You are on page 1of 127

การเคลื่อนที่

1. นิยามในเรื่องการเคลื่อนที่
1. ระยะทาง (Distance) คือ ความยาวตามเสนทางที่วัตถุเคลื่อนที่จริง เปนปริมาณสเกลาร (คิดเฉพาะ
ขนาด ไมคิดทิศทาง)
2. การขจัด (Displacement) คือ ระยะการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุจากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทายของการ
เคลื่อนที่ เปนปริมาณเวกเตอร (คิดทั้งขนาดและทิศทาง)
จากรูป A คือ จุดเริ่มตน
B คือ จุดสุดทาย
ระยะทาง คือ เสนทางที่เปนเสนประ
การขจัด คือ เสนทางที่เปนลูกศรชี้
3. อัตราเร็ว (Speed) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณสเกลาร สามารถ
คํานวณไดจากสูตร
v = St

Speed is a Scalar
เมื่อ v คือ อัตราเร็ว (เมตรตอวินาที, m/s)
S คือ ระยะทาง (เมตร, m)
t คือ เวลา (วินาที, s)

วิทยาศาสตร ฟสิกส (2) ___________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


4. ความเร็ว (Velocity) คือ การขจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณเวกเตอร แยก
พิจารณาเปน 2 ประเภท คือ
1. ความเร็วเฉลี่ย (Average Velocity) สามารถหาไดจากสูตร
vv v
∆ S
avr = t
Velocity is a Vector
เมื่อ vv avr คือ ความเร็วเฉลี่ย
v
∆ S คือ การขจัด
t คือ เวลา
2. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous Velocity) คือ ความเร็วของวัตถุ ณ จุดใดจุดหนึ่ง
ในการเคลื่อนที่ หาไดจากสูตร
vv = lim ∆vS = d vS
in dt
∆t → 0 ∆t

5. ความเรง (Acceleration) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วตอหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณ


เวกเตอร แยกพิจารณาเปน 2 ประเภท คือ
1. ความเรงเฉลี่ย (Average acceleration) สามารถหาไดจากสูตร
va ∆v
v
avr = t
เมื่อ vaavr คือ ความเรงเฉลี่ย (เมตรตอวินาที2, m/s2)
v
∆ v คือ ความเร็ว (เมตรตอวินาที, m/s)
t คือ เวลา (วินาที, s)
2. ความเรงขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous Acceleration) คือ ความเรงของวัตถุ ณ จุดใดจุด
หนึ่งในการเคลื่อนที่ หาไดจากสูตร
va = lim ∆va = dva
in
∆t → 0 ∆t dt

ดิฟการกระจัดเปนความเร็ว
ดิฟความเร็วเปนความเรง
ดิฟความเรงเปน...?

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ____________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (3)


2. กราฟในเรื่องการเคลื่อนที่
1. การคํานวณจากกราฟ S-t

ความเร็วคงที่ = ความชันของกราฟ ความเร็วเฉลี่ย = ความชันของคอรด pg


S -S S -S
= ∆∆St = t 2 - t 1 = ∆∆St = t 2 - t 1
2 1 2 1
2. การคํานวณจากกราฟ v-t

ระยะทาง = พื้นที่ใตกราฟ ความเรงคงที่ = ความชันของกราฟ


v -v
= 12 × สูง × ผลบวกของคูขนาน = ∆∆vt = t 2 - t 1
2 1
1
= 2 × (t2 - t1) × (v2 + v1)

การขจัด = พื้นที่ใตกราฟ =  12 × (t2 - t0 ) × v2  -  12 × t0 × v1 


(การหาคาการขจัด ตองพิจารณาเครื่องหมายดวย)

v -v
ความเรงเฉลี่ย = ความชันของคอรด pg = ∆∆vt = t 2 - t 1
2 1

วิทยาศาสตร ฟสิกส (4) ___________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3. การเคลื่อนที่ในลักษณะตางๆ
1. การเคลื่อนที่เปนเสนตรงดวยความเรงคงที่
สูตรที่ใชในการคํานวณ คือ
1. S = (v +2 u)t 2. v = u + at
3. S = ut + 12 at2 4. v2 = u2 + 2aS
ยกเวน t ตัวแปรทุกตัวเปนปริมาณเวกเตอร ดังนั้นจึงตองคิดเครื่องหมายบวก หรือลบตามทิศทางการ
เคลื่อนที่
2. การเคลื่อนที่อิสระภายใตแรงดึงดูดของโลก
สูตรที่ใชในการคํานวณ คือ
1. h = (v +2 u)t
2. v = u + gt
3. h = ut + 12 gt2
4. v2 = u2 + 2gh
(g = 9.8 m/s2)
เมื่อ h คือ ความสูงเทียบกับจุดปลอยวัตถุ
u คือ ความเร็วตน
v คือ ความเร็วสุดทาย
t คือ เวลาในการเคลื่อนที่
g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก (แทนคาเปนลบตลอด)
3. การพิจารณาการเคลื่อนที่อิสระภายใตแรงดึงดูดของโลกในลักษณะตางๆ
1. เมื่อปลอยวัตถุใหตกลงสูพื้นโลก พบวา
1.1 ความเร็วตนของวัตถุเทากับศูนย (u = 0)
1.2 ความเร็วมีคาสูงสุดเมื่อวัตถุกระทบพื้น
1.3 คา g มีคาเปนลบ จะได v เปนลบ หมายถึง มีทิศทางลงพื้น

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ____________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (5)


2. เมื่อขวางวัตถุขึ้นไปในอากาศแลวตกลงในระดับที่ต่ํากวาตอนขวาง พบวา
v
2.1 ณ จุด 1 vu เปนบวก h เปนศูนย t เปนศูนย
v
2.2 ณ จุด 2 vv เปนศูนย h เปนบวก t เปนบวก
v
2.3 ณ จุด 3 vv เปนลบ h เปนศูนย t เปนบวก
v
2.4 ณ จุด 4 เมื่อวัตถุกระทบพื้นโลก ความเร็วมีคาสูงสุด vv เปนลบ h เปนลบ t เปนบวก

3. เมื่อปาวัตถุลงมาสูพื้นโลก พบวา
3.1 ความเร็วตนไมเทากับศูนย (u ≠ 0) vu เปนลบ เพราะทิศทางลง
3.2 คา g มีคาเปนลบ จะได v เปนลบ หมายถึง ทิศทางลงพื้น

4. เมื่อปลอยวัตถุตกลงมาอยางอิสระ ขณะเดียวกันก็โยนวัตถุอีกกอนขึ้นไป แลวพบกันที่จุด A พบวา


4.1 เวลาที่วัตถุทั้งสองเคลื่อนที่จากจุดเริ่มไปยังจุด A มีคาเทากัน (tb = tc)
v v
4.2 คา h ของวัตถุ B มีคาเปนบวก คา h ของวัตถุ C มีคาเปนลบ

วิทยาศาสตร ฟสิกส (6) ___________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


5. เมื่อปลอยวัตถุจากบอลลูนที่กําลังลอยขึ้นดวยความเร็วคาหนึ่ง พบวา
5.1 ความเร็วตนของวัตถุ = ความเร็วของบอลลูนขณะที่ปลอยวัตถุ ( vu เปนบวก)
5.2 หลังจากการปลอย วัตถุจะเคลื่อนที่ขึ้นไปอีกระยะหนึ่ง แลวจึงเริ่มตกลงมา
5.3 คา g ขณะเคลื่อนขึ้นและลง มีคาเปนลบตลอด
5.4 เมื่อวัตถุเคลื่อนไปไดสูงสุด ความเร็วมีคาเทากับศูนย

ตัวอยางขอสอบ
1. ในการทดลองปลอยถุงทรายใหตกแบบเสรี โดยลากแถบกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะจุดทุกๆ
1
50 วินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถาระยะระหวางจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได 3.80 เซนติเมตร
และระยะระหวางจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได 4.20 เซนติเมตร ความเร็วเฉลี่ยที่จุดที่ 10 จะเปนกี่เมตรตอ
วินาที

1) 3 m/s 2) 2.5 m/s 3) 2 m/s 4) 1.5 m/s


2. A กับ B วิ่งออกกําลังกายจากจุดๆ หนึ่งดวยอัตราเร็วสม่ําเสมอ 4 เมตรตอวินาที และ 6 เมตรตอวินาที
ตามลําดับ เมื่อเวลาผานไป 60 วินาที A กับ B จะอยูหางกันกี่เมตร
1) 100 m 2) 120 m 3) 130 m 4) 140 m
3. รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยอัตราความเร็วคงตัว 20 เมตรตอวินาที นานเทาใดจึงจะเคลื่อนที่ไดระยะทาง 500 เมตร
1) 10 s 2) 15 s 3) 20 s 4) 25 s

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ____________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (7)


4. ถาปลอยใหกอนหินตกลงจากยอดตึกสูพื้น การเคลื่อนที่ของกอนหินกอนจะกระทบพื้นจะเปนตามขอใด ถาไม
คิดแรงตานของอากาศ
1) ความเร็วคงที่ 2) ความเร็วเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอ
3) ความเร็วลดลงอยางสม่ําเสมอ 4) ความเร็วเพิ่มขึ้นแลวลดลง
5. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็วตน 4.9 เมตรตอวินาที นานเทาใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุด
สูงสุด
1) 0.5 s 2) 1.0 s 3) 1.5 s 4) 2.0 s
6. เด็กคนหนึ่งออกกําลังกายดวยการวิ่งดวยอัตราเร็ว 6 เมตรตอวินาที เปนเวลา 1 นาที วิ่งดวยอัตราเร็ว
5 เมตรตอวินาทีอีก 1 นาที แลวเดินดวยอัตราเร็ว 1 เมตรตอวินาที อีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยใน
ชวงเวลา 3 นาทีนี้
1) 3.0 m/s 2) 3.5 m/s 3) 4.0 m/s 4) 4.5 m/s
7. คลองที่ตัดตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 65 กิโลเมตร ขณะที่ถนนจากเมือง A ไปเมือง B
มีระยะทาง 79 กิโลเมตร ถาชายคนหนึ่งขนสินคาจากเมือง A ไปเมือง B โดยรถยนต ถามวาสินคานั้นมี
ขนาดการกระจัดเทาใด
1) 14 km 2) 65 km 3) 72 km 4) 79 km
8. รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง จากเมือง A ไปเมือง B ที่อยูหางกัน 200
กิโลเมตร ถาออกเดินทางเวลา 06.00 นาฬิกา จะถึงปลายทางเวลาเทาใด
1) 07.50 นาฬิกา 2) 08.05 นาฬิกา 3) 08.30 นาฬิกา 4) 08.50 นาฬิกา
9. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเสนทางตรง เวลาผานไป 4 วินาที มีความเร็วเปน 8 เมตร/วินาที
ถาอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอ รถยนตคันนี้มีความเรงเทาใด
1) 2 m/s2 2) 4 m/s2 3) 12 m/s2 4) 14 m/s2
10. เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศเหนือไดระยะทาง 300 เมตร จากนั้นเดินไปทางทิศตะวันออกไดระยะทาง 400 เมตร
ใชเวลาเดินทางทั้งหมด 500 วินาที เด็กคนนี้เดินดวยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตร/วินาที
1) 0.2 m/s 2) 1.0 m/s 3) 1.4 m/s 4) 2.0 m/s
11. ในการเคลื่อนที่เปนเสนตรง กราฟขอใดแสดงวาวัตถุกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว
1) ความเรง 2) ความเรง

0 เวลา 0 เวลา

3) ความเรง 4) ความเรง
0 เวลา

0 เวลา

วิทยาศาสตร ฟสิกส (8) ___________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


12. กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ขอใดสอดคลองกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่ง
1) v 2) v

t t
3) v 4) v

t t

13. รถยนต A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง โดยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น 2 เมตร/วินาที ทุก 1 วินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 5


รถยนตจะมีอัตราเร็วเทาใด
1) 5 m/s 2) 10 m/s 3) 15 m/s 4) 20 m/s
14. ถาปลอยใหวัตถุตกลงในแนวดิ่งอยางเสรี หากวัตถุนั้นตกกระทบพื้นดินในเวลา 5 วินาที ถามวาวัตถุกระทบ
ดินดวยความเร็วเทากับกี่เมตร/วินาที
1) 4.9 m/s 2) 9.8 m/s 3) 39 m/s 4) 49 m/s
15. จากรูป แสดงจุดหางสม่ําเสมอกันบนแถบกระดาษที่ผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้ง/วินาที ขอความใด
ถูกตองสําหรับการเคลื่อนที่นี้

1) ความเร็วเพิ่มขึ้นสม่ําเสมอ 2) ความเรงเพิ่มขึ้นสม่ําเสมอ
3) ความเรงคงตัวและไมเปนศูนย 4) ระยะทางเพิ่มขึ้นสม่ําเสมอ
16. เมื่ออยูบนดวงจันทรชั่งน้ําหนักของวัตถุที่มีมวล 10 กิโลกรัม ได 16 นิวตัน ถาปลอยใหวัตถุตกที่บนผิว
ดวงจันทร วัตถุมีความเรงเทาใด
1) 1.6 m/s2 2) 3.2 m/s2 3) 6.4 m/s2 4) 9.6 m/s2
17. ชายคนหนึ่งเดินทางไปทางทิศเหนือ 100 เมตร ใชเวลา 60 วินาที แลวเดินตอไปทางตะวันออกอีก 100 เมตร
ใชเวลา 40 วินาที เขาเดินทางดวยอัตราเร็วเฉลี่ยเทาใด
1) 1.0 m/s 2) 1.4 m/s 3) 2.0 m/s 4) 2.8 m/s

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ____________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (9)


การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล
1. การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล (Projectile Motion)
เปนการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบและแนวดิ่งพรอมกัน จึงทําใหเสนทางการเคลื่อนที่เปนวิถีโคง ลักษณะ
ดังรูป

2. สูตรการคํานวณการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล

1. เมื่อความเร็วตน = u มีทิศทํามุม θ กับแนวราบ


ความเร็วตนตามแนวแกน x ; ux = u cos θ
ความเร็วตนตามแนวแกน y ; uy = u sin θ
2. เมื่อความเร็ว ณ เวลาใดๆ = v มีทิศทํามุม θ กับแนวราบ
ความเร็วตามแนวแกน x ; vx = v cos θ
ความเร็วตามแนวแกน y ; vy = v sin θ
3. ระยะทางสูงสุดตามแนวดิ่ง (H)
u2
H = 2gy
θ)2
= (u sin
2g

วิทยาศาสตร ฟสิกส (10) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


4. ระยะทางไกลสุดตามแนวราบ (R)
2u x u y
R = g
2 2
= 2u singθ cos θ = u sing (2θ)
โดย R จะมีคามากที่สุด (Rmax) เมื่อ θ = 45°
5. เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่จากจุดเริ่มตนถึงจุดสูงสุดตามแนวดิ่ง (t)
t = u sin g
θ

6. เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่จากจุดเริ่มตนถึงจุดไกลสุดตามแนวราบ (T)
T = 2u sing
θ

จากขอ 5. และ 6. จะไดวา T = 2t


3. การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทลแนวราบ
คือ การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทลที่มีความเร็วตนเฉพาะแนวราบ เชน เครื่องบินบินในแนวราบแลวทิ้ง
ระเบิดลงมา ลักษณะดังรูป

คําอธิบาย : เมื่อเริ่มปลอยวัตถุที่จุด A
1. ความเร็วตน = ความเร็วของวัตถุที่ทิ้งสิ่งของลงมา
2. ความเร็วตนตามแนวดิ่ง uy = O
ที่จุด B วัตถุตกกระทบกับพื้น
1. ความเร็วตามแนวราบ = ความเร็วตนตามแนวราบที่สุด A (vx = u)
2. ความเร็วตามแนวดิ่ง vy = gt
สูตรที่ใชในการคํานวณ คือ
1. Sx = uxt = ut
g ⋅ S2
2. H = 12 gt2 = 2x
2u
3. vy = gt
หมายเหตุ : สูตรเหลานี้ใชหลักการของสูตรการเคลื่อนที่อิสระภายใตแรงดึงดูดของโลก แตพิจารณาใน
เงื่อนไขของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทลแนวราบ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (11)


ตัวอยางขอสอบ
1. การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงตําแหนงสูงสุด อัตราเร็วของวัตถุจะเปนอยางไร
1) มีคาเปนศูนย
2) มีอัตราเร็วแนวราบเปนศูนย
3) มีคาเทากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
4) มีคาเทากับอัตราเร็วเมื่อเริ่มเคลื่อนที่
2. ยิงวัตถุจากหนาผาออกไปในแนวระดับ ปริมาณใดของวัตถุมีคาคงตัว

