You are on page 1of 142

การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห

วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม

รวิสรา จิตรบาน
ตําแหนง ครู

โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแกน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
ครูผูสอน : รวิสรา จิตรบาน

บทคัดยอ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อ
สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ความสามารถการคิดวิเคราะห จากการจัดการ
จัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค 5W1H (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู โดยใช
เทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม เครื่องมือที่ใชในการศึกษาไดแก แผนการจัดการเรียนรู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูจํานวน 20
ขอ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคา t-test
ผลการศึกษา พบวา
1. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม มีประสิทธิภาพ
เทากับ 80.8/85.5 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนด 80/80
2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์กอนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการ
คิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม หลัง
เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะ
การคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
อยูในระดับมาก (𝑥̅ =4.47)
สารบัญ

บทคัดยอ ก
กิตกิกรรมประกาศ ค
บทที่ 1 บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
คําถามการศึกษา 8
วัตถุประสงคการศึกษา 8
สมมติฐานการศึกษา 9
ขอบเขตของการศึกษา 9
นิยามศัพทเฉพาะ 10
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 13

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 14

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 18
แผนการจัดการเรียนรู 19
การวิจัยกึ่งทดลอง 25
ทักษะการคิดวิเคราะห 28 การ
จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห 28
การจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคนิควิธีสอน 5W1H 33
การพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H 36
ประสิทธิภาพ 40
ดัชนีประสิทธิผล 44
ความพึงพอใจ 46
บริบทโรงเรียนหนองไผมอดินแดง 51
งานวิจัยที่เกี่ยวของ 57
กรอบแนวคิดในการศึกษา 60

บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษา
กลุมเปาหมาย 61
เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 61
การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือ 62
การเก็บรวบรวมขอมูล 65
การวิเคราะหขอมูล 65
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 66

วิธีดําเนินการทดลอง 71บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล
สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 72
ลําดับในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 72
ผลการวิเคราะหขอมูล 73

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ


สรุปผลการศึกษา 81
อภิปรายผลการศึกษา 82
ขอเสนอแนะ 84
บรรณานุกรม 86
ภาคผนวก ก 89
ภาคผนวก ข 140
ภาคผนวก ค 149
บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

“...ภาษาไทยเปนเครื่องมืออยางหนึ่งของชาติ ภาษาทั้งหลายเปนเครื่องมือของมนุษยชนิดหนึ่ง คือ


เปนทางสําหรับแสดงความคิดเห็นอยางหนึ่ง เปนสิ่งที่สวยงามอยางหนึ่ง เชนในทางวรรณคดี เปนตน ฉะนั้นจึง
จําเปนตองรักษาเอาไวใหดี ประเทศไทยเรานั้นมีภาษาเปนของตนเองซึ่งตองหวงแหน ประเทศใกลเคียงของเรา
หลายประเทศมีภาษาของตนเอง แตภาษาของเขาก็ไมแข็งแรง เขาตองพยายามหาหนทางที่จะตองสรางภาษา
ของตนเองไวใหมั่นคง เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองแตโบราณกาล จึงสมควรอยางยิ่งที่จะรักษาไว... ” จากพระ
ราชดํารัสดังกลาว จะเห็นไดวาภาษาไทยนอกจากจะเปนภาษาประจําชาติแลวยังเปนเครื่องมือที่ใชในการ
ติดตอสื่อสารระหวางคนในชาติดวยกัน ภาษาไทยเปนสิ่งที่แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมอัน
ล้ําคาซึ่งมีมาแตโบราณกาล ดังนั้นจึงเปนหนาที่ของคนไทยทุกคนในชาติที่พึงหวงแหนและรักษาความเปน
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทยใหคงอยูสืบไปภาษาเปนเครื่องมือในการสื่อสารที่สําคัญในสังคมและชวย
สรางสรรคความเขาใจอันดีตอกันของคนในสังคม เปนสื่อในการถายทอดความรู ความคิด ความเชื่อ และ
ประสบการณตาง ๆและชวยพัฒนาความคิด ความเจริญกาวหนาใหแกชาติไทย ตลอดจนการสื่อสารใหเกิด
ความเขาใจอันดีตอกันของคนในชาติ ซึ่งแสดงถึงเอกลักษณที่บงบอกถึงความเปนเอกราชของชาติไทยที่มีความ
รุงเรืองแหงอารยธรรม และเปนที่นาภาคภูมิใจของคนไทยมายาวนาน ดังนั้น ภาษาจึงมีความจําเปนเพราะถือ
เปนเครื่องมืออยางหนึ่งของชาติ จึงตองศึกษาหาความรูให(ฐะปะนีย นาครทรรพ,2534)

ภาษาไทยนอกจากจะเปนภาษาประจําชาติ ยังแสดงถึงความเปนเอกลักษณของความเปนชาติไทย
ภาษาไทยยั งมี ความจํ า เป น และสํ า คั ญ อย า งยิ่งในการดํา รงชีวิตประจําวั น ชว ยถ ายทอดความรู ความคิ ด
เสริมสรางความเขาใจอันดีของคนในสังคม ภาษาไทยจึงเปนวิชาที่สําคัญยิ่งตอการพัฒนาคนในชาติ การเรียน
ภาษาไทยนั้นเปนพื้นฐานของการเรียนวิชาอื่นๆ ผูที่ใชภาษาไทยไดดียอมสงผลในการเรียนวิชาอื่นดีไปดวย
เพราะภาษาไทย คือหัวใจของทุกวิชา ดังนั้น ความสามารถของการใชภาษาในการสื่อสารจึงนับวาสําคัญมากใน
ปจจุบัน (ฉวีลักษณ บุญยะกาญจน,2523)

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดกลาวเกี่ยวกับการศึกษาในหมวด 5 หนาที่


ของรัฐ มาตรา 54 คือ รัฐตองดําเนินการใหประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบตางๆ รวมทั้ง
สงเสริมใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต และการศึกษาทั้งปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ
สามารถเชี่ยวชาญไดตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
(ราชกิจจานุเบกษา,.2560) และในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 และ (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2553 ก็ไดกําหนดหลักการศึกษาไวในหมวด 4
แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ
พัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด (Children Center) กระบวนการจัดการศึกษาตอง
สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในมาตรา 23 ไดใหจัดการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเนนความสําคัญ ทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู
และบูรณาการตามความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษา โดยเฉพาะความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ทักษะดาน
คณิตศาสตร ทักษะดานภาษา ทักษะการประกอบอาชีพการดํารงชีวิตอยางมีความสุข ทักษะดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี และในมาตรา 24 ระบุใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการจัดเนื้อหาสาระและ
กิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของนักเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล การ
จัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําไดคิดเปน ทําเปน รักการอานและ
เกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง สงเสริมใหครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนาวิธีจัดการเรียนรูที่ใชทักษะ
กระบวนการคิด รวมทั้งการวัดและประเมินผลการเรียนรู (ราชกิจจานุเบกษา,.2553) และยังเชื่อมโยงกับ
แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579.ที่มีวัตถุประสงคพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มี
คุณภาพและมีประสิทธิภาพ..ใหคนไทยเปนพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะ และสมรรถนะที่สอดคลองกับ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560)

แผนพั ฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560–2564) ไดกําหนดประเด็ น


ยุทธศาสตรที่ 1 เพื่อพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล โดยมีกลยุทธในการ
พั ฒ นากระบวนการเรี ย นการสอนที่ มี คุ ณ ภาพ และจั ด กิ จ กรรมเสริ ม ทั ก ษะพั ฒ นาผู เ รี ย น ในรู ป แบบที่
หลากหลายสอดคลองกับทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวัดและประเมินผล
การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ประเภทการศึ ก ษาให ทั น สมั ย สอดคล อ งกั บ ความก า วหน า ทางวิ ท ยาการและการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก สงเสริมการพัฒนาเนื้อหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับทุกประเภทการศึกษา เพื่อการ
ผลิตสื่อการเรียน การสอน ตําราเรียนที่มีคุณภาพ รวมทั้งตําราเรียนอิเล็กทรอนิกส ปรับปรุงระบบทดสอบทาง
การศึกษาแหงชาติใหส อดคลองกับ หลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน และสงเสริมคุณธรรม
จริยธรรม ความเปนพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระบบการศึกษาอยาง
เขมขน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2559)
การขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ.2560-
2579) 6 ดาน โดยมียุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับ จุดเนนเชิงนโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการและ
ภารกิ จ สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร 6 ยุ ท ธศาสตร ดั ง นี้ (1) ยุ ท ธศาสตร ด านความมั่ น คง (2)
ยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขัน (3) ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน (4)
ยุทธศาสตรดานการสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม (5) ยุทธศาสตรดานการสรางการ
เติบ โตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (6) ยุทธศาสตรดานการปรับสมดุล และพัฒ นาระบบการ
บริหารจัดการภาครัฐ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2559)

จุดหมายหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนด
เปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ (1) มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่
พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับ
ถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การ
ใชเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต (3) มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย (4) มี
ความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (5) มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย
ตองฝกอานฝกฟงและแสวงหาขอมูลความรูซึ่งสาระการเรียนรูภาษาไทยเปนพื้นทักษะพื้นฐานที่จําเปนเพื่อชวย
ใหสามารถเรียนรูสาระการเรียนรูอื่นไดอยางรวดเร็ววง (ประพันธศิริ สุเสารัจ, 2551)

ทักษะการคิดวิเคราะหเปนทักษะที่สําคัญในชีวิตประจําวัน เพราะเปนทักษะที่ผูเรียนใชและนําไปสู
การตัดสินใจ การประเมินในเรื่องตางๆ ซึ่งจําเปนตองมีการคิดเชิงวิเคราะหเขามาชวยการคิดเชิงวิเคราะหจึง
ควบคุมแทบทุกเรื่องที่มาปะทะชีวิตประจําวัน โดยกอนทําการตัดสินใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเราจําเปนตองเขาใจ
เรื่ องนั้ น ต องรู ที่มาที่ ไป รู ผ ลดี ผ ลเสี ย ก อนตัดสิน ใจ รูขอ เท็จ จริ งรูวาสิ่ งที่เราทําสรา งสรรค ขึ้น มานํ าไปใช
ประโยชนกับโลกแหงความจริงไดหรือไมสิ่งเรานั้นยอมชวยใหเราตัดสินไดเหมาะสมขึ้น

จากขอมูลสรุปผลการสังเคราะห ผลจากการประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษาในการประเมินสถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐานทุกสังกัด (รอบสอง พ.ศ. 2549 –
2553) จํานวน 30,010 โรงเรียนพบวาจํานวนสถานศึกษาที่ผลิตนักเรียนมีคุณภาพอนามัยดีรอยละ 92.7 ดาน
คุณธรรมรอยละ 81.4 ดานสุนทรียภาพรอยละ 96.6 ดานทักษะการทํางานรอยละ 65.7 แตดานในดานการคิด
วิเคราะหโดยมีจํานวนสถานศึกษาผานเกณฑเพียงรอยละ 10.4 ดานความรูรอยละ 11.4 และดานเรียนรูดวย
ตนเองรอยละ 24 อาจกลาวโดยสรุปวาการศึกษาไทยผลิตคนที่แข็งแรง ซื่อสัตย มีทักษะทํางานไดดีแตดอย ใน
ดานการวิเคราะหและไมถนัดในการแสวงหาความรูดวยตนเองหรืออาจกลาวไดอีกนัยหนึ่งวา การศึกษาไทย
ผลิตไดงานที่ซื่อสัตยมีทักษะในการทํางานแตมีขอจํากัดอยางมากมายในการฝกฝนใหรูจักคิดวิเคราะหและ
ศึ ก ษาด ว ยตนเอง เป า หมายของการพั ฒ นาผู เ รี ย นที่ สํ า คั ญ ประการหนึ่ ง ต อ งดํ า เนิ น การกิ จ การพั ฒ นา
ความสามารถในการคิ ดที่ ตองการให เ กิดในตัว ผูเรีย น ซึ่งความสําเร็จ ในการจัดการศึกษาตองเปน การจัด
การศึกษาเพื่อนําไปสูพัฒนาการเรียนรูและศักยภาพของสมองซึ่งจะเปนทางนําไปสูการคิดอยางเปนระบบ
(สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา,2554,ออนไลน) ขอมูลดังกลาวสะทอนใหเห็น
ปญหาที่ถือวาเปนวิกฤตของประเทศทั้งในปจจุบันและอนาคตหากศักยภาพในการคิดวิเคราะหและการใช
เหตุผลของบุคคลมีจํานวนจํากัดโฆษณาจูงใจก็อาจจะทําสําเร็จไดยาก จะเกิดอะไรขึ้นหากบุคคลและสังคมไทย
ตัดสินใจดวยอารมณมากกวาใชปญญาและเหตุผลอันผลในอนาคต “คุณภาพของคนไทย” ซึ่งเปนผลผลิตของ
การศึกษาในปจจุบันประเทศไทยจะเขมแข็งไดอยางไรและสังคมโลกที่เปนสังคมการสื่อสารไรพรมแดนหรื อ
สังคมที่กาวไปสูสังคมอุดมปญญา สังคมไทยเปนสวนหนึ่งของสังคมโลกการพัฒนาประเทศจึงตองพิจารณาการ
พัฒนาโลกไปดวย ดังนั้นการศึกษาจําเปนตองไดรับการพัฒนาอยางเรงดวนเพื่อสามารถผลิตคนไทยที่รูจักคิด
วิเคราะหศึกษาดวยตนเองไดเร็วที่สุด สิ่งนี้จึงตองเปนวิกฤตของประเทศที่ตองไดรับการแกไขอยางรีบดวน
(สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา,2554,ออนไลน)

จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคิดวิเคราะห พบวาการคิดวิเคราะหเปนการคิดโดยใช
สมองซีกซายเปนหลัก เปนการคิดเชิงลึก คิดอยางละเอียด จากเหตุไปสูผล ตลอดจนการเชื่อมโยงความสัมพันธ
ในเชิงเหตุผล และความแตกตางระหวางขอโตแยงที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของ นักเรียนสามารถตั้งคําถามจาก
เนื้อเรื่องวาสาเหตุที่เกิดขึ้นมาเกิดขึ้นจากอะไร สถานที่เกิดขึ้นที่ไหน ทําไมจึงเกิดเหตุการณนี้ขึ้น ชวงเวลาที่เกิด
ขึ้นมาจากอะไร สถานที่เกิดขึ้นที่ไหน ทําไมตองเกิดเหตุการณนี้ขึ้น ชวงเวลาที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุอะไร ใคร
เปนผูอยูในเหตุการณ และมีรายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้นวามีความเปนมาอยางไร การคิดวิเคราะหดวยเทคนิค
5W1H สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหนักเรียนไดเปนอยางดี เพราะเทคนิค 5W1H มีกระบวนการคิดที่
สามารถชวยไลเลียงความชัดเจนในแตละเรื่องที่เรากําลังคิดขั้นตอนสําคัญของเทคนิคนี้ ไดแก ขั้นที่ 1 กําหนด
สิ่งที่ตองการวิเคราะห ขึ้นที่ 2 กําหนดปญหาหรือวัตถุประสงค ขั้นที่ 3 กําหนดหลักการหรือกฏเกณฑ ขั้นที่ 4
การพิจารณาแยกแยะและขั้นที่ 5 สรุปคําตอบ ทําใหนักเรียนเกิดความครบถวนสามารถพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะหได ชวนพิศ คชริน (2555) กลาวถึงการใชเทคนิค 5W1H ในการจัดชุดการสอนเพื่อสงเสริมทักษะ
การคิดวิเคราะหของผูเรียน พบวาการคิดวิเคราะหรายวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5 มี
ประสิทธิภาพ 85.90/83.81 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว กรองทิพย สุรัตนตะโก (2557) ไดไดศึกษาผล
การใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก ที่มีตอความสามารถในคิดวิเคราะห
พบวาความสามารถในการอานเชิงคิดวิเคราะหโดยใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผัง
กราฟก คะแนนหลังเรียนสูงกวาที่กําหนดไวรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (สุชาดา ปติพร
,2558) ได ศึ ก ษาการพั ฒ นาการคิ ด วิ เ คราะห ในวิ ช าภาษาไทย (สาระที่ 5 วรรณคดี ว รรณกรรม) โดยใช
กระบวนการกลุม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 พบวา ผลการพัฒนาความคิดวิเคราะหมีคะแนนหลัง
เรี ยนสู งกว าก อนเรี ยนอยา งมีนั ย สํา คัญ ทางสถิติที่ .05 และผลการศึกษาพัฒ นาการของพฤติกรรมกลุม มี
คะแนนอยูในเกณฑระดับ ดี

โรงเรีย นภูเวีย งวิทยาคม ตําบลภูเวีย ง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน สังกัดสํานักงานเขตพื้น ที่


การศึกษามัธยมศึกษาขอนแกน รับผิดชอบจัดการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงระดับมัธยมศึกษาชั้น
ปที่ 6 ไดนําหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเปนหลักสูตรแกนกลางมาเปนกรอบในการ
จัดการเรียนการสอน จากผลการรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปการศึกษา 2560 พบวา
การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรียนระดับชาติ ในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 คาเฉลี่ยรอยละผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีคาเฉลี่ยรอยละ 60.55 ซึ่งมีคาเฉลี่ยต่ํากวา
ระดับชั้นอื่นๆ ในวิชาภาษาไทย และจากผลการประเมินดังกลาวทําใหรูวานักเรียนยังขาดทักษะทางดานการ
คิดวิเคราะห อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากทั้งตัวนักเรียน คือ นักเรียนขาดความสามารถในการคนควาหาความรู
ดวยตนเอง ขาดกระบวนการในการเสาะแสวงหาความรู ขาดทักษะการคิดวิเคราะห ขาดความกระตือรือรนใน
การเรียน และทั้งกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู คือ การสอนของครูที่ผานมายังไมสามารถพัฒนาให
ผู เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู แ ละทั ก ษะกระบวนการทางภาษาไทยได ดี เ ท า ที่ ค วร ซึ่ ง ครู ผู ส อนต อ งปรั บ เปลี่ ย น
วัฒนธรรมการทํางานและบทบาทจากที่ผูสอน เปนผูชี้นํา ผูถายทอดมาเปนผูนําในการเรียนรู คอยอํานวยความ
สะดวก ชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนผูเรียนในการแสวงหาความรูและคนพบความรูดวยตนเอง จากการลงมือ
ปฏิบัติ จากสื่อและแหลงเรียนรูตางๆ ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยกระบวนการสืบเสาะหาความรู เปน
รูปแบบการเรียนรูรูปแบบหนึ่งที่เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย เพื่อใหผูเรียนบรรลุตาม
จุดประสงคของหลักสูตร และสงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่
5 ใหสูงขึ้น

ผูศึกษาไดศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อ


สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
ผูศึกษาไดตระหนักถึงความสําคัญในการสงเสริมใหมีการพัฒนาการจัดการเรียนรูของครูภาษาไทยเนนเชื่อมโยง
ความรูคูกับการใชเทคนิคการสอน 5W1H ผูศึกษาในฐานะครูผูรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชา
ภาษาไทย ชั้ น มั ธ ยมศึ กษาป ที่ 6 จึ งสนใจศึกษา เรื่อง การใชเทคนิคการสอน 5W1H ซึ่งประกอบดว ย
กระบวนการสําคัญ 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห ขึ้นที่ 2 กําหนดปญหาหรื อ
วัตถุประสงค ขั้นที่ 3 กําหนดหลักการหรือกฏเกณฑ ขั้นที่ 4 การพิจารณาแยกแยะและขั้นที่ 5 สรุปคําตอบ ที่
ส งผลต อการคิ ดวิ เ คราะห และผลสั มฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิช าภาษาไทย ของนักเรีย นชั้น มัธ ยมศึกษาปที่ 6
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตําบลภูเวียง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน เพื่อชวยพัฒนาการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูใหกระตุนความกระตือรือรนใหเกิดในตัวผูเรียน เกิดการเรียนรูที่ดี เกิดทักษะการคิดอยางเปนระบบ คิด
สรางสรรค สามารถเชื่อมความรูเดิมกับความรูใหมจนสรุปเปนองคความรูใหมไดดวยตนเอง และตัดสินใจ
แกปญหาไดอยางมีสติสมเหตุผล และเพื่อกระบวนการคิดวิเคราะหและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ภาษาไทยใหมีป ระสิทธิภาพ บรรลุตามเปาหมายไดมากยิ่งขึ้น และใหผูเรีย นมีความสุขในการเรีย นรูอยาง
แทจริง

1.2 คําถามการศึกษา

1.2.1 การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห


วิชาภาษาไทย นักเรีย นชั้นมัธ ยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม มีป ระสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ 80/80
หรือไม
1.2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของนักเรียน ที่เรียนโดยการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใช
เทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม กอนและหลังเรียนแตกตางกันหรือไม

1.2.3 ความพึงพอใจของนักเรียน ที่เรียนโดยการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เรียนรู โดยใชเทคนิค


5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียง
วิทยาคม อยูในระดับใด

1.3 วัตถุประสงคการศึกษา

1.3.1 เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห วิชา


ภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80

1.3.2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ความสามารถการคิดวิเคราะห จากการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู


โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
1.3.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะห วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม

1.4 สมมติฐานการศึกษา
1.4.1 การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
วรรณคดี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80

1.4.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน จากการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อ


สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H วรรณคดี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียง
วิทยาคม หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

1.4.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมทักษะการคิด


วิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H วรรณคดี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม อยูในระดับ
มาก

1.5 ขอบเขตของการศึกษา

1.5.1 กลุมเปาหมาย ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่กําลังศึกษา ใน


ภาคเรี ย นที่ 2 ป การศึ กษา 2562 นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึก ษาปที่ 6/7 โรงเรีย นภูเ วีย งวิ ทยาคม จํ านวน 1
หองเรียน นักเรียนจํานวน 24 คน ไดมาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง

1.5.2 เนื้อหา

เนื้อหาในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท 33202 ประกอบดวย


แผนการจัดการเรียนรู 5 แผน ไดแก

1.5.3 ตัวแปรที่ใชในการศึกษา

1.5.3.1 ตัว แปรต น ได แก แผนการจัดการเรีย นรูในการสอนวิช าภาษาไทย เรื่องการคิด


วิเคราะห การใชเทคนิคการสอน 5W1H

1.5.3.2 ตัวแปรตาม ไดแก (1) ประสิทธิภาพของการวัดการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิคการ


สอน 5W1H (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการคิดวิเคราะหกอนและหลังเรียน และ (3) ความพึงพอใจ
ของนักเรียน
1.5.4 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562

1.6 นิยามศัพทเฉพาะ

พัฒนา หมายถึง การปรับปรุงรูปแบบการสอนโดยใชวรรณคดีในบทเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการคิด


วิเคราะหแบบ 5W1H ใหเกิดคุณภาพดีขึ้นกวาเดิม

แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง แผนการจัดการเรียนรูไววาแผนการจัดการเรียนรู หมายถึง แผนซึ่ง


ครูเตรียมการจัดการเรียนรูใหแกนักเรียน โดยวางแผนการจัดการเรียนรู แผนการใชสื่อการเรียนรูหรือแหลง
เรียนรู แผนการวัดผลประเมินผลโดยการวิเคราะหจากคําอธิบายรายวิชาหรือหนวยการเรียนรู ซึ่งยึดผลการ
เรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรูที่กําหนด อันสอดคลอง กับมาตรฐานการเรียนรู

ชวงชั้น

การจัดการเรียนรู หมายถึง การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการสําคัญในการนําหลักสูตรสูการปฏิบัติ


หลักสูตรโรงเรียน ฐานชีวา พุทธศักราช 2559 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
เปนหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงคเปนเปาหมาย
สําคัญสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนผูสอนตองพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู จัดการเรียนรูเพื่อพัฒนา
ผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูทั้ง 8 กลุมสาระเรียนรู รวมทั้งปลูกฝงเสริมสรางคุณลักษณะอันพึง
ประสงคพัฒนาทักษะตาง ๆ อันเปนสมรรถนะสําคัญที่ตองการใหเกิดแกผูเรียน

นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 45 โรงเรียนหนองไผมอดินแดง สังกัดสํานักงานเขต


พื้นที่การศึกษาขอนแกนเขต 1

โรงเรี ยน หมายถึ ง โรงเรี ย นหนองไผม อดิน แดงที่เ ป ดทํ า การสอนในระดั บ ชั้ น การศึ ก ษาอนุบ าล
ระดับชั้นการศึกษาประถมศึกษาตอนตน (ชวงชั้นที่ 1-3) และระดับชั้นการศึกษาประถมศึกษาตอนปลาย (ชวง
ชั้นที่ 4-6)

แผนการจั ดการเรี ยนรูแบบ 5W1H หมายถึง แผนการจัดการเรีย นรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิด


วิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 เปนสื่อการเรียนการสอนที่ผูศึกษาสราง
ขึ้นสําหรับใชเปนสื่อในการจัดการเรียนรูในหองเรียนเพื่อสงเสริมและพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห

การจัดการเรียนรูแบบ 5W1H หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนไดคิดวิเคราะหโดยมี 5


ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะหคือเปนการกําหนดวัตถุสิ่งของเรื่องราวหรือเหตุการณ
ตางๆ ขึ้นมาเพื่อเปนตนเรื่องที่จะใชวิเคราะห เชน รูปภาพ บทความ เรื่องราว เหตุการณหรือสถานการณจาก
สื่อตางๆ เปนตน ขั้นที่ 2 กําหนดปญหาหรือวัตถุประสงค เปนการกําหนดประเด็นขอสงสัยจะปญหาของสิ่งที่
ตองการวิเคราะห ซึ่งอาจกําหนดเปนคําถามหรือวัตถุประสงคของการวิเคราะห เพื่อคนหาความจริงสาเหตุหรือ
ความสําคัญ เชน เรื่องราว เหตุการณที่ตองการสื่อหรือบอกอะไรที่สําคัญที่สุด ขั้นที่ 3 กําหนดหลักการหรือ
กฎเกณฑ เปนการกําหนดขอกําหนดสําหรับใชแยกสวนประกอบของสิ่งที่กําหนดให เชน เกณฑในการจําแนก
สิ่งที่ มีความเหมื อนกั น หรือต างกั น ขั้ น ที่ 4 การพิจ ารณาแยกแยะคือกระจายสิ่งที่กําหนดใหออกเปน
สวนยอยๆโดยใชคําถาม 5W1H ซึ่งซึ่งประกอบดวย อะไร ที่ไหน เมื่อไหร ทําไม ใคร และอยางไร ขั้นที่ 5 สรุป
คําตอบเปนการรวบรวมประเด็นที่สําคัญที่สุดเพื่อหาขอมูลขอสรุปเปนคําตอบหรือตอบปญหาของสิ่งที่กําหนด
ไว

ทักษะการคิดวิเคราะห หมายถึง วิธีการเสริมสรางความสามารถของนักเรียนในการจําแนกแยกแยะ


การเปรียบเทียบ การเห็นความสัมพันธและความสามารถในการใชเหตุผลไดอยางถูกตอง วัดไดจากคะแนนที่
นักเรียนทําแบบทดสอบวัดความสามารถดานทักษะการคิดวิเคราะห ซึ่งเปนขอสอบแบบปรนัยที่ผูศึกษาสราง
ขึ้น

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการเรียนทักษะการคิดวิเคราะหรายวิชาภาษาไทย


ซึ่งวัดไดจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนแบบปรนัยเลือกตอป 4 ตัวเลือก ที่ผูศึกษาสรางขึ้น
โดยมีเนื้อหาครอบคลุมสาระการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่กําหนดเพื่อวัดความสามารถของ
นักเรียนในดานความรู ความจําความเขาใจ การนําไปใชและการวิเคราะห

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อใชวัดความรูและ


ความสามารถของผูเรียนในการเรียนโดยแผนการจัดการเรียนรูในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูเพื่อสงเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่สอดคลองกับมาตรฐานการ
เรียนรูและตัวชี้วัดแบบทดสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก

ประสิทธิภาพ 80/80 หมายถึง อัตราสวนระหวางประสิทธิภาพของกระบวนการตอประสิทธิภาพ


ของผลสัมฤทธิ์โดยกําหนดเกณฑประสิทธิภาพไว 80/80

80/80 ตัวหนา หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการไดมาจากรอยละของคะแนนเฉลี่ย


ของนักเรียนทุกคนที่ไดจากการทํากิจกรรมระหวางเรียนดวยแผนการจัดการเรียนรู
80/80 ตัวหลัง หมายถึง ประสิทธิภาพของผลผลลัพธไดมาจากรอยละของคะแนนเฉลี่ยของ
นักเรียนทุกคนที่ได จัดการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบหลังเรียน

ประสิทธิภาพ E1/E2 หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของชุดการสอนที่จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู


เปนระดับที่ผูผลิตชุดการสอนพึงพอใจ หากชุดการสอนมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดไว แสดงวาชุดการ
สอนนั้ น มี คุณ ค า ที่ จ ะนํ า ไปสอน และคุ ม ค า กั บ การลงทุ น ผลิ ต ออกมาเป น จํ านวนมาก การกํ าหนดเกณฑ
ประสิ ทธิภ าพ ทําโดยการประเมิ น ผลพฤติ กรรมของผูเรีย น ซึ่งประเมิน ออกเปน 2 ลักษณะ คือ ประเมิน
พฤติกรรมตอเนื่อง (กระบวนการ) และประเมินพฤติกรรมขั้นสุดทาย (ผลลัพธ) การประเมินพฤติกรรมตอเนื่อง
จะเปนการกําหนดคาของประสิทธิภาพ E1 ซึ่งเปนประสิทธิภาพของกระบวนการ และประเมินพฤติกรรมขั้น
สุดทายจะกําหนดคาเปน E2 คือประสิทธิภาพของผลลัพธ ประเมินพฤติกรรมตอเนื่องเปนการประเมินผล
พฤติกรรมยอย หลายพฤติกรรมอยางตอเนื่อง เรียกวา กระบวนการ(Process) ของผูเรียนโดยสังเกตจาก
รายงานกลุม การรายงานบุคคลหรือจากการปฏิบัติงามตามที่ไดรับมอบหมาย ตลอดจนทํากิจกรรมอื่นๆ ที่
ครูผูส อนไดกําหนดไว ประเมินพฤติกรรมขั้นสุดทายเปน การประเมินผลลัพธ(Product) ของผูเรีย นโดย
พิจารณาจากผลการสอบหลังเรียน และสอบปลายปและปลายภาค

1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.7.1 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนสูงขึ้น สามารถนําความรูไปใชใน


การพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติตอไป

1.7.2 นั ก เรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจต อ จากการพั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห โ ดยใช เ ทคนิ ค 5W1H
วรรณคดี เรื่ อ ง สั ง ข ท อง ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6 โรงเรี ย นภู เ วี ย งวิ ท ยาคม อยู ใ นระดั บ มา
1.7.3 เพื่อเปนแนวทางสําหรับครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย สามารถนําไปพัฒ นาและ
ปรับปรุงการการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H ในระดับชั้นอื่นๆ ตอไป

1.7.4 เพื่อเปนประโยชนตอสถานศึกษา เปนแบบอยางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถ


นําไปปรับปรุงและพัฒนาใชในกลุมสาระอื่นตอไป

1.7.5 ไดแผนการจัดการเรียนรูการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห


โดยใชเทคนิค 5W1H รายวิชาภาษาไทย ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด 80/80
บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
การศึ กษาการพัฒ นาแผนการจัดการเรีย นรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิ เ คราะห วิ ช าภาษาไทย นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึกษาปที่ 6 โรงเรีย นภูเวี ย งวิทยาคม อําเภอภูเวี ย ง จั งหวั ด
ขอนแก น ผูศึ ก ษาได ศึ กษาเอกสารตํ า รา คูมื อ แนวคิ ด ทฤษฎี งานวิจั ย ที่ เ กี่ย วขอ งและรวบรวมเอกสาร
ตามลําดับดังนี้
2.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2.2 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
2.3 แผนการจัดการเรียนรู
2.4 การวิจัยกึ่งทดลอง
2.5 ทักษะการคิดวิเคราะห
2.6 การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห
2.7 การจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคนิควิธีสอน 5W1H
2.8 การพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
2.9 ประสิทธิภาพ
2.10 ดัชนีประสิทธิผล
2.11 ความพึงพอใจ
2.12 บริบทโรงเรียนหนองไผมอดินแดง
2.13 งานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.14 กรอบแนวคิดในการศึกษา
2.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.นี้ จัดทําขึ้นจัดทําขึ้นสําหรับทองถิ่นและ
สถานศึกษาไดนําไปใชเปนกรอบและทิศทางในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอนเพื่อ
พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมีคุณภาพดานความรู และทักษะที่จําเปน
สําหรับการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอด
ชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)
2.1.1 วิสัยทัศน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนซึ่งเปนกําลัง
ของชาติใหเปนมนุษยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและ
เปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและ
ทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเปนตอการศึกษาตอการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนน
ผูเรียนเปนสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ
2.1.2 หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้
1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู
เปนเปาหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปน
ไทยควบคูกับความเปนสากล
2. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอ
ภาค และมีคุณภาพ
3. เปนหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
ใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น
4. เปนหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและการจัดการ
เรียนรู
5. เปนหลักสูตรการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
6. เป น หลั ก สู ต รการศึ ก ษาสํ า หรั บ การศึก ษาในระบบ นอกระบบ และตามอั ธ ยาศั ย
ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ
2.1.3 จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา
มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียนเมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหาการใชเทคโนโลยี และมีทักษะ
ชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม
มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข
2.1.4 สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน
ที่กําหนด ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้
1..ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลด
ปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการ
เลือกใชวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม
2..ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด
อย างสร างสรรค การคิ ดอยา งมี วิจ ารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูห รือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม
3..ความสามารถในการแกปญหาเปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่
เผชิ ญ ได อ ย า งถู ก ต อ งเหมาะสมบนพื้ น ฐานของหลั ก การเหตุ ผ ล คุ ณ ธรรมและข อ มู ล สารสนเทศ เข า ใจ
ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการ
ปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคม
และสิ่งแวดลอม
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตางๆ ไปใชใน
การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันใน
สังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดี ระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตางๆ อยา ง
เหมาะสม การปรั บ ตั ว ให ทั น กั บ การเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมและสภาพแวดล อ ม และการรู จั ก หลี ก เลี่ ย ง
พฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
5..ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดาน
ตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร
การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม

2.1.5 คุณลักษณะอันพึงประสงค
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551พัฒนานักเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยสุจริต
3. มีวินัย
4..ใฝเรียนรู
5..อยูอยางพอเพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคเพิ่มเติมใหสอดคลองตาม
บริบทและจุดเนนของตนเอง
2.1.6 มาตรฐานการเรียนรู
การพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกําหนดใหผูเรียนเรียนรู 8 กลุมสาระการเรียนรู ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร
3. วิทยาศาสตร
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาตางประเทศ
ในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสําคัญของการ
พัฒนาคุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรู ปฏิบัติได มีคุณธรรมจริยธรรม และคานิยมที่
พึงประสงคเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน
พัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร และ
ประเมินอยางไร รวมทั้งเปนเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการ
ประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก
2.1.7 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผูเรียนในแตละระดับชั้นซึ่ง
สะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นําไปใชในการกําหนดเนื้อหา
จัดทําหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑสําคัญสําหรับการวัด
ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผูเรียน
1. ตัวชี้วัดชั้นป เปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนแตละชั้นปในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปที่1- มัธยมศึกษาปที่ 3)
2..ตั ว ชี้ วั ด ช ว งชั้ น เป น เป า หมายในการพั ฒ นาผู เ รี ย นในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย
(มัธยมศึกษาปที่ 4 -มัธยมศึกษาปที่ 6)
กลาวโดยสรุปไดวา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551จัดใหคนไทย
ทุกคนไดรับการพัฒนาคุณภาพใหเปนคนดี มีปญญา คุณธรรม มีความรอบรูอยางเทาทัน ใหมีความพรอมทั้ง
ดานรางกาย สติปญญา อารมณ และศีลธรรม จิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พรอมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและ
ความรูพื้นฐานที่จําเปนในการดํารงชีวิตและแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิตมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีสามารถกาวทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมได
2.2 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
2.2.1 ความสําคัญของภาษาไทย
ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและ
เสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจ
และความสั ม พั น ธ ที่ ดี ต อ กั น ทํ า ให ส ามารถประกอบกิ จ ธุ ร ะ การงาน และดํ า รงชี วิ ต ร ว มกั น ในสั ง คม
ประชาธิ ป ไตยได อ ย า งสั น ติ สุ ข และเป น เครื่ อ งมื อ ในการแสวงหาความรู ประสบการณ จ ากแหล ง ข อ มู ล
สารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม และความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใชในการพัฒนาอาชีพให
มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนสื่อแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี
และสุนทรียภาพ เปนสมบัติล้ําคาควรแกการเรียนรู อนุรักษ และสืบสาน ใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป
2.2.2 สาระสําคัญของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู
อยางมีประสิทธิภาพ และเพื่อนําไปใชในชีวิตจริง
- การอาน การอานออกเสียงคํา ประโยค การอานบทรอยแกว คําประพันธชนิดตางๆ การอานในใจ
เพื่อสรางความเขาใจ และการคิดวิเคราะห สังเคราะหความรูจากสิ่งที่อาน เพื่อนําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน
- การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถอยคําและรูปแบบตางๆ ของ
การเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห
วิจารณ และเขียนเชิงสรางสรรค
- การฟง การดู และการพูด การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก
พูดลําดับเรื่องราวตางๆ อยางเปนเหตุเปนผล การพูดในโอกาสตางๆ ทั้งเปนทางการและ ไมเปนทางการ
และการพูดเพื่อโนมนาวใจ
- หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของภาษาไทย การใชภาษาใหถูกตองเหมาะสมกับ
โอกาสและบุคคล การแตงบทประพันธประเภทตางๆ และอิทธิพลของภาษาตางประเทศในภาษาไทย
- วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอมูล แนวความคิด คุณคา
ของงานประพันธ และความเพลิดเพลิน การเรียนรูและทําความเขาใจบทเห บทรองเลนของเด็ก เพลง
พื้นบานที่เปนภูมิปญญาที่มีคุณคาของไทย ซึ่งไดถายทอดความรูสึกนึกคิดคานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี
เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อใหเกิดความซาบซึ้งและภูมิใจในบรรพบุรุษที่ไดสั่ง
สมสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน
2.3 แผนการจัดการเรียนรู
2.3.1 ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู
ความหมายของแผนการจัดการเรียนรูไดมีนักการศึกษาหลายทานใหความหมายดังนี้
เขียน วันทนียตระกูล (2552) ไดกลาววา แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง แผนการสอนนํา
วิชาหรือกลุมประสบการณที่จะตองทําการสอนตลอดภาคเรียน มาสรางเปนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน การใชสื่อ อุปกรณการสอน และการวัดและประเมินผล โดยจัดเนื้อหาสาระและจุดประสงคการเรียน
ยอยๆ ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคหรือจุดเนนของหลักสูตร สภาพของผูเรียน ความพรอมของโรงเรียน
เรืองยศ ศิริเสาร (2553) ไดกลาวไววา แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง การวางแผนกําหนด
รูปแบบของบทเรียนแตละเรื่องซึ่งจะเปนแนวทางในการดําเนินการจัดการเรียนการสอนแกครูใหเปนไปตาม
จุดมุงหมาย ความคิดรวบยอด เนื้อหาและการวัดผลประเมินผลที่กําหนดไวในหลักสูตร
อาภรณ ใจเที่ยง (2553) ไดกลาววา แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง เปนการวางแผนการ
สอนอยางเปนลายลักษณอักษรไวลวงหนา เพื่อเปนแนวทางการสอนของครู อันจะชวยใหการเรียนการสอน
บรรลุจุดประสงคที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ
พิสมัย ลาภมาก (2553)ไดกลาวไววา แผนการจัดการเรียนรู หมายถึงการจัดกิจกรรมและ
แนวดําเนินการที่จัดเตรียมไวสําหรับการสอน เปนการเตรียมการสอนอยางเปนระบบและเครื่องมือที่ชวยใหครู
พัฒนาการเรียนการสอนไปสูจุดมุงหมายการเรียนรู ประกอบดวย จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา วิธีการจัด
กิจกรรมสื่อการเรียนรูและการประเมินผลผูเรียน
สํา ลี รั ก สุท ธี (2553)ได กล า วไว ว า แผนการจั ด การเรีย นรูเ ป น การนํา รายวิ ช า หรือ กลุ ม
ประสบการณที่จะตองทําการสอนตลอดภาคเรียนมาสรางเปนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใชสื่อ
อุ ป กรณ ก ารสอนและการวั ด ผลประเมิ น ผลเพื่ อ ใช ส อนในช ว งเวลาหนึ่ ง ๆ โดยกํ า หนดเนื้ อ หาสาระและ
จุดประสงคของการเรียนยอยๆ ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคหรือจุดหมายของหลักสูตร สภาพของผูเรียน
ความพรอมของโรงเรียนในดานวัสดุ อุปกรณและตรงกับชีวิตจริงในทองถิ่น
วันชัย แยมจันทรฉาย (2554)ไดกลาวไววา แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง การวางแผน
ลวงหนาเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดทําเปนเอกสาร เนื้อหาความรู สื่อการเรียน
การสอน กิจกรรมและการประเมินผล
สุวิทย มูลคํา (2554)ไดกลาวไววาแผนการจัดการเรียนรูไววา แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง
แผนการหรือโครงการที่จัดทําเปนลายลักษณอักษร เพื่อใชในการปฏิบัติการสอนในรายวิชาใดวิชาหนึ่ง เปนการ
เตรียมการสอนอยางมีระบบและเปนเครื่องมือชวยใหครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอนไปสูจุดประสงคและ
จุดมุงหมายของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ
สรุ ป ไดว า แผนการจั ดการเรีย นรูเปน การวางแผนการเรีย นการสอนไวลว งหนาโดยมีการ
กําหนดรูปแบบของบทเรียนแตละเรื่อง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการจัดการเรียนการสอนแกครูและ
เพื่อใหชวยใหครูพัฒนาการเรียนการสอนไปสูจุดมุงหมาย ซึ่งแผนการเรียนรูประกอบดวย จุดประสงคการ
เรียนรู เนื้อหา วิธีการจัดกิจกรรม สื่อการเรียนรู และการวัดผลการประเมินผลผูเรียนตามที่หลักสูตรกําหนด
2.3.2 ความสําคัญของแผนการจัดการเรียนรู
สําลีรัก สุทธี (2553)กลาวถึงความสําคัญของแผนการจัดการเรียนรูดังนี้
1..ชวยใหครูไดมีโ อกาสศึกษาหลักสูตรแนวการสอน วิธีวัดผลประเมินผลศึกษาเอกสารที่
เกี่ยวของและการบูรณาการกับวิชาอื่น
2..ทั้งในเรื่องทรัพยากรของโรงเรียนทรัพยากรของทองถิ่น คานิยม ความเชื่อและสภาพที่เปน
จริงของทองถิ่นตลอดจนการเชื่อมโยงสัมพันธกบวิชาอื่นดวย
3.เปนเครื่องมือของครูในการจัดการเรียนการสอนไดอยางมีคุณภาพมีความมั่นใจในการสอน
มากขึ้นทานจะเหมือนนักรบที่เดินลงสนามอยางองอาจกลาหาญ
4.ผูสอนสามารถใชเปนขอมูลที่ถูกตอง เที่ยงตรง เสนอแนะแกบุคลากรที่เกี่ยวของ
5.ใชเปนคูมือสําหรับครูที่สอนแทนได
6.เป นการพั ฒ นาวิ ชาชี พและมาตรฐานวิชาชีพครูที่แสดงวางานสอนตองไดรับ การฝกฝน
โดยเฉพาะมีเครื่องมือและเอกสารที่จําเปนสําหรับการประกอบวิชาชีพดวย
อาภรณ ใจเที่ยง (2553) กลาวถึง ความสําคัญของแผนการจัดการเรียนรู ดังนี้
1. ทําใหครูผูสอนมีความมั่นใจ เพราะไดเตรียมการทุกอยางไวพรอมแลว การสอนก็จะ
ดําเนินไปสูจุดหมายปลายทางอยางสมบูรณ
2. ทําใหเปนการสอนที่มีคุณคา คุมกับเวลาที่ผานไป เพราะครูสอนอยางมีเปาหมาย ทิศทาง
ในการสอน
3. ทําใหเปนการสอนที่ตรงตามหลักสูตร เพราะครูตองศึกษาหลักสูตรทั้งดานจุดประสงคการ
สอน เนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใชสื่อการสอน และการวัดประเมินผล การจัดทํา
แผนการเรียนรูตรงตามจุดประสงค จุดมุงหมายและทิศทางของหลักสูตร
4. ทําใหการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพดีกวาการสอนที่ไมมีกรวางแผน
5. ทําใหครูมีเอกสารเตือนความจํา สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการสอนตอไป ทําใหไม
เกิดความซับซอน และใชเปนแนวทางการสอนของครูผูมาสอนแทน
6.ทําใหนักเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอครูและตอรายวิชา ทั้งนี้เพราะครูสอนดวยความพรอม ทําให
นักเรียนเกิดความเขาใจในบทเรียน
สรุปไดวาความสําคัญของแผนการจัดการเรียนรูเปนการเตรียมการสอนไวลวงหนาเพื่อใหมี
ความพรอมในดานตางๆ เชน เนื้อหา สื่อการสอน กิจกรรมการเรียนรู การวัดประเมินผลทําใหผูเรียนบรรลุตาม
จุ ด ประสงค การเรี ย น สร า งความมั่ น ใจในการสอน เป น คู มือ สํา หรั บ ครู ผูส อนและครูที่ ส อนแทนนํา ไปใช
ปฏิบัติการสอนอยางมั่นใจ
2.3.3 ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรูที่ดี
สําลี รักสุทธี (2553).กลาวไววา แผนการจัดการเรียนรูที่ดีจะตองประกอบดวยองคประกอบของ
แผนการจัดการเรียนรูครบถวน มีกิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผลที่สอดคลองกันตลอด แนวที่สําคัญตองให
ผูเรียนมีสวนในการปฏิบัติมากที่สุด ทุกขั้นตอน ทุกกระบวนการตองลงสูผูเรียน ใหผูเรียนไดพัฒนาความรู
ความสามารถอยางเต็มศักยภาพ ซึ่งสรุปเปนขอๆ ไดดังนี้
1.เปนแผนการสอนที่มีกิจกรรมที่ใหผูเรียนเปนผูไดลงมือปฏิบัติใหมากที่สุด โดยครูเปนเพียงผูคอยชี้นํา
สงเสริม หรือกระตุนใหกิจกรรมที่ผูเรียนดําเนินการไปตามความมุงหมาย
2..เป น แผนการสอนที่ เ ป ด โอกาสใหผู เรี ย นเปน ผูคน พบคําตอบหรือ ทําสํ าเร็จ ด ว ยตนเอง โดยครู
พยายามลดบทบาทของผูบอกคําตอบ มาเปนผูคอยกระตุนดวยคําถาม หรือปญหาใหผูเรียนคิดแกหรือหา
แนวทางไปสูความสําเร็จในการทํากิจกรรมเอง
3.เปนแผนการสอนที่เนนทักษะกระบวนการมุงใหผูเรียนรับรู และนํากระบวนการไปใชจริง
4..เปนแผนการสอนที่สงเสริมใหใชวัสดุอุปกรณที่สามารถจัดหาไดในทองถิ่น หลีกเลี่ยงการใชวัสดุ
อุปกรณสําเร็จรูปราคาสูง
อาภรณ ใจเที่ยง (2553)กลาววาลักษณะของแผนการจัดการเรียนรูที่ดีมีลักษณะดังนี้
1.สอดคลองกับหลักสูตร และแนวการสอนของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
2.นําไปใชสอนจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ
3.เขียนอยางถูกตองตามหลักวิชา เหมาะสมกับผูเรียนและเวลาที่กําหนด
4.มีความกระจางชัดเจน ทําใหผูอานเขาใจงายและเขาใจไดตรงกัน
5.มีรายละเอียดมากพอที่ทําใหผูอานสามารถนําไปใชสอนได
6.ทุกหัวขอในแผนการจัดการเรียนรูมีความสอดคลองสัมพันธกัน
สรุปไดวา แผนการจัดการเรียนรูที่ดี ตองเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีความสอดคลองกันในทุกๆ
ดาน ไดแก สาระสําคัญ จุดประสงคการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อการเรียนรู และการวัดผลประเมินผล
2.3.4 รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู
รูป แบบของแผนการจั ดการเรีย นรูนั้น มีรูป แบบที่ห ลากหลายตามสภาพความพรอมและ
ลักษณะสิ่งแวดลอมของครูแตละคน แตตองมีสวนประกอบที่ครบถวนคือ จุดประสงคการเรียนรูกิจกรรมการ
เรียนการสอน การวัดและประเมินผลที่คํานึงถึงความสัมพันธของเวลา
อาภรณ ใจเที่ ยง.(2553).กลาววารูป แบบของแผนการจัดกิจ กรรมการเรีย นรูไมมีรูปแบบ
ตายตัว ขึ้นอยูกับหนวยงานหรือสถานศึกษาแตละแหงจะกําหนด อยางไรก็ตามลักษณะสวนใหญของแผนการ
จัดกิจกรรมการเรียนรูจะคลายคลึงกัน ซึ่งพอสรุปได 3 รูปแบบ ดังนี้
1..แบบเรียงหัวขอหรือแบบบรรยาย รูปแบบนี้จะเรียงตามลําดับกอนหลังโดยไมตองตีตาราง
รูปแบบนี้ใหความสะดวกในการเขียน เพราะไมตองตีตาราง แตมีสวนเสียคือยากตอการดูใหสัมพันธกันในแตละ
หัวขอ
2..แบบตารางรูปแบบนี้จะเขียนเปนชองๆ คลายแบบกึ่งตาราง โดยนําหัวขอสาระสําคัญมาไว
ในตารางดวย
3.แบบกึ่งตาราง รูปแบบนี้จะเขียนเปนชองๆ ตามหัวขอที่กําหนด แมวาตองใชเวลาในการตี
ตารางแตก็สะดวกตอการอาน ทําใหเห็นความสัมพันธของแตละหัวขออยางชัดเจน
สุวิทย มูลคํา (2554).กลาววาแผนการจัดการเรียนรูที่นิยมใชกันทั่วไปมี 3 รูปแบบใหญๆ คือ
1.แผนการจัดการเรียนรูแบบบรรยาย เขียนโดยใชการลําดับกิจกรรมการเรียนการสอนจะ
เขียนเปนเชิงบรรยายกิจกรรมที่ครูจัดเตรียมไว โดยไมระบุชัดเจนวานักเรียนทําอะไร
2.แผนการจั ดการเรี ย นรู แ บบตาราง เขีย นโดยใช ป ระเด็น สําคั ญ ที่เป น องค ป ระกอบของ
แผนการจัดการเรียนรูมากํากับ และบรรจุองคประกอบสําคัญเหลานั้นลงไปในตารางเกือบทั้งหมด
3.แผนการจัดการเรียนรูแบบกึ่งตาราง เปนแผนการจัดการเรียนรูที่มีรายละเอียดมากขึ้น การ
จัดลําดับกิจกรรมการเรียนการสอนแยกเปนกิจกรรมที่ครูปฏิบัติและสิ่งที่นักเรียนปฏิบัติซึ่งสอดคลองกัน
จากรูปแบบแผนการจัดการเรียนรูที่กลาวมาขางตน สรุปไดวา แผนการจัดการเรียนรูที่นิยม
ใชกันทั่วไปมี 3 รูปแบบใหญๆ คือ 1) แผนการจัดการเรียนรูแบบบรรยาย 2) แผนการจัดการเรียนรูแบบตาราง
และ 3) แผนการจัดการเรียนรูแบบกึ่งตาราง ทั้งนี้ผูศึกษาเลือกใชแผนการจัดการเรียนรูแบบบรรยาย ซึ่ง
ครูผูสอนสามารถเลือกใชรูปแบบของแผนการจัดการเรียนรูใหสอดคลองกับสภาพบริบทหรือปรับไดตามความ
เหมาะสม
2.3.5 ขั้นตอนการทําแผนการจัดการเรียนรู
สําลี รักสุทธี (2553)ไดกลาวสรุปขั้นตอนการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูไวดังตอไปนี้
1.กําหนดหรือเลือกรูปแบบ ตัดสินใจวาจะเอารูปแบบใด
2.กําหนดชื่อสาระการเรียนรู (ชื่อเรื่อง)
3.วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู แลวเขียนเปนจุดประสงคหรือมาตรฐานการเรียนก็ได
4.กําหนดมาตรฐานหรือจุดประสงคที่วิเคราะหไวแลว ที่มีความสัมพันธกับสาระการเรียนรูที่
กําหนด เพื่อนําไปเขียนลงในแผนการจัดการเรียนรู
5.วิเคราะหสาระการเรียนรูเปนรายละเอียดสําหรับนําไปจัดการเรียนรูตอไป
6.ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู กําหนดเทคนิควิธีการถายทอดที่ดี
7.กําหนดเรื่องใหเหมาะสมกับสาระ
8.จัดทําลําดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมโดยคํานึงถึงธรรมชาติวิชาคํานึงผูเรียนเปนสําคัญการ
เชื่อมโยงการเรียนและการเรียนรูแบบองครวม
9.กําหนดวิธีการวัดผลประเมินผล
อาภรณ ใจเที่ยง (2553) กลาวไววา การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู มีขั้นตอนดังนี้
1. วิเคราะหคําอธิบายรายวิชา รายปหรือรายภาค และหนวยการเรียนรูที่สถานศึกษาจัดทํา
ขึ้น เพื่อประโยชนในการเขียนรายละเอียดของแตละหัวขอของแผนการจัดการเรียนรู
2. วิเคราะหผ ลการเรีย นรูที่คาดหวังเพื่อนํามาเขีย นเปนจุดประสงคการเรีย นรู โดยให
ครอบคลุมพฤติกรรมทั้งดานความรู ทักษะ/กระบวนการ เจตคติ และคานิยม
3. วิเคราะหสาระการเรียนรู โดยเลือกและขยายสาระที่เรียนรู ใหสอดคลองกับผูเรียน ชุมชน
และทองถิ่น
4. วิเคราะหกระบวนการจัดการเรียนรู เลือกการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
5. วิเคราะหกระบวนการประเมินผล โดยเลือกใชวิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับ
มาตรฐานการเรียนรู
6. วิเคราะหแหลงการเรียนรู โดยคัดเลือกสื่อการเรียนรู และแหลงการเรียนรู และแหลงการ
เรียนรูทั้งในและนอกหองเรียน ใหเหมาะสมสอดคลองกับกระบวนเรียนรู
จากขั้ น ตอนการทํ า แผนการจั ด การเรีย นรู ที่ กล า วมาขา งต น สรุป ไดว า ขั้ น ตอนการทํ า
แผนการจัดการเรียนรู มีลําดับขั้นตอน คือ 1) วิเคราะหสาระ มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดใหสอดคลองกับ
หลักสูตรที่กําหนดใหชัดเจน2) วิเคราะหคําอธิบายรายวิชา โครงสรางรายวิชา โครงสรางเวลาเรียน ระดับ
การศึกษา3) วิ เคราะหผ ลการเรี ย นรู ที่คาดหวัง สาระการเรีย นรู กระบวนการจัดการเรีย นรู การวัดผล
ประเมินผล สื่อและแหลงการเรียนรู 4) ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู โดยเลือกรูปแบบใหสอดคลองกับ
บริบทของสถานศึกษาความถนัดและความแตกตางของผูเรียน ความเหมาะสมของแตละสาระวิชา และ 5)
เขียนแผนการจัดการเรียนรูตามลําดับขั้นตอนที่กําหนดไว
2.4 การวิจัยกึ่งทดลอง
การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Design)
ภัทรา เสตะบุตร (2550) กลาววา การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi - experimental research
design) มีแบบแผนคลายการวิจัยแบบทดลอง คือมีการจัดกระทําแตควบคุมไดไมเต็มที่เพราะไมตองมีการ
ควบคุมหรือการสุม อาจไมตองมีกลุมเปรียบเทียบ หรือการสุมไมตองครบทุกขั้นตอน เปนการวิจัยที่กระทํากับ
คน และทําใหสภาพแวดลอมจริงตามธรรมชาติ ทําใหมีขอจํากัดบางครั้ง ไมสามารถสุมกลุมตัวอยางได หรือ
ไมไดจัดกลุมควบคุม แตอยางไรก็ดีตองมีการจัดกระทํา และติดตามศึกษาผลจากการจัดกระทํานั้นๆ ในที่นี้จะ
นําเสนอแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลองที่มีนักวิจัยนิยมใชเพียง 3 แบบ ไดแก
แบบที่ 1 non - randomized control group pretest - posttest design เปนการวิจัย
แบบกลุมควบ คุมไมไดสุม แตมีการทดสอบกอนหลังการทดลอง แตไมสามารถควบคุมปฏิกิริยา รวมระหวาง
การทดสอบกอนทดสอบ กับการจัดกระทําที่ใหในกลุมควบคุมได
วิธีการ 1. เลือกกลุมตัวอยาง 2กลุม จัดใหเปนกลุมทดลอง 1 กลุม กลุมควบคุม 1 กลุม
2. ทดสอบกอนทดลอง (Pretest) แกทั้ง 2 กลุม
3. ให Treatment / จัดกระทํากับกลุมทดลอง
4. ทดสอบหลังการทดลอง (Posttest) กับกลุมทดลองและทดสอบ Posttest กับกลุม ควบคุม
5. เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง Posttest - Pretest ของทั้ง 2 กลุม สถิติที่ใชเปรียบเทียบ
Independent t-test , dependent t-test , ANCOVA
แบบที่ 2 Time series design การวิจัยแบบอนุกรมเวลา ใชสําหรับการศึกษาระยะยาวทําให
เห็นลําดับขั้นตอนการพัฒนาของตัวแปร ตองใชเวลาในการติดตามนานไมตองมีกลุม เปรียบเทียบ ไมมีการ
ควบคุม
วิธีการ 1. เลือกกลุมตัวอยาง 1 กลุม
2. ทดสอบติดตอกันหลายครั้งกอนให Treatment (การจัดกระทํา) เวนระยะเวลาในการทดสอบ
พอสมควร
3. จัดกระทํา
4. ทดสอบหลังการจัดกระทําหลายครั้งใหแตละครั้งหางกันพอสมควร
5. สังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของการทดสอบ กอนการจัดกระทําครั้งสุดทายหลังการ จัดกระทําครั้ง
แรก วาแตกตางจากครั้งที่ 1 ไปครั้งที่ 5 มากนอยเพียงใด
6. พิจารณาคาความแตกตางของการทดสอบกอนการจัดกระทํา ครั้งที่ 1 - 2 - 3 กับ การทดสอบ
หลังกระทําครั้งที่ 2 - 3 - 4 ถาเกิดความตางกันมากกวาปกตินาจะเปน ผลจากการจัดกระทํา สถิติที่ใช
ANOVA แบบวัดซ้ํา
แบบที่ 3 Control group time series design ใชกรณีติดตามกลุมตัวอยางเปนเวลานานตาม
ธรรมชาติ อาจไดลําดับขั้นตอนของการ พัฒนาการเปลี่ยนแปลงหรือแนวโนมไดชัดเจน แตจะเสียเวลานานและ
ไมสามารถ ควบคุมปฏิกิริยารวมระหวางการเลือกกับการจัดกระทําและการทดสอบกอนการ ทดลองกับการจัด
กระทําได วิธีการ
1. เลือกกลุมตัวอยางจากประชากรใหเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุม
2. ทดสอบก อนการจั ดกระทํ าทั้งสองกลุม ติดตอกัน หลายครั้งโดยการทดสอบแตล ะครั้งเวน
ระยะหางกันพอสมควร
3. จัดกระทํากับกลุมทดลอง สวนกลุมควบคุม จัดสภาพทุกอยางใหเหมือนกลุมทดลอง
4. ทดสอบหลังการจัดกระทํา ใหแตครั้งตางกันพอสมควร
5. สังเกตการเปลี่ยนแปลงจาก Posttest ครั้งที่ 1 กับ Pretest ครั้งที่ 4 ทัง้ สองกลุมสถิติที่ใช t-test
การศึกษาในครั้งนี้ เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - experimental research design) โดยใชกลุม
ทดลองกลุมเดียว มีการทดสอบกอนและหลังการทดลอง (One Group Pretest-posttest Design) (สมนึก
ภัททิยธนี, 2551) ซึ่งแบบแผนการวิจัยแสดงดังตารางตอไปนี้
ตาราง แบบแผนการทดลองกลุมเดียว วัดผลกอนและหลังการทดลองกลุมเดียว (One Group Pretest-
posttest Design)
กลุม Pretest Treatment Posttest
ทดลอง Ex T1 X T2

ตารางแสดงบนแผนการวิจัยและสัญลักษณที่ใชในการวิจัย ดังนี้
E หมายถึง กลุมทดลอง
T1 หมายถึง การทดสอบกอนเรียน (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนหลังการจัดการ
เรียนรูระบบ e-Learning โดยใช Google Apps)
X หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูระบบ E-learning โดยใช Google Apps
T2 หมายถึง การทดสอบหลังเรียน (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนหลังการจัดการ
เรียนรูระบบ e-Learning โดยใช Google Apps)
สรุปได การวิจัยกึ่งทดลองมีลักษณะคลายการวิจัยเชิงทดลอง แตการวิจัยกึ่งทดลองไมมีการสุมตัวอย
างเขากลุม การวิจัยกึ่งทดลองพยายามออกแบบการวิจัยใหเกิดความเที่ยงตรงภายในโดยมีวิธีการสราง การ
ควบคุมประเภทตาง ๆ เพื่อขจัดอิทธิพลของตัวแปรภายนอกตาง ๆ แบบการวิจัยกึ่งทดลองมีหลายประเภท
แบบการวิจัยกึ่งทดลองที่นิยมใชไดแก การวิจัยที่มีการทดสอบกอนและหลังการทดลองในกลุมทดลองและกลุ
มเปรียบเทียบ

