You are on page 1of 188

งานวิจัยเพือพัฒนาการเรียนการสอน

การใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญา (Mind Map) เพิมผลสั มฤทธิทางการเรียน

วิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ดร.วัชรินทร์ อินทพรหม

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

กันยายน 2555

ได้ รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
การใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญา (Mind Map) เพิมผลสั มฤทธิทางการเรียน

วิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ดร.วัชรินทร์ อินทพรหม

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

กันยายน 2555

ได้ รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
บทคัดย่ อ

การวิจยั เรื อง “การใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพิมผลสัมฤทธิทางการเรี ยน


วิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์” เป็ นการวิจยั แบบกึงทดลอง
(Quasi Eperiment) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะมนุ ษศาสตร์ และสังคม สาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์ ภาคปกติ ภาคการศึกษาที 1/2554 นักศึกษาชันปี ที 3 สาขาวิชารัฐประศาสน
ศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 60 คน โดยการแบ่งกลุ่มตัวอย่างของการวิจยั ในครังนี
เป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม กับ กลุ่มทดลอง โดยใช้นกั ศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52
หมู่ 1 จํานวน 30 คน เป็ นกลุ่มทดลอง และใช้นกั ศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 2
จํานวน 30 คน เป็ นกลุ่มควบคุม มีวตั ถุประสงค์เพือศึกษา 1)เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการ
เรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุม 2) เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินของนักศึกษา
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ที
เพิมขึนระหว่างก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยนในกลุ่ มทดลองกับกลุ่มควบคุม แล้วนํามาการวิเคราะห์
ข้อมูล ด้วยโปรแกรมสถิติสาํ เร็ จรู ปทางสังคมศาสตร์เพือทําการวิเคราะห์ขอ้ มูลหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย
และค่าเบียงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า t (Pair sample t – Test) สรุ ปผลการวิจยั ได้ดงั นี

สรุปผลการวิจัย
1. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง ของกลุ่มทดลอง พบว่า ผลการสอนโดย
ใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map)เพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนในวิชาการจัดองค์กร
ท้องถินก่อนการทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนเฉลีย 15.87 หลังการทดลองมีคะแนน
ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนเฉลีย 22.23 และมีผลต่างคะแนนเฉลียเท่ากับ +6.36 และมีความแตกต่างกับ
ผลสัมฤทธิก่อนและหลังการเรี ยนทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที
ระดับ .01
2. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ก่อน-หลัง กลุ่มควบคุม พบว่า ผลการสอนโดยใช้
เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map)เพือเพิมผลสัมฤทธิทางการเรี ยนในวิชาการจัดองค์กรท้องถิน
ก่อนการทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิทางการเรี ยนเฉลีย 13.26 หลังการทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ย นเฉลี ย 15.89 และมี ผ ลต่ า งคะแนนเฉลี ยเท่ า กับ +2.63 และไม่ มี ค วามแตกต่ า งกับ
ผลสัมฤทธิก่อนและหลังการเรี ยนทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
3. เปรี ยบเทียบคะแนนทีเพิมขึนระหว่างก่อนและหลังการทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า
คะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของกลุ่มทดลองเฉลียเพิมขึน = 6.36 คะแนนผลสัมฤทธิ ทางการ
เรี ยนของกลุ่มควบคุม เฉลียเพิมขึน = 2.63 และมีผลต่างคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของกลุ่ม
ทดลองสู งกว่ากลุ่มควบคุม เฉลีย = +3.73 และมีความแตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ
.01
ABSTRACT

This research was a quasi experimental research. The samples in this research were
consisted of 60 third year students in Public Administration, Faculty of Humanities and Social
Sciences, Phranakhon Rajabhat University in regular semester 1/2554. The students were divided
into two groups: The control group and the experimental group. For the experimental group, 30
Public Administration students in class 52, group 1 were used, and 30 Public Administration
students in class 52, group 2 were used for the control group. The purposes of this study were 1)
to compare the learning achievement in the Organization Management Course of students before
and after learning management in the experimental group and the control group, 2) to compare the
learning achievement in the Organization Management Course of students increasing between
before and after learning in the experimental group and the control group. The data analysis was
by means of computer package for frequency, percentage, mean standard deviation, and t-test.
The results were summarized as follows:
1. The comparison of learning achievement before – after learning of the experimental
group found that teaching results using mind mapping technique (Mind Map) increasing learning
achievement in the Organization Management Course before the experiments having average
achievement scores 15.87, the posttest achievement scores 22.23, and the average difference score
was equal to +6.36, and it was different with the achievement before and after learning the
Organization Management Course with a statistical significant level of .01.
2. The comparison of learning achievement before – after learning of the control group
was found that teaching results using mind mapping technique (Mind Map) increasing learning
achievement in the Organization Management Course before the experiments having average
achievement scores 13.26, the posttest achievement scores 15.86, and the average difference score
was equal to +2.63, and there was not statistically significant difference with the achievement
before and after learning the Organization Management Course.
3. The comparison of scores increasing between before and after the experiments of the
experimental and control group found that average achievement scores of the experimental group
increased equal to 6.36, and the average difference score of the experimental was higher than the
control group equal to + 3.73,, and there was statistically significant difference at the .01 level.
 

สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย (1)
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (3)
สารบัญ (4)
สารบัญตาราง (7)
สารบัญภาพ (8)

บทที 1 บทนํา 1
ความสําคัญและทีมาของปั ญหาทีทําการวิจยั 1
วัตถุประสงค์ของการวิจยั 2
ขอบเขตของการวิจยั 2
สมมติฐานการวิจยั /กรอบแนวคิดในการวิจยั 3
นิยามศัพท์เฉพาะ 3
ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ 4

บทที 2 แนวคิดและทฤษฎี 5
แนวคิดเทคนิคแผนผังทางปัญญา (Mind Mapping Technique) 5
แนวความคิดในการสร้างแผนผังทางปั ญญา 7
ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ 15
การเพิมผลผลสัมฤทธิทางการเรี ยน 19
หลักสูตรวิชาการจัดองค์กรท้องถิน 24
งานวิจยั ทีเกียวข้อง 39

บทที 3 วิธีดําเนินการวิจัย 45
รู ปแบบของการวิจยั 45
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 45
เครื องมือของการวิจยั 45
 

สารบัญ (ต่ อ)
หน้า
การเก็บรวบรวมข้อมูล 46
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 47
ขันตอนการวิจยั 47
แผนดําเนินการ 48

บทที 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 49


เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง ของกลุ่มทดลอง 49
เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง กลุ่มควบคุม 50
เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยนก่อน-หลัง ของกลุ่มทดลองกับกลุ่ม 52
ควบคุม

บทที 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ 54


สรุ ป 54
อภิปรายผล 55
ข้อเสนอแนะ 57

บรรณานุกรม 58

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ข้อสอบวิชาการจัดองค์กรท้องถิน 62
ภาคผนวก ข ใบความรู ้ที 1 แผนผังทางปั ญญา (Mind Mapping) 68
ภาคผนวก ค ใบความรู ้ที 2 และใบงานที 2 โครงสร้างเทศบาลตําบล 92
ภาคผนวก ง ใบความรู ้ที 3 และใบงานที 3 โครงสร้างเทศบาลเมือง 98
ภาคผนวก จ ใบความรู ้ที 4 และใบงานที 4 โครงสร้างเทศบาลนคร 105
ภาคผนวก ฉ ใบความรู ้ที 5 และใบงานที 5 โครงสร้างระบบราชการ 112
ไทย
 

สารบัญ (ต่ อ)
หน้า
ภาคผนวก ช ใบความรู ้ที 6 และใบความรู ้ที 6 โครงสร้าง 118
การบริ หารงานของกรุ งเทพมหานคร
ภาคผนวก ซ ใบความรู ้ที 7 และใบงานที 7 โครงสร้างเมืองพัทยา 126
ภาคผนวก ฌ ใบความรู ้ที 8 และใบงานที 8 โครงสร้างองค์การบริ หาร 132
ส่ วนจังหวัด
ภาคผนวก ญ ใบความรู ้ที 9 และใบงานที 9 โครงสร้างองค์การบริ หาร 140
ส่ วนตําบล
ภาคผนวก ฎ ใบความรู ้ที 10 และใบงานที 10 ปั ญหาอุปสรรคและ 154
แนว ทางแก้ไขปัญหาของการปกครองส่ วนท้องถิน
ภาคผนวก ฏ แผนการเรี ยนการสอน 172

ประวัติผวู ้ จิ ยั 184
สารบัญตาราง

ตารางที หน้า

1 จํานวนชัวโมงทีใช้ต่อภาคการศึกษา 30
2 แผนการสอน 36
3 แผนการประเมินผลการเรี ยนรู ้ 39
4 แผนการดําเนินงาน 48
5 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง 49
การใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญา ของกลุ่มทดลอง
6 เปรี ยบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิทางการเรี ยนโดย 50
การใช้เทคนิคแผนผังทางปัญญา
7 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง 51
ของกลุ่มควบคุม
8 เปรี ยบเทียบความแตกต่างของการเพือเพิมผลสัมฤทธิทางการ 51
เรี ยนของกลุ่มควบคุม
9 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียผลสัมฤทธิทางการเรี ยนก่อนการเรี ยน 52
ของกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม
10 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียผลสัมฤทธิทางการเรี ยนหลังการเรี ยนของ 52
กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม
สารบัญภาพ

ภาพที หน้ า

1 กรอบแนวคิดในการวิจยั 4
2 ขันตอนการวิจยั 47
บทที 1
บทนํา

ความสํ าคัญและทีมาของปัญหาทีทําการวิจัย

การศึกษาวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของการเรี ยนการสอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์


เป็ นวิชาทีต้องใช้ความรู ้ความเข้าใจ และความคิดเชื อมโยงกับสถานการณ์จริ ง และโครงสร้างการ
บริ หารงานขององค์กรปกครองท้องถิน ซึ งนักศึกษาส่ วนใหญ่นนไม่ ั มีประสบการณ์ในการสัมผัส
กับการบริ หารงานขององค์กรปกครองท้องถินมาก่ อน ทําให้การเรี ยนการสอนไม่สามารถเข้าใจ
เนื อหารายวิชาได้โดยง่าย และส่ งผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนทีไม่พึงประสงค์ ดังนันการแก้ปัญหา
ดัง กล่ าวจํา เป็ นต้อ งอาศัย การเรี ย นรู ้ ด้า นพุ ท ธิ พิสั ย ซึ งมี 6 ระดับ ได้แ ก่ การจํา การเข้า ใจ การ
ประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินผล เพือแก้ปัญหาการขาดความสามารถในการ
คิด และไม่มีกระบวนการคิดทีก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ทีอาจจะส่ งผลต่อผลสัมฤทธิ ทางการ
เรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินตํา
แนวทางแก้ไขที จะดําเนิ นการของการศึ กษาวิชาการจัดองค์กรท้องถิ น คื อ การสอนที
เอืออํานวยให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกกระบวนการคิดทีเชือมโยง โดยเป็ นการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ โดย
ผูส้ อนมีบทบาทเป็ นผูจ้ ดั สรรหากิ จกรรม และเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกให้ผเู ้ รี ยนได้สร้างความรู ้
ด้วยตนเอง ดังนันการพัฒนาการเรี ยนการสอนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ต้องอาศัยการเรี ยนรู ้ดา้ น
พุทธิพิสัย ด้วยการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดของนักศึกษาให้เกิดความเชือมโยงเนือหาวิชากับ
สถานการณ์ในปั จจุบนั มาช่วยในการเรี ยนการสอนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน เพือเพิมผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยน โดยเทคนิ คการพัฒนากระบวนการคิดทีเชือมโยงเพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนที
ผูว้ ิจยั เลือกใช้ คือ เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) ซึ งเป็ นรู ปแบบการจดบันทึกเป็ นแผนผัง
ทางปั ญญา จะทําให้ผูจ้ ดบันทึกเห็ นจุดสําคัญและความเชื อมโยงของเนื อหาได้ และมีความเป็ น
อิสระจนเกิดความเข้าใจในเนื อหานันๆ มากขึน มีเทคนิ คของการตัดสิ นใจ (Decision making) ที
เห็นถึงผลดีและผลเสี ยทีชัดเจน และมีการเสนอผลงาน (Presentation) ทีแสดงถึงภาพรวมให้ผรู ้ ับ
เข้าใจง่าย และการแก้ปัญหา (Problem solving) จากทางเลือกทีดีทีสุ ดจากหลายๆ ทางเลือกทีมีอยู่
และการวางแผน (Planning) ทีได้มาจากการวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ทีเกียวข้องทังหมด กิจกรรมต่างๆ
เหล่านี คาดว่าจะนําไปสู่ การคิดเชือมโยงของนักศึกษา อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนวิชาการจัด
องค์กรท้องถินให้ได้ดียิงขึนได้ ถ้านักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะการคิดด้วยเทคนิ คแผนผังทาง
ปั ญญาอย่างถูกต้อง อันจะส่ งผลทําให้นกั ศึกษาสามารถเชือมโยงเนื อหาวิชากับสถานการณ์จริ งใน
โครงสร้างและการบริ หารขององค์กรปกครองท้องถินได้
จากสภาพปั ญหาของการเรี ยนการสอนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน และความสําคัญของการ
ใช้เ ทคนิ ค แผนผัง ทางปั ญ ญาเพื อการพัฒ นากระบวนการคิ ด ที เชื อมโยง อัน จะนํา ไปสู่ ก ารเพิ ม
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนดังกล่าว ผูว้ ิจยั จึงสนใจทีจะวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ โดยทําการศึกษาผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน โดยใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญาของนักศึกษาสาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์ ชนปี ั ที 3 ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2554 และเพือให้ถึงประสิ ทธิ ผลของการใช้
เทคนิ คแผนผังทางปั ญญาอย่างแท้จริ ง จึงทําการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัด
องค์กรท้องถินของนักศึ กษาสาขาวิชารั ฐประศาสนศาสตร์ ทีใช้และไม่ ได้ใช้เทคนิ คแผนผังทาง
ปั ญญา เพือให้เห็ นถึงความแตกต่างของการใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญาเพือการเพิมผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยนของนักศึกษาทังสองกลุ่ม ทีจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรี ยนการสอนวิชาการ
จัดองค์กรท้องถินให้มีผลสัมฤทธิสูงสุ ดต่อไป

วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
1. เพื อเปรี ย บเที ย บผลสัม ฤทธิ ทางการเรี ย นวิ ช าการจัด องค์ก รท้อ งถิ นของนัก ศึ ก ษา
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
2. เพือเปรี ย บเที ยบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ย นวิ ชาการจัดองค์กรท้องถิ นของนัก ศึ ก ษา
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ที
เพิมขึนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม

ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตด้ านเนือหา
เป็ นการศึ กษาผลการใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญากับนักศึกษาสาขาวิชารั ฐประศาสน
ศาสตร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เพือเพิมผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยนในวิชาการจัดองค์กรท้องถิน
ขอบเขตประชากร
ประชากรของการวิจยั ในครังนี คือ นักศึกษาชันปี ที 3 สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 60 คน โดยการแบ่งกลุ่มตัวอย่างของการวิจยั ในครังนี เป็ น 2
กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม กับ กลุ่มทดลอง โดยใช้นกั ศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 1
จํานวน 30 คน เป็ นกลุ่มทดลอง และใช้นกั ศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 2 จํานวน
30 คน เป็ นกลุ่มควบคุม
ขอบเขตด้ านเวลา
การวิจยั ในครังนีใช้ระยะเวลาในการวิจยั ในภาคการศึกษาที 1/2554

สมมติฐานการวิจัย/กรอบแนวคิดในการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสน
ศาสตร์ ก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมสูงขึน
2. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสน
ศาสตร์กลุ่มทดลองทีเพิมขึนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนสู งกว่านักศึกษากลุ่มควบคุม

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

วิธีการสอน ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนใน


1.การสอนโดยใช้เทคนิคแผนผัง วิชาการจัดองค์กรท้องถิน
ทางปั ญญา (Mild Map)
2.การสอนโดยวิธีปกติ

ภาพที 1 กรอนแนวคิดในการวิจยั

ตัวแปรทีศึกษา
ตัวแปรอิ สระ ได้แก่ วิธีการสอน ได้แก่ 1.การสอนโดยใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา
(Mind Map) และ การสอนโดยวิธีปกติ
ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนในวิชาการจัดองค์กรท้องถิน
นิยามศัพท์ เฉพาะ
1.แผนผังทางปัญญา หมายถึงวีการแสดงออกถึงความคิด ซึ งถ่ายทอดออกมาให้เป็ นภาพทีเห็น
ด้วยตาหรื อเป็ นแผนภูมิ โดยการแสดงระหว่างคําหรื อมโนทัศน์ทีเกี ยวข้องอย่างมีลาํ ดับขัน ด้วย
ลักษณธของเส้น ลูกศรแบบต่างๆหรื อใช้รหัส เชื อมโยงระหว่างคําหรื อมโนทัศน์ เพือให้คาํ หรื อ
มโนทัศน์เหล่านันมีความหมาย โดยคําหรื อมโนทัศน์ทีสําคัญมากหรื อลําดับก่อนจะใช้ขนาดของ
ตัวอักษร สี และตัวหนังสื อทีมีมิติต่างกัน
2.หลักสู ตรและการสอนวิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน หมายถึง หลักสู ตรทีพัฒนาขึนมา โดย
อาศัยวิธีการสอนทีผสมผสานกับเทคนิคแผนผังทางปัญญา เพือให้นกั ศึกษาได้เกิดความคิดเชือมโยง
กับสถานการณ์และโครงสร้างการบริ หารองค์กรปกครองท้องถินไทย
3.รู ปแบบการสอน หมายถึง แบบแผนของการสอนทีแสดงความสัมพันธ์และส่ งเสริ มซึ ง
กันและกัน ระหว่างองค์ประกอบต่างๆในการสอน ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื อหา ขันตอน
การสอน การประเมินผล รวมถึงกิจกรรมสนับสนุนอืนๆ โดยผ่านขันตอนการดําเนิ นการสร้างอย่าง
เป็ นระบบ เพือให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามเป้ าหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ
4.การสอนโดยใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญา หมายถึง แบบแผนของการสอนทีผูว้ ิจยั พัฒนา
ขึนให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกคิดอย่างเป็ นระบบ
5.การสอนโดยวิธีปกติ หมายถึง การสอนเนื อหาวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ตามแผนการ
สอนของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สําหรับนักศึกษาควบคุมปกติ
6.นักศึกษา หมายถึง ผูท้ ีศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
7. ผลสั มฤทธิทางการเรียน หมายถึง ความรู ้ความเข้าใจในวิชาการจัดการองค์กรท้องถิน ซึง
วัดได้จากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ ทีอาจารย์ประจําวิชาการจัดองค์กรท้องถิน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครและผูว้ ิจยั ร่ วมสร้างขึนมา

ประโยชน์ ทคาดว่
ี าจะได้ รับ
ผลการศึกษาครังนี ทําให้ทราบถึงผลการใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) ทีมีต่อ
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ซึ งเป็ นแนวทางสําหรับผูส้ อนในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน เพือ
พัฒนาทักษะการคิดให้แก่ผเู ้ รี ยนต่อไป
5

บทที 2
แนวคิดและทฤษฎี

แนวคิดและทฤษฎี ทีใช้ในเรื องการใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพิม


ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของนักศึกษา สาขาวิชารั ฐประศาสนศาสตร์
มีดงั ต่อไปนี
1. แนวคิดเทคนิคแผนผังทางปัญญา (Mind Mapping Technique)
2. แนวความคิดในการสร้างแผนผังทางปัญญา
3. แนวคิดเกียวกับรู ปแบบการสอน
4. ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์
5. การจัดการเรี ยนรู ้ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
6. เนือหาวิชาการจัดองค์กรท้องถิน
7. งานวิจยั ทีเกียวข้อง

1.แนวคิดเทคนิคแผนผังทางปัญญา (Mind Mapping Technique)

เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Mapping Technique) ถูกพัฒนาโดย Tony Buzan ในปี
ค.ศ.1970 โดยเลียนแบบจากการทํางานของเซลล์ประสาทในสมองของมนุ ษย์ทีมีอยูป่ ระมาณหนึ ง
ล้านล้านเซลล์ แต่ละเซลล์ประกอบด้วยปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้ าทีสลับซับซ้อนและระบบการประมวลผล
และส่ งผ่านข้อมูลขนาดเล็กจํานวนมากมาย เซลล์สมองแต่ละเซลล์จะมีรูปร่ างคล้ายปลาหมึกยักษ์ซึง
มีส่วนลําตัวอยูต่ รงกลาง และมีกิงก้านสาขา คล้ายหนวดแยกกระจายออกไปจากส่ วนลําตัว เมือขยาย
ดูจะพบว่ากิงก้านสาขาแต่ละอันมีลกั ษณะคล้ายกิงไม้ทีแตกแขนงออกจากลําต้น แต่ละกิงก้านสาขา
มีชือเรี ยกว่า เดนไดรต์ (Dendrites) โดยกิงทีมีขนาดใหญ่และยาวกว่ากิงอืน เรี ยกว่า แอกซอน(Axon)
ซึงเป็ นทางออกหลักของข้อมูลทีส่ งออกจากเซลล์นนั (Buzan, 1997 อ้างถึงใน สุ พรรณี สุ วรรณจรัส,
2543 : 46-47) เดนไดรต์และแอกซอนแต่ละอันมีความยาวตังแต่ 1 มิลลิเมตร จนถึง 1.5 เมตร และ
ตลอดความยาวจะมีตุ่มคล้ายดอกเห็ ดยืนออกมาเป็ นระยะ ๆ มีชือเรี ยกว่ากระดูกสันหลังของเดน
ไดรต์ (Dendrites Spines) และกระดุมเชือมต่อ(Synaptic Buttons) ซึงภายในจะถูกบรรจุดว้ ยสารเคมี
ทีเป็ นตัวนําข้อมูลข่าวสารในกระบวนการคิดของมนุษย์ ตุ่มดังกล่าวจากเซลล์สมองเซลล์หนึงจะไป
เชื อมโยงติดต่อกับตุ่มจากเซลล์สมองเซลล์อืนๆ ซึ งเมื อกระแสไฟฟ้ าวิงผ่านไปมาระหว่างเซลล์
สมองหลาย ๆ เซลล์โ ดยผ่า นทางเดนไดรต์ห รื อ แอกซอน สารเคมี จ ะถู ก ส่ ง ผ่า นช่ อ งว่า งเล็ก ๆ
ระหว่างตุ่มดังกล่าวข้างต้น โดยช่องว่างนีมีชือว่าช่องว่างจากการเชือมต่อ(Synaptic Gap)สารเคมีจะ
จับกับพืนผิวที สอดรั บกันพอดี แล้วกระตุน้ ให้เกิ ดกระแสประสาทวิงผ่านไปยังเซลล์สมองที ทํา
หน้าทีรับแล้วส่ งกระแสประสาทต่อไปอีกเป็ นทอด ๆ
ถึ ง แม้จ ะดู ว่า เป็ นขันตอนไม่ ยุ่งยาก แต่ ขอ้ มู ลข่าวสารทางชี ว เคมี ที วิ งผ่า นรอยเชื อมต่ อ
(Synapse) กลับมีปริ มาณมากมายมหาศาลและสลับซับซ้อนมาก เหมือนกระแสนําตกในแอการา
เซลล์สมองเซลล์หนึ งอาจจะได้รับกระแสประสาทจากจุดเชือมต่อต่าง ๆ มากถึงหลายๆ ล้านจุดใน
แต่ละวินาที และจะทําหน้าทีคล้ายจุดเชือมต่อสัญญาณโทรศัพท์ โดยจะประมวลผลรวมของข้อมูล
กลับออกไปตามทางทีเหมาะสม จากการผ่านไปมาของข่าวสารความคิดหรื อความทรงจําเก่า ๆ ซํา
ไปซํา มาจากเซลล์ ส มองหนึ งไปยัง อี ก เซลล์ ห นึ ง จะทํา ให้ เ กิ ด เส้ น ทางเดิ น ของคลื นและ
แม่เหล็กไฟฟ้ าทางชี วเคมีเกิ ดขึน เส้นทางดังกล่าวมีชือเรี ยกว่า ร่ องรอยของความทรงจํา(Memory
Trace) หรื อแผนทีความคิด(Mental Maps)

ความหมายของแผนผังทางปัญญา
สุ พิศ กลินบุปผา (2545 : 15)ได้กล่าวว่าแผนผังทางปั ญญาเป็ นวิธีการสร้างแผนผังทีแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดหลักกับความคิ ดย่อยช่ วยพัฒนาการจัดระบบความคิด รวบรวม
รายละเอียดข้อมูลไว้ดว้ ยกัน จึงช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรี ยนรู ้เกียวกับการจัดกลุ่มเนื อหา การ
ปรับปรุ งการระลึก การสร้ างความคิดสร้างสรรค์ มีคุณค่าอย่างยิงสําหรั บการไตร่ ตรอง และการ
เรี ยนรู ้ อีกทังยังสามารถนํามาใช้กบั ผูเ้ รี ยนได้ทุกระดับและช่ วยควบคุมการระดมสมองในเรื อง
ใหม่ๆ การวางแผนการสรุ ป การทบทวน การจดบันทึก
ธี ระพัฒน์ ฤทธิ ทอง (2545 : 45) ได้ให้ความหมายของแผนผังทางปั ญญาไว้ว่าเป็ น
ยุทธศาสตร์ การสอนทีพัฒนาการคิด ช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้มีความคิดสร้างสรรค์เหมาะกับนักเรี ยน
ได้สงั เคราะห์ความคิด ในการวิเคราะห์งาน วางแผนการทํางานและทบทวนความจํา
นิ ปาตีเมาะ หะยีหามะ (2546 : 42) ได้ให้ความหมายของแผนผังทางปั ญญาไว้ว่า เป็ นการ
ถ่ายทอดความคิดความเข้าใจเรื องใดเรื องหนึ งของเนื อหาออกมาในลักษณะรู ปธรรม โดยการจัด
กลุ่มความคิด การเชือมโยง การผูกต่อข้อมูลทังหมดเข้าด้วยกันเพือให้เกิดความสัมพันธ์ต่อเนื องกัน
โดยจะมีคาํ สําคัญหลัก หรื อรู ปภาพสัญลักษณ์ อยู่ตรงกลางหน้ากระดาษ เชื อมโยงสําคัญอืนๆ ที
เกียวข้องกับคําสําคัญหลักออกไปทุกทิศทาง เพือให้เข้าใจง่ายยิงขึน สามารถจดจําข้อมูลได้ยาวนาน
ธัญญา ผลอนันต์ (2543 : 49) ได้ให้ความหมายของแผนผังทางปั ญญาไว้ว่าเป็ นการแสดง
ความสัมพันธ์ของสาระหรื อความคิดต่าง ๆ ให้เห็ นเป็ นโครงสร้ างของภาพรวม โดยใช้เส้น คํา
ระยะห่ างจากจุดศูนย์กลาง สี เครื องหมาย รู ปทรงเรขาคณิ ตและภาพ แสดงความหมายและความ
เชือมโยงของความคิด หรื อสาระนัน ๆ
สมศักดิ สิ นธุ ระเวชญ์ (2545 : 219) ได้ให้ความหมายของแผนผังทางปั ญญาไว้ว่าแผนผัง
ทางปั ญญาเป็ นกระบวนการคิดในรู ปแบบภาพความคิด ทีมีต่อหัวเรื องทีจะคิดอยู่ตรงกลาง และมี
ความคิ ด ในเรื องย่อ ย ตลอดจนรายละเอี ย ดต่ า ง ๆ แตกสาขาออกไปเป็ นเทคนิ ค ในการพัฒ นา
ความคิดสร้างสรรค์
ระวิวรรณ ขวัญศรี (2548 : 12) ได้ให้ความหมายของแผนผังทางปั ญญาไว้ว่า เป็ นการนํา
ข้อมู ลที มี ความสลับซับซ้อนนํามาจัดเป็ นระบบใหม่ สร้ างให้เ ป็ นรู ปภาพ โดยการจัดกลุ่มของ
ความคิด การเชื อมโยงประเด็นหลัก และประเด็นย่อยๆ เข้าด้วยกัน โดยอาจจะสร้างออกมาเป็ น
รู ปภาพ หรื อคําสําคัญหลัก ให้อยูต่ รงกลางหน้ากระดาษเพือดึงดูดความสนใจในการเรี ยนรู ้ และง่าย
ต่อการจดจําเนือหาทีเรี ยนได้ยาวนาน
Buzan (1997 : 59 ) ได้อธิ บายความหมายของแผนผังทางปั ญญาไว้ว่า เป็ นการแสดงออก
ของการคิดแบบรอบทิศทาง ซึงเป็ นลักษณะการทํางานตามธรรมชาติของสมองมนุษย์นอกจากนี ยัง
เป็ นเทคนิคการแสดงออกด้วยภาพทีมีพลังนําไปสู่ กุญแจสากลทีจะใช้ไขประตูสู่ ศกั ยภาพของสมอง
แผนผังทางปั ญญาสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้กบั แง่มุมมองชีวิตซึงการเรี ยนทีได้รับการพัฒนาและ
การคิดทีแจ่มชัดขึนจะนําไปสู่การพัฒนาการกระทําต่าง ๆ ของมนุษย์
Morris and Dore (1984 : 48) ได้ให้ความหมายของแผนผังทางปั ญญาไว้ว่า แผนผังทาง
ปั ญ ญาเป็ นเทคนิ ค ที มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ที ช่ ว ยให้ ผู ้เ รี ยนพัฒ นาการจัด ระบบความคิ ด รวบรวม
รายละเอี ยดต่าง ๆ เข้าเป็ นกลุ่มตามหัวข้อหรื อประเภทความสัมพันธ์ระหว่างใจความสําคัญกับ
ใจความย่อย
Rosenbery (1987 : 2249 อ้างถึงใน สุ พิศ กลินบุปผา, 2545 : 14) ได้แสดงความคิดเห็นไว้ว่า
การสร้างแผนผังทางปั ญญาเป็ นเทคนิ คทีทําให้เห็นภาพ เป็ นรู ป เป็ นร่ างขึน ทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดความ
เข้าใจในงานเขียนนัน ๆ ได้ง่ายขึน

2.แนวความคิดในการสร้ างแผนผังทางปัญญา

(Buzan, 1997 : 83-90 อ้างถึงใน สุ พรรณี สุ วรรณจรัส, 2543 : 49)


จากความเชื อว่าพลังของแผนผังทางปั ญญาเกิดจากการมีภาพตรงกลาง แทนทีจะเป็ นการ
เขียนคําไว้ตรงกลาง และการใช้รูปในทุกที ทีเหมาะสมมากกว่าจะใช้คาํ การผสมผสานทักษะการ
ทํางานของสมองทังสองซี กด้วยคํา และภาพ จะทวีคูณกําลังความสามารถของความคิด โดยเฉพาะ
อย่างยิงถ้าหากสร้างภาพนันขึนเอง
เทคนิ คแผนผังทางปั ญญาจะต้องใช้ทกั ษะทังหมดของเปลือกสมอง ไม่ว่าจะเป็ นการใช้คาํ
รู ปภาพ ตัวเลข ตรรกะ จังหวะ สี และการรับรู ้ช่องว่าง มารวมกันเป็ นเทคนิ คทีทรงพลังเพียงหนึ ง
เดียว ในการทําเช่นนี จะทําให้ผใู ้ ช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญามีอิสระในการนําความสามารถทีไม่มี
ขีดจํากัดของสมองออกมาใช้
คุณลักษณะสํ าคัญของแผนผังทางปัญญา (Mind Mapping Essential Characteristics)
Buzan (1997 : 59 อ้างถึงใน สมาน ถาวรรัตนวนิช, 2541 : 34) ได้สรุ ปลักษณะเฉพาะของ
แผนผังทางปั ญญาไว้ 4 ลักษณะ คือ
1. เรื องหรื อประเด็นทีสนใจให้สร้างขึนตรงกลางของภาพ
2. หัวข้อหลักของเรื องหรื อประเด็นทีสนใจ จะสร้างแผ่ขยายจากตรงกลางของภาพรอบ
ทิศทางซึงเปรี ยบเสมือนกิงก้านของต้นไม้ทีแตกแขนงออกมา
3. กิ งก้านทีแตกแขนงออกมาจะประกอบด้วยภาพหรื อคําสําคัญทีเขียนบนเส้นทีแตก
ออกมา ส่ วนคําอืน ๆ ทีมีความสําคัญรองลงมาจะเขียนในกิงก้านทีแตกออกในลําดับต่อ ๆ ไป
4. กิงก้านจะถูกเชื อมโยงกันในลักษณะทีแตกต่างกัน ตามตําแหน่ งและความสําคัญของ
ประเด็นต่างๆ
กฎเกณฑ์ ของแผนผังทางปัญญา (Mind Map Laws)
หลักของแผนผังทางปั ญญา คือ การฟื นความจําในทุกเรื องทีคิดออกจากกรอบศูนย์กลาง
ความคิด สมองสามารถจุดประกายความคิดต่าง ๆ ได้ การเขียนแผนผังทางปั ญญาจึงเป็ นอิสระทาง
ความคิด ไม่สร้างความสับสน และมีความเป็ นระเบียบและยึดหยุน่ การสร้างแผนผังทางปั ญญาจึงมี
กฎเกณฑ์กาํ หนดลักษณะพืนฐานไว้ดงั ต่อไปนี
เทคนิ ค (Techniques) แผนผังทางปั ญญาเป็ นเครื องมือทีต้องอาศัยเทคนิ คทีช่ วยทําให้
ประสิ ทธิ ภ าพในการคิ ด เพิมขึ น ซึ งถื อ ว่า เป็ นลัก ษณะพืนฐานที ต้อ งมี ใ นแผนผัง ทางปั ญ ญาทุ ก
แผนผังโดยแบ่งได้เป็ น 4 ลักษณะ ดังนี
1. ใช้การเน้น (Use Emphasis) ในการสร้างแผนผังทางปั ญญาจะต้องมีการเน้นให้เห็นถึง
ความสําคัญของความคิดในแผนผัง โดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่
1.1.การใช้รูปภาพตรงกลางและใช้สีตงแต่ ั 3 สี ขึนไป
1.2. การใช้คาํ และรู ปภาพทีมีมิติแตกต่างกัน
1.3. การใช้คาํ หรื อรู ปภาพทีสามารถรับรู ้ และเข้าใจได้ง่าย
1.4. การใช้คาํ เส้น และรู ปภาพทีมีขนาดแตกต่างกัน
1.5. การเว้นระยะทีเหมาะสมระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆของแผนผัง
2. การเชือมโยงสัมพันธ์ (Use Association) ในการสร้างแผนผังทางปั ญญาผูส้ ร้างสามารถ
ถ่ายทอดความคิดทีมีการเชือมโยงออกมาได้ดว้ ยการใช้เทคนิคต่าง ๆ ดังนี
2.1. การใช้ลูกศรเมือต้องการเชือมโยงความคิดภายในความคิดหลักเดียวกัน หรื อ
ระหว่างความคิดหลักแต่ละความคิด
2.2. การใช้สี
2.3. การใช้รหัส หรื อสัญลักษณ์ต่าง ๆ
3. มีความชัดเจน(Be Clear) แผนผังทางปัญญาจะต้องมีความชัดเจนในประเด็น ต่อไปนี
3.1.ในการแสดงความคิดจะใช้คาํ เพียง 1 คําต่อเส้น 1 เส้นเท่านัน
3.2.การถ่ายทอดความคิดของผูส้ ร้างแผนผังสามารถเขียนลงบนแผนผังทางปั ญญา
ได้โดยคําทีใช้สันกะทัดรัด และสามารถแสดงถึงความสําคัญได้ดว้ ยการใช้ตาํ แหน่ งบน
แผนผัง
3.3. ในการเขียนคําจะเขียนเหนือเส้นแต่ละเส้น
3.4. ลากเส้นแต่ละเส้นให้มีความยาวเท่ากับความยาวของคําบนเส้น
3.5. ลากเส้นหลักเพือเชือมโยงรู ปภาพตรงกลางกับความคิดหลัก
3.6. แสดงความเชือมโยงของเส้นแต่ละเส้นกับเส้นอืน ๆ
3.7. ลากเส้นหลักให้หนากว่าเส้นอืน ๆ
3.8. สร้างแผนผังทางปัญญาให้มีลกั ษณะทีต่อเนืองกัน
3.9. วาดรู ปภาพให้มีความชัดเจนทีสุ ดเท่าทีจะเป็ นไปได้
3.10. พยายามวางกระดาษในการสร้างแผนผังให้อยูใ่ นแนวนอน
3.11. เขียนคําไม่ให้กลับหัว
4. มีการพัฒนารู ปแบบของตนเอง แต่ในขณะเดียวกันก็ตอ้ งรักษากฎเกณฑ์พืนฐานของ
แผนผังทางปั ญญาด้วย (Develop a Personal Style While Maintaining The Mind Map Laws) การ
สร้ างแผนผังทางปั ญญาเป็ นการแสดงถึ งลักษณะความคิ ดที เป็ นส่ วนตัวของผูส้ ร้ างแผนผังทาง
ปั ญญา และทําให้สามารถจดจําข้อมูลในแผนผังได้ง่ายขึน แต่ก็ตอ้ งรั กษากฎเกณฑ์พืนฐานของ
แผนผังทางปัญญาไว้ให้ครบถ้วนด้วย
นอกจากนี ธัญญา ผลอนันต์ (2545, 96-105) ได้สรุ ปกฎของแผนผังทางปัญญาไว้ ดังนี
1. เริ มด้วยภาพสี ตรงกึงกลางหน้ากระดาษ ภาพๆ เดียวจะแทนคํามากกว่าพันคําและยังช่วย
ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และเพิมความจํามากขึนด้วย ให้วางกระดาษตามแนวนอน
2. ใช้ภาพให้มากทีสุ ดในการเขียนแผนผังทางปั ญญา ตรงไหนทีใช้ภาพได้ให้ใช้ภาพก่อน
ใช้คาํ หรื อรหัส เพือเป็ นการช่วยการทํางานของสมอง ดึงดูดสายตา และช่วยจํา
3. ควรเขียนคําบรรจงตัวใหญ่ ๆ ถ้าเป็ นภาษาอังกฤษให้ใช้ตวั พิมพ์ใหญ่ เพือทีว่าเมื อ
ย้อนกลับมาอ่านใหม่จะให้ภาพทีชัดเจน และสะดุดตาอ่านง่าย
4. เขียนคําเหนื อเส้น และแต่ละเส้นต้องเชือมต่อกับเส้นอืนๆ เพือให้แผนผังทางปั ญญามี
โครงสร้างพืนฐานรองรับ
5. คําควรจะมีลกั ษณะเป็ นหน่วย เช่น คําละเส้นเพราะจะช่วยให้แต่ละคําเชือมโยงกับคําอืน
ๆ ได้อย่างอิสระ เปิ ดทางให้แผนผังทางปัญญาทีสร้างขึนมีความยึดหยุน่ และคล่องตัวมากขึน
6. ใช้สีให้ทวแผนผั
ั งทางปั ญญาทีสร้างขึน เพราะสี ช่วยยกระดับความจํา เพลินตากระตุน้
สมองซีกขวา
แบบแผนของแผนผัง (Layout) การสร้างแผนผังทางปั ญญานอกจากใช้เทคนิ คต่าง ๆ ช่วย
ให้แผนผังมีประสิ ทธิภาพแล้วยังต้องอาศัยการวางรู ปแบบของแผนผังทีดีอีกด้วยได้แก่
1. การใช้การเรี ยงลําดับขันของการคิด (Use Hierarchy) ในการสร้างแผนผังทางปั ญญาต้อง
มีการเรี ยงลําดับการคิดก่อนและหลังในเรื องต่าง ๆ
2. การใช้การเรี ยงลําดับเกียวกับตัวเลข (Use Numerical Order) การสร้างแผนผังทางปั ญญา
ในงานบางอย่าง เช่น การพูด การเรี ยงความ และการตอบข้อสอบ ต้องมีลาํ ดับขันในการเขียนหรื อ
การพูด ตัวเลขเป็ นสัญลักษณ์ทีจะอ้างอิงถึงขันตอนและช่วยจัดขันตอนในการนําเสนอได้เป็ นอย่างดี