1) อัตราเร็ว 2) ความเร็ว 3) ความเร็วในแนวดิ่ง 4) ความเร็วในแนวระดับ


3. วัตถุที่เคลื่อนที่แบบโปรเจกไทลขณะที่วัตถุอยูที่จุดสูงสุด ขอใดตอไปนีถ้ ูกตอง
1) ความเร็วของวัตถุมีคาเปนศูนย 2) ความเรงของวัตถุมีคาเปนศูนย
3) ความเร็วของวัตถุในแนวดิ่งมีคาเปนศูนย 4) ความเร็วของวัตถุในแนวราบมีคาเปนศูนย

วิทยาศาสตร ฟสิกส (12) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ไฟฟาสถิต
ประจุไฟฟา
1. ทฤษฎีอิเล็กตรอนในไฟฟาสถิต กลาววา
1. วัตถุใดที่มีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวาโปรตอน วัตถุนั้นจะมีประจุไฟฟาลบ (Negative Charge)
2. วัตถุใดที่มีจํานวนอิเล็กตรอนนอยกวาโปรตอน วัตถุนั้นจะมีประจุไฟฟาบวก (Positive Charge)
2. สภาพเปนกลางทางไฟฟา คือ สภาพที่เกิดจากวัตถุมีจํานวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเทากัน
3. อุปกรณตรวจประจุไฟฟา (Electroscope) เปนเครื่องมือตรวจสอบวาวัตถุนั้นมีประจุหรือไม มี 2 แบบ
คือ
1. อิเล็กโตรสโคปลูกพิธ

2. อิเล็กโตรสโคปแผนโลหะ

4. ตัวนํา (Conductor) คือ วัตถุที่ยอมใหประจุไฟฟาผานไดดี เวลาเกิดประจุไฟฟาบนตัวนําแลวจะมีการ


ถายเทประจุทันที
5. ฉนวน (Insulator) คือ วัตถุที่ไมยอมใหประจุไฟฟาผาน ประจุถายเทไดยาก
6. การเหนี่ยวนํา (Induction) คือ การเคลื่อนยายของอิเล็กตรอนบนวัตถุตัวนําเมื่อมีประจุไฟฟาภายนอก
สงอิทธิพลไปยังตัวนํานั้น แลวมีผลทําใหสวนของตัวนําที่อยูใกลประจุภายนอกมีประจุตรงขามกัน แตสวนของตัวนํา
ที่ไกลออกไปมีประจุชนิดเดียวกับประจุภายนอก
ประจุ 1 คูลอมป คือ ประจุที่ทําใหเกิดแรง 9 × 109 นิวตัน กระทําตออีกประจุหนึ่งซึ่งมีขนาดเทากันและ
วางหางกัน 1 เมตร ในสุญญากาศ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (13)


สนามไฟฟา
1. สนามไฟฟา (Electric Field) คือ บริเวณที่เมื่อนําประจุไฟฟาเขาไปวางแลวจะเกิดแรงกระทําบน
ประจุไฟฟานั้น
ทิศของสนามไฟฟา จะถูกกําหนดใหอยูในทิศเดียวกับทิศของแรงที่กระทําตอประจุบวกดังรูป

2. ขนาดของสนามไฟฟาที่ตําแหนง A หมายถึง ขนาดของแรงระหวางประจุที่กระทําตอประจุ 1 คูลอมป


ณ ตําแหนงที่ตองการพิจารณา (ตําแหนง A)

นั่นคือ E = qF

เมื่อ q คือ ประจุไฟฟา ณ ตําแหนงที่พิจารณา (C)


F คือ ขนาดของแรงที่กระทําตอประจุ ณ ตําแหนงที่พิจารณา (N)
E คือ ขนาดของสนามไฟฟา ณ ตําแหนงที่พิจารณา (N/C)
3. ขนาดของสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ คือ ขนาดของสนามไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ Q ที่ตําแหนงใดๆ

นั่นคือ E = KQ2
r
เมื่อ E คือ ความเขมของสนามไฟฟา (N/C)
K คือ Permittivity Constant
Q คือ ประจุไฟฟาที่ทําใหเกิดสนาม
r คือ ระยะระหวางประจุ Q ถึงตําแหนงใดๆ
สําหรับทิศของสนามขึ้นอยูกับประจุ Q ที่ทําใหเกิดสนามไฟฟา

วิทยาศาสตร ฟสิกส (14) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


4. เสนแรงไฟฟา (Electric line of force) คือ เสนที่แสดงถึงทิศทางของแรงลัพธที่กระทําตอประจุบวก
ณ ตําแหนงตางๆ ภายในสนามไฟฟา
ขอสังเกตเกี่ยวกับเสนแรงไฟฟา :
1. บริเวณใกลประจุที่ทําใหเกิดสนาม จะมีเสนแรงไฟฟาอยูอยางหนาแนนเมื่ออยูหางจากประจุ ความ
หนาแนนของเสนแรงไฟฟาจะลดลง
2. บริเวณที่เสนแรงไฟฟาอยูอยางหนาแนน ขนาดของสนามไฟฟา ณ บริเวณนั้นจะมีคามาก
3. ระหวางแผนตัวนําที่วางขนานคูหนึ่ง ซึ่งมีประจุบนแตละแผนเทากันแตเปนประจุตางชนิดกัน สนามไฟฟา
ระหวางแผนตัวนําคูนั้นจะเปนสนามไฟฟาสม่ําเสมอ (เสนแรงไฟฟาขนานกันและมีความหนาแนนสม่ําเสมอ)

5. สนามไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนําทรงกลม
1. สนามไฟฟาภายในตัวนําใดๆ นับจากผิวเขามา มีคาเปนศูนย
2. สนามไฟฟา ณ ตําแหนงที่ติดกับผิวของตัวนํา จะมีทิศตั้งฉากกับผิวเสมอ
3. ณ ตําแหนงที่หางจากผิวของตัวนํา ขนาดของสนามไฟฟาจะมีคาลดลง

แมเหล็กไฟฟา
1. สนามแมเหล็กและเสนแรงแมเหล็ก
1. แมเหล็ก (Magnet) คือ สารที่สามารถดูดและผลักกันเอง และสามารถดูดสารแมเหล็กได โดยการ
เหนี่ยวนํา ปกติแมเหล็กมี 2 ขั้ว ไดแก ขั้วเหนือและขั้วใต
2. สนามแมเหล็ก (Magnetic Field) คือ บริเวณที่แมเหล็กสามารถสงแรงไปกระทําถึง
3. เสนแรงแมเหล็ก (Magnetic lines of force) คือ เสนที่แสดงทิศทางของสนามแมเหล็ก แบงเปน
2 ประเภท คือ
1. เสนแรงแมเหล็กภายนอกแทงแมเหล็ก จะมีทิศพุงออกจากขั้วเหนือไปสูขั้วใต
2. เสนแรงแมเหล็กภายในแทงแมเหล็ก จะมีทิศพุงออกจากขั้วใตไปสูขั้วเหนือ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (15)


4. ความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก (Magnetic flux density) คือ จํานวนเสนแรงแมเหล็กที่ผานตั้ง
ฉากกับพื้นที่ 1 ตารางเมตร ซึ่งถือวาเปนขนาดของสนามแมเหล็ก
นั่นคือ B = ∅
A
เมื่อ ∅ คือ จํานวนเสนแรงแมเหล็กหรือฟลักซแมเหล็ก (เวเบอร, weber)
A คือ พื้นที่ที่เสนแรงแมเหล็กผานตั้งฉาก (ตารางเมตร, m2)
B คือ ความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก (เทสลา, T)
5. จุดสะเทิน (Neutral Point) คือ ตําแหนงที่สนามแมเหล็กจากแทงแมเหล็กสองแทงหักลางกันเปน
ศูนย
2. แรงเนื่องจากสนามแมเหล็กและการผานกระแสไฟฟา
1. เมื่อประจุไฟฟาเคลื่อนที่เขาไปในสนามแมเหล็ก จะเกิดแรงกระทําตอประจุไฟฟานั้น สรุปไดวา
v v
F = qvv × B

F = qvB sin θ

เมื่อ F คือ แรงที่กระทําตอประจุไฟฟา (นิวตัน, N)


q คือ ประจุไฟฟา (คูลอมป, C)
v คือ ความเร็วของประจุไฟฟา (เมตรตอวินาที, m/s)
B คือ ขนาดของสนามแมเหล็ก (เทสลา, T)
v v
θ คือ มุมระหวาง v กับ B
สําหรับทิศของแรงหาไดจากการใชมือขวาและการหมุนตะปูเกลียวขวา แสดงไดดังนี้

แตถาเปนประจุลบแรงที่กระทําตอประจุลบจะมีทิศทางตรงขามกัน
v
ในกรณีที่ vv ⊥ B (θ = 90°) ประจุไฟฟาจะเคลื่อนที่เปนวงกลมในสนามแมเหล็ก แสดงไดดังนี้
v
ในกรณีที่ vv ⊥ B (θ = 90°) ประจุจะเคลื่อนที่เปนวงกลมในสนามแมเหล็ก

วิทยาศาสตร ฟสิกส (16) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


แรงเนื่องจากสนามแมเหล็ก = แรงเขาสูจุดศูนยกลาง
2
qvB = mvr

r = mv
qB

เมื่อ r คือ รัศมีของวงกลม (เมตร, m)


m คือ มวลของประจุไฟฟา (กิโลกรัม, kg)
v คือ ความเร็วของประจุไฟฟา (เมตรตอวินาที, m/s)
q คือ ประจุไฟฟา (คูลอมป, C)
B คือ ขนาดของสนามแมเหล็ก (เทสลา, T)
2. เมื่อนําลวดตัวนําวางในบริเวณที่มีสนามแมเหล็กและผานกระแสไฟฟาใหกับลวดตัวนําจะเกิดแรง
กระทําตอลวดตัวนํานั้น สรุปไดวา
v v v
F = Il × B

F = IlB sin θ

เมื่อ F คือ แรงที่กระทําตอลวดตัวนํา (นิวตัน, N)


I คือ กระแสไฟฟาที่ไหลผานลวดตัวนํา (แอมแปร, A)
l คือ ความยาวของลวดตัวนํา (เมตร, m)
B คือ ขนาดของสนามแมเหล็ก (เทสลา, T)
v v
θ คือ มุมระหวาง I กับ B
สําหรับทิศของแรงหาไดจากกฎมือซายของเฟลมมิ่งและการใชมือขวา แสดงไดดังนี้

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (17)


3. เมื่อนําลวดตัวนํา 2 เสน มาวางขนานกันและมีกระแสไหลผานในลวดตัวนําทั้งสอง จะมีแรงกระทํา
ซึ่งกันและกัน นั่นคือ
KI1I 2 l
F = d
เมื่อ F คือ แรงที่กระทําตอกันบนลวดตัวนํา (นิวตัน, N)
K คือ คาคงที่ (K = 2 × 10-7 N/A2)
I1, I2 คือ กระแสที่ไหลผานลวดตัวนําทั้งสอง (แอมแปร, A)
I คือ ความยาวของลวดตัวนําที่เทากัน (เมตร, m)
d คือ ระยะระหวางลวดตัวนําทั้งสอง (เมตร, m)

ตัวอยางขอสอบ
1. จุด A และ B อยูภายในเสนสนามไฟฟาที่มีทิศตามลูกศรดังรูป ขอใดตอไปนี้ถูกตอง

A B

1) วางประจุลบลงที่ A ประจุลบจะเคลื่อนไปที่ B 2) วางประจุบวกลงที่ B ประจุบวกจะเคลื่อนไปที่ A


3) สนามไฟฟาที่ A สูงกวาสนามไฟฟาที่ B 4) สนามไฟฟาที่ A มีคาเทากับสนามไฟฟาที่ B
2. A, B และ C เปนแผนวัตถุ 3 ชนิดที่ทําใหเกิดประจุไฟฟาโดยการถู ซึ่งไดผลดังนี้ A และ B ผลักกัน สวน
A และ C ดูดกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) A และ C มีประจุบวก แต B มีประจุลบ
2) B และ C มีประจุลบ แต A มีประจุบวก
3) A และ B มีประจุบวก แต C มีประจุลบ
4) A และ C มีประจุลบ แต B มีประจุบวก
3. สนามแมเหล็กที่เปนสวนหนึ่งของคลื่นแสงนั้น มีทิศทางตามขอใด
1) ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
2) ขนานกับสนามไฟฟาแตตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของแสง
3) ตั้งฉากกับทั้งสนามไฟฟาและทิศการเคลื่อนที่ของแสง
4) ตั้งฉากกับสนามไฟฟาแตขนานกับทิศของการเคลื่อนที่ของแสง

วิทยาศาสตร ฟสิกส (18) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


4. โดยปกติเข็มทิศจะวางตัวตามแนวทิศเหนือ-ใต เมื่อนําเข็มทิศมาวางใกลๆ กับกึ่งกลางแทงแมเหล็กที่ตําแหนง
ดังรูป เข็มทิศจะชี้ในลักษณะใด
N S
เข็มทิศ

N S
1) 2) 3) N S 4) S N
S N
5. ลําอนุภาค P และ Q เมื่อเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็ก B ที่มีทิศพุงออกตั้งฉากกับกระดาษมีการเบี่ยงเบนดังรูป
ถานําอนุภาคทั้งสองไปวางไวในบริเวณที่มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอ แนวการเคลื่อนที่จะเปนอยางไร
B
P
Q

1) เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตามเสนสนามไฟฟา
2) เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตรงขามกับเสนสนามไฟฟา
3) เคลื่อนที่ในทิศตรงขามกันโดยอนุภาค P ไปทางเดียวกับสนามไฟฟา
4) เคลื่อนที่ในทิศตรงขามกันโดยอนุภาค Q ไปทางเดียวกับสนามไฟฟา
6. อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา เมื่อเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก ขอใดไมเกิดการเบน
1) อนุภาคแอลฟา 2) อนุภาคบีตา 3) รังสีแกมมา 4) อนุภาคแอลฟาและบีตา
7. วางลวดไวในสนามแมเหล็กดังรูป เมื่อใหกระแสไฟฟาเขาไปในเสนลวดตัวนําจะเกิดแรงเนื่องจากสนามแมเหล็ก
กระทําตอลวดนี้ในทิศทางใด

N S
I

1) ไปทางซาย (เขาหา N) 2) ไปทางขาว (เขาหา S)


3) ลงขางลาง 4) ขึ้นดานบน
8. อนุภาคโปรตอนเคลื่อนที่เขาไปในทิศขนานกับสนามแมเหล็กซึ่งมีทิศพุงเขากระดาษแนวการเคลื่อนที่ของ
อนุภาคโปรตอนจะเปนอยางไร
1) วิ่งตอไปเปนเสนตรงดวยความเร็วคงตัว 2) เบนไปทางขวา
3) เบนไปทางซาย 4) วิ่งตอไปเปนเสนตรงและถอยหลังกลับในที่สุด

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (19)


9. ถามีอนุภาคมีประจุไฟฟา +q อยูในสนามไฟฟาระหวางแผนคูขนานดังรูป ถาเดิมอนุภาคอยูนิ่ง ตอมาอนุภาค
จะเคลื่อนที่อยางไร
+ + + + + + + +
+Y
+q
O
+X
- - - - - - - - - -
1) ทิศ +X ดวยความเรง 2) ทิศ -X ดวยความเรง
3) ทิศ +Y ดวยความเรง 4) ทิศ -Y ดวยความเรง
10. ขณะที่อนุภาคมีประจุไฟฟา +q มวล m เคลื่อนที่ในแนวระดับในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กดังรูป อนุภาค
จะมีการเคลื่อนที่อยางไร
+ + + + + + + +
× × × × × × × × × 1) โคงขึ้น
× 2) โคงลง
×
v×× ×
×
×
×
×+q×
× ×
×
×
×
×
×
× 3) โคงออกมาจากกระดาษ
× × × × × × × × × 4) โคงเขาไปในกระดาษ
- - - - - - - - - -
11. สนามแมเหล็กโลกมีลักษณะตามขอใด (ขางบนเปนขั้วเหนือภูมิศาสตร)

