไม้ หยดลงไปในกากกาแฟสักสามสี่หยดจะเพิ่มความหอมให้กับตู้เย็น

ภาพที่ 2.2 กากกาแฟช่วยดับกลิ่นในตู้เย็น


ที่มาhttp://www.infinitydesign.in.th 20/10/2559
2.1.2 นากากกาแฟที่ตากแห้งและเก็บไว้มาผสมน้าและนาไปหมักผมจะช่วยให้ผมนุ่มและ
เงางาม ถ้านาไปขัดหน้าหรือขัดตัวก็จะทาให้ผิวนุ่มสดใส เป็นการทาสปาให้กับตัวเองและไม่จาเป็นต้อง
ฟอกสบู่ซ้าหรือสระผมซ้าเลยที่สาคัญอย่าลืมล้างออกให้สระอาด
6

ภาพที่ 2.3 กากกาแฟขัดผิว


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th20/10/2559
2.1.3 กากกาแฟยังสามารถใช้เป็นปุ๋ยได้อย่างดีกับต้นไม้ดอกไม้และไม้ประดับ ต้นไม้ที่ปลูก
ด้วยดินที่มีส่วนผสมของกากกาแฟจะช่วยป้องกันไม่ให้พวกหอยทากหรือตัวบุ้งมากันกินใบ

ภาพที่ 2.4 กากกาแฟใช้ทาปุ๋ย


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th20/10/2559
2.1.4 ตามพื้นดินที่มีมดเดินไปมาหรือทารังอยู่ ลองเอากากกาแฟโรยตามบริเวณที่มด
อาศัยอยู่ มดก็จะค่อยๆหายไปเพราะกากกาแฟมีคุณสมบัติเป็นตัวไล่มดด้วย
7

ภาพที่ 2.5 กากกาแฟไล่มด


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th20/10/2559
2.1.5 สาหรับท่านที่ทาครัวและมีกลิ่นอาหารติดมือ ลองใช้กากกาแฟผสมน้าให้พอเปียกและ
นามาถูกับมือสักพักแล้วล้างออกกลิ่นไม่พึงประสงค์ก็จะหายไปเหลือแต่กลิ่นที่หอมสดชื่นของกาแฟที่
ติดอยู่ที่มือแทน

ภาพที่ 2.6 กากกาแฟมาล้างมือ


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559
2.2 วัสดุธรรมชาติที่ใช้ในงานออกแบบ
2.2.1 กลุ่มเส้นใย
เส้นใยธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่ได้จากพืชและสัตว์ จากพืชจะมีราคาถูกกว่าจากสัตว์และมีจานวน
มากกว่ า ด้ ว ยและนิ ย มใช้ กั น ในบ้ า นเราเพราะว่ า หาง่ า ย เช่ น ฝ้ า ย ลิ นิ น ป่ า น ปอ ใยไผ่
นอกจากนั้น ยัง ได้ จากสั ตว์ ใ นบางชนิด เช่ น ไหม ได้ จากหนอนไหมมี ร าคาแพงได้ เนื้ อผ้ าที่ ดี ใน
8

ต่างประเทศก็มีจากขนแกะที่มีราคาสูง
ใยฝ้าย : หรือว่า Cotton ที่นาใยฝ้ายมาปรับปรุง นาไปตัดเป็นผ้าที่ใส่กันทุกวันนี้เป็นส่วนมาก
ผ้าที่ได้จากใยฝ้ายนั้นจะได้จากเมล็ดของฝ้ายเมื่อแห้งจะมีการแตกออกมาเป็นใยสีขาวมีความยาวที่
แตกต่างกันแล้วจึงนามาทอเป็นผ้า ผ้าฝ้ายมีคุณสมบัติทดี่ ีและมีราคาถูก มีความทนทาน เรียบเป็น
เงา ดูดซับน้าได้ดี สามารถที่จะผสมกับกระบวนการในทางเคมีได้ผ้าที่มีคุณสมบัติตามความต้องการ
ในแต่ละชุดที่เราต้องการอีกด้วย เป็นผ้าที่ใช้ได้นาน ย้อมสีติดได้ดี ยากต่อการติดไฟ
ใยลินิน : เป็นใยที่ได้จากต้นแฟล็กซ์ เป็นในผ้าที่ได้มีการค้นพบมามากกว่า 7,000 ปี มาแล้ว
เป็นผ้าที่ใช้ในการห่อมัมมี่ ข้อดีคือ ระบายอากาศได้ดีมาก ดูซับเหงื่อได้ดี แต่ยับง่าย
ใยป่าน : ส่วนมากจากต้อนป่านเรมี เป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีมากจากประเทศจีน สามารถปลูกได้
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีคุณสมบัติ มีความทนทานต่อการซักรีด เงา แห้งเร็ว
ใยไผ่ : ใยไผ่ได้จากต้นไผ่กาลังเป็นที่นิยมเนื่องจากเป็นใยที่ดีต่อสุขภาพเหมาะสับหรับผ้าที่ใช้ใน
ที่อับๆ อย่างเช่นชุดชั้นใน มีคุณสมบัติในการต้านแบคทีเรีย ลดกลิ่นอับ มีความยืดหยุ่น ระบาย
อากาศได้ดี ดูดซับเหงื่อดี มีความเบา
ใยไหม : ได้จากหนอนไหม มีถิ่นกาเนิดมาจากประเทศจีนกว่า 2,00 ปีแล้ว โดยจะนาหนอนที่
เลี้ยงด้วยใบหม่อน เมื่อหนอนจะทารังมีใยออกมาเพื่อจะสร้างรัง โดยจะนาหนอนไหมลงไปต้นน้าแล้ว
จะทาการสาวปั่นเป็นเส้นใย มีคุณสมบัติ มีความเงางาม ตักเสื้อผ้าได้ทรงออกมาสวย ซึ้งทาให้มี
ราคาแพง
ขนแกะ : มักใช้ในเมืองหนาว เนื่องจากเป็นใยที่ให้ความอบอุ่นดี มีน้าหนักที่เบา ยืดหดได้
ดีและมีราคาแพง
ใยนุ่น ได้จากส่วนที่เป็นเมล็ดของต้นนุ่น (Seed fiber) ปุยนุ่นมีลักษณะเช่นเดียวกับปุย ฝ้าย
เป็นไม้ยืนต้นชอบขึ้นอยู่ในแถบร้อน ต้นสูงประมาณ 50 ฟุต หรือมากกว่านั้น มีผลที เรียกว่า ฝัก มี
ลักษณะยาวและใหญ่ ปลายเรียวเล็กลง เมื่อฝักแก่หรือสุกก็หล่นเองและแตกออก แล้วนาปุยนุ่น แยก
ออกจากเมล็ด เมล็ดแยกออกจากปุยได้ง่าย นุ่ นมีน้าหนักเบา ไม่เปียกน้า ง่าย นิยมใช้เป็นวัสดุยัด
หมอน ที่ นอน และเครื่องเรือนอื่น ๆ เนื่องจากเส้นใยมีความเหนียวน้อย และมีเส้นใยสั้นมากไม่
สามารถนามาปั่นเป็นด้ายหรือทอผ้าได้ดี จึงไม่นิยมนาเส้นใยมาทอผ้า

ภาพที่ 2.7 นุน่


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559
9

ฟางข้าว เป็นผลผลิตพลอยได้ชนิดหนึ่งจากเกษตรกรรม คือลาต้นแห้งของธัญพืชหลังจาก


การเก็บเกี่ยว ฟางเกิดขึ้นจากต้นของธัญพืชอาทิ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ข้าวเจ้า ข้าวไรย์ ข้าวสาลี เป็น
ต้น ประโยชน์ของฟางมีมากมายตั้งแต่ใช้เป็นอาหารสัตว์ หัตถกรรม ไปจนถึงพลังงานทดแทนฟางข้า

ภาพที่ 2.9 ฟางข้าว


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559
2.2.2 กลุ่มไม้
2.2.2.1 ขี้เลื่อย
ขี้เลื่อย(อังกฤษ: Sawdust or wood dust) เป็นผลพลอยได้จากการเลื่อยไม้ มีลักษณะเป็น
ผงไม้ละเอียด เป็นของเสียในโรงงานที่เป็นพิษ โดยเฉพาะการทาให้เกิดอาการอักเสบ แต่ก็สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้อีกหลายประการ
ขี้เลื่อยมีสารอินทรีย์เป็นองค์ประกอบจานวนมาก (เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน) ที่มีหมู่โพลีฟี
นอลซึ่งสามารถจับกับโลหะหนักได้ด้วยกลไกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ขี้เลื่อยจากต้นพอบลาร์และต้น เฟอร์
ที่ทาปฏิกิริยากับโซเดียมไฮดรอกไซด์และโซเดียมคาร์บอเนต ดูดซับทองแดงและสังกะสีได้ดี ขี้เลื่อย
จากต้นมะพร้าวที่ทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟูริกดูดซับนิกเกิลและปรอทได้

ภาพที่ 2.10 ขี้เลื่อย


ทีม่ า http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559
10

2.2.3 กลุ่มหินและดิน
2.2.3.1ดินเหนียว
ดินเหนียว เป็นดินเนื้อละเอียด ซึ่งมีคุณสมบัติ ทึบน้า เหนียว เมื่อให้น้าในปริมาตรที่เหมาะสม
จะสามารถนามาปั้นรูปทรงต่าง ๆ ได้ เมื่อนาไปเผาจะแปรสภาพเป็นวัตถุแข็ง ไม่เปลี่ยนรูป

ภาพที่ 2.11 ดินเหนียว


ที่มา h t t p://w w w.i n f i n i t y d e s i g n.i n.t h
20/10/2559

2.3 วัสดุที่ใช้เป็นตัวประสาน
วัสดุประสานเป็นวัสดุที่ใช้ติดวัตถุชนิดเดียวกันหรือวัตถุต่างชนิดกันเข้าด้วยกันให้แน่นโดยผลิต
จากวัสดุธรรมชาติ เช่น กาวยางไม้หรือวัสดุสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ เช่น อีพอกซี่วัสดุประสาน
นาไปใช้ในงานการทาเครื่องเรือน อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมรถยนต์เครื่องบิน เครื่องอุปกรณ์
ไฟฟ้าอิเลคทรอนิกส์ฯลฯ
2.3.1 ชนิดและคุณสมบัติของวัสดุประสาน
วัสดุประสานแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
2.3.1.1 วัสดุประสานธรรมชาติที่ควรทราบมีดังนี้
(1) กาวไขสัตว์ ทามาจากหนังสัตว์และกระดูกของสัตว์ต่างๆ มีลักษณะเป็นวุ้น มีลักษณะใน
การจาหน่ายเป็นเม็ดและเกล็ด ต้องนาเม็ดหรือเกล็ดกาวมาผสมกับน้า ตั้งไฟเคี่ยวจนเหนียวจะติดและ
แข็งเมื่อน้าระเหยออกไป
11

ภาพที่ 2.12 กาวไขสัตว์


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559

(2) กาวเคซีน เป็นกาวที่ทามาจากนม มีคุณสมบัติดีกว่ากาวไขสัตว์สามารถยึดเกาะกับวัสดุ


