You are on page 1of 70

การออกแบบและสร้ างเครื่องสั บต้ นข้ าวโพด

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว

นายกฤตภาส หอมระรื่น
ุวรร

งานวิจยั นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของสถาบันวิจยั และพัฒนา


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุ วรรณภูมิ
งบประมาณเงินส่ งเสริมงานวิจยั ปี 2557

ชื่องานวิจยั การออกแบบและสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด


ชื่อผูว้ ิจยั นายกฤตภาส หอมระรื่ น
งบประมาณปี 2557

บทคัดย่ อ

งานวิจยั เล่ มนี้ ไ ด้ทาํ การออกแบบและสร้ างเครื่ องเครื่ องสับต้นข้าวโพดที่ ใ ช้เป็ นสิ่ ง
อํานวยความสะดวกต่างๆ ใช้กบั เกษตรกรในการผลิตอาหารสัตว์โดยการสับย่อยต้นข้าวโพดอีกทั้ง
ยังเป็ นการลดเวลาในการสับต้นข้าวโพดด้วยมือของเกษตรกรและยังเป็ นการป้ องกันอันตรายที่เกิด
ขึ้นกับการสับต้นข้าวโพดด้วยมืออีกด้วย จากการพิจารณาถึงศักยภาพของเครื่ องสับต้นข้าวโพดนั้น
มีความเหมาะสมที่จะนํามาสับย่อยต้นข้าวโพดของเกษตรกรหลังการเก็บเกี่ยว
หลักการทํางานโดยการใช้เครื่ องยนต์เล็ก 5.5 แรงม้าใบตัด หนา 4 ม.ม จํานวน 4 ใบ จะ

ูมิ
ร.ส พ.
ทําให้สามารถสับต้นข้าวโพดหลังเก็บเกี่ยวของเกษตรกร นํามาสับย่อยเป็ นอาหารของสัตว์ซ่ ึงในการ
ณภ
มท สว

สับย่อยแต่ละครั้งนั้นสามารถสับต้นข้าวโพดให้มีความละเอียดตามความต้องการได้เป็ นอย่างดี
ุวรร

Research Title The design and build machines from corn.


Authors Kittapas Haumrareum
Year 2014

ABSTRACT

This research has made to design and build machines that use corn as facilities. Used in
the production of animal feed by farmers chopping corn as well as reduce the time to chop corn at
the hands of farmers and also prevents damage to the corn by hand with a hack. Considering the
potential of the corn that is appropriate to adopt the chopped corn farmers after the harvest.
Management by the 5.5 hp engine cutting thickness 4 mm 4 blade is able to cut the
harvest of corn farmers. The food is broken down into the sub chop chop corn at a time can have a
good detailed requirements.

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจยั เรื่ องการออกแบบและสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด สําเร็ จได้ดว้ ยความกรุ ณาของ


สถาบันวิจยั และพัฒนาพร้อมทั้งคณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่ องกล มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลสุ วรรณภูมิ ที่กรุ ณาให้คาํ แนะนําช่วยเหลือพร้อมทั้งสนับสนุนเงินทุนในการทํา
วิ จ ัย รวมทั้ง ตรวจสอบแก้ไ ขข้อ บกพร่ อ ง จนทํา ให้ ง านวิ จ ัย ฉบับ นี้ สํา เร็ จ สมบรู ณ์ เ ป็ นรู ป เล่ ม
ขอขอบคุณเพื่อน ๆ และผูม้ ีพระคุณที่ไม่ได้กล่าวถึง ณ ที่น้ ี

สุ ดท้ายนี้ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครู อาจารย์ ที่ช่วยประสิ ทธิ์ประสาทวิชาในสาขา


แขนงต่าง ๆ จนนํามาประยุกต์ใช้ในการทํางานวิจยั ให้สาํ เร็ จลุล่วงลงด้วยดี

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

กฤตภาส หอมระรื่ น

สารบัญ

เรื่ อง หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ก
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญ (ต่อ) จ
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญรู ป ช
สารบัญแผนภูมิ ซ
คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ ฌ
บทที่

ูมิ
ร.ส พ.
1 บทนํา 1
ณภ
มท สว

1.1ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา 1
1.2จุดประสงค์ของโครงการนักศึกษา 2
ุวรร

1.3ขอบเขตโครงการวิจยั 2
1.4ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
1.5 ขั้นตอนการดําเนินงาน 2
2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3
2.1ทฤษฎีเกี่ยวกับเครื่ องยนต์ 3
2.2ทฤษฎีเกี่ยวกับสายพาน 9
2.3ทฤษฎีเกี่ยวกับพูลเล่ย ์ 19
2.4ทฤษฎีเกี่ยวกับการออกแบบเพลา 19
2.5ทฤษฎีเกี่ยวกับใบมีดตัด 25
2.6 ทฤษฎีเกี่ยวกับเฟื อง 26
2.7 ทฤษฎีการตัด 28

สารบัญ (ต่ อ)

บทที่ หน้า
3 วิธีการดําเนินโครงงาน 29
3.1การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 29
3.2เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 29
3.5การคํานวณทางวิศวกรรม 32
4 รายงานผลการดําเนินงาน 34
4.1 วิเคราะห์ผลการทดลองของเครื่ องสับต้นข้าวโพด 34
4.2 วิเคราะห์หาประสิ ทธิภาพของเครื่ องต้นข้าวโพด 35
4.3 สรุ ปผลอภิปรายผลการทดลอง 36
5 สรุ ปผลและข้อเสนอแนะ 37
5.1จุดประสงค์ของปริ ญญานิพนธ์ของการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด 37

ูมิ
ร.ส พ.
5.2 ปั ญหาของการดําเนินงาน 37
ณภ
มท สว

5.3 ผลการดําเนินงานสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด 38


5.4 อภิปรายการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด 38
ุวรร

5.5ข้อเสนอแนะ 38
บรรณานุกรม 39
ภาคผนวก ก แสดงคุณสมบัติของวิศวกรรม 40
ภาคผนวก ข ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน 49
ประวัติผจู ้ ดั ทํา 60

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
1.1 แสดงขั้นตอนการดําเนินงาน 2
4.2.1 ตารางผลการทดลองการสับต้นข้าวโพด 35
4.2.3 ตารางการเปรี ยบเทียบการสับด้วยมือและการสับด้วยเครื่ อง 36

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

สารบัญรูป

รู ปที่ หน้า
1.1 เครื่ องยนต์เล็ก 5.5 แรง 3
1.2 แสดงการทํางานของของลูกสูบ 4
1.3 แสดงความสัมพันธ์ ปริ มาตรดูด 5
1.6 แสดงปริ มาตรห้องเผาไหม้ 7
2.1 แสดงการกวดสายพานให้แน่นตึง 16
2.2 แสดงไดอะแกรมภาระแรงที่ปรากฏบนระนาบสายพาน 17
4.1 รู ปร่ างลักษณะของเพลา 19
4.2 แบริ่ งชนิดต่าง ๆ 24
5.1 ลักษณะตัวจับใบมีด 25
5.2 ลักษณะใบมีดมุมใบมีด 30 และ 45 องศาของต้นแบบเครื่ องตัด 25

ูมิ
ร.ส พ.
6.1 เฟื องหนอน 26
ณภ
มท สว

6.2 แบบของเฟื องชนิดต่าง ๆ 27


7.1 ต้นขาวโพดหลังทําการหัน่ ด้วยเครื่ อง 36
ุวรร

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที่ หน้า
3-1 แสดงขั้นตอนการสร้างเครื่ องสับหัน่ ข้าวโพด 30
4.2.2 กราฟแสดงผลการทดลองการสับต้นข้าวโพด 35

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

คําอธิบายสั ญลักษณ์ และคําย่ อ

สัญลักษณ์และคําย่อ ความหมาย หน่วย

σc ความเค้นแรงอัด N/m2
F แรงกระทํา N
A พื้นที่หน้าตัด M
τ ความเค้นแรงอัด N/m2
Ρd กําลังเฉลี่ยของตัวจับ Kw
Ρ กําลังที่ตอ้ งการถ่ายทอด Kw
N ความเร็ วรอบของเพลา rpm
τa ค่าความเค้นเฉือนอนุญาต N/m2
T ค่าโมเมนต์บิด N/m2

ูมิ
ร.ส พ.
D ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางนอกเพลา m
ณภ
มท สว

D ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางด้านใน m
θ มุมบิดตัว rad
ุวรร

L ความยาวชิ้นงาน m
τy ค่าความเค้นในการออกแบบ N/m2
τ max ค่าความเค้นสูงสุ ด N/m2
n ความเร็ วรอบ Rpm
R ระยะจากแรงกระทําถึงจุดรองรับ m
บทที 1
บทนํา

1.1ความเป็ นมาและความสํ าคัญของงานวิจัย


ประเทศไทยเป็ นแหล่งที่ปลูกข้าวโพดที่สาํ คัญของโลกใช้เป็ นอาหารมนุ ษย์ ในประเทศ
38 38

ไทย ประชาชนนิ ยมรับประทานฝักสดของข้าวโพดหวาน ข้าวโพดข้าวเหนี ยวและข้าวโพดไร่ โดย


การต้ม หรื อ เผาให้สุ ก เสี ย ก่ อ น นอกจากนั้น ฝั ก อ่ อ นของข้า วโพดยัง นิ ย มรั บ ประทานกัน อย่า ง
แพร่ หลายนับเป็ นผักชนิ ดหนึ่ งที่นาํ มาปรุ งอาหาร นอกจากจะรับประทานในประเทศแล้ว ยังบรรจุ
กระป๋ องส่ งไปจําหน่ ายยังต่างประเทศเป็ นอุตสาหกรรมชนิ ดหนึ่ งด้วยประชาชนในบางประเทศ
อาศัยบริ โภคข้าวโพดเป็ นอาหารหลักในรู ปต่าง ๆ กัน เช่น ในอเมริ กากลางและอเมริ กาใต้ ใช้แป้ ง
บดจากเมล็ดแก่มาทําเป็ นแผ่นนึ่ งหรื อย่างให้สุก รับประทานกับอาหารอื่นคล้ายกับการรับประทาน
ขนมปั งในฟิ ลิปปิ นส์นิยมตําเมล็ดข้าวโพดแก่ให้แตกเป็ นชิ้นเล็กเท่า ๆ เมล็ดข้าว แล้วต้มรับประทาน

ูมิ
ร.ส พ.
แทนข้าว ข้าวโพดสามารถนําไปใช้เป็ นอาหารสัตว์ข้าวโพดนับเป็ นพืชที่ใช้เป็ นอาหารสัตว์ได้ดีชนิด
ณภ
38 38
มท สว

หนึ่ ง การใช้ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์อาจทําได้หลายอย่าง เช่น ใช้เมล็ด กากนํ้าตาล กากแป้ งที่เหลือจาก


สกัดนํ้ามัน ตัดต้นสดให้สัตว์กินโดยตรง ตัดต้นสดหมัก และใช้ตน้ แก่ หลังเก็บเกี่ ยวฝั กแล้ว ใน
ุวรร

ต่างประเทศนิยมใช้ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์กนั มาก แต่ในประเทศไทยยังใช้กนั น้อย ทั้งนี้ เนื่ องจากราคายัง


สู งอยู่ ถ้าสามารถลดต้นทุนการผลิตลง และราคาข้าวโพดอยู่ในระดับพอสมควร อาจมีการใช้เลี้ยง
สัตว์เพิ่มขึ้น
ปั จจุบนั ปั ญหาการขาดแคลนคนงานเพิ่มมากขึ้นแต่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ มีความ
ต้องการใช้เพิ่มขึ้น เป็ นปั ญหาสําคัญในกระขบวนการสับต้นข้าวโพดเพื่อจะจะนําไปใช้เป็ นอาหาร
สัตว์ ของเกษตรกร ในการเลี้ยงสัตว์ เช่น หมู ไก่ วัว เป็ นต้น แต่ขนั ตอนการสับต้นข้าวโพด ยังใช้คน
เป็ นกําลังหลัก ทําให้เกิดความล่าช้าในการสับ หรื อทําไม่ทนั จึงมีผลกระทบต่อเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์
ดังนั้นการวิจยั และออกแบบเครื่ องสับต้นข้าวโพดสําหรับการสับต้นข้าวโพด จึงมีส่วนช่วยในการ
ลดปัญหาการขาดแคลนแรงงานประหยัดเวลาและยกระดับการสับต้นข้าวโพดอีกด้วย
ดังนั้นได้ทาํ การพัฒนาจัดทําเครื่ องสับต้นข้าวโพดขึ้นมาเพื่อให้เกษตรกรใช้ในการสับ
ต้นข้าวโพดในการให้อาหารสัตว์
2