ข้ อเสนอแนะเกียวกับลักษณะของแผนผังทางปัญญาทีดี ควรมีลกั ษณะดังต่ อไปนี


1. แผนผังทางปั ญญาไม่มีความยุง่ เหยิงหรื อมีความสับสน ถึงแม้ว่าจะมีการแตกแขนงของ
ความคิดมากมาย แต่ผอู ้ ่านแผนผังก็สามารถเข้าใจถึงความคิด และขันตอนของความคิดทีแสดงใน
แผนผังทางปั ญญาได้โดยไม่สบั สน
2. รู ปภาพและคํามีความหมายทีชัดเจน และมีความเป็ นรู ปธรรมสามารถเข้าใจได้ง่ายโดย
ใช้เวลาน้อย
สาระสํ าคัญของแผนผังทางปัญญา (Mind Mapping Elements)
1. การเริ ม (Start) ในการเริ มสร้างแผนผังทางปั ญญาต้องอาศัยการเริ มจากคําหรื อมโนทัศน์
ทีจะเป็ นประเด็นหลัก
2. การใช้ (Use) แผนผังทางปัญญาจะใช้ 3 องค์ประกอบย่อย ดังนี
2.1. คําสําคัญ (Keyword) เป็ นคําทีจะแสดงถึงสิ งทีต้องการเชือมโยงหรื อเกียวข้อง
กับคําหรื อมโนทัศน์ทีเป็ นประเด็นหลักโดยคําสําคัญไม่จาํ กัดว่าจะเป็ นคําทีมีความเป็ นนามธรรม
หรื อรู ปธรรมมากเท่าใด
2.2. การเชือมโยง (Connect) ในการสร้างแผนผังทางปั ญญาต้องแสดงถึงความ
เชือมโยงของคําสําคัญทีปรากฏอยูบ่ นแผนผัง จะทําให้มีความต่อเนื องของความคิด และคําสําคัญมี
ความหมายมากขึน โดยการเชือมโยงนันสามารถใช้วิธีการได้หลายวิธี เช่น การแสดงด้วยลักษณะ
ของเส้น ลูกศรแบบต่าง ๆหรื อใช้รหัสก็ได้
2.3. การเน้นความสําคัญ (Emphasis) เป็ นการทําให้ผสู ้ ร้างแผนผังทางปั ญญา
สามารถจัดลําดับความคิดได้ และรู ้ถึงความสําคัญหรื อลําดับก่อนหลังได้ โดยวิธีการนีสามารถทําได้
หลายวิธีเช่นกัน การใช้ขนาดของตัวอักษร สี ต่าง ๆกัน หรื ออาจใช้ตวั หนังสื อทีมิติแตกต่างกัน
3. การเขียน (Print) ในการสร้างแผนผังทางปั ญญา ต้องมีการเขียนในลักษณะทีแตกต่างกัน
ไปตามจุดประสงค์ของผูส้ ร้าง ซึงไม่ควรมีเพียงตัวหนังสื อ หรื อคําเท่านันควรมีภาพ หรื อสัญลักษณ์
ต่าง ๆ ประกอบ เพือทําให้เกิดความหมายมากยิงขึน
ขันตอนในการสร้ างแผนผังทางปัญญา
ขันที 1 เริ มด้วยสัญลักษณ์หรื อรู ปภาพลงบนกลางกระดาษ
ขันที 2 ระบุคาํ สําคัญหลัก
ขันที 3 เชื อมโยงคําอืน ๆ ทีเกี ยวข้องกับคําสําคัญหลักด้วยเส้นโยงจากคําสําคัญ
หลักตรงกลางออกไปทุกทิศทุกทาง
ขันที 4 เขียนคําทีต้องการ 1 คําต่อ 1 เส้นและแต่ละเส้นควรเกียวข้องกับเส้นอืน ๆ
ด้วย
ขันที 5 ขยายคําสําคัญอืน ๆทีเกียวข้องให้มากทีสุ ดเท่าทีเป็ นไปได้
ขันที 6 ใช้สี รู ปภาพ ลักษณะของเส้น เป็ นการระบุถึงลักษณะของการเชื อมโยง
การเน้นหรื อลําดับ
อุปกรณ์ในการสร้างแผนผังทางปั ญญานันควรมีปากกาสี ต่าง ๆ กัน (อย่างน้อย 3 สี ) เพือใช้
ในการสร้างแผนทางปั ญญาทีมีความหลากหลาย และพืนทีทีจะใช้ในการสร้างแผนผังทางปั ญญา
ต้องมีขนาดกว้างพอสมควร อาจจะเป็ นกระดาษขนาดใหญ่ หรื อกระดานดําก็ได้และประโยชน์ของ
การใช้สี เส้น ภาพ รหัส สัญลักษณ์หลายประเภทในแผนผังทางปั ญญา มี ดังนี
1. ลูกศร ใช้เพือแสดงเห็นว่าแนวคิดต่าง ๆ ทีอยู่คนละส่ วนเชื อมโยงกันอย่างไรลูกศรนี
อาจจะมีหวั เดียวหรื อหลายหัวก็ได้ และสามารถชีไปข้างหลังหรื อข้างหน้าก็ได้
2. รหัส เราเขียนเครื องหมายต่าง ๆ เช่น ดอกจัน อัศเจรี ย ์ เครื องหมายคําถามไว้ขา้ งคําเพือ
แสดงการเชือมโยงหรื อ มิติอืน ๆ
3. รู ปทรงเรขาคณิ ต ใช้สีเหลี ยมจัตุรัส สี เหลี ยมผืนผ้า วงกลม วงรี และอื น ๆ เป็ น
เครื องหมายแสดงขอบเขตพืนที หรื อคําทีจัดเป็ นพวกเดี ยวกัน ตัวอย่าง เช่ น ใช้สามเหลียมแสดง
ขอบเขตของคําทีเป็ นทางออกทีพอจะเป็ นไปได้ในการแก้ปัญหา นอกจากนี รู ปทรงเรขาคณิ ตยัง
สามารถนํามาใช้ในการแสดงลําดับความสําคัญ เช่ น บางคนอาจใช้สีเหลียมจัตุรัสแสดงความคิด
หลัก สี เหลี ยมผืน ผ้า แสดงความคิ ด ที ใกล้เ คี ย งกับ ความคิ ด หลัก สามเหลี ยมแสดงความคิ ด ที มี
ความสําคัญรองๆ ลงไป และอืน ๆ
4. มิติอย่างมีศิลป์ นอกจากรู ปทรงเรขาคณิ ต ผูเ้ ขียนแผนผังทางปั ญญาสามารถทําให้รูปนัน
โดดเด่นขึนมาได้ดว้ ยการเพิมความลึกเข้าไป ตัวอย่างเช่น การทําสี เหลียมจัตุรัสให้เป็ นรู ปลูกบาศก์
ซึงจะทําให้ความคิดในรู ปทรงลูกบาศก์นีโดดเด่นขึนจากหน้ากระดาษ
5. ภาพความคิดสร้างสรรค์ ผูเ้ ขียนแผนผังทางปั ญญาสามารถประสานความคิดสร้างสรรค์
เข้ากับการใช้มิติได้ ด้วยการจัดให้รูปแบบเหมาะสมกับเนื อหา เช่น เมือเขียนเรื องฟิ สิ กส์ อะตอม ก็
วาดรู ปนิวเคลียสทีมีอิเล็กตรอนวิงรอบ ๆ ให้เป็ นภาพศูนย์กลางของแผนผังทางปัญญา
6. สี ช่ วยกระตุน้ ความจําและช่ วยจุดความคิดสร้ างสรรค์ด้วย สามารถให้แสดงการ
เชือมโยงความคิดทีอยูค่ นละส่ วนเช่นเดียวกับลูกศร ทังยังใช้แสดงอาณาเขตของความคิดหลัก ๆได้
อีกด้วย
รูปแบบของแผนผังทางปัญญา
การสร้างแผนผังเป็ นการจัดกลุ่มความคิดรวบยอดเพือให้เห็นความสัมพันธ์ของความคิด
ระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนําเสนอเป็ นภาพหรื อผังสามารถนําเสนอได้หลาย
ลักษณะ (กรมวิชาการ ศูนย์พฒั นาหลักสูตร, 2543 : 15-17)
1. แผนผังความคิดรวบยอด (Concept Map) ทําได้โดยเขียนความคิดรวบยอดไว้ขา้ งบน
หรื อตรงกลางแล้วลากเส้นให้สัมพันธ์กบั ความคิดรวบยอดอืนๆ ทีสําคัญรองลงไปหรื อความคิดที
ละเอียดซับซ้อนยิงขึน ดังนี
2. แผนทีความคิด (Mind Mapping) ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรื องใดเรื องหนึ ง
ระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยทีเกียวข้องสัมพันธ์กนั
3. แผนผังใยแมงมุม (A Spider Map) ทําได้โดยเขียนความคิดรวบยอดทีสําคัญไว้กึงกลาง
แล้วเขียนคําอธิ บายบอกลักษณะของความคิดรวบยอดอืน ๆ ไว้ดว้ ย ใช้ในการแสดงในการแยกแยะ
องค์ประกอบต่าง ๆ ของข้อมูล
4. แผนผังรู ปวงกลมทับเหลือม (An Overlapping Circles Map) เป็ นการเขียนเพือนําเสนอ
สิ งทีเหมือนกันและต่างกัน
5. แผนผังวงจร (A Circle Map) เป็ นการเขียนแผนผังเพือเสนอขันตอนต่าง ๆ ทีสัมพันธ์
เรี ยงลําดับเป็ นวงกลม
6. แผนผังก้างปลา (A Fishbone Map) เป็ นการเขียนแผนผังโดยกําหนดประเด็นหรื อเรื อง
แล้วเสนอสาเหตุและผลต่างๆ ในแต่ละด้าน
7. แผนผังแสดงปฏิสัมพันธ์ระหว่างสองกลุ่ม (A Two-Group Interaction Map) เป็ นการ
เขียนเพือเสนอวัตถุประสงค์ การกระทําและการตอบสนองของกลุ่มสองกลุ่มทีขัดแย้งหรื อแตกต่าง
กัน
8. แผนผังตารางเปรี ยบเทียบ (A Compare Table Map) เป็ นการเขียนตารางเพือเปรี ยบเทียบ
สองสิ งในประเด็นทีกําหนด
การนําแผนผังทางปัญญามาประยุกต์ ใช้ ในงานต่ างๆ (Application of Mind Mapping)
Buzan (1997 : 175-283 อ้างถึงใน สุ พรรณี สุ วรรณจรัส, 2543 : 54-57)ได้เสนอว่า แผนผัง
ทางปัญญานันสามารถนํามาใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ ได้มากมาย ได้แก่
1. การจดบันทึก (Note Taking) การจดบันทึกโดยทัวไปมักใช้การแบบตามแนวนอนเป็ น
การขยับจากความคิดหนึ งไปสู่ ความคิดอืนๆ เป็ นเส้นตรงและเส้นขนานจึงเป็ นการจดบันทึกแบบ
สมองซี กซ้าย ทําให้ไม่ได้ประโยชน์จากการจดบันทึกอย่างเต็มที เนื องจากไม่เห็นถึงจุดสําคัญ และ
ไม่สามารถนําความคิดมาเชือมโยงต่อกันได้ ทําให้ยากต่อการจํา ดังนันถ้าใช้การจดบันทึกเป็ นแบบ
แผนผังทางปัญญา จะทําให้ผจู ้ ดบันทึกเห็นภาพรวม จุดสําคัญและความเชือมโยงของเนื อหา มีความ
เป็ นอิสระ ง่ายต่อการจดจํา จนเกิดความเข้าใจในเนือหานัน ๆ มากขึน
2. การตัดสิ นใจ (Decision Making) ในการตัดสิ นใจทําสิ งใดสิ งหนึ ง โดยปกติมกั จะไม่
สามารถเห็นถึงผลดีหรื อผลเสี ยได้ชดั จน ทําให้บางครังเกิดการตัดสิ นใจทีผิดพลาด ก่อให้เกิดผลเสี ย
กับตนเอง และส่ วนรวมได้ ถ้ามีการใช้แผนผังทางปั ญญาช่วยในการตัดสิ นใจจะทําให้สามารถเห็น
ถึงผลดีหรื อผลเสี ยทีเกิดจากการตัดสิ นใจได้ชดั เจนยิงขึน ทําให้โอกาสในการตัดสิ นใจผิดพลาดมี
น้อยลงด้วย
3. การเสนอผลงาน (Presentation) การเสนอผลงานทีทําโดยทัวไปบางครังทําให้ผรู ้ ับสาร
ไม่สามารถเข้าใจได้อย่างชัดเจน ไม่เห็นภาพรวมหรื อองค์ประกอบของสิ งทีกําลังแสดงรวมไปถึง
การเชือมโยงขององค์ประกอบย่อยอีกด้วย แต่ถา้ มีการใช้แผนผังทางปั ญญาในการเสนอผลงานจะ
ทําให้เห็นภาพรวมของสิ งทีต้องการแสดง รวมทังการเชือมโยงขององค์ประกอบ และมีการเน้นถึง
ส่ วนที สําคัญ อาจทําให้ผูฟ้ ั งเกิ ดความสนใจในการนําเสนอ และจะส่ งผลให้การเสนอผลงานมี
ประสิ ทธิภาพมากยิงขึน
4. การแก้ปัญหา ในการทีบุคคลพบปั ญหาแล้วไม่สามารถแก้ปัญหานันได้เป็ นเพราะไม่
ทราบถึงสาเหตุทีแท้จริ งของการเกิดปั ญหา และไม่สามารถคิดกระบวนการทีจะแก้ปัญหานัน ๆ ได้
แต่ถา้ มีการใช้แผนผังทางปั ญญาในการแก้ปัญหา ก็จะทําให้ผนู ้ นสามารถรู
ั ้ถึงสาเหตุทีแท้จริ งได้ง่าย
ขึน และยังสามารถเชือมโยงสาเหตุกบั ปั ญหาได้ง่ายขึน รวมทังสามารถหาทางเลือกทีเหมาะสมและ
จัดลําดับวิธีการแก้ปัญหาได้อีกด้วย
5. การวางแผน (Planning) ในการวางแผนจะต้องอาศัยการวิเคราะห์ถึงปั จจัยทีเกียวข้องกับ
การดําเนินงาน เช่น จุดประสงค์ บุคคลทีเกียวข้อง สถานที เวลาทีเหมาะสมเป็ นต้น ดังนันหากมีการ
ใช้แผนผังทางปั ญญาในการวางแผนก็จะทําให้สามารถวิเคราะห์ปัจจัยดังกล่าวได้อย่างครอบคลุม
จึงทําให้การวางแผนมีประสิ ทธิภาพมากยิงขึน
6. การประชุม สามารถนําแผนผังทางปั ญญามาประยุกต์ใช้ในการประชุมได้โดยการจัดวาง
หัวเรื องทีจะประชุมไว้ตรงกลางภาพ และวาดประเด็นหลักการประชุมตามกิงก้านสาขา และจัดวาง
ข้อมูลต่าง ๆ ตามแขนงทีแตกออกไปตามลําดับ ซึงทําให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมสามารถเข้าใจประเด็นต่าง
ๆ ในการประชุมได้ง่าย ทําให้ใช้เวลาในการประชุมไม่มากและการประชุมสามารถบรรลุเป้ าหมายที
วางไว้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
7. การสอน งานหลักของครู คือ การพัฒนาผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการและกิจกรรมต่าง ๆ การจัดการ
เรี ยนการสอนหรื อการจัดการเรี ยนรู ้จึงเป็ นหัวใจของการปฏิบตั ิงานของครู ซึ งถือว่าเป็ นทังศาสตร์
และศิลป์ แผนผังทางปั ญญาจึ งเป็ นเครื องมืออย่างหนึ งที สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอน หรื อใช้ในการวางแผนการสอน สรุ ปประมวลความรู ้ทีได้จากการเรี ยน
การสอน อีกทังให้มองเห็ นภาพรวมของเนื อหาทังหมด ครู สามารถสอนได้ครบทุกประเด็นที
วางแผนไว้ เร้าความสนใจของนักเรี ยนและส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนทีเน้นนักเรี ยนเป็ นศูนย์กลาง
ทําให้การสอนมีประสิ ทธิภาพมากยิงขึน
สรุ ปได้ว่า เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา เป็ นวิธีการผสมผสานทักษะการทํางานของสมองทัง
สองซี กด้วยคําและภาพ สามารถนําไปใช้ในงานต่าง ๆ ได้แก่ การจดบันทึก การตัดสิ นใจ การเสนอ
ผลงาน การแก้ปัญหา การวางแผน และการสอน เป็ นวิธีการทีช่วยประหยัดเวลาในการสรุ ปข้อมูลที
มีจาํ นวนมาก ช่วยให้เกิดสร้างสรรค์ทางความคิด และช่วยเพิมความจํา ในการเรี ยนการสอนครู ควร
มีการส่ งเสริ มเทคนิคดังกล่าวเพือเป็ นการพัฒนานักเรี ยน
3.แนวคิดเกียวกับรู ปแบบการสอน

แนวคิดเกียวกับรู ปแบบการสอน ได้มีผเู ้ ชียวชาญเสนอไว้ ดังจะได้กล่าวในประเด็นสําคัญๆ


ทีจะนํามาใชประโยชนืในการพัมนารู ปแบบการสอน ดังนี
3.1 ความหมายของรูปแบบการสอน นันมีผใู ้ ห้ความหมายไว้หลายแง่มุม ดังนี
เวย์เลอร์ และคณะ (Sayler and others, 1981) กล่าวไว้ว่า รู ปแบบการสอน (Teaching
Model) หมายถึง แบบ หรื อ แผน (Pattern) ของการสอนทีมีพฤติกรรมขึนจํานวนหนึ ง ซึ งมีความ
แตกต่างหัน เพือจุดหมาย หรื อจุดเน้นเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึง
จอยส์ และเวลล์ (Joyce And Well, 1996) กล่าวว่ารู ปแบบการสอนเป็ นแผน หรื อแบบซึ ง
สามารถใช้เพือการสอนในห้องเรี ยน หรื อการสอนพิเศษเป็ นกลุ่มย่อย หรื อเพือจัดสื อการสอนซึ ง
รวมถึง ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสี ยง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และหลักสู ตรรายวิชา แต่ละรู ปแบบจะ
ให้แนวทางในการออกแบบการสอนทีช่วยให้เด็กบรรลุวตั ถุประสงค์ต่างๆกัน
สมหวัง พิธิยานุวฒั น์ (2529) กล่าวว่า “รู ปแบบ” น่ าจะมาจากคําในภาษาอังกฤษ “Model”
และได้ให้ตาํ จํากัดความของ Model ว่าคือ รู ปแบบหรื อแบบจําลอง โดยความคิดรวบยอดของคํา
ในทางการศึกษาศาสตร์ นนั รู ปแบบ คือ ความสัมพันธ์ของตัวแปร เป้ นกรอบแนวคิด และเป็ นการ
แทนความคิดออกมาเป็ นรู ปธรรม
ละเอียด รักษ์เผ่า (2528) ให้ความหมายของรู ปแบบการสอนว่า รู ปแบบการสอน หมายถึง
รายละเอียดหรื อคําชีแจงยุทธศาสตร์ สาํ หรับการสอนทีออกแบบขึน เพือจุดมุ่งหมายเฉพาะด้านการ
สอน
บุญชม ศรี สะอาด (2537) ได้แบ่งความหมายของรู ปแบบการสอนออกเป็ น 2 แนวใหญ่ๆ
แนวแรกมองรู ปแบบการสอนเป็ นกิจกรรมหรื อวิธีการสอน ส่ วนแนวที 2 มองรู ปแบบการสอน
กว้างกว่า โดยมองว่าเป็ นโครงสร้างทีแสดงถึงองค์ประกอบต่างๆ ในการสอนทีจะนํามาใช้ร่วมกัน
เพือให้เกิ ดผลแก่ ผูเ้ รี ยนตามจุดประสงค์ทีกําหนดไว้ ตัวอย่างของรู ปแบบการสอนตามแนวแรก
ได้แก่ แนวความคิดของจอยซ์และเวลล์ ลอร์ และคณะ ตัวอย่างรู ปแบบตามแนวที 2 ได้แก่ รู ปแบบ
การสอนของบลูม ของโกวิท ประวาลพฤกษ์ และของบุญชม ศรี สะอาด และนิภา ศรี ไพโรจน์
จากความหมายของรู ปแบบการสอนข้างต้น อาจสรุ ปได้ว่า รู ปแบบการสอน หมายถึง แบบ
แผนของการสอนทีกําหนดไว้ล่วงหน้า โดยจัดทําขึนอย่างมีจุดมุ่งหมายเฉพาะด้านการสอนทีชัดเจน
ประกอบด้ว ยองค์ป ระกอบต่ า งๆทางการสอน ได้แ ก่ หลัก การ เนื อหา ขันตอนการสอน การ
ประเมิ นผล และกิ จกรรมการสนับสนุ นอืนๆที มี ความสัมพันธ์กันอย่างเป็ นระบบ เพือให้บรรลุ
จุดมุ่งหมายในการสอนนันๆ
3.2 แนวคิดเกียวกับการพัฒนารูปแบบการสอน
แนวคิดเรื องระบบ (System Approach) เป็ นทีนิ ยมกันมากในปั จจุบนั ซึ งนํามาใช้ในการ
พัฒนารู ปแบบการสอน เพราะมีหลักการว่าเป็ นการจัดองค์ประกอบต่างๆในระบบให้สอดคล้องกัน
โดยมุ่งให้เกิดผลผลิตตามเป้ าหมาย ดังนันจึงตรงกับวัตถุประสงค์ของการสอนทีมุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดการ
เรี ยนรู ้ และนักศึกษาหลายคนก็มีความเห็นตรงกันว่า การสอนทีดีนนั คือ การจัดระบบในการสอน
ให้ผเู ้ รี ยนมีสมั ฤทธิผลในการเรี ยนตามทีกําหนดในเป้ าหมาย
3.3 ความหมายของระบบ
ระบบ (System) หมายถึง กลุ่มความคิดทีได้มีการจัดระบบระเบี ยบ หรื อมีการเรี ยบเรี ยง
อย่างมีขนตอน ั หลักการหรื อข้อเท็จจริ งทีจําเป็ นต้องแสดงให้เห็นอย่างครอบคลุม มีการเรี ยบเรี ยง
หรื อเชือมโยงภายใต้หลักเหตุผล (Webster’s New International Dictionary, 1957)
ระบบ หมายถึง ส่ วนรวมทังหมดทีประกอบด้วยส่ วนย่อยหรื อสิ งต่างๆทีมีความสัมพันธ์
ประกอบด้วยข้อมูลนําเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Output) และข้อมูลย้อนกลับ
(Feedback) (กิดานันท์ มลิทอง, 2540 : 64)
3.4 การพัฒนารู ปแบบการสอนตามแนวคิดของจอยซ์ และเวลล์ (Joyce and Weil, 1996)
ในการศึกษาค้นคว้าเกี ยวกับการพัฒนารู ปแบบการสอน ผูว้ ิจยั พบว่า แนวทางของจอยซ์
และเวลล์ เป็ นแนวทางทีผูส้ อนจะสามารถเข้าใจในประเด็นต่างๆทีเกียวข้อง ทําให้สามารถนําไปใช้
ได้จริ ง โดยการฝึ กตนเองให้สามารถใช้รูปแบบการสอนจนเกิดความชํานาญได้ นอกจากนี ยังเน้น
ความสําคัญของการพัฒนาผูเ้ รี ยนและพัฒนากลวิธีการเรี ยนรู ้ (Learning Strategies) ของผูเ้ รี ยน ซึ ง
ถือเป็ นเป้ าหมายของการให้การศึกษาตามทฤษฎีการศึกษายุคใหม่ ซึงมีสาระสําคัญสรุ ปได้ดงั นี
1) หลักการพัฒนารู ปแบบการสอน
1.การพัฒนารู ปแบบการสอน มีหลักการสําคัญ ประกอบด้วยรู ปแบบการสอนต้องมีทฤษฎี
รองรับ เช่น ทฤษฎีดา้ นจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ เป็ นต้น
2.เมือพัฒนารู ปแบบการสอนแล้ว ก่อนไปใช้อย่างแพร่ หลาย ต้องมีการวิจยั เพือทดสอบ
ทฤษฎี และตรวจสอบคุณภาพในเชิงการใช้สถานการณ์จริ งและนําข้อค้นพบมาปรับปรุ งแก้ไข
3.การพัฒนารู ปแบบการสอน อาจีออกแบบให้ใช้ได้อย่างกว้างขวาง หรื อเพือวัตถุประสงค์
เฉพาะอย่างใดอย่างหนึงก็ได้
4.การพัฒนารู ปแบบการสอน จะมีจุดมุ่งหมายหลักทีถือเป็ นแนวตังในการพิจารณาเลือก
รู ปแบบไปใช้ กล่าวคือ ถ้าผูใ้ ช้นาํ รู ปแบบการสอนไปใช้ตรงกับจุดมุ่งหมายหลัก จะทําการให้เกิดผล
สู งสุ ด แต่กส็ ามารถนํารู ปแบบนันไปใช้ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์อืนๆได้ถา้ เห็นว่าเหมาะสม
นอกจากนี จอยซ์และเวล จะเสนอทัศนะด้านการสอนแล้ว ยังให้ขอ้ สังเกตและแนวคิดการ
พัฒนาผูเ้ รี ยน โดยเสนอรู ปแบบการเรี ยนรู ้ทีเป็ นการช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้รับสารสนเทศ ความคิด ทักษะ
ค่านิ ยม และวิถีทางในการคิด นอกจากนัน รู ปแบบการสอนทีเลือกมานําเสนอส่ วนใหญ๋ ยงั ได้สอน
วิธีเรี ยน (How to Lean) ให้แก่ผเู ้ รี ยนอีกด้วย ซึงจะก่อให้เกิดผลสําเร็ จในระยะยาว และทีสําคัญทีสุ ด
คือ เป็ นการเพิมพูนความสามารถทีจะเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยน ทําให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ ง่ายและได้ผลดี ใน
อนาคต กล่าวคือ การสอนควรจะส่ งผลกระทบต่อผุเ้ รี ยนให้เขาได้ศึกษาด้วยตนเองได้ อาจกล่าวได้
ว่ารู ปแบบการสอนของจอยซ์และเวลนี เน้นความสําคัญของการพัฒนาผูเ้ รี ยน และพัฒนากลวิธีการ
เรี ยนรู ้ (Learning Strategies) ของผูเ้ รี ยน ซึงถือเป็ นเป้ าหมายของการจัดการศึกษาตามแนวใหม่
1) การนําเสนอรู ปแบบการสอน
จอยว์และเวลได้นาํ เสนอรู ปแบบการสอนแต่ละรู ปแบบออกเป็ น 4 ส่ วน คือ
ส่ วนที 1 อธิบายความสัมพันธ์ของสิ งต่างๆซึงเป็ นทีมาของรู ปแบบการสอน (Orientation to
the model) อันประกอบด้วยเป้ าหมายของรู ปแบบ ทฤษฎี และข้อสมมติทีรองรับรู ปแบบ หลักการ
และมโนทัศน์สาํ คัญทีเป็ นพืนฐานของรู ปแบบการสอน
ส่ วนที 2 รู ปแบบการสอน (The Model of Teaching) เป็ นการอธิบายถึงรู ปคัวแบบการสอน
ซึงนําเสนอเป็ นเรื องๆอย่างละเอียดเน้นการปฏิบตั ิได้ แบ่งออกเป็ น 4 ประเด็น คือ
1.1 ขันตอนของรู ปแบบ (Syntax หรื อ Phases) เป็ นการใช้รายละเอียดว่า รู ปแบบการสอน
นันมี กี ขันตอน โดยเรี ย งลําดับกิ จ กรรมที จะสอนเป็ นขันๆแต่ ล ะรู ป แบบมี จ าํ นวน
ขันตอนการสอนม่เท่ากัน
1.2 รู ปแบบการปฎิสมั พันธ์ (Social System) เป็ นการอธิบาย บทบาทของครู นักเรี ยน และ
ความสัมพันธ์ซึงกันและกัน ในแต่ละรู ปแบบ บทบาทของครู จะแตกต่างกัน เช่น ผูน้ าํ
กิจกรรม ผูอ้ าํ นวยความสะดวก ผูใ้ ห้การแนะแนว เป็ นแหล่งข้อมูล เป็ นผูจ้ ดั การ เป็ น
ต้น ครู อาจเป็ นศูนย์กลางในบางรู ปแบบ หรื ออาจมีบทบาทเท่าๆกันก็ได้
1.3 หลักการแสดงการโต้ตอบ (Principes of Reaction) เป็ นการบอกถึงวิธีการแสดงออก
ของครู ต่อผูเ้ รี ยน การตอบสนองต่อสิ งทีผูเ้ รี ยนกระทํา เช่น การปรับพฤติกรรมโดยการ
ให้รางวัล หรื อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ด้วยการสร้างบรรยากาศอิสระไม่มีการ
ประเมินว่าผิดหรื อถูก เป็ นต้น
1.4 สิ งสนับสนุนการสอน (Support System) เป็ นการบอกถึงเงือนไขสิ งทีจําเป็ นต่อการใช้
รู ปแบบการสอนนันให้เกิ ดผล เช่ น รู ปแบบการสอนแบบการทดลองในห้องปฏิบตั
การต้องใช้ผนู ้ าํ ทีได้รับการฝึ กฝนมาแล้วเป็ นอย่างดี
ส่ วนที 3 การนํารู ปแบบการสอนไปใช้ (Application) ในส่ วนที 3 นี เป็ นการแนะนําและตัง
ข้อสังเกตการใช้รูปแบบการสอนนัน เช่ น จะใช้กับเนื อหาประเภทใดจึ งเหมาะสม รู ปแบบนัน
เหมาะสมกับเด็กอายุระดับใด เป็ นต้น นอกจากนียังให้คาํ แนะนําอืนๆเพือให้การใช้รูปแบบการสอน
นันมีประสิ ทธิผลสูงสุ ด
ส่ วนที 4 ผลทีเกิดขึนกับผูเ้ รี ยนทังทางตรงและทางอ้อม (Intructional and Nurturant
Effects)รู ปแบบการสอนแต่ละรู ปแบบจะส่ งผลต่อผูเ้ รี ยนทังทางตรงและทางอ้อมผลโดยตรงจาก
การสอนของครู หรื อ เกิ ด จากกิ จ กรรมที จัด ขึ นตามขันตอนของรู ป แบบการสอน ส่ ว นผลโดย
ทางอ้อมเกิ ดจากสภาพแวดล้อม ซึ งถือเป็ นผลกระทบที เกิ ดจากการสอนตามรู ปแบบนันเป็ นสิ ง
พิจารณาเลือกรู ปแบบการสอนไปใช้ดว้ ย
วิธีการนําเสนอรู ปแบบการสอนในลักษณะเช่ นนี ผูส้ อนจะสามารถเข้าใจทุกประเด็นที
เกียวข้อง ทําให้สามารถนําไปช้ได้จริ งโดยการฝึ กฝนเองให้สามารถใช้รูปแบบการสอนจนเกิดความ
ชํานิ ชาํ นาญและเกิดประสิ ทธิ ภาพมากทีสุ ด ผูว้ ิจยั จึงได้นาํ หลักการขิงจอยซ์และเวลล์มาใช้ในการ
นําเสนอรู ปแบบการสอนทีพัฒนาในครังนี
รู ปแบบการสอนโดยใช้แผนผังทางปั ญญาทีผูว้ ิจยั ได้พฒั นามาจากการบูรณาการแนวคิด
และทฤาฎีดงั ต่อไปนีคือ
ทฤษฎีการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมายของออซูเบล (Meaningful Learning) พฤติกรรมของ
นักศึกษาทีแสดงถึงผลการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย เริ มตังแต่ระดับความเข้าใจ ทีอธิบายสรุ ปความรู ้
ต่ า งๆปรากฎการณ์ เหตุ ก ารณื หรื อ ข้อ มู ล โดยใช้ค วามรู ้ แ ละประสบการณ์ เ ดิ ม ที มี อ ยู่ แสดง
ความสัมพันธ์ของสิ งทีต้องการอธิบาย และการพยากรณ์ปรากฏการณ์ เหตุการณ์ อันเป็ นผลมาจาก
ความสามารถในการคิดเชื อมโยงระหว่างมโนทัสน์ใหม่เข้ากับมโนทัศน์เดิ ม ระดับการนําไปใช้
สามารถประยุกต์ความรู ้ไปใช้ในสถานการณ์ทียังไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน ระดับการแก้ปัญหา
สามารถแยกองค์ประกอบทีเกียวข้องกับปั ญหา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสิ งทีเป็ นองค์ประกอบ
ของปั ญหา และการจัดระบบความรู ้ทีนํามาใช้แก้ปัญหา และระดับความคิดสร้างสรรค์ นําความรู ้ที
มีอยูม่ าสังเคราะห์เพือสร้างสิ งใหม่ ซึ งแบ่งได้เป็ น การสร้างข้อความสําหรับสื อความหมาย เพือให้
ผูอ้ ืนเข้าใจในเหตุการณ์ทีตนกล่าวถึง
ทฤษฏีการเรี ยนรู ้ตามแนวคอนสตรัคติวิสท์ (Constructivism) ผูเ้ รี ยนสร้างเสริ มความรู ้ดว้ ย
ตนเอง โดยใช้ขอ้ มูลที รั บมาใหม่ ร่มกับข้อมูลหรื อความรู ้ ทีมี อยู่แล้วจากแหล่งต่างๆ เช่ น สังคม
สิ งแวดล้อม รวมทังประสบการณ์เดิมมาเป็ นเกณฑ์ช่วยการตัดสิ นใจ ความรู ้และความเชือของแต่ละ
คนจะแตกต่างกัน ทังนีขึนอยูก่ บั สิ งแวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี และสิ งทีผูเ้ รี ยนได้พบเห็นซึง
จะถูกใช้เป็ นพืนฐานในการตัดสิ นใจ และใช้เป็ นข้อมูลในการสร้างความคิดใหม่
แนวความคิดสร้างสรรค์ ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้โดยใช้กลวิธีการระดมสมอง การใช้คาํ ถาม
และการวิเคราะห์ แ ละสังเคราะห์ จากแผนทางปั ญญาที ผูเ้ รี ย นสร้ างขึ น ตลอดจนบรรยากาศใน
ห้องเรี ยนให้มีความไว้วางใจและการสนับสนุ นซึ งกันและกันโดยไม่มีการแข่งขัน ทําให้ผเู ้ รี ยนคิด
แบบยืดหยุ่น อันเป็ นองค์ประกอบสําคัญด้านหนึ งของความคิดสร้างสรรค์ได้ดีกว่าบรรยากาศการ
เรี ยนแบบแข่งขัน ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมอย่างมากในกิจกรรมการเรี ยนการสอน ผูส้ อนให้ความอบอุ่น
และความสนใจต่อปั ญหาของผูเ้ รี ยน สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนใช้ความคิดและตังคําถามทีแปลกๆผูส้ อน
ควรวางแผนกิ จกรรมล่วงหน้าโดยไม่มีกิจกรรมทีแปลกใหม่ สร้างบรรยากาศทีเป็ นกันเอง และมี
ความยืดหยุน่ และเปลียนแปลงได้
แผนผังทางปั ญญา เป็ นสื อทีสะท้อนถึงความคิดของผูเ้ รี ยน ซึ งกระบวนการคิดสร้างสรรค์
ด้วยแผนผังทางปั ญญาโดยการเขียนคําหลักหรื อสิ งทีจินตนาการไว้ตรงกลางกระดาษเปล่า ละเขียน
จากศูนย์กลางควรกระจายความคิดย่อยออกไปรอบทิศทาง ระหว่างขันตอนการสร้างครังแรก เมือ
สังเกตเห็นมโนทัศน์ทีคล้ายคลึงกันหรื อเหมือนกันปรากฏ เป็ นการสะท้อนถึงการได้รับแนวคิดที
สําคัญ และเมือปรากฏอีกควรขีดเส้นใต้หรื อทําสัญลักษณ์ไว้ เพือนําไปสู่ แนวคิดใหม่จากข้อเท็จจริ ง
เดิม ให้สมองได้ผอ่ นคลาย แล้วจะทําให้กระบวนการคิดรอบทิศทางกระจายออกไปได้ไกลทีสุ ดเพิม
ความคิดทีหลากหลายออกไป เมือสร้างใหม่และตรวจแก้ครังที 2 จะทําให้เกิดความเข้าใจมากขึน
และในทีสุ ดนําไปสู่ แนวคิดใหม่ทีสําคัญและหลากหลายออกไป

4.ทฤษฎีความคิดสร้ างสรรค์

หน่วยศึกษานิเทศน์ กรมการฝึ กหัดครู (2523) ได้ให้คาํ จํากัดความไว้วา่ ความคิดสร้างสรรค์


เป็ นลักษณะการคิดแบบอเนกนัยหรื อความคิดหลายทิศหลายทางทีนําไปสู่ กระบวนการคิดประดิษฐ์
สิ งแปลกใหม่ รวมทังการคิดและการค้นพบวิธีการแก้ปัญหาใหม่ตลอดจนความสําเร็ จในด้านการ
คิดค้นพบทฤษฎีต่าง ๆ อันก่อให้เกิดการเปลียนแปลงในทางสร้างสรรค์ทีเป็ นประโยชน์ ต่อสังคม
อารี รั งสิ นันท์ (2527) ให้ความหมายความคิ ดสร้ างสรรค์ไว้ว่า ความคิดสร้ างสรรค์คือ
ความคิดจินตนาการประยุกต์ทีสามารถนําไปสู่ สิงประดิษฐ์คิดค้นพบใหม่ ๆทางเทคโนโลยี ซึงเป็ น
ความคิดในลักษณะทีคนอืนคาดไม่ถึงหรื อมองข้าม เป็ นความคิดหลากหลาย คิดได้กว้างไกลเน้นทัง
ปริ มาณและคุณภาพ อาจเกิดจากการคิดผสมผสานเชือมโยงระหว่างความคิดใหม่ ๆทีแก้ปัญหาและ
เอืออํานวยประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
Guilford (1959) กล่ าวว่า ความคิดสร้ างสรรค์เป็ นความสามารถทางสมอง เป็ น
ความสามารถที จะคิ ด ได้ห ลายทิ ศ หลายทาง หรื อแบบอเนกนั ย และความคิ ด สร้ า งสรรค์นี
ประกอบด้วยความคล่องในการคิด ความคิดยืดหยุน่ และความคิดทีเป็ นของตนเองโดยเฉพาะ คนทีมี
ลักษณะดังกล่าวจะต้องเป็ นคนกล้าคิดไม่กลัวถูกวิพากษ์วิจารณ์และมีอิสระในการคิดด้วย
Anderson (1970) ให้ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ว่า คือความสามารถของบุคคลใน
การคิดแก้ปัญหาด้วยการคิดอย่างลึกซึ งทีนอกเหนื อไปจากการคิดอย่างปกติธรรมดา เป็ นลักษณะ
ภายในตัวบุคคลทีสามารถจะคิดได้หลายแง่หลายมุมผสมผสานจนได้ผลิตผลใหม่ทีถูกต้องสมบูรณ์
กว่า
จากนิยามความหมายดังกล่าวสามารถสรุ ปได้วา่ ความคิดสร้างสรรค์หมายถึงความสามารถ
ของบุคคลในการคิดหลายแง่หลายมุมทีเรี ยนกว่าความคิดอเนกนัย( Divergent Thinking) ซึงเกิดจา
การเชื อมโยงสิ งที ดี ความสัมพันธ์กนั โดยมี สิงเร้ าเป็ นตัวกระตุน้ ทําให้เกิ ดความคิดแปลกใหม่ที
ต่อเนืองกันไป สามารถนําไปแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้สถานการณ์ต่าง ๆได้
Davis (1983) ได้รวบรวมแนวคิดเกียวกับความคิดสร้างสรรค์ของนักจิตวิทยาทีได้กล่าวถึง
ทฤษฎีของความคิดสร้างสรรค์ โดยแบ่งเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆได้ 4 กลุ่ม คือ
1. ทฤษฎี ความคิดสร้ างสรรค์เชิ งจิ ตวิเคราะห์ นักจิ ตวิทยาทางจิ ตวิเคราะห์ หลายคนเช่ น
Freud และ Kris ได้เสนอแนวคิดเกียวกับการเกิดความคิดสร้างสรรค์ว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็ นผล
มาจากความขัดแย้งภายในจิตใต้สาํ นึ กระหว่างแรงขับทางเพศ (Libido) กับความรู ้สึกผิดชอบทาง
สังคม (Social Conscience) ส่ วน Kubie และ Rugg ซึงเป็ นนักจิตวิเคราะห์แนวใหม่กล่าวว่าความคิด
ั ดขึนระหว่างการรู ้สติกบั จิตใต้สาํ นึกซึงอยูใ่ นขอบเขตของจิตส่ วนทีเรี ยกว่าจิตก่อน
สร้างสรรค์นนเกิ
สํานึก
2. ทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์เชิงพฤติกรรมนิ ยม นักจิตวิทยากลุ่มนี มีแนวความคิดเกียวกับ
เรื องความคิดสร้างสรรค์ว่าเป็ นพฤติกรรมทีเกิดการเรี ยนรู ้ โดยเน้นทีความสําคัญของการเสริ มแรง
การตอบสนองทีถูกต้องกับสิ งเร้าเฉพาะหรื อสถานการณ์ นอกจากนี ยังได้เน้นความสัมพันธ์ทาง
ปั ญญา คือการโยงความสัมพันธ์จากสิ งเร้าหนึ งไปยังสิ งต่าง ๆทําให้เกิดความคิดใหม่หรื อสิ งใหม่
เกิดขึน
3. ทฤษฎี ความคิดสร้างสรรค์เชิ งมานุ ษยนิ ยม นักจิ ตวิทยาในกลุ่มนี มีแนวคิดว่าความคิด
สร้างสรรค์เป็ นสิ งทีมนุษย์มีติดตัวมาแต่กาํ เนิด ผูท้ ีสามารถนําความคิดสร้างสรรค์ออกมาใช้ได้คือผู ้
ทีมีสัจจการแห่ งตน คือ รู ้จกั ตนเอง พอใจตนเองและใช้ตนเองเต็มตามศักยภาพของตน มนุ ษย์จะ
สามารถแสดงความคิดสร้างสรรค์ของตนออกมาได้อย่างเต็มทีนันขึนอยู่กบั การสร้างสภาวะหรื อ
บรรยากาศทีเอื ออํานวย ได้กล่ าวถึงบรรยากาศทีสําคัญในการสร้ างสรรค์ว่าประกอบด้วยความ
ปลอดภัยในเชิ งจิตวิทยา ความมันคงของจิ ตใจ ความปรารถนาทีจะเล่นกับความคิดและการเปิ ด
กว้างทีจะรับประสบการณ์ใหม่
4. ทฤษฎี AUTA ทฤษฎีนีเป็ นรู ปแบบของการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดขึนในตัว
บุคคล โดยมีแนวคิดว่าความคิดสร้างสรรค์นนมี ั อยูใ่ นมนุษย์ทุกคนและสามารถพัฒนาให้สูงขึนได้
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามรู ปแบบ AUTA ประกอบด้วย
4.1 การตระหนัก (Awareness) คือ ตระหนักถึงความสําคัญของความคิด
สร้างสรรค์ทีมีต่อตนเอง สังคม ทังในปัจจุบนั และอนาคตและตระหนักถึงความคิดสร้างสรรค์ทีมีอยู่
ในตนเองด้วย
4.2 ความเข้าใจ (Understanding) คือ มีความรู ้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ งใน
เรื องราวต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับความคิดสร้างสรรค์
4.3 เทคนิ ควิธี (Techniques) คือ การรู ้ เทคนิ ควิธีในการพัฒนาความคิด
สร้างสรรค์ทงทีั เป็ นเทคนิคส่ วนบุคคลและเทคนิคทีเป็ นมาตรฐาน
4.4 การตระหนักในความจริ งของสิ งต่าง ๆ (Actualization) คือ การรู ้จกั หรื อ
ตระหนักในตนเอง พอใจในตนเองและพยายามใช้ตนเองอย่างเต็มศักยภาพรวมทังการเปิ ดกว้างรับ
ประสบการณ์ต่าง ๆโดยมีการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม การตระหนักถึงเพือนมนุ ษย์ดว้ ยกัน การ
ผลิตผลงานด้วยตนเองและการมีความคิดทียืดหยุน่ เข้ากับทุกรู ปแบบของชีวิต
จากทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์ดงั กล่าว จะเห็นว่าความคิดสร้างสรรค์เป็ นทักษะทีมีอยู่ใน
บุคคลทุกคน และสามารถทีจะพัฒนาให้สูงขึนได้โดยอาศัยกระบวนการเรี ยนรู ้และการจัดกิจกรรม
การเรี ยนการสอนในบรรยากาศทีเอืออํานวยอย่างเป็ นระบบและต่อเนือง

ลักษณะของความคิดสร้ างสรรค์
บรรพต พรประเสริ ฐ ; 2538 ได้จ าํ แนกองค์ประกอบของความคิ ดสร้ างสรรค์ว่า มี
องค์ประกอบ 3 ด้านคือ
1. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency)
2. ความคิดยืดหยุน่ (Flexibility)
3. ความคิดริ เริ ม(Originality)
ความคิดสร้างสรรค์มีลกั ษณะทีแบ่งออกได้เป็ น 3 ลักษณะได้แก่
ลักษณะที 1 เป็ นกระบวนการคิดสามารถแตกความคิดเดิมไปสู่ ความคิดทีแปลกใหม่ไม่ซาํ
กับใคร
ลักษณะที 2 เป็ นลักษณะของบุคคลทีมีเอกลักษณ์เป็ นของตนเองเกิดความรู ้สึกพอใจและ
เชือมันในตนเอง และ
ลักษณะที 3 เป็ นผลงานทีเกิดจากความคิดแปลกใหม่ทีมีประโยชน์ต่อตนเองและผูอ้ ืน โดย
ที ทุกคนสามารถสร้ างสรรค์ได้ กับให้ผูอ้ ื นยอมรั บว่ามี ประโยชน์เป็ นของแปลกใหม่ ตลอดจน
สามารถวัดและประเมินผลของคุณค่าผลผลิตได้
ความสามารถทางสมองซึ งเกิ ดจาการปฏิบตั ิตามเงือนไขขององค์ประกอบ 3 มิติ (Three
Dimensional Model) ซึงมีรายละเอียดดังนี
มิติที 1 ด้านเนื อหา (Contents) หมายถึงวัตถุ/ข้อมูลต่าง ๆทีรั บรู ้และใช้เป็ นสื อให้เกิ ด
ความคิด มีอยู่ 5 ชนิ ด คือ เนื อหาทีเป็ นรู ปภาพ (Figural contents) เนื อหาทีเป็ นเสี ยง (Auditory
contents) เนื อหาทีเป็ นสัญลักษณ์ (Symbolic Contents) เนือหาทีเป็ นภาษา (Semantic Contents)
และเนือหาทีเป็ นพฤติกรรม (Behavior Contents)
มิ ติที 2 ด้านปฏิ บตั ิ การ (Operation)หมายถึ งวิธีการ/กระบวนการคิดต่าง ๆที สร้ างขึนมา
ประกอบด้วยความสามารถ 5 ชนิ ด คือ การรับรู ้และการเข้าใจ(Cognition) การจํา (Memory) การคิด
แบบอเนกมัย(Divergent thinking) และการประเมินค่า(Evaluation)
มิติที 3 ด้านผลผลิต (Products) หมายถึงความสามารถทีเกิดขึนจากการผสมผสานมิติดา้ น
เนื อหาและด้านปฏิบตั ิการเข้าด้วยกัน เป็ นผลผลิตทีเกิดจากการรับรู ้ วัตถุ/ข้อมูล แล้วเกิดวิธีการคิด/
กระบวนการคิด ซึ งทําให้เกิดผลของการผสมผสานในรู ปแบบ 6 ชนิ ด คือ หน่วย (Units) จําพวก
(classes) ความสัมพันธ์ (Relations) ระบบ (System) การแปลงรู ป (Transformation) และการ
ประยุกต์ (Implication)

การจัดการเรียนการสอนเพือพัฒนาความคิดสร้ างสรรค์
เทคนิคการจัดการเรี ยนการสอนเพือส่ งเสริ มพัฒนาการความคิดสร้างสรรค์นนั ครู ควรทีจะ
นําเทคนิ ควิธีการต่าง ๆมากระตุน้ ให้เกิ ดนิ สัยและเจตคติในทางสร้างสรรค์แก่ผูเ้ รี ยน ด้วยการหา
แนวทางทีจะส่ งเสริ มความคิดให้แก่ผเู ้ รี ยนได้
Davis (1983) ได้รวบรวมแนวความคิดของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาทีกล่าวถึงเทคนิ ค
ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทีเป็ นมาตรฐาน เพือใช้ในการฝึ กฝนบุคคลทัวไปให้ผทู ้ ีมีความคิด
สร้างสรรค์สูงขึน เทคนิคเหล่านีได้แก่
1. การระดมพลังสมอง (Brainstorming) โดย Alex Csborn เป็ นผูท้ ีคิดเทคนิ คนี ขึน โดย
หลักการสําคัญของการระดมพลังสมองคือ การให้โอกาสคิดอย่างอิสระทีสุ ดโดยเลือนการประเมิน
ความคิดออกไปไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์ในระหว่างทีมีการคิดการวิจารณ์หรื อการประเมินผลใด ๆก็
ตามทีเกิดขึนระหว่างการคิด จะเป็ นสิ งขัดขวางความคิดสร้างสรรค์ จุดประสงค์ของการระดมพลัง
สมองก็เพือจะนําไปสู่การทีสามารถแก้ปัญหาได้
2. Attribute Listing ผูส้ ร้างเทคนิคนีคือ Robert Crawford เทคนิ คนีมีลกั ษณะเป็ นการสร้าง
แนวคิดใหม่โดยอาศัยแนวคิดเดิม วิธีการใช้แบ่งเป็ น 2 ลักษณะคือ
1.1 Attribute modifying คือการปรับเปลียนลักษณะบางประการของแนวคิด
หรื อผลงานเดิม เช่น ในการตกแต่งห้องทํางานอาจกระทําโดยแยกแยะองค์ประกอบของห้องนัน
ออกเป็ นส่ วน ๆเช่น สี พืน ผนังห้อง แล้วปรับเปลียนแต่ละส่ วนเมือนํามารวมกันก็จะได้รูปแบบของ
ห้องในแนวใหม่เกิดขึนมากมาย
1.2 Attribute transferring คือการถ่ายโยงลักษณะบางประการจาก
สถานการณ์ หนึ งมาใช้กับอี กสถานการณ์ หนึ ง เช่ น การถ่ายโยงลักษณะงาน คาร์ นิวลั มาใช้เป็ น
แนวคิดในการจัดงานปี ใหม่ของโรงเรี ยน เป็ นต้น
3. Morphological Synthesis เป็ นเทคนิคทีใช้ในการสร้างความคิดสร้างความคิดใหม่ ๆ โดย
วิธีแยกแยะองค์ประกอบของความคิดหรื อปั ญหาให้องค์ประกอบหนึ งอยูบ่ นแกนตังของตารางซึ ง
เรี ยกว่าตาราง Matrix และอีกองค์ประกอบหนึ งอยู่บนแกนนอน เมือองค์ประกอบบนแกนตังมา
สัมพันธ์กบั องค์ประกอบบนแกนนอนในช่วงตารางก็จะเกิดความคิดใหม่ขึน
4. Idea Checklist เป็ นเทคนิคทีใช้ในการค้นหาความคิดหรื อแนวทางในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
ทีเกิดขึนได้อย่างรวดเร็ ว โดยอาศัยรายการตรวจสอบความคิดทีมีผทู ้ าํ ไว้แล้ว
5. Synectics Methods คิดค้นขึนโดย William J.J.Cordon โดยการสร้างความคุน้ เคยทีแปลก
ใหม่และความแปลกใหม่ทีเป็ นทีคุน้ เคยจากนันจึงสรุ ปเป็ นแนวคิดใหม่กระบวนการของการคิดเป็ น
Cordon นีมี 4 ประการ คือ
5.1 การสร้างจินตนาการขึนในจิตใจของเราหรื อการพิจารณาความคิดใหม่
5.2 การประยุกต์เอาความรู ้ในสาขาวิชาหรื อเรื องใดเรื องหนึ งมาแก่ปัญหา ที
เกิดขึน
5.3 การประยุกต์ใช้การเปรี ยบเทียบหรื ออุปมาในการแก้ปัญหา
5.4 การประยุกต์เอาความคิดใด ๆก็ตามทีเกิดจากจินตนาการมาใช้ แก้ปัญหา
จากแนวคิ ด เกี ยวกับ การนํา เทคนิ ค การสอนเพื อช่ ว ยให้เ กิ ด พัฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์
ชี ให้เห็ นว่าความคิดสร้ างสรรค์นันสามารถสอนกันได้ แต่อย่างไรก็ตามความคิดสร้ างสรรค์จะ
เกิดขึนได้ก็ตอ้ งมีภาวะทีเป็ นอิสระสําหรับการคิด ดังที Rogers (1970) กล่าวว่า ภาวะทีส่ งเสริ มให้
บุคคลกล้าคิดอย่างสร้างสรรค์ ได้แก่ ภาวะทีบุคคลรู ้สึกว่าตนเองมีความปลอดภัยทางจิต มีค่าได้รับ
การยอมรับรวมทังภาวะทีมีเสรี ภาพในการแสดงออกโดยไม่ถูกวิพากษ์วิจารณ์หรื อถูกประเมิน
5.การจัดการเรียนรู้ ทเน้
ี นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ

วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542) กล่าวไว้วา่ การจัดการเรี ยนการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ คือ


วิธีการสําคัญทีสามารถสร้างและพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้เกิดคุณลักษณะต่างๆ ทีต้องการในยุคโลกาภิวตั น์
เนื องจากเป็ นการจัดการเรี ยนการสอนทีให้ความสําคัญกับผูเ้ รี ยน ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั เรี ยนรู ้ดว้ ย
ตนเอง เรี ยนในเรื องที สอดคล้องกับความสามารถและความต้องการของตนเอง และได้พฒ ั นา
ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที ซึ งแนวคิด การจัดการศึกษานี เป็ นแนวคิดทีมีรากฐานจากปรัชญา
การศึกษาและทฤษฎีการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ทีได้พฒั นามาอย่างต่อเนืองยาวนาน และเป็ นแนวทางทีได้รับ
การพิสูจน์วา่ สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะตามต้องการอย่างได้ผลการเรี ยน
การสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญนี ผูเ้ รี ยนจะได้รับการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความรับผิดชอบ
และมี ส่วนร่ วมต่อการเรี ยนรู ้ ของตนเอง ซึ งแนวคิดแบบผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญจะยึดการศึ กษาแบบ
ก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ผูเ้ รี ยนแต่ละคนมีคุณค่าสมควรได้รับการเชือถือไว้วางใจแนวทางนี
จึงเป็ นแนวทางทีจะ ผลักดันผูเ้ รี ยนไปสู่ การบรรลุศกั ยภาพของตน โดยส่ งเสริ มความคิดของผูเ้ รี ยน
และอํานวยความสะดวกให้เขาได้พฒั นาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที การจัดการเรี ยนการสอนที
เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางเป็ นการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้แบบใหม่ทีมีลกั ษณะแตกต่างจากการจัด
กระบวนการเรี ยนรู ้แบบดังเดิมทัวไป
นคร พันธุ์ณรงค์ (2550) กล่าวว่า การจัดการเรี ยนรู ้ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ หมายถึงการจัด
กิจกรรมทีสอดคล้องกับการดํารงชีวิต เหมาะสมกับความสามารถและความสนใจของผูเ้ รี ยนโดยให้
ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมและลงมือปฏิบตั ิจริ งทุกขันตอน จนเกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
หลักในการจัดการเรี ยนรู ้ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
1. ให้ผเู ้ รี ยนเป็ นผูส้ ร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง โดยการ
-แสวงหาข้อมูล
-ศึกษาทําความเข้าใจ
-คิดวิเคราะห์
-ตีความ
-แปลความ
-สร้างความหมายแก่ตนเอง
-สังเคราะห์ขอ้ มูล
-สรุ ปข้อความรู ้
2. ให้ผเู ้ รี ยนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมในกระบวนการเรี ยนรู ้ให้มากทีสุ ด
3. ให้ผเู ้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์ซึงกันและกัน และได้เรี ยนรู ้จากกันและกัน ได้แลกเปลียนข้อมูล
ความรู ้ ความคิด และประสบการณ์แก่กนั และกันให้มากทีสุ ดเท่าทีจะทําได้
4. ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ "กระบวนการ" ควบคูไ่ ปกับ "ผลงาน/ข้อความรู ้ทีสรุ ปได้"
5. ให้ผเู ้ รี ยนนําความรู ้ทีได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวัน

การเรียนรู้ อย่ างมีความสุ ข


การเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข เป็ นสภาพการจัดการเรี ยนรู ้ในบรรยากาศทีผ่อนคลายเป็ นอิสระ
ยอมรับความแตกต่างของบุคคล มีความหลากหลายในวิธีการเรี ยนของผูเ้ รี ยน และเปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ ซึงจะทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดการพัฒนาอย่างรอบด้านรักการเรี ยนรู ้อนั
จะส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนเห็นความสําคัญของการเรี ยนรู ้ และ ต้องการเรี ยนรู ้สิงต่าง ๆอย่างต่อเนื องตลอด
ชีวิต

แนวทางจัดการเรียนรู้ เพือให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่ างมีความสุ ข


1. สิ งที เรี ยนต้องเป็ นเรื องใกล้ตวั มี ความหมาย สอดคล้องกับการดํารงชี วิตของผูเ้ รี ยน
บทเรี ยนควรจะเริ มจากง่ายไปหายาก และมีความต่อเนืองในเนือหาวิชา
2. กิ จกรรมการเรี ยนต้องมี ความหลากหลาย น่ าสนใจ เร้ าใจที จะปฏิ บตั ิ เปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบตั ิ สัมผัสจับต้องด้วยตนเอง และเป็ นกิจกรรมทีมุ่ง
พัฒนากระบวนการคิด ตลอดจนพัฒนาทักษะชีวิตและสังคม
3. สื อการเรี ยนน่ าสนใจ มีความหลากหลาย ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการทํา การใช้เป็ นสื อที
สามารถสร้างความเข้าใจได้ชดั เจน สอดคล้องกับกิจกรรมและจุดประสงค์ทีกําหนด จนผูเ้ รี ยนเกิด
ความคิดรวบยอด หรื อสร้างองค์ความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
4. การประเมินผล ควรมุ่งเน้นการประเมินผลเพือพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล
ไม่กดดันหรื อสร้างความเครี ยด และควรเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้ประเมินตนเอง ประเมินซึงกันและ
กัน เพือสร้างความภาคภูมิใจ และเติมพลังการเรี ยนรู ้ให้แก่ผเู ้ รี ยน
5. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครู กบั ผูเ้ รี ยน ควรแสดงออกด้วยความรัก ความเมตตามีความอาทร
ซึงกันและกัน ยอมรับในความแตกต่างซึงกันและกัน เชือมันในศักยภาพของกันและกัน เปิ ดโอกาส
ให้ได้แสดงความสามารถและพัฒนาตนเองอย่างเต็มทีตามแบบของตนเอง
6. ครู ควรให้การเสริ มแรงและสนับสนุ นให้ผูเ้ รี ย นประสบความสําเร็ จ ซึ งจะส่ งผลให้
ผูเ้ รี ยนเกิดความสุ ข เกิดการยอมรับและเห็นคุณค่าของตนเอง มีความกล้าทีจะเผชิญกับปั ญหากล้าที
จะเรี ยนรู ้สิงใหม่ มีเจตคติทีดีต่อตนเอง บุคคลอืนและสิ งต่าง ๆ รอบตัว
7. ครู ไม่ควรใช้อาํ นาจกับผูเ้ รี ยน ไม่เข้มงวดจนผูเ้ รี ยนเกิดความเครี ยด ซึงจะเป็ นการสกัดกัน
ความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ และการกล้าแสดงออกทีหลากหลายของผูเ้ รี ยน
การเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขนัน ครู ผสู ้ อนจําเป็ นต้องจัดให้เกิดขึนตลอดเวลาทังในระหว่าง
การเรี ยนรู ้ และ หลังการเรี ยนรู ้แล้ว การทีครู จะจัดการเรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยนมีความสุ ขนันทีสําคัญครู
จะต้องมีความสุ ขในการจัดการเรี ยนรู ้ดว้ ย ยอมรับในความสําคัญของผูเ้ รี ยน พร้อมทีจะเปิ ดโอกาสที
เหมาะสมให้กบั ผูเ้ รี ยนทุกคน และ พร้อมทีจะเรี ยนรู ้สิงต่าง ๆ ร่ วมกันกับผูเ้ รี ยน

การเรียนรู้ แบบมีส่วนร่ วม (Participatory Learning)


การเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม เป็ นการนําหลักการเรี ยนรู ้เชิ งประสบการณ์กบั การเรี ยนรู ้โดย
กระบวนการกลุ่ม ไปประยุกต์ใช้ในเนือหารายวิชาต่าง ๆหลักการของการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม คือ
กระบวนการสร้างความรู ้โดยผูเ้ รี ยนเป็ นเจ้าของการเรี ยนรู ้เอง เป็ น
การเรี ย นรู ้ ที อาศัยประสบการณ์ เ ดิ มของผูเ้ รี ย น ก่ อ ให้เ กิ ด ความรู ้ ใ หม่ ๆ อย่างต่ อเนื อง
ผูเ้ รี ยนสามารถกําหนดหลักการทีได้จากการปฏิบตั ิและสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีหรื อ
หลักการได้อย่างถูกต้อง เป็ นการเรี ยนรู ้ทีส่ งเสริ มการทํางานเป็ นกลุ่ม มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน และมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกันเอง ก่ อให้เกิ ดเครื อข่ายการเรี ยนรู ้อย่าง
กว้างขวาง มีการแสดงออกทังการเขียนและการพูด

การเรียนรู้ แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning)


การเรี ยนรู ้ แบบร่ วมมื อ เป็ นการจัดสถานการณ์ และบรรยากาศให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้
ร่ วมกันเป็ นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มมีสมาชิกทีมีลกั ษณะแตกต่างกันในด้านสติปัญญาหรื อความถนัด
สมาชิ กแต่ละคนจะต้องมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ของตนเองและของสมาชิ กในกลุ่มรับผิดชอบใน
ความสําเร็ จของกลุ่มร่ วมกัน ความสําเร็ จของกลุ่มพิจารณาจากความสําเร็ จในการเรี ยนรู ้ของสมาชิก
แต่ละคน การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือจะพัฒนาผูเ้ รี ยนทังด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคม
ลักษณะสําคัญของการเรี ยนแบบร่ วมมือ คือ ผูเ้ รี ยนทีเรี ยนดีจะได้รับการปลูกฝังให้มีความ
เสี ยสละในการดูแลรับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่ม ไม่เห็นแก่ตนเอง ส่ วนผูเ้ รี ยนทีเรี ยนอ่อนจะได้รับ
การดูแลจากสมาชิ กในกลุ่มจนเกิดความเชื อมันในตนเองมากขึน ไม่รู้สึกโดดเดียวถูกทอดทิง ซึ ง
เป็ นลักษณะทีสอดคล้องกับสภาพทีเหมาะสมในการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
การเรียนรู้ โดยใช้ กระบวนการกลุ่ม (Group Process)
กระบวนการกลุ่ม เป็ นการจัดสถานการณ์การเรี ยนการสอนทีเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนตังแต่ 2
คนขึนไป ได้มีปฏิสมั พันธ์กนั โดยมีแนวคิดการกระทําและแรงจูงใจร่ วมกัน แบ่งหน้าทีช่วยเหลือกัน
และกันในการทําสิ งใดสิ งหนึ ง การทํางานเป็ นกลุ่มทีดีจะก่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการทํางานสู ง
กว่าผลรวมของประสิ ทธิภาพ
หลักการเรี ยนรู ้ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม จะให้ผเู ้ รี ยนทุกคนมีโอกาสเข้าร่ วมกิ จกรรมให้
มากทีสุ ด ให้ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ จากกลุ่มให้มากทีสุ ด ฝึ กให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความรู ้ความเข้าใจและสามารถ
ปรั บตัวและทํางานร่ วมกับคนอืนๆ ได้ กระบวนการกลุ่มเป็ นการเรี ยนรู ้ทียึดหลักการค้นพบและ
สร้ างสรรค์ความรู ้ ด้วยตัวของผูเ้ รี ยนเอง โดยครู เ ป็ นเพีย งผูส้ ่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนได้คน้ พบและพบ
คําตอบด้วยตัวเอง
การเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข เป็ นสภาพการจัดการเรี ยนรู ้ในบรรยากาศทีผ่อนคลายเป็ นอิสระ
ยอมรับความแตกต่างของบุคคล มีความหลากหลายในวิธีการเรี ยนของผูเ้ รี ยน และเปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ ซึงจะทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดการพัฒนาอย่างรอบด้านรักการเรี ยนรู ้อนั
จะส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนเห็นความสําคัญของการเรี ยนรู ้ และ ต้องการเรี ยนรู ้สิงต่าง ๆอย่างต่อเนื องตลอด
ชีวิต

แนวทางจัดการเรียนรู้ เพือให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่ างมีความสุ ข


1. สิ งที เรี ยนต้องเป็ นเรื องใกล้ตวั มี ความหมาย สอดคล้องกับการดํารงชี วิตของผูเ้ รี ยน
บทเรี ยนควรจะเริ มจากง่ายไปหายาก และมีความต่อเนืองในเนือหาวิชา
2. กิ จกรรมการเรี ยนต้องมี ความหลากหลาย น่ าสนใจ เร้ าใจที จะปฏิ บตั ิ เปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบตั ิ สัมผัสจับต้องด้วยตนเอง และเป็ นกิจกรรมทีมุ่ง
พัฒนากระบวนการคิด ตลอดจนพัฒนาทักษะชีวิตและสังคม
3. สื อการเรี ยนน่ าสนใจ มีความหลากหลาย ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการทํา การใช้เป็ นสื อที
สามารถสร้างความเข้าใจได้ชดั เจน สอดคล้องกับกิจกรรมและจุดประสงค์ทีกําหนด จนผูเ้ รี ยนเกิด
ความคิดรวบยอด หรื อสร้างองค์ความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
4. การประเมินผล ควรมุ่งเน้นการประเมินผลเพือพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล
ไม่กดดันหรื อสร้างความเครี ยด และควรเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้ประเมินตนเอง ประเมินซึงกันและ
กัน เพือสร้างความภาคภูมิใจ และเติมพลังการเรี ยนรู ้ให้แก่ผเู ้ รี ยน
5. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครู กบั ผูเ้ รี ยน ควรแสดงออกด้วยความรัก ความเมตตามีความอาทร
ซึงกันและกัน ยอมรับในความแตกต่างซึงกันและกัน เชือมันในศักยภาพของกันและกัน เปิ ดโอกาส
ให้ได้แสดงความสามารถและพัฒนาตนเองอย่างเต็มทีตามแบบของตนเอง
6. ครู ควรให้การเสริ มแรงและสนับสนุ นให้ผูเ้ รี ย นประสบความสําเร็ จ ซึ งจะส่ งผลให้
ผูเ้ รี ยนเกิดความสุ ข เกิดการยอมรับและเห็นคุณค่าของตนเอง มีความกล้าทีจะเผชิญกับปั ญหากล้าที
จะเรี ยนรู ้สิงใหม่ มีเจตคติทีดีต่อตนเอง บุคคลอืนและสิ งต่าง ๆ รอบตัว
7. ครู ไม่ควรใช้อาํ นาจกับผูเ้ รี ยน ไม่เข้มงวดจนผูเ้ รี ยนเกิดความเครี ยด ซึงจะเป็ นการสกัดกัน
ความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ และการกล้าแสดงออกทีหลากหลายของผูเ้ รี ยน
การวิจยั ในครังนี ใช้แนวคิดการเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขที ยอมรับในความสําคัญของผูเ้ รี ยน
พร้อมทีจะเปิ ดโอกาสทีเหมาะสมให้กบั ผูเ้ รี ยนทุกคน และ พร้อมทีจะเรี ยนรู ้สิงต่าง ๆ ร่ วมกันกับ
ผูเ้ รี ยน เป็ นสภาพการจัดการเรี ยนรู ้ในบรรยากาศทีผ่อนคลายเป็ นอิสระ ยอมรับความแตกต่างของ
บุคคล มีความหลากหลายในวิธีการเรี ยนของผูเ้ รี ยน และเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตนเองให้เต็ม
ศักยภาพ

6.วิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน


1. รหัสและชือวิชา
รหัสวิชา 2554103 ชือวิชา การจัดองค์กรท้องถิน
Local Organization Management
2. จํานวนหน่ วยกิต
3 หน่วยกิต 3 ชัวโมง ต่อสัปดาห์
3. หลักสู ตรและประเภทของรายวิชา
ชือหลักสู ตร รัฐประศาสนศาสตร์บณั ฑิต
ประเภทของรายวิชา วิชาเลือก
4. อาจารย์ ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ ผู้สอน
อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบรายวิชา ดร.วัชริ นทร์ อินทพรหม
อาจารย์ผสู ้ อน ดร.วัชริ นทร์ อินทพรหม
5. ภาคการศึกษา/ชันปี ทีเรียน
ภาคการศึกษาที 3 ชันปี ที 1
6. รายวิชาทีต้ องเรียนมาก่อน
2552101 การปกครองท้องถินไทย
7. สถานทีเรียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
8. วันทีจัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครังล่าสุ ด
เมษายน พ.ศ. 2553

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เมือเรี ยนรายวิชานีแล้วผูเ้ รี ยนสามารถ
1.1 มีความรู ้และความเข้าใจการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน
1.2 มีความรู ้และความเข้าใจการกําหนดโครงสร้างการบริ หารและการจัดการของ
องค์กรปกครองท้องถิน ทังองค์กรปกครองท้องถินขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
1.3 ประยุกต์ใช้เทคนิคการบริ หารและการจัดการ กับการดําเนินงานขององค์กร
ปกครองท้องถิน
1.4 วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และปั จจัยแวดล้อมทีส่ งผลกระทบต่อการบริ หาร
และการจัดการองค์กรปกครองท้องถิน
1.5 วิเคราะห์ทางเลือกในการแก้ปัญาการบริ หารและการจัดการขององค์กร
ปกครองท้องถินได้อย่างเหมาะสม
2. การเปลียนแปลงทีสํ าคัญ
การเปลียนแปลงทีสําคัญ คือ การเพิมกิจกรรมการเรี ยนการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญที
ทําให้เกิดการพัฒนาผลการเรี ยนรู ้ในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ความรู ้ ทักษะทางปั ญญา และทักษะ
การคิดวิเคราะห์ และเชือมโยงกันอย่างเป็ นระบบ

ลักษณะและการดําเนินการ
1. คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เกี ยวกับการจัดองค์กรทัวไปและองค์กรท้องถิน ทังด้านโครงสร้ าง
องค์กร ด้านอํานาจ หน้าที และด้านการบริ หารและการจัดการขององค์กรท้องถิน รวมถึงการนํา
เทคนิ คการบริ หารและการจัดการต่างๆ ทีนํามาใช้ในการบริ หารและการจัดการองค์กร และการ
ปฏิ บตั ิ งานตามอํานาจหน้าที และพัน ธกิ จ ขององค์ก ร โดยเน้นองค์ก รปกครองท้องถิ นไทย ที มี
รู ปแบบหลากหลายและแตกต่างกัน และเป็ นองค์กรทีมีหน้าทีหลักในการพัฒนาท้องถิน รวมถึง
ปั ญหาและอุปสรรคของการจัดการองค์กรปกครองท้องถินไทยในปั จจุบนั และรู ปแบบโครงสร้าง
องค์กรและการจัดการองค์กรปกครองท้องถินไทยทีเหมาะสมในอนาคต
2. จํานวนชัวโมงทีใช้ ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริ ม การฝึ กปฏิบตั ิ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง
ภาคสนาม/การฝึ กงาน
45 ชัวโมง สอนเสริ มตามความ - ศึกษาด้วยตนเอง
ต่อภาคการศึกษา ต้องการ 6 ชัวโมงต่อสัปดาห์
ของนักศึกษาเป็ นกลุ่ม
ตารางที 1 จํานวนชัวโมงทีใช้ต่อภาคการศึกษา

3. จํานวนชัวโมงต่ อสัปดาห์ ทอาจารย์


ี ให้ คาํ ปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็ น
รายบุคคล
3 ชัวโมง ต่อสัปดาห์

การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. ข้ อสรุ ปสั นๆ เกียวกับความรู้ หรือทักษะทีรายวิชามุ่งหวังทีจะพัฒนานักศึกษา


นักศึกษามีความรู ้และความเข้าใจในการจัดองค์กรทัวไปและองค์กรท้องถิน การบริ หาร
และการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน การกําหนดโครงสร้างการบริ หารขององค์กรปกครอง
ท้องถิน ทังองค์กรปกครองท้องถินขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยนักศึกษามีเข้าใจและ
สามารถประยุกต์ใช้เทคนิ คการบริ หาร การจัดการในการดําเนิ นงานขององค์กรปกครองท้องถินได้
รวมถึงการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และปั จจัยแวดล้อมทีส่ งผลกระทบต่อการบริ หารและการ
จัดการองค์กรปกครองท้องถิน เพือแสวงหาแนวทางในการพัฒนาองค์กรปกครองท้องถินทีมี
ประสิ ทธิผล
นักศึกษามีทกั ษะในการวิเคราะห์การบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน ที
ทําให้เห็นปั ญหาและอุปสรรค และปัจจัยแวดล้อมทีส่ งผลกระทบต่อการบริ หารและการจัดการ โดย
ใช้ความรู ้ในรายวิชา เช่น เทคนิคการบริ หารและการจัดการทีทันสมัยมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา
และการพัฒนาการบริ หารและการจัดการองค์กรปกครองท้องถิน ทีเชือมโยงกับการเมืองและการ
พัฒนาชุมชนท้องถิน
2. แนวการจัดการเรียนการสอน
การเรี ยนรู ้ ในรายวิชานี นักศึกษาจะต้องรั บผิดชอบการเรี ย นรู ้ด ว้ ยตนเอง(Self–Directed
Learning) การเรี ยนรู ้เกิดจากการศึกษาค้นคว้านอกห้องเรี ยนด้วยตนเองเป็ นส่ วนใหญ่ หน้าทีผูส้ อนจะ
เป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกให้นกั ศึกษาเกิดการเรี ยนรู ้ตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
งานที มอบหมายให้นักศึ กษาทําในวิชานี เป็ นทังการศึ กษาค้น คว้าจากเอกสารตํารา สื อ
สิ งพิมพ์ และสื ออิเล็กทรอนิ กส์ เพือนําข้อความรู ้มาวิเคราะห์ อภิปราย และแก้ปัญหาตามประเด็นที
มอบหมายไว้ในแต่ละบท รายชือหนังสื อและสื อค้นคว้าเป็ นเพียงตัวอย่างเท่านัน นักศึกษาสามารถ
ค้นคว้าจากเอกสาร ตํารา และสื ออืน ๆ ได้อย่างหลากหลาย เพือให้ได้แนวคิดทีแตกต่างกันสําหรับ
การนําเสนอข้อคิดเห็นในชันเรี ยน
3. การวัดและประเมินผล
3.1 การวัดผลระหว่างเรี ยน 30 คะแนน ดังนี
3.1.1 กิจกรรมในชันเรี ยน คุณธรรม จริ ยธรรม 10 คะแนน
3.1.2 รายงานเดียว 10 คะแนน
3.1.3 รายงานกลุ่ม 10 คะแนน
3.2 การสอบกลางภาค 30 คะแนน
3.3 การสอบปลายภาค 40 คะแนน

การพัฒนาการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม


1.1 คุณธรรม จริ ยธรรมทีต้องบการพัฒนา
1.1.1 การมีวนิ ยั ในตนเอง
1.1.2 มีความซือสัตย์ สุ จริ ต
1.1.3 การจัดการปั ญหาทางคุณธรรม จริ ยธรรม
1.1.4 เป็ นแบบอย่างและเป็ นผูน้ าํ ในความกล้าหาญทางจริ ยธรรม
1.2 วิธีสอน การปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม ใช้วิธีการ ดังนี
1.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างกรณี ศึกษาปัญหาคุณธรรม จริ ยธรรมของสังคม
1.2.2 อภิปรายกลุ่มเพือวิเคราะห์ปัญหาตามข้อ 1
1.2.3 ศึกษากรณี ตวั อย่าง
1.2.4 เน้นสอนแบบเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
1.3 วิธีการประเมินผล
กระบวนการประเมิน ประเมินโดยการสังเกต การจดบันทึกโดยการกําหนดเงือนไขการ
เรี ยน และตกลงกับผูเ้ รี ยนในชัวโมงแรกของการสอน เป็ นการทําสัญญาร่ วมกันระหว่างผูส้ อนและ
ผูเ้ รี ยน และใช้เป็ นเกณฑ์การประเมิ นคุ ณธรรม จริ ยธรรม ในรายวิชา โดยกําหนดคะแนนด้าน
คุณธรรม จริ ยธรรมไว้ 10 คะแนน เงือนไขการเรี ยนทีแสดงถึงคุณธรรม จริ ยธรรมมีดงั นี
1.3.1 เข้าห้องเรี ยนให้ตรงเวลา ผูส้ อนอนุญาตให้นกั ศึกษาเข้าห้องช้าได้ ไม่เกิน 15
นาที จากนันถือว่าเข้าชันเรี ยนสาย
1.3.2 เมือเข้าห้องเรี ยนทุกครัง ให้นกั ศึกษาขานชือเข้าชันเรี ยนตามใบรายชือ ใน
ทุกชัวโมง หากนักศึกษาไม่ได้ขานชือ จะถือว่าขาดเรี ยนเพราะไม่มีหลักฐานการเข้าชันเรี ยน
1.3.3 การขาดเรี ยน นักศึกษามีสิทธิขาดเรี ยนได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของเวลาเรี ยน
ทังหมด หากขาดเรี ยนมากกว่านี นักศึกษาจะไม่มีสิทธิ เข้าสอบปลายภาค และอาจารย์ผสู ้ อนจะให้
นักศีกษาผูน้ นไปยื
ั นคําร้องขอยกเลิกรายวิชา โดยไม่ได้รับเงินคืน (ตามเวลาทีมหาวิทยาลัยกําหนด)
ถ้านักศึกษาไม่ปฏิบตั ิตาม ผูส้ อนจะส่ งรายชื อให้ฝ่ายทะเบียนเพือประกาศรายชื อผูไ้ ม่มีสิทธิ สอบ
และการขาดเรี ยนทุกครังต้องมีใบลามาแสดงด้วย
1.3.4 การเข้าเรี ยนทุกครังนักศึกษาต้องร่ วมทํากิจกรรมตามทีผูส้ อนมอบหมายทัง
งานรายบุคคลและงานกลุ่มย่อย โดยจะต้องศึ กษาค้นคว้ามาล่วงหน้าก่ อนเข้าชันเรี ยน เพือร่ วม
แลกเปลียนเรี ยนรู ้กบั ผูส้ อนและเพือนในชันเรี ยน
1.3.5 การร่ วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นในแต่ละครัง ผูส้ อนจะประเมินการมี
ส่ วนร่ วมของนักศึกษาแต่ละบุคคลทุกครังทีมีการทํากิจกรรมในชันเรี ยน
1.3.6 การทํารายงาน นักศึกษาจะต้องไม่ลอกข้อความจากหนังสื อหรื อลอกงาน
เพือตนมาส่ ง จะต้องศึ กษาในเรื องนันอย่างลุ่มลึ กจนความรู ้ เรื องนันเกิ ดการตกผลึ ก การศึ กษา
ดังกล่าวต้องผ่านากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรี ยบเรี ยงเป็ นความคิดเห็ นและใช้สํานวน
ภาษาเขียนของตนเอง รายงานต้องมีการอ้างอิง และบรรณานุ กรมทีถูกต้องตามหลักการทํารายงาน
ถ้างานใครมีคุณภาพไม่ถึงเกณฑ์มาตรฐานทีผูส้ อนกําหนดไว้ นักศึกษาจะต้องกลับไปทําใหม่
1.3.7 การรายงานหน้าชัน นักศึกษาต้องใช้ทกั ษะการนําเสนอ ทักษะการอธิ บาย
ประกอบการใช้สือการเรี ยนรู ้ เช่น แผ่นใสหรื อ Power Point ตามความเหมาะสม ในการนําเสนอ
งาน ต้องใช้ภาษาของตนเองในการอธิบายประเด็นต่างๆ ตามความรู ้ ความเข้าใจ ทีผ่านการศึกษาค้น
กว้ามาอย่างลุ่มลึก โดยอนุญาตให้มีโน้ตสันๆ ดังนันก่อนจะออกมารายงาน นักศึกษาจะต้องค้นคว้า
และทําความเข้าใจกับเรื องทีศึกษาเรี ยงลําดับการนําเสนอรายงานมาเป็ นอย่างดี จะทําให้นกั ศึกษามี
ความมันใจ
1.3.8 เนืองจากปั จจุบนั กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้สถานศึกษาจัดการเรี ยน
การสอนโดยใช้คุณธรรมนําความรู ้ ดังนัน เพือเป็ นการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าว นักศึกษาจะต้อง
ปฏิบตั ิดงั นี
1) แต่งกายให้เหมาะสม เรี ยบร้อย ถ้าแต่งกายไม่เหมาะสม จะไม่ได้รับสิ ทธิ ให้เข้า
ชันเรี ยน
2) นักศึกษาทีลอกงานเพือนหรื อให้เพือนลอกงานหรื อทุจริ ตในการสอบจะถูกปรับ
ตก
1.3.9 การส่ งงานต้องส่ งให้ตรงเวลาทีกําหนดไว้ หากส่ งล่าช้า ผูส้ อนจะหักคะแนนโดยติด
ลบไป วันละ 1 คะแนน

การพัฒนาการเรียนรู้ ด้านความรู้
2.1 ความรู ้ทีต้องได้รับ
2.1.1 หลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกียวกับการจัดองค์การทัวไป
2.1.2 หลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกียวกับการจัดองค์กรท้องถิน
2.1.3 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินขนาดเล็ก
2.1.4 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินขนาดกลาง
2.1.5 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินขนาดใหญ่
2.1.6 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินแบบบูรณาการ
2.1.7 การกําหนดยุทธศาสตร์เพือการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.8 ธรรมาภิบาลกับการบริ หารและการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.9 การมีส่วนร่ วมกับการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.10 การบริ หารโครงการขององค์กรท้องถิน
2.1.11 การบริ หารงบประมาณขององค์กรท้องถิน
2.1.12 การบริ การสาธารณะขององค์กรท้องถิน
2.1.13 การบริ หารงานบุคคลขององค์กรท้องถิน
2.1.14 ความสัมพันธ์ทางการเมือง การบริ หาร และการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.15 ปัญหาและอุปสรรคของการบริ หารและการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.16 ทิศทางของการบริ หารและการจัดการองค์กรท้องถินของประเทศไทยใน
อนาคต

2.2 วิธีสอน
วิธีการสอนเพือให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และทักษะปฏิบตั ิดงั กล่าว ผูส้ อนมีแนวการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดังนี
2.2.1 บรรยาย อภิปราย
2.2.2 การสอนแบบ Cooperative learning
2.2.3 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
2.2.4 การสอนแบบเน้นการวิจยั Research- based learning
2.2.5 การสอนแบบเน้นปัญหา Problem - based learning
2.3 วิธีการประเมินผล
การประเมินผลใช้การสังเกตการทํากิจกรรมกลุ่ม การตรวจผลงาน การทดสอบ

การพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปั ญญาทีต้องพัฒนา
3.1.1 วิเคราะห์กระบวนการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน
3.1.2 วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคกระบวนการบริ หารและการจัดการขององค์กร
ปกครองท้องถิน
3.1.3 วิเคราะห์หลักการ แนวคิดและทฤษฎีของการบริ หารและการจัดการการ
ปกครองท้องถิน
3.1.4 สังเคราะห์ความรู ้เพือจัดทําแผนทีความคิด (Mind Map)
3.1.5 สังเคราะห์สาระสําคัญของวิชาโดยการบูรณาการการบริ หารและการจัดการ
การปกครองท้องถินไทยกับพัฒนาการการบริ หารและการจัดการการปกครองท้องถินในประเทศ
ไทย
3.2 วิธีสอน
3.2.1 บรรยาย อภิปราย
3.2.2 การสอนแบบ Cooperative learning
3.2.3 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
3.2.4 การสอนแบบเน้นการวิจยั Research- based learning
3.2.5 การสอนแบบเน้นปัญหา Problem - based learning

3.3 วิธีการประเมินผล
การตรวจผลงาน
การพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบทีต้องพัฒนา
รายวิชานี มุ่งเน้นการฝึ กผูเ้ รี ยนให้เป็ นผูท้ ีมีความรับผิดชอบและสามารถกํากับตนเองให้มี
วินยั ในการเรี ยน สามารถทํางานเป็ นกลุ่ม โดยผูส้ อนเป็ นผูแ้ นะนําทาง
4.2 วิธีสอน
4.2.1 การสอนแบบ Cooperative learning
4.2.2 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
4.3 วิธีการประเมินผล
ใช้การสังเกตการทํางานเป็ นกลุ่ม การตรวจผลงาน

5. การพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื อสาร และการใช้


เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.1 รายวิชานีมุ่งฝึ กให้ผเู ้ รี ยนวิเคราะห์ตวั เลขจากสถิติขอ้ มูลทางด้านสังคม
วิเคราะห์ตวั เลขและอ่านผลงานวิจยั
5.1.2 ฝึ กให้ผเู ้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจากเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
5.2 วิธีสอน
5.2.1 บรรยาย อภิปราย
5.2.2 การสอนแบบ Cooperative learning
5.2.3 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
5.2.4 การสอนแบบเน้นการวิจยั Research- based learning
5.2.5 การสอนแบบเน้นปั ญหา Problem - based learning
5.3 วิธีการประเมินผล
การตรวจผลงาน
หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน
สั ปดาห์ ที เนือหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื อและอุปกรณ์
1 - ปฐมนิเทศ - การสํารวจคุณลักษณะพืนฐาน - เอกสารประกอบการ
3 ชม. - แนะนําขอบเขต เนือหา และ ของ สอน
วัตถุประสงค์ของวิชา ผูเ้ รี ยน - power point
- การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - แบบสํารวจคุณลักษณะ
- ซักถามแลกเปลียน พืนฐานของผูเ้ รี ยน
- แนะนําเทคนิคการเขียนแผนที - ใบงานที 1 การเขียน
ทาง แผนทีทางความคิด
ความคิด (Mind Map) (Mind Map)
- มอบหมายงาน - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
- ตกลงและชีแจงการประเมินผล (Pre – test )
การเรี ยน
- ทดสอบก่อนการเรี ยนการสอน
2 - หลักการ แนวคิดและทฤษฎี - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. เกียวกับการจัดองค์การทัวไป - ซักถามแลกเปลียน สอน
- power point
- ใบงานที 2 การเขียน
แผนทีทางความคิด
3 - หลักการ แนวคิดและทฤษฎี - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. เกียวกับการจัดองค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน สอน
- power point
- ใบงานที 3 การเขียน
แผนทีทางความคิด
4 - การจัดโครงสร้างองค์กร - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. ปกครองท้องถินขนาดเล็ก - ซักถามแลกเปลียน สอน
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
- ใบงานที 4 การเขียน
แผนทีทางความคิด
5 - การจัดโครงสร้างองค์กร - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. ปกครองท้องถินขนาดกลาง - ซักถามแลกเปลียน สอน
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
- ใบงานที 5 การเขียน
แผนทีทางความคิด
6 - การจัดโครงสร้างองค์กร - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. ปกครองท้องถินขนาดใหญ่ - ซักถามแลกเปลียน สอน
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
- ใบงานที 6 การเขียน
แผนทีทางความคิด
7 - การจัดโครงสร้างองค์กร - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. ปกครองท้องถินแบบบูรณาการ - ซักถามแลกเปลียน สอน
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
- ใบงานที 7 การเขียน
แผนทีทางความคิด
8 สอบกลางภาค
3 ชม.
9 - การกําหนดยุทธศาสตร์เพือการ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. จัดการองค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน สอน
- มอบหมายงาน - power point
- ใบงานที 8 การเขียน
แผนทีทางความคิด
10 - ธรรมาภิบาลกับการบริ หารและ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. การจัดการองค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน สอน
- การมีส่วนร่ วมกับการจัดการ - power point
องค์กรท้องถิน - ใบงานที 9 การเขียน
แผนทีทางความคิด
11 - การบริ หารโครงการของ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. องค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน สอน
- การบริ หารงบประมาณของ - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
องค์กรท้องถิน - ใบงานที 10 การเขียน
แผนทีทางความคิด
12 - การบริ การสาธารณะของ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. องค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน สอน
- การบริ หารงานบุคคลของ - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
องค์กรท้องถิน - ใบงานที 11 การเขียน
แผนทีทางความคิด
13 - ความสัมพันธ์ทางการเมือง - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. การบริ หาร และการจัดการ - ซักถามแลกเปลียน สอน
องค์กรท้องถิน - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
- ใบงานที 12 การเขียน
แผนทีทางความคิด
14 - ปัญหาและอุปสรรคของการ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. บริ หารและการจัดการองค์กร - ซักถามแลกเปลียน สอน
ท้องถิน - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
- ใบงานที 13 การเขียน
แผนทีทางความคิด
15 - ทิศทางของการบริ หารและการ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการ
3 ชม. จัดการองค์กรท้องถินของ - ซักถามแลกเปลียน สอน
ประเทศไทยในอนาคต - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - power point
- สรุ ปเนือหาในภาพรวม - ทดสอบหลังการเรี ยนการสอน - ใบงานที 14 การเขียน
(Post – test) แผนทีทางความคิด
- แบบทดสอบหลังการ
เรี ยนการสอน(Post –
test)
16 สอบปลายภาค
3 ชม.
ตารางที 2 แผนการสอน

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการประเมินผล สัปดาห์ที สัดส่ วน
นักศึกษา ประเมิน คะแนน
การประเมิน
1.1.1 – 1.1.4 การเข้าชันเรี ยน ตลอดภาค 10
การมีส่วนร่ วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชัน การศึกษา
2.1.1 – 2.1.16 เรี ยน ตลอดภาค 10
การวิเคราะห์กรณี ศึกษา ค้นคว้า การนําเสนอ การศึกษา
3.1.1 – 3.1.5 รายงาน ตลอดภาค 10
การศึกษา
4.1 การทํางานกลุ่ม 8 30
16 40
การทดสอบกลางภาค
การทดสอบปลายภาค
ตารางที 3 แผนการประเมินผลการเรี ยนรู ้

7.งานวิจยั ทีเกียวข้ อง

เบย์ (Bay, 1985) ได้ทาํ การศึกษาด้วยการนํา Astute Activities มาใช้สอนนักเรี ยนระดับ


มัธยมศึกษาตอนปลาย ในวิชาภาษาอังกฤษ กิจกรรมดังกล่าวประกอบด้วย การระดมสมอง การทํา
แบบฝึ กหัดการเขียนอย่างสร้างสรรค์โยใช้บุคลิกลักษณะของนักเขียน การอภิปรายเกียวกับประเด็น
ที หลากหลายจากรู ป แบบของคุ ณ ลัก ษณะ รวมทังเทคนิ ค แผนผัง ทางปั ญ ญาด้ว ย ผลปรากฏว่า
ความคิดสร้างสสรค์ในการทํางานของนักเรี ยน ทังการพูด และการเขียนสู งขึนรวมทังความสามารถ
ทางภาษาในการเขียนและความตระหนักต่อประเด็นปัญหาต่างๆดีขึนด้วย
กระทรวงศึกษาศึกษาธิ การของรัฐแมรี แลนด์ (Maryland State Department of
Education,1990) ได้อา้ งงานวิจยั ทีกล่าวถึง การจัดเนื อหาสาระด้วยแผนภาพเป็ นเครื องมือทีมี
ประสิ ทธิ ภาพช่วยการเรี ยนรู ้และจัดระบบการคิด เพราะผูเ้ รี ยนได้มีโอกาสประมวลความคิด และมี
ปฏิสัมพันธ์กบั สิ งทีเรี ยนทีมีระบบไว้อย่างดี ทําให้ผเู ้ รี ยนรับเนือหาสาระชัดเจนขึน ผูเ้ รี ยนได้แสดง
ความคิดออกมาเป็ นรู ปธรรมทีสามารถตรวจสอบได้วา่ เข้าใจเนือหานันถูกต้องชัดเจนเพียงใด
แมคเคลน (McClain, 1986) ได้ศึกษาเกียวกับการนําเทคนิคแผนผังทางปั ญญามาใช้ในการ
อธิ บ ายโครงสร้ า งของเนื อหาของวิ ช า ก่ อ นทํา การสอนซึ งทํา การศึ ก ษากับ นั ก ศึ ก ษาระดับ
มหาวิทยาลัย พบว่า เทคนิ คแผนผังทางปั ญญาช่วยให้นกั ศึกษาเข้าใจในมโนทัศน์ได้ดีขึน รวมทังยัง
พบว่า มีส่วนช่วยในการจดการบรรยาย พัฒนาคุณภาพในการระดมสมองของนักศึกษา ทําให้การ
จดบันทึกชัดเจน นักศึกษามีความคิดทีเป็ นอิสระมากขึน รวมทังยังช่วยเพิมความเข้าใจได้ดว้ ยซึงถือ
ได้วา่ เป็ นการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคลได้ดีอีกด้วย
โอลล์ ฟาเธอร์ และคณะ (Oldfather And Other, 1994) ได้ศึกษาเกียวกับการนําเทคนิ ค
แผนผังทางปั ญญามาใช้เตรี ยมการสอน และพัฒนาหลักสู ตรของครู ทีสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติ
วิสท์ (Constructivist) ในระดับมหาวิทยาลัย ด้วยการนํามาเป็ นเครื องมือช่วยใน 4 กิจกรรม ได้แก่
1.นํามาใช้อธิบายความหมาย แลโครงสร้างของเนือหาให้ชดั เจนขึน
2.แสดงให้เห็นถึงความเชือมโยงระหว่างเนือหาในบทเรี ยน
3.ใช้แสดงรายละเอียดของตนเองให้กบั ครู ผสู ้ อนคนอืนได้เข้าใจ
พบว่าทําให้ช่วยในการวางแผนมีประสิ ทธิ ภาพมากขึนเนื องจากครู ทุกคนทีร่ วมโครงการ
การสามารถมองเห็นภาพรวมของหลักสู ตร และความเชื อมโยงของเนื อหา ทําให้สามารถร่ วมกัน
เตรี ยมการสอนและพัฒนาหลักสูตรได้ดีขึน
ลีฟ (Leaf, 1997) ได้ศึกษาวิธีสอนด้วยแผนผังทางปั ญญา (The Mild-Mapping Approach =
MMA) เป็ นโมเดลและโครงร่ างสําหรั บการเรี ยนรู ้เส้นทีสันทีสุ ดทีอยู่บนพืนผิวและและเชื อมจุด
สองจุดบนพืนผิวนัน ของกลุ่มครู และนักกายภาพบําบัดรวม 45 คน และนักเรี ยน 639 คน พบว่า ครู
และนักกายภาพบําบัดได้รับประโยชนื อย่างมีนยั สําคัญจากการฝึ กอบรมด้วย MMA และแนวโน้ม
ระยะยาวเกี ยวกับผลลัพ ธ์ของนักเรี ย น ชี ให้เ ห็ น ว่านักเรี ยนที มี ประสบการณ์ จากการได้รับการ
แนะนําด้วยวิธีการของ MMA จะเปลียนแปลงไปในทางบวกอย่างมีนยั สําคัญ ซึ งการพัฒนาเป็ นไป
ทางบวกอย่างมีนยั สําคัญในตัวครู นักกายภาพบําบัด และนักเรี ยน ยอมรับว่าวิธีการของ MMA เป็ น
วีการคิดทีง่ายเกียวกับการเรี ยนรู ้เส้นทีสันทีสุ ดทีอยูบ่ นพืนผิวและเชือมจุดสองจุดบนพืนผิวนัน การ
แก้ไขปัยหากับทักษะการวิจยั และการเรี ยนรู ้สิงใหม่ๆ
สุ ปรี ยา ตันสกุล (2540) ได้ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสอนแบบจัดข้อมูลด้วยแผนภาพ
ทีมีต่อสัมฤทธิผลทางการเรี ยนและความสามารถทางการแก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักศึกษาระดับ
ปริ ญญาตรี ปีที 2 คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล กลุ่มทดลองได้รับการสอนด้วย
รู ปแบบการสอนแบบการจัดข้อมูลด้วยแผนภาพ ส่ วนกลุ่มควบคุมได้รับการสอนด้วยวิธีการสอน
ปกติ ผลการวิจยั พบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลียสัมฤทธิ ผลทางการเรี ยน และ
ความสามารถทางการแก้ปัญหาสู งกว่านักศึกษากลุ่มควบคุมอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
และรู ปแบบการสอนแบบจัดข้อมูลด้วยแผนภาพทีพัฒนาขึนมีความเหมาะสมต่อการเสริ มสร้าง
ประสิ ทธิภาพในการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา การใช้วิธีการจัดข้อมูลด้วยแผนภาพช่วยให้นกั ศึกษาเข้าใจ
เนือหาได้ดีขึน
สมาน ถาวรรัตนวานิ ช (2541) ศึกษาผลของการฝึ กใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญาทีมีต่อ
ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5 ผลการวิจยั พบว่า (1) คะแนนความคิด
สร้างสรรค์หลังการทดลองของนักเรี ยนกลุ่มทดลองสู งกว่ากลุ่มควบคุมในแต่ละระดับของลักษณะ
บุคคลทีมีความคิดสร้างสรรค์ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 (2) คะแนนความคิดสร้างสรรค์
หลังการทดลองของนักเรี ยนกลุ่มทดลองสู งกว่าก่อนการทดลองในแต่ละระดับของลักษณะบุคคลที
มีความคิดสร้างสรรค์ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 (3) ความคิดสร้างสรรค์จากงานประดิษฐ์
หลังการทดลองของนักเรี ยนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน
สิ รินทิพย์ พูลศรี (2542) ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสร้างความคิดรวบยอดทีมีต่อ
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ของนัก เรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5 ผลการวิจยั พบว่า(1)
แผนการสอนทีสร้ างขึนโดยใช้รูปแบบการสร้ างความคิดรวบยอดเรื องรู ปทรงและปริ มาตรของ
รู ปทรงสี เหลียมมุมฉาก จํานวน 10 แผน แผนละ 3 คาบ ใช้เวลา 30 คาบ สามารถพัฒนา
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอดของนักเรี ยน (2) ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ของ
นักเรี ยนทีเรี ยนโดยใช้รูปแบบการสร้างความคิดรวบยอด และนักเรี ยนทีเรี ยนโดยวิธีปกติแตกต่าง
กันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 (3) วิธีคิดของนักเรี ยนทีเรี ยนคณิ ตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบ
การสร้างความคิดรวบยอด พบว่า วิธีคิดทีนัก เรี ยนใช้จากมากทีสุ ดไปหาน้อยทีสุ ด คือ การสังเกต
ตัวอย่างและตังสมมติฐาน การจําแนกตัวอย่างและเปรี ยบเทียบความแตกต่างของตัวอย่าง การหา
ลักษณะร่ วมของตัวอย่าง ลําดับขันในการคิดของนักเรี ยนเพือให้เกิดความคิดรวบยอด มีดงั นี คือ
สังเกตลักษณะทัวไปของตัว อย่าง เปรี ยบเทียบความแตกต่างของตัวอย่าง หาลักษณะร่ วมของ
ตัวอย่าง สรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด
จิรพรรณ จิตประสาท (2543) ศึกษาการใช้ผงั ความคิดและการบริ หารสมองในการสอน
กลุ่มสร้างเสริ มประสบการณ์ชีวิตสําหรับนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5 ผลการวิจยั พบว่า (1) การ
พัฒนาแผนการสอนทีเน้นผังความคิดและการบริ หารสมอง กลุ่มสร้างเสริ มประสบการณ์ชีวิต เรื อง
แสง ได้แผนการสอนทังหมด 12 แผน จํานวน 60 คาบ (2) ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนของนักเรี ยน
หลังจากได้รับการสอนโดยใช้แผนการสอนทีเน้นผังความคิดและการบริ หารสมอง สู งกว่าก่อน
เรี ยนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 (3) พฤติกรรมการเรี ยนของนักเรี ยนทีเรี ยนโดยใช้
แผนการสอนทีเน้นผังความคิด และการบริ หารสมอง พบว่า ผูเ้ รี ยนมีพฤติกรรรมทีแสดงออกใน
ด้านปฏิสัมพันธ์ในการทํางานดี มีความเข้าใจและรู ้จกั แก้ปัญหาในการเรี ยน มีความกระตือรื อร้น
สนใจ มันใจในการเรี ยน และมีการพัฒนาการในการเขียนผังความคิดดีขึน
สุ พรรณี สุ วรรณจรัส (2543) ศึกษาผลของการฝึ กใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญาทีมีต่อการคิด
อย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 2 ผลการวิจยั พบว่า (1) นักเรี ยนกลุ่มทดลองที
ได้รับการฝึ กใช้เทคนิคแผนผังทางปัญญามีค่าเฉลียคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่านักเรี ยน
กลุ่มควบคุมทีได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 (2) นักเรี ยนกลุ่ม
ทดลองทีได้รับการฝึ กใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญามีค่าเฉลียคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลัง
การทดลองสู งกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 (3) ไม่พบความแตกต่าง
ระหว่างค่าเฉลี ยคะแนนการคิด อย่างมี วิจารณญาณภายหลังการทดลองกับระยะติ ดตามผลของ
นักเรี ยนกลุ่มทดลองทีได้รับการฝึ กใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญา
ศิริลกั ษณ์ หย่างสุ วรรณ (2543) ได้ศึกษาการพัฒนาโปรแกรมการส่ งเสริ มความสามารถใน
การจัดเนื อหาสาระด้วยแผนภาพสําหรับนักศึกษาฝึ กหัดครู สาขาการศึกษาปฐมวัย กลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ปีที 3 จํานวน 30 คน ขันตอนการพัฒนาโปรแกรมมีขนตอนดั ั งนี ขันที 1
ศึกษาข้อมูลพืนฐาน ขันที 2 สร้างโปรแกรม ขันที 3 ทดลองใช้โปรแกรม ขันที 4 ปรับปรุ ง
โปรแกรม ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล 13 สัปดาห์ ผลการวิจยั พบว่า (1) นักศึกษามีคะแนน
ความสามารถจัดเนื อหาสาระด้วยแผนภาพหลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ สู งกว่าก่อนทดลองใช้
โปรแกรมฯ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 (2) นักศึกษามีคะแนนความสามารถในการเขียน
แผนการสอนโดยใช้การจัดเนื อหาสาระด้วยแผนภาพหลังการทดลองใช้โปรแกรมฯ สู งกว่าก่อน
ทดลองใช้โปรแกรมฯ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 (3) นักศึกษาระยะที 3 ทุกคนมี
ความสามารถในการผลิตสื อและการสอนโดยใช้การจัดเนือหาสาระด้วยแผนภาพในชันเรี ยนจริ งใน
ระดับผ่านเกณฑ์ทีกําหนดไว้
กรแก้ว แก้วคงเมือง (2544) ศึกษาผลของการฝึ กสร้างแผนผังทางปั ญญาทีมีต่อความเข้าใจ
และความคงทนของความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชันมัธยมศึ กษาปี ที 5
ผลการวิจยั พบว่า (1) นักเรี ยนกลุ่มทดลองมีคะแนนความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษหลังการ
ทดลองสู งกว่านักเรี ยนกลุ่มควบคุมอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 (2) นักเรี ยนกลุ่มทดลองมี
คะแนนความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษหลังการทดลองสู งกว่าก่อนทดลองอย่างมีนยั สําคัญทาง
สถิติทีระดับ .05 (3) นักเรี ยนกลุ่มทดลองและนักเรี ยนกลุ่มควบคุมมีคะแนนความคงทนของความ
เข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษไม่แตกต่างกัน
บรรหาญ จิตหวัง (2544) ศึกษา การพัฒนาแบบสอบความคิดรวบยอดทางคณิ ตศาสตร์ของ
นักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5 ผลการวิจยั พบว่า (1) แบบสอบฉบับที 1 มีค่าอํานาจจําแนก อยู่
ในช่วงตังแต่ 0.401 ถึง 2.402 ค่าความยากอยูใ่ นช่วงตังแต่ –0.028 ถึง 1.463 ค่าการเดาอยูใ่ นช่วง
ตังแต่ 0.118 ถึง 0.280 โดยมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดเมือนําไปทดสอบกับนักเรี ยนทีมีระดับ
ความสามารถปานกลาง (0.5) (2) แบบสอบฉบับที 2 มีค่าอํานาจจําแนก อยูใ่ นช่วงตังแต่ 0.558 ถึง
3.064 ค่าความยากอยูใ่ นช่วงตังแต่ –0.097 ถึง 2.822 ค่าการเดาอยูใ่ นช่วงตังแต่ 0.105 ถึง 0.346 โดย
มีประสิ ทธิภาพสูงสุ ดเมือนําไปทดสอบกับนักเรี ยนทีมีระดับความสามารถค่อนข้างสู ง
ชนัญชิดา จิตตปาลกุล (2545) ทําการศึกษาผลการใช้กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบแผนที
ความคิด (Mind Mapping) ทีมีต่อผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษ ชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1
ผลการวิจยั พบว่า การสอนโดยใช้กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบแผนทีความคิด ส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยนโดยภาพรวมสู งขึนเพียง เล็กน้อยเท่านัน และเมือดูจากการเปรี ยบเทียบคะแนนเฉลีย
ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนกลางภาคเรี ยนกับปลายภาคเรี ยน ในแต่ละระดับสติปัญญา จะเห็นว่า กลุ่ม
เก่งและกลุ่มอ่อนมีการพัฒนาขึน แต่ในกลุ่มปานกลางกลับมีคะแนนเฉลียลดน้อยลง ซึ งอาจแปร
ผลได้ว่ากิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนวิธีนีไม่เหมาะกับผูเ้ รี ยนในกลุ่มนี จึงควรได้มีการศึกษากิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รี ยนหรื อวิธีการสอนทีเหมาะสม กับการพัฒนาผูเ้ รี ยนในกลุ่มนีต่อไป ในการเลือกเนือหา
เพือนํามาใช้ในการสร้างแผนทีความคิด ควรเป็ นเรื องทีไม่ยงุ่ ยากซับซ้อนหรื อเนือความมากเกินไป
และการสร้างแบบทดสอบอาจมีผลต่อการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนได้ ถ้าผูส้ อนและ
ผูอ้ อกแบบทดสอบไม่ใช่บุคคลเดียวกัน และควรสร้างแบบทดสอบจากเนื อหาทีได้สอนด้วยวิธีแผน
ทีความคิดเท่านัน มิฉะนันอาจทําให้ได้ขอ้ มูลทีไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายทีตังไว้
สุ ภาพร สายสวาท (2545) ศึกษาการใช้กิจกรรมส่ งเสริ มทักษะการคิด เพือพัฒนา
ความสามารถการแสดงความคิดของนักเรี ยนชันอนุ บาลปี ที 1 โรงเรี ยนอนุ บาลกาญจนบุรี
ผลการวิจยั พบว่า (1) ได้ชุดฝึ กกิจกรรมส่ งเสริ มทักษะการคิดสามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนอย่างมี
คุณภาพ (2) นักเรี ยนสามารแสดงออกทางความคิดสู งขึน ได้อย่างหลากหลาย มีความเชือมันในการ
แสดงความคิด กล้าแสดงความคิดเห็นสู งขึน(3) มีผลสัมฤทธิความสามารถในการคิดสู งขึนอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติที .01
นภาพร ภู่ทอง (2546) ศึกษาผลของการเล่านิทานประกอบสื อแบบต่าง ๆ ทีมีต่อการสร้าง
ผังคิดของนักเรี ยนชันประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างทีใช้กาํ หนดโดยการเลือกแบบเจาะจง แบ่งเป็ น 3
กลุ่ม ๆ ละ 43 คน รวม 129 คน ดําเนินกิจกรรมการเล่านิทานประกอบสื อรู ปภาพ สื อเทปนิทาน และ
สื อวีซีดี เป็ นระยะเวลา 3 สัปดาห์ ด้วยตัวของผูว้ ิจยั เอง ผลการวิจยั พบว่า การเล่านิทานประกอบสื อ
รู ปภาพ และการเล่านิทานประกอบสื อวีซีดี มีผลต่อการสร้างผังคิดของนักเรี ยนชันประถมศึกษาอยู่
ในระดับดี และการเล่านิ ทานประกอบสื อเทปนิ ทาน มีผลต่อการสร้างผังคิดของนักเรี ยนชัน
ประถมศึกษาอยูใ่ นระดับพอใช้
ศศิธร หาคํา (2548) การศึกษาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชัน
ประถมศึกษาปี ที 6 ทีใช้เทคนิคการคิดแบบ Mind Map ในขันสรุ ปเนือหาโดยผูเ้ รี ยนเรื องสมการโดย
การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนทีเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้โดยการปฏิบตั ิจริ ง อภิปรายกลุ่มย่อยแล้ว
สรุ ป เนื อหาโดยการสรุ ปแบบ ผังความคิด (Mind Map) เป็ นกลุ่มและฝึ กทักษะโดยการเล่นเกม
จากนันนําความรู ้จากการสรุ ป Mind Map กลุ่มไปทําแบบฝึ กหัด และสร้างผลงานเอง เพือนําผลงาน
คัดเลือก รอประเมินในแฟ้ มสะสมผลงานดีเด่น จากผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื อง สมการ ของนักเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์ทีน่าพอใจมาก โดยมีคะแนนเฉลียคิดเป็ นร้อยละ
80.44 นอกจากนี จากการสังเกต พฤติกรรม การทํางานกลุ่มและสังเกตจากผลงานกลุ่มและ
รายบุคคลในแฟ้ มสะสมผลงานดีเด่น นักเรี ยน มีความพึงพอใจในผลงานกลุ่ม และ การสรุ ปเนือหา
โดยใช้การคิดแบบ Mind Map สูงมาก
บทที 3
วิธีดาํ เนินการวิจยั

การศึกษาการใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน


วิ ช าการจัด องค์ก รท้อ งถิ น ของนัก ศึ ก ษาสาขาวิช ารั ฐ ประศาสนศาสตร์ มี ร ะเบี ย บวิ ธีวิ จ ัย และ
ขันตอนแผนการดําเนินงานดังนี
1. รู ปแบบของการวิจยั
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3. เครื องมือของการวิจยั
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. วิเคราะห์ขอ้ มูล
6. ขันตอนการวิจยั
7. แผนดําเนินการ
8. งบประมาณของโครงการวิจยั

1. รูปแบบของการวิจัย
เป็ นการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ (Action Research) ด้วยการนําเทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind
Map)
มาทดลองใช้เพือเพิมผลสัมฤทธิของการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากรของการวิจยั ในครังนี คือ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยราช
ภัฏพระนคร จํานวน 60 คน
กลุ่มตัวอย่างของการวิจยั ในครังนี แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม โดยกําหนดแบบเจาะจง ดังนี
1) กลุ่มควบคุม คือ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 1 จํานวน 30 คน
2) กลุ่มทดลอง คือ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 2 จํานวน 30 คน
3. เครืองมือของการวิจัย
1) แผนการสอนโดยใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญา (Mind Map)
1.1 ศึ กษาหลักสู ตร ความมุ่งหมายของหลักสู ตร จุ ดประสงค์ท วไปของเนื
ั อหา
วิชาการจัดองค์กรท้องถิน เพือนําไปใช้ในการทําแผนการสอน
1.2 ศึกษาหลักการ การจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน และเทคนิ คแผนผังทาง
ปัญญา (Mind Map) จากเอกสารงานวิจยั ทีเกียวข้อง
1.3 สร้างแผนการสอนโดยใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map)
1.4 นําแผนการสอนทีสร้างขึนใหม่ให้ผูเ้ ชี ยวชาญตรวจแก้ไขความถูกต้องของ
เนือหาและกิจกรรมการเรี ยนการสอน ตลอดจนความสอดคล้องระหว่างขันตอนต่าง ๆ ของแผนการ
สอน เพือนําข้อบกพร่ องมาปรับปรุ งแก้ไข
1.5 นําแผนการสอนทีปรับปรุ งแล้วไปใช้จริ งกับกลุ่มทดลอง
2) แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิทางการเรียนวิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน
2.1 ศึ ก ษาการสร้ า งแบบทดสอบผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ย น วิ ช าการจัด องค์ก ร
ท้องถิน จากเอกสารเทคนิคการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
2.2 วิเคราะห์หลักสู ตรในส่ วนทีเกียวกับเนือหาทีสอนตามลําดับ
2.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินตาม
เนื อหาเรื องที ใช้ในการสอนให้ผูเ้ ชี ยวชาญ จํานวน 3 คน ซึ งลักษณะข้อสอบจะเป็ นแบบอัตนัย
จํานวน 10 ข้อ พิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อคําถามของแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรี ยน
และแนะนําการปรับปรุ งและแก้ไขให้ถูกต้อง
ผลการพิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อคําถาม ของแบบทดสอบกับจุดประสงค์
การเรี ยน ได้ค่า IOC =1 โดยผูเ้ ชียวชาญทัง 3 คน ให้คะแนนข้อสอบ 10 ข้อ เท่ากับ 1 ทุกข้อ
2.4 นํา แบบทดสอบที ปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขแล้ว ไปใช้จ ริ ง กับ กลุ่ ม ควบคุ ม และกลุ่ ม
ทดลอง
4. การเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัด
องค์กรท้องถินกับกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง 2 ครัง คือ
1) ก่อนการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน (Pre-test)
2) หลังการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน (Post-test)
2. การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการฝึ กใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) โดยการ
รวบรวมแผนผังทางปั ญญาทีนักศึกษากลุ่มทดลองจัดทําขึนระหว่างการเรี ยนการสอนวิชาการจัด
องค์กรท้องถินด้วยการใช้เทคนิคแผนผังทางปัญญา (Mind Map)
5. การวิเคราะห์ ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณ เป็ นการประมวลผลและวิเคราะห์ขอ้ มูลจะใช้ การวิเคราะห์
ด้วยโปรแกรมสําเร็ จรู ป โดยใช้สถิติดงั นี
1) สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลีย (Mean) ค่าเบียงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation)
2) สถิติวิเคราะห์
การวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการ t - Test เพือทดสอบสมมติฐาน
6. ขันตอนการวิจัย
คัดเลือกกลุม่ ตัวอย่าง (กลุม่ ควบคุมและกลุม่ ทดลอง)

สร้ างแบบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้ องถิน

ทดสอบวัดผลสัมฤทธิก่อนการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้ องถิน (Pre-test)

สร้ างแผนการสอนโดยใช้ เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map)

สอนโดยแผนการสอนโดยใช้ เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map)

ทดสอบวัดผลสัมฤทธิหลังการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้ องถิน (Post-test)

วิเคราะห์ข้อมูล

ภาพที 2 ขันตอนการวิจยั
7. แผนดําเนินการ

ระยะเวลาทีใช้ในการศึกษาเป็ นเวลา 1 ภาคการศึกษา โดยแบ่งช่วงเวลา ดังนี


     

ระยะเวลาดําเนินการ กลุ่มตัวอย่างและ
กิจกรรม
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. สถานทีทําการศึกษา
1. คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (กลุ่มควบคุมและ
กลุ่มทดลอง)
2. สร้างแบบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน
วิชาการจัดองค์กรท้องถิน
3. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิก่อนการเรี ยน
วิชาการจัดองค์กรท้องถิน (Pre-test)
4. สร้างแผนการสอนโดยใช้เทคนิคแผนผัง นักศึกษาสาขาวิชา
ทางปั ญญา (Mind Map) รัฐประศาสนศาสตร์
5. สอนโดยแผนการสอนโดยใช้เทคนิค มหาวิทยาลัย
แผนผังทางปั ญญา (Mind Map) ราชภัฏพระนคร
6. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิหลังการเรี ยน
วิชาการจัดองค์กรท้องถิน (Post-test)
7. วิเคราะห์ขอ้ มูลและจัดทํารายงาน

8. การส่ งผลงาน

ตารางที 4 แผนการดําเนินงาน
บทที 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

การวิจยั เรื อง“การใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน


วิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ” เป็ นการวิจยั แบบกึงทดลอง
(Quasi Experiment) ทีมีวตั ถุประสงค์สาํ คัญ เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัด
องค์กรท้องถินของนักศึ กษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ระหว่างก่ อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้ ในกลุ่มทดลองและกลุ่ ม
ควบคุม และทีเพิมขึนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม ผลของการ
วิจยั และการนําเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลของการวิจยั ในครังนีเรี ยงตามลําดับดังนี
1. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง ของกลุ่มทดลอง
2. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง ของกลุ่มควบคุม
3. เปรี ยบเทียบคะแนนทีเพิมขึนระหว่างก่อนและหลังการทดลองและกลุ่มควบคุม

1. เปรียบเทียบผลสั มฤทธิทางการเรียน ก่ อน-หลัง ของกลุ่มทดลอง


การวิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บความแตกต่ า งของการใช้เ ทคนิ ค แผนผัง ทางปั ญ ญา
(Mind Map) เพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของนักศึกษาสาขาวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 1 จํานวน 30 คน ด้วยการใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการ
เรี ยนการสอน โดยโดยข้อสอบเป็ นแบบอัตนัย ทําการทดสอบก่อนเรี ยน ( Pretest ) และหลังจาก
เสร็ จสิ นการสอน ครบ 15 คาบ และทําการทดสอบหลังเรี ยน ( Posttest ) ด้วยข้อสอบชุดเดิม
ผลปรากฏดังตารางที 5 และ 6

ตาราง 5 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง การใช้เทคนิคแผนผังทาง


ปั ญญา ของกลุ่มทดลอง

การทดสอบ N Minimum Maximum Mean S.D.


ก่อนการเรี ยนการสอน 30 10 23 15.87 2.10
หลังการเรี ยนการสอน 30 12 25 22.23 3.25
ผลต่าง + 6.36
จากตารางที 5 ผลการสอนโดยใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map)เพื อเพิม
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ก่ อนและหลังการเรี ยนการสอนวิชาการจัดองค์กรท้องถิ นจากนักเรี ยน
จํานวน 30 คน พบว่า ก่อนการเรี ยนมีคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนเฉลีย 15.87 หลังการเรี ยนมี
คะแนนผลสัมฤทธิทางการเรี ยนเฉลีย 22.23 และมีผลต่างคะแนนเฉลียเท่ากับ +6.36

ตาราง 6 เปรี ยบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิทางการเรี ยนโดยการใช้เทคนิคแผนผังทางปัญญา

คะแนนวัดผลสั มฤทธิทางการเรียนโดย X S.D. df t P


การใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญา
(Mind Map)
ค่าเฉลียคะแนนก่อนการเรี ยนการสอน 15.87 2.10 29 -12.08 .003**
ค่าเฉลียคะแนนหลังการเรี ยนการสอน 22.23 3.25

** มีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01

จากตารางที 6 แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน โดยการ


ใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) มีความแตกต่างกับผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังการเรี ยน
ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01

2. เปรียบเทียบผลสั มฤทธิทางการเรียน ก่ อน-หลัง กลุ่มควบคุม


การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของการโดยไม่ได้ใช้เทคนิ คแผนผังทาง
ปั ญญา (Mind Map) เพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของนักศึกษา
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 2 จํานวน 30 คน ด้วยการใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยน โดยข้อสอบเป็ นแบบอัตนัยทําการทดสอบก่อนเรี ยน ( Pretest ) หลังจากเสร็ จสิ นการ
สอนครบ 15 คาบ และทําการทดสอบหลังเรี ยน ( Posttest ) ด้วยข้อสอบชุดเดิม ผลปรากฏ
ดังตารางที 7 และ 8
ตาราง 7 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง ของกลุ่มควบคุม

การทดสอบ N Minimum Maximum Mean S.D.


ก่อนการเรี ยนการสอน 30 9 21 13.26 3.00
หลังการเรี ยนการสอน 30 14 20 15.89 3.44
ผลต่าง + 2.63

จากตารางที 7 ผลการผลสัมฤทธิ ทางการเรี ย น โดยไม่ ไ ด้ใ ช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา


(Mind Map) ก่อนและหลังการเรี ยนการสอนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน จากนักเรี ยนจํานวน 30 คน
พบว่ า ก่ อ นการเรี ย นมี ค ะแนนผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ย นเฉลี ย 13.26 หลัง การเรี ย นมี ค ะแนน
ผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เฉลีย 15.89 และมีผลต่างคะแนนเฉลียเท่ากับ +2.63

ตาราง 8 เปรี ยบเทียบความแตกต่างของการเพือเพิมผลสัมฤทธิทางการเรี ยนของกลุ่มควบคุม

คะแนนวัดผลสั มฤทธิทางการเรียนโดย X S.D. df t P


ไม่ ได้ ใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญา
(Mind Map)
ค่าเฉลียคะแนนก่อนการเรี ยนการสอน 13.26 3.00 29 1.84 .453
ค่าเฉลียคะแนนหลังการเรี ยนการสอน 15.89 3.44

จากตารางที 8 แสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน โดยไม่ได้


ใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) ไม่มีความแตกต่างกับผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังการเรี ยน
ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
3. เปรียบเทียบคะแนนทีเพิมขึนระหว่ างก่ อนและหลังการทดลองและกลุ่มควบคุม
การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบคะแนนทีเพิมขึนระหว่างก่อนและหลังการทดลองและ
กลุ่มควบคุม ผลปรากฏดังตารางที 9 และ10

ตาราง 9 เปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียทีเพิมขึนระหว่างก่อนและหลังการทดลอง ของกลุ่มทดลองกับ


กลุ่มควบคุม

กลุ่ม N ก่ อน หลัง ผลต่ าง


การทดลอง การทดลอง
กลุ่มทดลอง 30 15.87 22.23 6.36
กลุ่มควบคุม 30 13.26 15.89 2.63
ผลต่าง 3.73

จากตาราง 9 ผลเปรี ยบเทียบคะแนนเฉลียทีเพิมขึนระหว่างก่อนและหลังการทดลอง ของ


กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของกลุ่มทดลองเฉลียเพิมขึน
= 6.36 คะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของกลุ่มควบคุมเฉลียเพิมขึน= 2.63 และมีผลต่างคะแนน
ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนของกลุ่มทดลองสู งกว่ากลุ่มควบคุม เฉลีย = +3.73

ตาราง 10 เปรี ยบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลียทีเพิมขึนระหว่างก่อนและหลังการทดลอง


ของกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม

คะแนนวัดผลสั มฤทธิทางการเรียนโดย X S.D. df t P


ใช้ และไม่ ได้ ใช้ เทคนิคแผนผังทาง
ปัญญา (Mind Map)
1. ผลต่างคะแนนค่าเฉลียก่อนกับหลัง 6.36 3.00 29 9.25 .01**
การเรี ยนการสอนของกลุ่มทดลอง
2. ผลต่างคะแนนค่าเฉลียก่อนกับหลัง 2.63 3.31
การเรี ยนการสอนของกลุ่มควบคุม
** มีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
จากตารางที 10 แสดงให้เห็ นว่าผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของ
กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลอง มีความแตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
ทีระดับ .01
บทที 5
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การวิจยั เรื อง “การใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพิมผลสัมฤทธิ


ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ” เป็ นการวิจยั
แบบกึ งทดลอง(Quasi Eperiment) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะมนุ ษศาสตร์ และสังคม
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาคปกติ ภาคการศึกษาที 1/2554 นักศึกษาชันปี ที 3 สาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 60 คน โดยการแบ่งกลุ่มตัวอย่างของการ
วิจยั ในครังนีเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม กับ กลุ่มทดลอง โดยใช้นกั ศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสน
ศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 1 จํานวน 30 คน เป็ นกลุ่มทดลอง และใช้นกั ศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
รุ่ น 52 หมู่ 2 จํานวน 30 คน เป็ นกลุ่มควบคุม มีวตั ถุประสงค์เพือศึกษา 1)เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยนวิ ช าการจัด องค์ก รท้อ งถิ นของนั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช ารั ฐ ประศาสนศาสตร์ คณะ
มนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ระหว่างก่ อนและหลังการจัดการ
เรี ยนรู ้ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2) เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กร
ท้อ งถิ นของนั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช ารั ฐ ประศาสนศาสตร์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ที เพิมขึนระหว่างก่ อนเรี ยนและหลังเรี ยนในกลุ่มทดลองกับกลุ่ม
ควบคุม แล้วนํามาการวิเคราะห์ ขอ้ มูล ด้วยโปรแกรมสถิติสําเร็ จรู ปทางสังคมศาสตร์ เพือทําการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย และค่าเบียงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่า t (Pair sample t
– Test) ผลการศึกษาสรุ ปได้ ดังนี

สรุป
1. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยน ก่อน-หลัง ของกลุ่มทดลอง พบว่า ผลการสอนโดย
ใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนในวิชาการจัดองค์กร
ท้องถินก่อนการทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนเฉลีย 15.87 หลังการทดลองมีคะแนน
ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนเฉลีย 22.23 และมีผลต่างคะแนนเฉลียเท่ากับ +6.36 และมีความแตกต่างกับ
ผลสัมฤทธิก่อนและหลังการเรี ยนทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที
ระดับ .01
2. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ก่อน-หลัง กลุ่มควบคุม พบว่า ผลการสอนโดยใช้
เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนในวิชาการจัดองค์กร
 

ท้องถินก่อนการทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนเฉลีย 13.26 หลังการทดลองมีคะแนน


ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนเฉลีย 15.89 และมีผลต่างคะแนนเฉลียเท่ากับ +2.63 และไม่มีความแตกต่าง
กับผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังการเรี ยนทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินอย่างมีนัยสําคัญทาง
สถิติ
3. เปรี ยบเทียบคะแนนทีเพิมขึนระหว่างก่อนและหลังการทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า
คะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของกลุ่มทดลองเฉลียเพิมขึน = 6.36 คะแนนผลสัมฤทธิ ทางการ
เรี ยนของกลุ่มควบคุม เฉลียเพิมขึน = 2.63 และมีผลต่างคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของกลุ่ม
ทดลองสู งกว่ากลุ่มควบคุม เฉลีย = +3.73 และมีความแตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ
.01

อภิปรายผล

จากวัตถุประสงค์ของการวิจยั ข้อที 1 เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน


วิชาการจัด องค์กรท้อ งถิ นของนัก ศึ กษาสาขาวิ ชารั ฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุม พบว่า การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างของการการใช้เทคนิ คแผนผังทาง
ปั ญญา (Mind Map) เพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ของนักศึกษา
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่ น 52 หมู่ 1 จํานวน 30 คน ด้วยการใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยนการสอน โดยข้อสอบเป็ นแบบอัตนัย ทําการทดสอบก่อนเรี ยน (Pretest) หลังจากเสร็ จ
สิ นการสอน ครบ 15 คาบ และทําการทดสอบหลังเรี ยน (Posttest) ด้วยข้อสอบชุดเดิม ผลการ
สํารวจเพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ก่อนและหลังการเรี ยนการสอนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน
จากนักเรี ยนจํานวน 30 คน พบว่าก่อนการเรี ยนมีคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนเฉลีย 15.87 หลัง
การเรี ยนมีคะแนนผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนเฉลีย 22.23 และมีผลต่างคะแนนเฉลียเท่ากับ +6.36
แสดงให้เห็ นว่าผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน โดยการใช้เทคนิ คแผนผังทาง
ปั ญญา (Mind Map) มีความแตกต่างกับผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังการเรี ยนทางการเรี ยนวิชาการจัด
องค์กรท้องถินดีขึน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 ซึงสอดคล้องกับ สุ พิศ กลินบุปผา (2545 :
15) ได้กล่าวว่าแผนผังทางปั ญญาเป็ นวิธีการสร้างแผนผังทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความคิด
หลักกับความคิดย่อยช่วยพัฒนาการจัดระบบความคิด รวบรวมรายละเอียดข้อมูลไว้ดว้ ยกัน จึงช่วย
ให้ประหยัดเวลาในการเรี ยนรู ้เกียวกับการจัดกลุ่มเนือหา การปรับปรุ งการระลึก การสร้างความคิด

 
 

สร้างสรรค์ มีคุณค่าอย่างยิงสําหรับการไตร่ ตรอง และการเรี ยนรู ้ อีกทังยังสามารถนํามาใช้กบั ผูเ้ รี ยน


ได้ทุกระดับและช่วยควบคุมการระดมสมองในเรื องใหม่ๆ การวางแผนการสรุ ป การทบทวน การ
จดบันทึก และสอดคล้องกับนิ ปาตีเมาะ หะยีหามะ (2546 : 42) ได้ให้ความหมายของแผนผังทาง
ปั ญญาไว้ว่า เป็ นการถ่ายทอดความคิดความเข้าใจเรื องใดเรื องหนึ งของเนื อหาออกมาในลักษณะ
รู ปธรรม โดยการจัดกลุ่มความคิด การเชื อมโยง การผูกต่อข้อมูลทังหมดเข้าด้วยกันเพือให้เกิ ด
ความสัมพันธ์ต่อเนื องกันโดยจะมีคาํ สําคัญหลัก หรื อรู ปภาพสัญลักษณ์อยู่ตรงกลางหน้ากระดาษ
เชือมโยงสําคัญอืนๆ ทีเกียวข้องกับคําสําคัญหลักออกไปทุกทิศทาง เพือให้เข้าใจง่ายยิงขึน สามารถ
จดจําข้อมูลได้ยาวนาน ซึงทําให้นกั ศึกษามีผลคะแนนเฉลียทีเพิมขึนอย่างชัดเจน
จากวัตถุประสงค์ของการวิจยั ข้อที 2 เพือเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน
วิ ชาการจัด องค์กรท้อ งถิ นของนัก ศึ กษาสาขาวิ ชารั ฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ทีเพิมขึนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนในกลุ่มทดลอง
กับกลุ่ มควบคุ ม พบว่า การวิเคราะห์ เปรี ยบเที ยบความแตกต่างของการใช้และไม่ได้ใช้เทคนิ ค
แผนผังทางปัญญา (Mind Map) เพือเพิมผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ด้วยการ
ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน โดยข้อสอบเป็ นแบบอัตนัย ทําการทดสอบก่อนเรี ยน
(Pretest) และทําการทดสอบหลังเรี ยน (Posttest) หลังจากเสร็ จสิ นการสอน ครบ 15 คาบ ด้วย
ข้อสอบชุดเดิม พบว่า นักศึกษาทีมีการใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) มีผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถินสู งกว่านักศึกษาทีไม่ได้ใช้เทคนิ คแผนผังทางปั ญญา (Mind
Map) เพือเพิมผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการจัดองค์กรท้องถิน ซึ งสอดคล้องกับหลักการใช้การ
สอนการจัดการเรี ยนรู ้ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ของวัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542) กล่าวไว้ว่า การ
จัดการเรี ยนการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ คือวิธีการสําคัญทีสามารถสร้างและพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้
เกิ ด คุ ณ ลัก ษณะต่ า งๆ ที ต้อ งการในยุค โลกาภิ ว ตั น์เ นื องจากเป็ นการจัด การเรี ย นการสอนที ให้
ความสํา คัญ กับ ผูเ้ รี ย น ส่ ง เสริ ม ให้ผูเ้ รี ย นรู ้ จ ัก เรี ย นรู ้ ด้ว ยตนเอง เรี ย นในเรื องที สอดคล้อ งกับ
ความสามารถและความต้องการของตนเอง และได้พฒั นาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที ซึ งแนวคิด
การจัดการศึกษานี เป็ นแนวคิดทีมีรากฐานจากปรัชญาการศึกษาและทฤษฎีการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ทีได้
พัฒนามาอย่างต่อเนื องยาวนาน และเป็ นแนวทางทีได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี
คุณลักษณะตามต้องการอย่างได้ผลการเรี ยนการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญนี ผูเ้ รี ยนจะได้รับการ
ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความรับผิดชอบและมีส่วนร่ วมต่อการเรี ยนรู ้ของตนเอง ซึ งแนวคิดแบบผูเ้ รี ยน
เป็ นสําคัญจะยึดการศึกษาแบบก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ผูเ้ รี ยนแต่ละคนมีคุณค่าสมควรได้รับ
การเชื อถือไว้วางใจแนวทางนี จึงเป็ นแนวทางทีจะผลักดันผูเ้ รี ยนไปสู่ การบรรลุศกั ยภาพของตน

 
 

โดยส่ งเสริ มความคิดของผูเ้ รี ยนและอํานวยความสะดวกให้เขาได้พฒั นาศักยภาพของตนเองอย่าง


เต็มที การจัดการเรี ยนการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางเป็ นการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้แบบใหม่ที
มีลกั ษณะแตกต่างจากการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้แบบดังเดิมทัวไป ซึ งทําให้นกั ศึกษามีผลคะแนน
เฉลียทีระดับปานกลางไม่เพิมขึนเท่าไหร่

ข้ อเสนอแนะ
ข้ อเสนอแนะเพือนําผลการวิจัยไปปฏิบตั ิ
1.การพัฒนาแผนการสอนโดยใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เพือเพิมทักษะของ
นักศึกษาให้พฒั นาการเรี ยนรู ้ได้มากขึน
2. การทบทวนสิ งทีเรี ยนโดยใช้เทคนิคแผนผังทางปั ญญา (Mind Map) เข้ามาช่วยในการจํา
ซึงจะทําให้การสอบวัดผลมีผลคะแนนดีขึน

ข้ อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยต่ อไป
เพือให้การเรี ยนมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลและสําเร็ จลุล่วงตามเป้ าหมายทีกําหนด
อีกทังยังสามารถนําผลการวิจยั มาเป็ นข้อมูลในการเรี ยนการสอนและแนวทางในการวางแผนการ
เรี ยนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ผูว้ ิจยั จึงขอเสนอแนะแนวทางในการวิจยั ครังต่อไป ดังนี
1. ควรทําการศึกษาทดลองใช้วิธีการอืน ๆ เพือพัฒนาการเรี ยนรู ้ของนักศึกษาร่ วมด้วย
เช่น การฝึ กปฏิบตั ิ การใช้กระบวนการกลุ่ม การใช้ความคิดรวบยอด เป็ นต้น
2. ควรทําการศึกษาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนของนักศึกษา อาจมีตวั แปรอืน ๆ ประกอบ
ร่ วมด้วย ดังนันควรมีการศึกษาตัวแปรอืน ๆ ในโอกาสต่อไป รวมทังสาเหตุปัญหาเฉพาะตนของ
นักศึกษา ควรศึกษาแต่ละราย เป็ นกรณี เฉพาะ
3. ควรทําการศึกษาวัดผลการเรี ยนเพือเพิมผลสัมฤทธิทางการเรี ยนของนักศึกษา โดยนํา
รู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบมีส่วนร่ วมและแบบกลุ่ม

 
บรรณานุกรม

กรแก้ว แก้วคงเมือง. (2544). การรับรู้บทบาทหญิงชายของนักเรียนชันมัธยมศึกษาในโรงเรียน


สั งกัดกรมสามัญศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรมการฝึ กหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยศึกษานิเทศก์. (2523). ความคิดสร้ างสรรค์ หลักการ
ทฤษฎีการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล. กรุ งเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว.
กรมวิชาการ ศูนย์พฒั นาหลักสู ตร. (2543). การสร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง. กรุ งเทพมหานคร : การ
ศาสนา.
กิดานันท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยีการศึกษาและวัฒนธรรม. กรุ งเทพมหานคร : สํานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชนิดา บุญชรโชติกลุ . (2547). การประยุกต์ ใช้ Mind Mapping และ Project Management วิเคระห์
โครงการเชิงบูรณาการ. กรุ งเทพมหานคร: สาร NECTEC.
จิรพรรณ จิตประสาท. (2543). การใช้ ผงั ความคิดและการบริหารสมองในการสอนกลุ่มสร้ าง
เสริมประสบการณ์ชีวติ สํ าหรับนักเรียนชันประถมศึกษาปี ที 5. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธัญญา ผลอนันต์. (2543). ใช้ หัวคิด. กรุ งเทพมหานคร : ขวัญข้าว.
---------. (2545). แบบฝึ กหัดคิดพิชิต Mind Map. กรุ งเทพมหานคร : ขวัญข้าว.
ธีระพัฒน์ ฤทธิทอง. (2545). 30 รูปแบบการจัดกิจกรรมโดยยึดผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ. กรุ งเทพมหานคร :
เฟื องฟ้ าพริ นติง.
บรรหาญ จิตหวัง. (2544). การพัฒนาแบบสอบความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียน
ชันประถมศึกษาปี ที 5. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์.
บุญชม ศรี สะอาด. (2537). การพัฒนาการสอน. พิมพ์ครังแรก. กรุ งเทพฯ : สุ วีริยาสาส์นจัดพิมพ์.
นคร พันธุ์ณรงค์ .(2550). เอกสารชุ ดปฏิรูปการเรียนการสอน หมายเลข 3 การจัดการเรียนรู้ที
เน้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญและการเรียนรู้อย่ างมีความสุ ข. เชียงใหม่:อรุ ณรัตน์.
นภาพร ภู่ทอง. (2546). ผลของการเล่านิทานประกอบสื อแบบต่ าง ๆ ทีมีต่อการสร้ าง
ผังคิดของนักเรียนชันประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
59

นิปาตีเมาะ หะยีหามะ. (2546). “ผลของการใช้ แผนผังทางปัญญาทีมีต่อผลสั มฤทธิทางการเรียน


วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนสองภาษาทีมีระดับผลสั มฤทธิทางการเรียนต่ างกัน”.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยสงลา
นคริ นทร์.
บรรพต พรประเสริ ฐ. (2531). “การเปรียบเทียบมโนทัศน์ ทางจริยธรรมของนักเรียนอนุบาลที
ได้ รับการสอนโดยใช้ นิทานและเกม.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ระวิวรรณ ขวัญศรี . (2548). “ผลของการสอนโดยใช้ แผนผังทางปัญญาทีมีต่อผลสั มฤทธิทางการ
เรียนวิชาภาษาอังกฤษและความคิดสร้ างสรรค์ ของนักเรียนระดับชันประถมศึกษาปี ที 6 ที
มีระดับความสามารถทางภาษาต่ างกัน”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา
จิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์.
ละเอียด รักษ์เผ่า. (2528). รูปแบบการสอนเป็ นกลุ่มทีทําให้ ผลการเรียนใกล้เคีบงกับผลการสอบแบบ
ครูครึงคนต่ อนักเรียนครึงคน. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบณั ฑิต
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒประสานมิตร.
วัฒนพร ระงับทุกข์.(2542). การจัดการเรียนการสอนทีเน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง. กรุ งเทพฯ :
ต้นอ้อ
สมาน ถาวรรัตนวานิช. (2541). ผลของการฝึ กใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญาทีมีต่อความคิด
สร้ างสรรค์ ของนักเรียนชันประถมศึกษาปี ที 5. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมหวัง พิริยานุวฒั น์. (2529). การวิจยั เพือหารู ปแบบ. ในการสรุปรายงานการบรรยายพิเศษท่ อง
แดนการวิจัย.ครังที 2 . กรุ งเทพมหานคร : ฝ่ ายวิจยั ครุ ศาสตร์ร่วมกับภาควิชาการศึกษา
นอกโรงเรี ยน.
สมศักดิ สิ นธุรเวชณ์. (2545). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุ งเทพมหานคร : วัฒนาพานิช.
สมาน ถาวรรัตนวณิ ช. (2541). “ผลของการฝึ กใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญาทีมีต่อความคิด
สร้ างสรรค์ ของนักเรียนชันประถมศึกษาปี ที 5”. ปริ ญญาครุ ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา
จิตวิทยาการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุ ปรี ยา ตันสกุล. 2540. “ผลของการใช้ รูปแบบการสอนแบบการจัดข้ อมูลด้ วยแผนภาพทีมี
ต่ อสั มฤทธิผลทางการเรียนและความสามารถทางการแก้ปัญหา”, วิทยานิพนธ์
ครุ ศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
60

สุ พรรณี สุ วรรณจรัส. ( 2543). “ผลของการฝึ กใช้ เทคนิคแผนผังทางปัญญาทีมีต่อการคิดอย่ างมี


วิจารญาณของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 2”. ปริ ญญาครุ ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา
จิตวิทยาการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุ ภาพร สาสวาท. (2545). การใช้ กจิ กรรมส่ งเสริมทักษะการคิด เพือพัฒนาความสามารถ
การแสดงความคิดของนักเรียนชันอนุบาลปี ที 1 โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี.
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุ พิศ กลินบุปผา. (2545). “การศึกษาความสามารถของการเขียนความเรียงภาษาไทยทีใช้ วธิ ีการ
แผนทีความคิด(Mind Mapping) ของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 5 : กรณีศึกษาโรงเรียน
พระปฐมวิทยาลัย 2 หลวงพ่อเงินอนุสรณ์ จังหวัดนครปฐม”,วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สิ รินทิพย์ พูลศรี . (2542). ศึกษาผลของการใช้ รูปแบบการสร้ างความคิดรวบยอดทีมีต่อผลสั มฤทธิ
ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนัก เรียนชันประถมศึกษาปี ที 5. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศศิธร หาคํา. (2548). การศึกษาผลสั มฤทธิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชันประถม
ศึกษาปี ที 6 ทีใช้ เทคนิคการคิดแบบ Mind Map ในขันสรุปเนือหาโดยผู้เรียนเรืองสมการ.
โครงการพัฒนาวิชาชีพครู ฯ สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
[On-line]. Available: http://kroo.ipst.ac.th/tpd/researchs/ research.php?cm=read&
research_id=113 [2555 เมษายน, 10]
ศิริลกั ษณ์ หย่างสุ วรรณ. (2543). การพัฒนาโปรแกรมการส่ งเสริมความสามารถในการจัดเนือหา
สาระด้ วยแผนภาพสํ าหรับนักศึกษาฝึ กหัดครู สาขาการศึกษาปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารี รังสิ นนั ท์. (2527). รวมบทความการพัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ของเด็ก. กรุ งเทพ ฯ: คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.

Anderson, John Robert. (1970). “Classroom Interaction Academic Achievement and Creative
Performance in Sixth Grade Classroom”, Dissertation Abstracts International.
Buzan,Tony. and Buzan,Barry. (1997). The Mind Map Books : Radian Thinking. London:
BBC.
61

Davis, M. H. (1983). Measuring individual differences in empathy: Evidence for a


multidimensional approach. Journal of Personality and Social Psychology.
Guilford.J.P. (1959). Personality.New York: McGraw Hill.
Morris,A., and Stewart-Dore,N. (1984). Learning to Learn from Text. Singapore : Addison-
Weeley Publishing Company.
Rega,Bonney. (1993). Fostering Creativity in Advertising Student : Incorporating the
Theories of Multiple Intelligences and Integrative Learning. The Annual Meeting of
the Association for Education in Journalism and Mass Communication.
Saylor, J.G.; William M.A.; and Arthur J.L. (1981). Curriculum Planning for Better Tecaching
and Learning. Holt-Saunders International Edition.
Joyce, Bruce., and Weil, Marsha. Models of Teaching. Needham Hights : Atool for linking
theory and practice. Nurse Educator 23 July/August1998 : -31-34.
ภาคผนวก ก
ข้ อสอบวิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน
ข้ อสอบวิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน รหัสวิชา (2554103)
ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2554 สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
คณะมนุษย์ศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1. เทศบาลของไทยแบ่ งออกเป็ นกีประเภท อะไรบ้ าง


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. อํานาจหน้ าทีของเทศบาลตําบลมีอะไรบ้ าง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

3. เทศบาลแห่ งแรกทีมีการเลือกตังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีโดยตรงจากประชาชน
แห่ งแรก คือทีใด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4. วิเคราะห์ โครงสร้ างภายในของกรุ งเทพมหานคร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….

5. ระบบราชการไทยแบ่ งออกเป็ นกีส่ วน อะไรบ้ าง


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

6. ปัญหาและอุปสรรคในการปกครองท้ องถินมีอะไรบ้ าง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
7. คุณลักษณะเฉพาะของเมืองพัทยาทีบ่ งชีถึงความเป็ นหน่ วยการปกครองส่ วนท้ องถินรู ปแบบ
พิเศษคืออะไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

8. องค์ การบริหารส่ วนจังหวัดมีรายได้ มาจากทางใดบ้ าง


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….

9. อํานาจหน้ าทีขององค์ การบริหารส่ วนตําบลมีอะไรบ้ าง


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….
10. ปัญหาและอุปสรรคมีอะไรบ้ าง และแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ไขได้ อย่ างไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….
 