ที่มีผิวพรุนได้ดีมีความต้านทานความชื้นสูง ผลิตออกมาในลักษณะผงเมื่อจะใช้ก็นามาผสมกับน้า เมื่อ
ใช้ติดวัสดุเข้าด้วยกันแล้วต้องรอให้น้าระเหยออกก่อน จึงจะมีกาลังยึดเกาะเต็มที่ใช้เวลาอย่างน้อย 24
ชั่วโมง

ภาพที่ 2.13 กาวเคซีน


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559

(3) กาวพืช ทามาจากแป้งหรือเดกซ์ทรีน มีความแข็งแรงในการยึดเกาะไม่มากนัก ส่วน


12

gum Arabic เป็นกาวพืชที่ละลายน้าได้ใช้ในการทากาวติดดวงตราไปรษณียากร เช่น กาวลาเท็ก กาว


แป้งเปียก

ภาพที่ 2.14 กาวแป้งเปียก


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559

(4) กาวยางตามธรรมชาติ มีคุณสมบัติความเหนียวติดแน่นดีมากสามารถนามาใช้โดยไม่ต้อง


เติมสารใดๆเพื่อเพิ่มคุณสมบัติเหมาะสมสาหรับการนาไปใช้งานประเภทต่างๆ กาวชนิดนี้มีจุดหลอม
ละลายต่าต้องใช้ในขณะที่ร้อนหรือผสมกับสารละลายก็ได้

ภาพที่ 2.15 กาวยางธรรมชาติ


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559
13

(5) โซเดียมซิลิเกต เป็นวัสดุประสานที่ใช้ในงานทั่วไป สามารถทนความร้อนได้ 260 องศา


เซลเซียส และมีราคาถูก

ภาพที่ 2.16 โซเดียมซิลิเกต


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559

2.3.2 วัสดุประสานสังเคราะห์เป็นกาวที่ผลิตขึ้นจากสารเคมี
โดยการสังเคราะห์เพื่อให้มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ ซึ่งในปัจจุบนั กาวประเภทนี้ได้รับความ
นิยมเป็นอย่างยิ่ง เพราะสะดวกต่อการใช้งาน แข็งแรงยึดติดได้ดีทนต่ออุณหภูมิทนความชื้น วัสดุ
ประสานสังเคราะห์แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือเทอร์โมเซตติ้งและเทอร์โมพลาสติกโดยมีชนิดที่ควรทราบ
ดังนี้
(2.3.2.1) ชนิดเทอร์โมเซตติ้ง
(ก) กาวอีพอกซี เป็นกาวที่ระเหยและแห้งเร็วที่มีคุณสมบัติเยี่ยมในการยึดเกาะ ใช้ได้กับวัสดุ
ที่มีรูพรุนและผิวเรียบรวมทั้งติดโลหะกาวชนิดนี้จะแข็งตัวโดยปฏิกิริยาทางเคมีโดยไม่ต้องใช้สารที่เป็น
ตัวทาละลายเมื่อแข็งตัวแล้วจะมีการหดตัวน้อยมาก กาวชนิดนี้ที่ผลิตออกมาจาหน่ายจะแบ่งเป็น 2
ส่วนคือ ส่ วนที่ ทาหน้าที่ ติดและส่วนที่จะทาให้แข็งตัวหรือแห้ง แต่ละชนิดบรรจุอยู่ในหลอดแบบ
เดียวกับยาสีฟัน เมื่อใช้ก็จะบีบออกจากหลอดเท่าๆกัน ผสมให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วจึงนามาทาที่
ผิววัสดุที่ต้องการจะให้ติดกัน เมื่อผสมกาวชนิดนี้แล้วควรใช้ให้หมดภายในเวลา 30 นาทีเพราะถ้าทิ้งไว้
จะแข็งใช้ไม่ได้
14

ภาพที่ 2.17 กาวอีพอกซี่


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559

(ข) กาวฟีโนลิก ผลิตออกมาในรูปของเหลวซึ่งบ่มโดยการระเหยของสารละลาย เพื่อให้ได้แรง


ยึดเกาะสูงสุด ในการใช้ต้องให้สารละลายระเหยก่อน จึงจะนาผิววัสดุที่ทากาวจนเกือบแห้งมาติดเข้า
ด้วยกันโดยใช้ความร้อนและแรงอัด
(ค) กาวซิลิโคน เป็นกาวที่ทนต่ออุณหภูมิสูงได้ดีที่สุดและยังมีคุณภาพดีภายใต้อุณหภูมิสูง 260
องศาเซลเซียส ทนความชื้นได้ดี

ภาพที่ 2.18 กาวซิลิโคน


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559

(ง) กาวรีซอร์ซินลั เรซิน เป็นกาวที่มีคุณภาพดีเยี่ยมสาหรับติดไม้หรือวัสดุผิวพรุนๆ แต่ไม่


เหมาะสาหรับวัสดุผิวเรียบ กันน้าได้ดีมาก
(จ) กาวซินเตติกรับเบอร์ กาวชนิดนี้ทนความชื้นได้ดีมีกาลังยึดเหนี่ยวพอสมควร
(ฉ) กาวยูเรีย กาวชนิดนี้คล้ายกับกาวฟีโนลิกเหมาะสาหรับใช้กับวัสดุที่มีผิวพรุนๆและมักใช้ใน
งานอุตสาหกรรมไม้อัดและติดไม้ในงานเครื่องเรือน ยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์เป็นกาวที่นิยมใช้มาก
(ช) กาวโพลีเอสเตอร์เรซิน ใช้ในปริมาณมากๆ เช่น ติดใยแก้วเป็นแผ่นชิ้นส่วนโครงสร้างใหญ่ๆ
ทาเรือลังใส่ของ ทาวัสดุฉนวนไฟฟ้า ติดตัวถังรถยนต์กล่องเครื่องมือเป็นต้น กาวชนิดนี้แข็งตัวโดย
ปฏิกิริยาเคมีมากกว่าการระเหยของสารระลายไม้มีการหดตัวเมื่อแห้ง
(ซ) อัลกาไลด์เรซิน เป็นกาวที่มีตัวสารละลายเพื่อ ให้เกิดความมัน ใช้กันมากในการประกอบ
ชิ้นส่วนไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ติดโลหะกับโลหะแต่ไม่ดีเท่ากับใช้อีพอกซี
15

(2.2) ชนิดเทอร์โมพลาสติก ที่ควรทราบมี 3 ชนิดคือ


(ก) ไวนีลเรซิน ใช้มากในอุตสาหกรรมกระจกนิรภัยรถยนต์ซึ่งใช้ติดกระจก 2 แผ่นประกบเข้า
ด้วยกันโดยใช้กาวไวนิลเรซินเป็นฟิล์มบางๆ ติดอยู่ระหว่างกลางการติดกาวชนิดนี้ใช้ความร้อนหรือ
สารละลายไวนีลอะซีเตต ไวนีลคลอไรด์และไวนีลบูไทรอลเหมาะสาหรับติดโลหะกับกระจก
(ข) เซลลูโลสดีริเวทีฟ ละลายในสารละลาย ทาให้ได้กาวที่แห้งเร็วเหมาะสาหรับใช้กับงานทั่วไป
เหมาะสาหรับติดไม้กับกระดาษ ทนความชื้นได้ดีแต่ไม่เหมาะสาหรับติดโลหะหรือกระจก
(ค)อะครีลิก เป็นวัสดุโปร่งแสงที่สุดในชนิดเทอร์โมพลาสติกสารชนิดนี้แข็งตัวด้วยปฏิกิริยาทาง
เคมีภายใน 2 - 3 วินาทีหรือ 1 นาทีใช้สาหรับติดโลหะกับกระจกโดยอัดเป็นฟิล์มบางๆ ทาในระหว่าง
วัสดุที่จะติดกัน

ภาพที่ 2.19 กาวอะครีลิก


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559
2.3.3 การเก็บรักษาวัสดุประสาน
วัสดุประสานธรรมชาติควรเก็บไว้ในที่แห้ง หลีกเลี่ยงให้ภาชนะบรรจุถูกแสงแดด และวัสดุ
ประสานสังเคราะห์เป็นสารระเหยและวัสดุติดไฟควรเก็บในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ห่างจากความ
ร้อนและเปลวไฟ ควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
16

ตารางที่ 2.4 การทดลองคุณสมบัติของกากกาแฟและวัสดุผสมจากธรรมชาติ

อุปกรณ์ อธิบาย
กระทะ

ไม้คน

ตะแกรงร่อน

แก้ว

วัสดุ อธิบาย
17

กากกาแฟ

ขี้เลื่อย

ดินเหนียว

ฟางข้าว

แกลบ
18

กาวลาเทค

วิธีการทดลอง อธิบาย
กระบวนการการเทียบปริมาตรของกาก
กาแฟและขี้เลื่อยหยาบเพื่อนามาผสม
กันในส่วนที่เท่ากัน

วัสดุ 3 ชนิด ได้แก่ ขี้เลื่อยหยาบ กาก


กาแฟ และกาวลาเทค ที่จะนามาผสม
กันในส่วนที่มีปริมาณเท่ากัน

แกลบ+กากกาแฟ+กาวลาเทค
19

วัสดุ 3 ชนิด ได้แก่ กระดาษ กากกาแฟ


และกาวลาเทค ที่ จ ะน ามาผสมกั น ใน
ส่วนที่มีปริมาณเท่ากัน

กระบวนการการนวดส่ว นผสมคือ ดิ น
และกากกาแฟ เพื่ อให้ เนื้ อ วัส ดุ เข้ า กั น
กลายเป็นเนื้อเดียวกัน

กระบวนการเทส่วนประกอบผสมกัน
20

กระบวบการผ่านการอบด้วยความร้อน
และตากแดด ตากลม

กระบวนการคัดแยกวัสดุและส่วนผสม
แต่ ล ะชนิ ด ออกมา โดยใช้ เ วลา 3
สัปดาห์

การผสมวัสดุ
1 กากกาแฟ+ขี้เลื่อยละเอียด+แป้ง
ข้าวโพด
2 กากกาแฟ+ขี้เลื่อยละเอียด+แป้ง
ข้าวโพด+เกลือ
ในปริมาณที่เท่ากัน

ที่มา: ตารางแสดงวัสดุและผลการทดลองกากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติ
20/10/2559

สรุปจากการทอลอง
จากผลการทดลองพบว่า กากกาแฟที่ผสมกับขี้เลื่อยทั้งหยาบและละเอียดโดยการผสมกาวลาเท
คลงไปในปริ มาณเท่าๆก้นจะทาให้วัสดุสองชนิดนี้ประสานเข้ากันได้ดีกว่า และกากกาแฟผสมกับ
กระดาษและกาวลาเทคทาให้การประสานกันดีขึ้น เมื่อเทียบกับการนากากกาแฟที่ผสมกับดินเหนียว
กากกาแฟที่ผสมกับดินเหนียวจะทาให้การขึ้นรูปแฉะกว่ากากกาแฟผสมขี้เลื่อยเพราะในเนื้อของดิน
เหนียวจะมีส่วนประกอบของน้า และเมื่อนาไปตั้งเปิดฝาทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องยังทาให้เกิด เชื้อราขึ้น
เนื่องจากการทาปฏิกิริยาของน้าและอากาศ และผลการทดลองของกากกาแฟผสมขี้เลื่อยละเอียดและ
แป้งข้าวโพดก็เกิดเชื้อราสีขาวและสีส้มเกาะอยู่บริเวณรอบนอก ส่วนกากกาแฟที่ผสมขี้เลื่อยละเอียด
และแป้งข้าวโพดผสมเกลือจะไม่เกิดเชื้อราขึ้น นั่นทาให้สังเกตุได้ว่าเกลือจะเข้าไปทาหน้าที่ในการดูด
21