1.2วัตถุประสงค์ งานวิจยั
1. เพื่อพัฒนาและสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด
2. เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการสับต้นข้าวโพด
1.3ขอบเขตงานวิจัย
เพื่อพัฒนาและสร้าง ทดสอบและประเมินสมรรถนะเครื่ องสับต้นข้าวโพดทีใช้พลังงาน
กลเป็ นต้นกําลังเพื่อใช้สาํ หรับการสับหัน่ ข้าวโพดตามวิธีการสับต้นข้าวโพดของเกษตรกร

1.4ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ


1. ยกระดับการสับต้นข้าวโพดของเกษตรกร
2.ได้เครื่ องสับต้นข้าวโพดสําหรับเป็ นแนวทางในการพัฒนาต่อไป
3.เกษตรกรมีเครื่ องสับต้นข้าวโพดเพื่อจะใช้ได้จริ งในการประกอบอาชีพ

1.5ขั้นตอนการดําเนินงาน

ูมิ
ร.ส พ.
ตารางที่ 1.1 แสดงขั้นตอนการดําเนินงาน
ณภ
มท สว

แผนการดําเนินงาน
ุวรร

กิจกรรม พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 หมายเหตุ


พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
1.ศึกษาข้อมูล
2. การออกแบบ
และสร้างเครื่ อง
3. การทดลอง
4. เก็บรวบรวม
ข้อมูล
5. วิเคราะห์ขอ้ มูล
6. การจัดทํา
รายงาน สรุ ปผล
บทที่ 2
แนวคิดและทฤษฎีทเี กีย่ วข้ อง

1. ทฤษฎีเกีย่ วกับเครื่องยนต์

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ 1.1 เครื่ องยนต์เล็ก 5.5 แรง


ในการคํานวณสิ่ งต่าง ๆ เกี่ยวกับสมรรถนะเครื่ องยนต์ต่าง ๆ นั้นเราจําเป็ นที่ตอ้ งรู ้และ
เข้าใจในความหมายและคําจํากัดความและนิยามต่าง ๆ ในรายระเอียดที่ได้กาํ หนดในแคตาล็อกหรื อ
รายการเฉพาะแสดงส่ วนต่าง ๆ และขนาดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของเครื่ องยนต์ทีบริ ษทั ต่าง ๆ ได้ผลิต
ขึ้น ซึ่งมีศพั ท์และนิยามต่างๆ ดังต่อไปนี้
4

รู ปที่ 1.2 แสดงการทํางานของของลูกสูบ


1. ขนาดของกระบอกสู บ (BORE) หมายถึงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสู บ
สัญลักษณ์ (d)
ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
2. ระยะชัก (STROKE) เป็ นระยะห่ างระหว่างจุดศูนย์ตายบนถึงจุดศูนย์ตายล่าง
มท สว

สัญลักษณ์ (L)
ุวรร
3. ปริ มาตรดูด (SWEPT VOLUME) หรื อ(DISPLACACMENT VOLUME) หมายถึง
ปริ มาตรห้องว่างภายในกระบอกสู บ ระหว่างจุดศูนย์ตายบนถึงศูนย์ตายล่างเป็ นห้องว่างใช้สาํ หรับ
ดูดไอดีเข้าบรรจุภายใน สัญลักษณ์ (Vd)
4. ปริ มาตรห้องเผาไหม้ (COMBUSTION CHAMBER) หรื อ (CLEARANCE
VOLUME) หมายถึง ปริ มาตรช่องว่างบนหัวลูกสู บในขณะที่ลูกสู บอยู่ที่ศูนย์ตายบน สัญลักษณ์
(Vc)
5. พื้นที่ภาคดตัดกระบอกสูบ เป็ นพื้นที่ภาคตัดภายในกระบอกสูบ สัญลักษณ์ (A)
π
A= d2 (1)
4
เมื่อ
A = พื้นที่ภาคตัดกระบอกสูบ mm2 ,cm 2 , m2
d = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบ mm, cm, m
สมการพื้นที่ภาคตัดดังกล่าวนี้ เป็ นสมการพื้นที่ภาคตัดฉายของกระบอกสู บดังนั้นจึงไม่
คํานึงถึงรู ปร่ างของหัวลูกสูบ ไม่วา่ จะเป็ นรู ปร่ างใดจะใช้สมการนี้คาํ นวณหาขนาดพื้นที่ภาคตัด
5

6. รั ศมี เพลาข้อเหวี่ยง หมายถึ ง ระยะห่ างจากจุ ดศูนย์กลางเพลาข้อเหวี่ยงถึ งจุ ด


ศูนย์กลาง Crank pin โดยรัศมีเพลาข้อเหวี่ยงจะมีขนาดครึ่ งหนึ่งของระยะชักเสมอดังสมการ
L
r= (2)
2
เมื่อ
r = รัศมีเพลาข้อเหวี่ยง mm,cm,m
L = ระยะชัก mm,cm,m
โดยทัว่ ไปแล้วตามมาตรฐานการกําหนดรายละเอียดเฉพาะของเครื่ องยนต์ทุกชนิ ดจะ
กําหนดรายละเอียดหลัก ๆ ที่สาํ คัญคือ “จํานวนกระบอกสู บของเครื่ องยนต์” ลักษณะการจัดเรี ยง
กระบอกสู บการจัดเรี ยงกระบอกสู บการจัดเรี ยงลิ้นไอดี และไอเสี ย ขนาดกระบอกสู บ ระยะชัก
ปริ มาตรดูด และอัตราส่ วนการอัด เช่นตัวอย่างการกําหนดรายละเอียดเฉพาะ

1.1ปริมาตรดูด หรือ ความจุกระบอกสู บ

ูมิ
ร.ส พ.
ปริ มาตรดู ด หรื อ ความจุกระบอกสู บ หมายถึง ปริ มาตรห้องว่างภายในกระบอกสู บ
ณภ
ระหว่างศูนย์ตาบบน T.DC. ถึงศูนย์ตายล่าง B.D.C. เป็ นปริ มาตรที่ใช้สาํ หรับดูดไอดีเข้าบรรจุไว้
มท สว

ภายในเครื่ องยนต์
ุวรร

ขนาดของปริ มาตรดูด จะคํานวณหาขนาดได้จากผลคูณของพื้นที่ภาคตัดของกระบอก


สูบกับระยะชักของของลูกสูบดังสมการ
d

T.D.C C
Vc
Vd L

B.D.C

รู ปที่ 1.3 แสดงความสัมพันธ์ ปริ มาตรดูด

π
Vd = d 2 . L (3)
4
6

เมื่อ
Vd = ปริ มาตรดูด mm3 ,cm 3 , m3
d = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบ mm, cm, m
L = ระยะชัก mm,cm,m
22
π มีค่าเท่ากับ 3.14 หรื อ
7
หมายเหตุ 3
cm มีค่าเท่ากับ C

ปริมาตรกระบอกสู บรวมหรือ ความจุรวมของเครื่องยนต์ สั ญลักษณ์ VD


เนื่ องจากเครื่ องยนต์ที่ผลิตสร้างขึ้นใช้เป็ นเครื่ องต้นกําลังนั้นมักจะออกแบบสร้างให้มี
จํานวนกระบอกสู บมากกว่า 1 สู บขึ้นไปทั้งนี้ เพื่อให้เครื่ องยนต์น้ นั มีกาํ ลังที่สูงมากขึ้นและในการ
กําหนดรายละเอียดของเครื่ องยนต์ในแคตาล็อคก็กาํ หนดขนาดปริ มาตรความจุกระบอกสู บทั้งหมด
ของเครื่ องยนต์น้ นั ๆ ไว้ดว้ ยเช่นเครื่ องยนต์ 4 สู บ 4 จังหวะ ขนาดความจุกระบอกสู บรวม 2000 CC

ูมิ
ร.ส พ.
เป็ นต้น ซึ่งหมายความว่าเครื่ องยนต์น้ นั มีความจุกระบอกสู บ 2000 CC และแต่ละสู บมีปริ มาตรดูด
ณภ
เท่ากับ 1 ใน 4 ของความจุกระบอกสู บรวมนั้นเอง ในการคํานวณขนาดปริ มาตรกระบอกสู บรวมได้
มท สว

ดังสมการ
ุวรร

VD = Vd × K (4)

หรื อ
π
VD = d 2 . L. K (5)
4
เมื่อ
VD = ปริ มาตรความจุกระบอกสูบ mm3 ,cm 3 , m3 lite
หมายเหตุ 1 lite = 1000 cm 3 ,CC

1.2ปริมาตรอัด (Clearance Volume)


ปริ มาตรอัด (Vc) คือ ปริ มาตรที่อยูร่ ะหว่างศูนย์ตายบนของกระบอกสู บ (T.DC.) จนถึง
ผนังด้านบนของฝาสู บ หรื อเรี ยกว่า ปริ มาตรห้องเผาไหม้ ดังนั้นเราสามารถคํานวณได้ดงั นี้
7

T.D.C
Vc C
Vc

B.D.C

รู ปที่ 1.4 แสดงปริ มาตรห้องเผาไหม้

π
Vc = d 2 .C . K (6)
4

เมื่อ

ูมิ
ร.ส พ.
Vc = ปริ มาตรอัด mm3 ,cm 3 , m3
ณภ
d = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบ mm, cm, m
มท สว

C = ระยะความสูงห้องเผาไหม้ mm,cm,m
ุวรร

1.3 ความเร็วรอบ
ความเร็ วรอบหมายถึงความเร็ วรอบในการหมุนของเครื่ องยนต์ โดยปกติกาํ หนดเป็ น
รอบ/นาที (rpm) ความเร็ วรอบเครื่ องยนต์มีความสัมพันธ์ต่อเนื่ องไปถึงกําลังเพลาแรงบิดกําลังใน
กระบอกสูบและความเร็ วในการเคลื่อนที่ของรถยนต์

1.4อัตราการบรรจุไอดีของเครื่องยนต์ และประสิ ทธิภาพเชิงปริมาตร


อัตราการบรรจุไอดีของเครื่ องยนต์จากหลักการทํางานของเครื่ องยนต์ท้ งั 4 จังหวะ และ
2 จังหวะ นั้นเครื่ องยนต์จะต้องทํางานด้วยความเร็ วรอบจํานวนหลาย ๆ รอบในหนึ่ งหน่ วยเวลา
เครื่ องยนต์ จะต้องดูดเอาปริ มาณของไอดีเข้าบรรจุในกระบอกสูบเครื่ องยนต์หนึ่งหน่วยเวลา ในการ
คํานวณอัตราการบรรจุไอดีน้ นั จะมีความเกี่ยวข้องกับความเร็ วรอบเครื่ องยนต์ และการทํางานของ
เครื่ องยนต์
8

กรณี
เครื่ องยนต์ ชนิด 2 จังหวะ N รอบ/นาที
N
เครื่ องยนต์ ชนิด 4 จังหวะ รอบ/นาที
2
การคํา นวณหาอัต ราการบรรจุ ไ อดี อ งเครื่ อ งยนต์ สั ม พัน ธ์ กับ รอบการทํา งานของ
เครื่ องยนต์น้ นั จะได้ความสัมพันธ์ดงั กล่าวคือ
Q = VD × N

Q = Vd × K × N

π
Q = d 2 × L× K × N (7)
4
เมื่อ
VD = ปริ มาตรความจุกระบอกสูบ mm3 ,cm 3 , m3 lite
ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
d = ปริ มาตรดูด mm3 ,cm 3 , m3
มท สว

d = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบ mm, cm, m


ุวรร

L = ระยะชัก mm,cm,m
K = จําวนวนกระบอกสู บ
N = ความเร็ วรอบเครื่ องยนต์ ,รอบ/นาที , รอบ/วินาที
Q = อัตราการบรรจุไอดี m3/min

1.5ประสิ ทธิภาพเชิงปริมาตร
คือ อัตราส่ วนปริ มาตรของไอดี หรื อ อากาศที่สามารถเข้าบรรจุไอดีจริ งต่อปริ มาตรดูด
ของกระบอกสู บ