S S
1) 2)
N N

N N
3) 4)
S S

วิทยาศาสตร ฟสิกส (20) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


การเคลื่อนที่เปนวงกลม
การเคลื่อนที่เปนวงกลม
1. การเคลื่อนที่เปนวงกลม (Circular motion) คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีเสนทางการเคลื่อนที่เปน
เสนรอบวงของวงกลม โดยมีแรงกระทําตอวัตถุตั้งฉากกับความเร็วอยูตลอดเวลา

2. ความเร็วของการเคลื่อนที่เปนวงกลม
1. ความเร็วเชิงเสน (Linear Velocity) คือ ความยาวตามสวนโคงของการเคลื่อนที่ที่วัตถุเคลื่อนได
ใน 1 หนวยเวลา หนวยเปนเมตรตอวินาที (m/s)
2. ความเร็วเชิงมุม (Angular Velocity) คือ มุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับสวนโคงของการเคลื่อนที่ที่
วัตถุเคลื่อนไดใน 1 หนวยเวลา หนวยเปนเรเดียนตอวินาที (rad/s)
3. ความเรงสูศูนยกลาง (Centripetal Acceleration) คือ ความเรงแหงการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปน
วงกลม โดยมีทิศเขาสูจุดศูนยกลางของวงกลม หนวยเปนเมตรตอวินาที2 (m/s2)
4. คาบ (Period) คือ เวลาที่วัตถุใชในการเคลื่อนที่เปนวงกลม 1 รอบ หนวยเปนวินาที (s)
5. ความถี่ (Frequency) คือ จํานวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลมไดใน 1 หนวยเวลา หนวยเปนเฮิรตซ (Hz)
6. แรงเขาสูศูนยกลาง (Centripetal Force) คือ แรงที่กระทําตอวัตถุใหมีการเคลื่อนที่เปนวงกลม โดย
มีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับความเร็วของวัตถุ ณ จุดนั้น หนวยเปนนิวตัน (N)
7. สูตรในการคํานวณการเคลื่อนที่เปนวงกลม
1. θ = สวรันโค
ศมี
ง 2. v = 2 πt r = 2πrf = ωr
2
3. ω = θt = 2Tπ = 2πf = vr 4. ac = vr = ω2r
2
5. T = 1f 6. Fc = mvr = mω2r
เมื่อ θ คือ ระยะทางเชิงมุม (เรเดียน, rad)
r คือ รัศมีของวงกลม (เมตร, m)
v คือ ความเร็วเชิงเสน (เมตรตอวินาที, m/s)
ω คือ ความเร็วเชิงมุม (เรเดียนตอวินาที, rad/s)
T คือ คาบ (วินาที, s)
f คือ ความถี่ (เฮิรตซ, Hz)
ac คือ ความเรงเขาสูศูนยกลาง (เมตรตอวินาที2, m/s2)
Fc คือ แรงเขาสูศูนยกลาง (นิวตน, N)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (21)


การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารมอนิก
1. การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารมอนิก (Simple Harmonic Motion)
เปนระบบการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ํารอยเดิมเสมอ เชน การแกวงของลูกตุมนาฬิกา การสั่นของลวด
สปริง เปนตน
ความเรงของการเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารมอนิกจะไมคงที่โดยจะเปนสัดสวนกับการขจัด (Displacement)
แตทิศทางตรงกันขามกัน
2. วัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็วคงที่
เงาของวัตถุจะเคลื่อนที่แบบ S.H.M.

P เปนอนุภาคชิ้นหนึ่ง เริ่มเคลื่อนที่จากจุด B เปนวงกลมดวยอัตราเร็ว


a, b, c, d คือ ตําแหนงที่ P เคลื่อนที่เปนวงกลม
a′, b′, c′, d′ คือ ตําแหนงที่เงา (Projection) ของ P บนแกน AB
จะสังเกตเห็นวา เงาของ P จะเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ํารอยเดิมอยูบนแกน ดังนั้นเงาของ P จึงเคลื่อนที่
แบบ S.H.M.
หาการขจัด หาความเร็ว หาความเรง

จากรูป OP คือ ระยะขจัด จากรูป จากรูป


ที่ตองการ vx = v0 sin θ ax = ac cos θ
R คือ รัศมี vx = v0 sin (ωt) ax = ω2R cos θ
x = R cos θ vx = ωR sin (ωt) ( va มีทิศตรงขามกับ vx เสมอ)
x = R cos (ωt)
x = R cos (2πft)

วิทยาศาสตร ฟสิกส (22) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3. การสั่นของลวดสปริง
แสดงดวยรูปภาพไดดังนี้
สภาพปกติ การหดของสปริง การยืดของสปริง

เมื่อสปริงเกิดการยืดหรือการหด จะทําใหเกิดแรงในสปริง โดยมีขนาดแปรผันกับระยะยืดหรือระยะหดของ


สปริง จะไดวา
F ∝ x
F = kx
เมื่อ k คือ คานิจของสปริง (Spring Constant)
(นิจของสปริง หมายถึง แรงที่ทําใหสปริงยืดหรือหด 1 หนวยความยาว)
เมื่อ x คือ ระยะยืดหรือหดของสปริงเบา (เมตร, m)
m คือ มวลวัตถุที่หอยติดกับสปริง (กิโลเมตร, kg)
k คือ คานิจของสปริง (นิวตันตอเมตร, N/m)
a คือ ความเรงซึ่งมีทิศทางตรงขามกับการขจัด (เมตรตอวินาที2, m/s2)
T คือ คาบของการสั่น (วินาที, s)
จะไดสูตรเกี่ยวกับการสั่นของลวดสปริง ดังนี้
(1) a = - kx m มาจาก F = ma
(2) T = 2π mk

4. การแกวางของลูกตุมนาฬิกา (Simple Pendulum)


จากรูป ถา θ มีคานอยมาก ดังนั้น sin θ = tan θ = lx
เมื่อลูกตุมแกวงผานตําแหนงสมดุล l ไปทางตําแหนง B
ลูกตุมจะเคลื่อนชาลง (ความเรงเปนลบ) เพราะแรง mg sin θ จะ
ดึงลูกตุม เขาหาตําแหนงสมดุล แตทิศทางของการขจัดที่ออกจาก
ตําแหนงสมดุลจะมีทิศตรงขามกัน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (23)


จาก F = ma
จะไดวา aT = -g sin θ = -w2x
เมื่อ aT คือ ความเรงตามเสนสัมผัส
ถา T คือ คาบของการแกวาง จะไดวา T = 2π gl

5. การเคลื่อนที่ของรถยนตและจักรยานยนตบนทางโคง
พิจารณาทางดานบน
แรงเสียดทาน = แรงสูศูนยกลาง
2
µ(mg) = mvr

µ = v2
rg

แรงกระทําตอรถยนตขณะเลี้ยวโคง แรงกระทําตอจักรยานยนต ขณะ


(แรงปฏิกิริยากระทําที่ลอนอก เพราะ เลี้ยวโคง
เมื่อจะพลิกคว่ําจะยกลอในขึ้น)

ถา θ คือ มุมที่เอียงตัวทํากับแนวดิ่ง


หรือ θ คือ มุมที่ตองยกพื้นเอียง
2
tan θ = vrg
2 2
ขอสังเกต : ถา vrg > µ จะลม แต vrg ≤ µ จะเลี้ยวโคงได

วิทยาศาสตร ฟสิกส (24) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยางขอสอบ
1. ถาการแกวงของนอตแบบฮารมอนิกอยางงายจากตําแหนง A ไป B ใชเวลา 0.5 วินาที คาบการแกวงจะมีคากี่
วินาที
1) 0.5 วินาที
2) 1 วินาที
C A 3) 2 วินาที
B 4) 4 วินาที
2. นอตขนาดเล็กผูกดวยสายเอ็นแขวนไวใหสายยาว l ซึ่งสามารถเปลี่ยนใหมีคาตางๆ ได คาบการแกวง T
ของนอตจะขึ้นกับความยาว l อยางไร

1) T2 เปนปฏิภาคโดยตรงกับ l 2) T เปนปฏิภาคโดยตรงกับ l
2 2
3) T เปนปฏิภาคโดยตรงกับ l 4) T เปนปฏิภาคโดยตรงกับ l
3. รถไตถังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสม่ําเสมอและวิ่งครบรอบได 5 รอบในเวลา 2 วินาที หากคิดในแงความถี่ของ
การเคลื่อนที่ ความถี่จะเปนเทาใด
1) 2.5 Hz 2) 1.5 Hz 3) 0.5 Hz 4) 0.4 Hz
4. เหวี่ยงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนแนววงกลมในระนาบระดับศีรษะ 20 รอบ ใชเวลา 5 วินาที จุกยางเคลื่อนที่
ดวยความถี่เทาใด
1) 0.25 รอบ/วินาที 2) 4 รอบ/วินาที 3) 5 รอบ/วินาที 4) 10 รอบ/วินาที
5. การเคลื่อนที่ใดที่แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีทิศตั้งฉากกับทิศของการเคลื่อนที่ตลอดเวลา
1) การเคลื่อนที่ในแนวตรง 2) การเคลื่อนที่แบบวงกลมดวยอัตราเร็วคงตัว
3) การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล 4) การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
6. การทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
ถาใหลูกตุมเคลื่อนที่จาก A ไป B ไป C แลวไป B ดังรูป
ใชเวลา 3 วินาที คาบของการเคลื่อนที่มีคาเทาใด
A C 1) 2 s 2) 3 s
B 3) 4 s 4) 6 s
7. ขอความใดถูกตองเกี่ยวกับคาบของลูกตุมอยางงาย
1) ไมขึ้นกับความยาวเชือก 2) ไมขึ้นกับมวลของลูกตุม
3) ไมขึ้นกับแรงโนมถวงของโลก 4) มีคาบเทาเดิมถาไปแกวงบนดวงจันทร

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (25)


คลื่น
1. ประเภทของคลื่น
1. คลื่น (Wave) คือ สถานการณการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนตัวกลางเนื่องจากการรบกวนจากภายนอก
2. การจําแนกประเภทของคลื่น
1. ถาจําแนกตามลักษณะของการสั่น แบงเปน 2 ประเภท คือ
1.1 คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) คือ คลื่นที่มีทิศทางการเคลื่อนที่ตั้งฉากกับทิศการ
เคลื่อนที่ของอนุภาค เชน คลื่นน้ํา คลื่นเชือก คลื่นแมเหล็กไฟฟา เปนตน
1.2 คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) คือ คลื่นที่มีทิศทางการเคลื่อนที่อยูในแนวเดียวกับทิศ
การเคลื่อนที่ของอนุภาค เชน คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัดตัวของสปริง เปนตน
2. ถาจําแนกตามลักษณะของตัวกลาง แบงเปน 2 ประเภท คือ
2.1 คลื่นกล (Mechanical Wave) คือ คลื่นที่แผออกไปโดยอาศัยตัวกลาง เชน คลื่นน้ํา คลื่น
เสียง คลื่นเชือก เปนตน
2.2 คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Wave) คือ คลื่นที่แผออกโดยไมตองอาศัยตัวกลาง
เชน คลื่นวิทยุ คลื่นแสง เปนตน
3. คลื่นดล (Pulse Wave) คือ คลื่นที่สงออกมาจากแหลงกําเนิดโดยการรบกวนหนึ่งครั้งชนิดของคลื่นดล
แตกตางไปตามลักษณะของการรบกวน เชน คลื่นดลวงกลม คลื่นดลเสนตรง คลื่นดลจะเกิดขึ้นในระยะเวลาสั้น
4. คลื่นตอเนื่อง (Continuous Wave) คือ คลื่นที่สงออกมาจากแหลงกําเนิด โดยการรบกวนหลายๆ
ครั้งอยางตอเนื่อง คลื่นตอเนื่องจะเกิดขึ้นในระยะเวลายาว
2. นิยามในเรื่องคลื่น
1. แอมพลิจูด (Amplitude; A) คือ ระยะการขจัดสูงสุดของคลื่นที่วัดจากเสนปกติ (แนวสมดุล)
การขจัด

A A เสนปกติ (แนวสมดุล)
A A

วิทยาศาสตร ฟสิกส (26) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


2. เฟส (Phase) คือ มุมที่อนุภาคกวาดไปตามเสนรอบวงเมื่อมีการเคลื่อนที่จากจุดเริ่มตน ใชบอก
ตําแหนงของอนุภาคในคลื่น
1. เฟสตรงกัน คือ เฟสแสดงตําแหนงของคลื่นที่มีลักษณะอยางเดียวกัน (อนุภาคมีการขจัดเทากัน
และเคลื่อนที่ขึ้นหรือลงอยางเดียวกัน)
2. เฟสตรงขามกัน คือ เฟสแสดงตําแหนงของคลื่นที่มีลักษณะตรงขามกัน (อนุภาคมีการขจัดเทากัน
แตเคลื่อนที่ขึ้นหรือลงตรงขามกัน)
การขจัด
a b
O
π 2π 3π 4π เฟส
c

ขอสังเกต : ก. จุด a มีเฟสตรงกับจุด b


จุด c มีเฟสตรงขามกับจุด a และจุด b
ข. จุดที่มีเฟสตรงกัน จะมีระยะหางกันเปน nλ
จุดที่มีเฟสตรงขามกัน จะมีระยะหางกันเปน  n + 12 λ
(เมื่อ n คือ จํานวนเต็มใดๆ)
3. ความยาวคลื่น (Wave Length; λ) คือ ระยะหางระหวางจุด 2 จุด บนคลื่นที่มีเฟสตางกัน 2π
เรเดียน
การขจัด

O π 2π 3π 4π เฟส

4. คาบ (Period; T) คือ เวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ


5. ความถี่ (Frequency : f) คือ จํานวนรอบที่คลื่นเคลื่อนที่ในหนึ่งหนวยเวลา
นั่นคือ f = T1

เมื่อ f คือ ความถี่ (จํานวนรอบ/วินาที หรือ Hz)


T คือ คาบ (s)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (27)


6. ความถี่เชิงมุม (Angular frequency : ω) คือ คามุมที่คลื่นเคลื่อนที่ในหนึ่งหนวยเวลา ดังนั้น
ω = 2πf
เมื่อ ω คือ ความถี่เชิงมุม (เรเดียนตอวินาที, rad/s)
7. หนาคลื่น (Wave Front) คือ แนวเสนตรงที่ลากผานจุดที่มีเฟสเทากัน
8. ความเร็วคลื่น (Velocity) คือ อัตราการเคลื่อนที่ของคลื่น พิจารณาได 2 อยาง คือ
1. ความเร็วเฟส (Phase Velocity) คือ อัตราการเคลื่อนที่ของคลื่นโดยพิจารณา ณ จุดใดจุดหนึ่ง
หรือเฟสใดเฟสหนึ่งของคลื่น คํานวณหาไดจาก
v = fλ
เมื่อ v คือ ความเร็วเฟส (m/s)
f คือ ความถี่ของคลื่น (Hz)
λ คือ ความยาวคลื่น (m)
2. ความเร็วกลุม (Group Velocity) คือ อัตราการเคลื่อนที่ของคลื่นโดยพิจารณาจากคลื่นทั้งกลุม
มิไดพิจารณา ณ จุดใดจุดหนึ่ง
9. การหาความเร็วของคลื่นน้ํา ในกรณีที่ความยาวคลื่นมากกวาความลึกของน้ํามากๆ หาไดดังตอไปนี้
v ≅ gd เมื่อ λ >> d เมื่อความยาวคลื่น (λ)
มากกวาความลึกของน้ํา (d) มากๆ
เมื่อ v คือ ความเร็วของคลื่นน้ํา (m/s)
g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง (g = 9.8 m/s2)
d คือ ความลึกของน้ํา (m)
10. หลักการรวมไดของคลื่น (Superposition Principle) กลาววา “การขจัดของแตละตําแหนงของ
คลื่นรวม มีคาเทากับผลบวกของการขจัดของแตละคลื่น โดยหลังจากที่คลื่นเคลื่อนที่ผานกันไป แตละคลื่นจะยังคง
มีรูปรางเชนเดิม”
11. แหลงกําเนิดอาพันธ คือ แหลงกําเนิดคลื่นที่มีความถี่เทากันและมีเฟสตรงกันหรือตางกันคงที่
3. สมบัติของคลื่น
1. การสะทอน (Reflection) ของคลื่น คือ การที่คลื่นเคลื่อนที่กลับมาในตัวกลางเดิม มุมตกกระทบจะ
เทากับมุมสะทอน
2. การหักเห (Reflaction) ของคลื่น คือ ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนไปจากทิศทางเดิมหลังจาก
เคลื่อนที่ผานตัวกลางที่มีความหนาแนนตางกัน
3. การแทรกสอด (Interference) ของคลื่น คือ การรวมกันของคลื่นตอเนื่องที่พบกัน จึงเกิดการเสริม
กันที่ตําแหนงปฏิบัพ (Antinode) และหักลางกันที่ตําแหนงบัพ (Node)
4. การเลี้ยวเบน (Diffraction) ของคลื่น คือ คลื่นสามารถแผฉากขอบของสิ่งกีดขวางไปทางดานหลัง
ของสิ่งกีดขวางได และถาทําใหสิ่งกีดขวางเปนชองเปดเล็กๆ จะสังเกตไดชัดเจน