ซับน้าจึงทาให้ไม่เกิดเชื้อรา หากนาไปอบด้วยความร้อนวัสดุที่เป็นตัวประสานจะละลายละไม่จับตัวกัน

2.5เชื้อรา
ราหรือเชื้อรา (mold หรือ mould) คือ จุลินทรีย์ในกลุ่มฟังไจ (fungi) ราเจริญได้ในภาวะที่มี
อากาศเท่านั้น (obligate arobe) จึงพบเจริญของราบริเวณผิวหน้าของอาหาร ราเป็นสาเหตุสาคัญที่
ทาให้อาหารเสื่อมเสีย (microbial spoilage) แต่ในอุตสาหกรรมอาหารก็นารามาใช้ประโยชน์เพื่อการ
หมัก (fermentation) เช่น ซีอิ้ว (fermented soy sauce) เต้าเจี้ยว มิโซะ เนยแข็ง เป็นต้น
ลักษณะพื้นฐานของราโดยทั่วไป
1.) เซลล์เป็นแบบยูแคริโอต (eukaryotic cell) (มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส) ในหนึ่งเซลล์อาจมีมากกว่า
หนึ่งนิวเคลียส
2.) ราสร้างอาหารเองไม่ได้ (heterotrop) ไม่มีคลอโรฟิลล์ ต้องได้รับพลังงานและสารอาหาร
จากแหล่งอาหารอื่นด้วยการออกซิไดส์สารอินทรีย์ ดูดซับสารจากสิ่งแวดล้อม หรือ
เป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ หรือเป็นปรสิต หรือ symbionts
3.) ผนั ง เซลประกอบด้ ว ย เซลลู โ ลส (cellulose) (พบเฉพาะใน zygomycota) หรื อ เฮมิ
เซลลูโลส (hemicellulose) หรือ ไคทิน (chitin)
4.) รามีลักษณะเป็นเส้นใย หรือไฮฟา (hypha) เส้นใยของรา มีหน้าที่ยึดติดกับอาหาร และ
สืบพันธุ์ รวมทั้งสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ คือสปอร์ (spore) เส้นใยของเชื้อราแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
เส้นใยแบบไม่มีผนังกั้น (non septate hypha) ซึ่งมีลักษณะเป็นท่อ ภายในมีนิวเคลียส และไซ
โตปพลาสซึมกระจายอยู่ทั่วไป เส้นใยแบบมีผนังกั้น (septate hyphae) ภายในเส้นใยมีผนังกั้น
เส้นใยของเชื้อรามีสีต่างๆ เช่น ขาว เขียว เหลือง แดง ฟ้า เส้นใยที่อยู่รวมกันเป็นกระจุกหรือ
กลุ่มเส้นใย เรียกว่า ไมซีเลียม (mycelium) กลุ่มของไมซีเลียมที่เจริญบนผิวหน้าของอาหาร เรียกว่า
โคโลนี (colony) สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

Penicillium
ภาพที่ 2.20 เชื้อรา
ที่มา http://www.foodnetworksolution.com
20/10/2559
22

2.5.1 การขยายพันธุ์ของรา
ราขยายพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ แต่ส่วนใหญ่จะขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
ด้วยการสร้างสปอร์ที่ไม่อาศัยเพศ ราขยายพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ สปอร์ของรามีสีต่างๆ เช่น สีเทา
เหลือง เขียว น้าเงิน แดง สปอร์ของราแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
2.5.1.1 สปอร์ทอี่ าศัยเพศ (sexual spore) ได้แก่
ไซโกสปอร์ (zygospore)
แอสโคสปอร์ (ascospore)
เบสิดิโอสปอร์ (basidiospore)
2.5.2.2 สปอร์ที่ไม่อาศัยเพศ (asexual spore) ได้แก่
คอร์ดิเนีย (codinia)
สปอร์แรนจิโอสปอร์ (sporangiospore)
2.5.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญของรา
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญของราในอาหารหรือในสภาวะแวดล้อมใดๆ ได้แก่
1.) ปริมาณน้า น้าเป็นปัจจัยสาคัญต่อการเจริญของรา ปริมาณน้าในอาหาร วัดได้ด้วยปริมาณ
ความชื้น (moisture content) และค่าวอเตอร์แอคทิวิตี้ (water activity) ราต้องการ
น้าเพื่อการเจริญน้อยกว่ ายีสต์ (yeast) และแบคทีเรีย (bacteria) จึงสามารถเจริญได้ในอาหารที่มี
ความชื้นและมี ค่าวอเตอร์แ อคทิ วิตี้ต้าค่าวอเตอร์แอคทิวิตีที่เหมาะสมกับการเจริญ ของเชื้อราอยู่
ระหว่าง 0.98-0.99 แต่ค่าวอเตอร์แอคทิวิตี้ต่าสุด (minimum aw) ที่เชื้อราเจริญได้คือ 0.62 ดังนั้นใน
การถนอมอาหาร (food preservation) ด้วยการทาแห้ง (dehydration) จึงลดปริมาณวอเตอร์แอคทิ
วิตี้ในอาหารให้ต่ากว่าค่าดังกล่าว เพื่อป้องกันการเจริญของเชื้อรา
2.) อุณหภูมิ ราส่วนใหญ่เจริญได้ที่อุณหภูมิในช่วง 25-30 องศาเซลเซียส
3.) ความต้องการออกซิเจน ราส่วนใหญ่ต้องการออกซิเจนเพื่อการเจริญ จึงพบราที่บริเวณ
ผิวหน้าของอาหารการเก็บรักษาอาหารในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน หรือสภาวะสุญญากาศ (vacuum)
เช่น การบรรจุในสุญญากาศ (vacuum packaging) จะช่วยป้องกันการเจริญของเชื้อราได้
4.) สารอาหาร ราใช้อาหารได้หลายชนิด ทั้งโปรตีน (protein) คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate)
ลิพิด (lipid) ทั้งที่มีโครงสร้างอย่างง่าย และที่มีโครงสร้างซับซ้อน เพราะราสามารถสังเคราะห์เอนไซม์
(enzyme) ได้หลายชนิด เช่น อะไมเลส (amylase) โปรตีเอส (protease) ลิเพส (lipase) ราจึงเป็น
จุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของการเสื่อมเสียของอาหาร (food spoilage) แทบทุกชนิด
บทบาทของราในอาหาร
รา เป็นจุลินทรีย์ ที่มีบทบาทสาคัญในอาหาร
1รา เป็นสาเหตุทาให้อาหารเสื่อมเสีย (food spoilage)
2. ราสร้าง สารพิษจากรา (mycotoxin) ซึ่งเป็นอันตายในอาหาร ราบางชนิดสร้างสารพิษ เช่น
อะฟลาทอกซิน ( aflatoxin) เป็นสารก่อมะเร็ง
3. ราบางชนิดใช้ประโยชน์ในการหมัก (fermentation) อาหาร ซึ่งเป็นการถนอมอาหาร (food
preservation) อาหารหมัก (fermented food) จากเชื้อรา ได้แก่
ซีอิ๊วแบบหมัก (fermented soy sauce)
23

เต้าเจี้ยว มิโซะ (miso)


เนยแข็ง (cheese)
2.6 ผลิตภัณฑ์ที่ใช้สาหรับตกแต่งภายใน
2.6.1.ประเภทเครื่ อ งเรื อ น (furniture)หมายถึ ง ค าว่ า เครื่ อ งเรื อ นนั้ น เป็ น ค าที่ ม าจากค า
ว่า เฟอร์นิเจอร์ (Furniture) นั่นเองค่ะ หมายถึง วัตถุ สิ่งของ ที่มนุษยฺ์ คิดค้นขึ้นเพื่อรองรับกิจกรรม
และเพื่ออานวยความสะดวกสบายภายในบ้าน,ที่ทางาน หรือที่สาธารณะ อาทิเช่น ออกแบบมาเพื่อใช้
ในการนอน,การนั่ง,การรับประทานอาหาร,การทางาน,การเก็บข้าวของเครื่องใช้ ฯลฯ ซึ่งเครื่องเรือน
ต่าง ๆ ที่ว่านี้บางครั้งก็ออกแบบมาเพื่อใช้กับคน ๆ เดีย ว หรือออกแบบมาเพื่อใช้กับกลุ่มคน อีกทั้งยัง
สามารถทาได้จากวัสดุหลายหลากชนิดด้วยกัน เช่น โลหะ,ไม้,พลาสติก ฯลฯ จึงถือได้ว่า เครื่องเรือน
นั้น เป็นสิ่งที่เชื่อมต่อระหว่างผู้อยู่อาศัยกับตัวบ้าน หรือระหว่างผู้อยู่อาศัยกับสถาปัตยกรรมนั่นเอง
ทั้งนี้เพื่อเน้นประโยชน์ใช้สอยและความสวยงามเป็นหลัก ได้แก่ เก้าอี้ , โต๊ะ, ตู้, เตียงนอน,ชั้นวางของ,
โคมไฟ ฯลฯ

ภาพที่ 2.21 เฟอร์นิเจอร์


ที่มา: www.google.co.th20/10/2559

2.6.2 ประเภทสิ่งประดับ (Garnish) หมายถึงสิ่งทีแ่ ทนความรู้สึก แทนอารมณ์ แทนความคิด ที่


แต่ละคนสะท้อนออกมา เช่น วอล์เปเปอร์,(ภาพติดพนัง),รูปปั้น,รูปแกะสลัก,โบราณวัตถุ ฯลฯ
2.6.3 ประเภทสิ่งสร้างความบันเทิง (Creation Entertainment )หมายถึง สิ่งทีท่ าให้เกิดความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน เช่น ภาพยนตร์, โทรทัศน์, วิทยุฯลฯ
24

ภาพที่ 2.22 วิทยุ


ที่มา: www.google.co.th 20/10/2559
2.6.4 ประเภทของตกแต่งเพิ่มความสวยงาม (Type of decoration adds beauty.)
หมายถึงสิ่
งที่ใช้ในการตกแต่งที่เพิ่มเข้าไปในตัวสิ่งก่อสร้างหรือโครงสร้างที่อาจทาด้วยพลาสติก ไม้ โลหะ หรือหิน
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตกแต่งเพื่อให้สถานที่นั้นมีความน่าอยู่มองแล้วสบายตา เช่น

ภาพที่ 2.23 ที่เสียบกระดาษทิชชู ,ที่แขวนสร้อย


ที่มา: www.google.co.th20/10/2559
25

ภาพที่ 2.24 นาฬิกาติดผนัง


ที่มา: www.google.co.th20/102559

ภาพที่ 2.25 กรอบรูปวอลเปเปอร์


ที่มา: www.google.co.th20/10/2559
26

ภาพที่ 2.26 โคมไฟรีไซเคิล


ที่มา: www.google.co.th20/10/2559

ภาพที่ 2.27 วอลเปเปอร์ติดผนัง


ที่มา: www.google.co.th20/10/2559

2.7 กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทของตกแต่งและแบบต่างๆ
การนาเอากากกาแฟมาผสมกับวัสดุต่างๆแล้วนามาอัดจากการที่กากากาแฟสามารถขึ้นรูปในลักษณะ
วัสดุอัดแผ่นแล้วนั้น การนากากาแฟมาพัฒนาให้เป็นวัตถุดิบสาหรับงานออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ตกแต่ง
ภายในบ้าน เช่นการนามาตกแต่งเป็นกรอบรู ปเพื่อเพิ่มความสวยงามและเป็นความคิดสร้างสรรค์ที่ดี
เช่น
27