ดังนั้น
ปริมาตรของไอดีที�บรรจุจริง
ประสิทธิภาพเชิงปริมาตร =
ปริมาตรดุดของกระบอกส◌ูบ
VD /
ηฮ = (8)
VD
9

เมื่อ
VD = ปริ มาตรความจุกระบอกสูบ mm3 ,cm 3 , m3 lite
VD/ = ปริ มาตรดูดจริ ง mm3 ,cm 3 , m3
η = ประสิ ทธิภาพเชิงปริ มาตร %

2.ทฤษฎีเกีย่ วกับสายพาน
สายพานลิ่มใช้ส่งกําลังได้ค่อนข้างมาก โดยต้องการแรงดึงขั้นต้นในสายพานค่อนข้าง
น้อย ทั้งนี้ เพราะผลจากการเกาะยึดตัวกันระหว่างด้านข้างของสายพานที่เรี ยวกับร่ องรู ปลิ่มของล้อ
สายพาน ทําให้เกิดแรงเสี ยดทานสู ง ซึ่ งเป็ นผลให้สายพานทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพดี แม้ว่าจะ
มีส่วนโค้งสัมผัสน้อย และมี แรงดึ งขั้นตํ่า และเหมาะกับการใช้งานในกรณี ที่ระยะห่ างระหว่าง
ศูนย์กลางน้อย ในการส่ งกําลังจะส่ งได้มากที่สุดเมื่อผิวด้านข้างของสายพานอัดแน่นกับร่ องบนล้อ
สายพาน และในกรณี ที่ มี เ หตุ ฉุ ก เฉิ น ก็ อ าจใช้ผ ลจากการอัด แน่ น นี้ ทํา หน้า ที่ เ ป็ นเบรกได้ด้ว ย
การขับด้วยสายพานลิ่ ม มี ขอ้ ดี คือ เงี ยบ สะอาด และสามารถรับแรงกระตุกได้ นอกจากนั้นยังมี

ูมิ
ร.ส พ.
ขนาดกะทัดรัด มีประสิ ทธิ ภาพดี และแบริ่ งของเพลาไม่ตอ้ งรับแรงมากเกินไป จึงมักใช้ในการขับ
ณภ
มท สว

ทางด้านอุตสาหกรรมทัว่ ไป ซึ่งมีสายพานขับได้โดยมีอตั ราทดสู งประมาณ 7 : 1 หรื ออาจใช้ได้สูง


ถึง 10 : 1อัตราส่ วนแรงดึงของสายพาน จากสูตร
ุวรร

T1
= 2.5 (9)
T2

T1 = 2.5T2
แรงที่สายพานกดเพลา
F = T1 + T2 (10)

2.1ขนาดสายพานและล้ อสายพานลิม่
1.) สายพานลิ่มมีหน้าที่ตดั เป็ นรู ปลิ่ม ดังนั้นในการกําหนดขนาดจึงมักกําหนด โดยใช้
ความกว้างพิทช์(Pitch Width) และความหนาสายพานโดยใช้ตวั อักษรแทน ซึ่งแบ่งออกเป็ นสายพาน
ลิ่มแบบแคบ (Narrow V-Belts) มีขนาด SPZ SPA SPB และ SPC และสายพานลิ่มแบบธรรมดา มี
10

ขนาด Y Z A B C D และ E ซึ่งในที่น้ ี จะกล่าวถึงเฉพาะสายพานลิ่มแบบธรรมดาเท่านั้น รู ปร่ างหน้า


ตัดของสายพานลิ่มและล้อสายพาน
2.) การคํานวณหาอัตราส่ งกําลังของสายพาน สายพานมีอตั ราความเร็ วรอบ เรี ยกว่า
อัตราส่ งถ่าย (i) และ อัตราการคํานวณหาอัตราการส่ งถ่ายสามารถคํานวณได้จากสมการที่ 1

n1
i = d2 = (11)
d1 n2
เมื่อ
d1 คือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของพูเล่ยต์ วั ขับ (มิลลิเมตร)
d2 คือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของพูเล่ยต์ วั ตาม (มิลลิเมตร)
n1 คือ ความเร็ วรอบของพูเล่ยต์ วั ขับ (รอบต่อนาที)
n2 คือ ความเร็ วรอบของพูเล่ยต์ วั ตาม (รอบต่อนาที)

2.2การคํานวณความยาวของสายพาน
ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
ความยาวของสายพานเปิ ด (Open Belts) อาจประมาณได้จากสมการดังต่อไปนี้
มท สว

L = 2C+1.57(D +D ) + (D2 + D1 )
2
(12)
ุวรร
2 1
4C
เมื่อ
L = ความยาวพิทช์ของสายพาน
C = ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางของล้อขับและล้อตาม
D1 = เส้นผ่าศูนย์กลางของล้อขับ
D2 = เส้นผ่าศูนย์กลางของล้อตาม

การกําหนดระยะ C นับว่ามีความยืดหยุน่ มากพอสมควร ผูผ้ ลิตรายหนึ่งแนะนําว่า


ให้ C = (D2 + 3D 1 ) / 2 หรื อ C = D เลือกใช้ค่าที่สูงที่สุด แนะนําดังนี้
C = p + p2 − q (13)

เมื่อ
P = 0.25L p – 0.39(D 2 + D 1 ) (14)
q = 0.125(D 2 – D 1 ) (15)
และ
11

C max = 2(D 1 + D 2 )
C min = 0.7(D 1 + D 2 ) (16)
แล้วเลือกใช้ค่าที่อยูร่ ะหว่าง C max กับ C min

การกําหนดค่า C ควรเผือ่ ระยะปรับ (ควรเป็ นด้านมอเตอร์ ) ความกว้างของเพลาทั้งสอง


ด้วย เพื่อให้มีความดึงสายพานเพียงพอ เนื่ องจากว่า C อาจเป็ นพิกดั จํากัด (Limiting Factor) ได้
เพราะมีที่ว่างจํากัด จึงอาจเป็ นไปได้ว่าเราต้องลองคํานวณหาขนาดสายพานหลายครั้งทีเดียว การ
ทําให้เกิดแรงดึงชั้นต้นในสายพานลิ่ม
การทําให้เกิดแรงดึงชั้นต้น จะช่วยทําให้การขับด้วยสายพานมีประสิ ทธิ ภาพดี และยืด
อายุ ก ารใช้ ง านของสายพาน ถ้า ออกแรงดึ ง ชั้ น ต้น ไม่ เ พี ย งพอจะทํา ให้ ส่ ง กํา ลัง ได้น้ อ ยลง
ประสิ ทธิภาพตํ่าลง ทําให้สายพานมีอายุการใช้งานลดลงเนื่องจากสลิป แต่ถา้ ออกแรงดึงชั้นต้นมาก
เกิ นไป จะทําให้ขอบสายพานยืดตัวมากเกิ นไป เกิ ดความเค้นในสายพานมาก แบริ่ งที่รองรั บ
สายพานจะรับแรงมากเกินไป ด้วยเหตุน้ ี จึงต้องออกแรงดึงชั้นต้นให้เหมาะสมกับแรงภายนอกที่

ูมิ
ร.ส พ.
กระทํากับสายพานลิ่มส่ วนโค้งสัมผัส จากสูตร
ณภ
มท สว

DP − dp
α1 = (17)
C
ุวรร

มุมสัมผัสของล้อสายพาน จากสูตร
(D − dp )
α1 = π − 2Sin −1
p
(18)
2C
หาความเร็ วของสายพาน จากสูตร
V = πD p n (19)
จากสมการแรงดึงในสายพานขณะส่ งกําลัง คือ
Wp
F = F1 – F2 = (20)
v
ให้แรงดึงในแนวแกน
eαf ′ + 1
Fw = F1 + F2 = F (21)
eαf ′ − 1

แรงหนีศูนย์กลางเนื่องจากนํ้าหนักสายพาน
wAv 2
Fc = (22)
g
แรงลัพธ์เนื่องจากแรงหนีศูนย์กลาง คือ
12

Fr = 2.Z.F c sin α (23)


2
โดย Z = จํานวนสายพาน
ดังนั้น แรงดึ งขั้นต้นในสายพานจึงหาได้จากแรงดึ งในแนวแกนขณะส่ งกําลังกับแรง
ลัพธ์ เนื่องจากแรงหนีศูนย์กลาง นัน่ คือ
F1 = Fw + Fr (24)
ในทางปฏิบตั ิมกั จะใช้วิธีหาค่าประมาณของแรงดึงในแนวแกนจากสมการ
Fr = K 1 .F.Fc sin α (25)
2
โดยที่ K1 เป็ นตัวประกอบใช้งาน ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั สภาวะการทํางาน ซึ่ งหาค่าได้จาก
ตารางแล้วใช้แรงนี้เป็ นแรงดึงชั้นตํ่า
ในกรณี ที่ขบั โดยมีระยะระหว่างศูนย์กลางคงที่ หรื อไม่มีอุปกรณ์ที่ทาํ ให้เกิดแรงดึงใน
สายพานตลอดเวลาก็จาํ เป็ นต้องนําเอาแรงหนีศูนย์กลางมาติดด้วย จากสมการ
Fr = 2.Z.F c sin α

ูมิ 2
ร.ส พ.
2
2.Z. wAv sin α
ณภ
= (26)
มท สว

g 2
ซึ่งเขียนได้ใหม่เป็ น
ุวรร

Fr = 2.K 2 .V2sin α (27)


2
ค่า k 2 หาได้จากตาราง ดังนั้นแรงดึงชั้นต้นในสายพานจึงเท่ากัน
Fr = (k 1 F+2k 2 .V2)sin α (28)
2

2.3 การคํานวณหาขนาดสายพานลิม่
การคํานวณทางด้านการส่ งกําลังโดยสายพานลิ่มจะใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางพิทช์ ของ
ล้อสายพาน d เป็ นพื้นฐาน และในที่น้ ี ก็จะแสดงวิธีการเลือกขนาดของสายพานลิ่มตามคําแนะนํา
ของบริ ษทั ผูผ้ ลิตเช่นเดียวกับในกรณี ของสายพานแบน
ในการเลือกขนาดของล้อสายพาน บริ ษทั ผูผ้ ลิตได้แนะนําให้เลือกขนาดของล้อสายพาน
ให้โตที่สุดเท่าที่จะทําได้ ขนาดของล้อสายพานไม่ควรจะเล็กกว่าค่าที่กาํ หนดไว้ในตาราง แต่ขอ้ ควร
ระวังก็คือ ขณะใช้งานปกติความเร็ วของสายพานไม่ควรสูงกว่า 30 m/s
13

การหาขนาดหน้าตัดโดยประมาณของสายพานลิ่มสําหรับการส่ งกําลัง อาจทําได้แต่ส่ง


กําลังที่ส่งได้จริ งของสายพานจะต้องตรวจสอบจากตารางการกําหนดสมรรถนะในการส่ งกําลังของ
สายพานลิ่ม ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไป
การเลือกขนาดของสายพานลิ่มจะแตกต่างไปจากสายพานแบนเล็กน้อย คือ จะใช้วิธี
คํานวณหาจํา นวนเส้น ของสายพานที่ ตอ้ งการใช้งานจากกําลัง งานที่ ตอ้ งการขับและตัว ที่ จะใช้
ประกอบที่ใช้แก้ไขต่าง ๆ จํานวนเส้นของสายพานลิ่มหาได้จากสมการ
Wp.Ns
Z = (29)
Pr .Na.N1
เมื่อ
Z = จํานวนเส้นของสายพานลิ่ม
WP = กําลังงานที่ตอ้ งการส่ ง
NS = ตัวประกอบใช้งานหาค่าได้จากตาราง
Na = ตัวประกอบแก้ไขส่ วนโค้งสัมผัส
N1 = ตัวประกอบแก้ไขความยาวสายพาน
ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
PR = กําลังที่สายพานลิ่มหนึ่งเส้นส่ งได้
มท สว
ุวรร
เมื่อ
P ⋅ Ns
Z = (30)
PR ⋅ N a ⋅ N l
โดยที่
Z = จํานวนเส้นของสายพานลิ่ม เส้น
P = กําลังงานที่ตอ้ งการส่ งของสายพานลิ่ม วัตต์
Ns = ตัวประกอบใช้งานของสายพานลิ่ม ตัวแปรไร้มิติ
Na = ตัวประกอบแก้ไขส่ วนโค้งสัมผัสของสายพาน ตัวแปรไร้มิติ
Nl = ตัวประกอบแก้ไขความยาวสายพานลิ่ม ตัวแปรไร้มิติ
PR = กําลังงานที่สายพานลิ่มเส้นหนึ่งส่ งได้ วัตต์