ภาคผนวก ข
ใบความรู้ ที 1 แผนผังทางปัญญา (Mind Mapping)
 

ใบความรู้ ที 1
แผนผังทางปัญญา (Mind Mapping)

สุ พิศ กลินบุปผา (2545 : 15)ได้กล่าวว่าแผนผังทางปั ญญาเป็ นวิธีการสร้างแผนผังทีแสดง


ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดหลักกับความคิดย่อยช่ วยพัฒนาการจัดระบบความคิด รวบรวม
รายละเอียดข้อมูลไว้ดว้ ยกัน จึงช่ วยให้ประหยัดเวลาในการเรี ยนรู ้เกียวกับการจัดกลุ่มเนื อหา การ
ปรั บปรุ งการระลึก การสร้ างความคิดสร้างสรรค์ มีคุณค่าอย่างยิงสําหรับการไตร่ ตรอง และการ
เรี ยนรู ้ อีกทังยังสามารถนํามาใช้กบั ผูเ้ รี ยนได้ทุกระดับและช่ วยควบคุมการระดมสมองในเรื อง
ใหม่ๆ การวางแผนการสรุ ป การทบทวน การจดบันทึก
ธี ร ะพัฒ น์ ฤทธิ ทอง (2545 : 45) ได้ใ ห้ ค วามหมายของแผนผัง ทางปั ญ ญาไว้ว่ า เป็ น
ยุทธศาสตร์ การสอนทีพัฒนาการคิด ช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้มีความคิดสร้างสรรค์เหมาะกับนักเรี ยน
ได้สงั เคราะห์ความคิด ในการวิเคราะห์งาน วางแผนการทํางานและทบทวนความจํา
สาระสํ าคัญของแผนผังทางปัญญา (Mind Mapping Elements)
1. การเริ ม(Start) ในการเริ มสร้างแผนผังทางปัญญาต้องอาศัยการเริ มจากคําหรื อมโนทัศน์ที
จะเป็ นประเด็นหลัก
2. การใช้ (Use) แผนผังทางปั ญญาจะใช้ 3 องค์ประกอบย่อย ดังนี
2.1. คําสําคัญ(Keyword) เป็ นคําทีจะแสดงถึงสิ งทีต้องการเชือมโยงหรื อเกียวข้อง
กับคําหรื อมโนทัศน์ทีเป็ นประเด็นหลักโดยคําสําคัญไม่จาํ กัดว่าจะเป็ นคําทีมีความเป็ นนามธรรม
หรื อรู ปธรรมมากเท่าใด
2.2. การเชื อมโยง(Connect) ในการสร้างแผนผังทางปั ญญาต้องแสดงถึงความ
เชือมโยงของคําสําคัญทีปรากฏอยูบ่ นแผนผัง จะทําให้มีความต่อเนืองของความคิด และคําสําคัญมี
ความหมายมากขึน โดยการเชือมโยงนันสามารถใช้วิธีการได้หลายวิธี เช่น การแสดงด้วยลักษณะ
ของเส้น ลูกศรแบบต่าง ๆหรื อใช้รหัสก็ได้
2.3. การเน้นความสําคัญ(Emphasis) เป็ นการทําให้ผูส้ ร้างแผนผังทางปั ญญา
สามารถจัดลําดับความคิดได้ และรู ้ถึงความสําคัญหรื อลําดับก่อนหลังได้ โดยวิธีการนีสามารถทําได้
หลายวิธีเช่นกัน การใช้ขนาดของตัวอักษร สี ต่าง ๆกัน หรื ออาจใช้ตวั หนังสื อทีมิติแตกต่างกัน
3. การเขียน(Print) ในการสร้างแผนผังทางปั ญญา ต้องมีการเขียนในลักษณะทีแตกต่างกัน
ไปตามจุดประสงค์ของผูส้ ร้าง ซึงไม่ควรมีเพียงตัวหนังสื อ หรื อคําเท่านันควรมีภาพ หรื อสัญลักษณ์
ต่าง ๆ ประกอบ เพือทําให้เกิดความหมายมากยิงขึน
 

ขันตอนในการสร้ างแผนผังทางปัญญา
ขันที 1 เริ มด้วยสัญลักษณ์หรื อรู ปภาพลงบนกลางกระดาษ
ขันที 2 ระบุคาํ สําคัญหลัก
ขันที 3 เชื อมโยงคําอืน ๆ ทีเกียวข้องกับคําสําคัญหลักด้วยเส้นโยงจากคําสําคัญหลักตรง
กลางออกไปทุกทิศทุกทาง
ขันที 4 เขียนคําทีต้องการ 1 คําต่อ 1 เส้นและแต่ละเส้นควรเกียวข้องกับเส้นอืน ๆ ด้วย
ขันที 5 ขยายคําสําคัญอืน ๆทีเกียวข้องให้มากทีสุ ดเท่าทีเป็ นไปได้
ขันที 6 ใช้สี รู ปภาพ ลักษณะของเส้น เป็ นการระบุถึงลักษณะของการเชื อมโยงการเน้น
หรื อลําดับ
อุปกรณ์ในการสร้างแผนผังทางปั ญญานันควรมีปากกาสี ต่าง ๆ กัน (อย่างน้อย 3 สี ) เพือใช้
ในการสร้างแผนทางปั ญญาทีมีความหลากหลาย และพืนทีทีจะใช้ในการสร้างแผนผังทางปั ญญา
ต้องมีขนาดกว้างพอสมควร อาจจะเป็ นกระดาษขนาดใหญ่ หรื อกระดานดําก็ได้และประโยชน์ของ
การใช้สี เส้น ภาพ รหัส สัญลักษณ์หลายประเภทในแผนผังทางปัญญา มี ดังนี
1. ลูกศร ใช้เพือแสดงเห็ นว่าแนวคิดต่าง ๆ ทีอยู่คนละส่ วนเชื อมโยงกันอย่างไรลูกศรนี
อาจจะมีหวั เดียวหรื อหลายหัวก็ได้ และสามารถชีไปข้างหลังหรื อข้างหน้าก็ได้
2. รหัส เราเขียนเครื องหมายต่าง ๆ เช่น ดอกจัน อัศเจรี ย ์ เครื องหมายคําถามไว้ขา้ งคําเพือ
แสดงการเชือมโยงหรื อ มิติอืน ๆ
3. รู ป ทรงเรขาคณิ ต ใช้สี เหลี ยมจัตุ รั ส สี เหลี ยมผื นผ้า วงกลม วงรี และอื น ๆ เป็ น
เครื องหมายแสดงขอบเขตพืนที หรื อคําทีจัดเป็ นพวกเดี ยวกัน ตัวอย่าง เช่ น ใช้สามเหลียมแสดง
ขอบเขตของคําทีเป็ นทางออกทีพอจะเป็ นไปได้ในการแก้ปัญหา นอกจากนี รู ปทรงเรขาคณิ ตยัง
สามารถนํามาใช้ในการแสดงลําดับความสําคัญ เช่น บางคนอาจใช้สีเหลียมจัตุรัสแสดงความคิด
หลัก สี เหลี ยมผืน ผ้า แสดงความคิ ด ที ใกล้เ คี ย งกับ ความคิ ด หลัก สามเหลี ยมแสดงความคิ ด ที มี
ความสําคัญรองๆ ลงไป และอืน ๆ
4. มิติอย่างมีศิลป์ นอกจากรู ปทรงเรขาคณิ ต ผูเ้ ขียนแผนผังทางปั ญญาสามารถทําให้รูปนัน
โดดเด่นขึนมาได้ดว้ ยการเพิมความลึกเข้าไป ตัวอย่างเช่น การทําสี เหลียมจัตุรัสให้เป็ นรู ปลูกบาศก์
ซึงจะทําให้ความคิดในรู ปทรงลูกบาศก์นีโดดเด่นขึนจากหน้ากระดาษ
5. ภาพความคิดสร้างสรรค์ ผูเ้ ขียนแผนผังทางปั ญญาสามารถประสานความคิดสร้างสรรค์
เข้ากับการใช้มิติได้ ด้วยการจัดให้รูปแบบเหมาะสมกับเนื อหา เช่น เมือเขียนเรื องฟิ สิ กส์ อะตอม ก็
วาดรู ปนิวเคลียสทีมีอิเล็กตรอนวิงรอบ ๆ ให้เป็ นภาพศูนย์กลางของแผนผังทางปัญญา
 

6. สี ช่ ว ยกระตุ ้น ความจํา และช่ ว ยจุ ด ความคิ ด สร้ า งสรรค์ด้ว ย สามารถให้ แ สดงการ


เชือมโยงความคิดทีอยูค่ นละส่ วนเช่นเดียวกับลูกศร ทังยังใช้แสดงอาณาเขตของความคิดหลัก ๆได้
อีกด้วย
รูปแบบของแผนผังทางปัญญา
การสร้างแผนผังเป็ นการจัดกลุ่มความคิดรวบยอดเพือให้เห็ นความสัมพันธ์ของความคิด
ระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนําเสนอเป็ นภาพหรื อผังสามารถนําเสนอได้หลาย
ลักษณะ (กรมวิชาการ ศูนย์พฒั นาหลักสูตร, 2543 : 15-17)
1. แผนผังความคิดรวบยอด (Concept Map) ทําได้โดยเขียนความคิดรวบยอดไว้ขา้ งบน
หรื อตรงกลางแล้วลากเส้นให้สัมพันธ์กบั ความคิดรวบยอดอืนๆ ทีสําคัญรองลงไปหรื อความคิดที
ละเอียดซับซ้อนยิงขึน ดังนี
2. แผนทีความคิด (Mind Mapping) ใช้แสดงการเชือมโยงข้อมูลเกียวกับเรื องใดเรื องหนึ ง
ระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยทีเกียวข้องสัมพันธ์กนั
3. แผนผังใยแมงมุม (A Spider Map) ทําได้โดยเขียนความคิดรวบยอดทีสําคัญไว้กึงกลาง
แล้วเขียนคําอธิ บายบอกลักษณะของความคิดรวบยอดอืน ๆ ไว้ดว้ ย ใช้ในการแสดงในการแยกแยะ
องค์ประกอบต่าง ๆ ของข้อมูล
4. แผนผังรู ปวงกลมทับเหลือม (An Overlapping Circles Map) เป็ นการเขียนเพือนําเสนอ
สิ งทีเหมือนกันและต่างกัน
5. แผนผังวงจร (A Circle Map) เป็ นการเขียนแผนผังเพือเสนอขันตอนต่าง ๆ ทีสัมพันธ์
เรี ยงลําดับเป็ นวงกลม
6. แผนผังก้างปลา (A Fishbone Map) เป็ นการเขียนแผนผังโดยกําหนดประเด็นหรื อเรื อง
แล้วเสนอสาเหตุและผลต่างๆ ในแต่ละด้าน
7. แผนผังแสดงปฏิสัมพันธ์ระหว่างสองกลุ่ม (A Two-Group Interaction Map) เป็ นการ
เขียนเพือเสนอวัตถุประสงค์ การกระทําและการตอบสนองของกลุ่มสองกลุ่มทีขัดแย้งหรื อแตกต่าง
กัน
8. แผนผังตารางเปรี ยบเทียบ(A Compare Table Map)เป็ นการเขียนตารางเพือเปรี ยบเทียบ
สองสิ งในประเด็นทีกําหนด
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ภาคผนวก ค
ใบความรู้ ที 2 และใบงานที 2 โครงสร้ างเทศบาลตําบล
ใบความรู้ ที 2
โครงสร้ างเทศบาลตําบล

ภาพที1โครงสร้ างเทศบาลตําบล

อํานาจหน้ าทีของเทศบาลตําบล

เทศบาลตําบลมีหน้าทีต้องทําในเขตเทศบาลดังต่อไปนี
(1) รักษาความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน
(2) ให้มีและบํารุ งทางบกและทางนํา
(3) รักษาความสะอาดของถนน หรื อทางเดินและทีสาธารณะ รวมทังการกําจัดขยะมูลฝอย
และสิ งปฏิกลู
(4) ป้ องกันและระงับโรคติดต่อ
(5) ให้มีเครื องใช้ในการดับเพลิง
(6) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
(7) ส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูส้ ู งอายุ และผูพ้ ิการ
(8) บํารุ งศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิน
(9) หน้าทีอืนตามทีกฎหมายบัญญัติให้เป็ นหน้าทีของเทศบาล

เทศบาลตําบลอาจจัดทํากิจการใด ๆ ในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี


(1) ให้มีนาสะอาดหรื
ํ อการประปา
(2) ให้มีโรงฆ่าสัตว์
(3) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรื อและท่าข้าม
(4) ให้มีสุสานและฌาปนสถาน
(5) บํารุ งและส่ งเสริ มการทํามาหากินของราษฎร
(6) ให้มีและบํารุ งสถานทีทําการพิทกั ษ์รักษาคนเจ็บไข้
(7) ให้มีและบํารุ งการไฟฟ้ าหรื อแสงสว่างโดยวิธีอืน
(8) ให้มีและบํารุ งทางระบายนํา
(9) เทศพาณิ ชย์

ทีมาของตําแหน่ ง
เทศบาลถือได้ว่าเป็ นหน่ วยการปกครองส่ วนท้องถินของไทยทีเก่าแก่ทีสุ ด คือ เริ มมีการ
สถาปนามาตังแต่ พ.ศ.2476 และเป็ นองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีจัดตังขึนในเขตชุมชนทีมีความ
เจริ ญและใช้ในการบริ หารเมืองเป็ นหลัก เทศบาลของไทยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ เทศบาลนคร
เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบล ตามเกณฑ์รายได้และประชากรในพืนที สําหรับการจัดโครงสร้าง
องค์กรของเทศบาลได้ใช้รูปแบบของระบบรัฐสภาเป็ นหลัก โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
สภาเทศบาลเป็ นฝ่ ายนิติบญั ญัติ และคณะเทศมนตรี หรื อนายกเทศมนตรี เป็ นฝ่ ายบริ หาร
(1) สภาเทศบาล
เป็ นฝ่ ายที คอยควบคุ มและตรวจสอบฝ่ ายบริ หารตามหลักการถ่วงดุ ลอํานาจของระบบ
รัฐสภา สภาเทศบาลนี จะประกอบด้วยสมาชิกทีมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชน ซึ งอยูใ่ น
วาระคราวละ 4 ปี โดยจํานวนของสมาชิกสภาเทศบาลนีจะขึนอยูก่ บั ประเภทของเทศบาล คือ
- สภาเทศบาลตําบล มีสมาชิกทังหมด 12 คน
- สภาเทศบาลเมือง มีสมาชิกทังหมด 18 คน
- สภาเทศบาลนคร มีสมาชิกทังหมด 24 คน
สภาเทศบาลจะมีประธานสภาหนึ งคน และรองประธานสภาหนึ งคน โดยจะเลือกมาจาก
สมาชิ กตามมติสภาเทศบาล ประธานสภามี หน้าทีดําเนิ นกิ จการของสภาเทศบาลให้เป็ นไปตาม
ระเบียบข้อบังคับการประชุมเทศบาล และควบคุมบังคับบัญชารักษาความสงบ รวมทังเป็ นตัวแทน
ของสภาเทศบาลในกิจการภายนอก
(2) คณะเทศมนตรี หรื อ นายกเทศมนตรี
(2.1) สําหรั บคณะเทศมนตรี ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 (รวมทังที ได้แก้ไข
เพิมเติมจนถึง พ.ศ.2542) ได้กาํ หนดให้คณะเทศมนตรี ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี 1 คน มาจาก
สมาชิกสภาเทศบาลตามความเห็นชอบของสภาเทศบาล และ เทศมนตรี อืนๆ ตามจํานวนทีกฎหมาย
ระบุ ดังนี
- เทศบาลตําบล มีเทศมนตรี จํานวน 2 คน
- เทศบาลเมือง มีเทศมนตรี จํานวน 2 คน แต่ในกรณี ทีเทศบาลเมืองแห่ งใดมีรายได้จดั เก็บ
ตังแต่ 20 ล้านขึนไปให้มีเทศมนตรี ได้อีก 1 คน
- เทศบาลนคร มีเทศมนตรี จํานวน 4 คน
นอกจากคณะเทศมนตรี แล้ว ในฝ่ ายบริ หารก็ยงั มีพนักงานเทศบาลเป็ นเจ้าหน้าทีท้องถิน
ของเทศบาลทีปฏิบตั ิงานอันเป็ นภารกิจประจําสํานักงานหรื ออาจจะนอกสํานักงานก็ได้ ซึ งมีความ
เกียวพันกับชี วิตความเป็ นอยู่ของประชาชนอย่างใกล้ชิด โดยมีปลัดเทศบาลเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาใน
เบืองต้น
(2.2) ในปี พ.ศ.2543 ได้มีการแก้ไขเพิมเติมพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที 11) พ.ศ.2543
โดยในมาตรา 14 กํา หนดว่ า เทศบาลแห่ ง ใดจะมี ก ารบริ ห ารในรู ป แบบคณะเทศมนตรี ห รื อ
นายกเทศมนตรี ให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ ของประชาชนในเขตเทศบาลแต่ละแห่ ง โดยการทํา
ประชามติ ส อบถามประชาชนว่ า จะใช้รู ป แบบการบริ ห ารในรู ป คณะเทศมนตรี ห รื อ รู ป แบบ
นายกเทศมนตรี ให้บงั คับใช้กบั เทศบาลทุกแห่ งนับตังแต่วนั ที 1 มกราคม พ.ศ.2550 แต่ในมาตรา
21(1) กําหนดให้เทศบาลเมืองและเทศบาลนครทีหมดวาระหรื อมีการยุบสภาหลังกฎหมายเทศบาล
(ฉบับที 11) พ.ศ.2543 นี บังคับใช้ให้เทศบาลเมืองและเทศบาลนครนันมีการเลือกตังสมาชิ กสภา
เทศบาลและนายกเทศมนตรี ได้เลย โดยไม่ตอ้ งทําประชามติ แต่ให้มีการทําประชามติหลังจากมีการ
เลือกตังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ไปแล้ว ส่ วนเทศบาลตําบลยังต้องรอไปจนถึง พ.ศ.
2550 เช่นเดิม
เทศบาลแห่ งแรกทีหมดวาระและมีการเลือกตังสมาชิ กสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี
โดยตรงจากประชาชนแห่ ง แรก คื อ เทศบาลเมื อ งคู ค ต จัง หวัด ปทุ ม ธานี ส่ ง ผลให้ นับ ตังแต่
พ.ศ.2543 เป็ นต้นมา เทศบาลของไทยมีฝ่ายบริ หารทีมีทีมา 2 รู ปแบบ คือ รู ปแบบแรกมาจากมติของ
สภาเทศบาล รู ปแบบทีสองมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชน
นายกเทศมนตรี ทีมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชนมีวาระ 4 ปี นับจากวันเลือกตัง
และจะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ นายกเทศมนตรี สามารถแต่งตังรองนายกเทศมนตรี
ได้ตามจํานวน ดังนี
- เทศบาลตําบล แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 2 คน
- เทศบาลเมือง แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 3 คน
- เทศบาลนคร แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 4 คน
นายกเทศมนตรี อาจแต่งตังทีปรึ กษานายกเทศมนตรี และเลขานุการนายกเทศมนตรี ซึงมิใช่
สมาชิกสภาเทศบาลได้ โดยในกรณี เทศบาลตําบลให้แต่งตังได้จาํ

วาระการดํารงตําแหน่ ง

สมาชิ กสภาเทศบาลให้อยู่ในตําแหน่ งได้คราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง ถ้าตําแหน่ ง


สมาชิ ก สภาเทศบาลว่ า งลงเพราะเหตุ อื นนอกจากถึ ง คราวออกตามวาระหรื อมี ก ารยุ บ สภา
ให้เลือกตังสมาชิ กสภาเทศบาลขึนแทนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตังสมาชิ กสภาท้องถินหรื อ
ผูบ้ ริ หารท้องถิน
นายกเทศมนตรี ดาํ รงตําแหน่งนับตังแต่วนั เลือกตัง และมีระยะการดํารงตําแหน่งคราว
ละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง
นายกเทศมนตรี พน้ จากตําแหน่งเมือ
(1) ถึงคราวออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยยืนหนังสื อลาออกต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัด
(4) ขาดคุณสมบัตหิ รื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๘
(5) กระทําการฝ่ าฝื นมาตรา ๔๘
(6) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยสังให้พน้ จากตําแหน่ งตามอํานาจในกฎหมาย
กําหนด
(7) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีสุ ดให้จาํ คุก
(8)ราษฎรผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตเทศบาลมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าสามในสี ของจํานวนผูม้ ีสิทธิ
เลือกตังทีมาลงคะแนนเสี ยง เห็นว่านายกเทศมนตรี ไม่สมควรดํารงตําแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่า
ด้วยการลงคะแนนเสี ยงเพือถอดถอนสมาชิ กสภาท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถินในระหว่างทีไม่มี
นายกเทศมนตรี ให้ปลัดเทศบาลปฏิบตั ิหน้าทีของนายกเทศมนตรี เท่าทีจําเป็ นได้เป็ นการชัวคราว
จนถึงวันประกาศผลการเลือกตังนายกเทศมนตรี เมือมีขอ้ สงสัยเกี ยวกับความเป็ นนายกเทศมนตรี
สิ นสุ ดลงตาม (4) หรื อ (5) ให้ผวู ้ ่าราชการจังหวัดสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ ว และคําวินิจฉัยของ
ผูว้ า่ ราชการจังหวัดให้เป็ นทีสุ ด
ใบงานที 2 เรืองเทศบาลตําบล

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1.อํานาจหน้าทีของเทศบาลตําบลมีอะไรบ้าง

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.นายกเทศมนตรี พน้ จากตําแหน่งเมือใด

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก ง
ใบความรู้ ที 3 และใบงานที 3 โครงสร้ างเทศบาลเมือง
ใบความรู้ ที 3
โครงสร้ างเทศบาลเมือง

ภาพที 1โครงสร้ างเทศบาลเมือง


อํานาจหน้ าทีเทศบาลเมือง
เทศบาลเมืองมีหน้าทีต้องทําในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี
(1) รักษาความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน
(2) ให้มีและบํารุ งทางบกและทางนํา
(3) รักษาความสะอาดของถนนหรื อทางเดินและทีสาธารณะรวมทังการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ ง
ปฏิกลู
(4) ป้ องกันและระงับโรคติดต่อ
(5) ให้มีเครื องใช้ในการดับเพลิง
(6) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
(7) ส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็กเยาวชนผูส้ ูงอายุและผูพ้ ิการ
(8) บํารุ งศิลปะจารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถินและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิน
(9) ให้มีนาสะอาดหรื
ํ อการประปา
(10)ให้มีโรงฆ่าสัตว์
(11) ให้มีและบํารุ งสถานทีทําการพิทกั ษ์และรักษาคนเจ็บไข้
(12) ให้มีและบํารุ งทางระบายนํา
(13) ให้มีและบํารุ งส้วมสาธารณะ
(14) ให้มีและบํารุ งการไฟฟ้ าหรื อแสงสว่างโดยวิธีอืน
(15) ให้มีการดําเนินกิจการโรงรับจํานําหรื อสถานสิ นเชือท้องถิน

เทศบาลเมืองอาจจัดทํากิจการใดๆ ในเขตเทศบาลดังต่อไปนี
(1) ให้มีตลาดท่าเทียบเรื อและท่าข้าม
(2) ให้มีสุสานและฌาปนสถาน
(3) บํารุ งและส่ งเสริ มการทํามาหากินของราษฎร
(4) ให้มีและบํารุ งการสงเคราะห์มารดาและเด็ก
(5) ให้มีและบํารุ งโรงพยาบาล
(6) ให้มีการสาธารณูปการ
(7) จัดทํากิจการซึงจําเป็ นเพือการสาธารณสุ ข
(8) จัดตังและบํารุ งโรงเรี ยนอาชีวศึกษา
(9) ให้มีและบํารุ งสถานทีสําหรับการกีฬาและพลศึกษา
(10) ให้มีและบํารุ งสวนสาธารณะสวนสัตว์และสถานทีพักผ่อนหย่อนใจ
(11) ปรับปรุ งแหล่งเสื อมโทรมและรักษาความสะอาดเรี ยบร้อยของท้องถิน
(12) เทศพาณิ ชย์
ทีมาของตําแหน่ ง
เทศบาลถือได้ว่าเป็ นหน่วยการปกครองส่ วนท้องถินของไทยทีเก่าแก่ทีสุ ด คือเริ มมีการสถาปนามา
ตังแต่ พ.ศ.2476 และเป็ นองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีจัดตังขึนในเขตชุมชนทีมีความเจริ ญและใช้ในการ
บริ หารเมืองเป็ นหลัก เทศบาลของไทยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาล
ตําบล ตามเกณฑ์รายได้และประชากรในพืนที สําหรับการจัดโครงสร้างองค์กรของเทศบาลได้ใช้รูปแบบ
ของระบบรัฐสภาเป็ นหลัก โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็ น 2 ส่ วน คือ สภาเทศบาลเป็ นฝ่ ายนิติบญั ญัติ และคณะ
เทศมนตรี หรื อนายกเทศมนตรี เป็ นฝ่ ายบริ หาร
(1) สภาเทศบาล
เป็ นฝ่ ายทีคอยควบคุมและตรวจสอบฝ่ ายบริ หารตามหลักการถ่วงดุลอํานาจของระบบรัฐสภา สภา
เทศบาลนีจะประกอบด้วยสมาชิกทีมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชน ซึงอยูใ่ นวาระคราวละ 4 ปี โดย
จํานวนของสมาชิกสภาเทศบาลนีจะขึนอยูก่ บั ประเภทของเทศบาล คือ
- สภาเทศบาลตําบล มีสมาชิกทังหมด 12 คน
- สภาเทศบาลเมือง มีสมาชิกทังหมด 18 คน
- สภาเทศบาลนคร มีสมาชิกทังหมด 24 คน
สภาเทศบาลจะมีประธานสภาหนึงคน และรองประธานสภาหนึงคน โดยจะเลือกมาจากสมาชิกตาม
มติสภาเทศบาล ประธานสภามีหน้าทีดําเนิ นกิ จการของสภาเทศบาลให้เป็ นไปตามระเบียบข้อบังคับการ
ประชุ มเทศบาล และควบคุมบังคับบัญชารักษาความสงบ รวมทังเป็ นตัวแทนของสภาเทศบาลในกิ จการ
ภายนอก

(2) คณะเทศมนตรี หรื อ นายกเทศมนตรี


(2.1) สําหรับคณะเทศมนตรี ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 (รวมทังทีได้แก้ไขเพิมเติมจนถึง
พ.ศ.2542) ได้กาํ หนดให้คณะเทศมนตรี ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี 1 คน มาจากสมาชิกสภาเทศบาลตาม
ความเห็นชอบของสภาเทศบาล และ เทศมนตรี อืนๆ ตามจํานวนทีกฎหมายระบุ ดังนี
- เทศบาลตําบล มีเทศมนตรี จํานวน 2 คน
- เทศบาลเมือง มีเทศมนตรี จํานวน 2 คน แต่ในกรณี ทีเทศบาลเมืองแห่ งใดมีรายได้จดั เก็บตังแต่ 20
ล้านขึนไปให้มีเทศมนตรี ได้อีก 1 คน
- เทศบาลนคร มีเทศมนตรี จํานวน 4 คน
นอกจากคณะเทศมนตรี แ ล้ว ในฝ่ ายบริ ห ารก็ย งั มี พ นัก งานเทศบาลเป็ นเจ้า หน้า ที ท้อ งถิ นของ
เทศบาลทีปฏิบตั ิงานอันเป็ นภารกิจประจําสํานักงานหรื ออาจจะนอกสํานักงานก็ได้ ซึ งมีความเกียวพันกับ
ชีวิตความเป็ นอยูข่ องประชาชนอย่างใกล้ชิด โดยมีปลัดเทศบาลเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาในเบืองต้น
(2.2) ในปี พ.ศ.2543 ได้มีการแก้ไขเพิมเติมพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที 11) พ.ศ.2543 โดยใน
มาตรา 14 กําหนดว่าเทศบาลแห่ งใดจะมี การบริ หารในรู ปแบบคณะเทศมนตรี หรื อนายกเทศมนตรี ให้
เป็ นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนในเขตเทศบาลแต่ละแห่ ง โดยการทําประชามติสอบถามประชาชนว่า
จะใช้รูปแบบการบริ หารในรู ปคณะเทศมนตรี หรื อรู ปแบบนายกเทศมนตรี ให้บงั คับใช้กบั เทศบาลทุกแห่ ง
นับตังแต่วนั ที 1 มกราคม พ.ศ.2550 แต่ในมาตรา 21(1) กําหนดให้เทศบาลเมืองและเทศบาลนครทีหมด
วาระหรื อมีการยุบสภาหลังกฎหมายเทศบาล (ฉบับที 11) พ.ศ.2543 นีบังคับใช้ให้เทศบาลเมืองและเทศบาล
นครนันมีการเลือกตังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ได้เลย โดยไม่ตอ้ งทําประชามติ แต่ให้มีการทํา
ประชามติหลังจากมีการเลือกตังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ไปแล้ว ส่ วนเทศบาลตําบลยังต้อง
รอไปจนถึง พ.ศ.2550 เช่นเดิม
เทศบาลแห่งแรกทีหมดวาระและมีการเลือกตังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี โดยตรงจาก
ประชาชนแห่ งแรก คือ เทศบาลเมืองคูคต จังหวัดปทุมธานี ส่ งผลให้นบั ตังแต่ พ.ศ.2543 เป็ นต้นมา เทศบาล
ของไทยมีฝ่ายบริ หารทีมีทีมา 2 รู ปแบบ คือ รู ปแบบแรกมาจากมติของสภาเทศบาล รู ปแบบทีสองมาจากการ
เลือกตังโดยตรงจากประชาชน
นายกเทศมนตรี ทีมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชนมีวาระ4 ปี นับจากวันเลือกตังและจะ
ดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ นายกเทศมนตรี สามารถแต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ตามจํานวน
ดังนี
- เทศบาลตําบล แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 2 คน
- เทศบาลเมือง แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 3 คน
- เทศบาลนคร แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 4 คน
นายกเทศมนตรี อาจแต่งตังทีปรึ กษานายกเทศมนตรี และเลขานุ การนายกเทศมนตรี ซึงมิใช่สมาชิ ก
สภาเทศบาลได้โดยในกรณี เทศบาลตําบลให้แต่งตังได้จาํ

วาระการดํารงตําแหน่ ง

สมาชิกสภาเทศบาลให้อยู่ในตําแหน่ งได้คราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตังถ้าตําแหน่ งสมาชิ กสภา


เทศบาลว่างลงเพราะเหตุอืนนอกจากถึงคราวออกตามวาระหรื อมีการยุบสภาให้เลือกตังสมาชิกสภาเทศบาล
ขึนแทนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตังสมาชิกสภาท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถิน
นายกเทศมนตรี ดาํ รงตําแหน่งนับตังแต่วนั เลือกตังและมีระยะการดํารงตําแหน่งคราว
ละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง
นายกเทศมนตรี พน้ จากตําแหน่งเมือ
(1) ถึงคราวออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออกโดยยืนหนังสื อลาออกต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัด
(4)ขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา๔๘
(5) กระทําการฝ่ าฝื นมาตรา๔๘
(6) รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยสังให้พน้ จากตําแหน่งตามอํานาจในกฎหมายกําหนด
(7) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีสุ ดให้จาํ คุก
(8)ราษฎรผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตเทศบาลมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าสามในสี ของจํานวนผูม้ ีสิทธิ เลือกตัง
ทีมาลงคะแนนเสี ยงเห็นว่านายกเทศมนตรี ไม่สมควรดํารงตําแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนน
เสี ยงเพือถอดถอนสมาชิกสภาท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถินในระหว่างทีไม่มีนายกเทศมนตรี ให้ปลัดเทศบาล
ปฏิ บ ัติ ห น้ า ที ของนายกเทศมนตรี เ ท่ า ที จํา เป็ นได้เ ป็ นการชัวคราวจนถึ ง วัน ประกาศผลการเลื อ กตัง
นายกเทศมนตรี เมือมีขอ้ สงสัยเกียวกับความเป็ นนายกเทศมนตรี สินสุ ดลงตาม(4) หรื อ (5) ให้ผวู ้ ่าราชการ
จังหวัดสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ วและคําวินิจฉัยของผูว้ า่ ราชการจังหวัดให้เป็ นทีสุ ด

ใบงานที 3 เรืองเทศบาลเมือง

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1.อํานาจหน้าทีของเทศบาลเมืองมีอะไรบ้าง

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………
2. เทศบาลแห่งแรกทีมีการเลือกตังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี โดยตรงจากประชาชนแห่ งแรก
คือทีใด

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………
ภาคผนวก จ
ใบความรู้ ที 4 และใบงานที 4 โครงสร้ างเทศบาลนคร
ใบความรู้ ที 4
โครงสร้ างเทศบาลนคร

ภาพที1 โครงสร้ างเทศบาลนคร

อํานาจหน้ าทีเทศบาลนคร
เทศบาลนครมีหน้าทีต้องทําในเขตเทศบาลดังต่อไปนี
(1) รักษาความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน
(2) ให้มีและบํารุ งทางบกและทางนํา
(3) รักษาความสะอาดของถนน หรื อทางเดินและทีสาธารณะ รวมทังการกําจัดขยะมูลฝอย
และสิ งปฏิกลู
(4) ป้ องกันและระงับโรคติดต่อ
(5) ให้มีเครื องใช้ในการดับเพลิง
(6) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
(7) ส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูส้ ู งอายุ และผูพ้ ิการ
(8) บํารุ งศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิน
(9) ให้มีนาสะอาดหรื
ํ อการประปา
(10) ให้มีโรงฆ่าสัตว์
(11) ให้มีและบํารุ งสถานทีทําการพิทกั ษ์และรักษาคนเจ็บไข้
(12) ให้มีและบํารุ งทางระบายนํา
(13) ให้มีและบํารุ งส้วมสาธารณะ
(14) ให้มีและบํารุ งการไฟฟ้ า หรื อแสงสว่างโดยวิธีอืน
(15) ให้มีการดําเนินกิจการโรงรับจํานําหรื อสถานสิ นเชือท้องถิน
(16) ให้มีและบํารุ งการสงเคราะห์มารดาและเด็ก
(17) กิจการอย่างอืนซึงจําเป็ นเพือการสาธารณสุ ข
(18) การควบคุมสุ ขลักษณะและอนามัยในร้านจําหน่ ายอาหาร โรงมหรสพ และสถาน
บริ การอืน
(19) จัดการเกียวกับทีอยูอ่ าศัยและการปรับปรุ งแหล่งเสื อมโทรม
(20) จัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรื อ ท่าข้าม และทีจอดรถ
(21) การวางผังเมืองและการควบคุมการก่อสร้าง
(22) การส่ งเสริ มกิจการการท่องเทียว

เทศบาลนครอาจจัดทํากิจการใด ๆ ในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี


(1) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรื อและท่าข้าม
(2) ให้มีสุสานและฌาปนสถาน
(3) บํารุ งและส่ งเสริ มการทํามาหากินของราษฎร
(4) ให้มีและบํารุ งโรงพยาบาล
(5) ให้มีการสาธารณูปการ
(6) จัดตังและบํารุ งโรงเรี ยนอาชีวศึกษา
(7) ให้มีและบํารุ งสถานทีสําหรับการกีฬาและพลศึกษา
(8) ให้มีและบํารุ งสวนสาธารณะ สวนสัตว์และสถานทีพักผ่อนหย่อนใจ
(9) ปรับปรุ งแหล่งเสื อมโทรม และรักษาความสะอาดเรี ยบร้อยของท้องถิน
(10) เทศพาณิ ชย์
ทีมาของตําแหน่ ง
เทศบาลถือได้ว่าเป็ นหน่ วยการปกครองส่ วนท้องถินของไทยทีเก่าแก่ทีสุ ด คือ เริ มมีการ
สถาปนามาตังแต่ พ.ศ.2476 และเป็ นองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีจัดตังขึนในเขตชุมชนทีมีความ
เจริ ญและใช้ในการบริ หารเมืองเป็ นหลัก เทศบาลของไทยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ เทศบาลนคร
เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบล ตามเกณฑ์รายได้และประชากรในพืนที สําหรับการจัดโครงสร้าง
องค์กรของเทศบาลได้ใช้รูปแบบของระบบรัฐสภาเป็ นหลัก โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
สภาเทศบาลเป็ นฝ่ ายนิติบญั ญัติ และคณะเทศมนตรี หรื อนายกเทศมนตรี เป็ นฝ่ ายบริ หาร
(1) สภาเทศบาล
เป็ นฝ่ ายที คอยควบคุ มและตรวจสอบฝ่ ายบริ หารตามหลักการถ่วงดุ ลอํานาจของระบบ
รัฐสภา สภาเทศบาลนี จะประกอบด้วยสมาชิกทีมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชน ซึ งอยูใ่ น
วาระคราวละ 4 ปี โดยจํานวนของสมาชิกสภาเทศบาลนีจะขึนอยูก่ บั ประเภทของเทศบาล คือ
- สภาเทศบาลตําบล มีสมาชิกทังหมด 12 คน
- สภาเทศบาลเมือง มีสมาชิกทังหมด 18 คน
- สภาเทศบาลนคร มีสมาชิกทังหมด 24 คน
สภาเทศบาลจะมีประธานสภาหนึ งคน และรองประธานสภาหนึ งคน โดยจะเลือกมาจาก
สมาชิ กตามมติสภาเทศบาล ประธานสภามี หน้าทีดําเนิ นกิ จการของสภาเทศบาลให้เป็ นไปตาม
ระเบียบข้อบังคับการประชุมเทศบาล และควบคุมบังคับบัญชารักษาความสงบ รวมทังเป็ นตัวแทน
ของสภาเทศบาลในกิจการภายนอก

(2) คณะเทศมนตรี หรื อ นายกเทศมนตรี


(2.1) สําหรั บคณะเทศมนตรี ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 (รวมทังที ได้แก้ไข
เพิมเติมจนถึง พ.ศ.2542) ได้กาํ หนดให้คณะเทศมนตรี ประกอบด้วย นายกเทศมนตรี 1 คน มาจาก
สมาชิกสภาเทศบาลตามความเห็นชอบของสภาเทศบาล และ เทศมนตรี อืนๆ ตามจํานวนทีกฎหมาย
ระบุ ดังนี
- เทศบาลตําบล มีเทศมนตรี จํานวน 2 คน
- เทศบาลเมือง มีเทศมนตรี จํานวน 2 คน แต่ในกรณี ทีเทศบาลเมืองแห่ งใดมีรายได้จดั เก็บ
ตังแต่ 20 ล้านขึนไปให้มีเทศมนตรี ได้อีก 1 คน
- เทศบาลนคร มีเทศมนตรี จํานวน 4 คน
นอกจากคณะเทศมนตรี แล้ว ในฝ่ ายบริ หารก็ยงั มีพนักงานเทศบาลเป็ นเจ้าหน้าทีท้องถิน
ของเทศบาลทีปฏิบตั ิงานอันเป็ นภารกิจประจําสํานักงานหรื ออาจจะนอกสํานักงานก็ได้ ซึ งมีความ
เกียวพันกับชี วิตความเป็ นอยู่ของประชาชนอย่างใกล้ชิด โดยมีปลัดเทศบาลเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาใน
เบืองต้น
(2.2) ในปี พ.ศ.2543 ได้มีการแก้ไขเพิมเติมพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที 11) พ.ศ.2543
โดยในมาตรา 14 กํา หนดว่ า เทศบาลแห่ ง ใดจะมี ก ารบริ ห ารในรู ป แบบคณะเทศมนตรี ห รื อ
นายกเทศมนตรี ให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ ของประชาชนในเขตเทศบาลแต่ละแห่ ง โดยการทํา
ประชามติ ส อบถามประชาชนว่ า จะใช้รู ป แบบการบริ ห ารในรู ป คณะเทศมนตรี ห รื อ รู ป แบบ
นายกเทศมนตรี ให้บงั คับใช้กบั เทศบาลทุกแห่ งนับตังแต่วนั ที 1 มกราคม พ.ศ.2550 แต่ในมาตรา
21(1) กําหนดให้เทศบาลเมืองและเทศบาลนครทีหมดวาระหรื อมีการยุบสภาหลังกฎหมายเทศบาล
(ฉบับที 11) พ.ศ.2543 นี บังคับใช้ให้เทศบาลเมืองและเทศบาลนครนันมีการเลือกตังสมาชิ กสภา
เทศบาลและนายกเทศมนตรี ได้เลย โดยไม่ตอ้ งทําประชามติ แต่ให้มีการทําประชามติหลังจากมีการ
เลือกตังสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ไปแล้ว ส่ วนเทศบาลตําบลยังต้องรอไปจนถึง พ.ศ.
2550 เช่นเดิม
เทศบาลแห่ งแรกทีหมดวาระและมีการเลือกตังสมาชิ กสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี
โดยตรงจากประชาชนแห่ ง แรก คื อ เทศบาลเมื อ งคู ค ต จัง หวัด ปทุ ม ธานี ส่ ง ผลให้ นับ ตังแต่
พ.ศ.2543 เป็ นต้นมา เทศบาลของไทยมีฝ่ายบริ หารทีมีทีมา 2 รู ปแบบ คือ รู ปแบบแรกมาจากมติของ
สภาเทศบาล รู ปแบบทีสองมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชน
นายกเทศมนตรี ทีมาจากการเลือกตังโดยตรงจากประชาชนมีวาระ 4 ปี นับจากวันเลือกตัง
และจะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ นายกเทศมนตรี สามารถแต่งตังรองนายกเทศมนตรี
ได้ตามจํานวน ดังนี
- เทศบาลตําบล แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 2 คน
- เทศบาลเมือง แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 3 คน
- เทศบาลนคร แต่งตังรองนายกเทศมนตรี ได้ไม่เกิน 4 คน
นายกเทศมนตรี อาจแต่งตังทีปรึ กษานายกเทศมนตรี และเลขานุการนายกเทศมนตรี ซึงมิใช่
สมาชิกสภาเทศบาลได้ โดยในกรณี เทศบาลตําบลให้แต่งตังได้จาํ

วาระการดํารงตําแหน่ ง

สมาชิ กสภาเทศบาลให้อยู่ในตําแหน่ งได้คราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง ถ้าตําแหน่ ง


สมาชิ ก สภาเทศบาลว่ า งลงเพราะเหตุ อื นนอกจากถึ ง คราวออกตามวาระหรื อมี ก ารยุ บ สภา
ให้เลือกตังสมาชิ กสภาเทศบาลขึนแทนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตังสมาชิ กสภาท้องถินหรื อ
ผูบ้ ริ หารท้องถิน
นายกเทศมนตรี ดาํ รงตําแหน่งนับตังแต่วนั เลือกตัง และมีระยะการดํารงตําแหน่งคราว
ละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง
นายกเทศมนตรี พน้ จากตําแหน่งเมือ
(1) ถึงคราวออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยยืนหนังสื อลาออกต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัด
(4) ขาดคุณสมบัตหิ รื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๘
(5) กระทําการฝ่ าฝื นมาตรา ๔๘
(6) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยสังให้พน้ จากตําแหน่ งตามอํานาจในกฎหมาย
กําหนด
(7) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีสุ ดให้จาํ คุก
(8)ราษฎรผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตเทศบาลมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าสามในสี ของจํานวนผูม้ ีสิทธิ
เลือกตังทีมาลงคะแนนเสี ยง เห็นว่านายกเทศมนตรี ไม่สมควรดํารงตําแหน่งต่อไปตามกฎหมายว่า
ด้วยการลงคะแนนเสี ยงเพือถอดถอนสมาชิ กสภาท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถินในระหว่างทีไม่มี
นายกเทศมนตรี ให้ปลัดเทศบาลปฏิบตั ิหน้าทีของนายกเทศมนตรี เท่าทีจําเป็ นได้เป็ นการชัวคราว
จนถึงวันประกาศผลการเลือกตังนายกเทศมนตรี เมือมีขอ้ สงสัยเกี ยวกับความเป็ นนายกเทศมนตรี
สิ นสุ ดลงตาม (4) หรื อ (5) ให้ผวู ้ ่าราชการจังหวัดสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ ว และคําวินิจฉัยของ
ผูว้ า่ ราชการจังหวัดให้เป็ นทีสุ ด
ใบงานที 4 เรืองเทศบาลนคร

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1.อํานาจหน้าทีของเทศบาลนครมีอะไรบ้าง

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. จงวิเคราะห์โครงสร้างของเทศบาลนคร โดยยกตัวอย่างประกอบ อย่างละเอียด

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก ฉ
ใบความรู้ ที 5 และใบงานที 5 โครงสร้ างระบบราชการไทย
ใบความรู้ ที 5
โครงสร้ างระบบราชการไทย

ระบบราชการไทยได้กาํ หนดให้มีโครงสร้ างการบริ หารราชการแผ่นดิ นแบ่งออกเป็ น 3


ส่ วน คือ
1. ราชการบริ หารส่ วนกลาง ประกอบด้วย 19 กระทรวง 1 สํานักนายกรัฐมนตรี แต่ละ
กระทรวงจะแบ่งส่ วนราชการภายในคล้ายคลึงกัน คือ ประกอบด้วย สํานักงานเลขานุ การรัฐมนตรี
สํานักงานปลัดกระทรวง และกรมหรื อส่ วนราชการทีเรี ยกชืออย่างอืนทีมีฐานะเป็ นกรม
2. ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค เป็ นการทีราชการบริ หารส่ วนกลางแบ่งอํานาจหรื อมอบหมาย
อํานาจหน้าทีบางส่ วนให้ปฏิบตั ิแทน การจัดหน่ วยงานยึดถืออาณาเขตหรื อท้องทีเป็ นหลักเกณฑ์
สําคัญ ประกอบด้วย 75 จังหวัด 795 อําเภอ 81 กิงอําเภอ
3. ราชการบริ หารส่ วนท้องถิน เป็ นส่ วนราชการทีตังขึนบนพืนฐานแนวคิดในเรื องการ
กระจายอํานาจและอุดมการณ์ประชาธิ ปไตยทีมุ่งเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรมทาง
การเมืองในระดับท้องถินตนเอง ประกอบด้วย 5 รู ปแบบ คือ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (อบจ.)
เทศบาล องค์การบริ หารส่ วนตําบล (อบต.) กรุ งเทพมหานคร และเมืองพัทยา

ลักษณะของระบบราชการไทย
1. มีการจัดหน่วยราชการเป็ นระดับ คือ เป็ นกระทรวง ทบวง กรม กอง แผนก และฝ่ าย
โดยมีสายงานอํานาจหน้าทีและการบังคับบัญชาเป็ นระดับเชื อมโยงจากระดับบนสู่ ล่างอํานาจการ
ตัดสิ นใจในระดับล่างมีนอ้ ย ไม่มีลกั ษณะการกระจายอํานาจ
2. ยึดถือกฎหมายระเบียบข้อบังคับเป็ นหลักปฏิบตั ิ โดยจุดประสงค์เพือให้งานเป็ นไป
ตามระเบี ยบแบบแผนเดี ยวกัน ทําให้เกิ ดความไม่คล่องตัวในการปฏิบตั ิงาน เพราะเน้นระเบี ยบ
วิธีการและคํานึงถึงแต่มาตรฐานงานให้เป็ นแบบเดียวกัน มากกว่าการมุ่งเป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์
เป็ นสําคัญ
3. พยายามแบ่งงานเป็ นสัดส่ วนกัน แต่การไม่กาํ หนดวัตถุประสงค์การปฏิบตั ิงานของ
หน่วยงานให้ชดั เจน อาจเกิดปั ญหางานซําซ้อนกัน
4. การคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการตามหลักการ ใช้หลักคัดเลือกบุคคลทีมีความสามารถ
กําหนดเงินเดือนตามความสามารถและรับผิดชอบตามระบบคุณธรรม
ปัญหาอันเนืองมาจากการยึดติด “ปรัชญาการบริหารยุคเก่ า”

-เน้นบทบาทของรัฐในฐานะเป็ นผูค้ วบคุมและดําเนิ นการทุกอย่างเสี ยเอง ทําให้ดูเหมือนเป็ นการ


ผูกขาด ได้การแข่งขัน จุดประสงค์หลักคือเพือการดําเนินงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ
-เน้น การรวมอํา นาจเข้า สู่ ศู น ย์ก ลางอย่า งเป็ นระบบ ประชาชนขาดโอกาสในการมี ส่ ว นร่ ว ม
ข้าราชการทํางานแบบเบ็ดเสร็ จ
-เน้นการจัดโครงสร้างองค์การและการบริ หารงานแบบระบบราชการ เป็ นแบบแนวดิงจากบนลง
ล่าง เน้นสายการบังคับบัญชา
-เน้นการขยายตัวของระบบราชการ ขยายมากกว่ายุบ งานซําซ้อน องค์กรใหญ่เทอะทะ
-เน้นการใช้กฎระเบียบและการควบคุม เน้นกฎระเบียบจนบางครังไปขัดขวางการปฏิบตั ิงานของ
ระบบ
-เน้นการผูกขาดแนวคิดและยัดเยียดการให้บริ การแก่ประชาชน ซึงเป็ นผลมาจากการขาดการมีส่วน
ร่ วมของประชาชน การบริ หาร การพัฒนาคิดมาจากรัฐส่ วนกลาง
-เน้นให้หน่วยราชการขยายฐานของงบประมาณในแต่ละปี ให้มากขึน การงบประมาณซึงเดิมไม่เน้น
ในเรื องของผลลัพธ์ ได้รับการแก้ไขแล้วในยุคของ รัฐบาลทีผ่านมา

ปัญหาอันเกิดจาก พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน

-เค้าโครงการจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ ที
เปลียนแปลงไป
-การจัดโครงสร้างราชการมีความแข็งตัว
-ความยุง่ ยากและความล่าช้าในการจัดตัง ยุบ และเปลียนแปลงส่ วนราชการต่างๆ
-การรวมอํานาจและการใช้อาํ นาจในการบริ หาร การจัดทรัพยากรต่างๆ ไว้หัวหน้าส่ วนราชการ
ระดับกรมไว้มาก ทําให้การบริ หารไม่คล่องตัว
-การบริ หารราชการส่ วนภูมิภาคทีไม่มีเอกภาพ
-การบริ หารราชการส่ วนท้องถินทียังไม่มีความเข้มแข็งและมีหลายรู ปแบบเกินไป
-การจัดระบบโครงสร้างส่ วนราชการและการบริ หารราชการไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
ปัญหาของระบบราชการใน “ยุคโลกาภิวตั น์ ”

-การทีต้องเผชิญกับการแข่งขันในเวทีโลกทีรุ นแรงขึน
-การทีประชาชนต้องการให้ภาคราชการให้บริ การทีมากขึน
-การขาดการประสานงานกันระหว่างภาคราชการกับภาคเอกชน
-การขาดความทันสมัยในการบริ หารงาน
-ขาดวิสยั ทัศน์รวมในการพัฒนาประเทศ

โครงสร้ างองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน

ภาพที1 โครงสร้ างองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน


รู ปแบบองค์กรปกครองส่ วนท้ องถิน

ภาพที2 รูปแบบองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน

ปัญหาและอุปสรรคในการปกครองท้ องถิน
- ระบบรวมศูนย์อาํ นาจ
- การขยายตัวของระบบราชการ
- การพึงพิงรัฐ
- ความสนใจของรัฐบาล
- ทิศทาง นโยบายรัฐ
- ความรู ้ความเข้าใจของพลเมืองในการปกครองท้องถิน
ใบงานที 5 เรืองโครงสร้ างระบบราชการไทย

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1.ระบบราชการไทยแบ่งออกเป็ นกีส่วน อะไรบ้าง

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2.ปั ญหาและอุปสรรคในการปกครองท้องถินมีอะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก ช
ใบความรู้ ที 6 และใบงานที 6 โครงสร้ างการบริหารราชการของกรุงเทพมหานคร
ใบความรู้ ที 6
โครงสร้ างการบริหารราชการของกรุ งเทพมหานคร

คณะกรรมการ คณะทีปรึกษา …….. ผู้ว่าราชการ ………………….. สภา กทม.


ข้ าราชการ กทม. ผว. กทม. กรุงเทพมหานคร

สํานักงาน
เลขานุการสภา กทม.
สํานักงานเลขานุการ
ผว. กทม.
ปลัดกรุ งเทพมหานคร
สํานักงาน ก.ก.