ภาพที่ 2.28 การทากรอบรูปจากโมเสค


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th
20/10/2559

ภาพที่ 2.29 การทาแผ่นรองแก้วน้าจากโมเสค


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th20/10/2559

2.8 หลักการออกแบบ
ความหมายการออกแบบ
การออกแบบ หมายถึง การรู้จักวางแผนจัดตั้งขั้นตอน และรู้จักเลือกใช้วัสดุวิธีการเพื่อทา
ตามที่ต้องการนั้น โดยให้สอดคล้องกับลักษณะรูปแบบและคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดตามความคิด
สร้างสรรค์ และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมา
เช่น เราจะทาเก้าอี้นั่งซักตัวจะต้องวางแผนไว้เป็นขั้นตอนโดยต้องเริ่มเลือกวัสดุที่จะใช้ทาเก้าอี้
นั้นจะใช้วัสดุอะไรที่เหมาะสม วิธีการต่อยึดนั้นควรใช้กาว ตะปูนอต หรือใช้ข้อต่อแบบใด คานวณ
28

สัดส่วนการใช้งานให้เหมาะสม ความแข็งแรงของเก้าอี้นั่งมากน้อยเพียงใด สีสันควรใช้สีอะไรจึงจะ


สวยงาม และทนทานกับการใช้งาน เป็นต้น

2.8.1 หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
สิ่งทีม่ นุษย์ค้นคว้าออกแบบ ประดิษฐ์ขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกสบายในการดารงชีพการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ หมายถึง กระบวนการค้นคว้า คิดออกแบบ แก้ไขและปรับปรุงเพื่อให้ได้มาซึ่ง
ผลิตภัณฑ์ที่ดีขนึ้
การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หมายถึงอะไร
การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางด้านอุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อมต่างๆที่
เกี่ยวกับอุตสาหกรรม โดยมีการวิเคราะห์หาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับหน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ ข้อมูล
เกี่ยวกับตลาดแล้วนามาปรับปรุงผลิตภัณฑ์เพื่อผลิตเป็นจานวนมากๆให้อยู่ในความนิยมของตลาดใน
ราคาพอสมควร
ปัจจัยที่เกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์
การออกแบบผลิตภัณฑ์มีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 4 ประการคือ
(1.) การออกแบบที่สัมพันธ์กับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
(2.) การออกแบบที่สัมพันธ์กับวัสดุและกระบวนการผลิต
(3.) การออกแบบที่สัมพันธ์กับความต้องการของผู้บริโภค
3.1ความต้องการที่สอดคล้องกับความเป็นอยู่
3.2ความสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
(4.) การออกแบบที่มีคุณค่าทางความสวยงาม
การออกแบบผลิตภัณฑ์มีปัจจัย (Design factors) มากมายทีน่ ักออกแบบที่ต้องคานึงถึง
แต่ในที่นี้จะขอกล่าวเพียงปัจจัยพื้นฐาน 10 ประการ ที่นยิ มใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาสร้างสรรค์
ผลงานเชิงอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจัยดังกล่าวเป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ และเป็นตัวกาหนด
องค์ประกอบของงานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สาคัญ ได้แก่
2.8.1.1 หน้าที่ใช้สอย (Function)
ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดจะต้องมีหน้าที่ใช้สอยถูกต้องตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือสามารถตอบสนอง
ประโยชน์ใช้สอยตามที่ผู้บริโภคต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในหนึ่งผลิตภัณฑ์นั้นอาจมีหน้าที่ใช้
สอยอย่างเดียวหรือหลายหน้าที่ก็ได้ แต่หน้าที่ใช้สอยจะดีหรือไม่นั้น ต้องใช้งานไประยะหนึ่งถึงจะ
ทราบข้อบกพร่อง
2.8.1.2 ความสวยงามน่าใช้ (Aesthetics or sales appeal)
ผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมานั้นจะต้องมีรูปทรง ขนาด สีสันสวยงาม น่าใช้ ตรงตามรสนิยม
ของกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย เป็นวิธีการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมและได้ผลดี เพราะความ
สวยงามเป็นความพึงพอใจแรกที่คนเราสัมผัสได้ก่อนมักเกิดมาจากรูปร่างและสีเป็นหลัก
2.8.1.3 ความสะดวกสบายในการใช้ (Ergonomics)
การออกแบบผลิตภัณฑ์นั้นต้องเข้าใจกายวิภาคเชิงกลเกี่ยวกับขนาด สัดส่วน ความสามารถและ
ขีดจากัดที่เหมาะสมสาหรับอวัยวะต่างๆ ของผู้ใช้ การเกิดความรู้สึกที่ดีและสะดวกสบายในการใช้
29

ผลิตภัณฑ์ ทั้งทางด้านจิตวิทยา(Psychology)และสรีระวิทยา(Physiology) ซึ่งแตกต่างกันไปตาม


ลักษณะเพศ เผ่าพันธุ์ ภูมิลาเนา และสังคมแวดล้อมที่ใช้ผลิตภัณฑ์นั้นเป็นข้อบังคับในการออกแบบ
การวัดคุณภาพทางด้าน กายวิภาคเชิงกล(ergonomics) พิจารณาได้จากการใช้งานได้อย่าง
กลมกลืนต่อการสัมผัส ตัวอย่างเช่น การออกแบบเก้าอี้ต้องมีความนุ่มนวล มีขนาดสัดส่วนที่นั่งแล้ว
สบาย โดยอิงกับมาตรฐานผูใ้ ช้ของชาวตะวันตกมาออกแบบเก้าอี้สาหรับชาวเอเชีย เพราะอาจเกิด
ความไม่พอดีหรือไม่สะดวกในการใช้งาน ออกแบบปุ่มบังคับ ด้ามจับของเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ
ที่ผู้ใช้ต้องใช้ร่างกายไปสัมผัสเป็นเวลานาน จะต้องกาหนดขนาด (dimensions) ส่วนโค้ง ส่วนเว้า
ส่วนตรง ส่วนแคบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างพอเหมาะกับร่างกายหรืออวัยวะของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์
นั้นๆ เพื่อทาให้เกิดความถนัดและความสะดวกสบายในการใช้ รวมทั้งลดอาการเมื่อยล้าเมื่อใช้ไป
นานๆ
2.8.1.4 ความปลอดภัย (Safety)
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกในการดารงชีพของมนุษย์ มีทงั้ ประโยชน์และ
โทษในตัว การออกแบบจึงต้องคานึงถึงความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของผู้บริโภคเป็นสาคัญ
ไม่เลือกใช้วัสดุ สี กรรมวิธีการผลิต ฯลฯ ที่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้หรือทาลายสิ่งแวดล้อม ถ้าหลีกเลี่ยง
ไม่ได้ต้องแสดงเครื่องหมายเตือนไว้ให้ชัดเจนและมีคาอธิบายการใช้แนบมากับผลิตภัณฑ์ด้วย
ตัวอย่างเช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ควรมีส่วนป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้จาก
ความเมื่อยล้าหรือพลั้งเผลอ เช่น จากการสัมผัสกับส่วนกลไกทางาน จากความร้อน จากไฟฟ้าดูด
2.8.1.5 ความแข็งแรง (Construction)
ผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมานั้นจะต้องมีความแข็งแรงในตัว ทนทานต่อการใช้งานตามหน้าที่
และวัตถุประสงค์ที่กาหนดโครงสร้างมีความเหมาะสมตามคุณสมบัติของวัสดุ ขนาด แรงกระทาใน
รูปแบบต่างๆ จากการใช้งาน ตัวอย่างเช่น การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ที่ดีต้องมีความมั่นคงแข็งแรง
ต้องเข้าใจหลักโครงสร้างและการรับน้าหนัก ต้องสามารถควบคุมพฤติกรรมการใช้งานให้กับผู้ใช้ด้วย
เช่น การจัดท่าทางในการใช้งานให้กับผู้ใช้ดว้ ย เช่น การจัดท่าทางในการใช้งานให้เหมาะสม
สะดวกสบาย ถูกสุขลักษณะ และต้องรู้จักผสมความงามเข้ากับชิ้นงานได้อย่างกลมกลืน เพราะ
โครงสร้างบางรูปแบบมีความแข็งแรงดีมากแต่ขาดความสวยงาม จึงเป็นหน้าที่ของนักออกแบบที่
จะต้องเป็นผู้ผสานสองสิ่งเข้ามาอยู่ในความพอดีให้ได้ นอกจากการเลือกใช้ประเภทของวัสดุ
โครงสร้างที่เหมาะสมแล้ว ยังต้องคานึงถึงความประหยัดควบคู่กันไปด้วย
2.8.1.6 ราคา (Cost)
ก่อนการออกแบบผลิตภัณฑ์ควรมีการกาหนดกลุ่มเป้าหมายทีจ่ ะใช้ว่าเป็นกลุ่มใด อาชีพ
อะไร ฐานะเป็นอย่างไร ซึ่งจะช่วยให้นักออกแบบสามารถกาหนดแบบผลิตภัณฑ์และประมาณราคา
ขายให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายได้ใกล้เคียงมากขึ้น การจะได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีราคาเหมาะสมนั้น
2.8.1.7.วัสดุ (Materials)
การออกแบบควรเลือกวัสดุที่มีคุณสมบัติด้านต่างๆ ได้แก่ ความใส ผิวมันวาว ทนความร้อน
ทนกรดด่างไม่ลื่น ฯลฯ ให้เหมาะสมกับหน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์นั้นๆ นอกจากนั้นยังต้องพิจารณา
ถึงความง่ายในการดูแลรักษา ความสะดวกรวดเร็วในการผลิต สั่งซื้อและคงคลัง รวมถึงจิตสานึกใน
การรณรงค์ช่วยกันพิทักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยการเลือกใช้วัสดุที่หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้ (recycle) ก็
30

