You are on page 1of 19

159

หน่วยที่ 12
อัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟือง

สาระสาคัญ

การส่งกาลังด้วยเฟืองมีข้อดี เช่น ไม่มีการลื่นไถล และมีอัตราทดที่แน่นอน แต่มีข้อเสีย คือ ขาด


การยืดหยุ่นทาให้เกิดเสียงดัง และระยะห่างในการส่งกาลังระหว่างจุดศูนย์กลางของเพลาทั้งสองจะน้อย
กว่าการส่งกาลังด้วยสายพาน

สาระการเรียนรู้

1. การคานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟือง
2. การคานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟืองหนอนและเกลียวหนอน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. คานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟืองได้ถูกต้อง
2. คานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟืองหนอนและเกลียวหนอนได้ถูกต้อง
160

1. การคานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟือง
การส่งกาลังด้วยเฟืองเป็นการส่งกาลังที่อาศัยการขบกันของฟันเฟือง โดยส่งกาลังจากเฟืองขับไป
หมุนเฟืองตาม เฟืองส่งกาลังมีหลายชนิด เช่น เฟืองตรง เฟืองเฉียง เฟืองดอกจอก เฟืองสะพาน เฟือง
หนอน การเลือกใช้เฟืองส่งกาลังต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับการใช้งาน รวมถึงเฟืองเป็นการส่งกาลังที่มี
อัตราทดแน่นอนมากกว่าการส่งกาลังด้วยสายพาน แต่ ระยะห่างระหว่างเพลาขับกับเพลาตามขึ้นอยู่กับ
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเฟือง เช่น การส่งกาลังของกระปุกเกียร์รถยนต์ ชุดกล่องเฟืองของเครื่องกลึง

1.1 ระบบส่งกาลังด้วยเฟืองอัตราทดชั้นเดียว

การส่งกาลังด้วยเฟืองจะต้องประกอบด้วยเฟืองขับและเฟืองตาม เป็นการส่งกาลังขับฟันต่อฟัน
คือ เฟืองขับเคลื่อนที่ 1 ฟัน เฟืองตามจะเคลื่อนที่ 1 ฟันด้วย เพราะความเร็วขอบของเฟืองขับและ
เฟืองตามเท่ากัน

n1
z1 n2
z2

รูปที่ 12.1 ลักษณะการส่งกาลังด้วยเฟืองอัตราทดชั้นเดียว


ที่มา : อ้อมใจ เธอจันทึก, 2557.

กาหนดให้
i = อัตราทด
n1 = ความเร็วรอบของเฟืองขับ (รอบ/นาที)
n2 = ความเร็วรอบของเฟืองตาม (รอบ/นาที)
z1 = จานวนฟันของเฟืองขับ (ฟัน)
z2 = จานวนฟันของเฟืองตาม (ฟัน)
161

เมื่อความเร็วขอบของเฟืองขับและเฟืองตามเท่ากัน

สูตร z1n1 = z2n2

อัตราทด (i)

สูตร i = =

ที่มา : คณิตศาสตร์เครื่องกล, ชลอ การทวี, 2557, หน้า 152.

ตัวอย่างที่ 12.1 จากรูปที่ 12.2 เฟืองขับมีจานวน 40 ฟัน หมุนด้วยความเร็วรอบ 400 รอบ/นาที


ถ้าเฟืองตามมี 80 ฟัน จงคานวณหา
1. อัตราทด
2. ความเร็วรอบของเฟืองตาม

n2 = ?
z2 = 80
n1 = 400
z1 = 40

รูปที่ 12.2

วิธีทา กาหนดให้
i = อัตราทด
n1 = 400 รอบ/นาที
n2 = ความเร็วรอบของเฟืองตาม (รอบ/นาที)
z1 = 40 ฟัน
z2 = 80 ฟัน
162

1. หาอัตราทด
จากสูตร i =

=
40
=

= 2:1
ตอบ อัตราทด = 2 : 1

2. หาความเร็วรอบของเฟืองตาม
จากสูตร i =

2
=

2 x n2 = 400 x 1

n2 =

= 200 รอบ/นาที
ตอบ ความเร็วรอบของเฟืองตาม = 200 รอบ/นาที
หรือ
จากสูตร =

n2 =

= 200 รอบ/นาที
163

ตัวอย่างที่ 12.2 จากรูปที่ 12.3 เฟืองส่งกาลังคู่หนึ่งขับกันอยู่ ส่งกาลังด้วยอัตราทด 3 : 1 เฟืองขับมี


จานวน 60 ฟัน หมุนด้วยความเร็วรอบ 600 รอบ/นาที จงคานวณหา
1. จานวนฟันของเฟืองตาม
2. ความเร็วรอบของเฟืองตาม

n1 = 600
z1 = 60
n2 = ?
z2 = ?