2.4 กลศาสตร์ ของสายพานลิม่


ในการขับด้วยสายพานลิ่ม แรงปฏิกิริยาระหว่างสายพานกับล้อสายพานจะอยูใ่ นทิศทาง
ตั้งฉากกับผิวสัมผัสให้ F n เป็ นแรงปฏิกิริยาในแนวตั้งฉากระหว่างผิวสัมผัสของสายพานกับร่ องบน
14

ล้อสายพาน ดังนั้นจากสมการ fF n = dFของสายพานแบนในกรณี ของสายพานลิ่มจะกลายเป็ น 2fF n


= dFและกําลังที่ส่งได้โดยสายพานลิ่มหาค่าได้จากสมการ
P = (F 1 – F 2 ) V (31)
โดยที่
P = กําลังที่ส่งได้โดยสายพานลิ่ม วัตต์
V = ความเร็ วของสายพาน เมตร/วินาที
F1 = แรงด้านตึง นิวตัน
F2 = แรงด้านหย่อน นิวตัน
ความยาวพิตช์โดยประมาณของสายพานลิ่มหาค่าได้จากสมการ
(Dp + d p )2
L p = 2C + 1.57(Dp + dp ) + (32)
4C
โดยที่
Lp = ความยาวพิทช์ของสายพานลิ่ม มิลลิเมตร

ูมิ
ร.ส พ.
Dp = เส้นผ่านศูนย์กลางล้อสายพานใหญ่ มิลลิเมตร
ณภ
dp
มท สว

= เส้นผ่านศูนย์กลางล้อสายพานเล็ก มิลลิเมตร
C = ระยะห่างระหว่างล้อสายพานลิ่ม มิลลิเมตร
ุวรร

2.5 แรงดึงในสายพานลิม่
ส่ วนต่าง ๆ ของสายพานจะอยูภ่ ายใต้ความเค้นที่แตกต่างกัน โดยทัว่ ไปแล้วความเค้น
เหล่านี้ จะประกอบไปด้วยความเค้นดึงเนื่ องจากแรงดึงขั้นต้น ความเค้นเนื่ องจากการส่ งกําลังและ
แรงหนีศูนย์กลางและความเค้นตัดเนื่องมาจากสายพานเคลื่อนที่ผา่ นล้อสายพาน แรงดึงในสายพาน
ลิ่มขณะส่ งกําลัง
Wp
F= (33)
V
FW = F1 + F2 (34)

ในทางปฏิบตั ิจะใช้ค่าประมาณของแรงดึงในสายพานจากสมการ
α
Fw = K1.F.sin (35)
2
มุมสัมผัสของล้อสายพาน
15

Dp − d p
α = π + 2 sin −1 (36)
2C
โดยที่
F = แรงดึงในสายพานลิ่มขณะส่ งกําลัง นิวตัน
Fw = แรงดึงของสายพาน นิวตัน
K1 = ตัวประกอบการใช้งาน ตัวแปรไร้มิติ
α = มุมสัมผัสของล้อสายพาน เรเดีย

2.6 วิธีคาํ นวณค่ าต่ าง ๆ ของสายพานลําเลียง


1) แรงดึงในสายพาน
โดยทัว่ ๆ ไปเราจะสนใจเฉพาะค่าแรงดึงสู งสุ ด F 1 และค่าแรงดึงน้อยที่สุด
ที่ปรากฏ F 2 ในสายพานนั้นเท่านั้น วิธีที่จะได้ทราบค่าแรงกวดแน่ นให้สายพานตึง เราก็จะต้อง
ทราบค่าแรง F 3 และ F 4 ด้วยสมการไอย์เทลไวน์ดงั นี้

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
F1
มท สว

= e µα (37)
F2
F1 = FU+ F2 (38)
ุวรร

รวมสมการที่ 37 และ สมการที่ 38 เข้าด้วยกันดังนั้น


1
F2 = FU µα
(39)
e −1
เมื่อ
E คือ ค่าคงที่ เท่ากับ 2.718281828
F1 คือ ค่าแรงดึงสูงสุ ดในเนื้อที่สายพาย มีหน่วยเป็ น กิโลกรัม
F2 คือ ค่าแรงดึงสายพานค่าน้อยที่สุดล้อกลับสายพาน
มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
F U คือ แรงขับที่ขอบล้อสายพาน มีหน่วยเป็ น กิโลกรัม
e µα คือ สัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทานล้อสายพาน
α คือ มุมพับม้วนล้อสายพาน มีหน่วยเป็ น องศา
ซึ่ งหมายความว่า ค่าสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานและมุมพับม้วนสายพานที่กาํ หนดให้
จะต้องใช้แรงกดแน่ นสายพานจํานวนหนึ่ ง ซึ่ งมีค่าเป็ นสัดส่ วนกับแรงขับที่ขอล้อสายพาน FU
หากค่ายิ่งโตค่า FU จะยิ่งโตตาม หรื อหากค่าแรงขับที่ขอบล้อสายพานยิ่งเล็กลงแรงกวดแน่ น
16

สายพานให้ตึงก็จะลดขนาดตามด้วย ดังนั้นหากจะให้แรงกวดแน่นสายพานลดน้อยลงก็ควรจะต้อง
เพิ่มมุมพับม้วนสายพานให้มากขึ้นและเพิ่มสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทาน µ ให้มากขึ้นด้วย

ภาพที่ 2.1 แสดงการกวดสายพานให้แน่นตึง

สมการที่ 39 มีขอบเขตจํากัดในขณะใช้งานคือ
F1
< e µα (40)
ูมิ
ร.ส พ.
F2
ณภ
โดยสายพานจะยังไม่ลื่นไถลตกออกมาล้อสายพาน วิธีคาํ นวณหาค่าแรงดึงสู งสุ ดใน
มท สว

สายพาย จึงต้องทราบค่าแรงขัยที่ขอบล้อสายพานโดยใช้สมการที่ 40 นี้ช่วยคํานวณ


ุวรร

1
F1 = FU µα
(41)
e −1
วิธีคาํ นวณค่าแรงดึงที่หัวสายพาน F 3 และ F 4 จากภาพที่ 2.24 สามารถคํานวณได้จาก
สมการที่ 40 และสมการที่ 41 ดังนี้
F3 = F4
F3 = F 2 + F WU (42)

F WU = ƒ ges .L. (G B +G RU )
(43)
แล่นของชุดลูกกลิ้งมีสายพานต่าง ๆ ชุดบนและชุดล่างรวมกัน
FU = F WU + F WO (44)

พึงสังเกตจากรู ปที่ 2.24 ว่าแรงขับที่ขอบล้อสายพาน FU นั้นมีค่าเท่ากับแรงด้านทาน


ปกติทว่ั ๆ ไป ค่าความต้านทานมีอตั ราส่ วนดังนี้
17

FWO
= 4:7
FwU
เมื่อ
F1 คือ ค่าแรงดึงสูงสุ ดในเนื้อสายพาน มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
F2 คือ แรงดึงสายพานค่าน้อยที่สุด ณ ล้อกลับสายพาน
มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
F3 คือ แรงดึงสายพาน ณ ล้อกลับสายพานด้านล่าง
มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
F4 คือ แรงดึงสายพาน ณ ล้อกลับสายพานด้านบน
มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
F WU คือ แรงต้านทานแล่นที่ลูกกลิ้งสายพานชุดล่าง
มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
ƒ ges คือ สัมประสิ ทธิ์แรงอัดรวม

ูมิ
ร.ส พ.
L คือ ความยาวการขนถ่าย มีหน่วยเป็ นเมตร
ณภ
GB คือ นํ้าหนักสายพานต่อเมตร มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตันต่อเมตร
มท สว

G RU คือ นํ้าหนักลูกกลิ้งสายพานส่ วนล่างขณะหมุนใช้งาน


ุวรร

มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตันต่อเมตร
F WO คือ แรงต้านทานแล่นที่ลูกกลิ้งสายพานชุดบนมีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน

ภาพที่ 2.2 แสดงไดอะแกรมภาระแรงที่ปรากฏบนระนาบสายพาน


18

2.7กําลังขับระบบสายพาน
วิธีคาํ นวณขนาดกําลังขับระบบสายพานนั้นกระทําได้หลายวิธี ซึ่งวิธีที่ถูกต้องแน่นอน
ที่สุด คือการคํานวณหาความต้านทานของแต่ละตัวต่อการขนถ่ายในระบบทั้งหมดแล้วนํามารวมกัน
แต่วิธีดงั กล่าวจะต้องคํานวณหาค่าต่าง ๆ มากมายและยุง่ ยากมาก วิธีที่สะดวกกว่าคือ คํานวณด้วย
สมการที่กาํ หนดไว้ในมาตรฐานเยอรมัน DIN 22101 ซึ่ งจะต้องคํานวณหาค่าแรงขับที่ลอ้ ขับ
สายพาน FU ในค่าของ FU นี้จะรวมค่าความต้านทานแล่นของสายพานเส้นบนกับเส้นล่างไว้ดว้ ย
หากเป็ นสายพายลาดเอียงจะต้องพิจารณาระบบขับลาดเอียงของทั้งสายพานและวัสดุขนถ่ายเพิ่มขึ้น
อีกเป็ นพิเศษด้วย
IG I .H
FU = ƒ ges .L. (G m + ± G ) (45)
3600.V 3600.V
เมื่อ
F U คือ แรงขับที่ขอบล้อสายพานมีหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
ƒ ges คือ สัมประสิ ทธิ์แรงจับรวม
G m คือ
ูมิ
นํ้าหนักของสายพานต่อเมตร และนํ้าหนักของลูกกลิ้งหมุน
ร.ส พ.
ณภ
(ทั้งบนและล่าง) มีหน่วยเป็ นกิโลนิวตันต่อตารางเมตร
มท สว

IG คือ นํ้าหนักปริ มาณวัสดุขนถ่าย มีหน่วยเป็ นกิโลนิตนั ต่อชัว่ โมง


ุวรร

V คือ ความเร็ วแล่นขนถ่าย มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที


L คือ ความยาวระบบขนถ่าย วัดเป็ นความยาวฉายในแนวตรง
มีหน่วยเป็ น เมตร
H คือ ช่วงสูงที่ตอ้ งขนถ่ายสูงขึ้น (+สู งชันขึ้น), (-ลดตํ่าลง)

ƒ ges = ƒ.C (46)


เมื่อ
ƒ คือ แฟคเตอร์ แรงเสี ยดทาน คิดเป็ นค่าความต้านทานไหลรวมจากค่าความ
ต้านทานของวัสดุขนถ่ายและแรงเสี ยดทานณ ลูกกลิ้งรับภาระ
C คือ สัมประสิ ทธิ์ ระบบสายพาน สุ ดแต่ความยาวของระบบสายพานนั้น ๆ
สัมประสิ ทธิ์ นี้ ครอบคลุมถึงค่าความต้านทานไหลอื่น ๆ ได้แก่ ความต้านทานขณะสายพานพับม้วน
กลับที่ลอ้ สายพาน
ปกติเรามักคํานวณเพียงค่า PV หรื อค่ากําลังที่จะพอดีขบั ให้สายพานแล่นได้ขณะ
นํ้าหนักสู งสุ ด ส่ วนค่ากําลังขับที่ใช้เร่ งสายพานให้เร็ วขึ้นส่ วนมากไม่ตอ้ งคํานวณหาและทิ้งไปได้
ด้วยลักษณะมอเตอร์ได้สร้างเพื่อข้อนี้ไว้
19