เป็นสิ่งที่นักอกแบบต้องตระหนักถึงในการออกแบบร่วมด้วย เพื่อช่วยลดกันลดปริมาณขยะของโลก
2.8.1.8 กรรมวิธีการผลิต (Production)
ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดควรออกแบบให้สามารถผลิตได้ง่าย รวดเร็ว ประหยัดวัสดุ ค่าแรงและ
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ แต่ในบางกรณีอาจต้องออกแบบให้สอดคล้องกับกรรมวิธีของเครื่องจักรและอุปกรณ์ทมี่ ี
อยู่เดิม และควรตระหนักอยู่เสมอว่าไม่มีอะไรที่จะลดต้นทุนได้รวดเร็วอย่างมีประสิทธิภาพ มากกว่า
การประหยัดเพราะการผลิตทีละมากๆ
2.8.1.9 การบารุงรักษาและซ่อมแซม (Maintenance)
ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดควรออกแบบให้สามารถบารุงรักษา และแก้ไขซ่อมแซมได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก
เมื่อมีการชารุดเสียหายเกิดขึ้น ง่ายและสะดวกต่อการทาความสะอาดเพื่อช่วยยืดอายุการใช้งานของ
ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งควรมีค่าบารุงรักษาและการสึกหรอต่า ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องมือ
เครื่องจักรกล เครื่องยนต์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ที่มีกลไกภายในซับซ้อน อะไหล่บางชิ้นย่อมมี
การเสื่อมสภาพไปตามอายุการใช้งานหรือจากการใช้งานที่ผิดวิธี การออกแบบที่ดีนั้นจะต้องศึกษาถึง
ตาแหน่งในการจัดวางกลไกแต่ละชิ้น เพื่อที่จะได้ออกแบบส่วนของฝาครอบบริเวณต่างๆ ให้สะดวก
ในการถอดซ่อมแซมหรือเปลีย่ นอะไหล่ได้โดยง่าย
2.8.1.10 การขนส่ง (Transportation)
ผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบควรคานึงถึงการประหยัดค่าขนส่ง ความสะดวกในการขนส่ง
ระยะทาง เส้นทางการขนส่ง (ทางบก ทางน้าหรือทางอากาศ ) การกินเนื้อที่ในการขนส่ง (มิติความจุ
กว้าง ´ ยาว ´ สูง ของรถยนต์ส่วนบุคคล รถบรรทุกทั่วไป ตู้บรรทุกสินค้า ฯลฯ) ส่วนการบรรจุหีบห่อ
ต้องสามารถป้องกันไม่ให้เกิดการชารุดเสียหายของผลิตภัณฑ์ได้ง่าย กรณีที่ผลิตภัณฑ์ที่ทาการ
ออกแบบนั้นมีขนาดใหญ่ อาจต้องออกแบบให้ชิ้นส่วนสามารถถอดประกอบได้ง่าย

งานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ดีจะต้องผสมผสานปัจจัยต่างๆ ทั้งรูปแบบ(form) ประโยชน์ใช้


สอย(function) กายวิภาคเชิงกล(ergonomics)และอื่นๆ ให้เข้ากับวิถีการดาเนินชีวิต แฟชั่น หรือ
แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นกับผู้บริโภคเป้าหมายได้อย่างกลมกลืนลงตัวมีความสวยงามโดดเด่น มีเอกลักษณ์
เฉพาะตัว ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางการตลาด และความเป็นไปได้ในการผลิตจานวนมาก ส่วนการให้
ลาดับความสาคัญของปัจจัยต่างๆ ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์และความซับซ้อนของผลิตภัณฑ์นั้นๆ เช่น การ
ออกแบบเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้าตามแฟชั่น อาจพิจารณาที่ประโยชน์ใช้สอย ความสะดวกสบายใน
การใช้ และความสวยงาม เป็นหลัก แต่สาหรับการออกแบบยานพาหนะ เช่น จักรยาน รถยนต์
หรือเครื่องบิน อาจต้องคานึงถึงปัจจัยดังกล่าวครบทุกข้อหรือมากกว่านั้น
2.8.2 หลักการออกแบบEco Design
Eco Design หรือชื่อเต็มๆ ว่า Ecological Design คือการออกแบบที่นาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้
โดยที่การใช้นั้น ทาให้เกิดมลภาวะกลับเข้าสู่ระบบนิเวศน์น้อยที่สุด ในอุดมคติแล้วหากทรัพยากรที่ถกู
ใช้แล้วนั้น สามารถย่อยสลายโดยธรรมชาติเช่นเดียวกับวงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายได้ เป็นสิ่งที่ดี
ที่สุด แต่ในความเป็นจริง หากทรัพยากรเหล่านั้นสามารถนากลับมาใช้ซ้าใหม่ได้บ้าง ย่อยสลายตาม
ธรรมชาติได้บ้าง ก็ถือว่าได้บรรลุ วัตถุประสงค์ ของ Eco Design แล้ว ส่วนจะได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับเงื่อนไขหลากหลายประการ
31

หลักการพื้นฐานของการทา EcoDesignคือการประยุกต์หลักการของ 4R ในทุกช่วงของวงจรชีวิต


ผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบ ช่วงของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ที่ว่านี้ ได้แก่ ช่วงการวางแผน
ผลิตภัณฑ์ (Planning Phase) ช่วงการออกแบบ (Design phase) ช่วงการผลิต (Manufacturing
phase) ช่วงการนาไปใช้ (Usage phase) และช่วงการทาลายหลังการใช้เสร็จ (Disposal phase)
สาหรับหลักการของ 4R ได้แก่ การลด (Reduce) การใช้ซ้า (Reuse) การนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle)
และ การซ่อมบารุง (Repair) ซึ่งทั้ง 4R จะมีความสัมพันธ์ กับแต่ละช่วงของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์

ภาพที่ 2.30 eco design4r


ทีม่ า: www.google.co.th20/10/2559
การลด (Reduce)หมายถึงการลดการใช้ทรัพยากรในช่วงต่าง ของวงจรชีวิต ซึ่งสามารถเกิด
ได้ในทุกช่วงของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ โดยมากจะพบในช่วงการออกแบบ ช่วงการผลิต และ การ
นาไปใช้ อาทิเช่น การลดการใช้ทรัพยากรในการออกแบบ การออกแบบเพื่อลดอัตราการใช้วัตถุดิบใน
กระบวนการผลิต การออกแบบเพื่อลดอัตราการใช้พลังงานในกระบวนการผลิต และ การออกแบบ
เพื่อลดอัตราการใช้พลังงานในระหว่างการใช้งาน เป็นต้น
การใช้ซ้า (Reuse)หมายถึงการนาผลิตภัณฑ์หรือ ชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่านช่วงการ
นาไปใช้เรียบร้อยแล้ว และพร้อมที่จะเข้าสูช่ ่วงของการทาลาย กลับมาใช้ใหม่ ทั้งที่เป็นการใช้ใหม่ใน
ผลิตภัณฑ์เดิม หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ก็ตาม ได้แก่ การออกแบบเพื่อการนากลับมาใช้ซ้า (Design for
Reuse) เช่นการออกแบบให้ผลิตภัณฑ์แต่ละรุ่นมีชิ้นส่วนบางชิ้นส่วนที่ใช้ร่วมกันได้ เมื่อรุ่นแรกหยุด
การผลิตแล้วยังสามารถเก็บคืนและนาบางชิ้นส่วนมาใช้ในการผลิตรุ่นต่อไปได้ เป็นต้น
การนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle)หมายถึงการนาผลิตภัณฑ์ หรือชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ ที่อยู่
ในช่วงของการทาลาย มาผ่านกระบวนการแล้ว นากลับในใช้ใหม่ตั้งแต่ช่วงของการวางแผน การ
ออกแบบ หรือ แม้แต่ช่วงของการผลิต ได้แก่ การออกแบบให้ถอดประกอบได้ง่าย (Design for
Disassembly) การออกแบบเพื่อการนากลับมาใช้ใหม่ (Design for Recycle) เช่นการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์โดยใช้วัตถุดิบพลาสติกหรือ กระดาษที่ง่ายต่อการนากลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น
การซ่อมบารุง (Repair)หมายถึงการออกแบบให้ง่ายต่อการซ่อมบารุง ทั้งนี้มีแนวคิดที่ว่า
หากผลิตภัณฑ์สามารถซ่อมบารุงได้ง่ายจะเป็นการยืดอายุช่วงชีวิตของการใช้งาน (Extended Usage
Life) ซึ่งท้ายทีส่ ุดสามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ การซ่อมบารุงนี้เกิดภายในช่วงชีวิตของการ
ใช้งานเท่านั้น แตกต่างจากการใช้ซ้า (Reuse) ซึ่งเป็นการนาชิ้นส่วนหรือผลิตภัณฑ์ที่เสร็จจากช่วงการ
ใช้งานแล้วมาใช้อีกครั้ง การซ่อมบารุงนี้ได้แก่ การออกแบบให้ง่ายต่อการซ่อมบารุง (Design for
32

serviceability / Design for maintainability) เช่นการออกแบบให้เปลี่ยนอะไหล่ได้ง่าย เป็นต้น


นวัตกรรมในการออกแบบ
ความสาคัญของนวัตกรรมหรือไม่คุณรู้สึกว่านวัตกรรมมีความสาคัญต่ออนาคตของโลกระบวน
การของนวัตกรรมเป็นเรื่องยากที่จะจัดการ และแน่นอนมันมีความเสี่ยง มีค่าใช้จ่ายที่สงู และที่สาคัญ
คาดเดาไม่ได้ ผู้นาบางคนมองนวัตกรรมไปที่บริษัทชั้นนาต่างๆ อาทิ Apple หรือ P&G และคิดว่า
"เราไม่ได้มคี นหรือทรัพยากรเช่นบริษัทชั้นนาทั้งหลายเหล่านี้ เราคงไม่สามารถทาอะไรที่มีความวิเศษ
แปลกใหม่ได้" และไม่ค่อยมีคนให้ความสาคัญกับนวัตกรรมที่มีในท้องถิ่นเนื่องจากยึดติดกับเครื่องไม้
เครื่องมือที่ทันสมัย

2.9 แรงบันดาลใจในการออกแบบ
2.9.1 แรงบันดาลใจจากธรรมชาติการเลือกแรงบันดาลใจในการออกแบบการเลือกแรง
บันดาลใจจึงใช้กระบวน การคิดและวิเคราะห์ แรงบันดาลใจจากธรรมชาติโดยหารูปแบบรูปทรงมาใช้
ในการออกแบบ เพื่อให้ตรงตามกลุ่มเป้าหมายที่ชื่นชอบงานที่ชอบอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยใช้
กระบวนการคิดสร้างสรรค์
2.9.2แรงบันดาลใจจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมนุษย์คิดค้นและประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ส่วนใหญ่
ล้วนมาจากสิ่งที่เคยพบเห็น หรือสิ่งที่เกิดจากการแก้ไขปัญหาของสิ่งนั้น โดยใช้แรงบันดาลใจจาก
รูปทรงจากสิ่งที่เคย พบเจอมาแล้วนา มาประยุกต์ใช้ความสวยงามเสริมเข้าไปเพื่อให้เกิดความโดดเด่น
ของผลิตภัณฑ์เนื่องจากกลุ่มผู้ใช้สอยที่ชื่นชอบผลิตภัณฑ์ทมี่ ีความเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ดั้งนั้นการ
เลือกแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ โดยหารูปแบบรูปทรงมาใช้ในการออกแบบ เพื่อให้ตรงตาม
กลุ่มเป้าหมายเพราะธรรมชาติมีความสมดุลของทัศนียภาพที่มีองค์ประกอบที่สมบูรณ์ไม่ว่า จะเป็นตึก
ราบ้านช่อง หรือเมืองใหญ่ๆ มนุษย์มักจะนา ความงามของธรรมชาติมาตกแต่งสถานที่ เช่น การนา
ต้นไม้นาๆ ชนิดดอกไม้หญ้าและนามาประดับตกแต่งเพื่อความสวยงามดังนั้นการเลือกใช้แรงบันดาลใจ
จากธรรมชาติผู้ออกแบบได้วิเคราะห์แล้วว่า การใช้แรงบันดาลใจจากดอกไม้นามาคลี่คลายในงาน
ออกแบบซึ่งดอกไม้เป็นส่วนหนึง่ ของธรรมชาติที่ใกล้ชิดกับ มนุษย์มากทีส่ ุดและตรงตามกลุ่มผูใ้ ช้งาน
2.10 กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียง
2.10.1 ข้อมูลจากวิทยานิพนธ์ เชื้อเพลิงอัดแท่งจากกากกาแฟ (BRIQUETTE FUEL MADE OF
COFFEE RESIDUE) ของ นพพร สุดใจธรรม ของมหาวิทยาลัยมหิดล
33