วิทยาศาสตร ฟสิกส (28) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


เสียง
1. อัตราเร็วของเสียง
1. เสียง (Sound) เกิดจากการสั่นของวัตถุ ทําใหพลังงานจากการสั่นของวัตถุถูกถายทอดใหแกโมเลกุล
ของตัวกลาง ซึ่งจะถูกถายทอดตอใหแกโมเลกุลของตัวกลางโมเลกุลถัดไปเรื่อยๆ
การสั่นของคลื่นเสียง ทําใหความดันของอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงดวยความถี่เทากับความถี่ของ
แหลงกําเนิดเสียง
คลื่นเสียงเปนคลื่นตามยาว
2. เสียงกอง (Echo) คือ เสียงๆ เดียวที่เราไดยินซ้ํากันอยางตอเนื่อง เสียงกองที่เราไดยินแตละครั้งจะ
คางอยูในหูนานประมาณ 10 1 วินาที

3. ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วของเสียงกับอุณหภูมิ หาไดจาก
vt = 331 + 0.6t
เมื่อ vt คือ อัตราเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ t°C (m/s)
t คือ อุณหภูมิ (°C)
v1 T
หรือ v2 = T1
2

เมื่อ v1, v2 คือ อัตราเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ T1, T2 ตามลําดับ


T1, T2 คือ อุณหภูมิ (K)
4. อัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตางๆ
1. อัตราเร็วของเสียงในของแข็ง หาไดจาก

v = Y
ρ

เมื่อ Y คือ Young’s Modulus (สัมประสิทธิ์การยืดหยุนของของแข็ง)


ρ คือ ความหนาแนนของของแข็ง
2. อัตราเร็วของเสียงในของเหลว หาไดจาก

v = B
ρ

เมื่อ B คือ Bulk’s Modulus (สัมประสิทธิ์การยืดหยุนของของเหลว)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (29)


3. อัตราเร็วของเสียงในแกส หาไดจาก

v = KP
ρ

เมื่อ K คือ อัตราสวนของความรอนจําเพาะของแกสเมื่อความดันและปริมาตรคงที่


P คือ ความดันของแกส
2. บีตสและคลื่นนิ่ง
1. บีตส (Beats) เกิดจากการรวมของคลื่นเสียง 2 คลื่นที่มีความถี่ตางกัน ทําใหคลื่นเสริมและหักลางกัน
สลับเปนชวงๆ ทําใหเสียงที่ไดยินคอยบางดังบางสลับกันไป โดยจะมีจังหวะชาหรือเร็วตามความแตกตางระหวาง
ความถี่ทั้งสอง
โดยปกติ มนุษยจะไดยินบีตสที่มีความถี่ไมเกิน 7 Hz

2. ความถี่ของบีตส คือ จํานวนเสียงที่ดังในหนึ่งวินาที หาไดจาก


∆f = |f2 - f1|
เมื่อ ∆f คือ ความถี่ของบีตส
f1, f2 คือ ความถี่ของคลื่นเสียงที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
f1 + f2
ความถี่ของเสียงที่ไดยิน = 2
3. คลื่นนิ่ง (Standing Wave) เปนปรากฏการณอยางหนึ่งในการสะทอนของเสียง กลาวคือ เมื่อเสียง
ไปตกกระทบกับวัตถุ เชน กําแพง เสียงจะเกิดการสะทอนซึ่งคลื่นที่สะทอนกลับมาจะแทรกสอดกับคลื่นเสียงทําให
เกิดคลื่นนิ่งที่สามารถตรวจสอบจุดปฏิบัติและจุดบัพได
λ
N 2

ระยะระหวางบัพหรือระหวางปฏิบัพของคูถัดไปเทากับ λ2

วิทยาศาสตร ฟสิกส (30) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3. ความถี่ธรรมชาติและการกําทอน
1. ความถี่ธรรมชาติ (Natural Frequency) คือ ความถี่ที่วัตถุสามารถสั่นหรือแกวงไดอยางอิสระ
2. กําทอน (Resonance) คือ ปรากฏการณที่การสั่นของวัตถุใดๆ มีความถี่ของการสั่นเทากับความถี่
ธรรมชาติ จะทําใหวัตถุนั้นมีการสั่นที่รุนแรงที่สุด
3. การคํานวณในทอปลายปดและทอปลายเปด
1. ทอปลายปด 1 ปลาย ปลายกนทอจะเปนจุด Node และปากทอจะเปนจุด Antinode
A A A
N
N N

Fundamental First Overtone

4L = (2n - l )λ n = 1, 2, 3, ...
เมื่อ L คือ ความยาวของทอ
λ คือ ความยาวคลื่นของคลื่นในทอ
2. ทอปลายปด 2 ปลาย ปลายทอทั้งสองปลายเปนจุด Antinode
A A A A A
N N N

Fundamental First Overtone

2L = nλ n = จํานวนบัพ = 1, 2, 3, ...

4. การไดยิน
1. กําลังเสียง (Power of Sound) คือ พลังงานที่สงออกมาจากแหลงกําเนิดเสียงในหนึ่งหนวยเวลา
2. ความเขมเสียง (Sound Intensity) คือ กําลังเสียงที่ตกกระทบตั้งฉากกับพื้นที่ของหนาคลื่นของ
ทรงกลมหนึ่งตารางหนวย หาไดจาก
I = P
4 πR 2
เมื่อ I คือ ความเขมเสียง (W/m2)
P คือ กําลังเสียง (W)
R คือ ระยะจากแหลงกําเนิดเสียงไปยังตําแหนงที่จะหาคาความเขมเสียง (m)
จากสมการพบวา เมื่อระยะระหวางผูฟงกับแหลงกําเนิดเสียงเพิ่มขึ้น ความเขมเสียงจะลดลง
ความเขมเสียงที่หูของมนุษยจะทนฟงไดดี คือ 1 W/m2

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (31)


3. ความเขมสัมพัทธของเสียง (Relative Intensity) คือ ปริมาณการเปรียบเทียบของเสียงกับความ
เขมเสียงต่ําที่สุดที่มนุษยไดยิน
ความเขมสัมพัทธของเสียง = II
0

เมื่อ I คือ ความเขมเสียงใดๆ (W/m2)


I0 คือ ความเขมเสียงต่ําที่สุดที่มนุษยไดยิน (I0 = 10-12 W/m2)
4. ระดับความเขมเสียง (Sound Intensity Level) มีหนวยเปนเดซิเบล (dB) หาไดจาก
β = 10 log II
0

เมื่อ β คือ ระดับความเขมเสียง


ระดับความเขมเสียงต่ําสุดที่มนุษยไดยิน = 0 dB
ระดับความเขมเสียงสูงสุดที่มนุษยทนได = 120 dB
5. ระดับเสียง (Pith) คือ ความทุมแหลมของเสียง ซึ่งขึ้นอยูกับความถี่ของคลื่นเสียง ความถี่ของเสียงที่
มนุษยทั่วไปไดยิน จะมีคาตั้งแต 20 ถึง 20000 Hz
6. คลื่นอินฟราโซนิก (Infrasonic Wave) มีความถี่ของเสียงต่ํากวา 20 Hz
7. คลื่นอุลตราโซนิก (Ultrasonic Wave) มีความถี่ของเสียงสูงกวา 20000 Hz
8. คุณภาพของเสียง คือ ความไพเราะของเสียงซึ่งขึ้นอยูกับจํานวนโอเวอรโทน และความเขมของเสียง
ณ โอเวอรโทนนั้น ซึ่งสามารถพิจารณาไดจากการสั่นของสายกีตาร
λ
2
Loop 1 Loop 2 Loop 3

นั่นคือ L = n ⋅ λ2

เมื่อ L คือ ความยาวของสายกีตาร


n คือ จํานวนลูปที่เกิดขึ้นบนสายกีตาร
λ คือ ความยาวคลื่น

วิทยาศาสตร ฟสิกส (32) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ความถี่ของการสั่นลักษณะตางๆ หาไดจากสูตร
n ⋅v = n
fn = λv = 2L T
2L µ

เมื่อ T คือ ความดึงในสายกีตาร (N)


µ คือ มวลตอความยาวของสายกีตาร (kg/m)
fn คือ ความถี่ ซึ่งอาจเรียกไดหลายแบบดังนี้
n f เรียกแบบแรก เรียกแบบที่สอง
1 v/2L Fundamental First Harmonic
2 2v/2L First Overtone Second Harmonic
3 3v/2L Second Ovetone Third Harmonic
M M M M

5. ปรากฏการณดอปเปลอร (Doppler’s Effect)


1. ปรากฏการณดอปเปลอร คือ ปรากฏการณเปลี่ยนแปลงความถี่และความยาวคลื่นเมื่อตนกําเนิดเสียง
ผูสังเกตหรือทั้งสองอยางเคลื่อนที่ จะทําให
1. ผูสังเกตไดยินเสียงที่มีความถี่สูงขึ้น ในกรณีที่ผูสังเกตและแหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนเขาหากัน หรือ
หยุดนิ่ง 1 อยาง โดยที่อีกอยางเคลื่อนเขาหา
2. ผูสังเกตไดยินเสียงที่มีความถี่ต่ําลงในกรณีที่
- ผูสังเกตเคลื่อนที่หนีจากแหลงกําเนิดเสียง
- แหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่หนีจากผูสังเกต
- แหลงกําเนิดเสียงและผูสังเกตเคลื่อนที่หนีจากกัน
2. สูตรสําหรับปรากฏการณดอปเปลอร
1. กรณีที่ไมมีลม

fL = fS  cc -- vvL 
 
 S

2. กรณีที่มีลมพัด

fL = fS  cc ++ vvW -- vvL 
 
 W S

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (33)


ถาทิศทางลมไมอยูในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ใหแตกทิศทางลมใหอยูในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่
เมื่อ fL คือ ความถี่ของคลื่นเสียงที่สังเกตได
fS คือ ความถี่ของคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิด
c คือ ความเร็วของเสียงในอากาศ
vL คือ ความเร็วที่สังเกตได
vS คือ ความเร็วของแหลงกําเนิดเสียง
หมายเหตุ : สูตรที่ใชคือสูตร (1), (2) เทานั้น แตเครื่องหมายของคาแตละคาจะเปลี่ยนไปตามแต
สถานการณ
เมื่อความเร็วมีทิศไปทางขวา เครื่องหมายประจําตัวจะเปนบวก แตถาความเร็วมีทิศไปทางซาย
เครื่องหมายประจําตัวจะเปนลบ
คา fL, fS ที่ไดจากสูตรทั้งสอง สามารถนําไปหาคาความยาวคลื่นไดจากสูตร v = fλ
6. คลื่นกระแทก
1. ซุปเปอรโซนิก (Supersonic) คือ ความเร็วของวัตถุในอากาศที่มีความเร็วสูงกวาความเร็วเสียง
2. เลขมัด (Mach number) คือ อัตราสวนเปรียบเทียบระหวางความเร็วของเครื่องบินที่บินเร็วกวา
เสียงกับความเร็วของเสียง หาไดดังนี้
mach number = cv

วิทยาศาสตร ฟสิกส (34) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


คลื่นแมเหล็กไฟฟา
1. แมกซเวลล (James Clerk Maxwell) ไดเสนอความคิดวา
1. เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟาขึ้นรอบๆ
2. เมื่อสนามไฟฟาเปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้นรอบๆ
2. คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Wave) เกิดจากการเหนี่ยวนําสลับกันอยางตอเนื่องระหวาง
สนามแมเหล็กกับสนามไฟฟา โดยการเคลื่อนที่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟาไมอาศัยตัวกลาง แตอาศัยการเปลี่ยนแปลง
ของสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา
สนามแมเหล็กและสนามไฟฟามีเฟสตรงกัน ทิศของสนามแมเหล็กตั้งฉากกับสนามไฟฟา และสนามทั้ง
สองตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
ความเร็วของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเทากับความเร็วของแสง (c = 3 × 108 m/s)
3. สเปคตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Spectrum) คือ คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีชวง
ของความถี่ตอเนื่องตางๆ กัน

4. คลื่นวิทยุ (Radio Wave) เกิดจากการปลดปลอยพลังงานของอิเล็กตรอนในกระแสไฟฟาสลับความถี่


สูง มีความถี่อยูในชวง 104 - 109 เฮิรตซ
5. การสงคลื่นวิทยุในระบบ A.m. (Amplitude Modulation) คือ การรวมสัญญาณเสียงเขากับ
สัญญาณคลื่นวิทยุซึ่งเรียกวา คลื่นพาหะ โดยสัญญาณเสียงจะทําใหแอมพลิจูดของคลื่นวิทยุเปลี่ยนไปแตความถี่
ยังคงที่
ความถี่ของคลื่นวิทยุที่สงในระบบ A.M. อยูในชวง 530 - 1600 กิโลเฮิรตซ
6. การสงคลื่นวิทยุในระบบ F.M. (Frequency Modulation) คือ การรวมสัญญาณเสียงเขากับคลื่น
พาหะ โดยสัญญาณเสียงจะทําใหความถี่ของคลื่นวิทยุเปลี่ยนไปแตแอมพลิจูดยังคงที่
ความถี่ของคลื่นวิทยุที่สงในระบบ F.M. อยูในชวง 88 - 108 เมกะเฮิรตซ
7. คลื่นดิน (Ground Wave) คือ คลื่นวิทยุที่เคลื่อนไปโดยตรงในระดับสายตา
8. คลื่นฟา (Sky Wave) คือ คลื่นวิทยุที่สะทอนลงมาจากบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร แตคลื่นวิทยุที่มี
ความถี่สูงจะสะทอนไดนอยลง ตามลําดับ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (35)


9. ความถี่ของคลื่นวิทยุ หาไดจาก
f = 1
2 L 1C1

เมื่อ f คือ ความถี่ของคลื่นวิทยุ (เฮิรตซ, Hz)


L1 คือ คาความเหนี่ยวนําของขดลวด (เฮนรี่, H)
C1 คือ คาความจุของตัวเก็บประจุ (ฟารัด, F)
10. คลื่นโทรทัศนและไมโครเวฟ มีความถี่สูงในชวง 108 - 1012 เฮิรตซ จึงไมสะทอนกับบรรยากาศชั้น
ไอโอโนสเฟยรแตจะทะลุผานออกสูนอกโลก ดังนั้นการสงสัญญาณคลื่นจึงใชสถานีถายทอดเปนระยะๆ หรืออาจ
ถายทอดผานดาวเทียม
11. เรดาร (RADAR ยอมาจาก Radio Detection And Ranging) เปนอุปกรณตรวจหาวัตถุ โดย
อาศัยหลักการสงไมโครเวฟไปสะทอนวัตถุ
12. รังสีอินฟราเรด (Infrared) หรือรังสีใตแดง มีความถี่อยูในชวง 1011 - 1014 เฮิรตซ ซึ่งเปนความถี่
ต่ํา มนุษยไมสามารถสัมผัสดวยตา แตประสาทของรางกายรับรูไดในรูปของความรอน โดยปกติสิ่งมีชีวิตจะแผรังสี
อินฟราเรดออกมาตลอด
13. แสง (Light) เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่ประมาณ 1014 เฮิรตซ ซึ่งสายตาของมนุษยมองเห็นได
แสงสวนใหญเกิดจากวัตถุที่มีความรอนสูง เชน ดวงอาทิตย ไสหลอดไฟฟา โดยเกิดพรอมกันหลายความถี่และมี
เฟสไมแนนอน
14. เลเซอร (LASER ยอมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation)
เปนแสงที่เกิดจากแหลงกําเนิดแสงอาพันธซึ่งใหแสงโดยไมตองอาศัยความรอน แสงเลเซอรมีความถี่เดียวและมี
เฟสแนนอน
15. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) หรือรังสีเหนือมวง เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง
1015 - 1018 เฮิรตซ สวนใหญเกิดจากการแผรังสีของดวงอาทิตย
รังสีอัลตราไวโอเลตมีพลังงานพอเหมาะที่สามารถชนอิเล็กตรอนใหหลุดจากโมเลกุลของอากาศ จึงเปน
ตัวการที่ทําใหเกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร รังสีชนิดนี้ไมสามารถทะลุผานสิ่งกีดขวาง
หนาๆ แตสามารถทําใหเชื้อโรคบางชนิดตายได และจะเกิดอันตรายตอผิวหนังและตาของคนในกรณีที่ไดรับรังสี
เปนจํานวนมาก
16. รังสีเอกซ (X-rays) เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง 1016 - 1022 เฮิรตซ เกิดจากการ
ปลดปลอยพลังงานของอิเล็กตรอน
รังสีเอกซสามารถเคลื่อนที่ทะลุผานสิ่งกีดขวางหนาๆ แตจะถูกกั้นโดยอะตอมของธาตุหนักไดดีกวาธาตุ
เบา
17. รังสีแกมมา (Gamma Rays) เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาทั้งหลายที่มีความถี่สูงกวารังสีเอกซ ซึ่งอาจเกิด
ในหลายวิธี เชน เกิดจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เปนตน