3.ทฤษฎีเกีย่ วกับพูลเล่ย์
พูลเล่ยเ์ ป็ นชิ้นส่ วนเครื่ องจักรที่ใช้งานร่ วมกับสายพาน ลักษณะรู ปร่ างของพูลเล่ยท์ ี่ใช้ก็
จะขึ้นกับลักษณะของสายพานชนิดนั้น ๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
พูลเล่ยส์ ายพานแบน เป็ นพูลเลย์ที่ใช้คู่กบั สายพานแบนทําจําหล่อ เหล็ก กล้า โลหะเบา
พลาสติก หรื อไม้ บนผิวบ้อที่สมั ผัสกับสายพานจะต้องลื่นมิเช่นนั้นจะทําให้สายพานสึ กหรอเร็ วมาก
โดยให้มีความหยาบของผิวอยูร่ ะหว่าง 4 ถึง 10 Um พูลเล่ยแ์ บบรู ปโค้งและพูลเล่ยแ์ บบถอดแยกได้
เป็ น 2 ชิ้นได้
พูลเล่ยส์ ายพานลิ่ม ตามมาตรฐานของ DIN 2217 พูลเล่ย ์ สายพานที่ลิ่มจะแบบร่ องเดียว
หรื อหลายร่ อง มุมรวมของร่ องล้อมพูลเล่ยส์ ายพานลิ่มเท่ากับ 32 องศา 34 ลิปดาและ 38 องศา โดย
ล้อพูลเล่ยท์ ี่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโตกว่า จะมีมุมร่ องล้อพูลเล่ยท์ ี่โตกว่า ร่ องล้อพูลเล่ยท์ ี่โตกว่า
ร่ องล้อพูลเล่ยจ์ ะมีการผลิตให้สายพานที่สวมประกอบแล้วไม่เลยพันจากขอบร่ องล้อ และจะต้องไม่
จมอยู่ในร่ องล้อไม่เช่ นนั้นสายพานจะสู ญเสี ยปฏิกิริยา แรงลิ่มขัน ลักษณะของพูลเล่ยส์ ายพานลิ่ม
ลักษณะ

ูมิ
ร.ส พ.
พูลเล่ยส์ ายพานฟั นเฟื อง พูลเล่ยแ์ บบนี้มีลกั ษณะคล้ายกับเฟื องสําหรับเป็ นตัวสัมผัสกับ
ณภ
มท สว

สายใช้ในการส่ งกําลังระยะฟิ ตช์ฟันเฟื องของพูลเลย์สายพานฟันเฟื องมีลกั ษณะโครงสร้าง


ุวรร

4. ทฤษฎีเกีย่ วกับการออกแบบเพลา
เพลาเป็ นชิ้ นส่ วนเครื่ องมือกล ที่มีความสําคัญของระบบส่ งผ่านกําลัง กําลังที่ส่งผ่าน
เพลาอยู่ในรู ปของ โมเมนต์แรงบิด (Torque) ในการส่ งกําลังผ่านระหว่างเพลาหนึ่ งไปยังอีกเพลา
หนึ่ งจําเป็ นต้องอาศัยตัวกลาง เช่น เฟื อง โซ่ สายพาน ฯลฯ ดังนั้นจึงเกิดแรงซึ่ งเกิ ดจากการขบกัน
ของเฟื อง แรงเนื่ องจากการฉุ ดของโซ่ หรื อแรงดึงของสายพานมากระทําต่อเพลาอันเป็ นผลให้เกิด
โมเมนต์ดดั (Bending moments) ขึ้นบนเพลาด้วย ดังนั้นขณะที่เพลาทําหน้าที่ส่งผ่านกําลังเพลาจะ
รับทั้งโมเมนต์บิดและโมเมนต์ดดั พร้อมๆกัน

ภาพที่ 4.1 รู ปร่ างลักษณะของเพลา


20

เนื่ องจากว่าเพลาเป็ นชิ้นส่ วนที่มีอยูใ่ นเครื่ องจักรกลเกือบทุกชนิ ด ดังนั้นจึงสมควรที่


จะได้พิจารณาถึงการออกแบบเพลา โดยเฉพาะเพลาอาจมีชื่อเรี ยกแตกต่างกันไปตามลักษณะของ
การใช้งานดังต่อไปนี้ คือ
1) เพลา (Shaft) เป็ นชิ้นส่ วนที่มีการหมุนและใช้ในการส่ งกําลัง
2) แกน (Axle) เป็ นชิ้นส่ วนลักษณะเดียวกันกับเพลาแต่ไม่มีการหมุน ส่ วนมากเป็ นตัว
รองรั บชิ้ นงานที่ หมุน เช่ น ล้อ ล้อสายพาน เป็ นต้น อย่างไรก็ตามทั้งเพลา และแกนที่ นิยมเรี ยก
รวมกันว่า “เพลา” ไม่วา่ ชิ้นส่ วนนั้นจะหมุนหรื อหยุดนิ่งก็ตาม
3) สพินเดิล(Spindle) เป็ นขนาดสั้นที่ไม่หมุน เช่น เพลาที่แท่นหัวกลึง (Head-Shock
Spindle) เป็ นต้น
4) สตับซาฟต์(Stub Shaft) หรื อบางครั้งเรี ยกว่า เฮดซาฟต์(Head-Shaft) เป็ นเพลาที่ติด
เป็ นชิ้นส่ วนต่อเนื่ องกับเครื่ องยนต์ มอเตอร์ หรื อเครื่ องต้นกําลังอื่น ๆ มีขาดรู ปร่ างและส่ วนที่ยื่น
ออกมาสําหรับใช้ต่อกับเพลาอื่น ๆ
5) เพลาแนว (Line Shaft) หรื อเพลาส่ งกําลัง (Power Transmission Shaft) หรื อเพลา

ูมิ
ร.ส พ.
เมน (Main Shaft) เป็ นเพลาซึ่งต่อตรงจากเครื่ องต้นกําลัง และใช้ในการส่ งกําลังไปยังเครื่ องจักรกล
ณภ
มท สว

อื่น ๆ โดยเฉพาะ
6) แจ๊คซาฟต์(Jack Shaft) หรื อเพลาเคาน์เตอร์ซาฟต์(Counter Shaft) เป็ นเพลาขนาดสั้น
ุวรร

ที่ต่อระหว่างเครื่ องต้นกําลังกับเพลาเมน หรื อเครื่ องจักรกล


7) เพลาอ่อน (Flexible Shaft) เป็ นเพลาที่สามารถอ่อนตัวหรื อโค้งให้ เพลาประเภทนี้ทาํ
ด้วยสายลวดใหญ่ (Cable) ลวดสปริ งหรื อลวดเกลียว (Wire Rope) ใช้ในการส่ งกําลังในลักษณะที่
แกนหมุนทํามุมกันได้ แต่ส่งกําลังได้นอ้ ย
8) เพลาอาจจะรับแรงดึ ง แรงกด แรงบิด หรื อแรงตัด หรื อแรงหลายอย่างรวมกันได้
ดัง นั้น การคํานวณจึ งต้อ งใช้ค วามเค้น ผสมเข้า ช่ ว ย แรงเหล่ า นี้ ยัง อาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงขนาด
ตลอดเวลา ทําให้เพลาเสี ยหายเพราะความล้าได้ ฉะนั้นจึ งต้องออกแบบเพลาให้มีความแข็งแรง
เพียงพอสําหรับการใช้งานในลักษณะนี้ นอกจากนั้นเพลาะยังจะต้องมีความแข็งแกร่ ง (Rigidity)
เพียงพอเพื่อลดมุมบิดภายในเพลาให้อยูใ่ นขีดจํากัดที่พอเหมาะ ระยะโก่ง (Deflection) ของเพลาก็
เป็ นสิ่ งสําคัญในการกําหนดขนาดของเพลาเช่นเดียวกัน เพราะถ้าเพลามีระยะโก่งมากก็จะเกิดการ
แกว่งขณะหมุน ทําให้ความเร็ ววิกฤต (Critical Speed) ของเพลาลดลง ซึ่ งอาจทําให้เพลามีการสั่น
อย่างรุ นแรงในขณะที่ความเร็ วของเพลาเข้าใกล้ความเร็ ววิกฤตนี้ ได้ ระยะโก่งนี้ ยงั มีผลต่อการเลือก
ชนิดของที่รองรับเพลา เช่น บอลแบริ่ ง(Ball Bearing) ก็ตอ้ งมีการเยื้องแนว (Misalignment) ในการ
ใช้งานที่พอเหมาะกับเพลาด้วย
21

4.1 วัสดุเพลา
วัสดุที่ใช้ทาํ เพลาโดยทัว่ ไป คือ เหล็กกล้าละมุม (Mild Steel) แต่ถา้ ต้องการให้มีความ
เหนี ยว และความหนาทนทานต่อแรงกระตุกเป็ นพิเศษแล้วมักจะใช้เหล็กกล้าผสมโลหะอื่น เพื่อใช้
ทําเพลา เช่น 17Cr3 16MnCr5 20MnCr5 ตาม DIN EN 10084 เป็ นต้น เพลาที่มีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางโต กว่า 90 มม. มักจะกลึงมาจากเหล็กกล้าคาร์บอน ซึ่ งผ่านการรี ดร้อน อย่างไรก็
ตามเพื่อให้เพลามีราคาถูกที่สุด ผูอ้ อกแบบควรพยายามเลือกใช้เหล็กกล้าคาร์ บอนธรรมดาก่อนที่จะ
เลือกใช้เหล็กกล้าชนิดอื่น

4.2 ขนาดของเพลา
เพื่อให้เพลามีมาตรฐานเหมือนกัน องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศจึงได้กาํ หนด
มาตรฐานของเพลา ซึ่ งเป็ นขนาดระบุ (Normal Size) ใน ISO/R 775-1969 เอาไว้ให้สาํ หรับ
ผูอ้ อกแบบเลือกใช้ ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถซื้ อได้ทว่ั ไป นอกจากนี้ ยงั เป็ นขนาดที่สอดคล้องกับขนาด
ของแบริ่ งที่ใช้รองรับเพลาด้วยขนาดระบุของเพลา

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว

4.3การพิจารณาในการออกแบบเพลา
การคํานวณหาขนาดเพลาที่เหมาะสมนั้นขึ้นอยูก่ บั ลักษณะการใช้งานในบางครั้งการหา
ุวรร

ขนาดเพลาเพื่อให้เพลาทนต่อแรงที่มากระทําอย่างเดียวไม่เป็ นการเพียงพอ เช่ น ในกรณี เพลาลูก


เบี้ยว ในเครื่ องยนต์สันดาปภายในต้องการให้มีตาํ แหน่งที่เที่ยงตรง ดังนั้นมุมบิดของเพลาที่เกิดขึ้น
ในขณะใช้งานจะต้องมีค่าไม่มากกว่าที่กาํ หนดไว้ เป็ นต้น นัน่ คือเพลาจะต้องมีความแข็งแรงอยูใ่ น
พิกดั ที่ตอ้ งการ ถ้ามุมบิดมากไปนอกจากจะเสี ยความเที่ยงตรงทางด้านตําแหน่งแล้วยังอาจก่อให้เกิด
ความสัน่ สะเทือน ซึ่งมีผลทําให้เฟื องหรื อแบริ่ งที่รองรับเพลาอยูเ่ กิดความเสี ยหายได้ง่ายถึงแม้ว่า ไม่
มี มาตรฐานสําหรั บพิกัดมุมบิ ดของเพลาไว้ก็ตามในทางปฏิบตั ิ แล้วมักจะให้มุมบิ ดของเพลาใน
เครื่ องจักรกลส่ งกําลังทัว่ ไปอาจจะให้มีมุมบิ ดได้ถึง 1Oต่ อความยาวเพลา 20 เท่าของขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางเพลา ในกรณี ของเพลาลูกเบี้ยวสําหรับเครื่ องยนต์สันดาปภายในแล้วจะให้มีมุมบิด
ได้ไม่เกิน 0.5Oตลอดความยาวของเพลาไม่เกิน 0.3Oต่อความยาวเพลา 1 เมตร สําหรับเพลาส่ งกําลัง
ทัว่ ไปอาจจะใช้มุมบิดได้ถึง 1Oต่อความยาว 20 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพลา
ความแข็งแรงที่สาํ คัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ ความแข็งแกร่ งทางด้านระยะโก่ง เพราะต้องใช้
ระยะโก่ ง ของเพลาที่ อ ยู่ภ ายใต้แ รงภายนอกเป็ นสํา คัญ ในการกํา หนดระยะเบี ย ด (Clearance)
ระหว่างล้อสายพาน เฟื อง โครงของเครื่ องจักร ตลอดจนการเลือกชนิดของแบริ่ งสําหรับรองรับเพลา
ให้เหมาะสม ถ้าเพลามีระยะโก่งมากเกินไปจะทําให้ความยาวของฟั นเฟื องส่ วนที่สัมผัสหรื อขบกัน
22

ลดลงเป็ นผลทําให้อตั ราการขบของเฟื องลดลง ทําอัตราการส่ งกําลังของเฟื องไม่ราบเรี ยบเท่าที่ควร