2.5 ทักษะการคิดวิเคราะห
2.5.1 ความหมายของทักษะการคิดวิเคราะห
ทักษะการคิดวิเคราะหเปนความสามารถในการคิดวิเคราะห ซึ่งประกอบดวยทักษะสําคัญ
หลายประการ เชน การจําแนกแยกแยะ การคาดคะเน การเชื่อมโยงความสัมพันธ รวมไปถึงการสรุปหลักการ
เพื่อนาไปใชในการตัดสินใจดวยเหตุผล ทักษะการคิดวิเคราะหจึงเปนทักษะการคิดระดับสูงที่มีนักการศึกษา
นักจิตวิทยาและนักวิจัยไดใหคํานิยามไว ดังนี้
ทักษะการคิดวิเคราะห ตามเกณฑการประเมินการผานชวงชั้นของหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช 2544 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2548 : 13) หมายถึง ความสามารถในการ ไตรตรอง
ใครครวญ แยกออกเปนสวน ๆ เพื่อศึกษาใหถองแท โดยคิดพิจารณาอยางรอบคอบ ใครครวญในเหตุและผล
โดยแยกแยะพิจารณาไตรตรองเพื่อความถูกตองแจมแจงชัดเจน มิใชพิจารณาเพียงแตการวิเคราะห โดยแยะ
แยะความสําคัญความสัมพันธและหลักการดานเดียว แตจะตองพิจารณาใครครวญทุกดานทุกมุมอยางลึกซึ้ง
ดาวนภา ฤทธแกว (2548 : 6) ไดใหความหมายของทักษะการคิดวิเคราะหวา หมายถึง
ความสามารถในการแยกแยะสวนประกอบยอยของเหตุการณ เรื่องราวหรือเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางไร
บาง โดยใชคาถามแบบวิเคราะหความสําคัญ ความสัมพันธและหลักการ สอดคลองกับ
วัชรา เลาเรียนดี (2547 : 7) ที่ใหความหมายของทักษะการคิดวิเคราะหวา หมายถึง ความสามารถใน
การแยกย อย แนวคิ ด ข อโต แย ง ปรากฏการณตาง ๆ ใหเปน สว นยอย โดยใชคาถามเพื่อสงเสริมการคิ ด
วิเคราะห สอดคลองกับ จุฑามาศ เจริญธรรม (2549 : 35) ใหนิยามของทักษะการคิดวิเคราะหวา หมายถึง
ความสามารถในการจําแนกแยกแยะองคประกอบตาง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งอาจจะเปนวัตถุ สิ่งของ เรื่องราว
หรือเหตุการณและการหาความสัมพันธเชิงเหตุผล ระหวางองคประกอบเหลานั้นเพื่อคนหาสภาพความเปนจริง
หรือสิ่งสําคัญของสิ่งที่กําหนดให
จากนิยามของนักการศึกษาขางตน ผูวิจัยสรุปไดวา ทักษะการคิดวิเคราะหหมายถึง ความสามารถใน
การพิจารณาจําแนก แยกแยะสวนยอยของเนื้อหาโดยใชคําถามแบบวิเคราะหหาความสัมพันธเชิงเหตุผ ล
ระหวางองคประกอบตาง ๆ อยางมีหลักการเพื่อคนหาสิ่งสําคัญเพื่อนํามาเปนเกณฑในการตัดสินใจและสรุป
เรื่องราวตาง ๆ วาเห็นดวยหรือไมเห็นดวยหรือไม
2.6 การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห
ทิศนา แขมมณี (2544 : 15 – 16) กลาวถึง การสอนเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะหวา ในการจัด
กระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหของนักเรียนนั้น ผูสอนจะตองรูและพัฒนานักเรียนในเรื่อง
ทักษะการไตรตรองและโครงสรางกระบวนการคิดใหเกิดในตัวนักเรียน สิ่งสําคัญคือผูสอนตองมีความเชื่อมั่นใน
การรับผิดชอบของนักเรียนในการที่จะเรียนรูดวยตนเองและเกิดความมั่นใจวาการมีสวนรวมของนักเรียนจะ
กอใหเกิดความเพลิดเพลินเห็นคุณคาในการเรียนรูเปนหนาที่ของผูสอนที่จะจัดสรางบรรยากาศในชั้นเรียนให
เปนชั้นเรียนที่สงเสริมกระตุนใหนักเรียนไดทํางานอยางอิสระและรวมกันทํางานทุกคน จัดวางรูปแบบการคิด
และยุทธศาสตรการคิดใหเหมาะสม นอกจากนี้การสอนที่สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหประกอบดวยปจจัย
ตาง ๆ ดังนี้
1. สอนดวยการตั้งคําถาม ทั้งคําถามเดียวและคําถามแบบชุด
2. สอนโดยใชแผนที่ความคิด (Mind Mapping) ฝกการวิเคราะหและสังเคราะห
3. การเรียนรูแบบปรึกษาหารือ
4. บันทึกการเรียนรูบันทึกขอสงสัยความรูสึกสวนตัวความคิดที่เปลี่ยนไป
5. การถามตัวเองในการวางแผน จัดระเบียบ คิดไตรตรองในเรื่องการเรียนรูของตนเอง
6. การประเมินตนเองเพื่อประเมินความคิดความรูสึกของตนเอง
ดิลก ดิลกกานนท (2534 : 63 – 66) เสนอแนวทางในการฝกใหผูเรียนไดคิดวิเคราะหมีขั้นตอน ดังนี้
1. วิเคราะหวาอะไรคืออะไร ขั้นนี้ผูเรียนตองรวบรวมปญหา หาขอมูลพรอมสาเหตุของ
ปญหาจากการคิด การถาม การอาน หรือพิจารณาจากขอเท็จจริงนั้น ๆ
2. กําหนดทางเลือกเมื่อหาสาเหตุของปญหานั้นไดแลวผูเรียนตองหาทางเลือกที่จะแกปญหา
โดยพิจารณาจากความเปนไปไดและขอจํากัดตาง ๆ ทางเลือกที่จะแกปญหานั้นไมจําเปนตองมีทางเลือกเดียว
อาจมีทางเลือกหลาย ๆ ทาง
3. เลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดเปนการพิจารณาทางเลือกที่ใชแกปญหานั้นโดยมีเกณฑ
การตัดสินใจที่สําคัญ คือ ผลดีผลเสียที่เกิดจากทางเลือกนั้นทั้งที่เกิดขึ้นในดานสวนตัวและสังคมสวนรวม
4. ตัดสินใจเพื่อพิจารณาเลือกอยางรอบคอบในขั้นตอนที่ 3 แลวจึงตัดสินใจเลือกทางเลือกที่
คิดวาดีที่สุด หลังจากนั้นครูตองเปดโอกาสใหผูเรียนไดเสนอความคิดของเขาและอภิปรายรวมกันในกลุมโดยครู
ตองยอมรับความคิดเห็นของทุกคนถาหากคําตอบของผูเรียนมีการขัดแยงขึ้นในกลุมครูตองเปนผูตั้งคําถามดวย
การใหคิดตอไปวาคําตอบใดกอใหเกิดผลในทางดีและไมดีอยางไรบางอะไรเปนประโยชนแกตนเองและสังคม
มากที่สุดแนวคิดนี้สอดคลองกับ ศิริกาญจน โกสุม และดารณี คําวัจนัง (2545 : 52 – 53) กลาวถึงแนวทาง
การสอนที่สงเสริมการคิดวิเคราะหไววาในการสอนเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะหตองเริ่มจากทักษะพื้นฐานขั้นตน
ไปสูทักษะขั้นสูง ดังนี้
1. การสังเกตเปนทักษะขั้นตนในการศึกษาปรากฏการณทางธรรมชาติและทางสังคมครูอาจฝกให
นักเรียนรูจักการสังเกตโดยตรง เชน สังเกตปรากฏการณทางธรรมชาติ สังเกตความเปนอยูของคนในชุมชน
สังเกตการณการดารงชีวิตของสัตว สังเกตของจริง ฯลฯ และการสังเกตโดยทางออน เชน การสังเกตจาก
ภาพถาย แผนที่ วีดีทัศ รูปจาลอง สไลด การเลนเกมบางประเภท เชน เกมจับผิดหรือเกมจับคูรูปภาพ เปนตน
การฝกการสังเกตจะชวยใหนักเรียนไดฝกการเฝาดูรายละเอียดของสถานการณตาง ๆ พฤติกรรมของคน วัตถุ
สิ่งของ รายงานหรือบุคคล
2. การวัดและการใชตัวเลขในชีวิตประจาวันของนักเรียนจะตองเกี่ยวของกับการชั่งน้ําหนัก การวัด
สว นสู ง การวั ดไข การวั ดพื้ นที่ ปริ มาตรการคํานวณทางคณิตศาสตร การดูเวลาวัน เดือนปที่เปนตัวเลขซึ่ง
นักเรียนควรไดรับการฝกทั้งโดยการคิดคํานวณและการสังเกตเพื่อประมาณการ
3. การจําแนกประเภท สิ่งของที่อยูรอบตัวเราสามารถจัดเปนประเภทไดหลายประเภทตามเกณฑที่ใช
เชน สี รูปราง อายุ ขนาด ลักษณะคลายคลึงหรือแตกตาง ซึ่งนักเรียนควรไดรับการฝกใหจําแนกประเภท คน
สัตว สิ่งของ ปรากฏการณธรรมชาติ สิ่งแวดลอมรอบตัว โดยใชเกณฑที่ตนเองสรางขึ้นอยางสม่ําเสมอเพื่อฝก
ทักษะการคิดวิเคราะห โดยจําแนกประเภทของสิ่งตาง ๆ
4. การสื่อสารสามารถสังเกตไดจากการฟง พูด อาน เขียน รวมทั้งแสดงออกทางหนาตาทาทางเปนสิ่ง
ที่นักเรียนควรไดรับการฝกใหมีความสามารถรับรูและสงขาวสารความรูสึกแนวความคิด หรือปญหาตาง ๆ กับ
ผูอื่น
5. การใชความสัมพันธระหวางระยะทาง – เวลา เชน ความสัมพันธของวัตถุ สิ่งของ สถานที่ บุคคล
ซึ่งสัมพันธกันในแงของเวลาและระยะทาง การลา ดับเหตุการณตาง ๆ ตามลา ดับกอนหลังที่สัมพันธกันกับ
ความใกลไกลของระยะทาง
6. การทํานายเปนการคาดเดาถึงเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตดวยความมั่นใจมากกวาการเดา
เพราะมีการศึกษาหลักฐานตาง ๆ อยางรอบคอบ หรือการสังเกตการณสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางตอเนื่องจน มั่นใจวา
เมื่อเกิดเหตุการณเชนนี้แลว จะเกิดอีกเหตุการณหนึ่งตามมา เชน การเห็นมดยายรังอาจทํานายไดวาอีกไมนาน
จะเกิดฝนตกหนักเปนตน
7. การอางอิง เปนการคงความเห็น โดยพิจารณาจากหลักการทั่วไปไปสูเรื่องเฉพาะเปนการแสดง
นัยสําคัญหรือการลงขอสรุปหรือการตัดสินสาเหตุของบางสิ่งบางอยาง
8. การนิยามปฏิบัติการเปนการตัดสินสาเหตุของบางสิ่งบางอยางเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันใหงาย
ขึ้น
9. การแปลความหมายขอมูลเปนการนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไวมาแปลความ หรือตีความโดยวิธีการ
ตางๆ เชน การหาคาทางสถิติ การเขียนกราฟแบบตาง ๆ หรือการอธิบายแลวสรุปผล
10. การตั้งสมมุติฐาน เปนการคาดการณโดยอาศัยขอมูลอางอิงเกี่ยวกับสาเหตุหรือผลที่เกิดขึ้น แลว
ทดสอบวาสมมุติฐานใดถูกตองที่สุด โดยสังเกตการณหรือศึกษาเพิ่มเติมเพื่อสงผลใหเกิดการปรับปรุงหรือตั้ง
สมมุติฐานใหม
อเนก พ.อนุกูลบุตร (2547 : 62 – 63) กลาวไววา การสอนใหคิดแบบวิเคราะห มุงหมายใหนักเรียน
คิดออยางแยกแยะได และคิดไดอยางคลองแคลว หรือมีทักษะในการคิดวิเคราะหไดขั้นแรก ครูผูสอนตองรูจัก
ความคิดแบบวิเคราะหนี้อยางดีเสียกอน ขั้นตอไป จึงผสานการคิดแบบนี้เขาไปในกระบวนการเรียนการสอนไม
วาจะใชระเบียบวิธีสอนเทคนิคการสอนแบบใด โดยแบงแนวทางการคิดในรูปกิจกรรมหรือคําถามใหพัฒนาการ
คิดแบบวิเคราะหขึ้นในตัวนักเรียนการสอนการคิดวิเคราะหประกอบดวย
1. การสอนการคิดวิเคราะหแยกองคประกอบ (Analysis of elements) มุงใหนักเรียนคิดแบบ
แยกแยะวาสิ่งสําเร็จรูปหนึ่งมีองคประกอบอะไร มีแนวทางดังนี้
1.1 วิเคราะหชนิดโดยมุงใหนักเรียนคิดและวินิจฉัยวาบรรดาขอความเรื่องราวเหตุการณ
ปรากฏการณใด ๆ ที่พิจารณาอยูนั้นจัดเปนชนิดใด ประเภทใด ลักษณะใด ตามเกณฑหรือหลักการใหมที่
กําหนด เชน เสียชีพอยาเสียสัตย ใหนักเรียนคิด (ชวยกันคิด) วาเปนขอความชนิดใดและเพราะอะไรตามเกณฑ
ที่กําหนดให ใหมเหมือนในจุดสําคัญของการสอนใหคิดแบบวิเคราะหช นิดก็คือ ตองใหเกณฑใหมและบอก
เหตุผลที่จัดชนิดตามเกณฑใหมที่กําหนด
1.2 วิเคราะหสิ่งสําคัญมุงใหคิดแยกแยะและวินิจฉัยวาองคประกอบใดสําคัญหรือ
ไมสําคัญ เชน ใหคนหาสาระสําคัญ แกนสาร ผลลัพธ ขอสรุป จุดเดน จุดดอย
1.3 วิเคราะหเลศนัยมุงใหคิดคนหาสิ่งที่พรางไวแฝงเรนอยูมิไดบงบอกไวตรง ๆ แตมีรองรอย
สงใหเห็นวามีความจริงนั้นซอนอยู
2. การสอนการคิดวิเคราะหความสัมพันธ (Analysis of relationships) มุงใหนักเรียนคิดแบบ
แยกแยะวา มี องค ประกอบใดสั มพั น ธกัน สั มพัน ธกัน แบบใด สัมพัน ธตามกัน หรือกลับ กัน สัมพัน ธกัน สูงต่ํา
เพียงไรมีแนวทาง ดังนี้
2.1 วิเคราะหชนิดความสัมพันธมุงใหคิดแบบคนหาชนิดของความสัมพันธวา
สัมพันธแบบตามกันกลับกันไม สัมพันธกัน ความสัมพันธระหวางองคประกอบกับองคประกอบ องคประกอบ
กับเรื่องทั้งหมด เชน มุงใหคิดแบบคนหาความสัมพันธระหวางสิ่งใดสอดคลอง กับไมสอดคลองกับเรื่องนี้คํา
กลาวใดสรุปผิด เพราะอะไร ขอเท็จจริงใดไมสมเหตุสมผลเพราะอะไรขอความในยอหนาที่... เกี่ยวของอยางไร
กับขอความทั้งเรื่องรอยละกับเศษสวนทศนิยมเหมือนและตางกันอยางไรบาง
2.2 วิเคราะหขนาดของความสัมพันธโดยมุงใหคิดเพื่อคนหาขนาดระดับของความสัมพันธ
เชน สิ่งนี้เกี่ยวของมากที่สุด (นอยที่สุด) กับสิ่งใด
2.3 วิเคราะหขั้นตอนของความสัมพันธมุงใหคิดเพื่อคนลําดับขั้นความสัมพันธในเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งที่เปนเรื่องแปลกใหม เชน สิ่งใดเปนปฐมเหตุ ตนกําเนิดของปญหา เรื่องราว เหตุการณ ปรากฏการณ สิ่ง
ใดเปนผลที่ตามมา ผลสุดทายของเรื่องราว เหตุการณ ปรากฏการณ
2.4 วิเคราะหวัตถุประสงคและวิธีการ มุงใหคิดและคนวาการกระทํา พฤติกรรมพฤติการณ มี
เปาหมายอะไร เชน ใหคิดและคนหาวา การกระทํา นั้นเพื่อบรรลุผลอะไร ผลคือเกิดวินัยในตนเอง ความ
ไพเราะของดนตรีขึ้นอยูกับอะไร ขึ้นอยูกับจังหวะความตอนที่เกี่ยวของอยางไรกับวัตถุประสงคของเรื่อง ผลคือ
สนับสนุน หรือขยายความ
2.5 วิเคราะหสาเหตุและผลที่เกิดตามมา มุงใหคิดแบบแยกแยะเห็นความสัมพันธ
เชิงเหตุผล ซึ่งเปนยอดปรารถนาประการหนึ่งของการสอนใหคิดเปน คือ คิดหาเหตุและผลไดดี เชน
ใหคิดและคนหาวา สิ่งใดเปนผลของสิ่งใดเปนเหตุของตอนใดเปนสาเหตุที่สอดคลองกับ เปนผลขัดแยงกับ
ขอความ เหตุการณคูใดสมเหตุสมผล เปนตัวอยางสนับสนุน
2.6 วิเคราะหแบบความสัมพันธ โดยใหคนหาแบบความสัมพันธระหวาง 2 สิ่งแลวบอกแบบ
ความสัมพันธนั้น หรือเปรียบเทียบกับความสัมพันธคูอื่นๆ ที่คลายกันทํานองเดียวกันในรูปอุปมาอุปไมย เชน
เซนติเมตร : เมตร อธิบายไดวา เซนติเมตรเปนสวนยอยของเมตรเพราะฉะนั้นเซนติเมตร : เมตร คลายกับ
ลูก : แม
3. การสอนคิดวิเคราะหหลักการ (Analysis of Organizational Principles ) มุงใหนักเรียนคิดอยาง
แยกแยะจนจับหลักการไดวา สิ่งสําเร็จรูปคุมองคประกอบตาง ๆ อยูในระบบใด คือหลักการอะไร ขั้นตอนการ
วิเคราะหหลักการตองอาศัยการวิเคราะหขั้นตน คือ การวิเคราะหองคประกอบ และวิเคราะหความสัมพันธ
เสี ย ก อน กล า วคื อ ต องแยกแยะสิ่ งสมบู ร ณห รือระบบใหเห็น วาองคป ระกอบสําคัญ มีห นาที่อยางไร และ
องคประกอบเหลานั้นเกี่ยวของพาดพิง อาศัยสัมพันธกันอยางไร พิจารณาจนรูความสัมพันธตลอดจนสามารถ
สรุป จับหัวใจหรือหลักการไดวาการที่ทุกสวนเหลานั้นสามารถทํางานรวมกัน เกาะกลุมกันคุมกันจนเปนระบบ
อยูได เพราะหลักการใดผลที่ไดเปนการวิเคราะหหลักการ (Principle) ซึ่งเปนแบบวิเคราะหการสอนใหคิดแบบ
วิเคราะหหลักการเนนการสอนวิเคราะห ดังนี้
3.1 วิเคราะหโครงสราง มุงใหนักเรียนคิดแบบแยกแยะแลวคนหาโครงสรางของสิ่งสําเร็จรูปนั้น ไมวา
จะเปนปญหาใหม เหตุการณ ปรากฏการณ ขอความ การทดลอง เชน การคนควานี้ (ทดลองเนื้อเรื่องนี้การ
พิสูจน) ดําเนินการแบบใดคําตอบคือ นิยามแลวพิสูจน ตั้งสมมติฐานและตรวจสอบขอความนี้(คําพูดจดหมาย
รายงาน) มีลักษณะใดโฆษณาชวนเชื่อเรื่องนี้มีการนําเสนอเชน ไร – ขูใหกลัว แลวลอใหหลง
3.2 การวิ เ คราะห ห ลั ก การ มุ งให นักเรีย นคิด แบบแยกแยะแล ว คน หาความจริ งแมบ ทของสิ่งนั้ น
เรื่องราวนั้น สิ่งสําเร็จรูปนั้นโดยการคิดหาหลักการ เชนหลักการสําคัญของเรื่องนี้มีวาอยางไรยึดความเสมอ
ภาคระเบี ย บวิ ธี วิ ท ยาศาสตร เ หตุ ก ารณ ค รั้ ง นี้ ลุ ก ลามมากขึ้ น (สงบ รุ น แรง)เนื่ อ งจากอะไรคํ า โฆษณา
(แถลงการณ การกระทา ) ใชวิธีใดจูงใจใหความหวัง
ชาตรี สาราญ (2548 : 40 – 41) กลาวถึง เทคนิคการปูพื้นฐานใหนักเรียนคิดวิเคราะหไดสามารถสรุป
รายละเอียด ดังนี้
1. ครูจะตองฝกใหเด็กหัดคิดตั้งคําถามโดยยึดหลักสากลของคําถามคือใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร
เพราะเหตุใด อยางไร โดยการนาสถานการณมาใหนักเรียนฝกคนควาจากเอกสารที่ใกลตัว หรือสิ่งแวดลอมเปด
โอกาสใหนักเรียนตั้งคําถามเองโดยสอนวิธีตั้งคําถามแบบวิเคราะหในเบื้องตนฝกทําบอยๆ นักเรียนจะฝกไดเอง
2. ฝ กหาความสั มพั น ธ เ ชิ งเหตุ ผ ลโดยอาศัย คําถามเจาะลึกเขาไปโดยใชคําถามที่ชี้บงถึงเหตุและ
ผลกระทบที่ จ ะเกิ ดฝ กจากการตอบคํ า ถามงาย ๆ ที่ใกลตัว นักเรีย นจะชว ยใหเด็กๆนําตัว เองเชื่อมโยงกับ
เหตุการณเหลานั้นไดดีที่สําคัญครูจะตองกระตุนดวยคําถามยอยใหนักเรียนไดคิดบอยๆ จนเปนนิสัยเปนคนชาง
คิด ชางถาม ชางสงสัยกอน แลวพฤติกรรมศึกษาวิเคราะหก็จะเกิดขึ้นแกนักเรียน
จากแนวคิดที่กลาวมา ผูวิจัยพอสรุปไดวาการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหผูสอนตองจัด
กิจ กรรมและสิ่งแวดลอมที่ สงเสริ มกระตุ นใหนักเรียนมีสว นรวมและไดทํางานอยางอิสระพัฒนาทักษะขั้น
พื้นฐานไปสูทักษะที่ซับซอน ไดแก การสังเกต การวัด การใชตัวเลข การจําแนกประเภท การสื่อสาร การใช
ความสัมพันธระหวางระยะทาง เวลา การทํานาย การอางอิง การนิยามปฏิบัติการ การแปลความหมายขอมูล
และการตั้งสมมุติฐาน โดยการสอนการคิดวิเคราะหตองประกอบดวยการวิเคราะหความสําคัญ การวิเคราะห
ความสัมพันธ และการวิเคราะหหลักการ
2.7 การจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคนิควิธีการสอน 5W1H
การจัดกิจกรรมการเรียนแบบใชเทคนิคคําถาม
สุวิทย มูลคา (2547 : 74) กลาวไววา การจัดกิจกรรมการเรียนแบบใชเทคนิคคําถามเปนกระบวนการ
เรียนที่มุงพัฒนากระบวนการทางความคิดของผูเรียน โดยผูสอนจะปอนคาถามในลักษณะตางๆ ที่เปนคําถามที่
ดีสามารถพัฒนาความคิดผูเรียนถามเพื่อใหผูเรียนใชความคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห วิจารณ สังเคราะห หรือ
ประเมินคาเพื่อจะตอบคําถามเหลานั้น ซึ่งมีองคประกอบสําคัญของการจัดการเรียนของการจัดการเรียนรูแบบ
ใชคําถาม มีดังนี้
1. คําถามประเภทตางๆ ที่มีลักษณะเปนคําถามที่ดีมีคุณภาพและสามารถพัฒนาความคิดผูเรียน
2. เทคนิคการใชคําถามของผูสอน
3. การตอบคําถามของผูเรียน
ทิศนา แขมมณี (2545 : 25) ไดเสนอแนวคิดการใชเทคนิคการตั้งคําถามที่พัฒนาการคิดสรุปไดดังนี้
การใชคําถามเปนเทคนิคที่ถือไดวา ครูสามารถนาไปใชไดมากที่สุด สะดวกที่สุด ประหยัดเวลาที่สุดและหาก
ใชไดดีก็จะเกิดประโยชนคุมคาที่สุด การใชคําถามที่ดีเพียง 1 คําถาม อาจชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยาง
มหาศาล ประเด็นที่เปนปญหาก็คือ ครูผูสอนจะตองคําถามใหดีไดอยางไร คําถามแบบใดที่จะชวยกระตุนให
นักเรียนคิดไดดี ครูจําเปนตองมีเกณฑหรือหลักการเปาหมายที่ใชในการตั้งคําถาม การพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะหเปนทักษะการคิดขั้นสูงในการพัฒนานั้นตองอาศัยทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน หมายความวา ถานักเรียน
ไมมีทักษะในการคิดขั้นพื้นฐานจะทําใหไมสามารถที่จะพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงได ผูวิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนา
ทักษะการคิดของผูเรียนในขั้นทักษะพื้นฐานและพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง ซึ่งไดแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี
และคณะ (2546 :74 -81) และเทคนิ คการคิดวิเคราะห 5W1H โดยการใชเทคนิคคาถามของ Bloom
(สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2548 : 92-93) การจําแนกประเภทคาถาม ดังนี้
1. คําถามระดับต่ําและระดับสูง
1.1 คําถามระดับต่ําเปนคาถามที่ตองการคําตอบระดับความจําของขอมูลหรือเรียกไดวาเปน
คําถามที่ตองการวัดความจําใชในการทบทวนความรูพื้นฐานหรือมโนทัศน
1.2 คํา ถามระดั บ สู งเป น คําถามที่ตองการคําตอบในระดับ การแปลผล การนํา ไปใช การ
วิเคราะห สังเคราะหและประเมินคาหรือเรียกไดวาเปนคําถามที่ตองการวัดความคิด ชวยพัฒนาผูเรียนดานของ
ทักษะความคิดและการใหเหตุผล
2. คําถามเกี่ยวกับผลกระบวนการและความคิดเห็น
2.1 คําถามเกี่ยวกับผลเปนคําถามที่ตองการคําตอบในรูปของการสรุปผลขั้นสุดทาย
2.2 คําถามเกี่ยวกับกระบวนการเปนคําถามที่ตองการใหผูเรียนอธิบายถึงวิธีการดําเนินการ
หรือขั้นตอนที่นําไปสูผลขั้นสุดทาย
2.3 คําถามเกี่ยวกับความคิดเห็นเปนคําถามที่ตองการใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นตัดสินใจ
หรือประเมินสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
3. คําถามแบบปดและเปด
3.1 คําถามแบบปดเปนคําถามที่มีคําตอบเดียวมักใชกับขอมูลที่เปนความจํา
3.2 คําถามแบบเปดเปนคําถามที่ใหคําตอบไดหลายอยางใชเพื่อการสรางขอมูลเพื่อใหเกิด
การตอบสนองเฉพาะตัวและนําไปสูการอภิปรายและการถามในขั้นตอไป
สุวิทย มูลคํา (2547 : 77) ไดนิยามคําถามตางๆ และคําถามตามแนวคิดของ Bloom แบง
ออกเปน 6 ประเภท ดังนี้
1. ถามความรูเปนคําถามที่มีคาตอบแนนอนในเนื้อหาเกี่ยวกับขอเท็จจริงจํากัดความคํานิยามคําศัพท
กฎทฤษฏี ถามเกีย่ วกับใคร (Who) อะไร (What) เมื่อไร (When) ที่ไหน (Where) รวมทั้งใชหรือไม
2. ถามความเขาใจคําถามที่ตองใชความรู ความจํามาประกอบเพื่ออธิบายดวยคําพูดของตนเอง เปน
คําถามที่สูงกวาความรู
3. ถามการนําไปใชคําถามที่นาความรูความเขาใจไปใชแกปญหาในสถานการณใหม
4. ถามการวิเคราะหคําถามที่ใหจําแนกแยกแยะเรื่องราวตาง ๆ วาประกอบดวยสวนยอยอะไรบางโดย
อาศัยหลักการทฤษฏีที่มาของเรื่องราวหรือเหตุการณนั้น
5. ถามสั งเคราะห คํา ถามที่ใชกระบวนการคิดเพื่อสรุปความสัมพัน ธร ะหวางขอมูลยอยๆ ขึ้นเปน
หลักการหรือแนวคิดใหม
6. ถามประเมินคาคําถามที่ใหนักเรียนตีคุณคาโดยใชความรู ความรูสึก ความคิดเห็น ในการกําหนด
เกณฑเพื่อประเมินคาสิ่งเหลานั้น
การคิดวิเคราะหดวยการใชเทคนิคคําถามการคิดวิเคราะห 5W1H จะสามารถชวยไลเรียงความชัดเจน
ในแตละเรื่องที่เรากาลังคิดเปนอยางดีทําใหเกิดความครบถวนสมบูรณ
สุวิทย มูลคําและอรทัย มูลคํา (2547: 85) กลาวถึงขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบใชเทคนิค
คําถามมีขั้นตอนสําคัญตอไปนี้
1. ขั้นวางแผนการใชคําถามผูสอนควรวางแผนไวลวงหนาจะใชคําถามวัตถุประสงคใด รูปแบบหรือ
ประการใดที่จะสอดคลองกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงคของบทเรียน
2. ขั้นเตรีย มคํา ถามผูส อนควรจะเตรีย มคํา ถามที่จ ะใชในการจัดกิจกรรมการเรีย นรูโ ดยการสราง
คําถามอยางมีหลักเกณฑ
3. ขั้นการใชคําถาม ผูสอนสามารถจะใชคํา ถามในทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรูและ
อาจจะสร า งคํ า ถามใหม ที่ น อกเหนื อ จากคํ า ถามที่ เ ตรี ย มไว ก็ ไ ด ทั้ ง นี้ ต อ งเหมาะสมกั บ เนื้ อ หาสาระและ
สถานการณนั้น ๆ
4. ขั้นสรุปและประเมินผล การสรุปบทเรียนผูสอนอาจจะใชคําถามเพื่อการสรุปบทเรียนก็ได การ
ประเมินผล ผูสอนและผูเรียนรวมกันประเมินผลการเรียนรู โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริงจากแนวคิด
ดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงมีแนวคิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเทคนิค 5W1H วาการคิดวิเคราะหจะดีได
นั้น ผู เ รี ย นต องได รั บ การฝ กฝนอยู เ สมอด ว ยการฝกตามกระบวนการอยางมีขั้น ตอนและมีกลวิธีในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู สรุปไดวา ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยเทคนิค 5W1H ใหบรรลุตามจุดประสงค
การเรียน มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นกําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห วิเคราะหเปนการกําหนดวัตถุสิ่งของเรื่องราวหรือเหตุการณ
ตาง ๆ ขึ้นมาเพื่อเปนตนเรื่องที่จะใชวิเคราะห เชน พืช สัตว หิน ดิน รูปภาพ บทความ เรื่องราวเหตุการณหรือ
สถานการณจากขาว ของจริงหรือสื่อเทคโนโลยีตาง ๆ เปนตน
ขั้ น ที่ 2 ขั้น กํา หนดป ญ หาหรื อวั ตถุป ระสงคเปน การกําหนดประเด็น ขอสงสัย จากปญ หาของสิ่ง ที่
ตองการวิเคราะหเพื่อคนหาความจริง สาเหตุหรือความสําคัญ เชน รูปภาพ บทเรียน สื่อ สถานการณหรืออะไร
ที่สําคัญที่สุด
ขั้นที่ 3 ขั้นการตั้งคําถาม เปนขั้นตอนการจัดกิจกรรมเรียนเรียนรูโดยการตั้งคําถามดวยเทคนิคคําถาม
5W1H ลักษณะคําถามในระดับต่ําหรืองายปนกับคําถามระดับสูงหรือคําถามยาก เกี่ยวกับเกณฑในการจําแนก
สิ่งที่มีความเหมือนกันหรือแตกตางกัน หลักเกณฑในการหาลักษณะความสัมพันธเชิงเหตุผลอาจเปนลักษณะ
ความสัมพันธที่มีความคลายคลึงกันหรือขัดแยงกัน
ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปบทเรียน เปนการสรุปบทเรียนรวมกันโดยครูและนักเรียน ตามขอคาถามในขั้นที่ 3
หรืออาจใชเทคนิคคําถาม 5W1H เพื่อจําแนกแยกแยะประเด็นตางๆ ใหสอดคลองเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผลผูสอนและผูเรียนรวมกันประเมินผลการเรียนรูโดยใชวิธีการประเมินผลตาม
สภาพจริง
2.8 การพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
2.8.1 การคิดวิเคราะห
การคิกวิเคราะหเปนทักษะสําคัญที่ผูเรียนใชตัดสินใจ ประเมินเรื่องตางๆ กอนที่จะตัดสินใจ
ผูเรียนตองเขาใจ รูขอเท็จของขอมูลซึ่งจะชวยใหผูเรียนตัดสินใจไดถูกตองยิ่งขึ้น
Dewey ( 1993 อางถึงใน ชํานาญ เอี่ยมสําอาง,2539 ) การวิเคราะห หมายถึง การคิดอยาง
ใครครวญไตรตรอง โดยอธิบายขอบเขตการคิดวิเคราะหวาเปนการคิดที่เริ่มตนจากสถานการณที่มีความยุงยาก
และสิ้นสุดลงดวยสถานการณที่มีความชัดเจน
บลูม (Bloom, 1956, P. 45 อางอิงใน ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ , 2539, หนา 41 –
44) ใหความหมายของการคิดวิเคราะหวา เปนความสามารถในการแยกแยะเพื่อหาสวนยอย ของเหตุการณ
เรื่องราวหรือเนื้อหาตาง ๆ วาประกอบไปดวยอะไร มีความสาคัญอยางไร อะไรเปนเหตุอะไรเปนผล และที่เปน
อยางนั้นอาศัยหลักการอะไร
กูด (Good. 1973 : 680) ใหความหมายของการคิดวิเคราะหวา เปนการคิดอยาง รอบคอบ
ตามหลักของการประเมินและมีหลักฐานอางอิง เพื่อหาขอสรุปที่นาเปนไปได ตลอดจน พิจารณาองคประกอบ
ที่เกี่ยวของทั้งหมด และใชกระบวนการตรรกวิทยาไดอยางอยางถูกตอง สมเหตุสมผล
อัลฟาโร ลีเฟบเร (Alfaro-LeFevre. 1995 ; 177) อธิบายความหมายของการวิเคราะหวา
การคิดวิเคราะหเปนกระบวนการทางปญญาที่บุคคลจะใชใหเกิดความเขาใจธรรมชาติของบางสิ่งบางอยางไดดี
ขึ้น โดยการแยกสวนรวมหรือภาพรวมของสิ่งนั้นอยางระมัดระวังใหไดเปน สวนยอยลงไป
ประพันธศิริ สุเสารัจ (2551) การคิดวิเคราะห หมายถึง ความสามารถในการมองเห็นราย
เอียดและจําแนกแยกแยะขอมูลองคประกอบของสิ่งตางๆ ไมวาจะเปนวัตถุ เรื่องราว เหตุการณตางๆ ออกเปน
สวนยอยๆ และจัดเปนหมวดหมูเพื่อคนหาความจริง ความสําคัญ แกนแทองคประกอบหรือหลักการของสิ่ง
นั้นๆ สามารถอธิบายตีความสิ่งที่เห็น การหาความสัมพันธและความเชื่อมโยงของสิ่งตางๆ วาเกี่ยวพันกัน
อยางไร อะไรเปนเหตุสงผลกระทบตอกันอยางไร อาศัยหลักการใด จนไดความคิดเพื่อนําไปสูการสรุปและการ
ประยุกตใช
สุ วิ ท ย มู ล คํ า (2550) การคิ ด วิ เ คราะห เป น ความสามารถในการจํ า แนก แยกแยะ
องคประกอบตางๆ ของสิ่งหนึ่งอาจเปนวัตถุ สิ่งของ เรื่องราง หรือเหตุการณและหาความสัมพันธเชิงเหตุผล
ระหวางองคประกอบเหลานั้น เพื่อคนหาสภาพความเปนจริงหรือสิ่งสําคัญของสิ่งของที่กําหนดให
ประพันธศิริ สุเสารัจ (2551) ทักษะการคิดวิเคราะหวาเปนทักษะที่สามารถพัฒนาไดจาก
ประสบการณและบรรยากาศการเรียนรูรวมกันของผูเรียน กิจกรรมที่ครูควรจัดใหผูเรียนจะอยูในรูปแบบการ
ตั้งคําถาม การสังเกต การสืบคน การทํานาย และเนื่องจากการคิดวิเคราะหเปนทักษะการคิดระดับสูง
1. การคิดวิเคราะหความสําคัญหรือเนื้อหาของสิ่งตางๆ เปนความสามารถในการแยกแยะไดวาสิ่งใด
จําเปน สิ่งใดสําคัญ สิ่งใดมีบทบาทมากที่สุด ประกอบดวย
1.1 วิเคราะหชนิด เปนการใหนักเรียนวินิจฉัยวาสิ่งนั้นเหตุการณนั้นๆ จะเปนชนิดใดลักษณะ
ใด เพราะเหตุใด
1.2 วิเคราะหสิ่งสําคัญ เปนการวินิจฉัยวาสิ่งใดสําคัญ สิ่งไมสําคัญ เปนการคนหาสาระสําคัญ
ขอความหลัก ขอสรุป จุดเดน จุดดอยของสิ่งตางๆ
1.3 การวิเคราะหและจําหนาย เปนการมุงคนหาสิ่งที่แอบแฝงซอนเรนหรืออยูเบื้องหลังจาก
สิ่งที่เห็นซึ่งไมใชไมไดบงบอกตรงๆ แตมีรองรอยของความจริงซอนเรนอยู
2. การคิ ดวิ เ คราะห ความสั มพั นธ เปนการคน หาความสัมพัน ธของสิ่งตางๆ วามีอะไรสัมพัน ธกัน
สัมพันธเชื่อมโยงกันอยางไร สัมพันธกันมากนอยเพียงใด สอดคลองหรือขัดแยงกัน
3. การวิเคราะหเชิงหลักการ หมายถึง การคนหาโครงสรางระบบเรื่องราวสิ่งของและการทํางานตางๆ
การคิดวิเคราะหหลักการ เปนการคิดวิเคราะหที่ถือวามีความสําคัญที่สุด การที่จะวิเคราะหเชิงการไดดีจะตองมี
ความรูความสามารถในการวิเคราะหองคประกอบและการวิเคราะหความสัมพันธจะทําใหสามารถสรุปเปน
หลักการได
พจนานุ กรมฉบั บราชบั ณฑิ ตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความคําวา คิด คือทําใหป รากฏเปน รูปหรือ
ประกอบใหเปนเรื่องขึ้นในใจ ใหครวญ ไตรตรอง คําวา วิเคราะห คือ ใครครวญ แยกออกเปนสวนสวนเพื่อ
ศึ ก ษาให ถ อ งแท การคิ ด วิ เ คราะห ซึ่ง มี ค วามหมายว าทํ า ใหป รากฏเป น รู ป หรือ เป น เรื่ อ งขึ้ น ในใจโดยการ
ใครครวญ ไตรตรอง
สํานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา 2549 การคิดวิเคราะห คือ การระบุเรื่องหรือปญหาการ
จําแนกแยกแยะ เปรียบเทียบขอมูลหรือเพื่อจัดกลุมอยางเปนระบบระบุเหตุผลหรือเชื่อมโยงความสัมพันธของ
ขอมูลและตรวจสอบขอมูล หรือหาขอมูลเพิ่มเติมเพื่อใหเพียงพอในการตัดสินใจ แกปญหา คิดสรางสรรค
โดยสรุป การคิดวิเคราะห คือ การศึกษาสิ่งตางๆ โดยการแบงแยกยอยในสิ่งที่สนใจ ศึกษาสิ่งนั้นอยาง
ละเอียดเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจสิ่งนั้นมายิ่งขึ้น
2.8.2 เทคนิคการตั้งคําถาม 5W1H
การใชคําถามเปนเทคนิคในสําหรับการเสาะแสวงหาความรูที่มีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดการ
เรียนรูที่พัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตรตรอง การถายทอดความคิด ชวยใหผูเรียนสามารถสราง
ความรู ความเขาใจและพัฒนาความคิดใหมๆ นําไปสูการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงการใชกระบวนการเรียนรู
ไดอยางดีโดยการใชคําพูดหรือประโยคที่กระตุนการตอบสนองของผูเดินออกมา จุดมุงหมายที่ครูใชคําถามเพื่อ
เปนสื่อใหผูเรียนไดคิดตาม หรือเปนสื่อในการใหผูเรียนไดแสงเสาะแสวงหาความรูดวยตนตัวของเขาเอง โดยใช
คําถามเปนสื่อตลอดเวลาทุกชวงของการเรียนการสอน ซึ่งการใชคําถามมีลักษณะทั้งคําถามงายและคําถามยาก
หรือทั้งคําถามแคบและคําถามกวาง ครูสามารถใชคําถามในหองเรียนได เชน ครูเปนผูถามใหผูเรียนตอบ ครู
และนักเรียนรวมกันถามและอภิปราย หรือนักเรียนเปนผูถามคําถามครูก็ได
การใชคําถามฝกการคิดวิเคราะห เมื่อครูคาสถานการณตางๆ ไดแลวครูก็ใชคําถามหรือคําสั่ง
กระตุนใหนักเรียนคิด ขึ้นอยูกับวาคําถามนั้นจะถามนักเรียนในลักษณะใด เชน การฐานจําแนกแยกแยะ/
เปรียบเทียบขอมูลในสถานการณ การถามหาความสัมพันธขอมูลในเหตุการณ การถามหาจุดเดน จุดดอย
ความสําคัญหลักการ
สุวิทย คํามูล (2550) การคิดวิเคราะหเปนการใชสมองซีกซายเปนหลัก เนนที่เชิงลึกจากเหตุไปสูผล
เชื่ อมโยงความสั มพั น ธ ในเชิ งเหตุ ผ ล การจัดลําดับ ความสําคัญ และเชิงเปรีย บเทีย บ เทคนิคที่ นิ ย มใช คือ