สํานัก
สํานัก สํานัก สํานัก สํานัก วัฒนธรรม สํานัก สํานัก สํานัก
ปลัด การ การ การ กีฬาและ การ พัฒนา สํานัก งบประมาณ
กทม. แพทย์ ศึกษา ระบาย การ คลัง สังคม ผังเมือง กทม.
นํา ท่องเทียว

สํานัก สํานัก สํานัก สํานัก สํานัก


ยุทธศาสตร์ สํานัก การ สิ ง สํานัก การจราจร ป้ องกัน
และ อนามัย โยธา แวดล้อม เทศกิจ และ และ
ประเมินผล ขนส่ ง บรรเทา
สาธารณภัย

สํานักงานเขต สภาเขต 50 เขต


(50 สํานักงานเขต และ 435 โรงเรี ยน

ภาพที 1 โครงสร้ างการบริ หารราชการของกรุงเทพมหานคร


อํานาจหน้ าทีของกรุงเทพมหานคร

กรุ งเทพมหานครมีอาํ นาจหน้าที ดําเนินกิจการในเขตกรุ งเทพมหานครในเรื องดังต่อไปนี


(1)การรักษาความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน ทังนี ตามข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานครและ
ตามกฎหมายอืนทีกําหนดให้เป็ นอํานาจหน้าทีของกรุ งเทพมหานคร
(2) การทะเบียนตามทีกฎหมายกําหนด
(3) การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(4) การรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของบ้านเมือง
(5) การผังเมือง
(6) การจัดให้มีและบํารุ งรักษาทางบก ทางนํา และทางระบายนํา
(7) การวิศวกรรมจราจร
(8) การขนส่ ง
(9) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรื อ ท่าข้ามและทีจอดรถ
(10) การดูแลรักษาทีสาธารณะ
(11) การควบคุมอาคาร
(12) การปรับปรุ งแหล่งชุมชนแออัดและจัดการเกียวกับทีอยูอ่ าศัย
(13) การจัดให้มีและบํารุ งรักษาสถานทีพักผ่อนหย่อนใจ
(14) การพัฒนาและอนุรักษ์สิงแวดล้อม บํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน
และวัฒนธรรม อันดีของท้องถิน
(15) การสาธารณูปโภค
(16) การสาธารณสุ ข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
(17) การจัดให้มีและควบคุมสุ สานและฌาปนสถาน
(18) การควบคุมการเลียงสัตว์
(19) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
(20) การควบคุมความปลอดภัย ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยและการอนามัยในโรงมหรสพ
และสาธารณสถานอืน ๆ
(21) การจัดการศึกษา
(22) การสาธารณูปการ
(23) การสังคมสงเคราะห์
(24) การส่ งเสริ มการกีฬา
(25) การส่ งเสริ มการประกอบอาชีพ
(26) การพาณิ ชย์ของกรุ งเทพมหานคร
(27) หน้าที อื น ๆ ตามที กฎหมายระบุ ใ ห้เ ป็ นอํานาจหน้าที ของผูว้ ่าราชการจังหวัด
นายอํา เภอ เทศบาลนคร หรื อตามที คณะรั ฐ มนตรี นายกรั ฐ มนตรี หรื อรั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวงมหาดไทยมอบหมาย หรื อทีกฎหมายระบุเป็ นหน้าทีของกรุ งเทพมหานคร
บรรดาอํานาจหน้าทีใด ซึงเป็ นของราชการส่ วนกลางหรื อราชการส่ วนภูมิภาค จะมอบให้
กรุ งเทพมหานครปฏิบตั ิก็ได้ โดยให้ทาํ เป็ นพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ข้อบังคับ หรื อประกาศ
แล้วแต่กรณี
ในกรณี ที ทํา เป็ นข้อ บัง คับ หรื อ ประกาศต้อ งได้รั บ ความเห็ น ชอบจากรั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวงมหาดไทย

ทีมาของตําแหน่ ง
สํา หรั บ โครงสร้ า งภายในของกรุ ง เทพมหานครได้แ บ่ ง การจัดองค์ก รออกเป็ น 2 ส่ ว น
ด้วยกัน คือ สภากรุ งเทพมหานคร และ ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร
(1) สภากรุ งเทพมหานคร
เป็ นฝ่ ายนิ ติบญั ญัติ ประกอบด้วย สมาชิกซึ งมาจากการเลือกตังโดยตรงของประชาชนและ
อยูใ่ นตําแหน่งคราวละ 4 ปี สมาชิกสภากรุ งเทพมหานคร (ส.ก.) สามารถเลือกประธานสภาได้ 1 คน
และรองประธานสภาอีกไม่เกิน 2 คน ซึ งสภาจะเลือกมาจากสมาชิกสภากรุ งเทพมหานคร ให้ดาํ รง
ตําแหน่งคราวละ 2 ปี
อํานาจหน้าทีของสภากรุ งเทพมหานคร มีดงั นี
- ให้ความเห็นชอบในการออกข้อบัญญัติของกรุ งเทพมหานคร
- ให้ความเห็ นชอบในเรื องทีเป็ นกิ จการของกรุ งเทพมหานคร เช่ น การให้เอกชนเข้าทํา
กิจการใดๆ หรื อการไปทํากิจการใดๆ ของกรุ งเทพมหานครนอกพืนที
- ให้ความเห็นชอบข้อกําหนดต่างๆ
- ตังคณะกรรมการสามัญชุดต่างๆ
- ตราข้อบังคับของสมาชิกสภากรุ งเทพมหานครและข้อบังคับเกียวกับการประชุม
- มีมติให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยให้ผวู ้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครพ้นตําแหน่ง
(2) ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร
ผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานครเป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร ทีมาจากการเลื อกตังโดยตรงของ
ประชาชนผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตกรุ งเทพมหานคร อยู่ในตําแหน่ งคราวละ 4 ปี มีรองผูว้ ่าราชการ
กรุ งเทพมหานครไม่เกิน 4 คน และยังมีปลัดกรุ งเทพมหานคร ซึ งเป็ นข้าราชการกรุ งเทพมหานคร
เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการกรุ งเทพมหานคร
อํานาจหน้าทีของผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานคร มีดงั นี
- กําหนดนโยบายและบริ หารราชการของกรุ งเทพมหานครให้เป็ นไปตามกฎหมาย
- สัง อนุญาต อนุมตั ิเกียวกับราชการของกรุ งเทพมหานคร
- แต่ ง ตังและถอดถอนรองผู ้ว่ า กรุ งเทพมหานคร เลขานุ ก ารผู ้ว่ า กรุ งเทพมหานคร
ผูช้ ่วยเลขานุ การผูว้ ่ากรุ งเทพมหานคร และแต่งตังและถอดถอนผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานทีปรึ กษา
ทีปรึ กษาหรื อคณะทีปรึ กษาของผูว้ ่า หรื อเป็ นคณะทีปรึ กษาของผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานครหรื อ
เป็ นคณะกรรมการเพือปฏิบตั ิราชการใดๆ
- บริ ห ารราชการตามที คณะรั ฐ มนตรี นายกรั ฐ มนตรี หรื อ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง
มหาดไทยมอบหมาย
- วางระเบียบเพือให้งานของกรุ งเทพมหานครเป็ นไปโดยเรี ยบร้อย
- รักษาการให้เป็ นไปตามข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร
- อํานาจหน้าทีอืนตามทีบัญญัติในพระราชบัญญัติและกฎหมายอืน
นอกจากการบริ หารในระดับบนแล้ว กรุ งเทพมหานครก็ยงั แบ่งการปกครองออกเป็ นเขต
ย่อยอีก 50 เขต ซึ งทัง 50 เขตนี จะมีฐานะคล้ายกับการปกครองระดับอําเภอ คือ เป็ นการแบ่งอํานาจ
ในการบริ หาร (Deconcentration) ไม่มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล ดังนันเขตจึ งไม่อาจนับเป็ นหน่ วยการ
ปกครองท้องถิน ในแต่ละเขตจะจัดแบ่งองค์กรภายในออกเป็ น 2 ส่ วน ประกอบด้วย สํานักงานเขต
และสภาเขต
(2.1) สภาเขต เป็ นองค์กรทีประชุมของเขต ประกอบด้วยสมาชิกสภาเขต (ส.ข.) ซึ งมาจาก
การเลือกตังโดยตรงของประชาชน อยูใ่ นตําแหน่งคราวละ 4 ปี โดยในแต่ละเขตจะมีจาํ นวนสมาชิก
สภาเขตอย่างน้อยเขตละ 7 คน ถ้าเขตใดมีราษฎรเกิน 100,000 คน เศษของหนึ งแสนถ้าถึงห้าหมืน
หรื อกว่านันก็ให้นับเป็ นหนึ งแสน อํานาจหน้าทีของสภาเขตมีลกั ษณะเป็ นสภาให้ขอ้ คิดเห็ นและ
ข้อสังเกตแก่ผอู ้ าํ นวยการเขตและสภากรุ งเทพมหานคร สภาเขตไม่มีอาํ นาจนิ ติบญั ญัติในการออก
ข้อกฎหมายใดๆ
(2.2) สํานักงานเขต เป็ นหน่ วยงานทีรับนโยบายมาปฏิบตั ิให้เกิดผลโดยตรงต่อประชาชน
ของกรุ งเทพมหานครในด้านงานบริ การ โดยแบ่ งส่ วนการปกครองออกเป็ นงานพัฒนาชุ มชน
งานส่ งเสริ มอาชี พ งานทะเบียน งานโยธา งานรักษาความสะอาด งานอนามัย งานการศึกษาภาค
บัง คับ เป็ นต้น สํา นัก งานเขตนี จะมี ผูอ้ าํ นวยการเขตซึ งเป็ นข้า ราชการกรุ ง เทพมหานครเป็ น
ผูบ้ งั คับบัญ ชาสู งสุ ด และมี ผูช้ ่ ว ยผูอ้ าํ นวยการเขตเป็ นผูช้ ่ ว ย ซึ งจะมี ลกั ษณะคล้ายกับตํา แหน่ ง
ปลัดอําเภอในการปกครองระดับอําเภอ ซึงผูอ้ าํ นวยการเขตนีจะอยูภ่ ายใต้การบังคับบัญชาของปลัด
กรุ งเทพมหานครซึงมีผวู ้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาสูงสุ ด
วาระการดํารงตําแหน่ ง
ผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานครมีวาระอยูใ่ นตําแหน่งคราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง เมือผูว้ ่า
ราชการกรุ งเทพมหานครพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้จดั การเลือกตังขึนใหม่ภายในหกสิ บวันนับ
แต่วนั สิ นสุ ดวาระ แต่ถา้ ตําแหน่งผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานครว่างลงโดยเหตุอืน ให้ทาํ การเลือก
ตังขึนใหม่ภายในเก้าสิ บวัน และให้ผไู ้ ด้รับการเลือกตังอยูใ่ นตําแหน่งโดยเริ มนับวาระใหม่ โดยผูว้ ่า
ราชการกรุ งเทพมหานครดํารงตําแหน่งนับแต่วนั เลือกตัง และให้มีการมอบหมายงานในหน้าทีผูว้ า่
ราชการกรุ งเทพมหานครภายในเจ็ดวัน นับแต่วนั เลือกตัง
ผูว้ า่ ราชการกรุ งเทพมหานครพ้นจากตําแหน่งด้วยเหตุใดเหตุหนึง ดังต่อไปนี
(1) ถึงคราวออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยยืนหนังสื อลาออกต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย และให้มีผลนับ
แต่วนั ถัดจากวันทียืนหนังสื อลาออก
(4) ขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้องห้ามของคุณสมบัติผมู ้ ีสิทธิ สมัครรับเลือกตังเป็ นผูว้ ่า
ราชการกรุ งเทพมหานคร
(5) กระทําการอันต้องห้าม ดังนี
- ดํารงตําแหน่ งหรื อปฏิบตั ิหน้าทีอืนใดในส่ วนราชการหรื อหน่วยงานของรัฐ หรื อ
รัฐวิสาหกิจ หรื อการพาณิ ชย์ของกรุ งเทพมหานครหรื อบริ ษทั ซึ ง กรุ งเทพมหานคร ถือหุ ้นหรื อ
ตําแหน่งผูบ้ ริ หารท้องถินหรื อพนักงานส่ วนท้องถิน เว้นแต่ตาํ แหน่งทีต้องดํารงตาม บทบัญญัติแห่ ง
กฎหมาย
- รับเงินหรื อประโยชน์ใด ๆ เป็ นพิเศษจากส่ วนราชการหรื อหน่ วยงาน ของรัฐ หรื อ
รั ฐวิ สาหกิ จ หรื อการพาณิ ชย์ของกรุ งเทพมหานครหรื อบริ ษทั ซึ งกรุ งเทพมหานคร ถื อหุ ้น
นอกเหนือไปจากทีส่ วนราชการหรื อหน่วยงานของรัฐ หรื อรัฐวิสาหกิจ หรื อการพาณิ ชย์ หรื อบริ ษทั
ปฏิบตั ิกบั บุคคลอืนในธุรกิจการงานตามปกติ
- เป็ นคู่สญ
ั ญาหรื อมีส่วนได้เสี ยในสัญญาทีทํากับกรุ งเทพมหานครหรื อการพาณิ ชย์ของ
กรุ งเทพมหานครหรื อบริ ษทั ซึ งกรุ งเทพมหานครถือหุ น้ เว้นแต่กรณี ทีผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานคร
ได้เป็ นคู่สญั ญาหรื อเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยในสัญญาอยูก่ ่อนได้รับการเลือกตัง
(6) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีสุ ดให้จาํ คุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทําโดย ประมาท
หรื อความผิดลหุ โทษ
(7) มีการยุบสภากรุ งเทพมหานคร
(8) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยมติคณะรัฐมนตรี สังให้ออกจากตําแหน่งเมือมี
กรณี แสดงให้เห็ นว่าได้กระทําการอันเสื อมเสี ยแก่ เกี ยรติ ศกั ดิ ของตําแหน่ งหรื อปฏิ บตั ิ การหรื อ
ละเลยไม่ปฏิบตั ิการอันควรปฏิ บตั ิ ในลักษณะทีเห็ นได้ว่าจะเป็ นเหตุให้เสี ยหายอย่างร้ ายแรงแก่
กรุ งเทพมหานครหรื อแก่ราชการโดยส่ วนรวมหรื อแก่การรักษาความสงบเรี ยบร้อย หรื อ สวัสดิภาพ
ของประชาชน โดยสภากรุ งเทพมหานครจะมีมติขอให้รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยเสนอ
คณะรัฐมนตรี พิจารณาก็ได้ มติของสภากรุ งเทพมหานครต้องมีคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่าสองในสาม
ของจํานวนสมาชิ กทังหมดของสภากรุ งเทพมหานคร และรั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย
ต้อ งนํา เรื องเสนอต่ อ คณะรั ฐ มนตรี ภายในสิ บ ห้ า วัน นั บ แต่ ว ัน ที ตนได้รั บ แจ้ง มติ ข องสภา
กรุ งเทพมหานคร
(9) ราษฎรผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตกรุ งเทพมหานครได้ลงคะแนนเสี ยงให้พน้ จากตําแหน่ง
ตามกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสี ยงเพือถอดถอนสมาชิ กสภาท้องถิ นหรื อผูบ้ ริ หารท้องถิ น
ในกรณี มีพฤติการณ์ดงั ทีระบุไว้ในข้อ 8
เมือปรากฏกรณี ผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานครขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้องห้ามของ
คุณสมบัติผมู ้ ีสิทธิ สมัครรับเลือกตังเป็ นผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานคร หรื อ กระทําการอันต้องห้าม
ให้รัฐมนตรี วา่ การ กระทรวงมหาดไทยสังให้มีการสอบสวนก่อนมีคาํ สังให้พน้ จากตําแหน่งแต่ผถู ้ ูก
สังให้พน้ จาก ตําแหน่งมีสิทธิ ยนฟ้ ื องต่อศาลเพือขอให้เพิกถอนคําสังภายในสิ บห้าวัน นับแต่วนั ที
ได้รับคําสัง ให้พน้ จากตําแหน่ ง และในระหว่างรอคําพิพากษาของศาล ให้ผูถ้ ูกสังให้พน้ จาก
ตําแหน่งพักการปฏิบตั ิหน้าทีนับแต่วนั ทีได้รับคําสังจนกว่าศาลจะพิพากษา
ใบงานที 6 เรืองกรุ งเทพมหานคร
จงตอบคําถามต่ อไปนี

1. วิเคราะห์โครงสร้างภายในของกรุ งเทพมหานคร
……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

2. อํานาจหน้าทีตามโครงสร้างกรุ งเทพมหานคร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก ซ
ใบความรู้ ที 7 และใบงานที 7 โครงสร้ างเมืองพัทยา
ใบความรู้ ที 7
โครงสร้ างเมืองพัทยา

เมืองพัทยา

สภาเมืองพัทยา นายกเมืองพัทยา
สมาชิก รองนายก
เมืองพัทยา เมืองพัทยา
24 คน ไม่เกิน 4 คน
วาระดํารง
ตําแหน่ง
4 ปี

ประธานสภา บริ หารกิจการ


1 คน ของเมืองพัทยา
รองประธานสภา
2 คน
สํานักปลัด
วาระ 4 ปี เมืองพัทยา
ราชการส่ วนต่างๆ
ปลัดเมืองพัทยา
เลขานุการสภา ปลัดเมืองพัทยา
เมืองพัทยา และพนักงาน
เมืองพัทยา

ภาพที1 โครงสร้ างเมืองพัทยา


อํานาจหน้ าทีของเมืองพัทยา
เมืองพัทยามีอาํ นาจหน้าที ดําเนินการในเขตเมืองพัทยาในเรื องดังต่อไปนี
(1) การรักษาความสงบเรี ยบร้อย
(2) การส่ งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
(3) การคุม้ ครองและดูแลรักษาทรัพย์สินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(4) การวางผังเมืองและการควบคุมการก่อสร้าง
(5) การจัดการเกียวกับทีอยูอ่ าศัยและการปรับปรุ งแหล่งเสื อมโทรม
(6) การจัดการจราจร
(7) การรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของบ้านเมือง
(8) การกําจัดมูลฝอยและสิ งปฏิกลู และการบําบัดนําเสี ย
(9) การจัดให้มีนาสะอาดหรื
ํ อการประปา
(10) การจัดให้มีการควบคุมตลาด ท่าเทียบเรื อ และทีจอดรถ
(11) การควบคุมอนามัยและความปลอดภัยในร้านจําหน่ายอาหาร โรงมหรสพ และสถาน
บริ การอืน
(12) การควบคุมและส่ งเสริ มกิจการท่องเทียว
(13) การบํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน และวัฒนธรรมอันดี ของ
ท้องถิน
(14) อํานาจหน้าทีอืนตามทีกฎหมายกําหนดให้เป็ นของเทศบาลนครหรื อของเมืองพัทยา

ทีมาของตําแหน่ ง
ในปี พ.ศ.2542 ได้มีการตราพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการเมืองพัทยาฉบับใหม่
ซึ งเป็ นการปรับเปลียนกฎหมายเมืองพัทยาให้เป็ นไปตามกรอบกติกาของรัฐธรรมนู ญ พ.ศ.2540
พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542 ได้กาํ หนดรู ปแบบโครงสร้างแตกต่าง
ไปจากเดิมหลายประการ โดยโครงสร้างภายในของเมืองพัทยารู ปแบบใหม่จะประกอบด้วย
(1) สภาเมืองพัทยา
ประกอบด้วย สมาชิ กทีมาจากการเลือกตังโดยราษฎรผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตเมืองพัทยา
จํานวน 24 คน อยูใ่ นวาระคราวละ 4 ปี และให้สภาเมืองพัทยาเลือกสมาชิกเป็ นประธานสภา 1 คน
และรองประธานสภา 2 คน มีหน้าทีดําเนินการประชุมและดําเนินกิจการอืนให้เป็ นไปตามข้อบังคับ
เมืองพัทยา นอกจากนียังมีปลัดเมืองพัทยาให้ทาํ หน้าทีเลขานุการสภาเมืองพัทยา มีหน้าทีรับผิดชอบ
งานธุรการ และการจัดประชุมและงานอืนใดตามทีสภาเมืองพัทยามอบหมาย
(2) นายกเมืองพัทยา
สําหรับผูบ้ ริ หารเมืองพัทยาได้เปลียนแปลงไปจากเดิมซึ งใช้รูปแบบผูจ้ ดั การเมืองกลายมา
เป็ นรู ปแบบใหม่ทีคล้ายคลึงกับผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานคร กล่าวคือ นายกเมืองพัทยาจะมาจาก
การเลือกตังโดยตรงของราษฎรผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตเมืองพัทยา ดํารงตําแหน่ งคราวละ 4 ปี และ
สามารถแต่งตังรองนายกเมืองพัทยา จํานวนไม่เกิน 4 คน
นายกเมืองพัทยามีอาํ นาจหน้าทีดังนี
- กําหนดนโยบายและรั บผิดชอบในการบริ หารราชการของเมื องพัทยาให้เป็ นไปตาม
กฎหมาย ข้อบัญญัติและนโยบาย
- สัง อนุญาตและอนุมตั ิเกียวกับราชการของเมืองพัทยา
- แต่งตังและถอดถอนรองนายกเมืองพัทยา เลขานุ การนายกเมืองพัทยา ผูช้ ่วยเลขานุ การ
นายกเมืองพัทยา ประธานทีปรึ กษา ทีปรึ กษาหรื อคณะทีปรึ กษา
- วางระเบียบเพือให้งานของเมืองพัทยาเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย
- ปฏิบตั ิหน้าทีอืนตามทีคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรื อผูว้ ่าราชการจังหวัด
มอบหมาย หรื อตามที กฎหมายกํ า หนดให้ เ ป็ นอํา นาจหน้ า ที ของนายกเมื อ งพั ท ยาหรื อ
นายกเทศมนตรี หรื อคณะเทศมนตรี
ในส่ วนของฝ่ ายบริ หารนีก็ยงั มีการจัดแบ่งส่ วนราชการของเมืองพัทยาออกเป็ น
(2.1) สํานักปลัดเมืองพัทยา ซึ งมีปลัดเมืองพัทยาเป็ นหัวหน้า ทําหน้าทีเป็ นผูบ้ งั คับบัญชา
พนักงานเมืองพัทยาและลูกจ้างเมืองพัทยาจากนายกเมืองพัทยา และรับผิดชอบควบคุมดูแลราชการ
ประจําเมืองพัทยาให้เป็ นไปตามนโยบาย และมีอาํ นาจหน้าทีอืนตามทีกฎหมายกําหนดหรื อตามที
นายกเมืองพัทยามอบหมาย
(2.2) ส่ ว นราชการอื น ตามที นายกเมื องพัท ยาประกาศกํา หนดโดยความเห็ น ชอบของ
กระทรวงมหาดไทย

วาระการดํารงตําแหน่ ง
นายกเมืองพัทยามีวาระอยูใ่ นตําแหน่งคราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง แต่จะดํารงตําแหน่ ง
ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ เมือนายกเมืองพัทยาพ้นจากตําแหน่ง ให้จดั ให้มีการเลือกตังขึนใหม่
ภายในสี สิ บห้าวันนับแต่วนั ทีพ้นจากตําแหน่ ง และให้มีการมอบหมายงานในหน้าทีนายกเมือง
พัทยาภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ทีได้มีการประกาศผลการเลือกตังนายกเมืองพัทยานายกเมืองพัทยา
อาจแต่งตังรองนายกเมืองพัทยาจํานวนไม่เกินสี คนซึ งมิใช่สมาชิก เป็ นผูช้ ่วยเหลือในการบริ หาร
ราชการของเมืองพัทยาตามทีนายกเมืองพัทยามอบหมาย
นายกเมืองพัทยาและรองนายกเมืองพัทยาอาจพ้นกระทําการอย่างใด อย่างหนึง ดังต่อไปนี
(1) ดํารงตําแหน่งหรื อปฏิบตั ิหน้าทีอืนใดในการพาณิ ชย์ของเมืองพัทยา หรื อ บริ ษทั ทีเมือง
พัทยาถือหุน้ เว้นแต่ตาํ แหน่งทีต้องดํารงตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
(2) เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้อมในสัญญาทีทํากับเมืองพัทยา หรื อการ
พาณิ ชย์ของเมืองพัทยา หรื อบริ ษทั ทีเมืองพัทยาถือหุน้
นายกเมืองพัทยาพ้นจากตําแหน่ง เมือ
(1) ถึงคราวออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) เมือมีการยุบสภาเมืองพัทยา
(4) ลาออก โดยยืนหนังสื อลาออกต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัด
(5) ขาดคุณสมบัติผมู ้ ีสิทธิ สมัครรับเลือกตัง หรื อมีลกั ษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิ สมัครรับ
เลือกตังเป็ นสมาชิก
(6) กระทําการฝ่ าฝื น ข้อ (1) หรื อ (2)
(7) รัฐมนตรี พิจารณาสอบสวนและสังให้ออกจากตําแหน่ง เพราะมีความประพฤติ ในทาง
ทีจะนํามาซึ งความเสื อมเสี ยหรื อก่อความไม่สงบเรี ยบร้อยแก่เมืองพัทยา หรื อปฏิบตั ิการหรื อละเลย
ไม่ปฏิบตั ิการอันควรปฏิบตั ิในลักษณะทีจะเป็ นเหตุให้เสี ยหายอย่างร้ายแรงแก่เมืองพัทยา หรื อแก่
ราชการโดยส่ วนรวมหรื อแก่ความสงบเรี ยบร้อยหรื อสวัสดิภาพของประชาชน
(8) ราษฎรผูม้ ีสิทธิ เลือกตังในเขตเมืองพัทยาได้ลงคะแนนเสี ยงให้พน้ จากตําแหน่ งตาม
กฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสี ยงเพือถอดถอนสมาชิกสภาท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถิน
เมือมีกรณี สงสัยว่าความเป็ นนายกเมืองพัทยาสิ นสุ ดลงตาม (5) หรื อ (6) ให้ผวู ้ ่าราชการ
จังหวัดสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ ว คําวินิจฉัยของผูว้ า่ ราชการจังหวัด ให้เป็ นทีสุ ด
ใบงานที 7 เรืองเมืองพัทยา
จงตอบคําถามต่ อไปนี

1. คุณลักษณะเฉพาะของเมืองพัทยาทีบ่งชีถึงความเป็ นหน่วยการปกครองส่ วนท้องถินรู ปแบบ


พิเศษคืออะไร
……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. จงเปรี ยบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเมืองพัทยากับกรุ งเทพมหานคร
……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
ภาคผนวก ฌ
ใบความรู้ ที 8 และใบงานที 8 โครงสร้ างองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด
ใบความรู้ ที 8
โครงสร้ างองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด

โครงสร้ างองค์การบริหารส่ วนจังหวัด

สภาองค์การบริ หาร นายกองค์การ


ส่ วนจังหวัด บริ หารส่ วนจังหวัด

สมาชิกสภา รองนายก อบจ.


อบจ. (2-4)

ประธานสภา อบจ. ปลัด อบจ.

รองประธานสภา ส่ วน ส่ วนแผนและ ส่ วนกิจการ ส่ วน ส่วน


อบจ. 2 คน อํานวยการ งบประมาณ สภา อบจ. การคลัง ช่าง

เลขานุการสภา อบจ.

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ


สามัญประจําสภา การศึกษา วิสามัญ

ภาพที1 โครงสร้ างองค์ การบริ หารส่ วนจังหวัด


อํานาจหน้ าทีขององค์ การบริหารส่ วนจังหวัด

องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีอาํ นาจหน้าทีดําเนิ นกิ จการภายในเขตองค์การบริ หารส่ วน


จังหวัด ดังต่อไปนี
(1) ตราข้อบัญญัติโดยไม่ขดั หรื อแย้งต่อกฎหมาย
(2) จัดทําแผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด และประสานการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด
ตามระเบียบทีคณะรัฐมนตรี กาํ หนด
(3) สนับสนุนสภาตําบลและราชการส่ วนท้องถินอืนในการพัฒนาท้องถิน
(4) ประสานและให้ความร่ วมมือในการปฏิบตั ิหน้าทีของสภาตําบลและราชการส่ วน
ท้องถินอืน
(5) แบ่งสรรเงินซึงตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่สภาตําบลและราชการส่ วนท้องถินอืน
(6) อํานาจหน้าทีของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการส่ วนจังหวัด พ.ศ.
๒๔๙๘ เฉพาะภายในเขตสภาตําบล
(7) คุม้ ครอง ดูแล และบํารุ งรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม (๗ ทวิ) ๒๙
บํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิน
(8) จัดทํากิจการใดๆ อันเป็ นอํานาจหน้าทีของราชการส่ วนท้องถินอืนทีอยูใ่ นเขตองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัด และกิจการนันเป็ นการสมควรให้ราชการส่ วนท้องถินอืนร่ วมกันดําเนิ นการ
หรื อให้องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดจัดทํา ทังนี ตามทีกําหนดในกฎกระทรวง
(9) จัดทํากิจการอืนใดตามทีกําหนดไว้ในพระราชบัญญัตินีหรื อกฎหมายอืนกําหนดให้เป็ น
อํานาจหน้าทีขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
บรรดาอํานาจหน้าทีใดซึ งเป็ นของราชการส่ วนกลาง หรื อราชการส่ วนภูมิภาคอาจมอบให้
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดปฏิบตั ิได้ ทังนี ตามทีกําหนดในกฎกระทรวง
การปฏิบตั ิงานตามอํานาจหน้าทีขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัดต้องเป็ นไปเพือประโยชน์
สุ ขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองทีดี และให้คาํ นึ งถึงการมีส่วนร่ วมของ
ประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด การจัดทํางบประมาณ การจัดซื อจัด
จ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน และการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร ทังนี ให้เป็ นไป
ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนัน และหลักเกณฑ์และวิธีการทีกระทรวงมหาดไทย
กําหนด
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดอาจจัดทํากิจการใดๆ อันเป็ นอํานาจหน้าทีของราชการส่ วน
ท้องถินอืนหรื อองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดอืนทีอยูน่ อกเขตจังหวัดได้ เมือได้รับความยินยอมจาก
ราชการส่ วนท้องถินอืนหรื อองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดอืนทีเกียวข้อง ทังนีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงือนไขทีกําหนดในกฎกระทรวง

ทีมาของตําแหน่ ง
การจัดโครงสร้ างภายในขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัด ตามพระราชบัญญัติองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัด พ.ศ.2540 และ ฉบับแก้ไขเพิมเติม (ฉบับที 2) พ.ศ.2542 ซึงเป็ นกฎหมายทีใช้อยู่
ในปั จจุบนั ได้จดั แบ่งการบริ หารงานออกเป็ น 2 ส่ วน คือ สภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเป็ นฝ่ าย
นิติบญั ญัติ และนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด เป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร
(1) สภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (สภา อบจ.)
ประกอบด้วยสมาชิกซึ งมาจากการเลือกตังโดยตรงจากราษฎร มีวาระในการดํารงตําแหน่ง
คราวละ 4 ปี สําหรับจํานวนสมาชิ กสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดให้ถือเกณฑ์จาํ นวนราษฎรแต่
ละจังหวัดตามหลักฐานทะเบียนราษฎรทีประกาศในปี สุ ดท้ายก่อนปี ทีมีการเลือกตัง ดังนี
- จัง หวัด ใดมี ราษฎรไม่ เ กิ น 500,000 คน มี สมาชิ กสภาองค์การบริ ห ารส่ ว นจังหวัด ได้
24 คน
- จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า 500,000 คน แต่ไม่เกิน 1,000,000 คน มีสมาชิกสภาองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัด ได้ 30 คน
- จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า 1,000,000 คน แต่ไม่เกิน 1,500,000 คน มีสมาชิกสภาองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัด ได้ 36 คน
- จังหวัดใดมีราษฎรเกินกว่า 1,500,000 คน แต่ไม่เกิน 2,000,000 คน มีสมาชิกสภาองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัด ได้ 42 คน
- จังหวัดใดมีราษฎรเกิ นกว่า 2,000,000 คน มีสมาชิ กสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้
48 คน
ในการประชุ ม สภาท้อ งถิ นครั งแรกนัน จะมี ก ารเลื อ กตังสมาชิ ก ด้ว ยกัน เองขึ นมาเป็ น
ประธานสภาและรองประธานสภา ทําหน้าทีดําเนินกิจการของสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดและ
ดําเนินการประชุมให้เป็ นไปตามระเบียบของสภา และเรี ยกประชุมสภาสมัยสามัญและสมัยวิสามัญ
การประชุมสามัญโดยทัวไปแล้วจะมี 2 สมัยต่อปี ส่ วนระยะเวลาในการประชุมแต่ละสมัยนันเป็ น
อํานาจของสภาทีจะกําหนดขึน สําหรับการเรี ยกประชุมสมัยวิสามัญนันโดยทัวไปแล้วจะมีขึนได้
ก็ต่อเมือมีเหตุจาํ เป็ นต้องเปิ ดประชุมสภา และการร้องขอของนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดหรื อ
สมาชิกสภาจํานวนไม่นอ้ ยกว่าหนึงในสาม
นอกจากนี สภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดยังมีอาํ นาจในการแต่งตังสมาชิ กสภาองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัดเป็ นคณะกรรมการสามัญและมีอาํ นาจเลื อกบุ คคลซึ งไม่ได้เป็ นสมาชิ กสภา
องค์ก ารบริ ห ารส่ ว นจัง หวัด ร่ ว มเป็ นคณะกรรมการวิ ส ามัญ เพื อกระทํา กิ จ การหรื อ พิ จ ารณา
สอบสวนเรื องใดๆ อันอยูใ่ นวงงานของสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
(2) นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
ในส่ วนของหัวหน้าฝ่ ายบริ หารนี เดิ มตังแต่ พ.ศ.2498 มาผูว้ ่าราชการจังหวัดเป็ นนายก
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดโดยตําแหน่ง ต่อมามีการตราพระราชบัญญัติองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
พ.ศ.2540 ซึ งกฎหมายฉบับ พ.ศ.2540 นี ได้มีการแยกข้าราชการส่ วนภูมิภาคออกจากราชการส่ วน
ท้องถิน ผูว้ ่าราชการจังหวัดพ้นจากตําแหน่งนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด และให้สภาองค์การ
บริ หารส่ ว นจัง หวัด เลื อกสมาชิ ก สภาคนหนึ งขึ นเป็ นนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด แต่ก าร
เปลี ยนแปลงที มาของฝ่ ายบริ หารขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้มี การเปลี ยนแปลงอี ก ครั ง
โดยในปี พ.ศ.2546 รัฐสภาได้ผา่ นพระราชบัญญัติแก้ไขเพิมเติมองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (ฉบับที
3) พ.ศ.2546 ซึ งเป็ นกฎหมายทีทางสมาคมองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีส่วนสําคัญในการผลักดัน
เพือให้มีการแก้ไขทีมาของฝ่ ายบริ หาร ส่ งผลให้ทีมาของนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดจากเดิม
ทีมาจากมติของสภา อบจ. เป็ นให้นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมาจากการเลือกตังโดยตรงจาก
ประชาชน นับเป็ นการเปลียนแปลงครังสําคัญครังหนึ งของการปกครองท้องถินไทย เพราะทําให้
ผูบ้ ริ หารขององค์กรปกครองท้องถินทีมีขนาดใหญ่ทีสุ ดของแต่ละจังหวัดทัวประเทศมีทีมาจากการ
เลือกตังโดยตรงของประชาชน
นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดทีมาจากการเลือกตังโดยตรงของประชาชนนี สามารถ
แต่งตังบุคคลทีไม่ใช่สมาชิกสภา อบจ. เป็ นรองนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้ โดยจํานวนของ
รองนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดขึนอยูก่ บั จํานวนของสมาชิกสภา อบจ. ดังนี
- ในกรณี มีสมาชิกสภา อบจ. 48 คน ให้แต่งตังรองนายกฯ ได้ไม่เกิน 4 คน
- ในกรณี มีสมาชิกสภา อบจ. 36-42 คน ให้แต่งตังรองนายกฯ ได้ไม่เกิน 3 คน
- ในกรณี มีสมาชิกสภา อบจ. 24-30 คน ให้แต่งตังรองนายกฯ ได้ไม่เกิน 2 คน
นอกจากในส่ วนของนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดและรองนายกองค์การบริ หารส่ วน
จังหวัดแล้ว ในฝ่ ายบริ หารก็ยงั ประกอบไปด้วยเจ้าหน้าทีอืน อันได้แก่ ข้าราชการส่ วนจังหวัดทีรับ
เงิ นเดื อนจากงบประมาณขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัด โดยข้าราชการส่ วนจังหวัดนี มี นายก
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาสู งสุ ด และมีรองนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกับ
ปลัดองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเป็ นผูบ้ งั คับบัญชารองลงมา
วาระการดํารงตําแหน่ ง

อายุของสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีกาํ หนดคราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง และสมาชิก


ภาพของสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเริ มตังแต่วนั เลือกตัง
การสิ นสุ ดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดสิ นสุ ดลงเมือ
(1) ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด หรื อมีการยุบสภาองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัด
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยยืนหนังสื อลาออกต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัด
(4) ขาดประชุมสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดสามครังติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอนั สมควร
(5) เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยไม่ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้อมในสัญญาทีองค์การบริ หารส่ วน
จังหวัดนันเป็ นคู่สัญญาหรื อในกิจการทีกระทําให้แก่องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดนัน หรื อทีองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัดนันจะกระทํา
(6) ขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามคุณสมบัติผูม้ ีสิทธิ สมัครรับเลือกตังเป็ น
สมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
(7) สภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีมติให้พน้ จากตําแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติ
ในทางทีจะนํามาซึงความเสื อมเสี ยหรื อก่อความไม่สงบเรี ยบร้อยแก่องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดหรื อ
กระทําการอันเสื อมเสี ยประโยชน์ของสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด โดยมีสมาชิ กสภาส่ วน
จังหวัดทังหมดเท่าทีมีอยูเ่ ข้าชือเสนอให้สภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดพิจารณา และมติดงั กล่าว
ต้องมีคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่าสามในสี ของจํานวนสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดทังหมด
เท่าทีมีอยู่ ทังนี ให้สมาชิกภาพสิ นสุ ดลงนับแต่วนั ทีสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีมติองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัดจํานวนไม่นอ้ ยกว่าหนึงในสามของจํานวนสมาชิกสภาองค์การบริ หาร
(8) ราษฎรผูม้ ีสิทธิเลือกตังในเขตองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าสามในสี
ของจํานวนผูม้ ีสิทธิ เลือกตังทีมาลงคะแนนเสี ยง เห็นว่าสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดผูใ้ ด
ไม่สมควรดํารงตําแหน่ งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสี ยงเพือถอดถอนสมาชิ กสภา
ท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถิน
เมือมีขอ้ สงสัยเกียวกับสมาชิภาพของสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดผูใ้ ดสิ นสุ ดลง
ให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ ว คําวินิจฉัยของผูว้ า่ ราชการจังหวัดให้เป็ นทีสุ ด
นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดดํารงตําแหน่ งนับตังแต่วนั เลือกตังและมีระยะการดํารง
ตําแหน่งคราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง
นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดอาจแต่งตังรองนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดซึ งมิใช่
สมาชิ กสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเป็ นผูช้ ่วยเหลือในการบริ หารราชการขององค์การบริ หาร
ส่ วนจังหวัดตามทีนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมอบหมายได้ตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี
(1) ในกรณี ทีสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดสี
สิ บแปดคน ให้แต่งตังรองนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้ไม่เกินสี คน
(2) ในกรณี ทีสภาองค์รบริ หารส่ วนจังหวัดมีสมาชิกสภาองค์รบริ หารส่ วนจังหวัดสามสิ บ
หกคนหรื อสี สิ บสองคน ให้แต่งตังรองนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้ไม่เกินสามคน
(3) ในกรณี ทีสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดยีสิ บ
สี คนหรื อสามสิ บคน ให้แต่งตังรองนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้ไม่เกิ นสองคนนายก
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดอาจแต่งตังเลขานุการนายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด และทีปรึ กษา
นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดซึ งมิใช่สมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้จาํ นวนรวมกัน
ไม่เกินห้าคน
ใบงานที 8 เรืององค์ การบริหารส่ วนจังหวัด

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1. องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีอาํ นาจและหน้าทีอย่างไร

……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

2. องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีรายได้มาจากทางใดบ้าง

……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
ภาคผนวก ญ
ใบความรู้ ที 9 และใบงานที 9 โครงสร้ างองค์ การบริหารส่ วนตําบล
148
 

ใบความรู้ ที 9
โครงสร้ างองค์ การบริหารส่ วนตําบล
 

ภาพที1 โครงสร้ างองค์ การบริ หารส่ วนตําบล


 

อํานาจหน้ าทีขององค์ การบริหารส่ วนตําบล


องค์การบริ หารส่ วนตําบลมีอาํ นาจหน้าทีในการพัฒนาตําบลทังในด้านเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม โดยมีหน้าทีต้องทําในเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบล ดังต่อไปนี
(1) จัดให้มีและบํารุ งรักษาทางนําและทางบก
(2) รักษาความสะอาดของถนน ทางนํา ทางเดิน และทีสาธารณะรวมทังการกําจัดขยะ
มูลฝอยและสิ งปฏิกลู
(3) ป้ องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
(4) ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(5) ส่ งเสริ มการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(6) ส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูส้ ูงอายุ และผูพ้ ิการ
149
 

(7) คุม้ ครอง ดูแล และบํารุ งรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม


(8) บํารุ งรักษาศิลปะ จารี ตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิน และวัฒนธรรมอันดีของ
ท้องถิน
(9) ปฏิบตั ิหน้าทีอืนตามทีทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรื อบุคลากร
ให้ตามความจําเป็ นและสมควร

องค์ก ารบริ ห ารส่ ว นตํา บลอาจจัด ทํา กิ จ การในเขตองค์ก ารบริ ห ารส่ ว นตํา บล
ดังต่อไปนี
(1) ให้มีนาเพื
ํ อการอุปโภค บริ โภค และการเกษตร
(2) ให้มีและบํารุ งการไฟฟ้ าหรื อแสงสว่างโดยวิธีอืน
(3) จัดให้มีและบํารุ งรักษาทางระบายนํา
(4) ให้มีและบํารุ งสถานที ประชุ ม การกี ฬา การพักผ่อนหย่อนใจและ
สวนสาธารณะ
(5) ให้มีและส่ งเสริ มกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
(6) ส่ งเสริ มให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(7) บํารุ งและส่ งเสริ มการประกอบอาชีพของราษฎร
(8) การคุม้ ครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็ นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริ หารส่ วนตําบล
(10)ให้มีตลาด ท่าเทียบเรื อ และท่าข้าม
(11) กิจการเกียวกับการพาณิ ชย์
(12) การท่องเทียว
(13) การผังเมือง
 

ทีมาของตําแหน่ ง 

การบริ หารองค์การบริ หารส่ วนตําบล ประกอบด้วย


(1) สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล
(2) นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล

1. สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล


150
 

สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลจํานวน


หมู่บา้ นละสองคน ซึงเลือกตังขึนโดยราษฎรผูม้ ีสิทธิเลือกตังในแต่ละหมู่บา้ นในเขตองค์การบริ หาร
ส่ วนตําบลนัน
ในกรณี ทีเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบลใดมีเพียงหนึ งหมู่บา้ นให้สภาองค์การบริ หารส่ วน
ตําบลนันประกอบด้วยสมาชิ กสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลจํานวนหกคน และในกรณี ทีเขต
องค์การบริ หารส่ วนตําบลใดมีเพียงสองหมู่บา้ นให้สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลนันประกอบด้วย
สมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลจํานวนหมู่บา้ นละสามคน
(2) นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบล
นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลซึงมาจากการเลือกตังโดยตรงของประชาชนตามกฎหมาย
ว่าด้วยการเลือกตังสมาชิกสภาท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถิน 

วาระการดํารงตําแหน่ ง
อายุของสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลมีกาํ หนดคราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล สิ นสุ ดลงเมือ
(1) ถึงคราวออกตามอายุของสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล หรื อมีการยุบสภาองค์การ
บริ หารส่ วนตําบล
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยยืนหนังสื อลาออกต่อนายอําเภอ
(4) ขาดประชุมสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลสามครังติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอนั สมควร
(5) มิได้อยูป่ ระจําในหมู่บา้ นทีได้รับเลือกตังเป็ นระยะเวลาติดต่อกันเกินหกเดือน
(6) เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้อมในสัญญาทีองค์การบริ หารส่ วนตําบล
นันเป็ นคู่สัญญาหรื อในกิจการทีกระทําให้แก่องค์การบริ หารส่ วนตําบลนันหรื อทีองค์การบริ หาร
ส่ วนตําบลนันจะกระทํา
(7) ขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๗ ทวิ
(8) สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลมีมติให้พน้ จากตําแหน่ง โดยเห็นว่ามีความประพฤติ
ในทางทีจะนํามาซึงความเสื อมเสี ยหรื อก่อความไม่สงบเรี ยบร้อยแก่องค์การบริ หารส่ วนตําบลหรื อ
กระทําการอันเสื อมเสี ยประโยชน์ของสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล โดยมีสมาชิ กสภาองค์การ
บริ หารส่ วนตําบลจํานวนไม่นอ้ ยกว่าหนึ งในสามของจํานวนสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล
ทังหมดเท่าทีมีอยู่เข้าชือเสนอให้สภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลพิจารณา และมติดงั กล่าวต้องมี
คะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่าสามในสี ของจํานวนสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลทังหมดเท่าทีมี
อยู่ ทังนี ถ้าสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลผูน้ นมิ ั ได้อุทธรณ์หรื อโต้แย้งมติของสภาองค์การ
151
 

บริ หารส่ วนตําบลภายในกําหนดเวลาอุทธรณ์หรื อโต้แย้งให้สมาชิกสภาพสิ นสุ ดลงนับแต่วนั ทีครบ


ระยะเวลาอุทธรณ์หรื อโต้แย้งดังกล่าว
ในกรณี ที สมาชิ ก ภาพของสมาชิ ก สภาองค์ก ารบริ ห ารส่ ว นตํา บลผูใ้ ดสิ นสุ ด ลงตาม
ผูน้ นอาจอุ
ั ทธรณ์หรื อโต้แย้งมติของสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลไปยังนายอําเภอได้ภายในสิ บห้า
วันนับแต่วนั ทีรับทราบมติของสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล โดยระบุขอ้ อุทธรณ์หรื อข้อโต้แย้ง
และข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายประกอบด้วย และให้นายอําเภอสอบสวนและวินิจฉัยให้เสร็ จสิ น
ภายในสามสิ บวันนับแต่วนั ทีได้รับคําอุทธรณ์หรื อโต้แย้ง คําวินิจฉัยของนายอําเภอให้เป็ นทีสุ ด
(9) ราษฎรผูม้ ีสิทธิเลือกตังในเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบลใดมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าสามใน
สี ของจํานวนผูม้ ีสิทธิ เลือกตังทีมาลงคะแนนเสี ยง เห็นว่าสมาชิกสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลผูใ้ ด
ไม่สมควรดํารงตําแหน่ งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสี ยงเพือถอดถอนสมาชิ กสภา
ท้องถินหรื อผูบ้ ริ หารท้องถิน เมือมีขอ้ สงสัยเกียวกับสมาชิ กภาพของสมาชิ กสภาองค์การบริ หาร
ส่ วนตําบลผูใ้ ดสิ นสุ ดลงตาม (4) (5) (6) หรื อ (7) ให้นายอําเภอสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ ว
คําวินิจฉัยของนายอําเภอให้เป็ นทีสุ ด
ในกรณี ที สมาชิ ก ภาพของสมาชิ ก สภาองค์ ก ารบริ หารส่ ว นตํา บลสิ นสุ ด ลงตาม(9)
พร้อมกันทังหมด ให้ถือว่าเป็ นการยุบสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบล

นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลดํารงตําแหน่ งนับแต่วนั เลือกตังและมีวาระอยูใ่ นตําแหน่ ง