รูปที่ 12.3

วิธีทา กาหนดให้
i = 3 : 1
n1 = 600 รอบ/นาที
n2 = ความเร็วรอบของเฟืองตาม (รอบ/นาที)
z1 = 60 ฟัน
z2 = จานวนฟันของเฟืองตาม (ฟัน)

1. หาจานวนฟันของเฟืองตาม
จากสูตร i =

=
60
3 x 60 = z2 x 1

z2 =

= 180 ฟัน
ตอบ จานวนฟันของเฟืองตาม = 180 ฟัน
164

2. หาความเร็วรอบของเฟืองตาม
จากสูตร i =

3 x n2 = 600 x 1

n2 =

= 200 รอบ/นาที
ตอบ ความเร็วรอบของเฟืองตาม = 200 รอบ/นาที
หรือ
จากสูตร =

n2 =

= 200 รอบ/นาที

1.2 ระบบส่งกาลังด้วยเฟืองอัตราทดสองชั้น

การส่งกาลังของเครื่องจักรกลส่วนมากมีการส่งกาลังแบบหลายทด เครื่องจักรกลหนึ่งเครื่อง
อาจจะมีการส่งกาลังหลายๆ แบบ เช่น เครื่องกลึง มีการส่งกาลังด้วยสายพานลิ่ม การส่งกาลังด้วย
เฟืองตรง เฟืองเฉียง เฟืองดอกจอก เกลียว เป็นต้น การออกแบบการส่งกาลังของเครื่องจักรกลที่มีขั้น
ความเร็วรอบหลายๆ ขั้น ต้องคานวณความเร็วรอบในแต่ละชั้นรวมทั้งอัตราทดชั้นเดียวและอัตราทดรวม
จึงมีความจ าเป็น สาหรั บช่างผู้ออกแบบ ช่างซ่อมบารุง ช่างผลิ ตชิ้นส่ วน การคานวณเหมือนกับการ
คานวณการส่งกาลังแบบทดชั้นเดียว เพียงแต่จับคู่การส่งกาลังเป็นคู่ๆ แต่ละคู่มีเฟืองขับและเฟืองตาม
ข้อควรจา เฟืองที่อยู่บนแกนเพลาเดียวกันความเร็วรอบจะเท่ากันเสมอ
* n2 = n3 อยู่บนแกนเพลาเดียวกัน ความเร็วรอบจะเท่ากัน
165

รูปที่ 12.4 ลักษณะการส่งกาลังด้วยเฟืองอัตราทดสองชั้นของเครื่องกลึง


ที่มา : อ้อมใจ เธอจันทึก, 2557.

n2 n1
z2 z1

n3
z3

n4
z4

รูปที่ 12.5 ลักษณะการส่งกาลังด้วยเฟืองอัตราทดสองชั้น


ที่มา : อ้อมใจ เธอจันทึก, 2557.
166

กาหนดให้
Iรวม = อัตราทดรวม
i1 = อัตราทดคู่ที่ 1
n1 = ความเร็วรอบของเฟืองตัวที่ 1 (รอบ/นาที)
n2 = ความเร็วรอบของเฟืองตัวที่ 2 (รอบ/นาที)
z1 = จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 1 (ฟัน)
z2 = จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 2 (ฟัน)
i2 = อัตราทดคู่ที่ 2
n3 = ความเร็วรอบของเฟืองตัวที่ 3 (รอบ/นาที)
n4 = ความเร็วรอบของเฟืองตัวที่ 4 (รอบ/นาที)
z3 = จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 3 (ฟัน)
z4 = จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 4 (ฟัน)

อัตราทดคู่ที่ 1

สูตร i1 = หรือ =

อัตราทดคู่ที่ 2

สูตร i2 = หรือ =

อัตราทดรวม (Iรวม) หมายถึง การทดรอบตั้งแต่เฟืองแรกจนถึงเฟืองสุดท้าย ซึ่งการหา


อัตราทดรวม

สูตร Iรวม = i1 x i2
167

ถ้าอัตราทดแทนด้วยความเร็วรอบจะได้อัตราทดรวม

สูตร Iรวม = x

เมื่อ n2 เท่ากับ n3 มีความเร็วเท่ากัน เพราะอยู่เพลาเดียวกัน ดังนั้น

ความเร็วรอบของเฟืองตัวแรก
อัตราทดรวม =
ความเร็วรอบของเฟืองตัวสุดท้าย

สูตร Iรวม =

ถ้าอัตราทดแทนด้วยจานวนฟันเฟืองจะได้อัตราทดรวม ดังนั้น
ผลคูณของจานวนฟันของเฟืองตาม
อัตราทดรวม =
ผลคูณของจานวนฟันของเฟืองขับ

สูตร Iรวม = x

ที่มา : คณิตศาสตร์เครื่องกล, ชลอ การทวี, 2557, หน้า 154.