วิทยาศาสตร ฟสิกส (36) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยางขอสอบ
1. คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 10 เฮิรตซ มวลของเชือกที่จุดใดๆ จะสั่นไดกี่รอบในเวลา 1 นาที
1) 0.1 รอบ 2) 1 รอบ 3) 10 รอบ 4) 100 รอบ
2. เมื่อคลื่นเดินทางจากน้ําลึกสูน้ําตื้น ขอใดตอไปนีถ้ ูก
1) อัตราเร็วคลื่นในน้ําลึกนอยกวาอัตราเร็วคลื่นในน้ําตื้น
2) ความยาวคลื่นในน้ําลึกมากกวาความยาวคลื่นในน้ําตื้น
3) ความถี่คลื่นในน้ําลึกมากกวาความถี่คลื่นในน้ําตื้น
4) ความถี่คลื่นในน้ําลึกนอยกวาความถี่คลื่นในน้ําตื้น
3. ถาดีดกีตารแลวพบวาเสียงที่ไดยินต่ํากวาปกติ จะมีวิธีปรับแกใหเสียงสูงขึ้นไดอยางไร
1) เปลี่ยนใชสายเสนใหญขึ้น 2) ปรับสายใหหยอนลง
3) ปรับตําแหนงสายใหยาวขึ้น 4) ปรับสายใหตึงขึ้น
4. เสียงผานหนาตางในแนวตั้งฉาก มีคาความเขมเสียงที่ผานหนาตางเฉลี่ย 1.0 × 10-4 วัตตตอตารางเมตร
หนาตางกวาง 80 เซนติเมตร สูง 150 เซนติเมตร กําลังเสียงที่ผานหนาตางมีคาเทาใด
1) 0.8 × 10-4 W 2) 1.2 × 10-4 W 3) 1.5 × 10-4 W 4) 8.0 × 10-4 W
5. ชาวประมงสงคลื่นโซนารไปยังฝูงปลา พบวาชวงเวลาที่คลื่นออกไปจากเครื่องสงจนกลับมาถึงเครื่องเปน 1.0
วินาทีพอดี จงหาวาปลาอยูหางจากเรือเทาใด (กําหนดใหความเร็วของคลื่นในน้ําเปน 1540 เมตรตอวินาที)
1) 260 m 2) 520 m 3) 770 m 4) 1540 m
6. คลื่นวิทยุที่สงออกจากสถานีวิทยุสองแหง มีความถี่ 90 เมกะเฮิรตซ และ 100 เมกะเฮิรตซ ความยาวคลื่น
ของคลื่นวิทยุทั้งสองนี้ตางกันเทาใด
1) 3.33 m 2) 3.00 m 3) 0.33 m 4) 0.16 m
7. คลื่นใดตอไปนี้เปนคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
ก. คลื่นแสง ข. คลื่นเสียง ค. คลื่นผิวน้ํา
คําตอบที่ถูกตองคือ
1) ทั้ง ก., ข. และ ค. 2) ข. และ ค. 3) ก. เทานั้น 4) ผิดทุกขอ
8. ขอใดเปนการเรียงลําดับคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากความยาวคลื่นนอยไปมากทีถ่ ูกตอง
1) รังสีเอกซ อินฟราเรด ไมโครเวฟ 2) อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีเอกซ
3) รังสีเอกซ ไมโครเวฟ อินฟราเรด 4) ไมโครเวฟ อินฟราเรด รังสีเอกซ
9. การฝากสัญญาณเสียงไปกับคลื่นในระบบวิทยุแบบ เอ เอ็ม คลื่นวิทยุที่ไดจะมีลักษณะอยางไร
1) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามแอมพลิจูดของคลื่นเสียง
2) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามความถี่ของคลื่นเสียง
3) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามแอมพลิจูดของคลื่นเสียง
4) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามความถี่ของคลื่นเสียง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (37)


10. มนุษยอวกาศสองคนปฏิบัติภารกิจบนพื้นผิวดวงจันทร สื่อสารกันดวยวิธีใดสะดวกที่สุด
1) คลื่นเสียงธรรมดา 2) คลื่นเสียงอัลตราซาวด
3) คลื่นวิทยุ 4) คลื่นโซนาร
11. เมื่อคลื่นเคลื่อนจากตัวกลางที่หนึ่งไปตัวกลางที่สองโดยอัตราเร็วของคลื่นลดลง ถามวาสําหรับคลื่นในตัวกลาง
ที่สอง ขอความใดถูกตอง
1) ความถี่เพิ่มขึ้น 2) ความถี่ลดลง
3) ความยาวคลื่นมากขึ้น 4) ความยาวคลื่นนอยลง
12. คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่นิยมใชในรีโมทควบคุมการทํางานของเครื่องโทรทัศนคือขอใด
1) อินฟราเรด 2) ไมโครเวฟ 3) คลื่นวิทยุ 4) อัลตราไวโอเลต
13. ระดับเสียงและคุณภาพเสียงขึ้นอยูกับสมบัติใดตามลําดับ
1) ความถี่ รูปรางคลื่น 2) รูปรางคลื่น ความถี่ 3) แอมพลิจูด ความถี่ 4) ความถี่ แอมพลิจูด
14. ถากระทุมน้ําเปนจังหวะสม่ําเสมอ ลูกปงปองที่ลอยอยูหางออกไปจะเคลื่อนที่อยางไร
1) ลูกปงปองเคลื่อนที่ออกหางไปมากขึ้น 2) ลูกปงปองเคลื่อนที่เขามาหา
3) ลูกปงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยูที่ตําแหนงเดิม 4) ลูกปงปองเคลื่อนที่ไปดานขาง
15. ขอใดตอไปนี้เปนวัตถุประสงคของการบุผนังของโรงภาพยนตรดวยวัสดุกลืนเสียง
1) ลดความถี่ของเสียง 2) ลดความดังของเสียง
3) ลดการสะทอนของเสียง 4) ลดการหักเหของเสียง
16. คลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ปริมาณใดตอไปนี้ไมเปลี่ยนแปลง
1) ความถี่ 2) ความยาวคลื่น
3) อัตราเร็ว 4) ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
17. ในการเทียบเสียงกีตารกับหลอดเทียบเสียงมาตรฐาน เมื่อดีดสายกีตารพรอมกับหลอดเทียบเสียงเกิดบีตสขึ้น
ที่ความถี่หนึ่ง แตเมื่อขันใหสายตึงขึ้นเล็กนอยความถี่ของบีตสสูงขึ้น ความถี่ของเสียงกีตารเดิมเปนอยางไร
1) สูงกวาเสียงมาตรฐาน 2) ต่ํากวาเสียงมาตรฐาน
3) เทากับเสียงมาตรฐาน 4) อาจจะมากกวาหรือนอยกวาเสียงมาตรฐานก็ได
18. เมื่อใหแสงสีแดงผานเขาไปในปริซึม แสงสีแดงในปริซึมจะมีความเร็วและความยาวคลื่นอยางไรเทียบกับแสง
นั้นในอากาศ
1) ความเร็วลดลง ความยาวคลื่นเพิ่มขึ้น 2) ความเร็วลดลง ความยาวคลื่นลดลง
3) ความเร็วเพิ่มขึ้น ความยาวคลื่นเพิ่มขึ้น 4) ความเร็วเพิ่มขึ้น ความยาวคลื่นลดลง
19. คลื่นวิทยุ FM ความถี่ 88 เมกะเฮิรตซ มีความยาวคลื่นเทาใด กําหนดใหความเร็วของคลื่นวิทยุเทากับ
30 × 108 เมตร/วินาที
1) 3.0 m 2) 3.4 m 3) 6.0 m 4) 6.8 m
20. คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดใดตอไปนี้ที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
1) อินฟราเรด 2) ไมโครเวฟ 3) คลื่นวิทยุ 4) อัลตราไวโอเลต

วิทยาศาสตร ฟสิกส (38) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


นิวเคลียสและกัมมันตภาพรังสี
1. กัมมันตภาพรังสี
1. กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) เปนปรากฏการณที่นิวเคลียสของไอโซโทปไมเสถียร จึงปลอย
อนุภาคหรือพลังงานในรูปของโฟตอนออกมาเพื่อปรับสภาพของนิวเคลียสใหเสถียร
2. ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Elements) คือ ธาตุที่สามารถปลอยอนุภาคหรือโฟตอนไดเอง
จนกวานิวเคลียสของธาตุจะเสถียร
3. กัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติ (Natural Radioactivity) คือ กัมมันตภาพรังสีที่เกิดจากธาตุ
กัมมันตรังสีปลอยรังสีออกมาเองตามธรรมชาติ
4. กัมมันตภาพรังสีจากการกระทําของมนุษย (Artificial Radioactivity) คือ กัมมันตภาพรังสีที่เกิด
จากการที่มนุษยใชเทคนิคตางๆ เพื่อเปลี่ยนสภาพนิวเคลียสของธาตุ
5. ชนิดของกัมมันตภาพรังสี

จากการศึกษาแนวการเคลื่อนที่ของรังสีที่ออกมาจากธาตุกัมมันตภาพรังสี จะพบวาในบริเวณสนามแมเหล็ก
แนวการเคลื่อนที่ของรังสีจะมี 3 ลักษณะ (ดังรูป) ทําใหสามารถแบงชนิดของรังสีที่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสีได
3 ชนิด ดังนี้
1. รังสีแอลฟา (Alpha rays, α) หรืออนุภาคแอลฟา เปนนิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม
4
( 2 He ) มีคุณสมบัติดังนี้
1.1 มีมวลประมาณ 4u มีประจุไฟฟา +2e และมีพลังงานประมาณ 4 - 10 MeV
1.2 มีความสามารถทําใหเกิดการแตกตัวเปนไอออนเมื่อรังสีแอลฟาพุงผานสารใดๆ
1.3 มีอํานาจทะลุทะลวงต่ํา กลาวคือสามารถวิ่งผานอากาศไดเพียง 3 - 5 เซนติเมตร
1.4 จะเบี่ยงเบนเมื่อผานสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก เพราะรังสีแอลฟามีประจุ
1.5 มีปฏิกิริยาออนมากตอฟลมถายรูป

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (39)


2. รังสีบีตา (Beta rays, β) หรืออนุภาคบีตา เปนอิเล็กตรอนที่มาจากการเปลี่ยนสภาพของนิวเคลียส
มิไดเปนอิเล็กตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส มีคุณสมบัติดังนี้
2.1 มีมวลเทากับอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟา -1 e และมีพลังงานประมาณ 0.025 - 3.5 MeV
2.2 สามารถทําใหอากาศแตกตัวเปนไอออนได โดยมีอํานาจการไอออนไนซประมาณ 100 1 เทาของ
อนุภาคแอลฟา
2.3 มีอํานาจทะลุทะลวงมากกวาอนุภาคแอลฟา คือ สามารถวิ่งผานอากาศไดประมาณ 1 - 3 เมตร
2.4 จะเบี่ยงเบนเมื่อผานสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก
2.5 มีปฏิกิริยาตอฟลมถายรูปรุนแรงกวาอนุภาคแอลฟา
3. รังสีแกมมา (Gamma rays, γ) เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ประกอบดวยโฟตอนพลังงานสูง มีความ
ยาวคลื่นประมาณ 0.5 - 0.005 Ao มีคุณสมบัติดังนี้
3.1 มีสภาพเปนกลางทางไฟฟา และมีพลังงานประมาณ 0.04 - 3.2 MeV
3.2 สามารถทําใหแกสแตกตัวเปนไอออน แตการแตกตัวที่เกิดขึ้นนอยมาก
3.3 มีอํานาจทะลุทะลวงสูงกวาอนุภาคบีตา
3.4 ไมเบี่ยงเบนเมื่อผานสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก
3.5 มีปฏิกิริยาตอฟลมถายรูปรุนแรงกวาอนุภาคบีตา
3.6 ถูกดูดกลืนไดโดยผานสสารบางๆ ทําใหความเขมของรังสีลดลง
2. นิวเคลียส
1. สมมติฐานเกี่ยวกับโครงสรางของนิวเคลียส
หลังจากที่แชดวิค (Sir James Chadwick) คนพบอนุภาคนิวตรอน ไดมีการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับ
โครงสรางของนิวเคลียสวา “นิวเคลียสประกอบดวยอนุภาคโปรตอนและอนุภาคนิวตรอน โดยเรียกอนุภาคทั้งสอง
ที่รวมกันเปนองคประกอบของนิวเคลียสวา นิวคลีออน (Nucleon)” เราเรียกสมมติฐานนี้วา สมมติฐานโปรตอน-
นิวตรอน (Proton - Neutron Hypothesis)
2. คุณสมบัติทั่วไปของนิวเคลียส
1. มวลอะตอม (มวลของนิวเคลียส) มีคาใกลเคียงกับเลขมวลของอะตอม เชน ธาตุยูเรเนียมมีเลข
มวล 238 และมีมวลอะตอมเทากับ 238.05 u
โดย 1 atomic mass unit (u) = 1.66 × 10-27 กก.
2. ประจุของนิวเคลียส เนื่องจากนิวเคลียสประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน โดยนิวตรอนมีสภาพ
เปนกลางทางไฟฟา ดังนั้นนิวเคลียสจึงมีสภาพเปนประจุไฟฟาบวก โดยมีจํานวนประจุไฟฟาบวกเทากับเลขอะตอม
(Z)
3. รัศมีของนิวเคลียส เราถือวานิวเคลียสมีลักษณะเปนทรงกลมโดยมีรัศมีประมาณ 10-15 - 10-14
เมตร
4. ความหนาแนนของนิวเคลียส มีคาประมาณ 107 kg/m3

วิทยาศาสตร ฟสิกส (40) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3. เลขมวล (Mass Number; A) คือ ผลรวมของจํานวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส
4. เลขอะตอม (Atomic Number; Z) คือ จํานวนโปรตอนในนิวเคลียส
ดังนั้น จํานวนนิวตรอนในนิวเคลียส = A - Z
5. สัญลักษณของนิวเคลียสของธาตุ X นิยมเขียน 2 แบบ คือ
1. AZ X เชน 23892 U
2. X - A เชน U-238
เมื่อ A คือ เลขมวล และ Z คือ เลขอะตอม
6. ไอโซโทป (Isotope) ของธาตุเดียวกัน คือ นิวเคลียสที่มีจํานวนโปรตอนเทากันแตจํานวนนิวตรอน
ตางกัน โดยจะมีสมบัติทางเคมีเหมือนกันแตสมบัติทางกายภาพตางกัน ไอโซโทปแบงเปน 2 ประเภท คือ
1. ไอโซโทปกัมมันตรังสี (Radioactive Isotope) คือ ไอโซโทปที่ไมเสถียรจึงพยายามปรับสภาพให
เสถียรโดยการแผรังสีออกมาจากนิวเคลียส
2. ไอโซโทปเสถียร (Stable Isotope) คือ ไอโซโทปที่อยูในสภาพเสถียรจึงไมมีการปรับสภาพอีก
ตอไป
7. แมสสเปกโตรมิเตอร (Mass Spectrometer) เปนเครื่องมือที่ใชวิเคราะหมวลอะตอมของธาตุตางๆ
เพื่อที่จะจําแนกไอโซโทปของธาตุตางๆ แสดงดวยภาพไดดังนี้

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (41)