การเลื อกแบริ่ งมารองรั บเพลาก็เช่ นกัน จําเป็ นต้องเลื อกแบริ่ งชนิ ดที่ อนุ ญาตให้มีการเยื้องแนว
สําหรับการใช้งานได้พอเหมาะกับระยะโก่งของเพลาที่จะเกิดขึ้น ซึ่ งอาจจะเป็ นแบริ่ งแบบธรรมดา
หรื อแบริ่ งแบบปรับแนวได้เอง (Self Aligning Bearing) ทั้งนี้กข็ ้ ึนอยูก่ บั ค่าระยะโก่งเป็ นสําคัญ

4.4การออกแบบเพลาสํ าหรับภาระคงที่ (Static Load)


ในการคํานวณกําลังงานและภาระของเพลา สามารถคํานวณได้จากสูตร
ก. สู ตรหากําลัง P = 2 ⋅π ⋅T ⋅ n
60 × 1000
เมื่อ P = กําลัง (kw)
n = ความเร็ วรอบ (rpm)
T = โมเมนต์บิด (Nm)
ข. สู ตรสําหรับออกแบบเพลางาน
32 ⋅ M ⋅ α b
d =
ูมิ (สําหรับเพลารับความเค้นดัด)
ร.ส พ.
3
π ⋅α d
ณภ
มท สว

16 ⋅ T ⋅ α t
d = (สําหรับเพลารับความเค้นเฉือน)
ุวรร
3
π ⋅t d

d = 3
16
π ⋅t d
[
⋅ (M ⋅ α b ) + (T ⋅ α t )
2
]
2 1/ 2
(สําหรับเพลาความเค้นดัดและเฉือน)
αb = แฟคเตอร์แก้ไขโมเมนต์ดดั
α t = แฟคเตอร์ แก้ไขโมเมนต์บิด
ค. สู ตรการตรวจสอบความแข็งแรงของเพลา
1 + (R ⋅ α k − 1) ⋅η k
b =k
bo
βk = ค่าเผือ่ สําหรับ Stress Concentration
ηk = Factor สําหรับวัสดุ
R = Factor สําหรับความละเอียดผิว
αk = Factor สําหรับลักษณะ รู ปร่ าง
bo = Factor สําหรับขนาด
23

σ A = 0.46 ⋅ σ u
σ
σ AS = A
βk
32 ⋅ M
σb =
π ⋅d3
σ e = σ b2 ⋅ l ⋅ 3(τ )2
σA = ค่าความเค้นที่ยอมให้ใช้งานแบบสลับของวัสดุทาํ เพลา (N/mm2)
2
σ AS = ค่าความเค้นที่ยอมให้ใช้งานได้ของเพลา ณ บริ เวณต่างๆ (N/mm )
β k = ค่าเผือ่ สําหรับ Stress Concentration
2
σ e = ค่าความเค้นรวมบริ เวณตรวจสอบ (N/ mm )
ง. ค่าความปลอดภัย
σ AS
≥ 1.5-2.5
σe
ค่า 1.5-2.5 นี้คือ ค่าความปลอดภัย
σ AS
ูมิ
ร.ส พ.
Sf =
ณภ
σe
มท สว

Sf = ค่าความปลอดภัย
= ค่าความเค้นที่ยอมให้ใช้งานได้ของเพลา ณ บริ เวณต่าง ๆ (N/mm2)
ุวรร
σ AS
σe = ค่าความเค้นรวมบริ เวณตรวจสอบ (N/mm2)

4.5 การรับแรงของแบริ่ง
AFBMA (Anti-Friction Bearing Manufactures Association) ได้มีมาตรฐานเกี่ยวกับ
ความสามารถรับแรงของแบริ่ ง โดยไม่คาํ นึ งถึงความเร็ ว ซึ่ งเรี ยกว่า ความสามารถในการรับแรง
พื้นฐาน (Basic load rating) ความสามารถในการรับแรงพื้นฐาน C R มีความนิ ยามว่าเป็ น
ความสามารถของแบริ่ งที่รับแรงคงที่ทาง radial ได้ โดยหมุนวงแหวนวงในหนึ่ งล้านครั้งค่าหนึ่งล้าน
รอบเลือกใช้เพื่อให้คาํ นวณง่าย โรลลิ่งแบริ่ ง (Rolling beatings) หมายถึง แบริ่ งที่รับแรงโดยอาศัย
ชิ้นส่ วนของแบริ่ งที่มีลกั ษณะเป็ นผิวสัมผัสแบบกลิ้ง (Rolling contact) แทนที่จะเป็ นผิวสัมผัสแบบ
เลื่อน (Sliding contact) เนื่ องจากแบริ่ งชนิ ดนี้ มีค่าความเสี ยดทานน้อยมาก ซึ่ งประกอบด้วย วง
แหวนเหล็กกล้า 2 วง ที่แยกออกจากกัน ด้วยลูกกลิ้งทรงกลม ลูกกลิ้งเหล่านี้รับแรงมาจากวงแหวน
วงหนึ่ง แล้วส่ งแรงนี้ไปยังแหวนอีกวงหนึ่ง โดยการกลิ้งไปบนวงแหวน
24
1
 LD  n D  1  α
   
CR = F  LR  n R  6.84 
(47)
1
  1  1.17α

ln R 
  
โดยที่
LRnR คือ 106 (รอบ)
LD คือ จํานวนชัว่ โมงที่ใช้ออกแบบ (ชัว่ โมง)
ND คือ จํานวนรอบที่ใช้ในการออกแบบ (รอบต่อชัว่ โมง)
F คือ แรงที่แบริ่ งรับ (นิวตัน)
R คือ ความไว้วางใจได้
A คือ 3 สําหรับแบริ่ งกลุ่มหรื อ 10/3 สําหรับแบบริ่ งลูกกลิ้งตรง

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

ภาพที่ 4.2 แบริ่ งชนิดต่าง ๆ

เนื่ องจากมีการใช้แบริ่ งกันอย่างแพร่ หลายทัว่ ไป ทางสมาคมผูผ้ ลิตโรลริ่ งแบริ่ งจึงได้วาง


มาตรฐานการกําหนดขนาด และหลักเกณฑ์ที่จะใช้ในการเลือกแบริ่ งเหล่านี้ข้ ึน โดยได้วางมาตรฐาน
การรับแรงและอายุการใช้งานเอาไว้ ทําให้ผอู ้ อกแบบสามารถเลือกใช้ได้สะดวก ตัวแปรสําคัญอีก
อย่างหนึ่ งในการออกแบบ คือความเสี ยดทานในแบริ่ ง ซึ่ งที่จริ งในการทํางานความเสี ยดทานจะมี
ความสําคัญน้อยมาก แต่ทางทฤษฎี สามารถหากําลังงานที่สูญเสี ยไปกับความเสี ยดทานได้
25

5.ทฤษฎีเกีย่ วกับใบมีดตัด

รู ป5.1ลักษณะตัวจับใบมีด

ในการออกแบบชุดใบมีดสําหรับตักไม้โตเร็ วได้ทาํ การออกแบบให้มีมุมใบมีดเท่ากับ


30 และ 45 องศา มีขนาด กว้าง x ยาว x หนา เท่ากับ 180 mm x 80 mm x 20 mm รัศมีของชุด
ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
ประกอบใบมีดมีค่าเท่ากับ 0.2 m ความเร็ วรอบการตัดอยูท่ ี่ 8 rpm สามารถปรับเปลี่ยนใบมีดเพื่อลับ
มท สว

คมมี ดได้ง่าย ในการออกแบบได้ทาํ การพัฒนาจํานวนใบมีดจาก 2 ใบมีด เป็ น 4 ใบมีด เพื่อเพิ่ม


ุวรร
สมรรถนะในการตัดให้สูงขึ้น

รู ป5.2 ลักษณะใบมีดมุมใบมีด 30 และ 45 องศาของต้นแบบเครื่ องตัด


26

6.ทฤษฎีเกีย่ วกับเฟื อง
41 เฟื องหนอน (Worm Gears)เป็ นชุดเฟื องที่ประกอบด้วยเกลียวตัวหนอน (Worm) ซึ่งมี
ลักษณะของเกลียวที่วางอยู่บนก้านเกลียวตัวหนอน (Shank) เหมือนลักษณะของสกรู และเฟื อง
(Worm Wheel) ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นล้อเฟื องคล้าย ๆ กับเฟื องเฉี ยง (Helical Gear) แต่จะต่างกัน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตรงสันฟันเฟื องจะมีลกั ษณะเว้าเพื่อให้รับกับความโค้งของเกลียวตัวหนอน ดังรู ป
ที่ 14
แนวเพลาขับ (Worm Shaft) และเพลาตาม (Worm Wheel Shaft) ของเฟื องตัวหนอนจะ
ทํามุมกันที่มุมฉาก 90 องศา การทํางานของเฟื องตัวหนอนจะเงียบและมีแรงสั่นสะเทือนเกิดขึ้นน้อย
เนื่ องจากการส่ งถ่ายกําลังจากเฟื องขับไปยังเฟื องตามนั้นการส่ งถ่ายกําลังจะเป็ นไปในลักษณะของ
การลื่นไถล (Sliding)

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ป 6.1เฟื องหนอน (Worm Gears)

อัตราทดของเฟื องตัวหนอนสามารถทําได้มาก เนื่ องจากลักษณะเฉพาะทางรู ปแบบของ


เฟื อง โดยอัตราทดสามารถคํานวณได้จากระยะห่ างระหว่างศูนย์กลางของก้านเกลียวตัวหนอน
(Shank) ถึงศูนย์กลางของเฟื อง (Worm Wheel) หรื อที่เรี ยกว่าระยะห่ างระหว่างศูนย์กลาง (Center
Distance) โดยถ้า Center Distance ยิง่ มากแสดงว่าอัตราทดของเฟื องจะยิ่งมาก ซึ่ งในบางชุดเฟื อง
อาจทดมากกว่า 1 ชุด โดยอาจเป็ นสองหรื อสามชุด ในการส่ งถ่ายกําลังของเฟื องตัวหนอนนั้นความ
เค้นที่เกิดขึ้นบนผิวฟันเฟื องจะมากกว่าเฟื องแบบเฟื องตรงหรื อแบบเฟื องเฉี ยง อัตราทดของเฟื องตัว
หนอน (Worm Gear Ratio)สามารถคํานวณได้จากสมการ
27

mw = NG
NM (48)
โดยที่ mw คือ อัตตราทดเฟื องของตัวหนอน
ww คือ ความเร็ วเชิงมุมของสกรู หนอน เรเดียน/นาที
wG คือ ความเร็ วเชิงมุมของเฟื องเกียร์ เรเดียน/นาที
NG คือ จํานวนฟันของเกียร์
NW คือ จํานวนฟันของสกรู

ลักษณะเฉพาะของเฟื องตัวหนอนโดยสรุ ปได้มีดงั นี้คือ


* สามารถทําอัตราทดได้สูงโดยการเพิ่มความห่ างของระยะห่ างระหว่าง
ศูนย์กลาง (Center Distance)
* ขณะทํางานจะมีความเงียบและการสัน่ สะเทือนน้อย

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ป6.2แบบของเฟื องชนิดต่าง ๆ
28

สรุปเรื่องชนิดของเฟื อง
41

จากรายละเอียดเรื่ องชนิ ดของเฟื องที่ผ่านมา คงจะทําให้ผอู ้ ่านมีความเข้าใจเรื่ องเฟื อง


ขึ้นมาไม่มากก็นอ้ ย แต่ในการแบ่งประเภทของเฟื องยังมีการแบ่งอีกอย่างหนึ่ งคือลักษณะของฟั น
และแนวหรื อการจัดวางของเพลาดังรายละเอียดในตาราง
รู ปแบบของเฟื องชนิดต่าง ๆ ตามประเภทของฟันและการจัดวางเพลา
แบบของฟัน การจัดวางของเพลา
ฟันตรง (Spur) ขนาน
ฟันเฉี ยง(Helical) ขนานง, เยื้อง
ตัวหนอน(Worm) เยื้อง
ดอกจอก(Bevel) ตัดกัน(Intersecting)
ไฮปอยด์(Hypoid) เยื้อง

7.ทฤษฎีการตัด
ูมิ
ร.ส พ.
ความเร็วตัด (Cutting Speeds) ความเร็วรอบ (Speeds) และอัตราป้อน (Feeds)
ณภ
มท สว