5W 1H เพื่อหาคําตอบโดยใชเทคนิคคําถามในชวงตนหรือเริ่มตนการคิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวิเคราะห
ประกอบดวย 5 ขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห เปนการกําหนดวัตถุสิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณตางๆขึ้นมา
เพื่อเปนตนเรื่องในการใชวิเคราะห
ขั้นที่ 2 กําหนดปญหาหรือวัตถุประสงค เปนการกําหนดประเด็นขอสงสัยจากปญหาของสิ่งที่ตองการ
วิเ คราะห อาจจะกํา หนดเป นคํ าถามหรื อวัตถุป ระสงคของการวิเคราะห เพื่อคนหาความจริง สาเหตุห รือ
ความสําคัญ
ขั้นที่ 3 กําหนดหลักการหรือกฎเกณฑ เปนการกําหนดขอกําหนดสําหรับใชแยกสวนประกอบของสิ่งที่
กําหนดให
ขั้นที่ 4 พิจารณาแยกแยะ เปนการพินิจ พิเคราะห ทําการแยกแยะ กระจายสิ่งที่กําหนดใหออกเปน
สวนยอยๆ โดยอาจใชเทคนิคคําถาม 5W 1H ซึ่งประกอบดวย What (อะไร) Where (ที่ไหน) When
(เมื่อไหร) Why (ทําไม) Who (ใคร) และ How (อยางไร)
ขั้นที่ 5 สรุปคําตอบเปนการรวบรวบรวมประเด็นที่สําคัญเพื่อหาขอสรุปเปนคําตอบหรือตอบปญหา
ของสิ่งที่กําหนดให
การตั้งประเด็นถามตอบเพื่อใหนักเรียนบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว โดยใชคําถาม 5W1H ซึ่งเปนสวน
ของคําถาม 6 ประเภทตามความคิดของบลูม วิทวัฒน ขัตติยะมาน (2550) ไดกลาวไวและมีความสอดคลอง
กับระดับความสามารถในการอานจับใจความที่ผูวิจัยนํามาใชประกอบจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังนี้
What (อะไร) ปญหาหรือสถานการณที่เกิดขึ้น
- เกิดอะไรขึ้นบาง
- มีอะไรเปนหลักฐาน
- หลักฐานที่สําคัญที่สุด คืออะไร
Where (ที่ไหน) สถานที่หรือตําแหนงที่เกิดเหตุ
- เรื่องที่เกิดขึ้นที่ไหน
- เหตุการณนี้นาจะเกิดขึ้นที่ใด มากที่สุด
When (ที่ไหน) สถานที่หรือตําแหนงที่เกิดเหตุ
- เหตุการณนี้นาจะเกิดขึ้นเมื่อไร
- เวลาใดบางที่สถานการณเชนนี้จะเกิดขึ้นได
Whey (ทําไม) สาเหตุหรือมูลเหตุที่ทําใหเกิดขึ้นได
- เหตุใดตองเปนคนนี้ เปนเวลานี้ เปนสถานที่นี้
- เพราะเหตุใดเหตุการณนี้จึงเกิดขึ้น
- ทําไมจึงเกิดเรื่องนี้
Who (ใคร) บุคคลสําคัญเปนตัวประกอบ หรือเปนผูที่เกี่ยวของที่จะไดรับผลกระทบทั้งดานบวกและ
ดานลบ
- ใครอยูในเหตุการณบาง
- ใครนาจะเกี่ยวของกับเหตุการณนี้บาง
- เหตุการณที่เกิดขึ้นใครไดประโยชนใครเสียประโยชน
How (อยางไร) รายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้นแลวหรือกําลังเกิดขึ้นวามีความเปนไปไดในลักษณะใด
- เขาทําสิ่งนี้ไดอยางไร
- ลําดับเหตุการณนี้ดูวาเกิดขึ้นไดอยางไรบาง
- เหตุการณนี้เกิดขึ้นไดอยางไร
- มีลักษณะในการพิจารณาคนดีอยางไร
2.9 ประสิทธิภาพ
การผลิ ต สื่ อ หรื อชุ ด การสอนนั้ น ก อ นนํ า ไปใชจ ะต อ งนํ า สื่อ หรือ ชุด การสอนที่ ผ ลิ ตขึ้ น ไปทดสอบ
ประสิทธิภาพเพื่อดูวา สื่อหรือชุดการสอนทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นหรือไม มีประสิทธิภาพในการชวยให
กระบวนการเรียนการสอนดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพเพียงใด มีความสัมพันธกับผลลัพธหรือไม และผูเรียน
มีความพึงพอใจตอการเรียนจากสื่อหรือสื่อหรือชุดการสอนในระดับใด ดังนั้นผูผลิตสื่อการสอนจําเปนจะตอง
นําสื่อหรือชุดการสอนไปหาคุณภาพ เรียกวา การทดสอบประสิทธิภาพ (ชัยยงค พรหมวงษ , 2556)
2.9.1 ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ
1. ความหมายของประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพ.(Efficiency).หมายถึง.สภาวะหรือคุณภาพของสมรรถนะในการดําเนินงาน
เพื่อใหงานมีความสําเร็จโดยใชเวลาความพยายามและคาใชจายคุมคาที่สุดตามจุดมุงหมายที่กําหนดไวเพื่อให
ได ผ ลลั พ ธ โดยกํ า หนดเป น อั ต ราส ว นหรื อ ร อ ยละระหว า งป จ จั ย นํ าเข า กระบวนการและผลลั พ ธ ( Ratio
between input, process and output)
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ น น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ที่ ถู ก ต อ ง ห รื อ ก ร ะ ทํ า สิ่ ง ใ ด ๆ อ ย า ง ถู ก วิ ธี
(Doing.thething.right)คํ า ว า ประสิ ท ธิ ภ าพ มั ก สั บ สนกั บ คํ า ว า ประสิ ท ธิ ผ ล (Effectiveness).ซึ่ ง เป น คํ า ที่
คลุมเครือ ไมเนนปริมาณ และมุงใหบรรลุวัตถุประสงคและเนนการทําสิ่งที่ถูกที่ควร (Doing the right thing)
ดังนั้นสองคํานี้จึงมักใชคูกัน คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. ความหมายของการทดสอบประสิทธิภาพ
การทดสอบประสิทธิภาพ หมายถึง การนําสื่อหรือชุดการสอนไปทดสอบดวยกระบวนการ
สองขั้ น ตอนคื อ การทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพใช เ บื้ อ งต น (Try.Out)และทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพสอนจริ ง
(Trial.Run).เพื่อหาคุณภาพของสื่อตามขั้นตอนที่กําหนดใน 3ประเด็น คือ การทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มขึ้นการ
ชวยใหผูเรียนผานกระบวนการเรียนและทําแบบประเมินสุดทายไดดี และการทําใหผูเรียนมีความพึงพอใจ
(1) การทดสอบประสิทธิภาพใชเบื้องตน เปนการนําสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นเปนตนแบบ
(Prototype) แลวไปทดลอบประสิทธิภาพใชตามขั้นตอนที่กําหนดไวในแตละระบบ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ
ของสื่อหรือชุดการสอนใหเทาเกณฑที่กําหนดไว และปรับปรุงจนถึงเกณฑ
(2) การทดสอบประสิ ทธิ ภ าพสอนจริง หมายถึง การนําสื่อหรือชุดการสอนที่ไดทดสอบ
ประสิทธิภาพใชและปรับปรุงจนไดคุณภาพถึงเกณฑแลวของแตละหนวย ทุกหนวยในแตละวิชาไปสอนจริงใน
ชั้ น เรี ย นหรื อ ในสถานการณ ก ารเรี ย นที่ แท จ ริง ในชว งเวลาหนึ่ ง เช น 1ภาคการศึ ก ษาเป น อย า งน อ ย เพื่ อ
ตรวจสอบคุณภาพเปนครั้งสุดทายกอนนําไปเผยแพรและผลิตออกมาเปนจํานวนมาก
2.9.2 การกําหนดเกณฑประสิทธิภาพ
1. ความหมายของเกณฑ (Criterion)
เกณฑเปนขีดกําหนดที่จะยอมรับวา สิ่งใดหรือพฤติกรรมใดมีคุณภาพและ หรือปริมาณที่จะ
รับไดการตั้งเกณฑตองตั้งไวครั้งแรกครั้งเดียวเพื่อจะปรับปรุงคุณภาพใหถึงเกณฑขั้นต่ําที่ตั้งไว จะตั้งเกณฑการ
ทดสอบประสิทธิภาพไวตางกันไมได เชนเมื่อมีการทดสอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว ตั้งเกณฑไว60/60 แบบกลุม
ตั้งไว 70/70 สวนแบบสนาม ตั้งไว80/80 ถือวาเปนการตั้งเกณฑที่ไมถูกตอง
อนึ่งเนื่องจากเกณฑที่ตั้งไวเปนเกณฑต่ําสุด ดังนั้นหากการทดสอบคุณภาพของสิ่งใดหรือ
พฤติกรรมใดไดผลสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 หรืออนุโลมใหมีความคลาดเคลื่อนต่ําหรือ
สูงกวาคาประสิทธิภาพที่ตั้งไวเกิน 2.5 ก็ใหปรับเกณฑขึ้นไปอีกหนึ่งขั้น แตหากไดคาต่ํากวาคาประสิทธิภาพ
ที่ตั้งไว ตองปรับปรุงและนําไปทดสอบประสิทธิภาพใชหลายครั้งในภาคสนามจนไดคาถึงเกณฑที่กําหนด
2. ความหมายของเกณฑประสิทธิภาพ
ความหมายของเกณฑประสิทธิภาพหมายถึง ระดับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่จะ
ชวยใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เปนระดับที่ผลิตสื่อหรือชุดการสอนจะพึงพอใจวาหากสื่อหรือชุด
การสอนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแลว สื่อหรือชุดการสอนนั้นก็มีคุณคาที่จะนําไปสอนนักเรียนและคุมแกการ
ลงทุนผลิตออกมาเปนจํานวนมาก
การกํ า หนดเกณฑ ป ระสิ ท ธิ ภ าพกระทํ า ได โ ดยการประเมิ น ผลพฤติ ก รรมของผู เ รี ย น 2
ประเภทคือ พฤติกรรมตอเนื่อง (กระบวนการ) กําหนดคาประสิทธิภาพเปน E1 = Efficiency of Process(
ประสิ ท ธิ ภ าพของกระบวนการ) และพฤติ ก รรมสุ ด ท า ย(ผลลั พ ธ ) กํ า หนดค า ประสิ ท ธิ ภ าพเป น E2 =
Efficiencyof Product (ประสิทธิภาพของผลลัพธ)
(1) ประเมินพฤติกรรมตอเนื่อง(Transitional Behavior) คือประเมินผลตอเนื่องซึ่ง
ประกอบดวยพฤติกรรมยอยของผูเรียน เรียกวา“กระบวนการ” (Process) ที่เกิดจากการประกอบ
กิจกรรมกลุม ไดแก การทําโครงการ หรือทํารายงานเปนกลุม และรายงานบุคคล ไดแกงานที่มอบหมายและ
กิจกรรมอื่นใดที่ผูสอนกําหนดไว
(2) ประเมินพฤติกรรมสุดทาย (Terminal Behavior)คือประเมินผลลัพธ (Product)ของ
ผูเรียน โดยพิจารณาจากการสอบหลังเรียนและการสอบไลประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนจะกําหนดเปน
เกณฑที่ผูสอนคาดหมายวาผูเรียนจะเปลี่ยนพฤติกรรมเปนที่พึงพอใจ โดยกําหนดใหผลเฉลี่ยของคะแนนการ
ทํางานและการประกอบกิจกรรมของผูเรียนทั้งหมดตอรอยละของผลการประเมินหลังเรียนทั้งหมด นั่นคือ
E1/E2 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ
2.9.3 วิธีการคํานวณหาประสิทธิภาพ
การคํานวณหาประสิทธิภาพ คือ การคํานวณหาคาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และ
การคํานวณหาคาประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) ซึ่งมีวิธีการคํานวณ ดังนี้ (ชัยยงค พรหมวงษ , 2556)
1. วิธีการคํานวณหาคาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1)
เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ
∑ แทน ผลรวมคะแนนที่ไดจากชุดกิจกรรมระหวางเรียน
N แทน จํานวนนักเรียนทั้งหมด
A แทน คะแนนเต็มของชุดกิจกรรมระหวางเรียน
2. วิธีการคํานวณหาคาประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2)
เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ
∑ แทน ผลรวมคะแนนที่ไดจากการทดสอบหลังเรียน
N แทน จํานวนนักเรียนทั้งหมด
B แทน คะแนนเต็มของการทดสอบหลังเรียน
2.9.4 การยอมรับประสิทธิภาพ
เกณฑการยอมรั บประสิทธิภ าพมีเกณฑ ดังนี้(วีณา ประชากูล และประสาท เนืองเฉลิม,
2554)
1. สูงกวาเกณฑ คือ ตั้งเกณฑ E1/E2 ไวแลวไดคาประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว เช น
ตั้งเกณฑมาตรฐานไว90/90 แลวคํานวณคาประสิทธิภาพบทเรียนสําเร็จรูปได 95/95
2. เทาเกณฑคือ ตั้งเกณฑ E1/E2 ไวแลวไดคาประสิทธิภาพเทากับเกณฑที่ตั้งไว เชน ตั้ง
เกณฑมาตรฐานไว 90/90 แลวคํานวณคาประสิทธิภาพบทเรียนสําเร็จรูปได 90/90
3. ต่ํากวาเกณฑคือ ตั้งเกณฑ E1/E2 ไวแลวไดคาประสิทธิภาพต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไวไมเกิน.
2.5.%การที่จะสรุปไดวานวัตกรรมการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพหรือไม จะตองมีการกําหนด
เกณฑเพื่อใชในการพิจารณา และยอมรับความผิดพลาดไดไมเกินรอยละ 2.50
สรุปไดวา การหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูเปนการทดสอบของประสิทธิภาพ
ของแผนการจัดการเรียนรู เพื่อจะไดทราบวาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูนั้นเปนไปตามเกณฑที่
กําหนดและสามารถนําไปใชใหบรรลุตามวัตถุประสงคตามเปาหมายได
2.10 ดัชนีประสิทธิผล
2.10.1 ความหมายของดัชนีประสิทธิผล
มีนักการศึกษากลาวถึงความหมายของดัชนีประสิทธิผลไวหลายทาน ดังนี้
วิมล เหลาแคน (2552)ไดใหความหมายของดัชนีประสิทธิผลวา ดัชนีประสิทธิผลหมายถึง คะแนนที่
แสดงความก า วหน า ในการเรี ย นของผู เ รี ย นที่ ไ ดจ ากผลการเรีย นรู จ ากที่ ก ลา วมาขา งต น สรุ ป ได วา ดั ช นี
ประสิทธิผล หมายถึง ความกาวหนาในการเรียนของผูเรียนหลังจากที่ไดศึกษานวัตกรรมหรือสื่อตางๆ โดย
เปรียบเทียบคะแนนที่เพิ่มขึ้นจากการทดสอบกอนเรียนกับคะแนนที่ไดจากการทดสอบหลังเรียน
บุญชม ศรีสะอาด.(2553)ได ใหความหมายของคาดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness.: E.I.).ไววา
หมายถึง คาที่แสดงการเรียนรูที่กาวหนาขึ้นจากพื้นฐานความรูเดิมที่มีอยูแลว หลังจากที่ผูเรียนไดเรียนจากสื่อ
นวัตกรรมหรือแผนการจัดการเรียนรูนั้น ๆ
เกริ ก ท ว มกลางและจิ น ตนา ท ว มกลาง (2555) ได ใ ห ค วามหมายของ ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ล
(Effectiveness Index) วาหมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงความกาวหนาของผูเรียน โดยการเทียบคะแนนที่เพิ่มขึ้น
จากคะแนนการทดสอบกอนเรียนกับคะแนนที่ไดจากการทดสอบหลังเรียน และคะแนนเต็มหรือคะแนนสูงสุด
กับคะแนนที่ไดจากการทดสอบกอนเรียน ตามปกติแลวจะเปนการประเมินความแตกตางของคาคะแนนใน 2
ลักษณะ คือ ความแตกตางของคะแนนการทดสอบกอนเรียน และคะแนนทดสอบหลังเรียน หรือเปนการ
ทดสอบเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม ในทางปฏิบัติสวนมากจะเนนที่
ผลความแตกตางที่แทจริงมากกวาผลของความแตกตางทางสถิติ
2.10.2 การหาดัชนีประสิทธิผล
สมนึก ภัททิยธนี (2558)ไดกลาวถึงวิธีการหาดัช นีป ระสิทธิผลวา เปนการประเมินความ
แตกตางของคะแนนใน 2 ลั กษณะ คือ ความแตกตางของคะแนนการทดสอบกอนเรียน และคะแนนการ
ทดสอบหลังเรียน หรือเปนการทดสอบเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม
ในทางปฏิบัติสวนมากจะเนนที่ผลความแตกตางที่แทจริงมากกวาผลของความแตกตางทางสถิติ
ดัชนีประสิทธิผลมีรูปแบบในการหาคาดังนี้
E.I. =
เมื่อ E.I. แทน ดัชนีประสิทธิผล
P1 แทน ผลรวมของคะแนนทดสอบกอนเรียน
P2 แทน ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน
Total แทน ผลคูณของจํานวนนักเรียนกับคะแนนเต็ม
การหาคาดัชนีประสิทธิผล เปนการพิจารณาพัฒนาการในลักษณะที่วาเพิ่มขึ้นเทาไรไมได
ทดสอบวาเพิ่มขึ้นอยางนาเชื่อถือไดหรือไม มีขอสังเกตบางประการเกี่ยวกับคาดัชนีประสิทธิผล ดังนี้
คาดัชนีประสิทธิผล เปนเรื่องของอัตราสวนของผลตางจะมีคาสูงสุดเปน 1.00 สวนคาต่ําสุด
ไมสามารถกําหนดไดเพราะมีคาต่ํากวา -1.00 ก็ได และถาเปนคาลบแสดงวาคะแนนสอบกอนเรียนมากกวา
หลังเรียน ซึ่งมีความหมายวา ระบบการเรียนการสอนหรือสื่อไมมีคุณภาพ
1..ถาผลสอบกอนเรียนของนักเรียนทุกคนไดคะแนนรวมเทาไรก็ได (ยกเวนไดคะแนนเต็มทุก
คน) และถ าผลการสอบหลั งเรี ย นของนั กเรีย นทุกคนทําไดถูกหมดทุก ขอ (ไดคะแนนเต็มทุกคน) คาดัช นี
ประสิทธิผล จะเปน 1.00
2..ถาผลการสอนกอนเรียนมากกวาหลังเรียน คาดัชนีประสิทธิผลจะมีคาต่ํากวา -1.00 ก็ได
3..การแปลความหมายของคาดัชนีประสิทธิผลไมนาจะแปลความหมายเฉพาะคาที่คํานวณได
วานักเรียนมีพัฒนาการขึ้นเทาใด คิดเปนรอยละเทาไร แตควรจะดูขอมูลเดิมประกอบดวยวาหลังจากนักเรียนมี
คะแนนเพิ่มขึ้นเทาไร ในบางครั้งคะแนนหลังเรียนเพิ่มขึ้นเล็กนอยเปนเพราะวากลุมนั้นมีความรูเดิมในเรื่องนั้น
มากอยูแลว ซึ่งไมใชเรื่องเสียหาย
ดังนั้ น ค า ดั ช นี ป ระสิทธิ ผ ลที่ เ กิ ดขึ้ น แตละกลุมไมส ามารถเปรีย บเทีย บกัน ได เพราะไมไดเริ่มจาก
ฐานความรูที่เทากัน คาดัชนีประสิทธิผลของแตละกลุมจะอธิบายเฉพาะกลุมเทานั้น
จากที่กลาวมาขางตน สรุปไดวา ดัชนีประสิทธิผลเปนการหาประสิทธิผลของสื่อหรือนวัตกรรม เทคนิค
วิธีสอนที่พัฒนาขึ้นวามีประสิทธิผลเพียงใด เหมาะสมที่จะนําไปใชในการจัดการเรียนรู หรือไม เปนการสราง
ความเชื่ อถือใหกับ สื่ อที่ ส ร างขึ้ นว า เปน สื่ อที่มีคุณภาพ สามารถนําไปใชในการจัดการเรีย นรูได นักเรีย นมี
ความกาวหนาหรือมีความรูเพิ่มขึ้นหลังจากใชสื่อมากนอยเพียงใด คาที่แสดงพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นของนักเรียน
โดยการเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนกับคะแนนหลังเรียนของนักเรียน ซึ่งคาที่คํานวณไดควรถือเกณฑ .50
2.11 ความพึงพอใจ
2.11.1 ความหมายของความพึงพอใจ
ความพึงพอใจเป นป จ จั ยที่ สํ า คัญ ประการหนึ่งที่มีผ ลตอความสําเร็จ ของงานที่บ รรลุเปาหมายที่มี
ประสิทธิภาพ อันเปนผลจากการไดรับการตอบสนองตอแรงจูงใจหรือความตองการของ
แตละบุคคลในแนวทางที่เขาประสงค มีนักการศึกษาไดใหความหมายไวดังนี้
กชกร เปาสุวรรณ และคณะ (2550) ไดกลาวถึงความหมายของความพึงพอใจวา สิ่งที่ควรจะเปนไป
ตามความตองการ ความพึงพอใจเป นผลของการแสดงออกของทัศนคติของบุคคลอีกรู ปแบบหนึ่ง ซึ่งเปน
ความรูสึกเอนเอียงของจิตใจที่มีประสบการณที่มนุษยเราไดรับอาจจะมากหรือนอยก็ได และเปนความรูสึกที่มี
ตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเปนไปไดทั้งทางบวกและทางลบ แตก็เมื่อไดสิ่งนั้น สามารถตอบสนองความตองการ หรือ
ทําใหบรรลุจุดมุงหมายได ก็จะเกิดความรูสึกบวก เปนความรูสึกที่พึงพอใจ แตในทางตรงกันขาม ถาสิ่งนั้นสราง
ความรูสึกผิดหวัง ก็จะทําใหเกิดความรูสึกทางลบ เปนความรูสึกไมพึงพอใจ
สุธาดา สนธิเวช(2551)ไดกลาวถึง ความหมายของความพึงพอใจไววา ความรูสึกที่ดีหรือทัศนคติที่ดี
ของบุคคลซึ่งเกิดจากการไดรับการตอบสนองตามที่ตนตองการก็จะเกิดความรูสึกที่ดีในสิ่งนั้น ตรงกันขามหาก
ความตองการไมไดรับการตอบสนอง ความไมพึงพอใจก็จะเกิดขึ้น
ดาราณี โพธิ์ ไ ทร (2552)ได ก ล า วถึง ความหมายของความพึง พอใจไวว า ความพึง พอใจหมายถึ ง
ความรู สึ ก ภายใจจิ ต ใจของมนุ ษ ย ที่ ไ ม เ หมื อ นกั น ขึ้ น อยู กั บ ความคาดหวั ง ของแต ล ะบุ ค คล หากมี ค วาม
ตอบสนองตอความคาดหวังดวยดีก็จะมีความพอใจเกิดขึ้น ในทางตรงขาม หากการตอบสนองความคาดหวัง
นอยก็อาจผิดหวังหรือไมพอใจ
เบ็ญจวรรณ เสาวโค (2553)ไดกลาวถึง ความหมายของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจตอการเรียน
หมายถึง ความรูสึกที่รับรูดวยจิตใจ โดยอาศัยแรงจูงใจภายใน แสดงออกมาเปนพฤติกรรมตางๆ ตอการเรียน
การสอนของครูและแสดงใหบุคคลรอบขางไดรับรูในทางบวกหรือในทางที่ดีขึ้น โดยวัดไดจากแบบวัดความพึง
พอใจตอการเรียนการสอนมีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (rating scale) 5 ระดับ โดยผูวิจัยสราง
ขึ้น
ศิริพงษ จรัสโรจนกุล (2555)ไดกลาวถึง ความหมายของความพึงพอใจ ไววาความพึงพอใจ หมายถึง
ความรูสึกหรือความตองการในการไดรับการตอบสนองของตนเองตามระดับขั้นความรูสึกหรือความพอใจของ
ตนเองหรือผูรับการบริการตามความตองการนั้นๆ
สรุปไดวา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกที่ดีหรือทัศนคติที่ดีของบุคคล ซึ่งมักเกิดจากการไดรับ
การตอบสนองตามที่ตนตองการ ก็จะเกิดความรูสึกที่ดีตอสิ่งนั้น ตรงกันขามหากความตองการของตนไมไดรับ
การตอบสนองความไมพึงพอใจก็จะเกิดขึ้น
2.8.2 ทฤษฎีทเี่ กี่ยวของกับความพึงพอใจ
ความพึงพอใจ เปนความรูสึกของบุคคลจะแสดงออกมากหรือนอยขึ้นอยูกับแรงจูงใจ การ
สรางหรือการกระตุนใหเกิดแรงจูงใจจึงเปนสิ่งสําคัญ การศึกษาความพึงพอใจเปนการศึกษาที่เกี่ยวของกับ
ความตองการของมนุษย นักการศึกษาไดศึกษาคนควาและกําหนดทฤษฎีเกี่ยวของกับความพึงพอใจไว ดังนี้
(ทิศนา แขมมณี, 2556)
1. ทฤษฏีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว (Maslow’s hierarchy of needs Theory).
เปนทฤษฎีที่กลาวถึง ความตองการพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษยอยางเปนลําดับขั้น กลาวคือ มนุษยเรามี
ความตองการอยูเสมอ เมื่อความตองการไดรับการตอบสนองหรือมีความพึงพอใจตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งแลว ความ
ตองการดานอื่นก็จะเกิดขึ้นอีก ความตองการของคนเราอาจจะซับซอน ความตองการหนึ่งยังไมหมดอาจจะเกิด
ความตองการหนึ่งขึ้นอีกได
ความตองการของบุคคลเรียงลําดับขั้น จากความตองการระดับต่ําไปหาความตองการระดับสูง ลําดับ
ความตองการของบุคคลมี 5 ขั้นตอน ไดแก
1)ความตองการทางรางกาย เปนความตองการเบื้องตน เพื่อความอยูรอดของชีวิต เชน ความตองการ
ในเรื่องอาหาร น้ํา อากาศเครื่องนุงหม ยารักษาโรคที่อยูอาศัยความ ตองการทางเพศความตองการทางรางกาย
จะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของคน ก็ตอเมื่อคนยังไมไดรับการตอบสนอง
2)ความตองการความปลอดภัยและมั่นคง ถาหากความตองการ ทางดานรางกายไดรับการตอบสนอง
แลว บุคคลก็จะใหความสนใจกับความตองการระดับสูงตอไป คือ เปนความรูสึกที่ตองการความปลอดภัยหรือ
มั่นคง ในปจจุบันและอนาคต ซึ่งรวมถึง ความกาวหนาและความอบอุนใจ
3)ความตองการทางดานสังคม ภายหลังจากที่คนไดรับการตอบสนองในขั้นดังกลาวขางตน ก็จะมี
ความตองการที่สูงขึ้นคือความตองการทางสังคม เปนความตองการที่จะเขารวมและไดรับการยอมรับในสังคม
ความเปนมิตรและความรักจากเพื่อน
4).ความตองการที่จะไดรับการยกยองนับถือ เปนความตองการใหคนอื่นยกยอง ใหเกียรติ และเห็น
ความสําคัญของตน อยากเดนในสังคม รวมถึงความสําเร็จความรูความสามารถ ความเปนอิสระและเสรีภาพ
5).ความตองการความสําเร็จในชีวิต เปนความตองการระดับสูงสุดของ มนุษยอยากจะเปนอยากจะได
ตามความคิดของตน
จากสาระสําคัญของทฤษฎีความตองการตามลําดับขั้นของมาสโลวสรุปไดวา ความตองการ
ทั้ง 5 ขั้นของมนุษยมีความสําคัญไมเทากันและความตองการในแตละขั้นจะมีความสําคัญ กับบุคคลมากนอย
เพียงใดนั้นขึ้ นอยูกับความพึงพอใจที่ไดรับการตอบสนองความตองการในลําดับขั้นตอนนั้นๆ สามารถนํา
แนวคิดทฤษฎีนี้มาใชในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
1) การเขาใจถึงความตองการพื้นฐานของมนุษย สามารถใหเขาใจพฤติกรรมของบุคคลได เนื่องจาก
พฤติกรรมเปนการแสดงออกของความตองการของบุคคล
2) การจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี จําเปนตองตอบสนองความตองการพื้นฐานที่เขาตองการ
แสดงเสียกอน
3) ในกระบวนการเรียนการสอน หากครูผูสอนสามารถหาไดวาผูเรียนแตละคนมีความตองการอยูใน
ระดับขั้นใด ก็จะสามารถใชความตองการพื้นฐานของผูเรียนนั้นเปนแรงจูงใจชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี
4) การชวยใหผูเรียนไดรับการตอบสนองความตองการพื้นฐานของตนอยางเพียงพอ การใหอิสรภาพ
และเสรีภาพแกผูเรียนในการเรียนรูการจัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู
2. ทฤษฎีเชื่อมโยงของธอรนไดค(Thorndike’s Connectionism Theory) เปนทฤษฎีที่กลาวถึง การ
เรี ย นรู จ ะเกิ ด ขึ้ น ได ดว ยการที่ มนุ ษย ห รื อสั ต วไ ดเลื อกเอาปฏิ กิริย าตอบสนองเชื่อมโยงเขากั บ สิ่ง เรา อยา ง
เหมาะสม หรือการเรียนรูจะเกิดขึ้นดวยการสรางสิ่งเชื่อมโยงหรือพันธะระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองนั้นเอง
กลาวคือ เมื่อสถานการณหรือสิ่งที่เปนปญหาเกิดขึ้นรางกายจะเกิดความพยายามที่จะแกปญหานั้น โดยแสดง
พฤติกรรมตอบสนองออกมาหลาย ๆ รูปแบบซึ่งรางกายจะเลือกพฤติกรรมตอบสนองที่พอใจที่สุดไปเชื่อมโยง
สิ่งเราหรือปญหานั้น ทําใหเกิดการเรียนรูขึ้นมาวาถามีสิ่งเราหรือปญหาเชนนี้อีกจะแสดงพฤติกรรมตอบสนอง
เชนไร
สิ่งสําคัญในการเรียนรูที่ธอรนไดคไดใหความสําคัญอยางมาก ไดแก การเสริมแรง คือ ความ
พึงพอใจที่รางกายไดรับ เพราะจะทําใหเกิดการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองที่มีความแนนแฟนมา
กยิ่งขึ้น
กฎการเรียนรูของธอรนไดคสรุปไดดังนี้
1) กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดี ถาผูเรียนมีความ
พรอมทั้งทางรางกายและจิตใจ
2)กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) การฝกหัดหรือกระทําบอย ๆ ดวยความเขาใจจะทํา
ใหการเรียนรูนั้นคงทนถาวร ถาไมไดกระทําซ้ําบอย ๆ การเรียนรูนั้นจะไมคงทนถาวรและในที่สุดอาจลืมได
3) กฎแหงความพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลไดรับผลที่พึงพอใจยอมอยากจะเรียนรู
ตอไป แตถาไดรับผลที่ไมพึงพอใจจะไมอยากเรียนรู กฎนี้มีใจความวาพันธะหรือตัวเชื่อมระหวางสิ่งเราและการ
ตอบสนองจะเขมแข็งหรือออนกําลัง ยอมขึ้นอยูกับผลตอเนื่องหลังจากที่ไดตอบสนองไปแลวรางวัลจะมีผลให
พันธะสิ่งเราและการตอบสนองเขมแข็งขึ้น สวนการทําโทษนั้นจะไมมีผลใด ๆ ตอความเขมแข็งหรือการออน
กําลังของพันธะระหวางสิ่งเราและการตอบสนอง
2.11.3 การวัดความพึงพอใจ
การวัดความพึงพอใจ สามารถทําไดหลายวิธีดังนี้(สุธาดา สนธิเวช, 2551)
1. การใชแบบสอบถาม โดยผูออกแบบสอบถาม ตองการทราบความคิดเห็นซึ่งสามารถ
กระทําไดในลักษณะกําหนดคําตอบใหเลือก หรือตอบคําถามอิสระ คําถามดังกลาวอาจถามความพอใจในดาน
ตางๆ เพื่อใหผูตอบทุกคนตอบมาเปนแบบแผนเดียวกัน วิธีนี้นับเปนวิธีที่นิยมใชกันมากที่สุดในการวัดทัศนคติ
รูปแบบของแบบสอบถามจะใชมาตรวัดทัศนคติ ซึ่งที่นิยมใชในปจจุบันวิธีหนึ่ง คือ มาตราสวนแบบLikert
ประกอบดวยขอความที่แสดงถึงทัศนคติของบุคคลที่มีตอสิ่งเราอยางใดอยางหนึ่งที่มีคําตอบที่แสดงถึงระดับ
ความรู สึ ก 5 คํ า ตอบ เช น มากที่ สุ ด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุดซึ่งเปน วิธีการที่นิ ย มกัน ใชอยา ง
แพรหลายวิธีหนึ่ง โดยการรองขอหรือขอความรวมมือจากกลุมบุคคลที่ตองการวัด แสดงความคิดเห็นลงใน
แบบฟอรมที่กําหนดคําตอบ
2. การสัมภาษณ เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะทําใหทราบถึงระดับความพึงพอใจของผูบุคคลซึ่งเปนวิธี
ที่จะตองอาศัยเทคนิคและความชํานาญพิเศษของผูสัมภาษณที่จะจูงใจใหผูถูกสัมภาษณตอบคําถามใหตรงกับ
ขอเท็จจริง การวัดความพึงพอใจโดยวิธีสัมภาษณนับวาเปนวิธีที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่ง
3. การสังเกต เปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหทราบถึงระดับความพึงพอใจของผูใชบุคคลได โดยวิธีการ
สังเกตกิริยาทาทาง การพูด สีหนา การวัดความพึงพอใจโดยวิธีนี้ผูวัดจะตองทําอยางจริงจังและสังเกตอยางมี
ระเบียบแบบแผนที่แนนอน จึงจะสามารถประเมินถึงระดับความพึงพอใจของบุคคลไดอยางถูกตองวิธีนี้เปนวิธี
การศึกษาที่เกาแก และยังเปนที่นิยมใชอยางแพรหลายจนถึงปจจุบัน
จากวิธีการวัดความพึงพอใจดังกลาว สรุปไดวา การวัดความรูสึก ทัศนคติหรือความพึงพอใจ
ของบุคคลนั้น สามารถวัดไดหลายวิธี ไดแก วิธีการใชแบบสอบถาม วิธีการสัมภาษณ และวิธีการสังเกต
ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่มี
ตอการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู (5Es) วิชาวิทยาศาสตร เรื่องไฟฟาในบานเรา โดย
การใชแบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่ผูศึกษาสรางขึ้น เปนแบบมาตราสวนประมาณคาตามแบบของLikert
จํานวน 20 ขอโดยมีความหมายของระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังนี้(บุญชม ศรีสะอาด, 2556)
ระดับ 5 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด
ระดับ4 หมายถึง พึงพอใจมาก
ระดับ3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง
ระดับ2 หมายถึง พึงพอใจนอย
ระดับ1 หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด
โดยแปลความตามเกณฑคาเฉลี่ย ดังนี้
คาเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับ มากที่สุด
คาเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับ มาก
คาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับ ปานกลาง
คาเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับ นอย
คาเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับ นอยที่สุด
2.12 บริบทโรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
2.12.1 ประวัติของโรงเรียน
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม (อักษรยอ ภ.ว.ค.) เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ และเปน
โรงเรี ย นมั ธ ยมประจํ า อํ า เภอภู เ วี ยง จั งหวั ดขอนแกน กอตั้งขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2515 สังกัดกรมสามัญ ศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ เริ่มแรกเปดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนตน มีจํานวนนักเรียน 98 คน ครู 2 คน โดยอาศัย
เรียนที่อาคารเรียนของโรงเรียนชุมชนภูเวียง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน ตอมาไดยายไปทําสอนที่ปาสงวน
แหงชาติปากุดน้ําใส โดยทานศึกษาธิการอําเภอและคณะกรรมการของอําเภอภูเวียงจัดหาที่ดินไวให มีเนื้อที่
70 ไร ตอมาเมื่ อป พ.ศ. 2519 ไดขยายพื้ นที่เปน 104 ไร 2 งาน 60 ตารางวา และไดขออนุญ าต ใหทาง
ราชการอนุมัติเปนที่ราชพัสดุ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2521 ปจจุบันไดจัดการเรียนการสอนในสายสามัญ
รูปแบบสหศึกษา ตั้งแตชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 - 6 มีจํานักเรียนราว 2,329 คน และบุคลากรทางการศึกษาอีก
กว า 120 คน ซึ่ ง ป จ จุ บั น จั ด อยู ใ นสั ง กั ด สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต 25 สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีเนื้อที่ทั้งหมดของโรงเรียนจํานวน 104 ไร 2
งาน 60 ตารางวา
- พ.ศ. 2522 โรงเรียนเปดสอนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
- พ.ศ. 2534 ไดเปดโรงเรียนภูเวียงวิทยาคม (สาขาเวียงวงกต) โรงเรียนเวียงวงกตวิทยาคมในปจจุบัน
- พ.ศ. 2537 ไดเปดโรงเรียนภูเวียงวิทยาคม(สาขาเวียงนคร) โรงเรียนเวียงนครวิทยาคมในปจจุบัน
2.12.2 สภาพปจจุบันของโรงเรียน
ปจจุบันโรงเรียนภูเวียงวิทยาคม สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแกน
เขต 25 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เลขที่ 300 หมู 4 ถนนภูเวียง-กุด
ฉิม ตําบลภูเวียง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน 40150
ที่ตั้ง โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตั้งอยูที่ บานเลขที่ 300 บานภูเวียง หมู 4 ตําบลภูเวียง อําเภอภูเวียง
จังหวัดขอนแกน 40150
- ทิศเหนือ ติดตอกับถนนสายกุดฉิม-ภูเวียง
- ทิศใต ติดตอกับที่ดินของเอกชน
-ทิศตะวันออก ติดตอกับซอยอรุโณทัย
- ทิศตะวันตก ติดตอกับสํานักงานเกษตรอําเภอภูเวียง
ปรัชญาโรงเรียน
พัฒนาบุคคลใหเปนพลเมืองดีของชาติ
คําขวัญโรงเรียน
“วินัยดี มีความรู อยูอยางสันติ”