3. การสลายตัวใหกัมมันตภาพรังสี
1. กฎการสลายตัวใหกัมมันตภาพรังสี (Law of Radioactive Decay)
1. อะตอมของธาตุกัมมันตรังสีจะสลายตัว เปลี่ยนสภาพของนิวเคลียสใหกลายเปนธาตุใหม ดวยการ
แผรังสีแอลฟา บีตาหรือแกมมา
2. สภาพแวดลอมภายนอกนิวเคลียสไมมีผลตออัตราการสลายตัว แตอัตราการสลายตัวของนิวเคลียส
จะแปรผันกับจํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยูในขณะนั้น
2. อัตราการสลายตัวของนิวเคลียส คือ จํานวนนิวเคลียสที่สลายตัวไปใน 1 หนวยเวลา
จาก ∆N ∝ N
∆t

จะไดวา ∆N = -λ N
∆t

เมื่อ N คือ จํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยูขณะเวลา t


∆N คือ จํานวนนิวเคลียสที่สลายตัวในชวงเวลา ∆t
∆t คือ ชวงเวลาสั้นๆ ในการสลายตัวนับจากเวลา t
λ คือ คานิจของการสลายตัว
(เครื่องหมายลบ หมายถึง การลดลงของจํานวนนิวเคลียส)
3. กัมมันตภาพ (Activity) คือ อัตราการสลายตัวของนิวเคลียสในขณะหนึ่ง (∆t → 0) นั่นคือ
A = lim ∆∆Nt = dN
dt = -λN
∆t → 0

เมื่อ A คือ กัมมันตภาพ


4. หนวยของกัมมันตภาพ
ในระบบเอสไอ กัมมันตภาพมีหนวยเบกเคอเรล (Bq) แตในทางปฏิบัตินิยมวัดเปนหนวยคูรี (Ci)
1 Ci = 3.7 × 10-10 Bq
1 mCi = 3.7 × 107 Bq
1 µCi = 3.7 × 104 Bq
5. เมื่อธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวไปในขณะหนึ่ง (∆t → 0) จํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่
เหลืออยูหาไดจาก
N = N0 ⋅ e-λt

วิทยาศาสตร ฟสิกส (42) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


เมื่อ N0 คือ จํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีเมื่อเริ่มพิจารณา (t = 0)
N คือ จํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่เหลืออยูเมื่อเวลาผานไป t
e = 2.7182818
แต A = dN dt = -λN จะไดวา
A = A0 ⋅ e-λt
เมื่อ A0 คือ กัมมันตภาพขณะเริ่มพิจารณา (t = 0)
A คือ กัมมันตภาพที่เวลา t นับจากเริ่มตน
แตจํานวนนิวเคลียสแปรผันกับมวลของธาตุ จะไดวา
m = m0 ⋅ e-λt
เมื่อ m0 คือ มวลของธาตุกัมมันตรังสีเมื่อเริ่มพิจารณา (t = 0)
m คือ มวลของธาตุกัมมันตรังสีที่เวลา t นับจากเริ่มตน
6. ครึ่งชีวิต (Half Life) คือ ชวงเวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวแลวทําใหจํานวนนิวเคลียสลดลง
ครึ่งหนึ่งของจํานวนเริ่มตน  N = N20  ธาตุกัมมันตรังสีแตละชนิดจะมีคาครึ่งชีวิตเฉพาะตัวและคงที่

นั่นคือ T1/2 = 0.693


λ

เมื่อ T1/2 คือ ครึ่งชีวิต


ในกรณีที่เวลาผานไป nT1/2 นับจากเริ่มตน จํานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตภาพรังสีที่เหลืออยูเทากับ
N0
2n
7. คานิจของการสลายตัว (Decay Constant) คือ อัตราการสลายตัวของนิวเคลียสตอจํานวน
นิวเคลียสที่เหลืออยู
- dn
dt
λ = N

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (43)


การแบงธาตุออกตามเลขมวล แบงออกเปน
1. ธาตุเบา คือ ธาตุที่มีเลขมวลอยูในชวง 1-25
2. ธาตุขนาดกลาง คือ ธาตุที่มีเลขมวลอยูในชวง 25-150
3. ธาตุหนัก คือ ธาตุที่มีเลขมวลตั้งแต 150 ขึ้นไป
ประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. ฟชชัน (Fission) คือ ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวออกเปน 2 สวนที่มีขนาดใกลเคียงกันและ
เปนนิวเคลียสใหม ซึ่งมีพลังงานยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนเพิ่มขึ้น
เชน 235
92 U + 0 n
1 95 Mo + 139 La + 2 1 n
42 57 0
เปนปฏิกิริยาที่เกิดจากการยิงนิวตรอนใหชนธาตุหนัก U-235 ทําใหนิวเคลียสของ U-235 แตกเปน
2 สวน ที่มีขนาดใกลเคียงกัน (Mo-95 และ La-139) พรอมทั้งนิวตรอน 2 ตัว ออกมา
2. ฟวชัน (Fusion) คือ ปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสของธาตุเบา 2 ธาตุ ทําใหเกิดเปน
ธาตุใหม ซึ่งหนักกวาเดิม และมีการปลอยพลังงานนิวเคลียรออกมา
เชน 32 He + 32 He 4 He + 2 1 H + 12.9 MeV
2 1
ปฏิกิริยาลูกโซ (Chain Reaction) เปนปฏิกิริยานิวเคลียรแบบฟชชันที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยอาศัย
นิวตรอนที่เกิดขึ้นเปนตัวยิงนิวเคลียสของธาตุตอไป
เครื่องปฏิกรณนิวเคลียร (Nuclear Reactor) เปนเครื่องมือผลิตพลังงานนิวเคลียรที่สามารถควบคุม
อัตราการเกิดฟชชันและปฏิกิริยาลูกโซได
ชื่ออนุภาคและสัญลักษณที่ควรจํา
1. อนุภาคแอลฟา (α) = 42 He
2. อนุภาคบีตา (β) = -01 e
3. รังสีแกมมา (γ)
4. อนุภาคโปรตอน (P) = 11 H
5. อนุภาคนิวตรอน (n) = 01 n
6. โปสิตรอน (β+) = +01 e
7. ดิวเทอรอน (d) = 21 H
8. ทริเทียม = 31 H

วิทยาศาสตร ฟสิกส (44) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


4. ปฏิกิริยานิวเคลียร
1. ปฏิกิริยานิวเคลียร (Nuclear Reaction) คือ กระบวนการที่นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพ
เชน การสลายตัวนิวเคลียสไปเปนนิวเคลียสของธาตุใหม การแตกตัวของนิวเคลียสไปเปนนิวคลีออนหลังจากมี
อนุภาคมาชน เปนตน
2. สมการของปฏิกิริยานิวเคลียร เปนสมการที่แสดงการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม
รูปแบบของสมการของปฏิกิริยานิวเคลียร คือ
X+a Y+b
หรือ X(a, b)Y
เราเรียกปฏิกิริยานิวเคลียรนี้วา ปฏิกิริยา (a, b) ของนิวเคลียส X
เมื่อ X คือ นิวเคลียสที่ใชเปนเปา
a คือ อนุภาคที่วิ่งเขาชนเปา
b คือ อนุภาคที่เกิดขึ้นหลังจากการชน
Y คือ นิวเคลียสของธาตุใหมที่เกิดขึ้นหลังจากการชน
ตัวอยางปฏิกิริยา เขียนโดยยอ ชื่อปฏิกิริยา
9 Be + 4 He 12 C + 1 n 9 Be (α, n) 12 C (α, n)
4 2 6 0 4 6
198 Hg + γ 197 Au + 1 H 198 Hg (γ, P) (γ, P)
80 79 1 80
197 Au
79
80 Pt + 21 H 197 Au + 01 n 196 Pt (d, n) (d, n)
78 79 78
197 Au
79

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (45)


ตัวอยางขอสอบ
1. ไอโอดีน-128 มีคาครึ่งชีวิต 25 นาที ถาเริ่มตนมีไอโอดีน-128 อยู 400 มิลลิกรัม ไอโอดีน-128 จะลดลง
เหลือ 100 มิลลิกรัม เมื่อเวลาผานไปกี่นาที
2. คารบอนเปนธาตุที่เปนสวนสําคัญของสิ่งมีชีวิต สัญลักษณนิวเคลียส 126 C แสดงวานิวเคลียสของคารบอนนี้
มีอนุภาคตามขอใด
1) โปรตอน 12 ตัว นิวตรอน 6 ตัว
2) โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 12 ตัว
3) โปรตอน 6 ตัว อิเล็กตรอน 6 ตัว
4) โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 6 ตัว
3. ขอใดตอไปนี้เปนการกําจัดกากกัมมันตรังสีที่ดีที่สุด
1) เรงใหเกิดการสลายตัวเร็วขึ้นโดยใชความดันสูงมากๆ
2) เผาใหสลายตัวที่อุณหภูมิสูง
3) ใชปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนใหเปนสารประกอบอื่น
4) ใชคอนกรีตตรึงใหแนนแลวฝงกลบใตภูเขา
4. ขอใดถูกตองสําหรับไอโซโทปของธาตุๆ หนึ่ง
1) มีเลขมวลเทากัน แตเลขอะตอมตางกัน
2) มีจํานวนโปรตอนเทากัน แตจํานวนนิวตรอนตางกัน
3) มีจํานวนนิวตรอนเทากัน แตจํานวนโปรตอนตางกัน
4) มีผลรวมของจํานวนโปรตอนและนิวตรอนเทากัน
5. นักโบราณคดีตรวจพบเรือไมโบราณลําหนึ่งวามีอัตราสวนของปริมาณ C-14 ตอ C-12 เปน 25% ของ
อัตราสวนสําหรับสิ่งที่ยังมีชีวิต สันนิษฐานไดวาซากเรือนี้มีอายุประมาณกี่ป
กําหนดใหครึ่งชีวิตของ C-14 เปน 5730 ป
1) 2865 ป
2) 5730 ป
3) 11460 ป
4) 22920 ป
6. รังสีในขอใดที่มีอํานาจในการทะลุทะลวงผานเนื้อสารไดนอยที่สุด
1) รังสีแอลฟา
2) รังสีบีตา
3) รังสีแกมมา
4) รังสีเอกซ

วิทยาศาสตร ฟสิกส (46) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


7. กิจกรรมการศึกษาที่เปรียบการสลายกัมมันตรังสีกับการทอดลูกเตานั้น จํานวนลูกเตาที่ถูกคัดออกเทียบไดกับ
ปริมาณใด
1) เวลาครึ่งชีวิต
2) จํานวนนิวเคลียสตั้งตน
3) จํานวนนิวเคลียสที่เหลืออยู
4) จํานวนนิวเคลียสที่สลาย
8. เครื่องหมายดังรูปแทนอะไร

มวง
เหลือง

1) เครื่องกําเนิดไฟฟาโดยกังหันลม
2) การเตือนวามีอันตรายจากกัมมันตภาพรังสี
3) การเตือนวามีอันตรายจากสารเคมี
4) เครื่องกําเนิดไฟฟาโดยเซลลแสงอาทิตย
9. นิวเคลียสของเรเดียม-226 ( 226
88 Ra ) มีการสลายโดยการปลอยอนุภาคแอลฟา 1 ตัวและรังสีแกมมาออกมา
จะทําให 226
88 Ra กลายเปนธาตุใด
1) 218
84 Po
2) 222
86 Rn
3) 23090Th
4) 234
92 U
10. อนุภาคใดในนิวเคลียส 236 234
92 U และ 90Th ที่มีจํานวนเทากัน
1) โปรตอน
2) อิเล็กตรอน
3) นิวตรอน
4) นิวคลีออน
11. ในธรรมชาติ ธาตุคารบอนมี 3 ไอโซโทป คือ 126 C 136 C และ 146 C ขอใดตอไปนีถ้ ูก
1) แตละไอโซโทปมีจํานวนอิเล็กตรอนตางกัน
2) แตละไอโซโทปมีจํานวนโปรตอนตางกัน
3) แตละไอโซโทปมีจํานวนนิวตรอนตางกัน
4) แตละไอโซโทปมีจํานวนโปรตอนเทากับจํานวนนิวตรอน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (47)


12. รังสีใดที่นิยมใชในการอาบรังสีผลไม
1) รังสีเอกซ
2) รังสีแกมมา
3) รังสีบีตา
4) รังสีแอลฟา
13. ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุไอโอดีน-128 มีครึ่งชีวิต 25 นาที ถามีไอโอดีน-128 ทั้งหมด 256 กรัม
จะใชเวลาเทาไรจึงจะเหลือไอโอดีน-128 อยู 32 กรัม
1) 50 นาที
2) 1 ชั่วโมง 15 นาที
3) 1 ชั่วโมง 40 นาที
4) 3 ชั่วโมง 20 นาที
14. นิวเคลียสของเรเดียม-226 มีการสลายดังสมการขางลาง x คืออะไร
226 Ra → 222 Rn + x
88 86
1) รังสีแกมมา
2) อนุภาคบีตา
3) อนุภาคนิวตรอน
4) อนุภาคแอลฟา
15. ธาตุกัมมันตรังสีใดที่ใชในการคํานวณหาอายุของวัตถุโบราณ
1) I-131
2) Co-60
3) C-14
4) P-32
16. ขอความใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับรังสีแอลฟา รังสีบีตาและรังสีแกมมา
1) รังสีแอลฟามีประจุ +4
2) รังสีแอลฟามีมวลมากที่สุดและอํานาจทะลุทะลวงผานสูงที่สุด
3) รังสีบีตามีมวลนอยที่สุดและอํานาจทะลุทะลวงผานต่ําที่สุด
4) รังสีแกมมามีอํานาจทะลุทะลวงสูงที่สุด
17. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชัน (fusion)
1) เกิดที่อุณหภูมิต่ํา
2) ไมสามารถทําใหเกิดบนโลกได
3) เกิดจากนิวเคลียสของธาตุเบาหลอมรวมกันเปนธาตุหนัก
4) เกิดจากการที่นิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวออกเปนธาตุเบา

วิทยาศาสตร ฟสิกส (48) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


18. ในการสลายตัวของ 146 C นิวเคลียสของคารบอน-14 ปลอยอิเล็กตรอนออกหนึ่งตัว นิวเคลียสใหมจะมี
ประจุเปนกี่เทาของประจุโปรตอน
1) 5
2) 7
3) 13
4) 15
19. อัตราการสลายตัวของกลุมนิวเคลียสกัมมันตรังสี A ขึ้นกับอะไร
1) อุณหภูมิ
2) ความดัน
3) ปริมาตร
4) จํานวนนิวเคลียส A ที่มีอยู

————————————————————

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (49)


คลื่น (WAVE)
คลื่น คือ ปรากฏการณที่แหลงกําเนิดคลื่นแผกระจายพลังงานออกจากแหลงกําเนิดนั้นๆ
ชนิดของคลื่น (Types of Wave) แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ
1. แบงโดยอาศัยการสงผานตัวกลางเปนหลัก
1.1 คลื่นกล (Machanical Wave) คือ คลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการแผปริมาณทางฟสิกส หรือ
ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เชน คลื่นผิวน้ํา คลื่นในเสนเชือก คลื่นเสียง เปนตน
1.2 คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Wave) คือ คลื่นที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการแผ
ปริมาณทางฟสิกส หรือไมอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
2. แบงโดยอาศัยลักษณะการสั่นของปริมาณทางฟสิกสเปนหลัก แบงไดเปน 2 ชนิด คือ
2.1 คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) คือ คลื่นที่มีทิศการสั่นของอนุภาคตัวกลางอยูในแนว
เดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เชน คลื่นเสียง คลื่นการสั่นของสปริง เปนตน
2.2 คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) คือ คลื่นที่มีทิศการสั่นของอนุภาคอยูในแนวตั้งฉากกับทิศ
การเคลื่อนที่ของคลื่น เชน คลื่นน้ํา คลื่นในเสนเชือก ฯลฯ และคลื่นตามขวางชนิดหนึ่งที่ไมอาศัยตัวกลางใน
การเคลื่อนที่เราเรียกวา “คลื่นแมเหล็กไฟฟา” เชน คลื่นแสง คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ฯลฯ

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (50) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3. สวนประกอบของคลื่น พิจารณาไดดังนี้
λ v

รูปที่ 1 แสดงสวนประกอบตางๆ ของคลื่น


จากรูป สวนประกอบตางๆ ของคลื่นมีดังนี้ คือ
1. สันคลื่น (Crest) คือ สวนบนสุดของคลื่น
2. ทองคลื่น (Trough) คือ สวนต่าํ สุดของคลื่น
.