168

ตัวอย่างที่ 12.3 เฟืองทดมีอัตราทดสองชั้น กาหนดให้อัตราทดคู่ที่ 1 = 2 : 1 , z2 = 60 ฟัน ,


z3 = 40 ฟัน , n2 = 600 รอบ/นาที , n4 = 300 รอบ/นาที จงคานวณหา z1 ,
n1 , i2 , z4 และ Iรวม

n1 = ? n2 = 600
z1 = ? z2 = 60

n3 = n2
z3 = 40 n4 = 300
z4 = ?

รูปที่ 12.6

วิธีทา กาหนดให้
Iรวม = อัตราทดรวม
i1 = 2:1
n1 = ความเร็วรอบของเฟืองตัวที่ 1 (รอบ/นาที)
n2 = 600 รอบ/นาที
z1 = จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 1 (ฟัน)
z2 = 60 ฟัน
i2 = อัตราทดคู่ที่ 2
n3 = n2 รอบ/นาที
n4 = 300 รอบ/นาที
z3 = 40 ฟัน
z4 = จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 4 (ฟัน)
169

1. หาจานวนฟันของเฟืองตัวที่ 1
จากสูตร i1 =

2 x z1 = 60 x 1

z1 =

= 30 ฟัน
ตอบ จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 1 = 30 ฟัน
2. หาความเร็วรอบของเฟืองตัวที่ 1
จากสูตร i1 =

2 x 600 = n1 x 1

n1 =

= 1,200 รอบ/นาที
ตอบ ความเร็วรอบของเฟืองตัวที่ 1 = 1,200 รอบ/นาที
3. หาอัตราทดคู่ที่ 2
จากสูตร i2 =

= 2:1
ตอบ อัตราทดคู่ที่ 2 = 2 : 1
170

4. หาจานวนฟันของเฟืองตัวที่ 4
จากสูตร i2 =

2 x 40 = z4 x 1
2 40
z4 =
1
= 80 ฟัน
ตอบ จานวนฟันของเฟืองตัวที่ 4 = 80 ฟัน
5. อัตราทดรวม
จากสูตร Iรวม =

= 4:1
ตอบ อัตราทดรวม = 4 : 1
หรือ
จากสูตร Iรวม = i1 x i2

= x

= 4:1
171

2. การคานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟืองหนอนและเกลียวหนอน
การส่งกาลังด้วยเฟืองหนอนและเกลียวหนอน โดยเกลียวหนอนจะเป็นตัวขับและมีเฟืองหนอน
เป็นตัวตาม ซึ่งการส่งกาลังจะให้อัตราทดสูงกว่าเฟืองชนิดอื่นๆ ลักษณะของเกลียวหนอนอาจเป็น
เกลียวปากเดียวหรือหลายปากก็ได้ เช่น การนาเกลียวหนอนและเฟืองหนอนไปใช้งานในชุดหัวแบ่ง
หรือชุดเฟืองทด เป็นต้น

n2
เฟืองหนอน
z2

เกลียวหนอน n1
g

รูปที่ 12.7 ลักษณะการส่งกาลังด้วยเฟืองหนอนและเกลียวหนอน


ที่มา : อ้อมใจ เธอจันทึก, 2557.

กาหนดให้
i = อัตราทด
n1 = ความเร็วรอบของเกลียวหนอน (รอบ/นาที)
n2 = ความเร็วรอบของเฟืองหนอน (รอบ/นาที)
g = จานวนปากของเกลียวหนอน (ปาก)
z2 = จานวนฟันของเฟืองหนอน (ฟัน)
172

ในขณะที่เกลียวหนอนหมุนจะขับเฟืองหนอนในลักษณะเกลียวต่อเกลียว เมื่อเกลียวหนอนหมุน
ไปเกลียวหนึ่ง เฟืองหนอนจะขยับไป 1 ฟัน ตามกัน ดังนั้น
จานวนเกลียวที่เกลียวหนอนหมุนไป = จานวนฟันเฟืองหนอนที่เคลื่อนตามไป

สูตร n1g = n2z2

อัตราทด (i)

สูตร i = =

ที่มา : คณิตศาสตร์เครื่องกล, ชลอ การทวี, 2557, หน้า 157.