สีประจําโรงเรียน
สีแสด & สีเขียว
สีแสด เกิดจาก สีแดง ผสมกับ สีเหลือง
สีแดง หมายถึง ความกลาหาญ ความเสียสละ
สีเหลื่อง หมายถึง พระพุทธศาสนา
สีเขียว หมายถึง ความอุดมสมบูรณและความสดชื่น
อักษรยอโรงเรียน
ภ.ว.ค.
2.9.3 ขอมูลนักเรียน

เพศ
ระดับชั้น จํานวนหอง รวม
ชาย หญิง
ม.1 11 174 256 430
ม.2 10 181 218 399
ม.3 10 176 204 308
รวมมัธยมตน 31 531 678 1,209
ม.4 11 160 221 381
ม.5 10 150 224 374
ม.6 11 151 214 365
รวมมัธยมปลาย 31 531 678 1,209
รวมทั้งหมด 62 992 1,337 2,329

2.9.4 ขอมูลขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
คณะผูบริหาร
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
ผู อํ า นวยการโรงเรี ย น/วิ ท ยฐานะ
1. นายคมสันต ชุมอภัย
ชํานาญการพิเศษ
รองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ
2. นางเบญจลักษณ ไกรศรีวรรธนะ
/วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
ผูชวยผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ
3. นายมนตรี อาจมนตรี
/วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
ผู ช ว ยผู อํ า นวยการกลุ ม บริ ห ารงาน
4. นายสาคร ชํานาญพล
บุคคล/วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
ผูชวยผูอํานวยการกลุมบริหาร
5. นายยรรยง ชาญวิรัตน กิจการนักเรียน/วิทยฐานะชํานาญการ
พิเศษ
ผูชวยผูอํานวยการกลุมบริหารทั่วไป
6. นางพรทิพย ชาญวิรัตน
/วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
7. นายปฐฏิพนธ นนทะโคตร ผูชวยผูอํานวยการกลุมบริหารแผนและ
งบประมาณ/วิ ท ยฐานะชํ า นาญการ
พิเศษ

กลุมสาระภาษาไทย
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
1. นางสุนิสา สําราญวงษ หัวหนากลุมสาระการเรียนรู/ คศ.3
2. นางสุกัญญา เสารอน ครู อันดับ คศ.3
3. นางอรพินท จิตรัตนพิพัฒน ครู อันดับ คศ.3
4. นางปราณี วโรพัฒน ครู อันดับ คศ.3
5. นางศรีสุวรรณ คนไว ครู อันดับ คศ.3
6. นางรุงอรุณ นนทะโคตร ครู อันดับ คศ.3
7. นายนิกร สิทธิเลาะ ครู อันดับ คศ.1
8. นางสาวประครอง เครือชมภู ครู อันดับ คศ.1
9. นางสาวศศิธร ชาแทน ครู อันดับ คศ.1
10. นางสาวหงสฟา คําสําโรง ครู อันดับ คศ.1
11. นางสาวทิวารัตน คุรุนันท ครู อันดับ คศ.1
12. นายวราวุฒิ พลตรี ครู อันดับ คศ.3
13. นางสาวรวิสรา จิตรบาน ครูอัตราจาง

กลุมสาระวิทยาศาสตร
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
1. นางจินตนา เถาวเมฆ หัวหนากลุมสาระการเรียนรู/ คศ.3
2. นายชูศักดิ์ ปฐพีโชค ครู อันดับ คศ.3
3. นางวิยะดา ปฐพีโชค ครู อันดับ คศ.3
4. นางพรทิพย ชาญวิรัตน ครู อันดับ คศ.3
5. นายมนตรี อาจมนตรี ครู อันดับ คศ.3
6. นายวิระ วรรณสิงห ครู อันดับ คศ.3
7. นายพิฑูรย โสภา ครู อันดับ คศ.3
8. นายกญพัทธ ศรีคราม ครู อันดับ คศ.3
9. นายประจักษ ภูมิเวียงศรี ครู อันดับ คศ.3
10. นางธนาภรณ วรรณสิงห ครู อันดับ คศ.3
11. นางพักตรวิภา พาเบา ครู อันดับ คศ.3
12. น.ส.สิริญญา บาลธนะจักร ครู อันดับ คศ.2
13. นายกฤษฏ ภัทรนุกูลกิจ ครู อันดับ คศ.2
14. นางปยวรรณ พระราช ครู อันดับ คศ.2
15. น.ส.ชวาลา นอยหมากหญา ครู อันดับ คศ.2
16. นางสาววัชรา หงษเวียง ครู อันดับ คศ.2
17. นายพิชิตชัย มโนสัย ครู อันดับ คศ.2
18. นางสาวสมนึก สิมพงษ ครู อันดับ คศ.1
19. นายสถิตยพงษ ศรีจิวังษา ครู อันดับ คศ.1
20. นางสาวศมนกานต คํามูล ครู อันดับ คศ.1
21. นางสาวปวิตา ดรหลักคํา ครูผูชวย
22. นางสาวสรัญญา พินาธุวงค ครูผูชวย
23. นางสาวรัติกาล แกนบุดดี พนักงานราชการ

กลุมสาระคณิตศาสตร
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
1. นางนิตินันท รักแพทย หัวหนากลุมสาระการเรียนรู/ คศ.3
2. นายสุทธี พวงมาลัย ครู อันดับ คศ.3
3. นางสุภัทรา นิธิรุจโรจน ครู อันดับ คศ.3
4. นายอธิวัต วโรพัฒน ครู อันดับ คศ.3
5. นายธารา ศศิวรกานต ครู อันดับ คศ.3
6. นางนงนุช ฐากุลธเนศ ครู อันดับ คศ.3
7. นางเณศรา ยานะสาร ครู อันดับ คศ.3
8. นางศิรินประภา กงชา ครู อันดับ คศ.3
9. นายชัชชัย พระราช ครู อันดับ คศ.2
10. นางสาวรัชนีพร พลเทพา ครู อันดับ คศ.1
11. นางสาวเกษร มโนสัย ครู อันดับ คศ.1
12. นางสาวจินตจุฑา จันทเก ครูผูชวย
13. นายกฤษฎา ลาปะ ครูผูชวย
14. นางสาวจุรีมาศ จําปาพันธ ครูอัตรจาง
15. นางสาวผกามาศ อุนสา ครูอัตรจาง
16. นางสาวพรวิลัย บุญสถิตย ครูอัตรจาง
กลุมสาระภาษาตางประเทศ
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
1. นางยุภาพร พรมแกวมา หัวหนากลุมสาระการเรียนรู/ คศ.3
2. นางฉวีวรรณ ทองแยม ครู อันดับ คศ.3
3. นางเกศราภรณ ประเสริฐไทย ครู อันดับ คศ.3
4. นางญาณินี พวงมาลัย ครู อันดับ คศ.3
5. นางวิไลภรณ สุขยืน ครู อันดับ คศ.3
6. นางกัณฑิมา พาลี ครู อันดับ คศ.3
7. นางมลฤดี บุญเกาะ ครู อันดับ คศ.3
8. นางมาลัยกาญจน รามปาน ครู อันดับ คศ.2
9. นางสาวชนัญชิดา ทองหนองกอย ครู อันดับ คศ.2
10. นางวัชราภรณ แสงพันธ ครู อันดับ คศ.2
11. นางสาวมัลลิกามาศ เทียมรินทร ครู อันดับ คศ.2
12. นางสาวสุพรรณี แสนจู ครู อันดับ คศ.1
13. นายจรัส ราชชารี ครูผูชวย
14. นางสาวชุลีวรรณ สุขโข ครูผูชวย
15. นางสาวชนิกานต ปนรัตน ครูผูชวย
16. นางสาวพรวิลัย บุญสถิตย ครูผูชวย
17. นางสาวรติรส วรรณคํา ครูผ้ ชู ่วย
18. นางสาวอุบลวรรณ โสภา ครูผ้ ชู ่วย
19 นางสาวจีรนันท ภาคพรหม ครูผ้ ชู ่วย
20. นางสาวนภารัตน หงษเพชร ครูอัตราจาง
21. นางสาวภูษณิศา ภูตาเลิศ ครูอัตราจาง

กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
1. นางจุฬาลักษณ การอรุณ หัวหนากลุมสาระการเรียนรู/ คศ.3
2. นางกมลวรรณ สิมมาคํา ครู อันดับ คศ.3
3. นางสาวณัฏฐินี ลีปา ครู อันดับ คศ.3
4. นางทิวาวรรณ หลาอภัย ครู อันดับ คศ.3
5. นายสุพัฒน เพิ่มพร ครู อันดับ คศ.3
6. นายอุทัย สรรพสมบัติ ครู อันดับ คศ.2
7. นายสังเวียน หมื่นศรี ครู อันดับ คศ.2
8. นางนกแกว ยอดสุวรรณ ครู อันดับ คศ.2
9. นางอุบลวรรณ พรรณขาม ครู อันดับ คศ.2
10. นางสาวแคธริยา บุญทวี ครู อันดับ คศ.2
11. นายธนเดช ศิริสุนทร ครู อันดับ คศ.2
12. นางสาวจันทรจิรา นิยมบุญ ครู อันดับ คศ.1
13. นายเชาวรินทร ชินราษฎร ครู อันดับ คศ.1
14. นายพรพจน นฤมล ครูผูชวย
15. นางสุพัตรา จันทวัน ครูผูชวย

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
1. นายวรวิทย สุดตาสอน หัวหนากลุมสาระการเรียนรู/ คศ.3
2. นายยรรยง ชาญวิรัตน ครู อันดับ คศ.3
3. นายอนุศักดิ์ ดานนุกูล ครู อันดับ คศ.3
4. นางเกษิณี สุดตาสอน ครู อันดับ คศ.3
5. นายสุทธิชัย ดีวงษ ครู อันดับ คศ.3
6. นายรวิภาส อภินันทสวัสดิ์ ครูผูชวย
7. นางสาวจิราพร ปะนะสุนา ครูผูชวย
8. นายวีรวัฒน แสนจันทรฮาม ครูอัตราจาง

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
1. วาที่ ร.ต.สุทธิดา ทองยา หัวหนากลุมสาระการเรียนรู/ คศ.2
2. นายนพพร จิตรัตนพิพัฒน ครู อันดับ คศ.3
3. นายเทวสิทธิ์ วงศวรวิโรจน ครู อันดับ คศ.1
4. นายวีรชัย ทิพยอาสน ครู อันดับ คศ.1
5. นางพิชญา หัสจรรย ครูผูชวย
6. นายวิรวัฒน ฉัตรวิโรจน ครูอัตราจาง
7. น.ส.ณิพิสกุญช ธนาวุฒิธนภูมิ ครูอัตราจาง
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง/อันดับ
นางเอื้องบุษบา ชํานาญพล หัวหนากลุมสาระการเรียนรู และหัวหนา
1. งานบาน ครู อันดับ คศ.๓
2. นางดุษฎี แสนหลา ครู อันดับ คศ.3
3. นางยุวดี จันทรโพธิ์ ครู อันดับ คศ.3
4. นางจันทรฉาย รัตนวัตร ครู อันดับ คศ.3
5. นางสาวชิดนภา ศรียา หัวหนางานเกษตร ครู อันดับ คศ.3
6. นายประหยัด ศิริจันทร ครู อันดับ คศ.3
7. นายภัทรพงษ เยี่ยมยอด ครูผูชวย
8. นางจันทรทิพย ลอยเมฆ หัวหนางานธุรกิจ ครู อันดับ คศ.3
9. นายมีรัตน ฆองคํา หัวหนางานชาง ครู อันดับ คศ.3
10. นายสมพร รัตนวัตร ครู อันดับ คศ.3
11. นายไพบูลย มุมออน ครู อันดับ คศ.3
12. วาที่ ร.อ.เกียรติศักดิ์ คุณกัณหา ครู อันดับ คศ.3
13. นายปฐฏิพนธ นนทะโคตร หัวหนางานคอมพิวเตอร ครู อันดับ คศ.3
14. นายสาคร ชํานาญพล ครู อันดับ คศ.3
15. นางสาวอิสราภรณ พรเพ็ง ครู อันดับ คศ.3
16. นายปุญญพัฒน ชัยวงษา ครู อันดับ คศ.1
17. นายจารุวัฒน บอดินดํา ครู อันดับ คศ.1
18. นายวิเศษ วชิรวัตถานนท ครูผูชวย
19. นางเปรมใจ ศักดาศิริสวัสดิ์ พนักงานราชการ
20. นางสาวจิรารัตน เหงาปูน ครูอัตราจาง

2.12.5 วิสัยทัศน (Vision )


ภูเวียงวิทยาคมเปนโรงเรียนของชุมชน พัฒนาการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน จัดการ
สิ่งแวดลอมเปนแหลงเรียนรู ดํารงวิถีไทยตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มุงสูความเปนเลิศตามมาตรฐานการศึกษา
และมาตรฐานสากล
2.12.6 พันธกิจ ( Mission )
1. จัดการศึกษาสอดคลองกับการศึกษาของชาติ และลักษณะเฉพาะการศึกษามุงสูมาตรฐานสากล

2. สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพบรรลุเปาหมายมาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐานสากล
3. ส ง เสริ ม พั ฒ นาบุ ค ลากรและการบริ ก ารทางการศึ ก ษาอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เที ย บเคี ย ง
มาตรฐานสากล
4. พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาดวยระบบคุณภาพโดยชุมชนมีสวนรวม เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
คุมคาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. พัฒนาทรัพยากร อนุรักษสิ่งแวดลอม ภูมิปญญาไทย ใหเปนแหลงการเรียนรู มุงสูมาตรฐานสากล
2.12.7 อัตลักษณของโรงเรียน
“ อยูอยางพอเพียง”
2.12.8 เอกลักษณของโรงเรียน
“ สถานศึกษาพอเพียง”
2.12.9 คุณลักษณะอันพึงประสงค
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ปรับปรุงพุทธศักราช 2560 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้ นพื้น ฐาน พุ ทธศั กราช 2553 มุ งพัฒ นาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงปะสงคเพื่อใหสามารถอยู
รวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย เปนคุณลักษณะในฐานะพลเมืองไทย ตองรูคุณคา หวงแหน และเทิดทูน
สถาบันสูงสุดของชาติ
2. ซื่อสัตย สุจริต เปนคุณลักษณะที่ผูเรียนมีจิตสํานึกคานิยม และมีคุณธรรม จริยธรรมในการอยู
รวมกันกับผูอื่นในสังคมอยางมีความสุข
3. มีวินัย เปนคุณลักษณะของผูเรียนเรียนดานการ ประพฤติปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบของสังคม อยางมีความ
รับผิดชอบ และความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น
4. ใฝเรียนรู เปนคุณลักษณะของนักเรียนดานความกระตือรือรนในการแสวงหาความรูอยากรูอยาก
เรียน รักการอานการเขียน การฟง รูจักตั้งคําถามเพื่อหาเหตุผลทั้งดวยตนเอง และรวมกับ ผูอื่นดวยความขยัน
หมั่นเพียร และอดทน และเปดรับความคิด ใหม ๆ
5. อยูอยางพอเพียง เปนคุณลักษณะ ของนักเรียนในการดํารงชีวิตอยางมีความพอประมาณใช
สิ่งของอยางประหยัด พอใจในสิ่งที่ตนมีอยูบนหลักเหตุผล และมีภูมิคุมกันที่ดี
6. มุงมั่นในการทํางาน เปนคุณลักษณะของผูเรียนที่มีจิตสํานึกในการใชบริหารงานและทรัพยากร
อยางคุมคาและยั่งยืน ในการทํางานตามความคิดสรางสรรค มีทักษะและมุงมั่นตอความสําเร็จของงาน
7. รักความเปนไทย เปนคุณลักษณะของผูเรียนที่รูจักหวงแหน อนุรักษพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทย
ประพฤติตามวัฒนธรรมไทยใหคงอยูคูไทย
8. มีจิตสาธารณะ เปนคุณลักษณะที่ผูเรียนไดทําประโยชนตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจใน
ลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงความรับผิดชอบ ความเสียสละ มีจิตมุงทําประโยชนตอครอบครัว ชุมชน สังคม
2.12.13 สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาโรงเรี ย นหนองไผ ม อดิ น แดง ปรั บ ปรุ ง พุ ท ธศั ก ราช 2560 ตามหลั ก สู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2553 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะจําเปนพื้นฐาน 5 ประการที่
นักเรียนพึงมี ซึ่งกําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2553 สมรรถนะเหลานี้ได
หลอมรวมอยูในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูตางๆ ทั้ง 8 กลุม สมรรถนะสําคัญ
ของผูเรียนทั้ง 5 ประการไดแก
1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถของนักเรียนในการถายทอดความคิด ความรูความ
เขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและประสบการณ อันจะเปนประโยชน
ตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อประนีประนอม การเลือกที่จะรับและไมรับขอมูล
ขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึง
ผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถของนักเรียนในการคิดวิเคราะห การคิกสังเคราะห
การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดอยางสรางสรรค การคิดเชิงคุณธรรมและการคิดอยางเปนระบบเพื่อนําไปสู
การสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถของนักเรียนในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆ
ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการ
ตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคม และสิ่งแวดลอม
4. ความสามารถในการใชทักษะกระบวนการและทักษะในการดําเนินชีวิต เปนความสามารถของ
นักเรียนในดานการนํากระบวนการตางๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การทํางานและการอยูรวมกันใน
สังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการและหาทางออกที่เหมาะสมดานความ
ขัดแยงและความแตกตางระหวางบุคคล การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม
การสืบเสาะหาความรู และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคซึ่งจะสงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถของนักเรียนในการเลือกใชเทคโนโลยีดาน
ตาง ๆ ทั้งดานวัตถุ แนวคิด และวิธีการในการพัฒนาตนเองและสังคมดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน
การแกปญหา และการอยูรวมกับผูอื่นไดอยางถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม
2.13 งานวิจัยที่เกี่ยวของ
ชวนพิศ คชริ น (2555) ไดศึกษาการพัฒนาชุดการสอนแบบ 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาชุดการสอน
แบบ 5W1H ในการสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับประถมศึกษาและ 2)
ศึกษาผลการใชชุดการสอนแบบ 5W1H ในการสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียน
ระดับประถมศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชในงานวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2555 โรงเรียนบานน้ําฉํา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 จํานวน
21 คน โดยที่ผูวิจัยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก 1) ชุดการสอนแบบ 5W1H เพื่อสงเสริม
ทั กษะการคิ ด วิ เ คราะห ร ายวิ ช าภาษาไทยของนั กเรี ย นระดับ ประถมศึ กษาจํานวน 5 ชุ ดกิจ กรรมและ 2)
แบบทดสอบทักษะการคิดวิเคราะหเปนแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ สถิติที่ใชในการ
วิเคราะหขอมูลไดแก คารอยละคา เฉลี่ยคาเบี่ยงเบนมาตรฐานและ t-test ผลการวิจัยพบวา 1) ชุดการสอน
แบบ 5W1H เพื่ อ ส งเสริ มทั กษะการคิ ด วิเคราะหร ายวิช าภาษาไทยของนักเรีย นระดับ ประถมศึ กษามี
ประสิทธิภาพ 85.90/83.81 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว 2) ผลการใชชุดการสอนแบบ 5W1H ในการ
สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหรายวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษากอนเรียนและหลังเรียน
สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
กรองทิพย สุรัตนตะโก (2557) ไดไดศึกษาผลการใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H
และผั ง กราฟ ก ที่ มี ต อ ความสามารถในคิ ด วิ เ คราะห กลุ ม สาระการเรี ย นรู ภ าษาไทย ของนั ก เรี ย นชั้ น
ประถมศึกษาป ที่ 5 กั บ เกณฑ ร อยละ 60 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรีย นที่มีตอกระบวนการคิด
วิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก กลุมตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/1 โรงเรียน
บานเนินโมก จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 จํานวน 30 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบดวย
1)แผนการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก จํานวน 6 แผน
2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอานเชิงคิดวิเคราะห แบบปรนัย จํานวน 30 ขอ 3) แบบทดสอบถาม
ความพึงพอใจตอการใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก จํานวน 12 ขอสถิติใน
การวิ เ คราะห ข อ มู ล ได แ ก ค า เฉลี่ ย ค า เบี่ ย งเบนมาตรฐานและการทดสอบค า ที ผลการวิ จั ย พบว า 1)
ความสามารถในการอานเชิงคิดวิเคราะหโดยใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก
คะแนนหลังเรียนสูงกวาที่กําหนดไวรอยละ 60 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีตอผลการใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟกโดยภาพรวมอยูใน
ระดับมากที่สุด
สุชาดา ปติพร (2558) ไดศึกษาการพัฒนาการคิดวิเคราะห ในวิชาภาษาไทย (สาระที่5 วรรณคดี
วรรณกรรม) โดยใชกระบวนการกลุม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาการคิด
วิ เ คราะห ในวิ ช าภาษาไทย (สาระที่ 5 วรรณคดี วรรณกรรม) ของนักเรีย นชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 โดยใช
กระบวนการกลุม 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) ศึกษาพัฒนาการของพฤติกรรมกลุม 4) ศึกษาความพึง
พอใจที่มีตอการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนราชวินิต
บางเขน ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2558 จํานวน 1 หองเรียน จํานวน 25 คน ที่ไดรับการเลือกมาแบบ
เจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1) แผนการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการ
กลุ ม เรื่องหัว ใจชายหนุม วิช าภาษาไทยชั้ นประถมศึกษาป ที่ 4 2) แบบทดสอบวัดความคิดวิเคราะห 3)
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทางการเรียน 4) แบบสังเกตพฤติกรรมกลุม และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจ
การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชไดแก 1) คารอยละ 2) คาเฉลี่ย ( X ) 3) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และ
4) Paired t-test (Dependent) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ผลการพัฒนาความคิดวิเคราะหมีคะแนนหลังเรียนสูง
กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 2) ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนไดคะแนนไมต่ํา
กวาเกณฑรอยละ 75 จํานวน 23 คนคิดเปนรอยละ 92.00 และนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํา กวาเกณฑ มี 2 คน คิด
เปนรอยละ 8.003) ผลการศึกษาพัฒนาการของพฤติกรรมกลุม มีคะแนนอยูในเกณฑระดับ ดี 4) ผลการศึกษา
ความพึงพอใจของนักเรียนโดยภาพรวมอยูในระดับมาก ( X = 3.70)
ดวงพร เฟองฟู (2559) ไดศึกษาการพัฒนาชุดกิจกรรมการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อ
สงเสริมการอาน กลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
1) เพื่อพัฒนาความสามารถในการอานจับใจความใชเทคนิค 5W1H กลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค
5W1H กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีตอชุดกิจกรรมการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค 5W1H กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2559 โรงเรียนสาธิตคริสเตียนวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี จํานวน 32 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก 1) แผนการจัดการเรียนรูการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค 5W1H จํานวน 4
แผน แผนละ 3 ชั่วโมง รวม 12 ชั่วโมง 2) ชุดกิจกรรมการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค 5W1H กลุมสาระการ
เรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอานจับใจความ กลุมสาระการ
เรี ย นรู ภ าษาไทย ชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 6 เป น แบบปรนั ย ชนิ ด เลื อ กตอบ 4 ตั ว เลื อ ก จํ า นวน 30 ข อ 4)
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอชุดกิจกรรมการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค 5W1H กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 1 ฉบับ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1) นักเรียนมีความสามารถในการอานจับใจความสําคัญ โดยใช
เทคนิค 5W1H กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยมีคะแนนไมต่ํากวารอยละ 80
จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 81.25 2) ชุดกิจกรรมการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค 5W1H กลุมสาระการ
เรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีประสิทธิภาพ 84/84.50 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กําหนด
ภคพร เครือจันทร (2559) ไดศึกษาการศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนนายกวัฒนากร วัดอุดมธานี จังหวัดนครนายก โดยใชเทคนิคการตั้งคาถาม
(5W1H) ในการจัดการเรียนรู การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการคิด
วิเคราะห ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนนายกวัฒนากร วัดอุดมธานี จังหวัดนครนายก โดยใช
เทคนิคการตั้งคาถาม (5W1H) ในการจัดการเรียนรู กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนนายกวัฒนากร วัดอุดมธานี จังหวัดนครนายก ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2559
จํานวนนักเรียน 19 คน ไดใชรูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) มีเครื่องมือ
ทดลอง ไดแก แผนการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิคการตั้งคําถาม (5W1H) เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวม
ขอมูล ไดแก แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห สถิติที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล ไดแก คาสถิติ
พื้นฐานและคาความแตกตางของคาเฉลี่ย (Mean difference) ผลการวิจัย พบวา 1. ความสามารถในการคิด
วิเคราะห ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนนายกวัฒนากร วัดอุดมธานี จังหวัดนครนายก โดยใช
เทคนิคการตั้งคาถาม (5W1H) ในการจัดการเรียนรู นักเรียนมีคะแนนผานเกณฑที่ระดับดีขึ้นไปรอยละ 100
ของนักเรียนทั้งหมด 2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนนายก
วัฒนากร วัดอุดมธานี จังหวัดนครนายก โดยใชเทคนิคการตั้งคําถาม (5W1H) ในการจัดการเรียนรูหลังเรียนสูง
กวากอนเรียนคิด
จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคิดวิเคราะห พบวาการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห
ของนักเรียน โดยใชเทคนิค 5W1H ทําใหนักเรียนมีความสามารถในการตั้งคําถาม การตอบคําถามรวมทั้งทําให
นักเรียนมีความสนใจในการทํากิจกรรมการเรียนการสอน มีความสนุกสนานในการเรียนรู มีความรับผิดชอบ มี
ทักษะการคิกวิเคราะหเพิ่มมากขึ้นสามารถสรุปใจความสําคัญจากเรื่องที่อานได มีความสามารถในการแยกแยะ
และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
2.14 กรอบแนวคิดในการศึกษา
กรอบแนวคิ ดในการจั ดกิจ กรรมการเรีย นรู เพื่อการพัฒ นาทักษะการคิดวิเคราะห โดยใชเทคนิค
5W1H วิชาภาษาไทย วรรณคดี เรื่อง สังขทอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนหนองไผมอดินแดง

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

การจัดการเรียนรูตามแผนโดยใช 1. ประสิทธิภาพของการจัดการ
เทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะ เรียนรูโดยใชเทคนิค 5W1H
การคิดวิเคราะห 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