ภาพที่ 2.31 เชื้อเพลิงอัดแท่งจากกากกาแฟ


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th22/10/2559

2.10.2 โครงการออกแบบโคมไฟจากกากกาแฟ โดยใช้เทคนิคทีใ่ ช้ส่วนผสมระหว่างกากกาแฟกับ


แป้งตัวประสาน (ชนิดเดียวกันกับเรซิ่น) พิจยั สุข แถวเที่ยง มหาวิทยาลัยศิลปากร

ภาพที่ 2.32 การออกแบบโคมไฟจากกากกาแฟ


ที่มา http://www.infinitydesign.in.th22/10/2559
ข้อมูลจากเว็ปไซค์Thailand Creative & Design Center (TCDC)จากบทความเรื่อง “ JAVE core
นวัตกรรมวัสดุ”กากกาแฟ”เพื่อความยั่งยืนของวัฒนธรรมร้านกาแฟ”
ผลจากการศึกษาพบว่า ผศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต ได้ทาการร่วมมือกับสตาร์บัค เพื่อทาวิจัย
ในการขึ้นรูปวัสดุเหลือใช้ จากกากกาแฟเหลือทิ้ง และนาไปออกแบบเฟอร์นิเจอร์ภายในร้านสตาร์บัค
เพื่อให้เป็นวัสดุใหม่สาหรับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ จนสามารนาไปขึ้นได้สาเร็จ ในรูปแบบ แผ่นเรียบ
ซึ่งสามารถนาไปใช้ในงาน ก่อสร้าง วัสดุทดแทนไม้ได้ หรือมีชื่อเรียกว่า Java core cและนาไป
ออกแบบเป็นเฟอร์นิเจอร์เก้ากี้ให้แก่ร้านสตาร์บัค
34

ภาพที่ 2.33 การออกแบบเก้าอี้ร้านกาแฟของTCDC


ที่มา http://www.tcdc.or.th22/10/2559

แกลบ ไม้อดั จากแกลบ มีลวดลายที่สวยงาม มีความแข็งแรง ทนทาน ทนความร้อนได้ดี ทนต่อ


สภาพความชื้นสูง ได้ออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น นาฬิกา แจกัน ถาดเชิงเทียน และภาพวาด

ภาพที่ 2.34 นาฬิกาแกลบ


ที่มา https://www.google.co.th23/10/2559

ฟางข้าว มีสสี ันที่สวยงาม และมีความหลากหลายของสีฟางข้าว และมีความทนทาน สามารถนามา


ประกอบเป็นวัสดุใช้สอย เช่น ถาดผลไม้ และโคมไฟ

ภาพที่ 2.35 ถังจากการอัดฟางข้าว


ทีมา: https://www.google.co.th 23/10/2559
บทที่ 3
การวิเคราะห์ข้อมูลในการออกแบบ
3.1 วิเคราะห์และสรุปผลคุณสมบัติกากกาแฟผสมขี้เลือ่ ย
จากการศึกษาผลการทดลองกากกาแฟผลสมขี้เลื่อยโดยใช้กาวลาเทคเป็นตัวประสานพบว่าวัสดุทั้งสอง
ชนิดนี้มีการประสานเข้ากันได้เป็นอย่างดีกว่าวัสดุชนิดอื่นที่ได้ทดลองมาโดยทาให้ได้ข้อสรุปว่าขี้เลื่อยแห้งเป็น
วัสดุที่เข้าไปดูดซับน้าจากส่วนต่างๆของวัสดุจึงทาให้ไม่เกิดเป็นเชื้อราเพราะเชื้อราที่จะเกิดขึ้นได้นั้นต้องมี
อากาศและส่วนผสมของน้าเป็นตัวประกอบ
3.1.1 ตารางแสดงผลระยะเวลาการทดลอง
รูปภาพ ระยะเวลา การเปลี่ยนแปลง
1 ชั่วโมง ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

1 สัปดาห์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

1 เดือน ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

ที่มา : ตารางแสดงผลการเปลี่ยนแปลงของกากกาแฟผสมขี้เลื่อย 12/12/2559


36

จากตาราง 3.1.1 พบว่าไม่ว่าจะทิ้งกากกาแฟผสมขี้เลื่อยไว้นานแค่ไหนถ้าหากไม่โดนน้าหรือมีส่วนผสม


นองน้าเข้ามาเกี่ยวข้องก็จะไม่ทาให้เกิดเชื้อราแน่นอน
3.2 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ของกากกาแฟผสมวัสดุจากธรรมชาติ
จากการศึกษาและทดลองวัสดุธรรมชาติที่นามาผสมกับกากกาแฟพบว่า วัสดุแต่ละประเภทมีความยึด
เกาะแตกต่างกัน ผ่านกระบวนการต่างๆ เช่นการนาวัสดุมาทดลองด้วยการอบให้ความร้อน ตากแดด และตา
กลมทิ้งไว้ จะสังเกตเห็นว่าการให้ความร้อนจะทาให้วัสดุประสานละลายไม่คงสภาพทาให้วัสดุมีรอยแตก ส่วน
วัสดุที่เหลือจากการเกษตร เช่น ฟางข้าวและแกลบเมื่อนามาผสมกับกากกาแฟและกาวแล้วทดลองปั้นปรากฏ
ว่าปั้นไม่ติดกันส่งผลให้วสั ดุมรี อยแตก จึงเลือกใช้วัสดุที่สามารถประสานเข้ากับกากกาแฟมากที่สุด และมีมาก
พอที่จะผลิตอีกทั้งยังเป็นวัสดุที่สามารถหาได้ในท้องถิ่น ตามโรงงานอุตสาหกรรม
3.3 การวิเคราะห์วัสดุประสาน
จากการศึกษาพบว่าวัสดุประสานที่ดีจะยึดติดวัสดุเข้าด้วยกันอย่างแน่นหนาแต่ตัวประสานเคมีจะมีราคา
สูงจึงทาให้มีการลงทุนสูงกว่าวัสดุจากธรรมชาติแต่วัสดุประสานธรรมชาติบางชนิดก็ทาให้วัสดุไม่ประสานกัน
และหายาก เช่น กาวหนังสัตว์ และกาวยางไม้ แต่วัสดุประสานที่มีคุณสมบัติเป็นตัวประสานที่ดีและมีตาม
ท้องตลาดทั่วไปหาซื้อได้ง่ายละนิยมใช้กันมากคือกาวลาเทค คุณสมบัตขิ องกาวลาเทคจะมีความยืดหยุ่น มี
ความเหนียว ติดทนนาน
3.4 การวิเคราะห์และการป้องกันการเกิดเชื้อรา
จากการศึกษาและทดลองวัสดุที่ผ่านมาพบว่า ปัจจัยหลักที่ทาให้เกิดเชื้อราได้ คือ วัสดุที่มีส่วนประกอบ
ของน้าและอากาศ ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาหาวิธีการป้องกันการเกิดเชื้อราโดยการศึกจากอาหารจาพวกขนมปัง
เพราะขนมปังนอกจากจะมีสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายแล้ว ยังมีสารป้องกันเชื้อราเพื่อให้ขนมปังมีอายุ
ที่ยาวนานมากขึ้นสารที่นิยมใช้เป็นสารกันเชื้อราในขนมปังได้แก่ กรดโปรปิโอเนต,เกลือโปรปิโอเนต,แคลเซียม
โปรปิโอเนต ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มสารปรุงแต่งอาหารที่ปลอดภัยตามประกาศของสานักงาน คณะกรรมการอาหาร
และยา ปี2547 โดยเติมลงไปในอาหารได้ในปริมาณที่เหมาะสม
เชื้อราจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัยกลับ 2 ประการคือ น้าและอากาศ โดยเชื้อราจะชอบเกิดกับสาร
จาพวกแป้งและน้าตาลซึ่งจะมีสีต่างๆ เช่น สีเทา เหลือง เขียว น้าเงิน แดง เป็นราที่พบได้ทั่วไปทุกหนทุกแห่ง
มีการขยายพันธ์ที่ไม่อาศัยเพศ เกิดการเปลี่ยนสภาพภายใน 20 นาที และเริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในเวลาต่อมา
37

ภาพที่ 3.1 เชื้อรา


http://www.foodnetworksolution.com
12/12/2559
3.5 การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้สาหรับตกแต่งภายใน
การวิเคราะห์ Product
กากกาแฟ+กาว การขึ้นรูป ของใช้ประเภทโคม ของตกแต่ง ตัวอย่างการขึ้นรูป
ไฟ ผลิตภัณฑ์
-การขึ้นรูปด้วยการ - โคมไฟตั้งโต๊ะ - ตุ๊กตาโมเดล -การทาของใช้โคม
ปั้นไม่สามารถขึ้น - โคมไฟประดับ - เชิงเทียน ไฟติดพนังไม่
รูปได้เพราะถ้าผสม - โคมไฟระย้า - กระเบื้องลายนูน สามารถขึ้นรุ)ได้
กากกาแฟกับกาว - โคมไฟติดพนัง ต่า เพราะวัสดุไม่มี
จะทาให้วัสดุไม่ - กรอบรูป ความแข็งแรงมาก
ค่อยติดกันการขึ้น - วอลเปเปอร์ พอ
รูปลาบากรับ - แจกัน
น้าหนักไม่ได้ -กล่องกระดาษ
-การขึ้นรูปด้วย ทิชชู่ -ของตกแต่ง เช่น
แม่พิมพ์จะไม่ ตุ๊กตาโมเดลไม่
สามารถอัดขึ้นรูป สามารถขึ้นรุปได้
ได้เพราะวัสดุมี เพราะวัสดุไม่
สภาพเหลวแต่ไม่ แข็งแรง
เหลวมาก ทาให้
การขึ้นรูปมีความ
ยาก

ที่มา: ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 12/12/2559


38

สรุปการวิเคราะห์
สรุปส่วนผสมกากกาแฟและกาวไม่สามารถนามาขึ้นรูปด้วยวิธีต่างๆที่กล่าวมาได้เลย เพราะวัสดุไม่มีความ
แข็งแรงมากพอ
กากกาแฟ+ขี้ การขึ้นรูป ของใช้ ของตกแต่ง ตัวอย่างการขึ้นรูป
เลื่อย+กาวลาเทค
-การขึ้นรูปด้วยการ - โคมไฟตั้งโต๊ะ - ตุ๊กตาโมเดล -การขึ้นรูปโคมไฟ
ปั้นสามารถคงตัวได้ - โคมไฟประดับ - เชิงเทียน สามารถขึ้นรูปได้
ดีและวัสดุยึดกันได้ - โคมไฟระย้า - กระเบื้องลายนูน เมื่อมีโครงสร้างอยู่
ดีสามารถปั้นเป็น - โคมไฟติดพนัง ต่า ด้านในเพื่อให้กาก
รูปนูนต่าได้ - กรอบรูป กาแฟและขี้เลือ่ ย
- วอลเปเปอร์ สามารถเกาะตาม
- แจกัน โครงสร้างด้วย
-การขึ้นรูปด้วย -กล่องกระดาษ -การขึ้นรูปกรอบ
แม่พิมพ์สามารถ ทิชชู่ รูปสามารถขึ้นรูปได้
แกะออกจาก ด้วยการกดแม่พิมพ์
แม่พิมพ์ได้ทันที ลงไปทาให้วัสดุมี
และวัสดุมีความ ความแน่นและ
เหนียว สามารถแกะ
ออกมาได้โดยไม่
แตกอีกทั้งยัง
สามารถขึ้นเป็นรูป
นูนต่าได้