คราวละสี ปี นับแต่วนั เลือกตัง แต่จะดํารงตําแหน่ งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ ในกรณี นายก
องค์การบริ หารส่ วนตําบลดํารงตําแหน่ งไม่ครบระยะเวลาสี ปี ก็ให้ถือว่าเป็ นหนึ งวาระและเมือได้
ดํารงตําแหน่งสองวาระติดต่อกันแล้วจะดํารงตําแหน่งได้อีกเมือพ้นระยะเวลาสี ปี นับแต่วนั ทีพ้นจาก
ตําแหน่ง
นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลอาจแต่งตังรองนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลซึ งมิใช่
สมาชิ กสภาองค์การบริ หารส่ วนตําบลเป็ นผูช้ ่ วยเหลือในการบริ หารราชการขององค์การบริ หาร
ส่ วนตําบลตามทีนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลมอบหมายได้ไม่เกิ นสองคน และอาจแต่งตัง
เลขานุ การนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลคนหนึ งซึ งมิได้เป็ นสมาชิ กสภาองค์การบริ หารส่ วน
ตําบลหรื อเจ้าหน้าทีของรัฐได้
นายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลพ้นจากตําแหน่งเมือ
(1) ถึงคราวออกตามวาระ
(2) ตาย
(3) ลาออก โดยยืนหนังสื อลาออกต่อนายอําเภอ
(4) ขาดคุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้องห้าม
152
 

(5) ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสังให้พน้ จากตําแหน่ง


(6) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีสุ ดให้จาํ คุก
(7) ราษฎรผูม้ ีสิทธิเลือกตังในเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบลมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าสามในสี
ของจํานวนผูม้ ีสิทธิ เลือกตังทีมาลงคะแนนเสี ยงเห็ นว่านายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลไม่สมควร
ดํารงตําแหน่ งต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสี ยงเพือถอดถอนสมาชิกสภาท้องถินหรื อ
ผูบ้ ริ หารท้องถิน
เมือมีขอ้ สงสัยเกี ยวกับความเป็ นนายกองค์การบริ หารส่ วนตําบลสิ นสุ ดลงให้นายอําเภอ
สอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ ว คําวินิจฉัยของนายอําเภอให้เป็ นทีสุ ดในระหว่างทีไม่มีนายกองค์การ
บริ หารส่ วนตําบล ให้ปลัดองค์การบริ หารส่ วนตําบลปฏิบตั ิหน้าทีของนายกองค์การบริ หารส่ วน
ตําบลเท่าทีจําเป็ นได้เป็ นการชัวคราวจนถึงวันประกาศผลการเลือกตังนายกองค์การบริ หารส่ วน
ตําบล
 

 
153
 

ใบงานที 9 เรืององค์ การบริหารส่ วนจังหวัด

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1. อํานาจหน้าทีขององค์การบริ หารส่ วนตําบลต้องดําเนิ นการอะไรบ้าง

……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

2. วิเคราะห์โครงสร้างและอํานาจหน้าทีขององค์การบริ หารส่ วนตําบล

……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
 

 
ภาคผนวก ฎ
ใบความรู้ ที 10 และใบงานที 10
ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ ไขปัญหาของการปกครองส่ วนท้ องถิน
 
ใบความรู้ ที 10
ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ ไขปัญหาของการปกครองส่ วนท้ องถิน

ปั ญหาและอุปสรรค มีหลายประการ โดยมีปัญหาหลักๆ อยู่ 8 ประการดังนี

1. ปัญหาความรู้ความเข้ าใจของประชาชน
ปั จจัยสําคัญทีส่ งผลต่อการกระจายอํานาจให้กบั ท้องถินประสบความสําเร็ จ คือความรู ้
ความเข้าใจของประชาชน ว่าการกระจายอํานาจให้กบั ท้องถินมีความสําคัญและมีประโยชน์ต่อ
ประชาชนในท้องถิน ซึ งประชาชนคนไทยกว่าจะมีความรู ้ความเข้าใจในระดับหนึ งต้องใช้เวลามา
นานกว่า 80 ปี แต่ไม่ได้หมายความว่าประชาชนคนไทยในทุกพืนทีจะมีความรู ้ความเข้าใจเท่ากันใน
ทุกพืนที ขึนอยูก่ บั ลักษณะของพืนทีและระดับการศึกษาของประชาชนในพืนที กล่าวคือ ลักษณะ
ของพืนทีทีทําให้ประชาชนคนไทยมีความรู ้ความเข้าใจความสําคัญของการกระจายอํานาจ คือ พืนที
ที เปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่ วมกับการเมื องท้องถิ น และการบริ หารจัดการกับการ
บริ หารงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินในพืนที ส่ วนปั จจัยการศึกษาของประชาชนทีสู งจะ
ส่ งผลต่อความรู ้ความเข้าใจในความสําคัญของการกระจายอํานาจได้ง่ายกว่า และกล้าทีจะเข้าไปมี
ส่ วนร่ วมหรื อตรวจสอบการบริ หารจัดการกับการบริ หารงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินใน
พืนทีมากกว่าเช่นเดียวกัน

2. ปัญหาการมีส่วนร่ วม
การมีส่วนร่ วม คือปั จจัยสําคัญอีกประการหนึ งทีส่ งผลต่อการกระจายอํานาจให้กบั
ท้องถินประสบความสําเร็ จ ตังแต่การมีส่วนร่ วมในการเลือกผูบ้ ริ หารองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
ในพืนที การมีส่วนร่ วมและตรวจสอบการบริ หารของฝ่ ายบริ หารองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน และ
การมีส่วนร่ วมและตรวจสอบการจัดการของข้าราชการและเจ้าหน้าทีขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิน แต่ทีผ่านกว่า 80 ปี ระดับการมีส่วนร่ วมของประชาชนนันมีพฒั นาการทีช้ามาก ประชาชน
ยังไม่ได้เข้ามามีส่วนร่ วมกับการเมืองท้องถินและการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินด้วยจิตสํานึ กทีแท้จริ ง แม้ว่ารัฐธรรมนู ญไทย พ.ศ.2540 และ 2550 ได้เปิ ดโอกาสให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมกับการเมืองทุกระดับ และการบริ หารจัดการขององค์กรภาครั ฐและ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถินอย่างมากก็ตาม
ปั ญหาการขาดการมีส่วนร่ วมของประชาชนกับการเมืองท้องถิน และการบริ หารและ
การจัด การขององค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ น นอกจากจะเนื องมาจากความรู ้ ค วามเข้า ใจของ
ประชาชนว่าการกระจายอํานาจให้กบั ท้องถินมีความสําคัญและมีประโยชน์ต่อประชาชนในท้องถิน
 
อย่างไร วัฒนธรรมการมีส่วนร่ วมก็เป็ นปั ญหาสําคัญประการหนึ ง กล่าวคือ ประชาชนคนไทยมี
วัฒนธรรมการมีส่วนร่ วมค่อนข้างน้อย เนื องจากเคยชิ นกับการเป็ นผูถ้ ูกปกครองแบบสังให้ทาํ มา
ยาวนาน ทังการปกครองแบบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์และการปกครองแบบรวมศูนย์อาํ นาจ ครันเมือ
รัฐบาลเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมได้มากขึนตังแต่รัฐธรรมนูญไทย พ.ศ.2540 เป็ นต้น
แต่ ณ ปั จ จุ บนั (พ.ศ.2553) ที ผ่า นมาเพีย ง 13 ปี ยัง ไม่ น่ า จะมากพอที จะเปลี ยนให้ป ระชาชนมี
วัฒนธรรมการมีส่วนร่ วมมากขึนได้ จึงจําเป็ นต้องใช้เวลาทีมากกว่านี ทังนี รัฐและองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินมีความจริ งใจทีจะเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมกับการบริ หารจัดการทุก
ขันตอนอย่างแท้จริ ง

3. ปัญหารายได้ ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน


รายได้ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน มาจาก 2 แหล่งสําคัญๆ คือ (1) รายได้ที
จัดเก็บเองตามอํานาจหน้าทีทีกําหนดไว้ในกฎหมายเฉพาะขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินแต่ละ
ประเภท (2) รายได้จากการอุดหนุ นจากรัฐบาล ซึ งแบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ เงินอุดหนุ นแบบปกติที
รัฐบาลจัดสรรให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินเป็ นประจําทุกๆ ปี และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจทีรัฐบาล
จัดสรรให้เพิมเติม ซึงงบประมาณทีรัฐบาลจัดสรรให้ทงสองประเภทั นันมีความแตกต่างกันในการ
ได้รับขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินแต่ละประเภท และแต่ละพืนที และทีสําคัญไม่สามารถคาด
เดาได้ว่าจะได้รับตามทีองค์กรปกครองส่ วนท้องถินแต่ละแห่ งร้องขอไปหรื อไม่ ดังนันรายได้ที
องค์กรปกครองส่ วนท้องถินจัดเก็บเองจึงเป็ นรายได้ทีมีความแน่นอนมากกว่า หากองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินสามารถจัดเก็บรายได้มากพอทีจะบริ หารองค์การและพัฒนาชุมชนท้องถินทีรับผิดชอบ
โดยไม่ตอ้ งพึงพางบประมาณจากรัฐบาลมากนัก จะเป็ นองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีสนองตอบต่อ
ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริ ง เนื องจากไม่ตอ้ งดําเนิ นการนโยบายของรัฐทีมาพร้อม
กับงบประมาณทีอุดหนุนให้ โดยไม่ได้คาํ นึงว่าเป็ นความต้องการของประชาชนในพืนทีนันหรื อไม่
องค์ ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ นที สามารถจัด เก็ บ รายได้เ องอย่ า งเพี ย งพอต่ อ
การบริ หารและจัดการนันมีไม่มากนัก ส่ วนใหญ่จะเป็ นองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีเป็ นพืนทีทาง
เศรษฐกิ จ หรื อ ชุ ม ชนเมื อ ง เช่ น มี โ รงงานอุ ต สาหกรรม มี ก ารขยายตัว ของเมื อ งสู ง เป็ นแหล่ ง
ท่องเทียว ปั จจัยต่างๆ เหล่านีเป็ นรายได้สาํ คัญขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินไทยในปัจจุบนั
ในปั จจุ บนั องค์กรปกครองส่ วนท้องถินจํานวนมาก ไม่มีรายได้เป็ นของตนเอง
หรื อไม่ มี ร ายได้ที จัด เก็ บ เอง จึ ง ต้อ งอาศัย งบประมาณจากการอุ ด หนุ น ของรั ฐ บาล ซึ งเป็ น
งบประมาณที มักจะกําหนดเป้ าหมายหรื อวิธีก ารการใช้งบประมาณมาเบ็ดเสร็ จ ดังนันองค์ก ร
ปกครองส่ วนท้องถินทีไม่มีรายได้เป็ นของตนเองเพียงพอ จึงไม่สามารถกําหนดแผนพัฒนาชุมชน
ท้องถินทีสนองตอบต่อความต้องการของประชาชนในพืนทีได้อย่างแท้จริ ง
 
4. ปัญหาการกระจายอํานาจ
กระจายอํานาจอย่างสมบูรณ์ คือหัวใจสําคัญของการบรรลุวตั ถุประสงค์ของการ
กระจายอํานาจสู่ ทอ้ งถิน โดยรัฐต้องกระจายอํานาจใน 4 ประการหลักคือ
1. พืนที
2. บุคลากร
3. อํานาจและหน้าที
4. งบประมาณ
4.1 ปัญหาการกระจายพืนที
กระจายอํานาจให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินมีพืนทีปกครองเป็ นของตนเอง นัน
มี ความชัดเจน กล่าวคือองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นทุ กองค์การมีพืนทีปกครองเป็ นของตนเอง
ยกเว้นองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (อบจ.) ทีไม่มีความชัดเจนในพืนทีปกครอง เนื องจากพืนทีทุก
พืนทีที อบจ. ปกครองนันเป็ นพืนทีทับซ้อนกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถินอืนในจังหวัด แต่ปัญหา
ของการกระจายพืนทีนันมีความสมบูรณ์ไม่ใช่เรื องของอาณาเขตการปกครอง แต่เป็ นปั ญหาพืนที
หลายๆ ส่ ว นในพื นที ปกครองไม่ ไ ด้รั บ การกระจายอํา นาจ เช่ น ถนนที ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ใ นความ
รับผิดชอบของกรมทางหลวงหรื อกรมทางหลวงชนบท แม่นาลํ ํ าคลอง รวมถึงแหล่งนําสาธารณะที
ส่ วนใหญ่อยูใ่ นความรับผิดชอบของกรมชลประทานและกรมเจ้าท่า ป่ าไม้ทีอยูใ่ นความรับผิดชอบ
ของกรมป่ าไม้ ทังนี ยังมีสาธารณู ปโภคขันพืนฐานสําคัญ เช่น ไฟฟ้ า ประปา โทรศัพท์ ทีไม่ได้อยู่
ภายใต้การบริ หารงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ น ซึ งส่ งผลต่อการพัฒนาชุ มชนท้องถิ นที
รับผิดชอบเป็ นอย่างมาก เนื องจากไม่สามารถดําเนิ นการในส่ วนทีเกียวข้องได้ง่าย เช่น การสร้าง
สะพานข้ามคลองจะต้องได้รับการอนุญาตจากกรมชลประทานก่อนถึงจะสร้างได้
4.2 ปัญหาการกระจายบุคลากร
กระจายอํานาจให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินมี บุคลากรเป็ นของตนเอง นันมี
ความชัดเจน กล่าวคือองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทุกองค์การสามารถสรรหาและบริ หารบุคลากร
ของตนเองได้ทุกตําแหน่ งทีพิจารณาผิวเผินดูเหมือนว่าจะเพียงพอต่อหน้าทีและความจําเป็ นในการ
บริ หารองค์การและพัฒนาชุมชนท้องถินได้ แต่ในความเป็ นจริ งแล้วองค์กรปกครองส่ วนท้องถินยัง
ไม่ได้รับการกระจายบุคลากรทังหมด และเป็ นบุคลากรทีทําหน้าทีดูแลความปลอดภัยทังชีวิตและ
ทรัพย์สินของประชาชนในพืนที คือ เจ้าทีตํารวจ ทียังขึนตรงกับส่ วนกลางและมีการบริ หารงาน
แบบรวมศูนย์อาํ นาจ ทําให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินทําหน้าทีนีได้ลาํ บาก
การทําหน้าทีดูแลความปลอดภัยทังชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพืนทีของ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน เป็ นหน้าทีทีขาดอํานาจ ดังนันแนวทางการแก้ไขแบบไม่มีทางเลือก
องค์กรปกครองส่ วนท้องถินจึงจัดตังอาสาสมัครป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน (อปพร.) เพือทําหน้าทีดูแล
 
ความปลอดภัยทังชี วิตและทรั พย์สินของประชาชนในพืนที แต่ทงนี ั ทังนัน อปพร.นันก็ไม่ ได้มี
อํานาจเพียงพอต่อการทําหน้าทีเฉกเช่นเดียวกันกับเจ้าหน้าทีตํารวจ
4.3 ปัญหาการกระจายงบประมาณ
การกระจายงบประมาณให้กบั องค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีมากพอต่อการบริ หาร
องค์การและพัฒนาชุมชนท้องถินให้ดีขึน หากพิจารณางบประมาณทีองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
ได้รับอุดหนุนจากรัฐบาลนันยังไม่มีความเท่าเทียมและเป็ นธรรม เนืองจากงบประมาณทีได้รับนันมี
ความแตกต่างกันมาก โดยเฉพาะงบอุดหนุ นเฉพาะกิจ โดยองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีมีความ
ใกล้ชิดหรื อเป็ นขัวการเมืองเดียวกันกับพรรครัฐบาลน่าจะได้รับการจัดสรรมากกว่าองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินทีมี สส.ฝ่ ายตรงข้ามรัฐบาลเป็ นเจ้าของพืนทีนันอยู่
งบประมาณที องค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ นสามารถจัด เก็บ ได้เองนันขึ นอยู่กบั
อํานาจทีระบุไว้ในกฎหมาย และนโยบายของรัฐทีจะกระจายแหล่งรายได้ให้องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถินจัดเก็บเองเพิมขึนหรื อไม่ ซึ งในปั จจุบนั ยังมีแหล่งรายได้หลายๆ ประเภททีรัฐจัดเก็บเอง
แล้วจัดสรรคืนให้ทอ้ งถินตามเงือนไขหรื อระเบียบทีกําหนดขึน ภาษีการทําธุ รกรรมเกียวกับทีดิน
และอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นต้น
4.4. ปัญหาการกระจายอํานาจและหน้ าที
กระจายหน้าทีให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินมีหน้าทีรั บผิดชอบพืนทีปกครอง
เป็ นของตนเอง นันมีความชัดเจนในกฎหมายเฉพาะขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน และกฎหมาย
การกระจายอํานาจ แต่กระจายอํานาจนันยังไม่ครอบคลุมหน้าทีหรื อภารกิจทีต้องดําเนิ นการ เช่ น
การทํา หน้า ที ดู แ ลความปลอดภัย ทังชี วิ ต และทรั พ ย์สิ น ของประชาชนในพื นที การดู แ ลรั ก ษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม การดูแลสาธารณูปโภคขันพืนฐานต่างๆ ในพืนที ทีต้องอาศัย
อํานาจในการดําเนินการ
หน้าที ให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นตาม พรบ.แผนและขันตอนการกระจาย
อํา นาจให้อ งค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ น พ.ศ.2542 กํา หนดให้อ งค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ นทุ ก
ประเภท มีหน้าที 31 ประการ โดยไม่ได้บงั คับให้ทาํ ทุกข้อ ขึนอยู่กบั ความพร้อมขององค์การ แต่
หน้าทีหลายๆ ประการใน 31 ข้อนัน องค์กรปกครองส่ วนท้องถินไม่มีอาํ นาจหรื อไม่ได้เป็ นเจ้าของ
พืนทีหรื อทรัพยากร ทําให้ไม่สามารถทําหน้าทีนันได้

5. ปัญหาทางการเมือง
การเมืองท้องถินส่ วนใหญ่เป็ นการเมืองขนาดเล็ก ทําให้ผทู ้ ีอาสาหรื อรับสมัครเข้า
มาบริ ห ารองค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ น นันมี ค วามชัด เจนทางการเมื อ งว่ า จะมี แ นวทางหรื อ มี
แนวนโยบายอย่างไรในการพัฒนาชุมชนท้องถิน ทังนีนักการเมืองนันต้องไม่พึงพาการเมืองหรื ออิง
กับการเมื องระดับชาติ มากเกิ นไป นักการเมื องท้องถิ น เมื อได้รับโอกาสเข้าไปบริ หารองค์การ
 
เพือให้มีผลงานเป็ นทีประจักษ์ จึงต้องดําเนิ นการตามแนวทางหรื อแนวนโยบายทีเคยให้ไว้ในตอน
หาเสี ยง เพราะนันคือนโยบายทีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพืนที จึงได้รับการ
เลือกตังเข้ามาเป็ นผูบ้ ริ หารองค์การ แต่การเมืองท้องถินก็ไม่ได้ปราศจากการแทรกแซงจากการเมือง
ระดับชาติได้ ส่ งผลต่อการบริ หารทีไม่อาจทําตามแนวทางหรื อแนวนโยบายทีเคยให้กบั ประชาชน
ไว้ในตอนหาเสี ยงได้
การแทรกแซงการเมื อ งท้อ งถิ นของการเมื อ งระดับ ชาติ เป็ นปั ญ หาที หลายๆ
พื นที ต้อ งประสบปั ญ หานี เนื องจากสาเหตุ สํา คัญ คื อ นัก การเมื อ งท้อ งถิ นเป็ นกลุ่ ม เดี ย วกัน กับ
นักการเมืองระดับชาติ หรื ออีกสาเหตุหนึงคือองค์กรปกครองส่ วนท้องถินเองไม่มีศกั ยภาพเพียงพอ
ต่ อ การบริ ห ารเพื อพัฒ นาท้อ งถิ น เช่ น การขาดงบประมาณ ไม่ มี ร ายได้ที จัด เก็ บ เองมากพอ
จําเป็ นต้องอาศัยเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็ นหลัก ทําให้ตอ้ งพึงนักการเมืองระดับชาติ และองค์การ
บริ หารส่ วนจังหวัด (อบจ.) ทีสามารถจัดสรรงบประมาณเพิมเติมให้กบั องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
ทีมีปัญหาได้ แต่การให้ของนักการเมืองระดับชาติ และ อบจ. นันส่ วนใหญ่ไม่ได้เป็ นการให้เปล่า
อย่างน้อยทีสุ ดก็คือการมุ่งหวังฐานเสี ยงทางการเมืองและความนิยม ทีมีส่งผลต่อการเลือกตัง
6. ปัญหาการขาดจิตสาธารณะประชาชน
การกระจายอํานาจ คือ การมอบอํานาจให้ประชาชนในพืนทีนันได้พฒั นาตนเอง
และชุมชนท้องถินด้วยตนเอง ด้วยการเลือกฝ่ ายบริ หารมาเป็ นตัวแทนในการดําเนิ นการ จากนิ ยาม
ดังกล่าวจะพบว่า ประชาชนคือหลักหรื อกลไกสําคัญในการขับเคลือนองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
ให้สามารถพัฒนาชุมชนท้องถินให้เจริ ญรุ่ งเรื อง ประชาชนในพืนทีอยู่ดีมีสุขได้นนั ประชาชนใน
พื นที ต้อ งให้ค วามสํา คัญ กับ สาธารณประโยชน์ แ ละสั ง คมส่ ว นรวมของชุ ม ชน หรื อ ที เรี ย กว่ า
“จิตสาธารณะ” ซึ งสะท้อนได้จากหลายๆ พืนทีทีประชาชนส่ วนใหญ่ในชุมชนมีจิตสาธารณะ
คํานึงถึงประโยชน์ของสังคมส่ วนรวม จนกล่าวได้วา่ ชุมชนนันเป็ นชุมชนเข้มแข็ง
การขาดจิตสาธารณะประชาชน มีปัจจัยทีเป็ นสาเหตุหลายประการ เช่น ลักษณะ
ของชุมชน วัฒนธรรมของชุมชน ระดับการศึกษาของประชาชน การเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้เข้า
มามีส่วนร่ วมขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน ฯลฯ ซึงชุมชนเมืองคือตัวอย่างพืนทีทีประชาชนขาด
จิตสาธารณะมากกว่าชนบท ประชาชนส่ วนใหญ่ในชุ มชนเมืองจะไม่ค่อยให้ความสําคัญกับการ
เลือกตังของท้องถินมากนัก เช่น การเลือก สก. และ สข.ของกรุ งเทพมหานครในแต่ละครังมีผทู ้ ีมา
ใช้สิทธิเลือกตังน้อยกว่า 50 เปอร์เซ็นต์เกือบทุกครังและเกือบทุกพืนที

7. ปัญหาการควบคุมจากรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๑๔ การปกครอง
ส่ วนท้องถิน มาตรา ๒๘๑ ภายใต้บงั คับมาตรา ๑ รัฐจะต้องให้ความเป็ นอิสระแก่องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินตามหลักแห่ งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิน และส่ งเสริ ม
 
ให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินเป็ นหน่วยงานหลักในการจัดทําบริ การสาธารณะ และมีส่วนร่ วมใน
การ ตัดสิ นใจแก้ไขปั ญหาในพืนทีท้องถินใดมีลกั ษณะทีจะปกครองตนเองได้ ย่อมมีสิทธิจดั ตังเป็ น
องค์กรปกครอง ส่ วนท้องถิน ทังนี ตามทีกฎหมายบัญญัติ
มาตรา ๒๘๒ การกํากับดูแลองค์กรปกครองส่ วนท้องถินต้องทําเท่าทีจําเป็ นและ
มีหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือนไขทีชัดเจนสอดคล้องและเหมาะสมกับรู ปแบบขององค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิน ทังนี ตามทีกฎหมายบัญญัติ โดยต้องเป็ นไปเพือการคุม้ ครองประโยชน์ของประชาชน
ในท้องถินหรื อประโยชน์ของประเทศเป็ นส่ วนรวม และจะกระทบถึ งสาระสําคัญแห่ งหลักการ
ปกครอง ตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิน หรื อนอกเหนื อจากทีกฎหมายบัญญัติไว้
มิได้
ในการกํากับดูแลตามวรรคหนึ ง ให้มีการกําหนดมาตรฐานกลางเพือเป็ นแนวทาง
ให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินเลือกไปปฏิบตั ิได้เอง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและความแตกต่าง
ในระดับของการพัฒนาและประสิ ทธิ ภาพในการบริ หารขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินในแต่ละ
รู ปแบบ โดยไม่กระทบต่อความสามารถในการตัดสิ นใจดําเนิ นงานตามความต้องการขององค์กร
ปกครอง ส่ วนท้องถิน รวมทังจัดให้มีกลไกการตรวจสอบการดําเนินงานโดยประชาชนเป็ นหลัก
มาตรา ๒๘๓ องค์กรปกครองส่ วนท้องถินย่อมมีอาํ นาจหน้าทีโดยทัวไปในการ
ดูแล และจัดทําบริ การสาธารณะเพือประโยชน์ของประชาชนในท้องถิน และย่อมมีความเป็ นอิสระ
ในการกําหนดนโยบาย การบริ หาร การจัดบริ การสาธารณะ การบริ หารงานบุคคล การเงินและการ
คลัง และมี อาํ นาจหน้าที ของตนเองโดยเฉพาะต้องคํานึ งถึ งความสอดคล้องกับการพัฒนาของ
จังหวัด และประเทศเป็ นส่ วนรวมด้วย
องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ นย่อ มได้รั บ การส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ น ให้มี ค วาม
เข้มแข็งในการบริ หารงานได้โดยอิสระและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถินได้
อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ สามารถพัฒนาระบบการคลังท้องถินให้จดั บริ การสาธารณะได้โดยครบถ้วน
ตามอํานาจ หน้าที จัดตังหรื อร่ วมกันจัดตังองค์การเพือการจัดทําบริ การสาธารณะตามอํานาจหน้าที
เพือให้เกิด ความคุม้ ค่าเป็ นประโยชน์ และให้บริ การประชาชนอย่างทัวถึง
ให้มีกฎหมายกําหนดแผนและขันตอนการกระจายอํานาจ เพือกําหนดการแบ่ง
อํานาจ หน้าที และจัดสรรรายได้ระหว่างราชการส่ วนกลางและราชการส่ วนภูมิภาคกับองค์ก ร
ปกครองส่ วนท้องถิน และระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถินด้วยกันเอง โดยคํานึ งถึงการกระจาย
อํานาจเพิมขึนตามระดับ ความสามารถขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินแต่ละรู ปแบบ รวมทัง
กําหนดระบบตรวจสอบและประเมินผล โดยมีคณะกรรมการประกอบด้วยผูแ้ ทนหน่ วยราชการที
เกี ยวข้อ ง ผู ้แ ทนองค์ก รปกครอง ส่ ว นท้อ งถิ น และผูท้ รงคุ ณ วุ ฒิ โดยมี จ ํา นวนเท่ า กัน เป็ น
ผูด้ าํ เนินการให้เป็ นไปตามกฎหมาย
 
ให้มีกฎหมายรายได้ทอ้ งถิน เพือกําหนดอํานาจหน้าทีในการจัดเก็บภาษีและรายได้
อืน ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน โดยมีหลักเกณฑ์ทีเหมาะสมตามลักษณะของภาษีแต่ละชนิ ด
การจัดสรร ทรั พยากรในภาครั ฐ การมี รายได้ทีเพียงพอกับรายจ่ ายตามอํานาจหน้าทีขององค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ น ทังนี โดยคํานึ งถึ งระดับขันการพัฒนาทางเศรษฐกิ จของท้องถิ น สถานะ
ทางการคลังขององค์กรปกครอง ส่ วนท้องถิน และความยังยืนทางการคลังของรัฐ
ในกรณี ทีมีการกําหนดอํานาจหน้าทีและการจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินแล้ว คณะกรรมการตามวรรคสามจะต้องนําเรื องดังกล่าวมาพิจารณาทบทวนใหม่ทุก
ระยะ เวลาไม่เกินห้าปี เพือพิจารณาถึงความเหมาะสมของการกําหนดอํานาจหน้าที และการจัดสรร
รายได้ ทีได้กระทําไปแล้ว ทังนี ต้องคํานึ งถึงการกระจายอํานาจเพิมขึนให้แก่องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิน เป็ นสําคัญ
จากเนื อหาของรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เกียวกับ
การกํากับดูแล และการส่ งเสริ มองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน จะพบว่า มีเนือหาทีแสดงเจตนารมณ์วา่
ต้องการให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินมีความเป็ นอิสระทางการบริ หารมากทีสุ ด รัฐหรื อหน่วยงาน
ภาครั ฐการกํากับดู แลองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นเท่าที จําเป็ น และ เน้นการส่ งเสริ มให้องค์กร
ปกครองส่ ว นท้อ งถิ นมี ค วามรู ้ ค วามสามารถทางการบริ ห ารเพิ มขึ นเรื อย จนกระทังสามารถ
ดําเนินการได้เองโดยพึงพารัฐน้อยทีสุ ด แต่หน่วยงานภาครัฐทีได้รับมอบหมายให้ทาํ หน้าทีส่ งเสริ ม
และกํากับดูแลองค์กรปกครองส่ วนท้องถินนันให้ความสําคัญกับการส่ งเสริ มหรื อการกํากับดูแล
มากกว่ากัน ให้ความไว้วางใจและความเป็ นอิสระในการบริ หารจัดการขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถินมากน้อยแค่ไหน
สัดส่ วนของส่ งเสริ มและการกํากับดูแลองค์กรปกครองส่ วนท้องถินของหน่วยงาน
ทีรับผิดชอบ คือ กรมส่ งเสริ มการปกครองส่ วนท้องถิน พบว่า ยังให้ความสําคัญกับการกํากับดูแล
มากกว่าการส่ งเสริ ม ส่ วนหนึ งคือยังมองว่าองค์กรปกครองส่ วนท้องถินนันยังไม่มีความพร้อม และ
ยังไม่ สามารถไว้วางใจได้ ส่ งผลทําให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นขาดความเป็ นอิ สระ และมี
พัฒนาการขีดความสามารถค่อนข้างช้า ดังนันกรมส่ งเสริ มการปกครองส่ วนท้องถินจึงควรทําหน้าที
ส่ ง เสริ ม มากขึ น ทํา หน้า ที เป็ นพี เลี ยงมากกว่าผูก้ าํ กับ จึ ง จะทําให้อ งค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ น
สามารถดําเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์สาํ คัญของการกระจายอํานาจคือ สามารถสนองตอบต่อความ
ต้องการของคนในพืนทีได้มากทีสุ ด

8. ปัญหาการบริหารและการจัดการขาดหลักธรรมาภิบาล
ธรรมาภิ บาล (good governance) คือ การปกครอง การบริ หาร การจัดการ
การควบคุมดูแล กิจการต่าง ๆ ให้เป็ นไปในครรลองคลองธรรม นอกจากนี ยังหมายถึงการบริ หาร
จัดการทีดี ซึงสามารถนําไปใช้ได้ทงภาครั
ั ฐและเอกชน ธรรมทีใช้ในการบริ หารงานนี มีความหมาย
 
อย่างกว้าง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเท่ านัน แต่ รวมถึ ง ศี ลธรรม
คุณธรรม จริ ยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมทังปวง ซึ งวิญ ูชนพึงมีและพึงประพฤติปฏิบตั ิ
อาทิ ความโปร่ งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็ นต้น
สําหรับประเทศไทยได้นาํ หลักธรรมาภิบาล มาใช้โดยกําหนดเป็ น พ.ร.ก.
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริ หารกิจการบ้านเมืองทีดี พ.ศ.2546 มาตรา 6 บัญญัติไว้ คือ
1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิ ทธิภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีขนตอนการปฏิ
ั บตั ิงานเกินความจําเป็ น
5. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่ วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์
6. ประชาชนได้รับความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสมําเสมอ
นอกจากนี ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริ หารกิจการบ้านเมือง
และสังคมทีดี พ.ศ. 2542 ระบุวา่ ธรรมาภิบาลมีองค์ประกอบ 6 ประกอบ คือ
1.หลักนิ ติธรรม ได้แก่ การตรากฏหมาย กฎ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้ทนั สมัยและเป็ นธรรม
เป็ นทียอมรับของสังคม ไม่เลือกปฏิบตั ิ และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบตั ิตามกฎหมายและกฎ
ข้อบังคับเหล่านัน โดยถือว่าเป็ นการปกครองภายใต้กฎหมายมิใช่ตามอําเภอใจ หรื อตามอํานาจของ
ตัวบุคคล
2.หลักความโปร่ งใส ได้แก่ การสร้างความไว้วางใจซึ งกัน โดยมีการให้และการรับ
ข้อมูลทีสะดวกเป็ นจริ ง ทันการณ์ ตรงไปตรงมา มีทีมาทีไปทีชัดเจนและเท่าเทียมมีกระบวนการ
ตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้
3. หลักการมีส่วนร่ วม ได้แก่ การเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่ วมรับรู ้ และร่ วมคิด
ร่ วมเสนอความเห็นในการตัดสิ นใจปั ญหาสําคัญของประเทศ ในด้านต่าง ๆ เช่น การแจ้งความเห็น
การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ นอกจากนี ยังรวมไปถึงการร่ วม
ตรวจสอบ และร่ วมรับผิดชอบต่อผลของการกระทํานัน
4. หลักความรับผิดชอบตรวจสอบได้ ได้แก่ ความรับผิดชอบทีตรวจสอบได้เป็ นการ
สร้างกลไกให้มีผรู ้ ับผิดชอบ ตระหนักในหน้าที ความสํานึ กในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ ใจ
ปั ญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรื อร้นในการแก้ปัญหาตลอดจนการเคารพในความ
คิดเห็นทีแตกต่างและความกล้าทีจะยอมรับผลจากการกระทําของตน
5.หลัก ความคุ ้ม ค่ า ได้แ ก่ การบริ ห ารจัด การและการใช้ท รั พ ยากรที มี จ ํา กัด ให้ เ กิ ด
ประโยชน์คุม้ ค่า เพือให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ส่วนรวม
 
6. หลักคุณธรรม ได้แก่ การยึดมันในความถูกต้องดีงาม สํานึ กในหน้าทีของตนเอง มี
ความซือสัตย์สุจริ ต จริ งใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินยั และเคารพในสิ ทธิของผูอ้ ืน
การบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินไทย ทีผ่านมาหากยึดหลัก
ธรรมาภิ บาล จะส่ งเสริ มให้การกระจายอํานาจบรรลุวตั ถุประสงค์ได้เร็ วยิงขึน แต่ธรรมชาติของ
การเมืองไม่ว่าจะเป็ นระดับท้องถินหรื อระดับชาติ มักจะเกียวข้องกับผลประโยชน์เสมอ ทังทีเป็ น
ประโยชน์ส่วนตนและกลุ่ มผลประโยชน์ทีสนับสนุ นทางการเมื อง ดังนัน การบริ หารและการ
จัดการขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินส่ วนใหญ่จึงขาดความโปร่ งใส และไม่ตอ้ งการให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่ วมในขันตอนทีไม่ตอ้ งให้เข้าร่ วม เช่นการตรวจสอบการดําเนินการ โดยเฉพาะการใช้
จ่ ายงบประมาณขององค์การ ทําให้ระเบี ยบสํานักนายกรั ฐมนตรี ว่าด้วยการสร้ างระบบบริ หาร
กิจการบ้านเมืองและสังคมทีดี พ.ศ. 2542 ทีหน่วยงานราชการและองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทุก
แห่ งต้องนําไปปฏิบตั ิ เป็ นพียงหลักการในอุดมคติมากกว่าทีจะนําไปใช้ได้จริ ง หากนักการเมืองยัง
มุ่งหวังทีจะเล่นการเมืองเพือแสวงหาอํานาจและผลประโยชน์ให้กบั ตนเองและพวกตนมากกว่า
ประโยชน์สุขของประชาชน

แนวทางการแก้ ไขปัญหาและอุปสรรค

การกระจายอํานาจการปกครองของไทย อาจจะกล่ า วได้ว่า เริ มต้นพร้ อมๆกับ การ


เปลี ยนระบอบการปกครองไทย พ.ศ. 2475 โดยการปกครองส่ ว นท้องถิ นเกิ ด ขึ น คื อ เทศบาล
ในปี พ.ศ. 2476 พร้อมๆกับมีองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดทียังไม่มีไม่มีองค์ประกอบของหลักการ
บริ หารส่ วนท้องถินมากเหมือนในปั จจุบนั แม้ว่าการปกครองส่ วนท้องถินไทยจะก่อตังมายาวนาน
เกือบ 80 ปี แล้วแต่พฒั นาการความเป็ นองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน ตามหลักทฤษฎีการกระจาย
อํานาจนันถือได้วา่ ล่าช้ามาก เนืองจากปัจจัยทีเป็ นปัญหาอุปสรรคต่างๆ ดังนัน แนวทางหรื อเงือนไข
สู่ความสําเร็ จของการปกครองท้องถินไทยทีผูเ้ ขียนเสนอมีดงั นี

1.ส่ งเสริมให้ ประชาชนมีความรู้ความเข้ าใจความสํ าคัญของการกระจายอํานาจ


80 ปี ทีประเทศไทยมีการกระจายอํานาจให้มีการปกครองส่ วนท้องถินในรู ปแบบของ
เทศบาล แต่เทศบาลนันครอบคลุมพืนทีเฉพาะในเมืองเท่านัน จนกระทังมี พรบ. องค์การบริ หาร
ส่ วนตําบล พ.ศ.2537 เป็ นต้นมาประเทศไทย จึงได้มีการกระจายอํานาจทีครอบคลุมทุกพืนทีของ
ประเทศไทย ซึ งผ่านมาเกือบ 20 ปี แล้วนันหมายความว่าประชาชนคนไทยทังประเทศน่ าจะเรี ยนรู ้
และเข้าใจถึงความสําคัญของการกระจายอํานาจ เข้าใจบทบาทขององค์การปกครองส่ วนท้องถิน
มากขึน แต่ในความเป็ นจริ งประชาชนในพืนทีต่างกันจะมีการเรี ยนรู ้และเข้าใจได้ไม่เท่ากัน ขึนอยู่
 
กับปั จจัยส่ งเสริ มหลายประเภทๆ เช่ น การเปิ ดโอกาสด้านการมีส่วนร่ วม ลักษณะทางการเมือง
ท้องถิ นและการแทรกแซงของการเมื องระดับชาติ ความเป็ นอิ สระทางการบริ หารขององค์ก ร
ปกครองส่ วนท้องถินเป็ นต้น ปั จจัยต่างๆเหล่านี ล้วนส่ งผลต่อพัฒนาการปกครองท้องถินไทยในแต่
ละพืนทีทีแตกต่างกันแต่ปัจจัยทีสําคัญทีสุ ดประการหนึงคือ ความรู ้ความเข้าใจของประชาชนทีมีต่อ
การกระจายอํานาจเห็นถึงความสําคัญและประโยชน์ทีจะได้รับทังต่อชุมชนท้องถิน และประโยชน์
ส่ วนตน
พืนฐานทางการศึกษาของประชาชาในชุมชน จะส่ งผลทําให้เข้าใจถึงความสําคัญของ
การกระจายอํานาจได้ถูกต้อง และเร็ วยิงขึนหากในพืนทีใด ประชาชนส่ วนใหญ่มีระดับการศึกษาที
สู งกว่าพืนทีอืนๆจะทําให้สามารถพัฒนารู ปแบบการปกครองส่ วนท้องถินให้บรรลุวตั ถุประสงค์ได้
ง่ายกว่าดังนันรัฐบาลนอกจากจะให้ประชาชนในพืนทีทีเรี ยนรู ้การปกครองท้องถินด้วยตนเองแล้ว
การยกระดับค่าเฉลี ยพืนฐานด้านการศึกษาของประชาชนโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนรุ่ นใหม่ให้
สูงขึน จะเป็ นการส่ งเสริ มการกระจายอํานาจให้บรรลุเป้ าหมายได้เร็ วและยังยืน
ความรู ้ ค วามเข้า ใจต่ อ บทบาทและความสํา คัญ ของการปกครองส่ ว นท้อ งถิ นของ
ประชาชนทีเกิดจากการเรี ยนรู ้ดว้ ยประสบการณ์ของการปกครองส่ วนท้องถินไทยกว่า 80 ปี และ
การเรี ยนรู ้จากการศึกษาในระดับการศึกษาทีสู งขึน จะส่ งผลต่อการมีส่วนร่ วมของประชาชนต่อ
กระบวนการทางการเมืองท้องถิน และการบริ หารจัดการขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินในพืนที
ตนเองมากขึน ซึ งจะทําให้การเมืองท้องถินและการพัฒนาท้องถินขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
นัน เกิดประสิ ทธิผลและประสิ ทธิภาพอย่างแท้จริ ง

2.ส่ งเสริมให้ ประชาชนมีวฒ ั นธรรมการมีส่วนร่ วม


การมีส่วนร่ วมทังทางการเมืองการบริ หารและการจัดการเป็ นสิ งทีองค์การปกครอง
ส่ วนท้องถินและระบบราชการส่ วนใหญ่แสวงหาแต่ปัจจัยทีส่ งผลต่อการมีส่วนนันไม่ได้ขึนอยูก่ บั
การเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมเพียงอย่างเดียว สิ งทีองค์การบริ หารมักจะสงสัย คือ
ทําไมเปิ ดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่ วมแล้วประชาชนไม่เข้ามา หรื อเข้ามาก็ไม่ได้เกิดจากจิตสํานึกของ
การมี ส่ ว นร่ ว มที แท้จ ริ ง สาเหตุ สํา คัญ คื อ วัฒ นธรรมการมี ส่ ว นร่ ว มของคนไทยนันเป็ นแบบ
“ไพร่ ฟ้า” กล่าวคือจะสนใจรับรู ้แต่ไม่เข้ามาร่ วมปล่อยให้ฝ่ายปกครองเป็ นคนออกคําสัง ประชาชน
มีหน้าทีทําตามซึ งวัฒนธรรมดังกล่าว เป็ นอุปสรรคต่อการปกครองส่ วนท้องถินไทยเป็ นอย่างมาก
วัฒนธรรมการมีส่วนร่ วมแบบ “ไพร่ ฟ้า” ของประชาชนคนไทย เป็ นวัฒนธรรมทีสังสมมายาวนาน
เนื องจากคนไทยมีความเคยชินกับการถูกปกครองหรื อการสังให้ปฏิบตั ิมาตลอด ทังจากระบบการ
ปกครอง ระบบราชการรวมถึ งการบริ ห ารการพัฒนาที รั ฐเป็ นผูช้ ี นํามากกว่าที จะให้ประชาชน
ตัดสิ นใจมาโดยตลอด แม้แต่การปกครองส่ วนท้องถินทีต้องการมีส่วนร่ วมของประชาชนในพืนที
เป็ นอย่างมาก ก็ย งั ไม่ สามารถทําให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่ ว มด้วยจิ ตสํานึ กได้มากพอ ดังนัน
 
แนวทางการพัฒนาเพือให้การกระจายอํานาจของไทยบรรลุเป้ าหมาย ทีองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
มี บ ทบาทสํา คัญ ในการพัฒ นาชุ ม ชนท้อ งถิ นให้ เ จริ ญ ก้า วหน้า ที สํา คัญ ประการหนึ งก็ คื อ การ
ปรั บ เปลี ยนวัฒ นธรรมการมี ส่ ว นร่ วมแบบไพร่ ฟ้ า ให้ เ ป็ นการมี ส่ ว นร่ วมในรู ปแบบขอ
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่ วมทีเกิดจากจิตสํานึกของการมีส่วนร่ วมทีแท้จริ ง โดยการฝึ กปฏิบตั ิจาก
การเมืองขนาดเล็ก เช่น ประชาสังคม และการเมืองภาคประชาชน การสร้างจิตสํานึกของการมีส่วน
ร่ วมทางการเมือง การบริ หารและการจัดการ ด้วยการเริ มต้นจากการฝึ กปฏิบตั ิจากสถานการณ์จริ ง
ของคนในชุ ม ชนตามแนวทางประชาสัง คม จะนํา ไปสู่ ก ารมี ส่ว นร่ ว มในระดับท้อ งถิ นซึ งเป็ น
แนวทางประชาสังคม จะนําไปสู่ การมีส่วนร่ วมในระดับท้องถิน ซึ งเป็ นการเมืองขนาดเล็กทีอาจจะ
ยังไม่ถึงกับเป็ นการเมืองท้องถิน แต่เป็ นการเมืองภาคประชาชน จะส่ งผลต่อการมีส่วนร่ วมของ
ประชาชนต่อการเมืองท้องถิน และการบริ หารจัดการท้องถินด้วยและท้ายทีสุ ดนันจะส่ งผลดีต่อการ
มีส่วนร่ วมในการเมืองระดับชาติทีถูกต้องอย่างแท้จริ ง ไม่ได้เป็ นการมีส่วนร่ วมทีเห็นแตกต่างจน
นําไปสู่ ความแตกแยกและขัดแย้ง เพราะไม่เข้าใจถึงความสําคัญของการมีส่วนร่ วมทางการเมือง
และไม่ได้พฒั นามาจากการเมืองภาคประชาชนเคารพสิ ทธิ และการตัดสิ นใจของคนอืน และการ
คํานึงถึงหลักประชาชนโดยแท้จริ ง

3.ส่ งเสริมให้ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถินมีรายได้ เพียงพอต่ อการบริหารจัดการ


การจัดตังองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน มีองค์ประกอบสําคัญทีกฏหมายกําหนดไว้ 4
ประการ คือ (1) รายได้ (2) ความหนาแน่นของประชาชน (3) จํานวนประชากรและ(4) การได้รับ
ความยินยอมจากประชาชนในพืนที ซึงองค์องค์ประกอบหลักข้อหนึง คือ รายได้ที องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ นจัดเก็บเองที ไม่รวมเงิ นอุดหนุ นจากรั ฐบาล คือ ปั จจัยสําคัญที จะสะท้อนให้เห็ นถึ ง
สมรรถนะขององค์การปกครองส่ วนท้องถินนันๆ ว่าจะสามารถพัฒนาท้องถินของตนเองได้หรื อไม่
ดัง นันองค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ นที มี คุ ณ ลัก ษณะเหมาะสมจึ ง ต้อ งมี ร ายได้เ ป็ นของตนเองที
เพียงพอต่อการบริ หารและการจัดการ
รายได้จากการจัดเก็บเองขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นไม่รวมเงิ นอุ ดหนุ นของ
รั ฐบาล จะสะท้อนให้เห็ นถึ งขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นนันๆ เนื องจาก
สามารถกําหนดแผนนโยบายเพือพัฒนาท้องถินนันได้เอง ไม่ตอ้ งรองบประมาณหลังจากรัฐบาลที
อาจจะได้หรื อไม่ได้ก็เป็ นไปได้ ขึนอยู่กบั บริ บททางการเมืองทีมักจะจัดสรรผลประโยชน์ให้กบั
กลุ่มของคนมากกว่ากลุ่มอืนๆ ข้อบงชีทีจะทําให้เห็นว่าการจัดเก็บรายได้เองทีเพียงพอจะส่ งผลดี
ดังต่อไปนี
 