3. ความพึงพอใจตอการจัดการเรียน
การสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
บทที่ 3

วิธีดําเนินการศึกษา
การศึกษา เรื่อง การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตําบลภู
เวียง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผูศึกษาไดดําเนินการศึกษาตามลําดับ ดังนี้
3.1 กลุมเปาหมาย
3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา
3.3 การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือ
3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล
3.5 การวิเคราะหขอมูล
3.6 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
3.7 วิธีดําเนินการทดลอง
3.1 กลุมเปาหมาย
กลุมเปาหมายที่ใชในการศึกษาในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 6/7 ที่กําลังศึกษาใน
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 โรโรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตําบลภูเวียง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 จํานวน 1 หองเรียน นักเรียนจํานวน 24 คน ไดมาโดย
วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งเปนการเลือกกลุมตัวอยางโดยพิจารณาจากการตัดสินใจ
ของผูวิจัยเอง ลักษณะของกลุมที่เลือกเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัย การเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง
ตองอาศัยความรอบรู ความชํานาญและประสบการณในเรื่องนั้นๆของผูทําวิจัย
3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดจัดทําเครื่องมือที่ใชในการศึกษา ประกอบดวย
3.2.1. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตําบลภูเวียง
อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน
3.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียน จากการพัฒนาแผนการจัดการ
เรีย นรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห วรรณคดี วิช าภาษาไทย นักเรีย นชั้น
มัธยมศึกษาศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตําบลภูเวียง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน เปนแบบ
ปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ
3.2.3. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 6/7
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตําบลภูเวียง อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน จํานวน 20 ขอ รวม 4 ดาน ไดแก (1)
ดานทักษะและเทคนิคการสอนของครู (2) ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู (3) ดานสื่อการเรียนรู และ (4) ดาน
การวัดและประเมินผล เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามวิธีของ Likert มี 5 ระดับ คือ
ระดับ 5 หมายถึงพึงพอใจมากที่สุด, ระดับ 4 หมายถึงพึงพอใจมาก, ระดับ 3 หมายถึงพึงพอใจปานกลาง,
ระดับ 2 หมายถึงพึงพอใจนอย, และระดับ 1 หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด (บุญชม ศรีสะอาด, 2556)
3.3 การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือ
ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดดําเนินการสรางและการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการศึกษา เพื่อ
จะนําไปทดลองใชจริงในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 โดยผูศึกษาไดดําเนินการตามลําดับ ดังนี้
3.3.1.การสรางแผนการจัดการเรียนรู ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 6/7โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม ซึ่งผูศึกษามีขั้นตอนการสราง ดังนี้
3.3.1.1. ศึกษาทฤษฎีและรูปแบบการจัดการเรียนรู
3.3.1.2 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
3.3.1.3 วิเคราะหเนื้อหา มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และคําอธิบายรายวิชาที่ตองการใหเกิดแกตัว
ผูเรียน เมื่อไดเรียนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
3.3.1.4 สรางแผนการจัดการเรียนรู วิชาภาษาไทย โดยใหสัมพันธกับเนื้อหา มาตรฐานการเรียนรูและ
ตัวชี้วัด จัดทําแผนการจัดการเรียนรูตามองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรูที่ประกอบดวยมาตรฐานการ
เรียนรูและตัวชี้วัด จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค ชิ้นงานหรือภาระงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและแหลงเรียนรู การวัดและประเมินผล เกณฑ
การประเมิน และเกณฑการตัดสินคุณภาพ สรางจํานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู ไดแก แผนการจัดการเรียนรู
ที่ 13 เรื่อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
3.3.1.5.นํ า แผนการจั ดการเรี ย นรูที่ส รา งขึ้น เสนอตอ อาจารยที่ป รึ กษาสารนิพนธทั้ง 2 ทา น
ประกอบดวย
ตรวจพิ จ ารณาความถู ก ต อ งของรู ป แบบการเขี ย นแผน ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งสาระการเรี ย นรู
มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู สื่อและแหลงเรียนรู การวัด
และประเมินผล รวมทั้งเกณฑที่ใชวัดและประเมินผล แลวนํามาปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ และนําแผนการ
จัดการเรียนรูที่ไดรับการปรับปรุงแกไขแลว นําเสนอตออาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง
3.4.2 การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อใชทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน จาก
การจัดการเรียนรูโดยใชแบบฝกทักษะเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาวิชาภาษาไทย วรรณคดี
3.4.2.1. ศึกษาวิธีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยชนิด
เลือกตอบ 4 ตัวเลือก
3.4.2.2. สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาไทย ใหครอบคลุมเนื้อหา
และจุดประสงคการเรียนรูที่ตั้งไว โดยสรางเปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ
และตองการใชจริง 20 ขอ
3.4.3 การสรางแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีตอการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห โดย
ใชเทคนิค 5W1H วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ซึ่งผูศึกษาสราง
ขึ้นตามขั้นตอน ดังนี้
3.4.3.1.ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ เพื่อเปนกรอบแนวคิด และ
แนวทางในการสรางแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน
3.4.3.2.ศึกษาวิธีการสรางแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนและกําหนดรูปแบบ จาก
เอกสารและงานวิจัยตางๆ ที่ไดทําการศึกษาคนควา
3.4.3.3. สรางแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีตอการพัฒนาแผนการจัดการ
เรี ย นรู โดยใชเ ทคนิ ค 5W1H เพื่ อส งเสริมทักษะการคิดวิเคราะหว รรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรีย นชั้น
มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6/7 โรงเรี ย นภู เ วี ย งวิ ท ยาคม จํ า นวน 24 ข อ รวม 4 ด า น ซึ่ ง ต อ งการใช จ ริ ง 20 ข อ
ประกอบดวย (1) ดานทักษะและเทคนิคการสอนของครู (2) ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู (3) ดานสื่อการ
เรียนรู และ (4) ดานการวัดและประเมินผล ซึ่งเปนแบบประเมินแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale)
ตามวิธีของ Likert มี 5 ระดับ (บุญชม ศรีสะอาด, 2556) คือ ระดับ 5 หมายถึงพึงพอใจมากที่สุด, ระดับ 4
หมายถึงพึงพอใจมาก, ระดับ 3 หมายถึงพึงพอใจปานกลาง, ระดับ 2 หมายถึงพึงพอใจนอย และระดับ 1
หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด
3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล
ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอน ดังนี้
1. ใชแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2. ใชแบบฝกทักษะ โดยใชเทคนิคในการตั้งคําถาม
3. สังเกตพฤติกรรม
3.5 การวิเคราะหขอมูล
3.5.1 ใหนักเรียนกลุมเปาหมายทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ
4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ กอนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห โดยใช
เทคนิค 5W1H วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม แลวนําแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาตรวจใหคะแนน โดยใชเกณฑ ตอบถูกใหขอละ 1 คะแนน ขอที่ตอบผิดหรือไม
ตอบหรือตอบมากกวา 1 ตัวเลือกในขอเดียวกัน ให 0 คะแนน และบันทึกคะแนนเพื่อใชเปนคะแนนทดสอบ
กอนเรียน (Pretest)
3.5.2. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห โดยใชเทคนิค 5W1H
วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
3.5.3. เมื่อดํา เนิ นการจัดกิจ กรรมการเรีย นรูตามเนื้อหาครบแลว ใหนักเรีย นกลุมเปาหมายทํา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ วิชาภาษาไทย
เรื่องสังขทอง โดยเปนแบบทดสอบชุดเดียวกับแบบทดสอบกอนเรียนแตมีการเรียงสลับขอสลับตัวเลือก แลวนํา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาตรวจใหคะแนน โดยใชเกณฑ ตอบถูกใหขอละ 1 คะแนน ขอที่ตอบ
ผิดหรือไมตอบหรือตอบมากกวา 1 ตัวเลือกในขอเดียวกัน ให 0 คะแนน และบันทึกคะแนนเพื่อใชเปนคะแนน
ทดสอบหลังเรียน (Posttest)
3.5.4. ใหนักเรียนกลุมเปาหมาย ทําแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการพัฒนาแผนการ
จัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้น
มัธ ยมศึ กษาป ที่ 6/7 โรงเรีย นภู เ วี ย งวิ ทยาคม จํานวน 20 ขอ เปน แบบมาตราสว นประมาณคา (Rating
Scale) ตามวิธีของ Likert มี 5 ระดับ คือ ระดับ 5 หมายถึงพึงพอใจมากที่สุด, ระดับ 4 หมายถึงพึงพอใจมาก,
ระดับ 3 หมายถึงพึงพอใจปานกลาง, ระดับ 2 หมายถึงพึงพอใจนอย, และระดับ 1 หมายถึง พึงพอใจนอยที่สุด
(บุญชม ศรีสะอาด, 2556)
3.6 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
ในการวิเคราะหแผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห โดยใช
เทคนิค 5W1H วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ผูศึกษาไดวิเคราะห
ขอมูล ดังนี้
3.6.1. วิเคราะหหาประสิทธิภาพของแผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิเคราะห โดยใชเทคนิค 5W1H วิชาภาษาไทย นันักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
โดยใชสูตรการหาคา E1/E2
3.6.2. วิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน จากแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของแผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะ
การคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม โดยการหา
คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานดวยคาสถิติการทดสอบคาที (t-test dependent
samples)
3.6.3. วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม โดยนําคะแนนที่ไดมาหาคาเฉลี่ย คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลผลตามมาตราสวน
ประมาณคา (Rating Scale)
3.6.4 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน (บุญชม ศรีสะอาด, 2556)
คาเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ใชสูตร ดังนี้

X = ∑X
N
เมื่อ X แทน คาเฉลี่ย
∑ X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุม
N แทน จํานวนคะแนนในกลุม

รอยละ (Percentage) ใชสูตร ดังนี้


P = f x 100
N
เมื่อ P แทน รอยละ
f แทน ความถี่ที่ตองการแปลงใหเปนรอยละ
N แทน จํานวนความถี่ทั้งหมด

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) ใชสูตร ดังนี้

N∑ X 2 − ( ∑ X )2
S.D. =
N(N-1)
เมื่อ S.D. แทน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทน คะแนนของนักเรียนแตละคน
∑ X2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแตละคนยกกําลังสอง
∑ X แทน ผลบวกของคะแนนในกลุมเปาหมายทั้งหมด
N แทน จํานวนนักเรียนกลุมเปาหมาย
3.4.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหหาคุณภาพของเครื่องมือ
สถิติที่ใชหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู
1) วิเคราะหหาคาความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยใชวิธีการหาคาดัชนีความ
สอดคลอง (IOC) หาคาดัชนีความสอดคลองระหวางแผนการจัดการเรียนรูกับจุดประสงคการเรียนรู โดยใชสูตร
(บุญชม ศรีสะอาด, 2556) ดังนี้

IOC = ∑R
N
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางแผนการจัดการเรียนรูกับจุดประสงค
การ .... จุดประสงคการเรียนรู
∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด
N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ
ซึ่งมีเกณฑการประเมินคะแนนของผูเชี่ยวชาญ ดังนี้
ใหคะแนน +1 ถาแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูตรงตามจุดประสงคการ..............
เรียนรู
ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูตรงตามจุดประสงค.....
การเรียนรู
ใหคะแนน -1 ถาแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูไมตรงตามจุดประสงค...............
การเรียนรู
คาดัชนีความสอดคลองที่นํามาใชมีคาอยูระหวาง 0.50 - 1.00
2) วิเคราะหหาคาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู (E1/E2) ตามเกณฑ 75/75
โดยหาคา E1 และ E2 ใชสูตร (ชัยยงค พรหมวงศ, 2556) ดังนี้
คํานวณหาคา 75 ตัวแรก โดยใชสูตร E1
∑X
E1 = NA x 100
เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ
∑ X แทน ผลรวมคะแนนที่ไดจากชุดกิจกรรมระหวางเรียน
N แทน จํานวนนักเรียนทั้งหมด
A แทน คะแนนเต็มของชุดกิจกรรมระหวางเรียนทุกแผนรวมกัน
คํานวณหาคา 75 ตัวหลัง โดยใชสูตร E2
∑X
E2 = NB x 100
เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ
∑ F แทน ผลรวมคะแนนจากแบบทดสอบวั ด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย น หลั ง
เรียน
N แทน จํานวนนักเรียนทั้งหมด
B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
3) วิเคราะหหาคาดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index: E.I.) ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู
เกณฑประสิทธิผลที่ไดจะตองมีคาอยูระหวาง 0.50 – 1.00 ใชสูตร (สมนึก ภัททิยธนี, 2558) ดังนี้
E.I. = P2 - P1
Total - P1
เมื่อ E.I. แทน ดัชนีประสิทธิผล
P1 แทน ผลรวมของคะแนนทดสอบกอนเรียน
P2 แทน ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน
Total แทน ผลคูณของจํานวนนักเรียนกับคะแนนเต็ม
3.4.6 สถิติที่ใชหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1) วิเคราะหหาคาความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยใชวิธีการหาคาดัชนีความ
สอดคลอง (IOC) หาคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคการเรียนรู โดยใชสูตร (บุญชม ศรี
สะอาด, 2556) ดังนี้

IOC = ∑R
N
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคการ ....
เรียนรู
∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด
N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ
ซึ่งมีเกณฑการประเมินคะแนนของผูเชี่ยวชาญ ดังนี้
ใหคะแนน +1 ถาแนใจวาขอสอบสอบตรงตามจุดประสงคการเรียนรู
ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาขอสอบตรงตามจุดประสงคการเรียนรู
ใหคะแนน -1 ถาแนใจวาขอสอบไมตรงตามจุดประสงคการเรียนรู
คาดัชนีความสอดคลองที่นํามาใชมีคาอยูระหวาง 0.50 - 1.00
3.4.7 สถิติที่ใชหาคุณภาพแบบประเมินความพึงพอใจแบบมาตราสวนประมาณคา
1) วิเคราะหหาคาความตรงเชิงเนื้อหา โดยใชวิธีการหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) หาคาดัชนี
ความสอดคลองระหวางขอคําถามแบบประเมินกับเนื้อหา โดยใชสูตร (บุญชม ศรีสะอาด, 2556) ดังนี้
IOC = ∑R
N
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามแบบประเมินกับ........
เนื้อหา
∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด
N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญ
ซึ่งมีเกณฑการประเมินคะแนนของผูเชี่ยวชาญ ดังนี้
ใหคะแนน +1 ถาแนใจวาขอสอบสอบตรงตามจุดประสงคการเรียนรู
ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาขอสอบตรงตามจุดประสงคการเรียนรู
ใหคะแนน -1 ถาแนใจวาขอสอบไมตรงตามจุดประสงคการเรียนรู
3.4.8 สถิติที่ใชในการศึกษาเปรียบเทียบสมมุตฐาน (T-test)

3.7 วิธีดําเนินการทดลอง
การวิจัยการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม กลุมตัวอยางไดแก นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ใชวิธีเลือกแบบเจาะจง มีขั้นตอนการดําเนินการทดลองดังนี้
1. ทดสอบปฏิบัติการทดลอง (Pre test) โดยทําการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทักษะการคิดวิเคราะห โดย
ใชเทคนิค 5W1H นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม และบันทึกผลการสอบไวเปน
คะแนนการทดลองสําหรับการวิเคราะหขอมูล
2. ดําเนินการทดลอง โดยที่ผูวิจัยไดดําเนินการสอนกลุมตัวอยาง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม
แผนการเรียนรูที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น โดยใชระยะเวลาในการทดลอง 5 ครั้ง ๆ ละ 1 ชั่วโมง เปนเวลา 1 สัปดาห
โดยทําการสอนเปนเวลา 1 ชั่วโมง
3. ทดสอบหลังปฏิบัติการทดลอง ดังนี้
3.1 ทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห โดยใช เ ทคนิ ค 5W1H นั ก เรี ย นชั้ น
มัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ที่เปนกลุมตัวอยาง
3.2 สอบถามความพึงพอใจของนักเรียนกลุมตัวอยางที่มีตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู
โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห เ วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล
การพั ฒนาแผนการจัด การเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ในการเสนอผลการวิเคราะห
ขอมูล ผูศึกษาไดทําการวิเคราะหตามลําดับ ดังนี้
4.1 สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
4.2 ลําดับในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล
4.3 ผลการวิเคราะหขอมูล
4.1 สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันในการแปลความหมายและเสนอผลการวิเคราะหขอมูลไดถูกตอง ผูวิจัย
ไดกําหนดความหมายของสัญลักษณตางๆ ที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ดังนี้
n แทน จํานวนนักเรียนในกลุมเปาหมาย
𝑥̅ แทน คาเฉลี่ย
∑ แทน ผลรวม
S.D. แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ
E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ
E.I. แทน ดัชนีประสิทธิผล
t แทน คาสถิติที่จะใชเปรียบเทียบกับคาวิกฤต เพื่อทราบความมีนัยสําคัญ
D แทน ผลตางระหวางของคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน
* แทน มีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4.2 ลําดับในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลครั้งนี้ ผูศึกษาคนควาไดดําเนินการวิเคราะหขอมูล 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของแผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด 80/80
ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางคะแนนทดสอบกอนเรียน
และหลังเรียนดวยการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู
โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่
6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
4.3 ผลการวิเคราะหขอมูล
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด 80/80
ผลการวิ เคราะหห าประสิทธิภ าพของการพัฒนาแผนการพัฒ นาแผนการจัดการเรีย นรู โดยใช
เทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม รวมกับคะแนนการทําแบบทดสอบหลังเรียน ปรากฏผล ดังตารางตอไปนี้
ตารางที่ 4.1 : แสดงผลการวิเคราะหคาประสิทธิภาพของการพัฒนาแผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดย
ใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ที่มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80/80 (E1 / E2)
คะแนนทดสอบ คะแนนทดสอบ
ลําดับ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ระหวางเรียน หลังเรียน
ที่ (10) (10) (10) (10) (กระบวนการ : E1) (กระบวนการ : E2)
(40) (40)
1 7 8 9 8 32 34
2 9 8 7 8 32 34
3 9 9 9 8 35 38
4 8 10 9 9 36 36
จากตารางที่ 4.1 แสดงผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใช
เทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ที่มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80/80
คะแนนทดสอบ คะแนนทดสอบ
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 ระหวางเรียน หลังเรียน
ลําดับ
(10) (10) (10) (10) (กระบวนการ : E1) (กระบวนการ : E2)
ที่
(40) (40)
5 8 7 8 7 30 32
6 7 7 8 9 31 32
7 7 7 6 7 27 30
8 8 9 8 9 34 36
9 9 9 8 8 34 36
รวม 72 74 72 73 291 308
เฉลี่ย 8.00 8.22 8.00 8.11 32.33 34.22
S.D. 0.87 1.09 1.00 0.78 2.78 2.54
% 80 82.2 80 81.1 80.8 85.5

จากตารางที่ 4.1 แสดงผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใช


เทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 (E1 /E2) พบวาโดยรวมแผนการจัดการเรียนรูโดย
ใชเทคนิค5W1H มีประสิทธิภาพ เทากับ 80.8/85.5 สูงกวาเกณฑ 80/80 (E1 /E2) เมื่อพิจารณารายแผนจะ
เห็นวา
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 80
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 82.2
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 80
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 81.1
มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด 80/80
ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน โดย
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชา
ภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 4.2 แสดงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
ดวยการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชา
ภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรียน
เลขที่ D 𝐷2
คะแนน (40) คะแนน (40)
1 15 32 17 289
2 10 32 22 484
3 16 35 19 361
4 14 36 22 484
5 17 30 13 169
6 15 31 16 256
7 16 27 11 121
8 16 34 18 324
9 18 34 16 256
∑X 137 291 154 2,744
S.D. 2.28 2.78 - -
𝑥̅ 15.22 32.33 17.11 304.8

จากตารางที่ 4.2 : ผลสัมฤทธิ์กอนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อ


สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียง
วิทยาคม พบวาในภาพรวมนักเรียนไดคะแนนจากคะแนนเต็ม 40 คะแนน โดยมีคะแนนระหวาง 10 ถึง 18
คะแนน และผลสัมฤทธิ์หลังการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม คะแนนเต็ม 40 คะแนน โดย
มีคะแนนระหวาง 27 ถึง 36 คะแนน
ตารางที่ 4.3 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสถิติทดสอบที และระดับนัยสําคัญทางสถิติ
ของการทดสอบเปรียบเทียบคะแนนสอบกอนและหลังเรียนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม
การทดสอบ คะแนนเต็ม 𝑥̅ S.D. t P-value
หลังเรียน 40 15.22 2.28
13.914** 0.000
กอนเรียน 40 32.33 2.78
** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
จากตารางที่ 4.3 พบวา นักเรียนที่ไดรับการจัดจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H การคิด
วิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม มีคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนมีคาเฉลี่ย (𝑥̅ = 32.33) หลังเรียนมีคาเฉลี่ย (𝑥̅ = 32.33) แสดงใหเห็นวา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1
ตอนที่ 3 วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวี ย งวิ ท ยาคม โดยการหาค า เฉลี่ ย และส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานแล ว นํ า ไปเปรี ย บเที ย บกั บ เกณฑ ที่ ตั้ ง ไว
ปรากฏผลดังตารางที่ 4.4
ตารางที่ 4.4 : แสดงค า เฉลี่ ย ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน และระดั บ ความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต อ
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี
วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม โดยรวม
ระดับความพึงพอใจ
รายการ
𝑥̅ S.D. แปลผล
1. ดานเนื้อหา 4.47 0.57 มาก
2. ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู 4.68 0.49 มากที่สุด
3. ดานสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน 4.52 0.47 มากที่สุด
4. ดานการวัดผลและประเมินผล 4.46 0.55 มากที่สุด
โดยรวม 4.54 0.51 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.4 พบวานักเรียนมีความพึงพอใจตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค


5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคมโดยรวมอยูในระดับมากที่สุด คือ (𝑥̅ = 4.54) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา นักเรียนมีความ
พึงพอใจมากที่สุดคือ ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูอูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.68) รองลงมาคือ ดานสื่อและ
อุปกรณการเรียนอยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.52) และต่ําสุดคือ ดานการวัดและประเมินผลอยูในระดับมาก
(𝑥̅ = 4.46)
ตารางที่ 4.5 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการพัฒนา
แผนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชา
ภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ดานเนื้อหา
ระดับความพึงพอใจ
ดานเนื้อหา
𝑥̅ S.D. แปลผล
1. เนื้อหาที่เรียนเปนเรื่องที่ชอบ 4.53 0.51 มากที่สุด
2. เนื้อหามีรูปแบบที่ชัดเจนเขาใจงาย 4.63 0.49 มากที่สุด
3. เนื้อหาที่เรียนไมยากเกินไป 4.34 0.58 มาก
4. เนื้อหาที่เรียนมีความนาสนใจ 4.61 0.50 มากที่สุด
5. เนื้อหามีความเหมาะสมกับเวลาเรียน 4.26 0.64 มาก
รวม 4.47 0.57 มาก

จากตารางที่ 4.5 พบวานักเรียนมีความพึงพอใจตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค


5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคมดานเนื้อหา โดยรวมอยูในระดับมาก (𝑥̅ = 4.47) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา นักเรียนมี
ความพึงพอใจมากที่สุดคือ เนื้อหามีรูปแบบที่ชัดเจนเขาใจงาย อยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.63) รองลงมาคือ
เนื้อหามีความนาสนใจ อยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.61) และต่ําสุดคือ เนื้อหามีความเหมาะสมกับเวลาเรียน
อยูในระดับมาก(𝑥̅ = 4.26)
ตารางที่ 4.6 : แสดงค า เฉลี่ ย ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน และระดั บ พึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี
ตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห เรื่องสังขทอง
ตอนกําเนิดพระสังข วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนหนองไผมอดินแดง ดานการจัด
กิจกรรมการเรียนรู
ระดับความพึงพอใจ
ดานเนื้อหา
𝑥̅ S.D. แปลผล
1. มีความสนุกสนานกับการรวมกิจกรรมในชั่วโมงเรียน 4.63 0.49 มากที่สุด
2. ไดเรียนรูดวยตนเองอยางมีความสุข 4.76 0.43 มากที่สุด
3. รูสึกภูมิใจมากเมื่อตอบคําถาม 4.47 0.73 มาก
4. พอใจที่สามารถตรวจสอบคําถามดวยตนเอง 4.68 0.48 มากที่สุด
5. ไดฝกทักษะการทํางานกลุมและรายบุคคลดวยความมั่นใจ 4.87 0.34 มากที่สุด
รวม 4.68 0.49 มากที่สุด
จากตารางที่ 4.6 พบวานักเรียนมีความพึงพอใจตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยรวมอยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.68) เมื่อพิจารณาเปนราย
ขอพบวานักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ไดฝกทักษะการทํางานกลุมและรายบุคคลดวยความมั่นใจอยูใน
ระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.87) รองลงมาไดเรียนรูดวยตนเองอยางมีความสุขอยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.76)
และต่ําสุดคือ รูสึกภูมิใจมากเมื่อตอบคําถามอยูในระดับมาก (𝑥̅ = 4.47)
ตารางที่ 4. 7 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการ
พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม สื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

ระดับความพึงพอใจ
ดานสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน
𝑥̅ S.D. แปลผล
1. สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีการเราความสนใจในการเรียนรูมากขึ้น 4.66 0.48 มากที่สุด
2. สื่อ/อุปกรณการเรียนรูที่ใชทําใหเขาใจในการเรียนรูไดงายขึ้น 4.29 0.46 มาก
3. สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีความหลากหลาย 4.76 0.43 มากที่สุด
4. สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีความเหมาะสมกับกิจกรรม 4.37 0.49 มาก
รวม 4.52 0.47 มากที่สุด
จากตารางที่ 4.7 พบวาการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะ
การคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ดานสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน โดยรวมอยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.52)
เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวานักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีความหลากหลาย
อยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.76) รองลงมาคือสื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีการเราความสนใจในการเรียนรูมาก
ที่สุด (𝑥̅ = 4.66) และต่ําสุดคือ สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีความเหมาะสมกับกิจกรรมอยูในระดับมาก (𝑥̅ =
4.37)
ตารางที่ 4.8 : คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอผลการพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม

ระดับความพึงพอใจ
ดานการวัดและประเมินผล
𝑥̅ S.D. แปลผล
1. ครูชี้แจง อธิบายการวัดและประเมินผลทุกครั้ง 4.45 0.50 มาก
2. วิธีการวัดผลและประเมินผลมีความเหมาะสมกับนักเรียน 4.47 0.51 มาก
3. เมื่อมีการทดสอบยอยแตละเรื่องทําใหนักเรียนไดนําไปปรับปรุง
4.39 0.55 มาก
การเรียนรูของตนเองอยูเสมอ
4. นักเรียนมีโอกาสทราบผลคะแนนจากการเรียนรูแตละเรื่องทันที 4.53 0.65 มากที่สุด
รวม 4.46 0.55 มาก
จากตารางที่ 4.8 พบวานักเรียนมีความพึงพอใจตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภู
เวียงวิทยาคม ดานการวัดผลและประเมินผลโดยรวมอยูในระดับมาก (𝑥̅ = 4.46) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ
พบวานักเรียน มีความพึงพอใจมากที่สุดคือนักเรียนมีโอกาสทราบผลคะแนนจากการเรียนรูแตละเรื่องทันทีอยู
ในระดับมาก (𝑥̅ = 4.53) รองลงมาคือวิธีการวัดผลและประเมินผลมีความเหมาะสมกับนักเรียนอยูในระดับ
มากที่สุด (𝑥̅ = 4.47) และต่ําสุดคือเมื่อมีการทดสอบยอยแตละเรื่องทําใหนักเรียนไดนําไปปรับปรุงการ
เรียนรูของตนเองอยูเสมออยูในระดับมาก (𝑥̅ = 4.39)
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี
วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาแผนการ
จัดการเรียนรู เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ความสามารถการคิดวิเคราะห และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชา
ภาษาไทย นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6/7 โรงเรี ย นภู เ วี ย งวิ ท ยาคม ผู ศึ ก ษาสรุ ป ผลอภิ ป รายผล และ
ขอเสนอแนะดังรายละเอียดตอไปนี้
5.1 สรุปผลการศึกษา
5.2 อภิปรายผลการศึกษา
5.3 ขอเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศึกษา
จากผลการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม สรุปผลไดดังนี้
1. ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อ
สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียง
วิทยาคม ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 (E1 /E2) พบวาโดยใชเทคนิค 5W1H มีประสิทธิภาพ (E1 /E2)
เทากับ 80.8/85.5 สูงกวาเกณฑ 80/80 (E1 /E2) เมื่อพิจารณารายแผนจะเห็นวาการใชเทคนิค 5W1H ที่ 1 มี
ประสิทธิภาพเทากับรอยละ 80 แผนที่ 2 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 82.2 แผนที่ 3 มีประสิทธิภาพเทากับ
รอยละ 80 และแผนที่ 4 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 81.1 มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด 80/80
2. ผลสัมฤทธิ์กอนการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิ เ คราะห ว รรณคดี วิ ช าภาษาไทย นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 6/7 โรงเรี ย นภู เ วี ย งวิ ท ยาคม มี ค ะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนมีคาเฉลี่ย (𝑥̅ = 15.22) หลังเรียนมีคาเฉลี่ย (𝑥̅ = 32.33) แสดงใหเห็นวา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะหว รรณคดี วิช าภาษาไทย นักเรีย นชั้น มัธ ยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
โดยรวมอยูในระดับมาก (𝑥̅ = 4.47) เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด คือ
ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูอยูในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.68) รองลงมาคือ ดานสื่อและอุปกรณการเรียนอยู
ในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 4.52) และต่ําสุดคือ ดานการวัดผลประเมินผลอยูในระดับมาก (𝑥̅ = 4.46)
5.2 อภิปรายผลการศึกษา
จากศึกษาเรื่อง การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม สามารถอภิปราย
ผลไดดังนี้
5.2.1 อภิปรายผลการศึกษารองการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริม
ทักษะการคิด วิเ คราะหว รรณคดี วิช าภาษาไทย นักเรีย นชั้น มัธ ยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
สามารถอภิปรายผลไดดังนี้ 1. ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรูโดยใชแบบฝกทักษะการ
คิดวิเคราะห รายวิชาภาษาไทยที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 (E1 /E2) พบวาโดยรวมการใชเทคนิค
5W1H ประสิทธิภาพ (E1 /E2) เทากับ 80/85.5 เปนไปตามเกณฑ 80/80 (E1 /E2) เมื่อพิจารณารายแผนจะ
เห็นวาการใชเทคนิค 5W1H ในแผนการจัดการเรียนรูที่ 1 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 80 แผนที่ 2 มี
ประสิทธิภาพเทากับรอยละ 82. 2 แผนที่ 3 มีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 80 แผนที่ 4 มีประสิทธิภาพเทากับ
รอยละ 81.1 มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด 80/80 แสดงวาการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใช
เทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานการวิจัยขอที่ 1 การ
จัดการเรียนรูโดยใชการสอนแบบดวยเทคนิค 5W1H สงผลใหนักเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนรู มี
ความรับผิดชอบในการศึกษาเนื้อหาที่ตนเองไดรับเพื่อ นําผลงานของตนมานําเสนอและถายทอดความรูให
เพื่อนในกลุมไดฟงเมื่อนักเรียนฟงเนื้อหาที่เพื่อแตละคน นําเสนอแลวสรุปองคความรูรวมความคิดของกลุมซึ่ง
เปนการสงเสริมใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับสมาชิกในกลุมเกิดการยอมรับ
ฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และมีการชวยเหลือกันในกลุมเพื่อใหผลงานของกลุมออกมาดีที่สุดซึ่งสอดคลอง
กับงานของ
ชวนพิศ คชริน (2555) ได ศึกษาการพัฒนาชุดการสอนแบบ 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาชุดการสอนแบบ
5W1H ในการสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับประถมศึกษาและ 2) ศึกษา
ผลการใชชุดการสอนแบบ 5W1H ในการสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชในงานวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2555 โรงเรียนบานน้ําฉํา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 จํานวน 21 คน โดยที่
ผูวิจัยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก 1) ชุดการสอนแบบ 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิด
วิเคราะหรายวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับประถมศึกษาจํานวน 5 ชุดกิจกรรมและ 2) แบบทดสอบทักษะ
การคิดวิเคราะหเปนแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก
คารอยละคา เฉลี่ยคาเบี่ยงเบนมาตรฐานและ t-test ผลการวิจัยพบวา 1) ชุดการสอนแบบ 5W1H เพื่อ
สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะหรายวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับประถมศึกษามีประสิทธิภาพ 85.90/83.81
ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว 2) ผลการใชชุดการสอนแบบ 5W1H ในการสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
รายวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษากอนเรียนและหลังเรียนสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05
5.2.2 ผลสัมฤทธิ์กอนการพัฒนาการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะหวรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม จาก
ผลการวิจัยดังกลาวแสดงใหเห็นวาการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชการสอนดวยเทคนิค 5W1H ทํา
ใหนักเรียนผานเกณฑการเรียนรูจากการรวมมือรวมใจกัน ของสมาชิกในกลุมการปฏิบัติกิจกรรมที่ผูศึกษา ได
จัดเตรียมไวในแตละแผนการจัดการเรียนรูซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของ กรองทิพย สุรัตนตะโก (2557) ไดได
ศึกษาผลการใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก ที่มีตอความสามารถในคิด
วิเคราะห กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กับเกณฑรอยละ 60 2) เพื่อ
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก กลุม
ตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/1 โรงเรียนบานเนินโมก จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา
2557 จํานวน 30 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบดวย 1)แผนการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห
รวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก จํานวน 6 แผน 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอานเชิงคิด
วิเคราะห แบบปรนัย จํานวน 30 ขอ 3) แบบทดสอบถามความพึงพอใจตอการใชกระบวนการคิดวิเคราะห
รวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก จํานวน 12 ขอสถิติในการวิเคราะหขอมูลไดแก คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน
มาตรฐานและการทดสอบค า ที ผลการวิ จั ย พบว า 1) ความสามารถในการอ า นเชิ ง คิ ด วิ เ คราะห โ ดยใช
กระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟก คะแนนหลังเรียนสูงกวาที่กําหนดไวรอยละ 60
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอผลการใชกระบวนการคิดวิเคราะห
รวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟกโดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด
5.2.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อ
สงเสริ มทักษะการคิ ดวิ เ คราะห ว รรณคดี วิ ชาภาษาไทย นักเรีย นชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรีย นภูเวี ย ง
วิทยาคม โดยเนนทักษะกระบวนการทํางานเปนกลุมอยูในระดับมาก ในการทํางานกลุมจะเห็นวานักเรียน ทุก
คนจะใหความรวมมือในการทํางานและมีความรับผิดชอบตองานที่ตนเองไดรับมอบหมายเพราะตองการ ให
กลุมของตนเองไดคะแนนที่สูงกวากลุมอื่นแสดงใหเห็นวา การจัดกลุมนักเรียนโดยการคละกันตามความรู
ความสามารถไมแยกเพศเปนการเปดโอกาสใหนักเรียน ไดแนะนําซึ่งกันและกันได แสดงความคิดเห็นการมี
ความรวมมือกันในการงานผูที่เรียนเกงไดผูที่นักเรียนออนและเปนการทบทวนความรูของตนเองดวยมีการ
สงเสริ มใหกับ นักเรีย นได รู และเข า ใจบทบาทของการเปน ผูนํา ผูตามและการเปน สมาชิกที่ ดีของกลุมซึ่ ง
สอดคลองกับงานวิจัยของทําการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กชกร เปาสุวรรณ และคณะ
(2550) ไดกลาวถึงความหมายของความพึงพอใจวา สิ่งที่ควรจะเปนไปตามความตองการ ความพึงพอใจเปนผล
ของการแสดงออกของทัศนคติของบุคคลอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเปนความรูสึกเอนเอียงของจิตใจที่มีประสบการณ
ที่มนุษยเราไดรับอาจจะมากหรือนอยก็ได และเปนความรูสึกที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเปนไปไดทั้งทางบวกและ
ทางลบ แตก็เมื่อไดสิ่งนั้น สามารถตอบสนองความตองการ หรือทําใหบรรลุจุดมุงหมายได ก็จะเกิดความรูสึก
บวก เปนความรูสึกที่พึงพอใจ แตในทางตรงกันขาม ถาสิ่งนั้นสรางความรูสึกผิดหวัง ก็จะทําใหเกิดความรูสึก
ทางลบ เปนความรูสึกไมพึงพอใจ
5.3 ขอเสนอแนะ
ขอเสนอแนะในการศึกษา ผูศึกษาขอเสนอตามลําดับดังนี้
1. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ตองมีการศึกษาเนื้อหาตาม
หลักทฤษฏีใหทองแทและสอดคลองกับเนื้อหาในรายวิชาที่จัดทํา ควรคํานึงถึงความเหมาะสมในดานของเวลา
เนื้อหาสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม
2. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห
วรรณคดี วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/7 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม ที่มีประสิทธิภาพจะตองผาน
กระบวนการสรางที่เปนระบบ ผานการประเมิน ตรวจสอบคุณภาพ จากผูทรงคุณวุฒิผานการปรับปรุงแกไข
ขอบกพรอง และนําไปทดลองหาประสิทธิภาพ จึงจะยอมรับไดวาแผนการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค 5W1H
เปนแผนที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน เชน 80/80 เปนตน
3. ครูสามารถนําแผนการจัดการเรียนรูที่ผูศึกษาสรางขึ้นไปใชในรายวิชาภาษาไทย เรื่องสังข
ทอง ตอนกําเนิดพระสังข ได
4. ครูควรชี้แจงขั้นตอนการเรียนรูใหผูเรียนทราบอยางชัดเจนเพื่อสงเสริมโอกาสในการประสบ
ความสําเร็จในการเรียน
5. ครูควรจัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูโดยการใชสื่อการเรียนรูในเรื่องนั้นๆ
6. ควรทําการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูใหตรงกับจุดประสงคการเรียนรูอื่นๆตอไป
7. ควรเนนการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูที่เปนสื่อประสมและเปดโอกาสใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธ
กับสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสอดคลองกับการเรียนแบบไทยแลนดยุค 4.0
8. ควรคนนําแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นไปทดลองใชกับนักเรียนโรงเรียนอื่นๆเพื่อจะได
ขอสรุปการวิจัยกวางขวางใหมากยิ่งขึ้น
5.3.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาคนควาตอไป
1. ควรเปรียบเทียบวิธีการสอน โดยใชเทคนิค 5W1H กับวิธีสอนที่หลากหลายเพื่อเปรียบเทียบ
ความแตกตาง
2. ควรเปรียบเทียบวิธีสอน โดยใชเทคนิค 5W1H ในรายวิชาอื่นเพื่อเปรียบเทียบความแตกตาง และ
ผลทางการเรียน
3. ควรมีการศึกษาตัวแปร และปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเรียนรูดวยเทคนิค 5W1H เชน เจตคติ ความ
คงทนในการเรียนรู เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนใหมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น
บรรณานุกรม
กชกร เปาสุวรรณ และคณะ (2550). ความคาดหวังและความพึงพอใจตอการศึกษาตอที่มหาวิทยาลัยราช ภัฏ
สวนดุสิต ศูนยสุโขทัย. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ .
กรองทิพย สุราตะโก. (2557). ผลการใชกระบวนการคิดวิเคราะหรวมกับเทคนิค 5W1H และผังกราฟกที่มี
ตอความสามารถในการอานเชิงคิดวิเคราะห กลุมสาระภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่
5. หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน. : มหาวิทยาลัยทักษิณ
เกริก ทวมกลางและจินตนา ทวมกลาง. (2555). การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อเลื่อนวิทยุ
ฐานะ. กรุงเทพฯ : เยลโลการพิมพ.
เขียน วันทนียตระกูล. (2552). หลักการและวิธีการสอน. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช..........
วิทยาลัย วิทยาเขตลานนา.
ชวนพิศ คชริน. (2555). การพัฒนาชุดการสอนแบบ 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห รายวิชา
ภาษาไทย ของนักเรียนระดับประถมศึกษา. หลักสูตรปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
บริหารนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาปการศึกษา 2555 : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