ที่มา:ที่มา: ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 12/12/2559


สรุปการวิเคราะห์
ผลการทดลองกากกาแฟผสมขี้เลื่อยและกาวลาเทค พบว่ามีความเป็นไปได้สูงที่จะสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมา
เพราะกากกาแฟมีช่องว่างระหว่างโมเดกุลเยอะเพราะเป็นเม็ดละเอียดจึงต้องการอาศัยวัสดุอื่นที่มาเกาะเพื่อ
ยึดวัสดุให้มีความแข็งแรง
กากกาแฟ+ดิน การขึ้นรูป ของใช้ ของตกแต่ง ตัวอย่างการขึ้นรูป
เหนียว+กาวลาเทค
-การขึ้นรูปด้วยการ - โคมไฟตั้งโต๊ะ - ตุ๊กตาโมเดล -การขึ้นรูปโคมไฟ
ปั้นพบว่าสามารถ - โคมไฟประดับ - เชิงเทียน พบว่าการขึ้นรูป
ปั้นขึ้นรูปได้แต่กาก - โคมไฟระย้า - กระเบื้องลายนูน ด้วยโคมไฟไม่
39

กาแฟและดินจะไม่ - โคมไฟติดพนัง ต่า สามารถขึ้นรูปได้


ค่อยเกาะกันทาให้ - กรอบรูป เพราะวัสดุไม่ยึด
การขึ้นไม่ดีพอ - วอลเปเปอร์ เกาะกับโครงสร้าง
การขึ้นรูปด้วย - แจกัน -การขึ้นรูปกรอบ
แม่พิมพ์ไม่สามารถ -กล่องกระดาษ รูปไม่สามารถขึ้นได้
แกะออกจาก ทิชชู่ เพราะวัสดุแตกจาก
แม่พิมพ์ได้เพราะ กันเกิดเป็นรอยร้าว
ดินเหนียวติดกับ
แม่พิมพ์จึงทาให้ไม่
สามารถแกะออกได้

ที่มา: ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 12/12/2559


สรุปผลวิเคราะห์
พบว่าการขึ้นรูปด้วยดินเหนียวไม่เหมาะที่จะนามาผลิตภัณฑ์เพราะนอกจากขึ้นรูปยากแล้วยังมีความชื้น
ทาให้เกิดเชื้อรา
กากกาแฟ+แกลบ+ การขึ้นรูป ของใช้ ของตกแต่ง ตัวอย่างการขึ้นรูป
กาวลาเทค
-การขึ้นรูปด้วยการ - โคมไฟตั้งโต๊ะ - ตุ๊กตาโมเดล -การขึ้นรูปโคมไฟ
ปั้นเมื่อขึ้นกากาแฟ - โคมไฟประดับ - เชิงเทียน ไม่สามารถขึ้นรูปได้
ผสมแกลบออกมา - โคมไฟระย้า - กระเบื้องลายนูน เพราะวัสดุที่ใช้ผสม
พบว่าสามารถปั้น - โคมไฟติดพนัง ต่า ไม่แข็งแตกออก
ขึ้นรูปได้แต่เทื่อ - กรอบรูป จากกันทาให้เกิด
ปล่อยเวลาผ่านไป - วอลเปเปอร์ รอยร้าว
1ช.ม วัสดุเริ่มแตก - แจกัน
ออกจากกันทาให้มี -กล่องกระดาษ
รอยร้าว ทิชชู่
-การขึ้นรูปด้วย -การขึ้นรูปกรอบ
แม่พิมพ์เมื่อขึน้ รูป รูปไม่สามารถขึ้นได้
ด้วยแม่พิมพ์จะทา เพราะวัสดุแตก
ให้วัสดุแตกร้าวออก ออกจากกันเกิด
จากกัน เป็นรอยร้าว

ที่มา: ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 12/12/2559


40

สรุปผลการวิเคราะห์
พบว่าไม่สามารถขึ้นรูปได้เพราะวัสดุผสมกันยากไม่เป็นเนื้อเดียวกันและเมื่อตากไว้จะแห้งและแตกเกิดเป็น
รอยร้าว
กากกาแฟ+ฟาง การขึ้นรูป ของใช้ ของตกแต่ง ตัวอย่างการขึ้นรูป
ข้าว+กาวลาเทค
-การขึ้นรูปด้วยการ - โคมไฟตั้งโต๊ะ - ตุ๊กตาโมเดล การขึ้นรูปโคมไฟไม่
ปั้นการปั้นกาก - โคมไฟประดับ - เชิงเทียน สามารถทาได้
กาแฟกับฟางข้าว - โคมไฟระย้า - กระเบื้องลายนูน เพราะวัสดุไม่
พบว่าสามารถขึ้น - โคมไฟติดพนัง ต่า แข็งแรงและ
รูปได้แต่วัสดุแตก - กรอบรูป แตกร้าวเมื่อแห้ง
ออกจากกันเมื่อ - วอลเปเปอร์
แห้ง - แจกัน
วัสดุแตกจากกัน -กล่องกระดาษ การขึ้นรูปกรอบรูป
เมื่อแห้งทาให้ไม่ ทิชชู่ ไม่สามารถทาได้
สามารถขึ้นรูปด้วย เพราะวัสดุไม่
วิธีนี้ได้ แข็งแรงพอ

ที่มา: ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 12/12/2559


สรุปการวิเคราะห์
พบว่าวัสดุนี้ไม่สามารถทาเป็นผลิตภัณฑ์ได้เพราะวัสดุไม่มีความแข็งแรงมากพอและไม่เกาะกันจึงทาให้
วัสดุเกิดการแตกร้าว
3.6 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจะเป็นเด็กหญิงช่วงวัยรุ่นถึงวัยกาลังจะออกไปทางานเพราะเด็กผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง
นี้จะชอบซื้อของเล็กๆน้อยๆมาตกแต่งห้องเพื่อความสวยงามและน่าอยู่ กระบวนการตัดสินใจซื้อของ
ผู้บริโภค กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค เป็นลาดับขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคมี 5
ขั้นตอน คือ การรับรู้ถึงความต้องการ (Problem Recognition) การค้นหาข้อมูล (Information
Search) การประเมินผลทางเลือก (Evaluation of Alternative) การตัดสินใจซื้อ (Purchase
Decision)และพฤติกรรมภายหลังการซื้อ (Post Purchase Behavior) ดังภาพ
ภาพโมเดล 5 ขั้นตอนในกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค

การรับรู้ปัญหา การค้ นหา การประเมิน การตัดสินใจ พฤติกรรม


ข้ อมูล ทางเลือก หลังการซื ้อ
41

3.6.1 ลักษณะที่สาคัญของวัยรุ่น
โสภัณฑ์ นุชนาถ (2542 ) ได้ให้ลักษณะทีส่ าคัญของวัยรุ่น ดังนี้
3.6.1.1. เป็นวัยที่ร่างกายเจริญเติบโตไปสู่วุฒิภาวะตามแบบฉบับแห่งเชื้อชาติตน เด็กทาง
ประเทศแถบตะวันตกจะสูงได้มากกว่า เป็นต้น เด็กวัยรุน่ ตอนต้น ร่างกายจะเจริญเติบโตได้รวดเร็วมาก
แขนขายาวขึน้ สัดส่วนของร่างกายก็เปลี่ยนแปลงไปด้วยและจะเจริญเติบโตเต็มทีเ่ มื่ออยู่ในวัยรุน่ ตอน
ปลาย
3.6.1.2. เป็นวัยที่เห็นความสาคัญของเพื่อนมากที่สุด จะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของหมู่เพื่อน
เช่นการแต่งกายการไว้ทรงผม และการใช้ภาษาพูด จะเป็นแบบเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน
3.6.1.3. เป็นวัยที่แสดงหาฐานะทางสังคม (Social Status) ให้กับตนเอง ทาตัวให้เป็นที่
ยอมรับของสังคม
3.6.1.4. เป็นวัยที่สนใจการเลือกอาชีพ เริม่ สารวจความถนัดและความสนใจ ตลอดจน
คุณลักษณะประจาตัวของตนว่าสามารถจะประกอบอาชีพใด หรือศึกษาต่อด้านใด
3.6.1.5. เป็นวัยที่แสวงหาอุดมคติ ปรัชญาชีวิตไว้เป็นแนวทางในการดารงชีวิตของตน
3.6.1.6. เป็นวัยที่ต้องการอิสระจากการควบคุมอย่างเข้มงวดของผู้ใหญ่ ต้องการเป็นตัวของ
ตัวเองและตัดสินใจในสิ่งต่างๆเกี่ยวกับตนเองได้
โสภัณฑ์ นุชนาถ (2542) กล่าวถึงลักษณะของวัยรุ่นดังนี้
-เป็นวัยแห่งการเสริมสร้าง (Period of Reconstruction) ในวัยนี้ ความ
เจริญเติบโตทางร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและจะค่อยช้าลงในตอนปลาย
-เป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลง (Period of Transformation) ในวัยนี้เป็นวัยที่มี
ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับชีวิตของวัยรุ่นมากมาย ทัง้ ในด้านร่างกาย จิตใจ และความรูส้ ึกนึกคิด
- เป็นวัยที่มีความคิดอยากเป็นอิสระ (Period of Independence) โดยเริ่มคิด
พึ่งพาตนเอง อยากเรียนรู้ความผิดพลาดด้วยตัวเองมากกว่าที่จะเรียนรู้ด้วยค าสั่งสอน ชอบโต้เถียงถ้า
ได้รับการขัดขวางอย่างรุนแรง มักมีความรู้สึกน้อยเนื้อต่ าใจ และหาทางออกในทางผิดๆ เช่นหนีออกจาก
บ้าน
-เป็นวัยที่ต้องเผชิญปัญหา (Period of Problems) โดยวัยนี้เป็นวัยหัวเลี้ยวหัวต่อ
ของชีวิตซึ่งเรียกว่า วัยวิกฤติ ปัญหาต่างๆในการปรับตัวมักจะเกิดขึ้นเสมอ มีการตัดสินใจอย่าง
รวดเร็ว วู่วาม แสดงออกทางด้านอารมณ์อย่างรุนแรง อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นวัยพายุบุ
แคมและความเครียด (Storm and Stress)
42