ความเร็ วตัดหมายถึงความเร็ วที่คมมีดตัดปาดผิวโลหะออกเมื่อชิ้นงานหรื อมีดตัดหมุน


ไปครบ1 รอบมีหน่วยวัดเป็ นเมตรต่อนาที (ม./นาที: m pm) หรื อฟุตต่อนาที(ฟุต/นาที : f pm)
ุวรร

ความเร็ วรอบหมายถึงความเร็ วที่ชิ้นงานหรื อมีดตัดหมุนรอบต่อหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วย


วัดเป็ นรอบต่อนาที(R PM = revolutions per minute)
ความเร็ วตัดเป็ นมาตรฐานที่กาํ หนดมาให้ตามลักษณะของมีดตัดชนิ ดของวัสดุความลึก
ในการป้ อนกินวัสดุทาํ มีดตัดและวิธีการหล่อเย็นที่เหมาะสม
อัตราป้ อนหมายถึงระยะการป้ อนชิ้นงานหรื อมีดตัดเข้าหาชิ้นงานเมื่อชิ้นงานหรื อมีดตัด
หมุนครบหนึ่งรอบมีหน่วยวัดเป็ นมม./รอบหรื อฟุต/รอบ
ความเร็ วขอบ (Surface speed) คือความเร็ วแล่นของจุดใดจุดหนึ่งบนผิวงานซึ่งมีใช้ใน
การหมุนของมูเล่ (Flywheel) ล้อหิ นเจียระไนมีหน่ วยวัดเป็ นเมตรต่อวินาทีซ่ ึ งงานเหล่านี้ จะต้อง
หมุนเร็ วมากแต่ความเร็ วขอบเมื่อมาใช้กบั งานกัดงานกลึงงานใสจะเรี ยกว่าความเร็ วตัดมีหน่ วยวัด
เป็ นเมตรต่อนาที
สู ตรที่ใช้คาํ นวณความเร็ วขอบก็คือสู ตรคํานวณความเร็ วตัดนัน่ เองแต่คูณด้วย 60 เพื่อ
เปลี่ยนเวลาเป็ นวินาที
ความเร็ วขอบ (V) (ม./วินาที) = π x d (มม.) x n(รอบ/นาที)
1000 x 60
บทที3่
วิธีการดําเนินโครงงาน

การศึกษาในครั้งนี้เป็ นการศึกษา เพื่อสร้างเครื่ องสับหัน่ ข้าวโพดเพื่อนําไปช่วยเกษตรกร


ในการเลี้ยงหมู ไก่ วัว ซึ่งมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้
3.1 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
3.3 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

3.1 การศึกษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง


การสร้างเครื่ องสับหั่นข้าวโพดผูศ้ ึกษาได้ทาํ การศึกษาปั ญหาที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรใน
การเลี้ยงหมู ไก่ วัว เกี่ยวกับขั้นตอนการทําอาหารสัตว์ และวัตถุดิบในการทําอาหารสัตว์ หลักการ

ูมิ
ร.ส พ.
ออกแบบสร้างเครื่ องสับหัน่ ข้าวโพด ซึ่งประกอบด้วยความหมาย องค์ประกอบ วิธีการสร้างและ
ณภ
มท สว

ประโยชน์ของการสร้างเครื่ องสับหัน่ ข้าวโพด


ุวรร

3.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการศึกษา


เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด คือ เครื่ องสับหัน่ ข้าวโพดและ
ข้าวโพด
3.2.1 เครื่องสั บหั่นข้ าวโพด
เครื่ องสับหัน่ ข้าวโพดใช้สาํ หรับหัน่ ต้นข้าวโพด เพื่อที่จะนําไปเป็ นอาหารของสัตว์เลี้ยง
ของเกษตรกร ซึ่งมีข้ นั ตอนในการสร้างเครื่ องสับหัน่ ข้าวโพดดังนี้
30

3.2.2 ขั้นตอนการดําเนินงาน

เริ่ ม

ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ออกแบบเครื่ องสับต้นข้าวโพด

คํานวณแบบเครื่ องสับต้นข้าวโพด

ดําเนินการสร้างเครื่ อง

ทําการทดลอง
ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร
แก้ไขปรับปรุ ง

ทําการทดลอง

วิเคราะห์ขอ้ มูล

จัดทําเล่มงานวิจยั

แผนภูมที่ 3-1 แสดงขั้นตอนการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด


31

จากแผนภูมิที่ 3-1 แสดงขั้น ตอนการออกแบบและการสร้ างเครื่ องสับต้นข้าวโพด


เริ่ มต้นด้วยการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด ทําการออกแบบและ
เขียนแบบ นําแบบเสนอผูเ้ ชี่ ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิ งประจักษ์อีกครั้ ง จึงค่อยทําการ
สร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพดจากนั้นทดลองการใช้งานและให้ผเู ้ ชี่ยวชาญประเมินผล
3.2.3 แบบประเมินคุณภาพ
แบบประเมิ น คุ ณ ภาพ ผูศ้ ึ ก ษาเลื อ กใช้แ บบสอบถามระดับ ความคิ ด เห็ น จากกลุ่ ม
ตัวอย่าง ซึ่งมีข้นั ตอนในการสร้างเครื่ องสับหัน่ ข้าวโพด

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร
32

การคํานวณทางวิศวกรรม

อัตราการหมุนและทฤษฎีการคํานวณ
N4 N3

N2

16

N1 2 หมุนด้วยความเร็ว 4000 รอบ/นาที (D1)

ูมิ
ร.ส พ.
สมการหาความเร็วและอัตราการทดแบบสายพาน
ณภ
D1 x D2 = D2 x N2
มท สว

D2 = (D1 x N1)
ุวรร

N2
D2 = 2 x 4000
16
D2 = 500 รอบ/ต่อนาที ANS
33

อัตราการทดเฟื องตัวหนอน

N4 20 ฟันเฟื อง
4 ฟันเฟื อง 20 รอบ/นาที
N3 20 ฟันเฟื อง

mGW = NG
NW
mGW = 4
20
N3 = 0.2

N4 =
ูมิ N3 x D2
ร.ส พ.
ณภ
มท สว

N4 = 0.2 x 500
ุวรร

N4 = 100 รอบ/นาที ANS

คํานวณหาความเร็วตัดของเครื่องตัด
หาความเร็วของใบมีด
กําหนดให้
d = 260 มิลลิเมตร
N = 20 รอบ/นาที
V = πxdxn
1000
V = 3.14 x 260 x 500
1000
ความเร็ วตัด = 408.2 เมตร/นาที ANS
บทที่ 4
รายงานผลการดําเนินงาน

งานวิจยั นี้ เป็ นการดัดแปลงและซ่อมบํารุ งเพื่อใช้ในการผลิตและลดขั้นตอนต่างๆ จึงได้


สร้ างเครื่ องนี้ และได้ผ่านการทดลองและบัน ทึ กข้อมูลไว้ เพื่อทําการวิเ คราะห์ แ ละระบุ ผลของ
โครงการสร้างของเครื่ องนี้ การวิเคราะห์และการทดลองจําแจกได้ดงั นี้
4.1 วิเคราะห์ผลการทดลองของเครื่ องสับต้นข้าวโพด
4.2 วิเคราะห์หาประสิ ทธิภาพของเครื่ องสับต้นข้าวโพด
4.3 สรุ ปผลอภิปรายผลการทดลอง

4.1 วิเคราะห์ ผลการทดลองของเครื่องสั บต้ นข้ าวโพด


ในการทดลองการทํางานของเครื่ องสับต้นข้าวโพดมีวิธีการทดลองดังนี้

ูมิ
ร.ส พ.
4.1.1 เปิ ดสวิตช์ไปยังตําแหน่ง ON ทําการสตาร์ตเครื่ อง
ณภ
มท สว

4.1.2 ใส่ ตน้ ข้าวโพดลงไปในเครื่ อง


4.1.3 เช็ดปริ มาณต้นข้าวโพดที่สบั แล้ว
ุวรร

4.1.4 นําข้าวโพดที่สบั แล้วไปจัดเก็บ


4.1.5 ทําการทดลองต่อไปจนกว่าจะมีประสิ ทธ์ภาพตามที่ตอ้ งการ
การทดลองของเครื่ องสับต้นข้าวโพด เพื่อให้ตน้ ข้าวโพด เล็กหรื อบ่น ช่วยลดการต้น
ข้าวโพดของเกษตรกรและช่วยลดค่าใช้จ่ายของเกษตรกรของผูท้ ี่เลี้ยงสัตว์อีกด้าน เพื่อเปรี ยบเทียบ
กับต้นข้าวโพด ที่ยงั ไม่ได้สับย่อยแล้วและจะใช้พ้ืนที่จดั เก็บน้อยกว่า 50 % ทําให้มีการย้ายหรื อ
จัดเก็บทีละมากๆ จากจุดที่ทาํ ให้ช่วยลดต้นทุนในการขนย้าย จากการทดสอบเครื่ องต้นข้าวโพด
หน้าทําให้เ คลื่ อนย้ายเก็บต้นข้าวโพดมากจากการขนย้ายต้นข้าวโพดที ละ 20 กก. ทดลองแล้ว
สามารถขนย้ายได้ทีละ 40 – 50 ก.ก.นอกจากนี้ สามารถนําต้นข้าวโพดไปจําหน่ ายได้ใน ก.ก.5–1
บาท
35

4.2 วิเคราะห์ หาประสิ ทธิภาพของเครื่องสั บต้ นข้ าวโพด


ตารางที่ 4.2.1 ตารางผลการทดลองการสับต้นข้าวโพด

นาที กิโลกรัม
1 8.3
5 41.6
10 83.3
30 250
60 500

กราฟที่ 4.2.2 กราฟแสดงผลการทดลองการสับต้นข้าวโพด


ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร
36

ตารางที่ 4.2.3 ตารางการเปรี ยบเทียบการสับด้วยมือและการสับด้วยเครื่ อง

ลําดับ เวลา ผลจากการหัน่ ผลจากการหัน่ ปริ มาณคน ปริ มาณคน ความแตกต่าง


ครั้ง (นาที) ด้วยมือ ด้วยเครื่ อง จากการสับ การสับด้วย ของปริ มาณ
(ก.ก.) (ก.ก.) ด้วยมือ เครื่ อง คน
1 1 3 8.3 1 1 -
2 10 30 83.3 1 1 -
3 60 180 500 1 1 -

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ 7.1 ต้นข้าวโพดหลังทําการหัน่ ด้วยเครื่ อง

4.3สรุปผลอภิปรายผลการทดลอง
สรุ ปผลการทดลอง
สรุ ปผล เครื่ องสับต้นข้าวโพด สามารถสับต้นข้าวโพดได้และช่วยประหยัดพื้นที่
ในการจัดเก็บ ค่าขนส่ ง และเพิ่มราคารายได้แก่ เกษตรกรผูเ้ ลี้ ยงสัตว์ ทําให้เกษตรกรคุ ม้ ค่ากว่า
อาหารสัตว์ที่สง่ั ซื้อ อีกการใช้การสนับสนุนในการผลิตครั้งต่อๆไป
บทที่ 5
สรุปผลและข้ อเสนอแนะ

ในการดําเนิ นงานวิจยั เมื่อสิ้ นสุ ดระยะเวลาในการดําเนินงานแล้วจําเป็ นต้องสรุ ปผลที่ดี


ได้จากการดําเนิ นงานตามงานวิจยั ผลสรุ ปของงานวิจยั ครั้งนี้ ได้กล่าวถึงผลของการตรวจสอบ
วิเคราะห์ โครงการสร้ างเครื่ องสับต้นข้าวโพด ตั้งแต่การขึ้นโครงสร้างจนเสร็ จสมบูรณ์ ซึ่ งคณะ
ผูจ้ ดั ทําคาดว่าคงเป็ นประโยชน์แก่ผทู ้ ี่สนใจดําเนิ นงานด้านการผลิต โครงการเครื่ องสับต้นข้าวโพด
เพื่อเป็ นการลดเวลา ค่าใช้จ่ายของเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสัตว์ การดําเนินการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพดได้
จัดดําเนินโครงการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
5.1 จุดประสงค์ของงานวิจยั การสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด
5.2 ปั ญหาของการดําเนินการ
5.3 ผลการดําเนินงานการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด

ูมิ
ร.ส พ.
5.4 อภิปรายการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด
ณภ
มท สว