ชาตรี สําราญ. (2548). สอนใหผูเรียนคิดวิเคราะหไดอยางไร. วารสารสานปฏิรูป 8, 83 (มี.ค. 2548)

: 40 – 41.

ดาวนภา ฤทธแกว. (2548). การเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ความถนัด


ทางการเรียนแตกตางกันในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดมุกดาหาร.
มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ดวงพร เฟองฟู. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมการอานจับใจความ โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมการ


อานกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6. หลักสูตรศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต สาชาวิชาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยครุศาสตร. : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย.

ดาราณี โพธิ์ไทร. (2552). การพัฒนาแบบฝกทักษะภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคําที่ไมตรงตาม


มาตราตัวสะกดโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ดิลก ดิลกานนท. (2534). “การฝกทักษะการคิดเพื่อสงเสริมความคิดสรางสรรค”. กรุงเทพฯ :


วิทยานิพนธ ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการดานการคิด. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรกรุปแมเนจเมนท จํากัด.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาสน.


_______ . (2556). วิธีการทางสถิติสําหรับการวิจัย เลม 1. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน.
เบ็ญจวรรณ เสาวโค. (2553). การพัฒนาแบบฝกทักษะภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคําตามมาตรา...
ตัวสะกดโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค STAD สําหรับนักเรียนชั้น...........
ประถมศึกษาปที่ 1. ครุศาสตรมหาบัณฑิต วิชาหลักสูตรและการสอน. บุรีรัมย : มหาลัยราชภัฏ
บุรีรัมย
ภคพร เครือจันทร. (2559). การศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4
โรงเรียนนายกวัฒนากร วัดอุดมธานี จังหวัดนครนายก โดยใชเทคนิคการตั้งคาถาม (5W1H)
ในการจัดการเรียนรู. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. :
มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ.

เรืองยศ ศิริเสาร. (2553). การพัฒนาการอานและการเขียนสะกดคาไมตรงตามาตราตัวสะกด โดยใช


แบบฝกทักษะ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบาน......
หนองบัวกุดออ. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
วัชรา เลาเรียนดี. (2547). เทคนิคการจัดการเรียนรูสาหรับครูมืออาชีพ. นครปฐม : มหาวิทยาลัย ศิลปากร.
วิมล เหลาแคน. (2552). ผลการเรียนรูภาษาไทย เรื่องการสรางคําตอบตามหลักเกณฑทางภาษาดวยการ
จัดกิจกรรมตามแนวคิดโดยใชสมองเปนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. รายงานการศึกษาอิสระ
ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วันชัย แยมจันทรฉาย. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียน
.... ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่จัดการเรียนรูโดยใชโครงงานกับการเรียนตามปกติ. นครสวรรค....
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42.
ศิริพงษ จรัสโรจนกุล. (2555). ศึกษาความพึงพอใจของผูปกครองนักเรียนที่มีตอการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ปการศึกษา 2555. งานวิจัย ฝายสํานักผูอํานวยการ ..
โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา.
สุรีรัตน พะจุไทย. (2558). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหโดยใชวิธีการสอนแบบสืบสอบ 7E รวมกับ
เทคนิค การตั้งคําถาม 5W1H สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3. ปริญญาศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม. : มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

สุธาดา สนธิเวช. (2551). ความพึงพอใจของพระสงฆตอการบริหารจัดการโรงพยาบาลสงฆ


วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
... ลงกรณราชวิทยาลัย.

สุวิทย มูลคํา. (2554). การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนการคิด. กรุงเทพฯ : อี เค บุคส.


สําลี รักสุทธี. (2553). การจัดทําสื่อนวัตกรรมและแผนประกอบสื่อนวัตกรรม. นนทบุรี : เพิ่มทรัพย
... การพิมพ.
เอนก พ.อนุกูลบุตร. (2547). “การสอนใหคิดเปน”. วารสารวงการครู. (4 เมษายน 2547) : 62 – 63
ภาคผนวก ก
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วิชาภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562
หนวยการเรียนรูที่ 1 สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข เวลาเรียน 5 ชั่วโมง
เรื่อง การคิดวิเคราะหจากสื่อวิดิโอ ผูสอน นางสาวรวิสรา จิตรบาน
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคมูเวียงวิทยาคม
สอนวันที่.......................................... เวลา.......................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา
และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
1. ท 5.1 ป. 5/1 สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
2. สาระสําคัญ
สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
3. จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด
K (พุทธิพิสัย) P (ทักษะ/กระบวนการ) A (จิตพิสัย)
1. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 1. ทักษะในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
วรรณคดีได 2. ทักษะการคิด 2. ซื่อสัตยสุจริต
2. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 3. ทักษะการแกปญหา 3. มีวินัย
วรรณกรรมได 4. ทักษะการใชชีวิต 4. ใฝเรียนรู
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดีได 5. ทักษะการใชเทคโนโลยี 5. อยูอยางพอพียง
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม 6. มุงมั่นในการทํางาน
ได 7. รักความเปนไทย
5. สรุ ป เรื่ องจากวรรณคดี ห รื อ 8. มีจิตสาธารณะ
วรรณกรรมที่อานได
4. สาระการเรียนรู
พุทธิพิสัย (K)
1. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณคดี
2. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณกรรม
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดี
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ทักษะในการสื่อสาร
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา
4. ทักษะการใชชีวิต
5. ทักษะการใชเทคโนโลยี
จิตพิสัย (A)
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยสุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
แผนจัดการเรียนรูที่ 13 ชั่วโมงที่ 2 (1 ชั่วโมง)
ขั้นที่ 1 เตรียมเนื้อหา
1. แจงสาระการเรียนรู จุดประสงคกาเรียนรู แนวปฏิบัติ เกณฑการผานและวิธีซอมเสริมเมื่อนักเรียน
ไมผานเกณฑ
2. ครูถามความรูที่มีอยูของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. ครูเปดวิดิโอเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข ใหนักเรียนดู
ขั้นที่ 2 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห
1. หลังจากดูวิดิโอเสร็จ ครูกําหนดหัวขอในการคิดวิเคราะห หัวขอที่ใชในการคิดวิเคราะห คือ การคิด
วิเคราะหโดยการใชเทคนิค 5W1H จากบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง
2. นักเรียนรวมกันวิเคราะหเนื้อหาของเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข แบบพอสังเขป
3. ครูสรุปเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข ทางการดูวิดิโอใหนักเรียนฟง

ขั้นที่ 3 กําหนดปญหา
1. หลังจากที่นักเรียนไดดูวิดิโอเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข 1 รอบ เพื่อทําความเขาใจในเนื้อหา
ของเรื่องแลว ครูกําหนดปญหาที่จะใหนักเรียนวิเคราะหเกี่ยวกับเนื้อหาที่อาน เชน ตัวละครที่ปรากฏอยูในบท
นําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง มีทั้งหมดกี่ตัว โดยใหนักเรียนวิเคราะหรวมกัน แลวออกมา
นําเสนอหนาชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 กําหนดหลักการหรือกฏเกณฑ
1. ครูกําหนดหลักการและแนวโนมคําตอบในการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามใหกับ
นักเรียน
2. นักเรียนตอบคําถามตรงตามที่ครูกําหนดหลักการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามที่ครูเปนคนตั้ง
เอาไว
ขั้นที่ 5 การพิจารณาแยกแยะ
1. ในการตอบคําถาม ครูจะมีคําถามอยูจํานวน 5 ขอ แลวใหนักเรียนพิจารณา แยกแยะและวิเคราะห
คําตอบจากเนื้อหาที่ไดอานมาขางตน เพื่อตอบคําถามใหถูกตองที่สุด
ขั้นที่ 6 สรุปคําตอบ
1. หลังจากทําใบงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จเรียบรอยนักเรียนรวมกันสรุปคําตอบที่ไดจาก
การคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
2. ครูสรุปและอภิปรายใหนักเรียนฟงพรอมทั้งเปดโอกาสใหนักเรียนถามในสิ่งที่สงสัย
6. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
2. สื่อวิดิโอเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. สื่อ Power Point
7. หลักฐานการเรียนรู
1. แบบฝกทักษะที่ 1
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
จุดประสงค วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑการวัด
พุทธิพิสัย (K) ใชแบบฝกทักษะ - แบบทดสอบกอนเรียน รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แบบทดสอบหลังเรียน (
จากวรรณคดีได 10 คะแนน)
2. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แ บบ ฝ ก ทั ก ษะ เรื่ อ ง
จากวรรณกรรมได สรุ ป เรื่ อ งจากวรรณคดี
3. วิเ คราะห เ รื่องจาก หรือวรรณกรรมที่อาน
วรรณคดีได ( 10 คะแนน)
4. วิเ คราะห เ รื่องจาก
วรรณกรรมได
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดี
หรือวรรณกรรมที่อานได
ทักษะพิสัย (P) ใชแบบสังเกต 1.แบบประเมิ น ทั ก ษะ รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. ทักษะในการสื่อสาร พิสัย (สมรรถนะ)
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา 2. แบบฝกทักษะ
4. ทักษะการใชชีวิต ( 10 คะแนน)
5. ทั ก ษะการใช
เทคโนโลยี

จิตพิสัย (A) ใชแบบสังเกต แบบประเมินคุณลักษณะ รอยละ 80 ผานเกณฑ


1. รักชาติ ศาสน กษัตริย อันพึงประสงค
2. ซื่อสัตยสุจริต ( 10 คะแนน)
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. แหลงที่มาเพิ่มเติม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.) 701 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 103

9. บันทึกผลหลังสอน ชั่วโมงที่ ……....


ผลการเรียนรู
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ปญหาและอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผูสอน
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ.................

10. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผูบริหารหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูบริหาร/ผูไดรับมอบหมาย
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ...............
ภาคผนวก
แบบทดสอบกอนเรียน
เรื่อง สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
ชื่อ ____________________________________________ เลขที่__________ชั้น _______
คําชี้แจง ใหนักเรียนกากบาทหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุด (10 คะแนน)
1. สังขทองเปนละครที่เลนกันมาตั้งแตสมัยใด
ก. สุโขทัย
ข. อยุธยา
ค. ธนบุรี
ง. รัตนโกสินทร
2. กษัตริยองคใดทรงพระราชนิพนธบทละครนอก เรื่อง สังขทอง ขึ้นใหม
ก. สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลดมหาราช
ข. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
ง.พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
3. เพราะเหตุใดนางจันทรเทวีจึงคลอดลูกเปนหอยสังข
ก. กรรมเกา
ข. อธิษฐาน
ค. ถูกสับเปลี่ยนทารก
ง. นางจันทรเทวีมีชาติกําเนินเดิมเปนหอยสังข
4. พระสังขออกมาจากหอยสังข เพราะเหตุใด
ก. อยากเที่ยวเลนดูโลกภายนอก
ข. เทวดามาชวยใหออกจากหอยสังข
ค. มาชวยไลไกที่มากินขาวของมารดา
ง. เติบโตมากไมสามารถอยูในหอยสังขไดอีกตอไป
5. ขอใดคือลักษณะนิสัยของพระสังขในตอนนี้
ก. กตัญู
ข. ซื่อสัตย
ค. เฉลียวฉลาด
ง. ขยันหมั่นเพียร
6. ขอใดเรียงลําดับเหตุการณไดถูกตอง
1. พระสังขหุงหาอาหารใหพระมารดา
2. พระสังขไลไกปาที่มากินขาว
3. นางจันทเทวีรูความจริงเรื่องพระโอรส
4. นางจันเทวีไปหาของปา
ก. 2 3 1 4
ข. 2 1 3 4
ค. 4 2 1 3
ง. 4 1 2 3
7. ขอใดถูกตองตามเนื้อเรื่อง
ก. พระสังขจับไกปามาทําอาหารใหพระมารดา
ข. พระสังขออกจากหอยสังขเมื่ออายุ 15 ป
ค. ทาวยศวิมลสั่งใหประหารนางจันเทวี
ง. นางจันเทวีเปนผูทําลายหอยสังข
เทพบุตรจุติมาวันเกิด กําเนิดผิดพนคนทั้งหลาย
บุญญาธิการนั้นมากมาย จะล้ําเลิศพรายเมื่อปลายมือ
ถึงจะตกน้ําก็ไมไหล ตกในกองกูณฑไมสมชื่อ
จะไดผานบานเมืองเลื่องลือ อึงอื้อดินฟาบันดาล
8. ขอใดสรุปเรื่องคําขอใดสรุปจากคําประพันธตอนนี้ไดถูกตอง
ก. พระสังขมีความพิการมาแตกําเนิด
ข. พระสังขมีรางกายเปนอมตะไมมีวันตาย
ค. พระสงฆจะเปนพระมหากษัตริยที่ใหญที่สุดในอนาคต
ง. พระสังขเปนผลลัพธที่มีฤทธิ์เหนือกวาเทพพลเทวดา
9. บทละครนอกเรื่องสังขทองตอนกําเนิดพระสังขใหขอคิดเดนชัดที่สุด เรื่องใด
ก. กฎแหงกรรม
ข. ความรักของแมที่มีตอลูก
ค. ความเชื่อในคําทํานายของโหร
ง. ความอดทนและเขมแข็งของสตรี
10. คําประพันธบทใดกอใหเกิดคุณคาดานอารมณมากที่สุด
ก. สวมสอดกอดพระมารดา เกศาพลางทางรองไห
แมตอยสังขแตกแหลกไป ร่ําไรเสียดายไมไหวคิด
ข. เมื่อนั้น พระกุมารมาเยี่ยมหอยแลหา
ไมแจงวาองคพระมารดา แสงฝากคอยอยูไมรูกาย
ค. เทพบุตรจุติมาบังเกิด กําเนิดผิดพนคนทั้งหลาย
บุญญาธิการดันมากมาย จะเลิศล้ําเพริศพรายเมื่อปลายมือ
ง. สงัดเงียบผูคนไมพูดจา เล็ดลอดออกมาแลวผานไป
ที่นั่งนอกชานสําราญกาย เก็บกวาดทรายเลนไมรูตัว
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข

กอนเรียน หลังเรียน
ผาน/ไมผาน ผาน

เกณฑการใหคะแนนแบบทดสอบ
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข
เกณฑการใหคะแนน
แบบทดสอบมีจํานวน 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ตอบถูก ได 1 คะแนน
ตอบผิด ไ ด 0 คะแนน

เกณฑการตัดสิน
เกณฑการตัดสิน
ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ แปลผล
8-10 4 ดีมาก
6-7 3 ดี
4-5 2 พอใช
0–3 1 ปรับปรุง

เกณฑการผาน
นักเรียนมีผลการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 ขึ้นไป
แบบฝกทักษะที่ 1
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข
คําชี้แจง ใหนักเรียนอานบทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข บันทึกคําที่นักเรียนไมรูความหมาย
แลวคนหาความหมายจากพจนานุกรม ( 10 คะแนน)

.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วิชาภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562
หนวยการเรียนรูที่ 1 สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข เวลาเรียน 5 ชั่วโมง
เรื่อง การคิดวิเคราะหจากบทพระราชประวัติของผูแตง ผูสอน นางสาวรวิสรา จิตรบาน
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
สอนวันที่.......................................... เวลา.......................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา
และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
1. ท 5.1 ป. 5/1 สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
2. สาระสําคัญ
สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
3. จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด
K (พุทธิพิสัย) P (ทักษะ/กระบวนการ) A (จิตพิสัย)
1. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 1. ทักษะในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
วรรณคดีได 2. ทักษะการคิด 2. ซื่อสัตยสุจริต
2. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 3. ทักษะการแกปญหา 3. มีวินัย
วรรณกรรมได 4. ทักษะการใชชีวิต 4. ใฝเรียนรู
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดีได 5. ทักษะการใชเทคโนโลยี 5. อยูอยางพอพียง
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม 6. มุงมั่นในการทํางาน
ได 7. รักความเปนไทย
5. สรุ ป เรื่ องจากวรรณคดี ห รื อ 8. มีจิตสาธารณะ
วรรณกรรมที่อานได
4. สาระการเรียนรู
พุทธิพิสัย (K)
1. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณคดี
2. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณกรรม
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดี
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ทักษะในการสื่อสาร
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา
4. ทักษะการใชชีวิต
5. ทักษะการใชเทคโนโลยี
จิตพิสัย (A)
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยสุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
แผนจัดการเรียนรูที่ 13 ชั่วโมงที่ 2 (1 ชั่วโมง)
ขั้นที่ 1 เตรียมเนื้อหา
1. แจงสาระการเรียนรู จุดประสงคกาเรียนรู แนวปฏิบัติ เกณฑการผานและวิธีซอมเสริมเมื่อนักเรียน
ไมผานเกณฑ
2. ครูถามความรูที่มีอยูของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. ครูอธิบายพระราชประวัติของผูแตง บทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
ขั้นที่ 2 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห
1. นักเรียนศึกษาพระราชประวัติของผูแตง บทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
2. ครูกําหนดหัวขอในการคิดวิเคราะห หัวขอที่ใชในการคิดวิเคราะห คือ การคิดวิเคราะหโดยการใช
เทคนิค 5W1H จากบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง
3. นักเรียนรวมกันวิเคราะหเนื้อหาของเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข แบบพอสังเขป
4. ครูสรุปเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข ทางการดูวิดิโอใหนักเรียนฟง
ขั้นที่ 3 กําหนดปญหา
1. หลังจากที่นักเรียนไดดูศึกษาพระราชประวัติของผูแตง บทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิด
พระสังขเพื่อทําความเขาใจในเนื้อหาของเรื่องแลว ครูกําหนดปญหาที่จะใหนักเรียนวิเคราะหเกี่ยวกับเนื้อหาที่
อาน เชน ตัวละครที่ปรากฏอยูในบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง มีทั้งหมดกี่ตัว โดยให
นักเรียนวิเคราะหรวมกัน แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 กําหนดหลักการหรือกฏเกณฑ
1. ครูกําหนดหลักการและแนวโนมคําตอบในการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามใหกับ
นักเรียน
2. นักเรียนตอบคําถามตรงตามที่ครูกําหนดหลักการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามที่ครูเปน
คนตั้งเอาไว
ขั้นที่ 5 การพิจารณาแยกแยะ
1. ในการตอบคําถาม ครูจะมีคําถามอยูจํานวน 5 ขอ แลวใหนักเรียนพิจารณา แยกแยะและวิเคราะห
คําตอบจากเนื้อหาที่ไดอานมาขางตน เพื่อตอบคําถามใหถูกตองที่สุด
ขั้นที่ 6 สรุปคําตอบ
1. หลังจากทําใบงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จเรียบรอยนักเรียนรวมกันสรุปคําตอบที่ไดจาก
การคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
2. ครูสรุปและอภิปรายใหนักเรียนฟงพรอมทั้งเปดโอกาสใหนักเรียนถามในสิ่งที่สงสัย
6. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
2. สื่อวิดิโอเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. สื่อ Power Point
7. หลักฐานการเรียนรู
1. แบบฝกทักษะที่ 1
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
จุดประสงค วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑการวัด
พุทธิพิสัย (K) ใชแบบฝกทักษะ - แบบทดสอบกอนเรียน รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แบบทดสอบหลังเรียน (
จากวรรณคดีได 10 คะแนน)
2. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แ บบ ฝ ก ทั ก ษะ เรื่ อ ง
จากวรรณกรรมได สรุ ป เรื่ อ งจากวรรณคดี
3. วิเ คราะห เ รื่องจาก หรือวรรณกรรมที่อาน
วรรณคดีได ( 10 คะแนน)
4. วิเ คราะห เ รื่องจาก
วรรณกรรมได
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดี
หรือวรรณกรรมที่อานได
ทักษะพิสัย (P) ใชแบบสังเกต 1.แบบประเมิ น ทั ก ษะ รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. ทักษะในการสื่อสาร พิสัย (สมรรถนะ)
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา 2. แบบฝกทักษะ
4. ทักษะการใชชีวิต ( 10 คะแนน)
5. ทั ก ษะการใช
เทคโนโลยี
จิตพิสัย (A) ใชแบบสังเกต แบบประเมินคุณลักษณะ รอยละ 80 ผานเกณฑ
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย อันพึงประสงค
2. ซื่อสัตยสุจริต ( 10 คะแนน)
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. แหลงที่มาเพิ่มเติม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.) 701 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
9. บันทึกผลหลังสอน ชั่วโมงที่ ……....
ผลการเรียนรู
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ปญหาและอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผูสอน
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ.................

10. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผูบริหารหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูบริหาร/ผูไดรับมอบหมาย
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ...............
ภาคผนวก
แบบฝกทักษะที่ 1
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข
คําชี้แจง ใหนักเรียนสรุปเนื้อเรื่องของบทละครนอก เรื่อง สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข ความยาวไมเกิน 6
บรรทัด ( 10 คะแนน )

......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วิชาภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562
หนวยการเรียนรูที่ 1 การคิดวิเคราะหจากบทประพันธ เวลาเรียน 5 ชั่วโมง
เรื่อง การคิดวิเคราะหจากบทนําเรื่อง ผูสอน นางสาวรวิสรา จิตรบาน
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
สอนวันที่.......................................... เวลา......................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา
และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
1. ท 5.1 ป. 5/1 สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
2. สาระสําคัญ
สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
3. จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด
K (พุทธิพิสัย) P (ทักษะ/กระบวนการ) A (จิตพิสัย)
1. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 1. ทักษะในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
วรรณคดีได 2. ทักษะการคิด 2. ซื่อสัตยสุจริต
2. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 3. ทักษะการแกปญหา 3. มีวินัย
วรรณกรรมได 4. ทักษะการใชชีวิต 4. ใฝเรียนรู
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดีได 5. ทักษะการใชเทคโนโลยี 5. อยูอยางพอพียง
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม 6. มุงมั่นในการทํางาน
ได 7. รักความเปนไทย
5. สรุ ป เรื่ องจากวรรณคดี ห รื อ 8. มีจิตสาธารณะ
วรรณกรรมที่อานได
4. สาระการเรียนรู
พุทธิพิสัย (K)
1. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณคดี
2. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณกรรม
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดี
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ทักษะในการสื่อสาร
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา
4. ทักษะการใชชีวิต
5. ทักษะการใชเทคโนโลยี
จิตพิสัย (A)
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยสุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
ขั้นที่ 1 เตรียมเนื้อหา
1. แจงสาระการเรียนรู จุดประสงคกาเรียนรู แนวปฏิบัติ เกณฑการผานและวิธีซอมเสริมเมื่อ
นักเรียนไมผานเกณฑ
2. นั ก เรี ย นและครู ร ว มกั น อภิ ป รายเพื่ อ ทบทวนความรูเ ดิ ม โดยใช คํ าถามเพื่ อกระตุ น ให
นักเรียนเกิดสงสัยและตองการแสวงหาความรู
3. ครูรวมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับคําตอบที่นักเรียนตอบ เพื่อนําไปสูการเรียนรู วรรณคดี
เรื่องสังขทอง

ขั้นที่ 2 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห
1. ครูกําหนดหัวขอในการคิดวิเคราะห หัวขอที่ใชในการคิดวิเคราะห คือ การคิดวิเคราะห
โดยการใชเทคนิค 5W1H จากบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง
2. ครูอานและอธิบายบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง ใหนักเรียนฟง 1
รอบ
3. นักเรียนอานบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง 1 รอบ เพื่อทําความ
เขาใจในเนื้อหา
ขึ้นที่ 3 กําหนดปญหา
1. หลังจากที่ครูและนักเรียนไดอานบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง 1
รอบ เพื่อทําความเขาใจในเนื้อหาแลว ครูกําหนดปญหาที่จะใหนักเรียนวิเคราะหเกี่ยวกับเนื้อหาที่อาน เชน ตัว
ละครที่ปรากฏอยูในบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง มีทั้งหมดกี่ตัว

2. นักเรียนลงมือทําใบงานตามที่ไดรับมอบหมาย
ขั้นที่ 4 กําหนดหลักการหรือกฏเกณฑ
1. ครูกําหนดหลักการและแนวโนมคําตอบในการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถาม
ใหกับนักเรียน
2. นักเรียนตอบคําถามตรงตามที่ครูกําหนดหลักการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถาม
ที่ครูเปนคนตั้งเอาไว
ขั้นที่ 5 การพิจารณาแยกแยะ
1. ในการตอบคําถาม ครูจะมีคําถามอยูจํานวน 5 ขอ แลวใหนักเรียนพิจารณา แยกแยะและ
วิเคราะหคําตอบจากเนื้อหาที่ไดอานมาขางตน เพื่อตอบคําถามใหถูกตองที่สุด
ขั้นที่ 6 สรุปคําตอบ
1. หลังจากทําใบงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จเรียบรอยนักเรียนรวมกันสรุปคําตอบที่ไดจาก
การคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
2. ครูสรุปและอภิปรายใหนักเรียนฟงพรอมทั้งเปดโอกาสใหนักเรียนถามในสิ่งที่สงสัย
6. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
2. สื่อวิดิโอเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. สื่อ Power Point
7. สื่อการเรียนการสอน
1. แบบฝกทักษะ
2. หนังสือวรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
จุดประสงค วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑการวัด
พุทธิพิสัย (K) ใชแบบฝกทักษะ - แบบทดสอบกอนเรียน รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แบบทดสอบหลังเรียน (
จากวรรณคดีได 10 คะแนน)
2. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แ บบ ฝ ก ทั ก ษะ เรื่ อ ง
จากวรรณกรรมได สรุ ป เรื่ อ งจากวรรณคดี
3. วิเ คราะห เ รื่องจาก หรือวรรณกรรมที่อาน
วรรณคดีได ( 10 คะแนน)
4. วิเ คราะห เ รื่องจาก
วรรณกรรมได
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดี
หรือวรรณกรรมที่อานได
ทักษะพิสัย (P) ใชแบบสังเกต 1.แบบประเมิ น ทั ก ษะ รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. ทักษะในการสื่อสาร พิสัย (สมรรถนะ)
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา 2. แบบฝกทักษะ
4. ทักษะการใชชีวิต ( 10 คะแนน)
5. ทั ก ษะการใช
เทคโนโลยี

จิตพิสัย (A) ใชแบบสังเกต แบบประเมินคุณลักษณะ รอยละ 80 ผานเกณฑ


1. รักชาติ ศาสน กษัตริย อันพึงประสงค
2. ซื่อสัตยสุจริต ( 10 คะแนน)
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. แหลงที่มาเพิ่มเติม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.) 701 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
9. บันทึกผลหลังสอน ชั่วโมงที่ ……....
ผลการเรียนรู
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญหาและอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผูสอน
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ.................

10. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผูบริหารหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูบริหาร/ผูไดรับมอบหมาย
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ...............
ภาคผนวก
บทนําเรื่อง

บทละครนอก เรื่องสังขทอง เดิมเปนนิทานที่อยูในปญญาสชาดก (ปน-ยา-


สะ-ชา-ดก หรือ ปน-ยาด-สะ-ชา-ดก) ซึ่งมีชาดกทั้งหมด 50 เรื่อง ที่แตงพรรณนา
การเกิดเพื่อสรางบานมีของพระโพธิสัตวกอนที่จะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจา และ
นํามาแตงเปนบทละครนอกเพื่อใชเลนละครนอกตั้งแตสมัยอยุธยา ตอมา
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยทรงพระราชนิพนธบทละครนอกเรื่องสังข
ทองขึ้นใหมเพื่อใชเลนละครนอก
เนื้อเรื่องยอของบทละครนอกเรื่องสังขทอง กอนถึงตอนกําเนิดพระ

ทาวยศวิมลเปนกษัตริยครองเมืองยศวิมล มีพระมเหสี
2 พระองค คือ นางจันทเทวีและนางจันททาเทวี แตไมมี
พระโอรส พระองคจึงบําเพ็ญศีลบนบานเทพไทเพื่อขอ
พระโอรส หลังจากนั้นไมนานทรงสุบินวา พระองคฉวยพระ
อาทิตยไวไดในพระหัตถขวา สวนพระหัตถซายควาไดดาว
โหรนายวา พระเหสีทั้งสองพระองคจะทรงมีครรภ นางจันท
ทาเทวีพระมเหสีฝายซายไดใหกําเนิดพระธิดา ตอมานางจันท
เทวีไดใหกําเนิดพระโอรส แตเปนหอยสังขเนือ่ งจากกรรมเกา
นางจันททาเทวีทรงมีจิตริษยา จึงติดสินบนโหร ใหทํานายวา
เปนกาลกิณีตอบานเมือง ทาวยศวิมลทรงหลงเชื่อจึงขับไล
นางจันทเทวีและหอยสังขออกจากเมือง
คําศัพทนารู ความหมาย

1. กันดาร (กัน-ดาน) ลําบาก แหงแลง

2. กําดัด กําลังรุน

3. กูณฑ ไฟ

4. เกษมศานต โปรงอารมณ ชื่นชมยินดี

5. คลาไคล เดินไป เคลื่อนไป


เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข
คําชี้แจง ใหนักเรียนสรุปเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข โดยตอบคําถามตอไปนี้

1. ตัวละครในเรือ่ งนี้มีใครบาง

..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................

2. เกิดเหตุการณอะไรขึ้น
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
3. เหตุการณนั้นเกิดขึน้ ที่ไหน

...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
4. เหตุการณนั้นเกิดขึน้ เมื่อไร

.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
............................................................................................................
5. ผลสุดทายเปนอยางไร

.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วิชาภาษาไทย รหัส ท 15101
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562
หนวยการเรียนรูที่ 1 สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข เวลาเรียน 5 ชั่วโมง
เรื่อง การคิดวิเคราะหจากบทประพันธ ผูสอน นางสาวรวิสรา จิตรบาน
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
สอนวันที่.......................................... เวลา.......................................
1. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา
และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
1. ท 5.1 ป. 5/1 สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
2. สาระสําคัญ
สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
3. จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด
K (พุทธิพิสัย) P (ทักษะ/กระบวนการ) A (จิตพิสัย)
1. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 1. ทักษะในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
วรรณคดีได 2. ทักษะการคิด 2. ซื่อสัตยสุจริต
2. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 3. ทักษะการแกปญหา 3. มีวินัย
วรรณกรรมได 4. ทักษะการใชชีวิต 4. ใฝเรียนรู
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดีได 5. ทักษะการใชเทคโนโลยี 5. อยูอยางพอพียง
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม 6. มุงมั่นในการทํางาน
ได 7. รักความเปนไทย
5. สรุ ป เรื่ องจากวรรณคดี ห รื อ 8. มีจิตสาธารณะ
วรรณกรรมที่อานได

4. สาระการเรียนรู
พุทธิพิสัย (K)
1. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณคดี
2. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณกรรม
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดี
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ทักษะในการสื่อสาร
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา
4. ทักษะการใชชีวิต
5. ทักษะการใชเทคโนโลยี
จิตพิสัย (A)
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยสุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
แผนจัดการเรียนรูที่ 13 ชั่วโมงที่ 2 (1 ชั่วโมง)
ขั้นที่ 1 เตรียมเนื้อหา
1. แจงสาระการเรียนรู จุดประสงคกาเรียนรู แนวปฏิบัติ เกณฑการผานและวิธีซอมเสริมเมื่อนักเรียน
ไมผานเกณฑ
2. ครูถามความรูที่มีอยูของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. ครูอธิบายทบทวนความรูบทนําเรื่องและพระราชประวัติของผูแตงพรอมอานบทประพันธ บท
ละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข

ขั้นที่ 2 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห
1. นักเรียนศึกษาบทประพันธ บทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
2. ครูกําหนดหัวขอในการคิดวิเคราะห หัวขอที่ใชในการคิดวิเคราะห คือ การคิดวิเคราะหโดยการใช
เทคนิค 5W1H จากบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง
3. นักเรียนรวมกันวิเคราะหเนื้อหาของเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข แบบพอสังเขป
4. ครูสรุปเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข ทางการบทประพันธ
ขั้นที่ 3 กําหนดปญหา
1. หลังจากที่นักเรียนไดดูศึกษาบทประพันธ บทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังขเพื่อทํา
ความเขาใจในเนื้อหาของเรื่องแลว ครูกําหนดปญหาที่จะใหนักเรียนวิเคราะหเกี่ยวกับเนื้อหาที่อาน เชน ตัว
ละครที่ปรากฏอยูในบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง มีทั้งหมดกี่ตัว โดยใหนักเรียนวิเคราะห
รวมกัน แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 กําหนดหลักการหรือกฏเกณฑ
1. ครูกําหนดหลักการและแนวโนมคําตอบในการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามใหกับ
นักเรียน
2. นักเรียนตอบคําถามตรงตามที่ครูกําหนดหลักการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามที่ครูเปน
คนตั้งเอาไว
ขั้นที่ 5 การพิจารณาแยกแยะ
1. ในการตอบคําถาม ครูจะมีคําถามอยูจํานวน 5 ขอ แลวใหนักเรียนพิจารณา แยกแยะและวิเคราะห
คําตอบจากเนื้อหาที่ไดอานมาขางตน เพื่อตอบคําถามใหถูกตองที่สุด
ขั้นที่ 6 สรุปคําตอบ
1. หลังจากทําใบงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จเรียบรอยนักเรียนรวมกันสรุปคําตอบที่ไดจาก
การคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
2. ครูสรุปและอภิปรายใหนักเรียนฟงพรอมทั้งเปดโอกาสใหนักเรียนถามในสิ่งที่สงสัย
6. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
2. สื่อวิดิโอเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. สื่อ Power Point
7. หลักฐานการเรียนรู
1. แบบฝกทักษะที่ 1

8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
จุดประสงค วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑการวัด
พุทธิพิสัย (K) ใชแบบฝกทักษะ - แบบทดสอบกอนเรียน รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แบบทดสอบหลังเรียน (
จากวรรณคดีได 10 คะแนน)
2. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แ บบ ฝ ก ทั ก ษะ เรื่ อ ง
จากวรรณกรรมได สรุ ป เรื่ อ งจากวรรณคดี
3. วิเ คราะห เ รื่องจาก หรือวรรณกรรมที่อาน
วรรณคดีได ( 10 คะแนน)
4. วิเ คราะห เ รื่องจาก
วรรณกรรมได
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดี
หรือวรรณกรรมที่อานได
ทักษะพิสัย (P) ใชแบบสังเกต 1.แบบประเมิ น ทั ก ษะ รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. ทักษะในการสื่อสาร พิสัย (สมรรถนะ)
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา 2. แบบฝกทักษะ
4. ทักษะการใชชีวิต ( 10 คะแนน)
5. ทั ก ษะการใช
เทคโนโลยี

จิตพิสัย (A) ใชแบบสังเกต แบบประเมินคุณลักษณะ รอยละ 80 ผานเกณฑ


1. รักชาติ ศาสน กษัตริย อันพึงประสงค
2. ซื่อสัตยสุจริต ( 10 คะแนน)
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. แหลงที่มาเพิ่มเติม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.) 701 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
9. บันทึกผลหลังสอน ชั่วโมงที่ ……....
ผลการเรียนรู
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญหาและอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผูสอน
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ.................

10. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผูบริหารหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูบริหาร/ผูไดรับมอบหมาย
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ...............
ภาคผนวก
แบบฝกทักษะที่ 3
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข
คํ า ชี้ แ จง ให นั ก เรี ย นระบุ ค วามรู แ ละข อ คิ ด จากการอ า นเรื่ อ งนี้ ที่ ส ามารถนํ า มาใช ใ นชี วิ ต จริ ง ได
(10 คะแนน)
1. ความรูที่ไดจากการอานเรื่องนี้ คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. นําไปใชในชีวิตจริงไดคือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. ขอคิดที่ไดจากการอานเรื่องนี้คือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. นําไปใชในชีวิตจริงไดคือ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วิชาภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561
หนวยการเรียนรูที่ 1 สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข เวลาเรียน 5 ชั่วโมง
เรื่อง การคิดวิเคราะหจากบทประพันธ ผูสอน นางสาวรวิสรา จิตรบาน
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
สอนวันที่.......................................... เวลา.......................................
1. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา
และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
1. ท 5.1 ป. 5/1 สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
2. สาระสําคัญ
สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
3. จุดประสงคการเรียนรูสูตัวชี้วัด
K (พุทธิพิสัย) P (ทักษะ/กระบวนการ) A (จิตพิสัย)
1. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 1. ทักษะในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
วรรณคดีได 2. ทักษะการคิด 2. ซื่อสัตยสุจริต
2. บอกวิ ธี ก ารสรุ ป เรื่ อ งจาก 3. ทักษะการแกปญหา 3. มีวินัย
วรรณกรรมได 4. ทักษะการใชชีวิต 4. ใฝเรียนรู
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดีได 5. ทักษะการใชเทคโนโลยี 5. อยูอยางพอพียง
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม 6. มุงมั่นในการทํางาน
ได 7. รักความเปนไทย
5. สรุ ป เรื่ องจากวรรณคดี ห รื อ 8. มีจิตสาธารณะ
วรรณกรรมที่อานได
4. สาระการเรียนรู
พุทธิพิสัย (K)
1. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณคดี
2. วิธีการสรุปเรื่องจากวรรณกรรม
3. วิเคราะหเรื่องจากวรรณคดี
4. วิเคราะหเรื่องจากวรรณกรรม
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน
ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ทักษะในการสื่อสาร
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา
4. ทักษะการใชชีวิต
5. ทักษะการใชเทคโนโลยี
จิตพิสัย (A)
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยสุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
แผนจัดการเรียนรูที่ 13 ชั่วโมงที่ 2 (1 ชั่วโมง)
ขั้นที่ 1 เตรียมเนื้อหา
1. แจงสาระการเรียนรู จุดประสงคกาเรียนรู แนวปฏิบัติ เกณฑการผานและวิธีซอมเสริมเมื่อนักเรียน
ไมผานเกณฑ
2. ครูถามความรูที่มีอยูของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. ครูอธิบายทบทวนความรูบทนําเรื่องและพระราชประวัติของผูแตงพรอมอานบทประพันธ บท
ละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
ขั้นที่ 2 กําหนดสิ่งที่ตองการวิเคราะห
1. นักเรียนศึกษาบทประพันธ บทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
2. ครูกําหนดหัวขอในการคิดวิเคราะห หัวขอที่ใชในการคิดวิเคราะห คือ การคิดวิเคราะหโดยการใช
เทคนิค 5W1H จากบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง
3. นักเรียนรวมกันวิเคราะหเนื้อหาของเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข แบบพอสังเขป
4. ครูสรุปเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข ทางการบทประพันธ
ขั้นที่ 3 กําหนดปญหา
1. หลังจากที่นักเรียนไดดูศึกษาบทประพันธ บทละครนอก เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังขเพื่อทํา
ความเขาใจในเนื้อหาของเรื่องแลว ครูกําหนดปญหาที่จะใหนักเรียนวิเคราะหเกี่ยวกับเนื้อหาที่อาน เชน ตัว
ละครที่ปรากฏอยูในบทนําและเนื้อเรื่องยอ จากวรรณคดี เรื่องสังขทอง มีทั้งหมดกี่ตัว โดยใหนักเรียนวิเคราะห
รวมกัน แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 กําหนดหลักการหรือกฏเกณฑ
1. ครูกําหนดหลักการและแนวโนมคําตอบในการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามใหกับ
นักเรียน
2. นักเรียนตอบคําถามตรงตามที่ครูกําหนดหลักการคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิคการตั้งคําถามที่ครูเปน
คนตั้งเอาไว
ขั้นที่ 5 การพิจารณาแยกแยะ
1. ในการตอบคําถาม ครูจะมีคําถามอยูจํานวน 5 ขอ แลวใหนักเรียนพิจารณา แยกแยะและวิเคราะห
คําตอบจากเนื้อหาที่ไดอานมาขางตน เพื่อตอบคําถามใหถูกตองที่สุด
ขั้นที่ 6 สรุปคําตอบ
1. หลังจากทําใบงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จเรียบรอยนักเรียนรวมกันสรุปคําตอบที่ไดจาก
การคิดวิเคราะหโดยใชเทคนิค 5W1H
2. ครูสรุปและอภิปรายใหนักเรียนฟงพรอมทั้งเปดโอกาสใหนักเรียนถามในสิ่งที่สงสัย
6. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
2. สื่อวิดิโอเรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
3. สื่อ Power Point
7. หลักฐานการเรียนรู
1. แบบฝกทักษะที่ 1

8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
จุดประสงค วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑการวัด
พุทธิพิสัย (K) ใชแบบฝกทักษะ - แบบทดสอบกอนเรียน รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แบบทดสอบหลังเรียน (
จากวรรณคดีได 10 คะแนน)
2. บอกวิธีการสรุปเรื่อง - แ บบ ฝ ก ทั ก ษะ เรื่ อ ง
จากวรรณกรรมได สรุ ป เรื่ อ งจากวรรณคดี
3. วิเ คราะห เ รื่องจาก หรือวรรณกรรมที่อาน
วรรณคดีได ( 10 คะแนน)
4. วิเ คราะห เ รื่องจาก
วรรณกรรมได
5. สรุปเรื่องจากวรรณคดี
หรือวรรณกรรมที่อานได
ทักษะพิสัย (P) ใชแบบสังเกต 1.แบบประเมิ น ทั ก ษะ รอยละ 70 ผานเกณฑ
1. ทักษะในการสื่อสาร พิสัย (สมรรถนะ)
2. ทักษะการคิด
3. ทักษะการแกปญหา 2. แบบฝกทักษะ
4. ทักษะการใชชีวิต ( 10 คะแนน)
5. ทั ก ษะการใช
เทคโนโลยี

จิตพิสัย (A) ใชแบบสังเกต แบบประเมินคุณลักษณะ รอยละ 80 ผานเกณฑ


1. รักชาติ ศาสน กษัตริย อันพึงประสงค
2. ซื่อสัตยสุจริต ( 10 คะแนน)
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ

8. แหลงที่มาเพิ่มเติม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.) 701 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
9. บันทึกผลหลังสอน ชั่วโมงที่ ……....
ผลการเรียนรู
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปญหาและอุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผูสอน
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ.................

10. ความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของผูบริหารหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................ผูบริหาร/ผูไดรับมอบหมาย
(............................................................)
วันที่........เดือน...................................พ.ศ...........
ภาคผนวก
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
ชื่อ ____________________________________________ เลขที่__________ชั้น _______
คําชี้แจง ใหนักเรียนกากบาทหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุด (10 คะแนน)
1. สังขทองเปนละครที่เลนกันมาตั้งแตสมัยใด
ก. สุโขทัย
ข. อยุธยา
ค. ธนบุรี
ง. รัตนโกสินทร
2. กษัตริยองคใดทรงพระราชนิพนธบทละครนอก เรื่อง สังขทอง ขึ้นใหม
ก. สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลดมหาราช
ข. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
ง.พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
3. เพราะเหตุใดนางจันทรเทวีจึงคลอดลูกเปนหอยสังข
ก. กรรมเกา
ข. อธิษฐาน
ค. ถูกสับเปลี่ยนทารก
ง. นางจันทรเทวีมีชาติกําเนินเดิมเปนหอยสังข
4. พระสังขออกมาจากหอยสังข เพราะเหตุใด
ก. อยากเที่ยวเลนดูโลกภายนอก
ข. เทวดามาชวยใหออกจากหอยสังข
ค. มาชวยไลไกที่มากินขาวของมารดา
ง. เติบโตมากไมสามารถอยูในหอยสังขไดอีกตอไป
5. ขอใดคือลักษณะนิสัยของพระสังขในตอนนี้
ก. กตัญู
ข. ซื่อสัตย
ค. เฉลียวฉลาด
ง. ขยันหมั่นเพียร
6. ขอใดเรียงลําดับเหตุการณไดถูกตอง
1. พระสังขหุงหาอาหารใหพระมารดา
2. พระสังขไลไกปาที่มากินขาว
3. นางจันทเทวีรูความจริงเรื่องพระโอรส
4. นางจันเทวีไปหาของปา
ก. 2 3 1 4
ข. 2 1 3 4
ค. 4 2 1 3
ง. 4 1 2 3
7. ขอใดถูกตองตามเนื้อเรื่อง
ก. พระสังขจับไกปามาทําอาหารใหพระมารดา
ข. พระสังขออกจากหอยสังขเมื่ออายุ 15 ป
ค. ทาวยศวิมลสั่งใหประหารนางจันเทวี
ง. นางจันเทวีเปนผูทําลายหอยสังข
เทพบุตรจุติมาวันเกิด กําเนิดผิดพนคนทั้งหลาย
บุญญาธิการนั้นมากมาย จะล้ําเลิศพรายเมื่อปลายมือ
ถึงจะตกน้ําก็ไมไหล ตกในกองกูณฑไมสมชื่อ
จะไดผานบานเมืองเลื่องลือ อึงอื้อดินฟาบันดาล
8. ขอใดสรุปเรื่องคําขอใดสรุปจากคําประพันธตอนนี้ไดถูกตอง
ก. พระสังขมีความพิการมาแตกําเนิด
ข. พระสังขมีรางกายเปนอมตะไมมีวันตาย
ค. พระสงฆจะเปนพระมหากษัตริยที่ใหญที่สุดในอนาคต
ง. พระสังขเปนผลลัพธที่มีฤทธิ์เหนือกวาเทพพลเทวดา
9. บทละครนอกเรื่องสังขทองตอนกําเนิดพระสังขใหขอคิดเดนชัดที่สุด เรื่องใด
ก. กฎแหงกรรม
ข. ความรักของแมที่มีตอลูก
ค. ความเชื่อในคําทํานายของโหร
ง. ความอดทนและเขมแข็งของสตรี
10. คําประพันธบทใดกอใหเกิดคุณคาดานอารมณมากที่สุด
ก. สวมสอดกอดพระมารดา เกศาพลางทางรองไห
แมตอยสังขแตกแหลกไป ร่ําไรเสียดายไมไหวคิด
ข. เมื่อนั้น พระกุมารมาเยี่ยมหอยแลหา
ไมแจงวาองคพระมารดา แสงฝากคอยอยูไมรูกาย
ค. เทพบุตรจุติมาบังเกิด กําเนิดผิดพนคนทั้งหลาย
บุญญาธิการดันมากมาย จะเลิศล้ําเพริศพรายเมื่อปลายมือ
ง. สงัดเงียบผูคนไมพูดจา เล็ดลอดออกมาแลวผานไป
ที่นั่งนอกชานสําราญกาย เก็บกวาดทรายเลนไมรูตัว
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข

กอนเรียน หลังเรียน
ผาน/ไมผาน ผาน

เกณฑการใหคะแนนแบบทดสอบ
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข
เกณฑการใหคะแนน
แบบทดสอบมีจํานวน 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ตอบถูก ได 1 คะแนน
ตอบผิด ไ ด 0 คะแนน

เกณฑการตัดสิน
เกณฑการตัดสิน
ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ แปลผล
8-10 4 ดีมาก
6-7 3 ดี
4-5 2 พอใช
0–3 1 ปรับปรุง

เกณฑการผาน
นักเรียนมีผลการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 ขึ้นไป
ภาคผนวก ข
แบบทดสอบกอนเรียน
เรื่อง สังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
ชื่อ ____________________________________________ เลขที่__________ชั้น _______
คําชี้แจง ใหนักเรียนกากบาทหนาคําตอบที่ถูกตองที่สุด (10 คะแนน)
1. สังขทองเปนละครที่เลนกันมาตั้งแตสมัยใด
ก. สุโขทัย
ข. อยุธยา
ค. ธนบุรี
ง. รัตนโกสินทร
2. กษัตริยองคใดทรงพระราชนิพนธบทละครนอก เรื่อง สังขทอง ขึ้นใหม
ก. สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลดมหาราช
ข. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
ง.พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
3. เพราะเหตุใดนางจันทรเทวีจึงคลอดลูกเปนหอยสังข
ก. กรรมเกา
ข. อธิษฐาน
ค. ถูกสับเปลี่ยนทารก
ง. นางจันทรเทวีมีชาติกําเนินเดิมเปนหอยสังข
4. พระสังขออกมาจากหอยสังข เพราะเหตุใด
ก. อยากเที่ยวเลนดูโลกภายนอก
ข. เทวดามาชวยใหออกจากหอยสังข
ค. มาชวยไลไกที่มากินขาวของมารดา
ง. เติบโตมากไมสามารถอยูในหอยสังขไดอีกตอไป
5. ขอใดคือลักษณะนิสัยของพระสังขในตอนนี้
ก. กตัญู
ข. ซื่อสัตย
ค. เฉลียวฉลาด
ง. ขยันหมั่นเพียร
6. ขอใดเรียงลําดับเหตุการณไดถูกตอง
1. พระสังขหุงหาอาหารใหพระมารดา
2. พระสังขไลไกปาที่มากินขาว
3. นางจันทเทวีรูความจริงเรื่องพระโอรส
4. นางจันเทวีไปหาของปา
ก. 2 3 1 4
ข. 2 1 3 4
ค. 4 2 1 3
ง. 4 1 2 3
7. ขอใดถูกตองตามเนื้อเรื่อง
ก. พระสังขจับไกปามาทําอาหารใหพระมารดา
ข. พระสังขออกจากหอยสังขเมื่ออายุ 15 ป
ค. ทาวยศวิมลสั่งใหประหารนางจันเทวี
ง. นางจันเทวีเปนผูทําลายหอยสังข
เทพบุตรจุติมาวันเกิด กําเนิดผิดพนคนทั้งหลาย
บุญญาธิการนั้นมากมาย จะล้ําเลิศพรายเมื่อปลายมือ
ถึงจะตกน้ําก็ไมไหล ตกในกองกูณฑไมสมชื่อ
จะไดผานบานเมืองเลื่องลือ อึงอื้อดินฟาบันดาล
8. ขอใดสรุปเรื่องคําขอใดสรุปจากคําประพันธตอนนี้ไดถูกตอง
ก. พระสังขมีความพิการมาแตกําเนิด
ข. พระสังขมีรางกายเปนอมตะไมมีวันตาย
ค. พระสงฆจะเปนพระมหากษัตริยที่ใหญที่สุดในอนาคต
ง. พระสังขเปนผลลัพธที่มีฤทธิ์เหนือกวาเทพพลเทวดา
9. บทละครนอกเรื่องสังขทองตอนกําเนิดพระสังขใหขอคิดเดนชัดที่สุด เรื่องใด
ก. กฎแหงกรรม
ข. ความรักของแมที่มีตอลูก
ค. ความเชื่อในคําทํานายของโหร
ง. ความอดทนและเขมแข็งของสตรี
10. คําประพันธบทใดกอใหเกิดคุณคาดานอารมณมากที่สุด
ก. สวมสอดกอดพระมารดา เกศาพลางทางรองไห
แมตอยสังขแตกแหลกไป ร่ําไรเสียดายไมไหวคิด
ข. เมื่อนั้น พระกุมารมาเยี่ยมหอยแลหา
ไมแจงวาองคพระมารดา แสงฝากคอยอยูไมรูกาย
ค. เทพบุตรจุติมาบังเกิด กําเนิดผิดพนคนทั้งหลาย
บุญญาธิการดันมากมาย จะเลิศล้ําเพริศพรายเมื่อปลายมือ
ง. สงัดเงียบผูคนไมพูดจา เล็ดลอดออกมาแลวผานไป
ที่นั่งนอกชานสําราญกาย เก็บกวาดทรายเลนไมรูตั
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข

กอนเรียน หลังเรียน
ผาน/ไมผาน ผาน

เกณฑการใหคะแนนแบบทดสอบ
เรื่อง สังขทอง ตอน กําเนิดพระสังข
เกณฑการใหคะแนน
แบบทดสอบมีจํานวน 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ตอบถูก ได 1 คะแนน
ตอบผิด ได 0 คะแนน

เกณฑการตัดสิน
เกณฑการตัดสิน
ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ แปลผล
8-10 4 ดีมาก
6-7 3 ดี
4-5 2 พอใช
0–3 1 ปรับปรุง

เกณฑการผาน
นักเรียนมีผลการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 ขึ้นไป
แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค
5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข วิชาภาษาไทย นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
คําชี้แจง
1. แบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบงเปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวน
ประมาณคา 5 ระดับและแบบปลายเปดในการเสนอขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
2. ขอความอนุเคราะหทานพิจารณารายการขอคําถามโดยพิจารณาเปนระดับความคิดเห็นตามกรอบ
เนื้อหาการบริหารจัดการเรียนรูแบงเปน 4 ดาน คือดานเนื้อหาดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูดานสื่อและ
อุปกรณการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล
3. โปรดกาเครื่องหมาย √ ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทานซึ่งมี 5 ระดับคือ
ระดับ 5 หมายถึง มีสภาพการดําเนินการในระดับมากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง มีสภาพการดําเนินการในระดับมาก
ระดับ 3 หมายถึง มีสภาพการดําเนินการในระดับปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง มีสภาพการดําเนินการในระดับนอย
ระดับ 1 หมายถึง มีสภาพการดําเนินการในระดับนอยที่สุด

4. การตอบแบบสอบถามฉบับนี้จะทําใหไดขอมูลที่เปนประโยชนตอการศึกษาวิจัยครั้งนี้โดยขอมูลที่ได
ผูวิจัยจะนําไปใชประโยชนในความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นซึ่งขอมูล
จะไมมีผลตอทานแตอยางใดและขอขอบคุณที่กรุณาสละเวลาตอบแบบประเมินและใหความรวมมือดวย
ตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบประเมิน
คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย √ ลงใน หนาขอความที่ตรงกับสภาพความเปนจริงเกี่ยวกับทาน
1. เพศ
ชาย หญิง
2. อายุ
7 – 8 ป 9 – 10 ป 11 ปขึ้นไป
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
คําชี้แจง โปรดพิจารณารายการขอคําถามและทําเครื่องหมาย √ ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็น
ของทาน
ระดับการปฏิบัติ/การดําเนินการ
รายการ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
1. ดานเนื้อหา
1.1 เนื้อหาที่เรียนเปนเรื่องที่ชอบ
1.2 เนื้อหามีรูปแบบที่ชัดเจน
เขาใจงาย
1.3 เนื้อหาที่เรียนยากเกินไป
1.4 เนื้อหามีความนาสนใจ
1.5 เนื้อหามีความเหมาะสมกับ
เวลาเรียน
2. ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู
2.1 มีความสนุกสนานกับการ
รวมกิจกรรมในชั่วโมงเรียน
2.2 ไดเรียนรูดวยตนเองอยางมี
ความสุข
2.3 รูสึกภูมิใจมากเมื่อตอบ
คําถาม

2.4 พอใจที่สามารถตรวจสอบ
คําถามดวยตนเอง
2.5 ไดฝกทักษะการทํางานกลุม
และรายบุคคลดวยความมั่นใจ
3. ดานสื่อและอุปกรณการเรียน
การสอน
3.1 สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีการเรา
ความสนใจในการเรียนรูมากขึ้น
3.2 สื่อ/อุปกรณการเรียนที่ใชทําให
เขาใจในการเรียนรูไดงายขึ้น
3.3 สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีความ
หลากหลาย
3.4 สื่อ/อุปกรณการเรียนมีความ
เหมาะสมกับกิจกรรม
4. ดานการวัดผลและประเมินผล
4.1 ครูชี้แจง อธิบายกรวัดและ
ประเมินผลทุกครั้ง
4.2 วิธีการวัดผลและประเมินผลมี
ความเหมาะสมกับนักเรียน
4.3 เมื่อมีการทดสอบยอยแตละเรื่อง
ทําใหนักเรียนไดนําไปปรับปรุงการ
เรียนรูของตนเองอยูเสมอ
4.4 นักเรียนมีโอกาสทราบผล
คะแนนจากการเรียนรูแตละเรื่อง
ทันที

ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก ค
การหาคุณภาพของเครื่องมือในการศึกษา
การหาคุณภาพของเครื่องมือในการศึกษา

1. แผนการจัดการเรียนรู
- คาดัชนีสอดคลอง (IOC) ของการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะห เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย
- คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องสังขทอง
ตอนกําเนิดพระสังข ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
3. แบบประเมินความพึงพอใจของผูเรียน
- คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการพัฒนาแผนการ
จัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระสังข
วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
ตารางที่ ค. 1 คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู วิชาวิเคราะห เรื่องสังขทอง ตอน
กําเนิดพระสังข ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม โดยผูเชี่ยวชาญ

ผลการประเมิน
ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) ผลการ
รายการ ∑R IOC
1 2 3 พิจารณา

แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 +1 +1 +1 3 1 ใชได
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 +1 +1 +1 3 1 ใชได
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 +1 +1 +1 3 1 ใชได
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 +1 +1 +1 3 1 ใชได
แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 +1 +1 +1 3 1 ใชได

ตารางที่ ค. 2 คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


วิ ช าภาษาไทย เรื่ อ งสั งข ทอง ตอนกําเนิ ด พระสั งข นักเรี ย นชั้น มัธ ยมศึกษาปที่ 6โรงเรี ย นภูเวีย ง
วิทยาคม
ผลการประเมิน
ผลการ
ขอ ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) ∑R IOC
พิจารณา
1 2 3
1 +1 +1 +1 3 1 ใชได
2 +1 +1 +1 3 1 ใชได
3 +1 0 +1 2 0.06 ใชได
4 +1 +1 +1 3 1 ใชได
5 +1 +1 +1 3 1 ใชได
6 +1 +1 +1 3 1 ใชได
7 +1 +1 +1 3 1 ใชได
8 +1 +1 +1 3 1 ใชได
9 +1 +1 +1 3 1 ใชได
10 +1 +1 +1 3 1 ใชได
11 +1 +1 +1 3 1 ใชได
12 +1 +1 +1 3 1 ใชได
13 0 +1 +1 2 0.66 ใชได
14 +1 +1 +1 3 1 ใชได
15 +1 +1 +1 3 1 ใชได
16 +1 +1 +1 3 1 ใชได
17 +1 +1 0 2 0.66 ใชได
18 +1 +1 +1 3 1 ใชได
19 +1 +1 +1 3 1 ใชได
20 0 +1 +1 2 0.66 ใชได
ตารางที่ ค. 3 คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระ
สังข วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ผลการ
รายการ ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) ∑R IOC
พิจารณา
1 2 3
1.ดานเนื้อหา
1.1 เนื้อหาที่เรียนเปนเรื่องที่ชอบ +1 +1 +1 3 1 ใชได
1.2 เนื้อหามีรูปแบบที่ชัดเจนเขาใจงาย +1 +1 0 2 0.66 ใชได
1.3 เนื้อหาที่เรียนยากเกินไป +1 +1 +1 3 1 ใชได
1.4 เนื้อหามีความนาสนใจ +1 +1 +1 3 1 ใชได
1.5 เนื้อหามีความเหมาะสมกับเวลา
+1 +1 +1 3 1 ใชได
เรียน
2.ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู
2.1 มี ค วามสนุ ก สนานกั บ การร ว ม
+1 +1 +1 3 1 ใชได
กิจกรรมในชั่วโมงเรียน
2.2 ไดเรียนรูดวยตนเองอยางมีความสุข +1 +1 +1 3 1 ใชได
2.3 รูสึกภูมิใจมากเมื่อตอบคําถาม +1 0 +1 2 0.66 ใชได
2.4 พอใจที่สามารถตรวจสอบคําถาม
+1 +1 +1 3 1 ใชได
ดวยตนเอง
2.5 ไดฝกทักษะการทํางานกลุมและ
+1 +1 +1 3 1 ใชได
รายบุคคลดวยความมั่นใจ
3.ดานสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน
3.1 สื่อ/อุปกรณการเรียนรูมีการเราความ
+1 +1 +1 3 1 ใชได
สนใจในการเรียนรูมากขึ้น
3.2 สื่อ/อุปกรณการเรียนที่ใชทําใหเขาใจ
+1 +1 +1 3 1 ใชได
ในการเรียนรูไดงายขึ้น
3.3 สื่ อ / อุ ป ก ร ณ ก า ร เ รี ย น รู มี ค ว า ม
+1 +1 +1 3 1 ใชได
หลากหลาย
3.4 สื่อ/อุปกรณการเรียนมีความเหมาะสม
0 +1 +1 2 0.66 ใชได
กับกิจกรรม
ตารางที่ ค. 3 คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการพัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู โดยใชเทคนิค 5W1H เพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห เรื่องสังขทอง ตอนกําเนิดพระ
สังข วิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6โรงเรียนภูเวียงวิทยาคม
ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ผลการ
รายการ ผูเชี่ยวชาญ (คนที่) ∑R IOC
พิจารณา
1 2 3
4. ดานการวัดผลและประเมินผล
4.1 ครูชี้แจง อธิบายกรวัดและประเมินผล
+1 +1 +1 3 1 ใชได
ทุกครั้ง
4.2 วิธีการวัดผลและประเมินผลมีความ
+1 +1 +1 3 1 ใชได
เหมาะสมกับนักเรียน
4.3 เมื่อมีการทดสอบยอยแตละเรื่องทําให
นั ก เรี ย นได นํ า ไปปรั บ ปรุ ง การเรี ย นรู ข อง +1 +1 +1 3 1 ใชได
ตนเองอยูเสมอ
4.4 นักเรียนมีโอกาสทราบผลคะแนนจาก
+1 +1 +1 3 1 ใชได
การเรียนรูแตละเรื่องทันที
3. ดานการวัดผลและประเมินผล +1 +1 +1 3 1 ใชได

You might also like