(1) สามารถวางแผนทังระยะสั นและระยะยาวในการพัฒนาท้ องถินได้
เนืองจากมีการประมาณการรายได้ขององค์การได้ค่อนข้างชัดเจนและใกล้เคียงจาก
ความเป็ นจริ งได้ ซึงต่างจากการขอเงินสนับสนุนจากรัฐบาลทีไม่มีความชัดเจนและแน่นอนว่าจะได้
หรื อไม่ หรื อจะได้เมือไหร่ หรื อได้มากพอทีจะดําเนินการตามทีร้องขอหรื อไม่
(2) ถูกครอบงําและแทรกแซงจากการเมืองระดับชาติน้อยลง
เนื องจากไม่ตอ้ งพึงพางบประมาณจากภาครัฐจะจัดสรรให้องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถินทีร้องขอมาแต่ส่วนใหญ่จะกระจายงบประมาณให้พืนทีองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีเป็ น
เป้ าหมายทางการเมืองระดับชาติมากกว่า หรื ออาจจะกล่าวได้ว่าเป็ นกลุ่มการเมืองเดี ยวกัน หรื อ
พืนทีทีเป็ นฐานทางการเมือง
(3) สนองตอบต่ อความต้ องการของประชาชนได้ มากขึน
การใช้งบประมาณทีมาจากรายได้จดั เก็บเองจะเป็ นการใช้จ่ายทีสามารถตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนในพืนทีได้มากกว่า เพราะผูบ้ ริ หารองค์กรปกครองส่ วนท้องถินจะ
สามารถกําหนดนโยบายได้เอง และมักจะต้องให้ตรงต่อความต้องการของประชาชนในพืนทีเพือให้
มีผลงานทีตรงใจประชาชนมากทีสุ ด ซึ งต่างจากการจัดสรรงบประมาณระดับชาติทีกระจายลงสู่
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นในลักษณะที เป็ นนโยบายเหมื อนกันทุกๆแห่ ง เป็ นการให้ทีไม่ ไ ด้
สอบถามความต้องการของท้องถิน ทําให้บางครังสิ งทีได้มาไม่ได้เป็ นประโยชน์ต่อท้องถินนันเลย

4.องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถินได้ รับการกระจายอํานาจทีเพียงพอ


หลักการกระจายอํานาจ องค์กรปกครองส่ วนท้องถินต้องได้รับการกระจายอํานาจที
เพียงพอต่อการบริ หารและจัดการเพือพัฒนาและบริ การสาธารณะได้ โดยรัฐต้องกระจายอํานาจใน
4 ด้านหลัก คือ (1) งบประมาณ (2) พืนที (3) บุคลากร (4) การบริ หารจัดการ
(1) งบประมาณ ตาม พรบ. แผนและขันตอนการกระจายอํานาจสู่ องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิน พ.ศ.2542 กําหนดไว้ว่ารัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน 30%
ภายในปี พ.ศ.2553 แต่เมือครบกําหนดรัฐบาลสามารถจัดสรรงบประมาณให้องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถินได้เพียง 20% เท่านันและมีแนวโน้มจะจัดสรรงบประมาณเพิมเติมให้องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถินในส่ วนทีไม่ได้เป็ นความต้องการของท้องถิน หรื อไม่ได้ร้องขอในรู ปแบบงบประมาณ ที
เป็ นเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ทีมาพร้อมกับการระบุรายละเอียดไว้ว่าต้องนําไปใช้หรื อจัดการอะไรได้
ตามทีรัฐบาลระบุดงั นันรัฐบาลจะต้องจัดสรรงบประมาณ ให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินให้มาก
ทีสุ ด และไม่ยดั เยียดงบประมาณทีใช้ประโยชน์ได้ไม่ตรงกับความต้องการของท้องถิน แต่ให้ไป
จัดการกันเองตามความต้องการและประโยชน์ต่อชุมชนท้องถินอย่างแท้จริ ง
 
(2) พืนที การกระจายอํานาจหลักการสําคัญประการหนึ ง คือ การให้พืนทีปกครองแก่
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน แต่ในปั จจุบนั นันแม้ว่าพืนทีโดยรวมจะอยู่ภายใต้การปกครองของ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ น แต่ยงั มีพืนที บางส่ วน ที ยังไม่ได้กระจายอํานาจหรื อยกให้องค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิน ได้มีอาํ นาจเบ็ดเสร็ จ หรื อเป็ นเจ้าของทีสามารถดูแลได้จริ ง ได้แก่ ถนน แม่นาํ
ลําคลอง ป่ าไม้ และทรัพยากรธรรมชาติอืนๆ พืนทีดังกล่าวข้างต้น คาดว่าจะมีจาํ นวนไม่มากแต่
ส่ งผลต่อการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินต่างๆ ส่ วนใหญ่จะเป็ นของกรม
ทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท เมือเกิดชํารุ ดต้องรอให้กรมทีเป็ นเจ้าของมาซ่อมแซม ซึ งจะช้า
หรื อเร็ ว นันองค์ก รปกครองส่ ว นท้องถิ นไม่ ส ามารถกํา หนดได้ แต่ เ มื อประชาชนเดื อ ดร้ อ นจะ
กล่าวโทษองค์กรปกครองส่ วนท้องถินของตน เพราะความไม่รู้ แต่หากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
จะดําเนิ นการซ่ อมแซมเองก็ตอ้ งได้รับอนุ ญาตจากกรมทีเป็ นเจ้าของถนนนันก่อน เช่นเดียวกันกับ
แม่นาํ ลําคลอง ป่ าไม้ ไฟฟ้ า โทรศัพท์ ประปา
ฯ ลฯ ล้วนไม่ได้ขึนตรงต่อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน หากจะดําเนิ นการใดๆก็ตามต้องได้รับ
ความยิน ยอมจากเจ้า ของก่ อ นทุ ก ครั ง ดัง นันรั ฐ บาลต้อ งพิ จ ารณาการกระจายอํา นาจพืนที และ
กิจกรรมต่างๆ ทีต้องอยูใ่ นพืนทีขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินให้มากขึน ทีทําให้องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินสามารถบริ หารและจัดการ เพือพัฒนาท้องถินของตนได้คล่องตัวยิงขึน และสนองตอบ
ต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริ ง
(3) บุคคล การกระจายอํานาจให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินของรัฐบาล ให้องค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิน สามารถจ้างพนักงานท้องถินเองได้ ภายใต้การเห็นชอบของคณะกรรมการ
พิจารณาของจังหวัด แต่ในบางตําแหน่ งและเป็ นตําแหน่ งที สําคัญ คือ ตําแหน่ งปลัดขององค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิน ซึ งส่ วนใหญ่เป็ นข้าราชการทีรัฐบาลคัดเลือกและส่ งไปให้ (ยกเว้นปลัดเมือง
พัทยาทีมาจากการว่าจ้าง) ส่ งผลต่อการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน ทียัง
มี รูปแบบของระบบราชการสู ง และถูกครอบงําและแทรกแซงจากส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค และ
นักการเมืองระดับชาติได้ง่าย ดังนันรัฐบาลควรพิจารณาให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินสามารถ
คัดเลือกและว่าจ้างข้าราชการและพนักงานท้องถินได้ทุกตําแหน่ง
องค์กรปกครองส่ วนท้องถินมีหน้าทีสําคัญประการหนึ งคือ การดูแลและป้ องกันภัย
ให้กบั ชุมชนในท้องถินทีปกครอง เป็ นหน้าทีของสํานักงานตํารวจแห่ งชาติในปั จจุบนั ซึ งแตกต่างๆ
จากหลายๆประเทศทีถ่ายโอนภารกิ จนี (พร้อมอํานาจ) ให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินทําให้การ
ดูแลและป้ องกันภัยของตํารวจท้องถินนันสามารถทําได้ดีกว่า เนื องจากมีการประเมินผลงานด้วย
ประชาชนในพืนทีและสามารถจ้างคนในพืนทีหรื อผูท้ ีเข้าใจบริ บทพืนทีได้ดีกว่ามาปฏิบตั ิงาน เพือ
ประโยชน์สุขแก่ประชาชนในพืนทีได้อย่างแท้จริ ง
(4) การบริ หารและการจัดการ การกระจายอํานาจการบริ หารและการจัดการให้องค์กร
ปกครองส่ วนท้องถินดําเนิ นการ นอกจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถินจะสามารถดําเนิ นการตาม
 
กฎหมายเฉพาะของตนเองแล้ว ยังสามารถดําเนิ นการตาม พรบ. แผนและขันตอนการกระจาย
อํานาจสู่ องค์กรปกครองส่ วนท้องถินได้อีก 31 ประการ แต่ในข้อเท็จจริ งแล้ว องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถินนันมีหน้าทีต้องดําเนิ นการ และอาจจะเลือกทําหรื อไม่ก็ได้นัน ส่ วนใหญ่นันไม่สามารถ
ดําเนิ นการได้ เนื องจากปั ญหาและอุปสรรคจากการกระจายอํานาจทีกระจายหน้าทีรับผิดชอบแต่
ไม่ให้อาํ นาจหน้าทีเพียงพอดังกล่าวมาแล้วใน 3 ข้อข้างต้น

5. การเมืองท้ องถินปราศจากการแทรกแซงจากการเมืองระดับชาติ
การทีจะทําให้การเมืองท้องถินปราศจากการแทรกแซงจากการเมืองระดับชาติได้นนั
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นต้องสามารถพึงตนเองได้ คื อต้องพัฒนาตนเองจนสามารถบริ หาร
จัดการองค์การและพัฒนาท้องถินตามความต้องการของประชาชน ในพืนทีได้โดยการพึงพารัฐหรื อ
นักการเมื องระดับชาติให้น้อยที สุ ด ทังการพัฒนาบุคลากรให้มีขีดความสามารถเพิมขึน จัดเก็บ
รายได้แ ละหารายได้เ พี ย งพอต่ อ การนํา ไปใช้บ ริ ห ารองค์ก ารและการพัฒ นาชุ ม ชนท้อ งถิ น
ทังนี รัฐบาลเองต้องมีความจริ งใจทีจะกระจายอํานาจและถ่ายโอนงานหรื อองค์การทีสามารถสร้าง
รายได้ให้กบั องค์กรปกครองส่ วนท้องถินได้มากขึน
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ นที พัฒนาตนเองจนสามารถบริ หารจัดการองค์การและ
พัฒ นาท้อ งถิ นตามความต้อ งการของประชาชนในพื นที ได้โ ดยไม่ จ ํา เป็ นต้อ งพึ งพารั ฐ หรื อ
นักการเมืองระดับชาติ จะทําให้การเมืองระดับชาติไม่สามารถแทรกแซงการเมืองท้องถินได้หาก
นักการเมืองท้องถินนันไม่เต็มใจทีจะให้นกั การเมืองระดับชาติแทรกแซงเอง ดังนันองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินทีต้องการให้องค์การปลอดการแทรกแซงจากการเมืองระดับชาติ และมีความเป็ นอิสระ
ในการบริ หารจัดการ จําเป็ นต้องดึ งตัวเองออกมาจากความเกียวข้องกับการเมืองระดับชาติให้ได้
ด้วยการพัฒนาองค์การให้พึงตนเองให้ได้

6. สร้ างและปลูกจิตสํ านึกให้ ประชาชนมีจิตสาธารณะและรักท้ องถิน


ด้วยหลักการสําคัญของการกระจายอํานาจ คือประชาชน ได้เลือกทีจะพัฒนาท้องถินที
ตนเองอาศัยอยู่ได้เอง นันคื อการคํานึ งถึ งประโยชน์ส่วนรวม และร่ วมกันดู แลรั กษาทรั พยากร
ส่ วนรวม ดันนันประชาชนในพืนทีจึงต้องมีจิตสาธารณะและรักษาท้องถินทีตนเองเกิดมาหรื ออาศัย
อยูด่ ว้ ยการกระทํา การเสนอแนะ การดูแลป้ องกัน และอืนๆ ทีเป็ นการพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากร
ท้องถินให้ควรอยู่ และเป็ นประโยชน์สูงสุ ดต่อท้องถิน
“ทรัพยากรท้องถิน”เป็ นสมบัติส่วนรวมทีทุกคนมีสิทธิ ทีจะใช้ประโยชน์ได้อย่างเสมอ
ภาค แต่การใช้ทรัพยากรส่ วนรวมมนุษย์ส่วนใหญ่จะรู ้จกั แต่ใช้และตักตวงผลประโยชน์มากกว่าที
จะดูแลรักษา ฟื นฟูหรื อใช้ประโยชน์อย่างคุม้ ค่าและประหยัด ตัวอย่างเช่นถนนหรื อคลองสาธารณะ
ประชาชนจะทิ งขยะหรื อ ระบายนําเสี ย จากบ้า นของตนเองโดยไม่ ไ ด้ส นใจว่ า เป็ นการทํา ลาย
 
ทรัพยากรส่ วนรวม แต่ไม่ยอมให้ขยะหรื อนําเสี ยนันอยูใ่ นบ้านของตนเองนานเกินไปเหมือนกับคน
มักง่ายทีกวาดขยะมากองไว้ทีถนนหน้าบ้านของตนเอง โดยไม่สนใจว่าจะมีใครมาเก็บ หรื อรสร้าง
ปัญหาให้กบั ชุมชนหรื อไม่
การสร้ า งจิ ต สํ า นึ ก ต่ อ สาธารณะและการทํา ให้ ป ระชาชนรั ก ท้อ งถิ นของตนเอง
ด้วยกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม (Socialization) จึงเป็ นแนวทางหนึ งทีรั ฐบาลและองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถินต้องให้ความสําคัญเพือให้การกระจายอํานาจนันบรรลุวตั ถุประสงค์ได้อย่าง
แท้จริ ง

7. หน่ วยงานภาครัฐให้ ความสํ าคัญกับการส่ งเสริมมากกว่ าควบคุม


นับตังแต่มีการกระจายอํานาจให้มีองค์กรปกครองส่ วนท้องถินครอบคลุมทัวประเทศ
ตาม พ.ร.บ.องค์การบริ หารส่ วนตําบล พ.ศ.2537 ในระยะแรกๆ นันมีปัญหาค่อนข้างมาก องค์กร
ปกครองส่ วนท้องถินหลายๆ แห่ งมีปัญหาเป็ นอย่างมาก มีการใช้ความรุ นแรงในการตัดสิ นปั ญหา
เป็ นข่าวหน้า 1 ของหนังสื อพิมพ์บ่อยๆ เนื องจากความไม่พร้อมของท้องถิน และผูบ้ ริ หารองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ นที ประชาชนเลื อกมานันมี ความสามารถไม่เพียงพอ รวมถึ งมี การแก่ งแย่ง
อํานาจและผลประโยชน์กนั เอง โดยไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของการกระจายอํานาจนันต้องการให้
ประชาชนแต่ละท้องถินได้กาํ หนดแนวทางในการพัฒนาตนเอง เป็ นการพัฒนาเพือส่ วนรวมไม่ใช่
เพือคนใดคนหนึงหรื อเฉพาะกลุ่มนักการเมือง ด้วยปั ญหาดังกล่าว รัฐบาลจึงได้ตงหน่
ั วยงานขึนมา
เพือกํากับดูแลการดําเนิ นงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ของการ
กระจายอํา นาจ คื อ กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้อ งถิ น ซึ งนอกจากจะทํา หน้า ที กํา กับ ดู แ ลการ
ดําเนินงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินแล้ว ภารกิจสําคัญของกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน
คือการส่ งเสริ มให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินสามารถบริ หารจัดการองค์การได้ดว้ ยตนเองได้อย่าง
ถูกต้องด้วยหลักธรรมาภิบาล เพือประโยชน์สุขของประชาชนในชุมชนท้องถินอย่างแท้จริ ง
หากนับถึงปั จจุบนั พ.ศ.2554 ประเทศไทยมีกระจายอํานาจเกื อบ 80 ปี และมีองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถินครอบคลุมทัวประเทศประมาณ 18 ปี แล้ว ประชาชนและนักการเมืองท้องถิน
นันมี การเรี ย นรู ้ แ ละเข้า ใจถึ งความสําคัญของการกระจายอํา นาจมากขึ น องค์กรปกครองส่ ว น
ท้องถินมีการพัฒนาขีดความสามารถเพิมขึนเรื อยๆ เพือให้สอดคล้องกับบริ บทขององค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถินในปั จจุบนั และเพือให้การกระจายอํานาจบรรลุวตั ถุประสงค์ได้เร็ วขึน กรมส่ งเสริ ม
การปกครองท้องถินต้องกําหนดแนวทางการดําเนิ นงานใหม่ ให้ตนเองเป็ นผูท้ ีทําหน้าทีส่ งเสริ ม
สนับสนุน และเป็ นพีเลียงคอยดูแลองค์กรปกครองส่ วนท้องถินมากกว่าการกํากับ โดยไม่กาํ กับหรื อ
กํากับดูแลให้น้อยน้อยทีสุ ดตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 2550 ในพืนทีทีองค์กรปกครองส่ วน
ท้องถินทีมีความมีคุณลักษณะพร้อมในการดําเนิ นงานด้วยตนเองตามหลักธรรมาภิบาล และค่อยๆ
ลดการกํากับ แต่เน้นการส่ งเสริ มในองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทียังไม่พร้อมในปั จจุบนั
 

8. ส่ งเสริมให้ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถินบริหารและการจัดการด้ วยหลักธรรมาภิบาล


หลักธรรมาภิบาล (good governance) คือ แนวทางสําคัญทีผูท้ ีทําหน้าทีปกครองต้องยึด
ไว้เป็ นหลักในการบริ หารจัดการองค์การปกครอง เพือประโยชน์สูงสุ ดของประชาชน ประเทศไทย
เองก็ให้ความสําคัญกับหลักธรรมาภิบาลนี จึงมีการแปรรู ประบบราชการ พ.ศ.2545 และกําหนด
หลักธรรมาภิบาลไว้ในสําหรับประเทศไทยได้นาํ หลักธรรมาภิบาล มาใช้โดยกําหนดเป็ น พ.ร.ก.
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริ หารกิจการบ้านเมืองทีดี พ.ศ.2546 และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่า
ด้วยการสร้างระบบบริ หารกิจการบ้านเมืองและสังคมทีดี พ.ศ. 2542 โดยบังคับใช้กบั หน่ วยงาน
ราชการและองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทุกประเภท แต่ทีผ่านมานันการบังคับใช้กฏหมายหรื อ
ระเบียบดังกล่าวยังไม่เห็ นเป็ นรู ปธรรมมากนักทังในหน่ วยงานราชการและองค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิน เนื องจากผูท้ ีเกียวข้องโดยตรง คือประชาชนไม่เข้ามามีส่วนร่ วมด้วยจิตสํานึ กอย่างแท้จริ ง
และองค์กรปกครองส่ วนท้องถินเองก็ไม่ได้เปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในขันตอน
สําคัญ เช่ น การตัดสิ นใจในนโยบาย ดังนันแนวทางแก้ไขให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถินบริ หาร
และการจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างแท้จริ ง รั ฐต้องสร้ างจิ ตสํานึ กให้ประชาชนรักท้องถิน
มีจิตสาธารณะ มีความรู ้ความเข้าใจเห็นถึงประโยชน์และความสําคัญของการกระจายอํานาจ ผ่าน
กระบวนการทางการเมือง เช่น การเมืองภาคประชาชนหรื อประชาสังคม จะทําให้ประชาชนกล้าที
จะเข้าไปมีส่วนร่ วมและตรวจสอบการดําเนิ นงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถินของตนเอง ที
องค์กรปกครองส่ วนท้องถินไม่สามารถปฏิเสธได้
 
ใบงานที 10 เรืองปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ ไขปัญหา

จงตอบคําถามต่ อไปนี

1. ปั ญหาและอุปสรรคมีอะไรบ้าง และแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ไขได้
อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
 
ภาคผนวก ฏ
แผนการเรียนการสอน
173

รายละเอียดของรายวิชาการจัดองค์ กรท้ องถิน


คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

หมวดที 1 ข้ อมูลโดยทัวไป

1. รหัสและชือวิชา
รหัสวิชา 2554103 ชือวิชา การจัดองค์ กรท้ องถิน
Local Organization Management
2. จํานวนหน่ วยกิต
เดิมกําหนดไว้ 3 หน่วยกิต 3 ชัวโมง ต่อสัปดาห์
ปั จจุบนั ได้กาํ หนดเป็ น ชัวโมงบรรยาย - ปฏิบตั ิ - ศึกษาด้วยตนเองต่อสัปดาห์
3 (3-0-6)
3. หลักสู ตรและประเภทของรายวิชา
ชือหลักสู ตร รัฐประศาสนศาสตร์บณั ฑิต
ประเภทของรายวิชา วิชาเลือก
4. อาจารย์ ผ้ ูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ ผู้สอน
อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบรายวิชา ดร.วัชริ นทร์ อินทพรหม
อาจารย์ผสู ้ อน ดร.วัชริ นทร์ อินทพรหม
5. ภาคการศึกษา/ชันปี ทีเรียน
ภาคการศึกษาที 3 ชันปี ที 1
6. รายวิชาทีต้ องเรียนมาก่ อน
2552101 การปกครองท้องถินไทย
7. รายวิชาทีต้ องเรียนพร้ อมกัน
-
8. สถานทีเรียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
9. วันทีจัดทําหรือปรับปรุ งรายละเอียดของรายวิชาครังล่ าสุ ด
เมษายน พ.ศ. 2553
174

หมวดที 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เมือเรี ยนรายวิชานีแล้วผูเ้ รี ยนสามารถ
1.1 มีความรู ้และความเข้าใจการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน
1.2 มีความรู ้และความเข้าใจการกําหนดโครงสร้างการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน
ทังองค์กรปกครองท้องถินขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
1.3 ประยุกต์ใช้เทคนิคการบริ หารและการจัดการ กับการดําเนินงานขององค์กรปกครองท้องถิน
1.4 วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และปัจจัยแวดล้อมทีส่ งผลกระทบต่อการบริ หารและการจัดการองค์กร
ปกครองท้องถิน
1.5 วิเคราะห์ทางเลือกในการแก้ปัญาการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถินได้อย่าง
เหมาะสม

2. วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา/ปรับปรุ งรายวิชา


การเปลียนแปลงทีสําคัญ คือ การเพิมกิจกรรมการเรี ยนการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญทีทําให้เกิด
การพัฒนาผลการเรี ยนรู ้ในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ความรู ้ ทักษะทางปั ญญา และทักษะการคิดวิเคราะห์ และ
เชือมโยงกันอย่างเป็ นระบบ

หมวดที 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1. คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกียวกับการจัดองค์กรทัวไปและองค์กรท้องถิน ทังด้านโครงสร้างองค์กร ด้านอํานาจ
หน้าที และด้านการบริ หารและการจัดการขององค์กรท้องถิน รวมถึงการนําเทคนิ คการบริ หารและการจัดการ
ต่างๆ ทีนํามาใช้ในการบริ หารและการจัดการองค์กร และการปฏิบตั ิงานตามอํานาจหน้าทีและพันธกิจขององค์กร
โดยเน้นองค์กรปกครองท้องถินไทย ทีมีรูปแบบหลากหลายและแตกต่างกัน และเป็ นองค์กรทีมีหน้าทีหลักในการ
พัฒนาท้องถิน รวมถึงปั ญหาและอุปสรรคของการจัดการองค์กรปกครองท้องถินไทยในปั จจุบนั และรู ปแบบ
โครงสร้างองค์กรและการจัดการองค์กรปกครองท้องถินไทยทีเหมาะสมในอนาคต
2. จํานวนชัวโมงทีใช้ ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริ ม การฝึ กปฏิบตั ิ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง
ภาคสนาม/การฝึ กงาน
45 ชัวโมง สอนเสริ มตามความต้องการ - ศึกษาด้วยตนเอง
ต่อภาคการศึกษา ของนักศึกษาเป็ นกลุ่ม 6 ชัวโมงต่อสัปดาห์
3. จํานวนชัวโมงต่ อสั ปดาห์ ทอาจารย์
ี ให้ คาํ ปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็ นรายบุคคล
3 ชัวโมง ต่อสัปดาห์
175

หมวดที 4 การพัฒนาการเรียนรู้ ของนักศึกษา

1. ข้ อสรุ ปสั นๆ เกียวกับความรู้ หรือทักษะทีรายวิชามุ่งหวังทีจะพัฒนานักศึกษา


นักศึกษามีความรู ้และความเข้าใจในการจัดองค์กรทัวไปและองค์กรท้องถิน การบริ หารและการจัดการ
ขององค์กรปกครองท้องถิน การกําหนดโครงสร้างการบริ หารขององค์กรปกครองท้องถิน ทังองค์กรปกครอง
ท้องถินขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยนักศึกษามีเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้เทคนิ คการบริ หาร
การจัดการในการดําเนิ นงานขององค์กรปกครองท้องถินได้ รวมถึงการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และปั จจัย
แวดล้อมทีส่ งผลกระทบต่อการบริ หารและการจัดการองค์กรปกครองท้องถิน เพือแสวงหาแนวทางในการพัฒนา
องค์กรปกครองท้องถินทีมีประสิ ทธิผล
นักศึกษามีทกั ษะในการวิเคราะห์การบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน ทีทําให้เห็น
ปั ญหาและอุปสรรค และปั จจัยแวดล้อมทีส่ งผลกระทบต่อการบริ หารและการจัดการ โดยใช้ความรู ้ในรายวิชา
เช่น เทคนิคการบริ หารและการจัดการทีทันสมัยมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา และการพัฒนาการบริ หารและการ
จัดการองค์กรปกครองท้องถิน ทีเชือมโยงกับการเมืองและการพัฒนาชุมชนท้องถิน
2. แนวการจัดการเรียนการสอน
การเรี ยนรู ้ในรายวิชานี นักศึกษาจะต้องรับผิดชอบการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง(Self–Directed Learning)
การเรี ยนรู ้เกิดจากการศึกษาค้นคว้านอกห้องเรี ยนด้วยตนเองเป็ นส่ วนใหญ่ หน้าทีผูส้ อนจะเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวก
ให้นกั ศึกษาเกิดการเรี ยนรู ้ตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
งานทีมอบหมายให้นกั ศึกษาทําในวิชานี เป็ นทังการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารตํารา สื อสิ งพิมพ์ และ
สื ออิเล็กทรอนิ กส์ เพือนําข้อความรู ้มาวิเคราะห์ อภิปราย และแก้ปัญหาตามประเด็นทีมอบหมายไว้ในแต่ละบท
รายชือหนังสื อและสื อค้นคว้าเป็ นเพียงตัวอย่างเท่านัน นักศึกษาสามารถค้นคว้าจากเอกสาร ตํารา และสื ออืน ๆ ได้
อย่างหลากหลาย เพือให้ได้แนวคิดทีแตกต่างกันสําหรับการนําเสนอข้อคิดเห็นในชันเรี ยน

3. การวัดและประเมินผล
3.1 การวัดผลระหว่างเรี ยน 30 คะแนน ดังนี
3.1.1 กิจกรรมในชันเรี ยน คุณธรรม จริ ยธรรม 10 คะแนน
3.1.2 รายงานเดียว 10 คะแนน
3.1.3 รายงานกลุ่ม 10 คะแนน
3.2 การสอบกลางภาค 30 คะแนน
3.3 การสอบปลายภาค 40 คะแนน

1. การพัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริ ยธรรมทีต้องบการพัฒนา
1.1.1 การมีวนิ ยั ในตนเอง
176

1.1.2 มีความซือสัตย์ สุ จริ ต


1.1.3 การจัดการปั ญหาทางคุณธรรม จริ ยธรรม
1.1.4 เป็ นแบบอย่างและเป็ นผูน้ าํ ในความกล้าหาญทางจริ ยธรรม
1.2 วิธีสอน
การปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม ใช้วิธีการ ดังนี
1.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างกรณี ศึกษาปัญหาคุณธรรม จริ ยธรรมของสังคม
1.2.2 อภิปรายกลุ่มเพือวิเคราะห์ปัญหาตามข้อ 1
1.2.3 ศึกษากรณี ตวั อย่าง
1.2.4 เน้นสอนแบบเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
1.3 วิธีการประเมินผล
กระบวนการประเมิน ประเมินโดยการสังเกต การจดบันทึกโดยการกําหนดเงือนไขการเรี ยน และตกลง
กับผูเ้ รี ยนในชัวโมงแรกของการสอน เป็ นการทําสัญญาร่ วมกันระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รี ยน และใช้เป็ นเกณฑ์การ
ประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม ในรายวิชา โดยกําหนดคะแนนด้านคุณธรรม จริ ยธรรมไว้ 10 คะแนน เงือนไขการ
เรี ยนทีแสดงถึงคุณธรรม จริ ยธรรมมีดงั นี
1.3.1 เข้าห้องเรี ยนให้ตรงเวลา ผูส้ อนอนุญาตให้นกั ศึกษาเข้าห้องช้าได้ ไม่เกิน 15 นาที จากนันถือว่าเข้า
ชันเรี ยนสาย
1.3.2 เมือเข้าห้องเรี ยนทุกครัง ให้นกั ศึกษาขานชือเข้าชันเรี ยนตามใบรายชือ ในทุกชัวโมง หากนักศึกษา
ไม่ได้ขานชือ จะถือว่าขาดเรี ยนเพราะไม่มีหลักฐานการเข้าชันเรี ยน
1.3.3 การขาดเรี ยน นักศึกษามีสิทธิขาดเรี ยนได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของเวลาเรี ยนทังหมด หากขาดเรี ยน
มากกว่านี นักศึกษาจะไม่มีสิทธิเข้าสอบปลายภาค และอาจารย์ผสู ้ อนจะให้นกั ศีกษาผูน้ นไปยื ั นคําร้องขอยกเลิก
รายวิชา โดยไม่ได้รับเงินคืน (ตามเวลาทีมหาวิทยาลัยกําหนด) ถ้านักศึกษาไม่ปฏิบตั ิตาม ผูส้ อนจะส่ งรายชือให้
ฝ่ ายทะเบียนเพือประกาศรายชือผูไ้ ม่มีสิทธิสอบ และการขาดเรี ยนทุกครังต้องมีใบลามาแสดงด้วย
1.3.4 การเข้าเรี ยนทุกครังนักศึกษาต้องร่ วมทํากิจกรรมตามทีผูส้ อนมอบหมายทังงานรายบุคคลและงาน
กลุ่มย่อย โดยจะต้องศึกษาค้นคว้ามาล่วงหน้าก่อนเข้าชันเรี ยน เพือร่ วมแลกเปลียนเรี ยนรู ้กบั ผูส้ อนและเพือนใน
ชันเรี ยน
1.3.5 การร่ วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นในแต่ละครัง ผูส้ อนจะประเมินการมีส่วนร่ วมของนักศึกษา
แต่ละบุคคลทุกครังทีมีการทํากิจกรรมในชันเรี ยน
1.3.6 การทํารายงาน นักศึกษาจะต้องไม่ลอกข้อความจากหนังสื อหรื อลอกงานเพือตนมาส่ ง จะต้อง
ศึกษาในเรื องนันอย่างลุ่มลึกจนความรู ้เรื องนันเกิดการตกผลึก การศึกษาดังกล่าวต้องผ่านากระบวนการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ เรี ยบเรี ยงเป็ นความคิดเห็นและใช้สาํ นวนภาษาเขียนของตนเอง รายงานต้องมีการอ้างอิง และ
บรรณานุกรมทีถูกต้องตามหลักการทํารายงาน ถ้างานใครมีคุณภาพไม่ถึงเกณฑ์มาตรฐานทีผูส้ อนกําหนดไว้
นักศึกษาจะต้องกลับไปทําใหม่
1.3.7 การรายงานหน้าชัน นักศึกษาต้องใช้ทกั ษะการนําเสนอ ทักษะการอธิบาย ประกอบการใช้สือการ
เรี ยนรู ้ เช่น แผ่นใสหรื อ Power Point ตามความเหมาะสม ในการนําเสนองาน ต้องใช้ภาษาของตนเองในการ
177

อธิบายประเด็นต่างๆ ตามความรู ้ ความเข้าใจ ทีผ่านการศึกษาค้นกว้ามาอย่างลุ่มลึก โดยอนุญาตให้มีโน้ตสันๆ


ดังนันก่อนจะออกมารายงาน นักศึกษาจะต้องค้นคว้าและทําความเข้าใจกับเรื องทีศึกษาเรี ยงลําดับการนําเสนอ
รายงานมาเป็ นอย่างดี จะทําให้นกั ศึกษามีความมันใจ
1.3.8 เนืองจากปั จจุบนั กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้สถานศึกษาจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้
คุณธรรมนําความรู ้ ดังนัน เพือเป็ นการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าว นักศึกษาจะต้องปฏิบตั ิดงั นี
1) แต่งกายให้เหมาะสม เรี ยบร้อย ถ้าแต่งกายไม่เหมาะสม จะไม่ได้รับสิ ทธิให้เข้าชันเรี ยน
2) นักศึกษาทีลอกงานเพือนหรื อให้เพือนลอกงานหรื อทุจริ ตในการสอบจะถูกปรับตก
1.3.9 การส่ งงานต้องส่ งให้ตรงเวลาทีกําหนดไว้ หากส่ งล่าช้า ผูส้ อนจะหักคะแนนโดยติดลบไป วันละ 1
คะแนน

2. การพัฒนาการเรียนรู้ ด้านความรู้
2.1 ความรู ้ทีต้องได้รับ
2.1.1 หลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกียวกับการจัดองค์การทัวไป
2.1.2 หลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกียวกับการจัดองค์กรท้องถิน
2.1.3 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินขนาดเล็ก
2.1.4 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินขนาดกลาง
2.1.5 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินขนาดใหญ่
2.1.6 การจัดโครงสร้างองค์กรปกครองท้องถินแบบบูรณาการ
2.1.7 การกําหนดยุทธศาสตร์เพือการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.8 ธรรมาภิบาลกับการบริ หารและการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.9 การมีส่วนร่ วมกับการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.10 การบริ หารโครงการขององค์กรท้องถิน
2.1.11 การบริ หารงบประมาณขององค์กรท้องถิน
2.1.12 การบริ การสาธารณะขององค์กรท้องถิน
2.1.13 การบริ หารงานบุคคลขององค์กรท้องถิน
2.1.14 ความสัมพันธ์ทางการเมือง การบริ หาร และการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.15 ปั ญหาและอุปสรรคของการบริ หารและการจัดการองค์กรท้องถิน
2.1.16 ทิศทางของการบริ หารและการจัดการองค์กรท้องถินของประเทศไทยในอนาคต
2.2 วิธีสอน
วิธีการสอนเพือให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และทักษะปฏิบตั ิดงั กล่าว ผูส้ อนมีแนวการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้ ดังนี
2.2.1 บรรยาย อภิปราย
2.2.2 การสอนแบบ Cooperative learning
2.2.3 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
178

2.2.4 การสอนแบบเน้นการวิจยั Research- based learning


2.2.5 การสอนแบบเน้นปัญหา Problem - based learning
2.3 วิธีการประเมินผล
การประเมินผลใช้การสังเกตการทํากิจกรรมกลุ่ม การตรวจผลงาน การทดสอบ

3. การพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาทีต้องพัฒนา
3.1.1 วิเคราะห์กระบวนการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน
3.1.2 วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคกระบวนการบริ หารและการจัดการขององค์กรปกครองท้องถิน
3.1.3 วิเคราะห์หลักการ แนวคิดและทฤษฎีของการบริ หารและการจัดการการปกครองท้องถิน
3.1.4 สังเคราะห์ความรู ้เพือจัดทําแผนทีความคิด (Mind Map)
3.1.5 สังเคราะห์สาระสําคัญของวิชาโดยการบูรณาการการบริ หารและการจัดการการปกครองท้องถิน
ไทยกับพัฒนาการการบริ หารและการจัดการการปกครองท้องถินในประเทศไทย
3.2 วิธีสอน
3.2.1 บรรยาย อภิปราย
3.2.2 การสอนแบบ Cooperative learning
3.2.3 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
3.2.4 การสอนแบบเน้นการวิจยั Research- based learning
3.2.5 การสอนแบบเน้นปั ญหา Problem - based learning
3.3 วิธีการประเมินผล
การตรวจผลงาน

4. การพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ


4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบทีต้องพัฒนา
รายวิชานีมุ่งเน้นการฝึ กผูเ้ รี ยนให้เป็ นผูท้ ีมีความรับผิดชอบและสามารถกํากับตนเองให้มีวินยั ในการเรี ยน
สามารถทํางานเป็ นกลุ่ม โดยผูส้ อนเป็ นผูแ้ นะนําทาง
4.2 วิธีสอน
4.2.1 การสอนแบบ Cooperative learning
4.2.2 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
4.3 วิธีการประเมินผล
ใช้การสังเกตการทํางานเป็ นกลุ่ม การตรวจผลงาน
5. การพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
179

5.1.1 รายวิชานีมุ่งฝึ กให้ผเู ้ รี ยนวิเคราะห์ตวั เลขจากสถิติขอ้ มูลทางด้านสังคม วิเคราะห์ตวั เลขและอ่าน


ผลงานวิจยั
5.1.2 ฝึ กให้ผเู ้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจากเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
5.2 วิธีสอน
5.2.1 บรรยาย อภิปราย
5.2.2 การสอนแบบ Cooperative learning
5.2.3 การสอนแบบโครงการ Project - based learning
5.2.4 การสอนแบบเน้นการวิจยั Research- based learning
5.2.5 การสอนแบบเน้นปั ญหา Problem - based learning
5.3 วิธีการประเมินผล
การตรวจผลงาน

หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน
สั ปดาห์ ที เนือหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื อและอุปกรณ์
1 - ปฐมนิเทศ - การสํารวจคุณลักษณะพืนฐานของ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. - แนะนําขอบเขต เนือหา และ ผูเ้ รี ยน - power point
วัตถุประสงค์ของวิชา - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - แบบสํารวจคุณลักษณะ
- ซักถามแลกเปลียน พืนฐานของผูเ้ รี ยน
- แนะนําเทคนิคการเขียนแผนทีทาง - ใบงานที 1 การเขียน
ความคิด (Mind Map) แผนทีทางความคิด
- มอบหมายงาน (Mind Map)
- ตกลงและชีแจงการประเมินผล - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
การเรี ยน (Pre – test )
- ทดสอบก่อนการเรี ยนการสอน
(Pre – test )
2 - หลักการ แนวคิดและทฤษฎี - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. เกียวกับการจัดองค์การทัวไป - ซักถามแลกเปลียน - power point
- ใบงานที 2 การเขียน
แผนทีทางความคิด

3 - หลักการ แนวคิดและทฤษฎี - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน


180

3 ชม. เกียวกับการจัดองค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน - power point


- ใบงานที 3 การเขียน
แผนทีทางความคิด
4 - การจัดโครงสร้างองค์กรปกครอง - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. ท้องถินขนาดเล็ก - ซักถามแลกเปลียน - power point
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 4 การเขียน
แผนทีทางความคิด
5 - การจัดโครงสร้างองค์กรปกครอง - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. ท้องถินขนาดกลาง - ซักถามแลกเปลียน - power point
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 5 การเขียน
แผนทีทางความคิด
6 - การจัดโครงสร้างองค์กรปกครอง - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. ท้องถินขนาดใหญ่ - ซักถามแลกเปลียน - power point
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 6 การเขียน
แผนทีทางความคิด
7 - การจัดโครงสร้างองค์กรปกครอง - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. ท้องถินแบบบูรณาการ - ซักถามแลกเปลียน - power point
- นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 7 การเขียน
แผนทีทางความคิด
8 สอบกลางภาค
3 ชม.
9 - การกําหนดยุทธศาสตร์เพือการ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. จัดการองค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน - power point
- มอบหมายงาน - ใบงานที 8 การเขียน
แผนทีทางความคิด
10 - ธรรมาภิบาลกับการบริ หารและ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. การจัดการองค์กรท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน - power point
- การมีส่วนร่ วมกับการจัดการ - ใบงานที 9 การเขียน
องค์กรท้องถิน แผนทีทางความคิด

11 - การบริ หารโครงการขององค์กร - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน


181

3 ชม. ท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน - power point


- การบริ หารงบประมาณขององค์กร - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 10 การเขียน
ท้องถิน แผนทีทางความคิด
12 - การบริ การสาธารณะขององค์กร - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. ท้องถิน - ซักถามแลกเปลียน - power point
- การบริ หารงานบุคคลขององค์กร - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 11 การเขียน
ท้องถิน แผนทีทางความคิด
13 - ความสัมพันธ์ทางการเมือง - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. การบริ หาร และการจัดการ - ซักถามแลกเปลียน - power point
องค์กรท้องถิน - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 12 การเขียน
แผนทีทางความคิด
14 - ปัญหาและอุปสรรคของการ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. บริ หารและการจัดการองค์กร - ซักถามแลกเปลียน - power point
ท้องถิน - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 13 การเขียน
แผนทีทางความคิด
15 - ทิศทางของการบริ หารและการ - การบรรยาย/ยกตัวอย่างประกอบ - เอกสารประกอบการสอน
3 ชม. จัดการองค์กรท้องถินของประเทศ - ซักถามแลกเปลียน - power point
ไทยในอนาคต - นักศึกษานําเสนอผลการค้นคว้า - ใบงานที 14 การเขียน
- สรุ ปเนือหาในภาพรวม - ทดสอบหลังการเรี ยนการสอน แผนทีทางความคิด
(Post – test) - แบบทดสอบหลังการ
เรี ยนการสอน(Post – test)
16 สอบปลายภาค
3 ชม.

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการประเมินผล สัปดาห์ที สัดส่ วน


นักศึกษา ประเมิน คะแนน
การประเมิน
1.1.1 – 1.1.4 การเข้าชันเรี ยน ตลอดภาค 10
การมีส่วนร่ วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชันเรี ยน การศึกษา
2.1.1 – 2.1.16 การวิเคราะห์กรณี ศึกษา ค้นคว้า การนําเสนอรายงาน ตลอดภาค 10
การศึกษา
182

3.1.1 – 3.1.5 การทํางานกลุ่ม ตลอดภาค 10


การศึกษา
4.1 การทดสอบกลางภาค 8 30
การทดสอบปลายภาค 16 40

หมวดที 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. ตําราและเอกสารหลัก
พิทยา บวรวัฒนา.2541.ทฤษฎีองค์ การสาธารณะ.กรุ งเทพฯ :คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. เอกสารและข้ อมูลสํ าคัญ
-
3. เอกสารและข้ อมูลทีแนะนํา
วิเชียร วิทยกุล. (2549). ทฤษฎีองค์ การ. พิมพ์ครังที 2. ธีระฟิ ลม์และไซเท็กซ์.
พระราชบัญญัติกาํ หนดแผนและขันตอนการกระจายอํานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน พ.ศ.2542
Shafritz J. and Ott S. (2001). Classic of Organization Theory. Harcourt college
Publishers,Orlando Florida USA.
Dennis D.Riley (2002). Public Personnel Administration (2 nd ed.). New York: Longman.
Ronald D. Sylvia, C. Kenneth Meyer. (2002). Public Personnel Administration (2 nd ed.). Orlando :
Harcourt College Publishers.
Jay M. Shafritz, David H. Rosenbloom, Norma M. Riccucci, Katherine C. Naff, Albert C.Hyde.
(2001). Personnel Management in Government Politics and Process (5 th ed.).New York:
Marcel Dekker.

หมวดที 7 การประเมินและปรับปรุง

1. การประเมินประสิ ทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินโดยนักศึกษาในรายวิชาทีดําเนินการ ดังนี
- ให้นกั ศึกษาประเมินการสอน โดยการเขียนบรรยายเกียวกับการสอนอาจารย์ โดยให้ประเมิน 2 ครัง
ในสัปดาห์ที 8 และสัปดาห์ที 15
- การสังเกตพฤติกรรมผูเ้ รี ยน
- ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด
2. การประเมินการสอนอืนๆ
มหาวิทยาลัยดําเนินการประเมินการสอนอาจารย์ โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
183

3. การปรับปรุ งการสอน
มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกการปรับปรุ งการสอน โดยให้อาจารย์ทบทวนการสอนของตนเอง โดย
สรุ ปผลสัมฤทธิของการสอน ปั ญหาอุปสรรคในการสอนเพือเป็ นข้อมูลการปรับปรุ งในภาคการศึกษาต่อไป
4. การทดสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิของนักศึกษาในรายวิชา
มหาวิทยาลัยดําเนินการทดสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิของนักศึกษา โดยการแต่งตังคณะกรรมการการ
ตรวจสอบคุณภาพข้อสอบของอาจารย์ โดยพิจารณาความสอดคล้องของข้อสอบกับผลการเรี ยนรู ้
5. การทบทวน และวางแผนปรับปรุ งประสิ ทธิผลของรายวิชา
- นําข้อมูลจากการประเมินข้อ 1 และข้อ 2 มาวางแผนเพือปรับปรุ งคุณภาพ
- การปรับปรุ งรายวิชาทุก 3 ปี
ประวัตผิ ้ ูวจิ ัย
ชือ-สกุล : ดร.วัชริ นทร์ อินทพรหม
วัน-เดือน-ปี เกิด : 27 กรกฎาคม 2509
ทีอยู่ปัจจุบัน : 94 ตรอกตึกดิน ถ.ดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุ งเทพฯ 10200
โทรศัพท์ บ้ าน : 02-2248222
มือถือ : 086- 3515039
E-mail Address : Pong9889@yahoo.com
การศึกษา
: ประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล
: วิทยาศาสตร์บณั ฑิต (วทบ. รังสี เทคนิค) มหาวิทยาลัยรามคําแหง
: ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต (ศศม.รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคําแหง
: Ph.D. Public Administration. มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ประวัติการทํางาน
2531-2532 : บริ ษทั เอกซเรย์คอมพิวเตอร์อุรุพงษ์
2533-2534 : บริ ษทั เอกซเรย์คอมพิวเตอร์นครสวรรค์
2534-2536 : โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
2536-2537 : บริ ษทั บี กริ ม เฮลธแคร์ จํากัด
2537-2539 : บริ ษทั ซีเมนต์ ประเทศไทย จํากัด
2539-2540 : บริ ษทั ฟิ ลลิปส์ ประเทศไทย จํากัด
2540-2542 : โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ สํานักงานศาลยุติธรรม
2542-2552 : กรมพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม
2552-ปั จจุบนั : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ประสบการณ์สอนและการให้ คาํ ปรึกษา
: อาจารย์พิเศษ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง
: อาจารย์พิเศษ คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง
: อาจารย์พิเศษ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ Western University
: อาจารย์พิเศษ โครงการรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม
: วิทยากรกรมพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม
: วิทยากรการใช้เครื องมือแพทย์สมัยใหม่ ให้กบั โรงพยาบาลมากกว่า 100 แห่งทัวประเทศ
: ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคําแหง
 

: ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


: ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ นักศึกษาคณะรัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยการปกครอง
ส่ วนท้องถิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
: ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ นักศึกษารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม
วิชาทีมีความเชียวชาญ
: ระเบียบวิธีวจิ ยั
: การจัดการสิ งแวดล้อม
: ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
: ทฤษฎีองค์การ
: นโยบายสาธารณะ
: การบริ หารการพัฒนา
: การพัฒนาอย่างยังยืน และ การพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
: ปรัชญาเชิงศาสตร์
: ทฤษฎีระบบราชการ Classic & Modern
: การเมืองการปกครอง
: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
: การปกครองส่ วนท้องถิน
: การจัดการคุณภาพ
: การจัดการความรู ้
: การจัดการเชิงกลยุทธ์
ประวัติการวิจัย
เรือง แหล่งทุน ปี ทีแล้วเสร็จ
: ทัศนคติมุ่งสู่การเป็ นเลิศของข้าราชการพลเรื อน สํานักงาน ก.พ. 2549
: รู ปแบบศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนที กระทรวงยุติธรรม 2550
เหมาะสมสําหรับประเทศไทย
: การใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ กระทรวงยุติธรรม 2550
ในชันศาล
: การวิเคราะห์สภาพกําลังคนของ กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน กําลังดําเนินการ
กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน
 

: การกําหนดสมรรถนะ กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน กําลังดําเนินการ


ประจําตําแหน่งงาน (Functional Competencies)
ของกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน
: การประเมินโครงการความร่ วมมือ กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน กําลังดําเนินการ
ในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
ระหว่างกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน และ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
หลักสู ตรครุ ศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริ หารการศึกษา พ.ศ. 2549 – 2552

You might also like