ตัวอย่างที่ 12.4 ชุดส่งกาลังด้วยเฟืองหนอนและเกลียวหนอนชุดหนึ่ง เกลียวหนอนเป็นเกลียว 1 ปาก


หมุนด้วยความเร็วรอบ 480 รอบ/นาที เฟืองหนอนมี 60 ฟัน จงคานวณหา
1. ความเร็วรอบของเฟืองหนอน
2. อัตราทด

n2 = ?
z2 = 60

n1 = 480
g=1

รูปที่ 12.8
173

วิธีทา กาหนดให้
i = อัตราทด
n1 = 480 รอบ/นาที
n2 = ความเร็วรอบของเฟืองหนอน (รอบ/นาที)
g = 1 ปาก
z2 = 60 ฟัน

1. หาความเร็วรอบของเฟืองหนอน
จากสูตร n1g = n2 z 2

n2 =

= 8 รอบ/นาที
ตอบ ความเร็วรอบของเฟืองหนอน = 8 รอบ/นาที

2. หาอัตราทด
จากสูตร i =

=
8
=

= 60 : 1
ตอบ อัตราทด = 60 : 1

หรือ
จากสูตร i =

= 60 : 1
174

ตัวอย่างที่ 12.5 เฟืองหนอนและเกลียวหนอนชุดหนึ่ง เกลียวหนอนเป็นเกลียวสองปาก หมุนด้วย


ความเร็วรอบ 560 รอบ/นาที มีอัตราทด 20 : 1 จงคานวณหา
1. ความเร็วรอบของเฟืองหนอน
2. จานวนฟันของเฟืองหนอน

n2 = ?
z2 = ?

n1 = 560
g =2

รูปที่ 12.9

วิธีทา กาหนดให้
i = 20 : 1
n1 = 560 รอบ/นาที
n2 = ความเร็วรอบของเฟืองหนอน (รอบ/นาที)
g = 2 ปาก
z2 = จานวนฟันของเฟืองหนอน (ฟัน)

1. หาความเร็วรอบของเฟืองหนอน
จากสูตร i =

n2 =

= 28 รอบ/นาที
ตอบ ความเร็วรอบของเฟืองหนอน = 28 รอบ/นาที
175

2. หาจานวนฟันของเฟืองหนอน
จากสูตร i =

z2 =

= 40 ฟัน
ตอบ จานวนฟันของเฟืองหนอน = 40 ฟัน

สรุปสาระการเรียนรู้
1. การคานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟือง
การส่งกาลังด้วยเฟืองเป็นการส่งกาลังที่อาศัยการขบกันของฟันเฟือง โดยส่งกาลังจากเฟืองขับไป
หมุนเฟืองตาม มีอัตราทดแน่นอนมากกว่าการส่งกาลังด้วยสายพาน
1.1 ระบบส่งกาลังด้วยเฟืองอัตราทดชั้นเดียว
เมื่อความเร็วขอบของเฟืองขับและเฟืองตามเท่ากัน

สูตร z1n1 = z2n2

อัตราทด (i)

สูตร i = =

1.2 ระบบส่งกาลังด้วยเฟืองอัตราทดสองชั้น
อัตราทดคู่ที่ 1

สูตร i1 = หรือ =
176

อัตราทดคู่ที่ 2

สูตร i2 = หรือ =

อัตราทดรวม (Iรวม) หมายถึง การทดรอบตั้งแต่ เฟืองแรกจนถึงเฟืองสุดท้าย ซึ่งการหา


อัตราทดรวม

สูตร Iรวม = i1 x i2

ถ้าอัตราทดแทนด้วยความเร็วรอบจะได้อัตราทดรวม

สูตร Iรวม = x

เมื่อ n2 เท่ากับ n3 มีความเร็วเท่ากัน เพราะอยู่เพลาเดียวกัน ดังนั้น

สูตร Iรวม =

ถ้าอัตราทดแทนด้วยจานวนฟันเฟืองจะได้อัตราทดรวม ดังนั้น

สูตร Iรวม = x
177

2. การคานวณหาอัตราทดระบบส่งกาลังด้วยเฟืองหนอนและเกลียวหนอน

สูตร n1g = n2z2

อัตราทด (i)

สูตร i = =

You might also like