ภาพที่ 3.2 กลุม่ เป้าหมาย


ที่มา https://www.google.co.th12/12/2559

1) กลุ่มที่มองเห็นปัญหาของสิ่งแวดล้อม
2) กลุ่มผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเป็นหลัก
- เป็นทางเลือกใหม่ ผู้บริโภคในปัจจุบันมี่การศึกษาผลิตภัณฑ์ที่จะบริโภคมากขึ้น เกิดการ
เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในท้องตลาดโดยใช้เหตุผลประกอบในการตัดสินใจอย่างมีระบบ
โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่มีในบ้านพักอาศัย ซึ่งจะต้องใช้ทรัพยากรจานวนมาก แนวโน้มดังกล่าวทาให้ผลิตภัณฑ์
มีคุณประโยชน์ในการใช้งานเพียงอย่างเดียว ซึ่งยังไม่เพียงพอสาหรับการตัดสินใจบริโภค ซึ่งนอกจากจะมี
คุณสมบัติด้งกล่าวแล้วต้องมีสไตล์เป็นของตัวเองด้วย ไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคนอกจากจะเกิดจากจิตสานึกที่ดี
แล้วยังสอดคล้องถึงการเข้าใจถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย
- กระแสการตอบรับ เพราะพลวัตรทางเศรษฐกิจในสังคมปัจจุบัน กาลังขับเคลื่อนให้ทุกหน่วยใน
สังคมมีจิตสานึกต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น การประหยัดพลังงานการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ได้เป็นกระแสที่
ถูกสร้างจากจิตสานึกรับผิดชอบกับผู้อื่นเท่านั้น แต่มีกระแสที่มีพลังขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจเป็นสิ่งสาคัญ
เช่นกัน กระแสดังกล่าวผลักดันให้ทุกหน่วยในสังคม ต้องปฏิรูป เลี่ยนแปลงวิธีคิดวิธีใช้ชีวิต เพื่อให้สามารถอยู่
ในสภาวะเศรษฐกิจที่ธรรมชาติโดยเฉพาะพลังงานที่มีมูลค่าสูงขึ้นเป็นเท่าทวีคูณ นอกจากนี้สานึกใน
สิ่งแวดล้อมยังเป็นสานึกในระดับจุลภาค ที่ผู้บริโภคจะคานึงถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
3.7 การวิเคราะห์แรงบันดาลใจในการออกแบบ
แรงบันดาลใจในการออกแบบโคมไฟเพื่อใช้ตกแต่งภายใน ที่ได้มาจากการใช้วัสดุเหลือใช้หรือวัสดุที่นา
กลับมาใช้ใหม่และมุ่งเน้นไปยังกลุ่มเป้าหมายที่เป็นวัยรุ่นที่สามารถเสพเข้าถึงได้ง่ายและมีกาลังที่จะซือ้
ผลิตภัณฑ์เหล่านี่ การเลือกใช้แรงบันดาลใจจากการสร้างบ้านของนางฟ้าเพราะกลุ่มเป้าหมายส่วนมากจะเป็น
กลุ่มที่ชอบเรื่องของการตกแต่งการตามเทรนต่างๆที่มาในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่เป็นกระแสและความนิยมทาให้
สินค้าสามารถจาหน่ายได้ในท้องตลาด
บทที่ 4
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
จากการศึกษาคุณสมบัติของกากกาแฟและขี้เลื่อยนามาทาโคมไฟตกแต่งภายใน พบว่าวัสดุที่นามาทา
ยังไม่เคยมีใครทามาก่อน จึงทาให้มีความน่าสนใจมากขึ้น และกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ผลิตภัณฑ์มีจานวนมาก และ
เพื่อลดปริมาณขยะที่เป็นปัญหาในสังคมปัญหาโลกร้อน โคมไฟประดับจากกากกาแฟและวัสดุธรรมชาติจึง
เป็นวัสดุที่น่านามาใช้ออกแบบ เพราะนอกจากจะเป็นวัสดุที่มีมากเพียงพอแล้วยังเป็นวัสดุที่มีในท้องถิ่น ผู้วิจัย
ได้มีกระบวนการคิดวิเคราะห์และทดลองกระบวนการขึ้นรูปด้วยวิธีการต่างๆจนได้รูปแบบของโคมไฟติดผนัง
ที่ใช้ตกแต่งในร้านกาแฟ
4.1 การศึกษาแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์
จากการศึกษาแนวทางในการออกแบบโคมไฟติดผนังเพื่อตกแต่งใน โคมไฟส่วนมากจะทาจากไม้ เช่น
ไม้อัด ไม้เนื้อแข็งต่างๆ และวัสดุที่เป็นพลาสติก และมีส่วนน้อยที่นาวัสดุจากร้านกาแฟมาตกแต่งภายใน
เพราะเนื่องด้วยคุณสมบัติของกากกาแฟที่อาจจะทาการขึ้นรูปยาก และต้องผสมกับวัสดุชนิดอื่นด้วย ผู้วิจัยจึง
ได้ออกแบบเพื่อให้มีรูปแบบที่ทันสมัยมีความแปลกใหม่ ละน่าสนใจมากขึ้น
4.2 การวิเคราะห์ inspiration
การใช้แรงบันดาลใจจากบ้านนางฟ้าในเทพนิยายจะทาให้วัยรุ่นสนใจมากขึ้นเพราะนอกจากจะราคาไม่
แพงวัสดุยังหาได้ง่ายและสามารถนามาทาเองเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายและช่วยให้ลดภาวะโลกร้อนอัน
เนื่องมาจากขยะที่มีมากเกินไปเพราะใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง การนาบ้านนางฟ้ามาเป็นแรงบันดาลใจ
เพราะเด็กผู้หญิงส่วนมากชอบของตกแต่งที่มันเป็นสไตล์มีความทันสมัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทาให้มี
ผู้คนสนใจมากที่จะมีส่วนร่วมในการประหยัดทรัพยากรโดยเฉพาะกลุ่มคนที่เป็นผู้นาเทรนหรือกลุ่มคนที่
ตระหนักถึงสภาวะของสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในปัจจุบัน การทาให้ผลิตภัณฑ์น่าใช้หรือเป็นที่นิยมของคนยุคนี้จะ
ทาให้สินค้ามีราคาเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า
44

4.3 แบบร่าง

ภาพที่ 4.1
ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017

ภาพที่ 4.2
ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017
45

ภาพที่ 4.3
ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017

ภาพที่ 4.4
ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017
46

4.4 แบบจริง

ภาพที่ :4.5
ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017
4.5 โมเดล

ภาพที่ 4.6 ภาพที่4.7


ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017 ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017
47

ภาพที่ 4.8 ภาพที่4.9


ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017 ที่มา : ภาพ sketch idea 4/02/2017
บทที่5
การสรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย
สรุปผลการศึกษากากกาแฟและวัสดุธรรมชาติเพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในสามารถสรุป
ได้ 2กรณีคือ สรุปด้านข้อมูลการวิเคราะห์กากกาแฟและวัสดุธรรมชาติที่ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่ง
ภายใน และสรุปผลด้านการออกแบบ
5.1.1 สรุปผลด้านการวิเคราะห์กากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติเพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่ง
ภายใน
ผลการศึกษากากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติ ได้ทาการศึกษาจนพบว่า กากกาแฟที่นาไปทิ้งในแต่ละ
วันมีจานวนมาก นอกจากจะนาไปแปรรูปเป็นปุ๋ยหมักแล้ว ยังสามารถนามาเพื่อใช้ในการออกแบบได้ เป็นการ
ต่อยอดความคิดและมีความคิดสร้างสรรค์โดยการหันมาใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากันให้มีประโยชน์สูงสุด
และยังเป็นการช่วยลดภาวะโลกร้อนเนื่องจากขยะล้นโลกอีกด้วย อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมการประหยัด ให้
พิจารณาถึงคุณค่าของสิ่งต่างๆรอบตัวและทรัพยากรต่างๆที่นามาใช้แล้วย่อมจะหมดไปในที่สุด ด้วยเหตุนี้เรา
จึงควรหันมาใส่ใจในการที่จะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ข้อดีของการนากากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติมาใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในเพื่อให้คนได้
เล็งเห็นถึงคุณค่าของสิ่งของรอบตัว ซึ่งนอกจากจะทิ้งไปโดยไร้ประโยชน์แล้วสามารถนามาประกอบเป็น
ธุระกิจได้ และช่วยลดภาวะโลกร้อนได้
ข้อเสียของการนาเอากากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติ กากกาแฟมีน้าหนักเบาและมีช่องว่างระหว่าง
เม็ดเยอะจึงต้องหาวัสดุที่นามาเป็นตัวยึดเกาะเพื่อให้กากกาแฟจับตัวกันแล้วสามารถนามาขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์
ได้ และสามารถนามาปั้นได้
5.1.2 สรุปผลด้านการออกแบบ
ผลการออกแบบพบว่า การออกแบบได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ได้ต้นแบบกรอบรู ปที่ทาจาก
กากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติ เป็นผลิตภัณฑ์ทึ่มีความเป็นเอกลักษณ์ และเป็นความคิดสร้างสรรค์จากการเอา
วัสดุเหลือใช้มารีไซเคิล แล้วนากลับมาใช้ใหม่
5.2 การอภิปรายผล
จากการสรุปผลการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในจากกากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาติ คือในการ
ออกแบบต้องนาเอาข้อมูลการใช้งานต่างๆ เช่น การดึงคุณสมบัติของกากกาแฟออกมาใช้ เพื่อสร้างจุดเด่น
48

ให้กับผลิตภัณฑ์ และสิ่งสาคัญรองลงมาคือ การนาเอาวัสดุที่ใช้แล้วนากลับมาใช้ใหม่ และยังเป็นมิตรต่อ


สิ่งแวดล้อม
5.3 ข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้จะเน้นเรื่องการวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุหลักคือกากกาแฟและวัสดุธรรมชาติเพื่อ
มาวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายใน ซึ่งจะเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยจะใช้
ตกแต่งภายในเพื่อให้พ้นจากการโดนไอน้า เพราะเมื่อกากกาแฟโดนไอน้าแล้วทาปฏิกิริยากับอากาศจะทาให้
กากกาแฟเกิดเชื้อรา และหากในห้องมีกลิ่นอับจะช่วยลดกลิ่นอับได้ในระดับหนึ่ง การออกแบบกรอบรูปจาก
กากกาแฟผสมวัสดุธรรมชาตินี้เหมาะสาหรับบุคคลทุกเพศทุกวัยที่ชื่นชอบการตกแต่ง
49

เอกสารอ้างอิง
ดร.สิงห์ อินทรชูโต. พัฒนาเศษวัสดุอย่างสร้างสรรค์. ประทุมธานี : ศูนย์หนังสือ สวทช, 2556.
http://www.tcdc.or.th , Design Excellence Award , 2012 .การออกแบบเก้าอี้จาก tcdc
https://home.kapook.com คุณสมบัติของกากกาแฟ
https://th.wikipedia.org วัสดุจากธรรมชาติ
http://houseimpotsible.exteen.com วัสดุประสาน
http://masuross.blogspot.com การขึ้นรูปแบบเซรามิก
https://www.honestdocs.co เชื้อรา
https://th.jobsdb.com การป้องกันเชื้อรา
52
53
54
55
56
57

ประวัติผู้วิจัย

ชื่อ นางสาว เสาวลักษณ์ แพงสีแก้ว


ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านแสนคา (นาชุมสามัคคี)
ตาบลสระสมิง อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี, พ.ศ.2556
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนนาส่วงวิทยา
ตาบลนาส่วง อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2553
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนาส่วงวิทยา
ตาบลนาส่วง อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2556
ศิลปะประยุกต์บัณฑิต (การออกแบบผลิตภัณฑ์)
คณะศิลปะประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ.2560
ภูมลาเนา บ้านเลขที่ 35 หมู่ที่ 9 ตาบลสระสมิง อาเภอวารินชาราบ
จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34190

You might also like