5.5 ข้อเสนอแนะ
ุวรร

5.1 จุดประสงค์ ของงานวิจยั การสร้ างเครื่องสั บต้ นข้ าวโพด


5.1.1 เพื่อพัฒนาเครื่ องสับต้นข้าวโพด
5.1.2 เพื่อลดค่าใช้จ่ายอาหารสัตว์
5.1.3 เพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุการสับต้นข้าวโพดด้วยมือ

5.2 ปัญหาของการดําเนินงาน
ในการจัดทํางานวิจยั การออกแบบและสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด ตามมาตรฐานที่
ต้องการได้พบข้อมูลและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดําเนินงานขึ้นในครั้งต่อไป
5.2.1 ด้านวัสดุจะนํามาสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด อยูใ่ นช่วงพิจารณาจัดซื้อ
5.2.2 เครื่ องสับต้นข้าวโพด มีข้ นั ตอนการสร้างที่ค่อนข้างยุง่ ยาก
5.2.3 การวางแผนในการสร้ างเครื่ องสับต้นข้าวโพด บางครั้ งไม่สามารถปฏิบตั ิตาม
แผนที่วางไว้จึงเกิดความล่าช้า
38

5.3 ผลการดําเนินงานสร้ างเครื่องสั บต้ นข้ าวโพด


ในการดําเนิ นงานสร้ างเครื่ องสับต้นข้าวโพด ผูจ้ ดั ทําได้ดาํ เนิ นงานได้กิจกรรมต่างๆ
จากผลงานการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด ทําให้ปรากฏดังนี้
5.3.1 ผลที่ได้จากการสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด การดําเนินงานเป็ นไปตามจุดประสงค์
ของปริ ญญานิพนธ์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่เรี ยบเรี ยงไว้ในบทที่2
5.3.2 ได้ต ัว อย่ า งการทดสอบทางการคํา นวณของเครื่ อ งยนต์ก ารหาแรงขับ ของ
เครื่ องยนต์ประสิ ทธิภาพของเครื่ องสับต้นข้าวโพด
5.3.3ได้ผลการทดลองและการบันทึกสรุ ปผลการหาประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องสับต้น
ข้าวโพด

5.4 อภิปรายการสร้ างเครื่องสั บต้ นข้ าวโพด


จากการดําเนิ นการโครงสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด สามารถทํางานได้ตามที่กาํ หนดใน
ปริ มาณที่ตอ้ งการโดยมีการจับเวลาในการทดลองของการสับต้นข้าวโพดแล้วกับสับต้นข้าวโพด ที่

ูมิ
ร.ส พ.
ยังไม่ได้ทาํ การสับเพื่อทําการเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพ
ณภ
มท สว

5.5 ข้ อเสนอแนะ
ุวรร

5.5.1 การทํางานของเครื่ องสับต้นข้าวโพด มีช่องใส่ ตน้ ข้าวโพดและใบมีดตัดควรมีการ


ตรวจสอบก่อนทําการสับต้นข้าวโพด
5.5.2 ก่อนการทํางานของเครื่ องสับต้นข้าวโพด ควรมีการตรวจสอบชุดควบคุมให้อยูใ่ น
สภาพพร้อมใช้งานทุกครั้ง
5.5.3 ในการสับต้นข้าวโพด ที่มีขนาดใหญ่เกินไปควรทําการลดขนาดก่อนเพื่อง่ายต่อ
การสับ
บรรณานุกรม

ผศ.ดร.บุรฉัตร ฉัตรวีระ. กลศาสตร์ ของแข็ง. คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,


กรุ งเทพมหานคร.
รศ.วุฒิชยั กปิ ลกาญจน์. กลไกลและพลศาสตร์ ของเครื่องจักรกล. ฟิ สิ กส์เซนเตอร์.
กรุ งเทพมหานคร,2533.

http://www.thailandindustry.com/guru/view.php?id=13479&section=9&rcount=Y

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร
ภาคผนวก ก.

ูมิ
ร.ส พ.
แสดงคุณสมบัติของวิศวกรรม
ณภ
มท สว
ุวรร
41

ภาคผนวก ก.
แสดงคุณสมบัติของวิศวกรรม

ตารางที่ ก.1 แสดงตัวประกอบใช้งาน


ตารางที่ ก.2 ภาระที่กระทํากับเพลา
ตารางที่ ก.3 ความเค้นออกแบบเพลา
ตารางที่ ก.4 ตัวประกอบรู ปร่ างเนื่องจากการสวมอัด ร่ องลิ่ม แหวนล็อค αk
ตารางที่ ก.5 ค่า α k บริ เวณตกบ่า
ตารางที่ ก.6 ค่า α k บริ เวณตกบ่า
ตารางที่ ก.7 บริ เวณรู เจาะ
ตารางที่ ก.8 ตัวประกอบขนาด bo
ตารางที่ ก.9 ตัวประกอบผิว R
ตารางที่ ก.10 ตัวประกอบวัสดุ η k

ูมิ
ร.ส พ.
ตารางที่ ก.11 ขนาดระบุเพลาตามมาตรฐาน ISO/R 775-1969
ณภ
มท สว

ตารางที่ ก.12 คุณสมบัติของเหล็กกล้าตามมาตรฐานเยอรมัน (DIN)


ตารางที่ ก.13 คุณสมบัติของเหล็กกล้าตามมาตรฐานเยอรมัน (DIN) (ต่อ)
ุวรร
42

ตารางที่ ก.1 แสดงตัวประกอบใช้ งาน

K1 สภาวะการทํางาน

1.3 งานเบา ทํางานคงที่

1.5 งานปานกลาง

2.0 งานหนักแรงกระตุก เปิ ด-ปิ ดบ่อยครั้ง

ตารางที่ ก.2 ภาระทีก่ ระทํากับเพลา

ชนิดของภาระ αb αt

ูมิ
ร.ส พ.
เพลาอยูน่ ่ิง
ณภ
มท สว

- แรงสมํ่าเสมอหรื อเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ 1.0 1.0


ุวรร

- แรงกระตุก 1.5-2.0 1.5-2.0

เพลาหมุน 1.5 1.0

- แรงสมํ่าเสมอหรื อเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ 1.5-2.0 1.0-1.5

- แรงกระตุกเบาๆ 2.0-3.0 1.5-3.0

- แรงกระตุกอย่างแรง
4
3


าร
างท
่ก
ี.3ค
วาม
เ้
คน
ออก
แบบ
เพล


วาม
เค
้น
ออก
แบบ เ
พลา
ไ่


ม่

องิ


่ เ
พลา

ม่

อง

ลม

αbd 0
.
6×σy 0
.
7×0
.
6×σy

0
.
4×σu 0
.
7×0
.
4×σu

αd 0
.
36×σy 0
.
7×0
.
36×σy

0
.
18×σu 0
.
7×0
.
18×σu


าร
างท
่ก
ี.4ต

วปร
ะกอ
บรป


ูา
งเ


นอง
จาก
การ
สวม

ัด่

องล


มแห
วนล

อคαk

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร
4
4


าร
างท
่ก
ี.5่

าαk บ

รเ
วณต
ก่
บา

ูมิ
ร.ส พ.

าร
างท
่ก
ี.6่

าαk บ

รเ
วณต
ก่
บา
ณภ
มท สว
ุวรร
4
5


าร
างท
่ก
ี.7บ

รเ
วณร

ูจา


าร
างท
่ก
ี.8ต

วปร
ะกอ
บขน
าดbo
ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร
46

ตารางที่ ก.9 ตัวประกอบผิว R

ความละเอียดของผิวงาน R

งานขัด 1

งานเจียระไน 1.1-1.3

งานกลึง 1.2-1.5

งานอัดขึ้นรู ป 1.3-2.2

ตารางที่ ก.10 ตัวประกอบวัสดุ η k

ูมิ
ร.ส พ.
วัสดุ
ณภ
ηk
มท สว

เหล็กเหนียว 0.6-0.1
ุวรร

เหล็กหล่อ 0.1-0.2
47

ตารางที่ ก.11 ขนาดระบุเพลาตามมาตรฐาน ISO/R 775-1969

ขนาดระบุของเพลาตามมาตรฐาน ISO/R 775-1969

ลําดับที่ ขนาดระบุ (มม.) ลําดับที่ ขนาดระบุ (มม.) ลําดับที่ ขนาดระบุ (มม.)

1 6 16 55 31 160

2 7 17 60 32 170

3 8 18 65 33 180

4 9 19 70 34 190

5 10 20 75 35 200

6 12
ูมิ
21 80 36 220
ร.ส พ.
ณภ
มท สว

7 14 22 85 37 240
ุวรร

8 18 23 90 38 260

9 20 24 95 39 280

10 25 25 100 40 300

11 30 26 110 41 320

12 35 27 120 42 340

13 40 28 130 43 360

14 45 29 140 44 380

15 50 30 150 45 400
48

ตารางที่ ก.12 คุณสมบัตขิ องเหล็กกล้าตามมาตรฐานเยอรมัน (DIN)

Material Elastics Tensile Yield Shear Modulus


Modulus Strength Strength Strength Rigidity

MN/m2 σu σy MN/m2

MN/m2 MN/m2

St 37 210 000 370 240 140 80 000

St 42 210 000 420 250 160 80 000

St 50 210 000 500 300 200 80 000

St 52 210 000 520 320 200 80 000

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว

ตารางที่ ก.13 คุณสมบัตขิ องเหล็กกล้าตามมาตรฐานเยอรมัน (DIN) (ต่ อ)


ุวรร

Material Elastics Tensile Yield Shear Modulus


Modulus Strength Strength Strength Rigidity

MN/m2 σu σy MN/m2

MN/m2 MN/m2

St 60 210 000 600 360 220 80 000

St 70 210 000 700 420 260 80 000

37 Mn Si 5 210 000 1000 750 280 80 000

Al Cu Mg 72 000 420 280 130 28 000


ภาคผนวก ข.

ูมิ
ร.ส พ.
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน
ณภ
มท สว
ุวรร
50

รู ปที่ ข-1 การตัดเหล็ก

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-2 วัดขนาดออกแบบชิ้นงาน


51

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว

รู ปที่ ข-3 เจียรไนชิ้นงาน


ุวรร

รู ปที่ ข-4 เชื่อมชิ้นงาน


52

รู ปที่ ข-5 ลูเล่ยแ์ ละผาคลอบใบมีด

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-6 ตัวดึงชิ้นงานเข้าไปในเครื่ อง


53

รู ปที่ ข-7 แบริ่ งและที่ใส่ ใบมีด

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-8 ใบมีด


54

รู ปที่ ข-9 รวมอุปกรณ์ทุกชิ้น

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-10 ที่ลากเครื่ อง


55

รู ปที่ ข-11 ประกอบชิ้นส่วนทุกชิ้น

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-12ทําการพ่นสี ตวั เครื่ อง


56

รู ปที่ ข-13 ทําการพ่นสี อะไหล่

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-14 ทําการพ่นสี เสร็ จแล้ว


57

รู ปที่ ข-15 ติดตั้งใบมีด

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-16 ติดตั้งเครื่ องยนต์


58

รู ปที่ ข-17 ติดตั้งสายพาน

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร

รู ปที่ ข-18 เติมนํ้ามัน


59

รู ปที่ ข-19 เครื่ องเสร็ จสมบูรณ์

ูมิ
ร.ส พ.
ณภ
มท สว
ุวรร
60

ประวัติผู้วจิ ัย

ชื่อ : นายกฤตภาส หอมระรื่ น


ชื่องานวิจัย : การออกแบบและสร้างเครื่ องสับต้นข้าวโพด
ประวัติ
ประวัติส่วนตัว
เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2513

ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2535 สําเร็ จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิค
สุ พรรณบุรี
พ.ศ.2538 สําเร็ จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง สาขาช่างยนต์ มหาวิทยาลัย
สยาม
ูมิ
ร.ส พ.
พ.ศ.2540 สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี อส.บ. สาขาวิศวกรรมเครื่ องกล มหาวิทยาลัย
ณภ
มท สว

เอเชียอาคเนย์
พ.ศ.2552 สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโท คอม. สาขาเครื่ องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ุวรร

พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ประวัติการทํางาน
พ.ศ.2546 ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต บริ ษทั ไทยออสโตรโมลค์
พ.ศ.2548 วิศวกร บริ ษทั นวสันต์เอ็นจิเนียร์ร่ิ ง
ปัจจุบนั อาจารย์สาขาวิศวกรรมเครื่ องกล คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลสุ วรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี

You might also like