3. ความถี่ (Frequency) คือ จํานวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผานตําแหนงหนึ่งๆ ไปไดในหนึ่งหนวยเวลา


ใชสัญลักษณ f แทน มีหนวยเปนรอบตอวินาที หรือเฮิรตซ (Hz)
4. คาบ (Period) คือ ชวงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผานตําแหนงหนึ่งๆ ไปไดครบหนึ่งลูกคลื่น ใชสัญลักษณ
T แทน มีหนวยเปนวินาทีตอรอบ
จากนิยามของความถี่และคาบเวลาขางตน เราจะไดความสัมพันธระหวางปริมาณทั้งสองเปน
T = 1f ...(1)
5. การกระจัด (Displacement) คือ ระยะที่อนุภาคตัวกลางคลื่นเคลื่อนที่หางจากแนวสมดุลเดิม
กอนที่จะเกิดคลื่น จากรูป คือ ระยะ ในแนวแกน y
6. แอมปลิจูด (Amplitude) คือ การกระจัดสูงสุด (มากที่สุด) ที่อนุภาคตัวกลางเคลื่อนที่ไดหางจาก
แนวสมดุลเดิม ตามรูป คือ ระยะ A และตามปกติจะใชสัญลักษณ A แทน
7. ความยาวคลื่น (Wave Length ; λ) คือ ระยะระหวางตําแหนงบนคลื่นที่มีคามุมเฟสตางกันเปน
∆φ = 2π เรเดียน (หรือ 360 องศา) เปนปริมาณสเกลาร ใชสญ ั ลักษณ λ แทน มีหนวยเปนเมตร (m) แตโดย
ทั่วไปเพื่อความสะดวกในการพิจารณา เราจะวัดระยะระหวางสันคลื่นที่อยูถัดกัน หรือตําแหนงทองคลื่นที่อยูถัดกัน
เปนระยะเทากับ 1 ความยาวคลื่น ดังรูป
8. ความเร็วคลื่น (Velocity of Wave, v) คือ การกระจัดที่คลื่นแผผานตัวกลางไปไดในหนึ่งหนวย
เวลาหรือระยะการแผพลังงานของคลื่นไปไดในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณเวกเตอร ใชสัญลักษณ v แทน มีหนวย
เปน เมตรตอวินาที (m/s)
v = st = fx ...(2)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (51)


คุณสมบัติของคลื่น
คุณสมบัติของคลื่นมีอยู 4 อยาง คือ
1. การสะทอน (Reflection)
2. การหักเห (Refraction)
3. การแทรกสอด (Interference)
4. การเลี้ยวเบน (Diffraction)
คุณสมบัติขอที่ 1 และ 2 เปนคุณสมบัติรวมระหวางคลื่นกับอนุภาค (อนุภาคสามารถมีคุณสมบัติการ
สะทอนและการหักเหไดดวย) สวนคุณสมบัติขอที่ 3 และ 4 เปนคุณสมบัติเฉพาะของคลื่นเทานั้น
การสะทอน (Reflection) เกิดจากคลื่นไมสามารถแผจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งได เชน การ
สะทอนของคลื่นน้ํากับตลิ่ง การสะทอนของคลื่นในเสนเชือก การสะทอนของคลื่นแสง การสะทอนของคลื่นเสียง
เสนตั้งฉาก
(Normal Line) รังสีสะทอน
รังสีตกกระทบ (Incident Rays) (Reflected Rays)

หนาคลื่นกระทบ หนาคลื่นสะทอน
θI θ R
ผิวสะทอน

มุมตกกระทบ θI θR มุมสะทอน

รูปที่ 2 แสดงการสะทอนของคลื่น
กฎการสะทอน มีอยู 2 ขอ
1. มุมตกกระทบ = มุมสะทอน
2. รังสีตกกระทบ เสนตั้งฉากและรังสีสะทอน ตองอยูบนระนาบเดียวกัน
การหักเห (Interference)
เกิดจากการที่คลื่นเคลื่อนที่เปลี่ยนตัวกลางที่มีคุณสมบัติของตัวกลางบางประการไมเหมือนกัน สงผล
ใหคลื่นเปลี่ยนแปลงความเร็ว โดยเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่ และ(หรือ)เปลี่ยนอัตราเร็วคลื่น แตความถี่ยังคงเทาเดิม
กฎของสเนลล
เปนกฎที่อธิบายการหักเหของคลื่น ระหวางตัวกลางคูหนึ่งๆ มีสมการเปน
sin θ1 v1 λ1
sin θ = v = λ
2 2 2
...(3)

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (52) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


การแทรกสอด (Interference)
การแทรกสอดเกิดขึ้นไดเมือ่ คลื่น 2 ขบวนกําลังแผอยูในบริเวณเดียวกัน กอนที่จะศึกษาเรื่องการ
แทรกสอด เราจะตองทําความเขาใจเกี่ยวกับขอตกลงตางๆ ดังตอไปนี้กอน คือ แหลงกําเนิดคลื่นอาพันธ
(Coherwnt Source)
แหลงกําเนิดคลื่นอาพันธ คือ แหลงกําเนิดคลื่น 2 ขบวน ที่มีปริมาณตอไปนี้เทากัน คือ f, T, λ, v,
A, ∆φ
การเลี้ยวเบน (Diffraction)
การเลี้ยวเบนของคลื่น เกิดขึ้นเนื่องจากมีสิ่งกีดขวางการแผของคลื่น แลวคลื่นสามารถแผออมสิ่งกีด-
ขวางนั้นไปได การเลี้ยวเบนของคลื่นจะมี f และ λ คงที่ แต v และ A เปลี่ยนแปลง

ตัวอยางขอสอบ
1. คลื่นตามขวางรูปไซนบนเสนเชือกกําลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือ ขณะหนึ่งจุด A ซึ่งเปนจุดสีแดงแตมเล็กๆ บน
เสนเชือกกําลังอยูที่สันคลื่นพอดี อีกนานเทาใดจุด A จึงจะเคลื่อนลงมาอยูที่ตําแหนงปกติ (ระดับเสนประ)
(A-NET’51)
λ = 0.8 m
A

เสนเชือก
v = 5 m/s
1) 20 ms 2) 40 ms 3) 60 ms 4) 80 ms
2. ถาความเร็วของคลื่นน้ําเทากับ 6.0 เมตรตอวินาที ขณะทีส่ ันคลื่นที่หนึ่งและที่สี่หางกัน 7.2 เมตร คลื่นนี้มี
ความถี่เทาใด (A-NET’49)
1) 0.8 Hz 2) 2.5 Hz 3) 3.3 Hz 4) 4.3 Hz

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (53)


เสียง (SOUND)
ธรรมชาติของเสียง
เสียงเปนคลืน่ กล ที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ และเปนคลื่นตามยาว เกิดเนื่องจากแหลงกําเนิด
เสียงถูกรบกวน (ไดรับพลังงานจากภายนอก) แลวเกิดการสั่น จากนั้นพลังงานจากแหลงกําเนิดเสียงจะแพรกระจาย
ในตัวกลางสงผานไปรอบๆ แหลงกําเนิดเสียงนั้น ถาแหลงกําเนิดเสียงอยูในอากาศจะมีการสงพลังงานใหกับโมเลกุล
ของอากาศ โมเลกุลของอากาศจะเกิดการสั่นเกิดการอัดและขยายตัวของโมเลกุลอากาศ เราเรียกชวงอัดตัวกัน
ของอากาศวา “ชวงอัด (Compression)” และเราเรียกชวงที่มีการขยายตัวของอากาศวา “ชวงขยาย (Expansion)”
ตัวอยางเชน กรณีการสั่นของหนังหนากลองที่ถูกตี แลวเกิดการแผของคลื่นเสียงออกไปแบบคลื่นตามยาว ดังรูป
v
λ λ λ

λ λ

อัตราเร็วของเสียงในอากาศ
เสียงสามารถเคลื่อนที่ไดทั้งในของแข็ง, ของเหลว และแกส
- อัตราเร็วเสียงในอากาศขึ้นอุณหภูมิของอากาศ มีสูตรคํานวณเปน
vt = 331 + 0.6 ⋅ t ...(1)
เมื่อ vt คือ อัตราเร็วเสียงในอากาศ ขณะอุณหภูมิ t°C (m/s)
t คือ อุณหภูมิของอากาศในหนวยเซลเซียส (°C)
จากสมการที่ (1) จะไดวาคลื่นเสียงจะมีอัตราเร็วเปลี่ยนแปลงไป 0.6 m/s เมื่ออุณหภูมิของ
อากาศเปลี่ยนแปลงไป 1°C และสมการนี้สามารถใชคํานวณไดดเี มือ่ อุณหภูมิของอากาศอยูใ นชวง -40°C ถึง 40°C
v ∝ T
เมื่อ v คือ อัตราเร็วของคลื่นเสียง (m/s)
T คือ อุณหภูมิของอากาศขณะนั้นๆ ในหนวยเคลวิน (K)
ถามีการเปรียบเทียบอัตราเร็วของคลื่นเสียง 2 บริเวณที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน จะไดสมการเปน
v1 T1
v2 = T2 ...(2)
- อัตราเร็วของคลื่นเสียงที่มีความยาวคลื่น λ และความถี่ f มีสูตรคํานวณเปน
v = fλ ...(3)
- อัตราเร็วของคลื่นเสียงในตัวกลางเดียว (บริเวณเดียว) จะมีอัตราเร็วคงที่ มีสูตรคํานวณเปน
v = st ...(4)
ซึ่งสมการที่ (4) นี้ใชในการออกขอสอบ ม.3 บอยมาก เชน กรณีใชเสียง SONAR ในการประมง

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (54) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ปรากฏการณที่เกิดขึ้นเนื่องจากคุณสมบัติของคลื่นเสียง
1. บีตส (Beats)
เปนปรากฏการณการรวมกันของคลื่นเสียง 2 ขบวนที่มีความถี่ใกลเคียงกัน โดยจะมีความถี่เสียง
แตกตางกันไมเกิน 7 Hz คลื่นเสียงทั้ง 2 ขบวนอาจจะมีแอมปลิจูดเทากันหรือไมก็ได เคลื่อนที่ในตัวกลางเดียวกัน
เมื่อแทรกสอดกันปรากฏวาเกิดคลื่นเสียงลัพธที่มีแอมปลิจูดไมคงที่ แปรเปลี่ยนอยูตลอดเวลา ทําใหเราไดยินเสียง
ดัง-คอย เปนจังหวะสลับกันไป และจํานวนครั้งของการไดยินเสียงดัง หรือจํานวนครั้งของการไดยินเสียงคอย
เนื่องจากคลื่นเสียงลัพธนี้ในชวงเวลา 1 วินาที เราเรียกวา “ความถี่บีตส” (Beats Frequency ; fB)
ถาเรากําหนดใหคลื่นเสียง 2 ขบวนมีความถี่เปน f1 และ f2 ตามลําดับ โดยมีความถี่ตางกันไมเกิน 7 Hz
เกิดการรวมกันแลวทําใหเกิดคลืน่ เสียงลัพธเปน f0 และเกิดความถี่บีตสเปน fB พิจารณาไดดังรูป
f +f
จะไดสมการความถี่คลื่นเสียงปรากฏการณเปน f0 = 1 2 2 ...(5)
เมื่อ f0 คือ ความถี่ปรากฏที่ไดยิน (Hz)
และเราจะไดสมการความถี่บีตสเสียงเปน fB = |f1 - f2| ...(6)
เมื่อ fB คือ ความถี่บีตส (Hz)
จากการไดยินเสียง ดัง ติดตอกันของมนุษยความรูที่ไดยินเสียงดังติดตอกัน จะเกิดขึ้น ได สวนมาก
ไมเกิน 7 ครั้งตอวินาที หรือ ผลตางของความถี่จากแหลงกําเนิดเสียงทั้ง 2 จะตางกันไมเกิน 7 Hz
2. ปรากฏการณดอปเพลอร (Doppler Effect)
เปนปรากฏการณที่ผูสังเกตเสียงไดยินเสียงจากแหลงกําเนิดที่มีความถี่เปลี่ยนแปลงไปจากความถี่ของ
เสียงเดิม เนื่องจากการเคลื่อนที่ของผูสังเกตเสียงสัมพัทธกับแหลงกําเนิดเสียง ทําใหผูสังเกตไดยินเสียงแหลม-ทุม
มากกวาปกติความเปนจริงที่เกิดขึ้นจากแหลงกําเนิดเสียงเอง ซึ่งจะไดสมการการคํานวณดังนี้
f0 =  vv ±± vv0  ⋅ fs
 
...(7)
 s
เมื่อ f0 คือ ความถี่เสียงปรากฏตอผูสังเกต (Hz)
fS คือ ความถี่เสียงจากแหลงกําเนิดเสียง (Hz)
v คือ อัตราเร็วเสียงในอากาศ (m/s)
v0 คือ อัตราเร็วของผูสังเกตเสียง (m/s)
vS คือ อัตราเร็วของแหลงกําเนิดเสียง (m/s)
หมายเหตุ วิธีการใชสมการ
1. ถาผูสังเกตเคลื่อนที่เขาหาแหลงกําเนิดเสียง v0 มีคาเปนบวก (+)
2. ถาผูสังเกตเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดเสียง v0 มีคาเปนลบ (-)
3. ถาแหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่เขาหาผูสังเกต vs มีคาเปนลบ (-)
4. ถาแหลงกําเนิดเสียงเคลื่อนที่ออกจากผูสังเกต vs มีคาเปนบวก (+)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (55)


3. ความเขมเสียง
ความเขมเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกกระทบตอพื้นที่ตั้งฉาก 1 ตารางหนวย (ซึ่งเปนพื้นที่ที่รับพลังงาน
เสียง) ในเวลา 1 วินาที เปนปริมาณสเกลาร ใชสัญลักษณ I แทน มีหนวยเปน J/m2 ⋅ s หรือ Watt/m2 ในที่นี้เรา
พิจารณาไดจากคลื่นเสียง 3 มิติ
สมการที่ใชในการคํานวณคือ = AP = P 2 ...(8)
4 πR
เมื่อ I คือ ความเขมเสียง (Watt/m2)
P คือ กําลังของเสียงที่ออกมาจากแหลงกําเนิด (Watt)
A คือ พื้นที่ที่รับพลังงานเสียง (m2)
R คือ ระยะหางจากแหลงกําเนิดเสียง (m)
หมายเหตุ
1. ความเขมเสียงต่ําสุดที่หมู นุษยสามารถไดยินคือ I0 = 10-12 Watt/m2
2. ความเขมเสียงสูงสุดที่หูมนุษยสามารถทนฟงไดคือ Imax = 1 Watt/m2
4. ระดับความเขมเสียง
ระดับความเขมเสียง คือ ระดับที่บอกใหทราบถึงความดังของเสียงซึ่งไดจากสมการ
β = 10 ⋅ log10 II ...(9)
0
เมื่อ β คือ ระดับความเขมเสียง ณ ตําแหนงที่พิจารณา (เดซิเบล dB)
I คือ ความเขมเสียงขณะใดขณะหนึ่ง ณ ตําแหนงที่พิจารณา (Watt/m2)
I0 คือ ความเขมเสียงต่ําสุดที่มนุษยสามารถไดยินได = 10-12 Watt/m2
5. คลื่นกระแทก
เปนปรากฏการณทางเสียง เกิดเมื่อแหลงกําเนิดเสียง มีอัตราเร็วมากกวาเสียง (ที่เกิดจากแหลงกําเนิด
เสียงนั้น)
vs > v

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (56) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยางขอสอบ
1. เสียงรบกวนบนถนนวัดระดับความเขมเสียงได 90 เดซิเบล แตภายในรถยนตที่ปดมิดชิดระดับความเขมเสียง
ลดเหลือ 70 เดซิเบล ถามวาความเขมเสียงภายในรถยนตเปนกี่เปอรเซ็นตของความเขมเสียงนอกรถยนต
(A-NET’49)
1) 77% 2) 70% 3) 20% 4) 1%
2. ระดับเสียงจากการทํางานของเครื่องจักร 5 เครื่อง มีคาเปน 100 เดซิเบล ถาเดินเครื่องจักรเพียง 1 เครื่อง
ระดับเสียงใหมจะเปนเทาใด (A-NET’50)
1) 93 dB 2) 83 dB 3) 60 dB 4) 20 dB
3. ระดับความเขมเสียงที่ระยะ 3 เมตรหางจากแหลงกําเนิดวัดได 120 เดซิเบล จงหาวาที่ระยะหางจาก
แหลงกําเนิดเสียงนี้เทาใด จึงจะวัดระดับความเขมเสียงได 100 เดซิเบล
1) 3.6 m 2) 4.3 m 3) 10.8 m 4) 30.0 m
4. ในการศึกษาปรากฏการณดอปเพลอรโดยใชถาดคลื่น เมื่อนักเรียนจุมปลายดินสอที่ผิวน้าํ ดวยจังหวะ
สม่ําเสมอพรอมดวยเคลื่อนปลายดินสอ ถาการทดลองของนักเรียนใหหนาคลื่นดังรูป ขอสรุปขอใดตอไปนี้
เปนขอที่ถูกตอง

1) การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางซายดวยอัตราเร็วเทากับอัตราเร็วของคลื่น
2) การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางขวาดวยอัตราเร็วเทากับอัตราเร็วของคลื่น
3) การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางซายดวยอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วของคลื่น
4) การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางขวาดวยอัตราเร็วมากกวาอัตราเร็วของคลื่น

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (57)


แสง
1. แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา มีคุณสมบัติของคลื่น คือ สะทอน หักเห แทรกสอด และเลี้ยวเบน
2. การสะทอน เกิดเมื่อแสงกระทบตัวกั้นแลวเคลือ่ นที่ยอนกลับสูตัวกลางเดิม
2.1 กฎการสะทอน
- รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน และเสนแนวฉากอยูในระนาบเดียวกัน
- มุมตกกระทบ = มุมสะทอน
2.2 ภาพเกิดจากรังสีสะทอนตัดกัน ถาตัดจริงเกิดภาพจริง ถาเสมือนตัดกันเกิดภาพเสมือน
2.3 ภาพจากกระจกเงาราบ
- เปนภาพเสมือนเสมอ
- ระยะภาพ = ระยะวัตถุ
- กําลังขยายเปน 1
2.4 ภาพจากกระจกเวา เปนไดทั้งภาพจริงและภาพเสมือน
2.5 ภาพจากกระจกนูน เปนภาพเสมือนขนาดเล็กกวาวัตถุ
2.6 ความสัมพันธระหวาง f, S และ S′ หาไดจาก
f กระจกเวาเปน + กระจกนูนเปน -
1 = 1 + 1
f S S′ S ระยะวัตถุเปน + เสมอ ยกเวนวัตถุเสมือน
S′ ระยะภาพจริงเปน + ระยะภาพเสมือนเปน -
f = 2R (หนากระจก) (หลังกระจก)
2.7 กําลังขยายหาไดจาก

M = SS′ = yy
หรือ M = S -f f หรือ M = S ′ f- f
3. การหักเห เกิดเมือ่ แสงเคลื่อนทีผ่ าน 2 ตัวกลาง แลวมีอัตราเร็วเปลี่ยนไป
n v sin θ λ
3.1 กฎของสเนลล n2 = v 1 = sin θ1 = λ 1
1 2 2 2
3.2 ดรรชนีหักเหของตัวกลางใดๆ เปนคาที่บอกใหรูวาอัตราเร็วแสงในสุญญากาศเปนกี่เทาของอัตราเร็ว
แสงในตัวกลางนั้น ตัวกลางใดทีค่ า n มาก อัตราเร็วแสงในตัวกลางนั้นจะมีคานอย
3.3 การสะทอนกลับหมด เกิดเมือ่ แสงเดินทางจากตัวกลางที่อัตราเร็วของแสงนอยไปยังตัวกลางที่
อัตราเร็วแสงมาก โดยมุมตกกระทบโตกวามุมวิกฤต (θC)
n
sin θC = n2
1

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (58) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3.4 การกระจายแสง เกิดขึ้นเพราะอัตราเร็วของแสงในตัวกลางตางๆ มีคาไมเทากัน แสงที่มีความยาว
คลื่นนอยจะหักเหไดมากกวาแสงที่มีความยาวคลื่นมาก
3.5 เลนสมี 2 แบบ คือ เลนสนูน (รวมแสง) เลนสเวา (กระจายแสง)
3.6 ภาพจากเลนสเกิดจากรังสีหักเหตัดกัน ตัดกันจริงเกิดภาพจริง เสมือนตัดกันเกิดภาพเสมือน
3.7 ภาพจากเลนสนูน เปนภาพจริง (ขนาดใหญ เล็ก เทาวัตถุ) และภาพเสมือนขนาดใหญ
3.8 ภาพจากเลนสเวา เปนภาพเสมือนขนาดเล็กกวาวัตถุ (ถามีเลนสเวาชิ้นเดียว)
3.9 ภาพจากเลนสเวาและกระจกนูน สามารถเปนภาพจริงได ถามีอุปกรณทางแสงชิ้นอื่นที่ทําใหแสงที่
ตกกระทบทั้งเลนสเวาและกระจกนูนเปนแสงลูเขาแลวตัดกันกอนจุดโฟกัสของทั้งเลนสเวาและกระจกนูน
3.10 ความสัมพันธระหวาง f, S และ S′
f เลนสนูนเปน + เลนสเวาเปน -
1 = 1 + 1
f S S′ S ระยะวัตถุเปน + เสมอ ยกเวนวัตถุเสมือน
S′ ระยะภาพ, ภาพจริงเปน + ภาพเสมือนเปน -
3.11 กําลังขยายหาไดจาก

M = SS′ = yy = S -f f = S ′ f- f
3.12 ความลึกปรากฏหาไดจาก
n ตา h ′ cos θวัตถุ
n วัตถุ = h cos θตา
ถามองดิ่ง cos θวัตถุ = cos θตา = 1 ดังนั้น n ตา = hh′
n
วัตถุ
4. การแทรกสอด เมื่อแสงผานชองคูหรือเกรตติงจะแทรกสอดเกิดคลื่นนิ่ง ทําใหเกิดแถบมืดแถบสวาง
4.1 เงื่อนไขแถบสวาง (A) d sin θ = nλ
(ปฏิบัพ) (n = 0, 1, 2, ...)
d xl = nλ
4.2 เงื่อนไขแถบมืด (N) d sin θ = 


n - 12  λ
(บัพ) (n = 1, 2, 3, ...)
d xl = n - 12  λ


4.3 การหา d ของเกรตติง ไดวา d = ความยาวของ เกรตติง


จํานวนเสน
4.4 เมื่อแสงขาวผานชองคูหรือเกรตติงจะแยกเปน spectrum โดยตรงกลางเปนแสงขาว
4.5 เมื่อแสง 2 ความยาวคลื่น λx และ λy ผานชองคูหรือเกรตติงแลวเกิดการซอนทับของแถบสวาง
จะไดวา nxλx = nyλy
5. การเลี้ยวเบน เกิดเมือ่ แสงผานชองเดียว โดยเมือ่ ความกวางของชอง (d) มากกวาความยาวคลื่น
จะทําใหเกิดการแทรกสอดที่ใหคลื่นนิ่ง
เงื่อนไขแถบมืด d sin θ = nλ
(n = 1, 2, ...)
d xl = nλ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (59)


6. เปรียบเทียบลวดลายการแทรกสอดจากชองคูและชองเดี่ยว
6.1 ความกวางของแถบสวาง (N - N)
ชองคูทุกแถบกวางเทากัน = λdl
ชองเดี่ยว แถบอื่นๆ กวาง λdl แตแถบสวางกลางกวาง 2λd l
6.2 ระยะหางของแถบสวาง (A - A)
ชองคูทุกแถบหางกันเทากัน = λdl
ชองเดี่ยวทุกแถบหางกัน = λdl ยกเวน A0 - A1 หาง 3λd l
6.3 ความเขมของลวดลายการแทรกสอด
ชองคู ทุกแถบเขมเทากัน
ชองเดี่ยว แถบสวางกลางเขมทีส่ ุด แถบถัดไปเขมนอยลงๆ

ตัวอยางขอสอบ
1. ฉายลําแสงเลเซอรความยาวคลื่น 625 นาโนเมตรผานเกรตติงในแนวตั้งฉากเพื่อตองการใหจุดสวางอันดับที่
หนึ่งเบนจากแนวกลางประมาณ 30 องศา จะตองเลือกใชเกรตติงอันไหนใน 4 อัน A, B, C และ D ซึ่งมี
จํานวนเสนตอมิลลิเมตรเปน 500, 650, 780 และ 940 ตามลําดับ (A-NET’51)
1) A 2) B 3) C 4) D
2. ภาพที่เกิดโดยเลนสนูนในรูปเปนตามขอใด (A-NET’51)
วัตถุ 1) ภาพหัวตั้ง ขนาดโตขึ้น
f 2) ภาพหัวกลับ ขนาดโตขึ้น
3) ภาพหัวตั้ง ขนาดเล็กลง
2f 4) ภาพหัวกลับ ขนาดเล็กลง
3. แสงความถี่ 4.00 × 1014 Hz ในเสนใยนําแสงมีความยาวคลื่นในเนื้อเสนใยเทากับ 4.50 × 10-7 m จงหา
คาดรรชนีหักเหของเนื้อเสนใยนําแสงนี้ (A-NET’51)
1) 1.33 2) 1.50 3) 1.67 4) 1.76
4. กําหนดใหวา I1 = 12.5% ของ I0 จงหาคาของมุม θ ที่แกนของ B ทํากับแกนของ A (A-NET’51)
แสงไมโพลาไรซ แสงโพลาไรซ
ความเขม I 0 ความเขม I 1
แผนโพลารอยด A แผนโพลารอยด B
1) 60° 2) 69° 3) 76° 4) 83°

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (60) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


5. แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกกระทบเกรตติงอันหนึง่ ในแนวตั้งฉาก พบวาเสนสเปกตรัมลําดับแรก
เบนจากแนวกลางไป 30 องศา ถามวาเสนสเปกตรัมลําดับแรกที่เบนไปจากแนวกลาง 45 องศา มีความยาว
คลื่นเทาใด (A-NET’49)
1) 333 nm 2) 353 nm 3) 707 nm 4) 750 nm
6. เลนสนูนบางมีความยาวโฟกัส 80 เซนติเมตร ถาวางเลนสนี้บนแทงพลาสติกใสรูปสี่เหลี่ยม เมือ่ แสงอาทิตย
สองลงในแนวดิง่ แสงจะรวมกันเปนจุดซึ่งต่ํากวาผิวบนของแทงพลาสติกเทาใด ถาดรรชนีหักเหของพลาสติก
เปน 1.5 (A-NET’49)

1) 53 cm 2) 80 cm
3) 120 cm 4) 125 cm

7. เมื่อนําวัตถุไปวางหนาเลนสเปนระยะ 20 เซนติเมตร พบวาเกิดภาพเสมือนซึ่งมีขนาดลดลงเหลือ 51 เทา


ของขนาดวัตถุ ถามวาภาพกับวัตถุอยูหางกันเทาใด (A-NET’49)
1) 16 cm 2) 24 cm 3) 80 cm 4) 120 cm
8. ถาใหแสงตกกระทบตัวกลางหนึ่งเปนมุมตกกระทบ 45° พบวามุมหักเหเปน 30° ถาตองการใหแสงสะทอน
จากตัวกลางนั้นเปนแสงโพลาไรซตองใหแสงตกกระทบดวยมุมตกกระทบเทาใด (A-NET’50)
   
 1   1 
1) sin-1  2) sin-1 ( 2 ) 3) tan-1 ( 2 ) 4) tan-1 

 2  
 2 

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (61)


ไฟฟาสถิต
1. ประจุไฟฟา มี 2 ชนิด คือ ประจุบวกและประจุลบ ประจุเหมือนกันจะผลักกัน ประจุตางกันจะดูดกัน
2. แรงระหวางประจุ หาไดจาก
kQ1Q 2
F = เปนปริมาณเวกเตอร
R2
K = 9 × 109 N ⋅ M2/C2
R คือ ระยะหางของจุดประจุทั้งสองซึ่งวัดจากจุดศูนยกลางถึงจุดศูนยกลาง
3. สนามไฟฟา (E) เปนแรงที่จุดประจุกระทํากับประจุทดสอบ +1 คูลอมบ
3.1 คาสนามไฟฟา หาไดจาก
E = kQ2 เปนปริมาณเวกเตอร
R
3.2 จุดสะเทิน คือ จุดที่สนามไฟฟาเปนศูนย
3.3 คาสนามไฟฟาในทรงกลมเปนศูนย
3.4 ความสัมพันธระหวางแรงและสนามไฟฟาไดวา
F = qE q คือ ประจุที่อยูในสนามไฟฟา
F เปนปริมาณเวกเตอร
ทิศของ F จะเหมือน E ถา q เปนประจุ +
ทิศของ F จะตรงขาม E ถา q เปนประจุ -
4. ศักยไฟฟา (VA) คือ งานในการนําประจุ +1 คูลอมบ จากอนันตมาจุดนั้น
4.1 ศักยไฟฟา หาไดจาก
VA = kQ เปนปริมาณสเกลาร ตองคิดเครื่องหมาย
RA
ประจุ Q ดวย
4.2 ศักยไฟฟาในทรงกลมเทากับศักยไฟฟาที่ผิว
5. พลังงานศักยไฟฟา (WA, EPA) คือ งานในการนําประจุ q คูลอมบ จากอนันตมา ณ ตําแหนงนั้นๆ
พลังงานศักยไฟฟา
WA = qVA คิดเครื่องหมาย q ดวย
6. ความตางศักยไฟฟา (VAB) คือ งานในการนําประจุ +1 คูลอมบ จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง
ความตางศักย หาไดจาก
VAB = VA - VB Vตอนหลัง - Vตอนแรก

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (62) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


7. ความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟาและสนามไฟฟาในสนามสม่ําเสมอ ไดวา
V = Ed โดย E ตองขนานกับ d
8. กฎทรงพลังงาน เมื่อไมมีแรงภายนอกไปเกี่ยวของจะไดวา ผลรวมของพลังงานศักยและพลังงานจลน
ทุกจุดมีคาคงตัว
q(VA - VB) = EkB - EkA
9. ตัวเก็บประจุ มี 2 แบบ คือ ตัวเก็บประจุทรงกลมและแผนโลหะขนาน
9.1 ความจุของตัวเก็บประจุทรงกลม
C = Q
Vผิว

C = a a คือ รัศมีทรงกลม
k
9.2 ความจุของตัวเก็บประจุแผนโลหะขนาน
C = Q
Vระหวางแผน
9.3 การตอตัวเก็บประจุมี 2 แบบ คือ อนุกรมและขนาน
- แบบอนุกรม Qรวม = Q1 = Q2 = Q3
Vรวม = V1 + V2 + V3
1 1 1 1
C รวม = C1 + C2 + C3

- แบบขนาน Vรวม = V1 = V2 = V3
Qรวม = Q1 + Q2 + Q3
Cรวม = C1 + C2 + C3
9.4 พลังงานที่สะสมในตัวเก็บประจุ หาไดจาก

W = 1 QV = 1 CV2 = 1 Q 2
2 2 2 C

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (63)


แบบทดสอบ
1. ทรงกลมเล็กๆ สองลูกมีมวลเทากันเทากับ m มีประจุไฟฟา Q เทากัน แขวนไวดว ยเชือกยาว l เชือกทั้ง
สองกางออกเปนมุม 2θ โดย θ เปนมุมเล็กมาก ทรงกลมทั้งสองหางกันเปนระยะ x ระยะ x มีคาเทาใด
(k คือ คาคงตัวทางไฟฟา)
1/3   1/3
2θ 
*1) 2kQ

2l 
2) mg2 

l l mg 



2kQ l 

1/3   1/3
2l 
4) mg2 

3) kQ

mg 



x
 kQ l 

2. หยดน้ํามันรัศมี r ลอยนิ่งในสนามไฟฟา E ที่มีทิศดิ่งลง ประจุไฟฟาในหยดน้ํามันมีคาเทาใด กําหนดใหหยด


น้ํามันมีความหนาแนน ρ
πR 3ρg πR 3ρg
1) + 43 E *2) - 43 E 3) + 34 E3 4) - 34 E3
πR ρg πR ρg
3. ประจุขนาด 3 × 10-8 คูลอมบ วางที่จุด B ซึ่งหางจากจุด A เปนระยะทาง 25 เซนติเมตร จะตองวางประจุ
ที่เหมาะสมหางจาก A เปนระยะทางเทาใดจึงจะทําใหทุกๆ จุดบนผิวทรงกลมรัศมี 20 เซนติเมตร ที่มี
ศูนยกลางที่จุด A มีคาเปนศูนย
1) 12 cm *2) 16 cm 3) 20 cm 4) 24 cm
4. จากรูป ถาตัวเก็บประจุ A มีประจุ 2 ไมโครคูลอมบ จงหาพลังงานไฟฟาสะสมในตัวเก็บประจุ B
A 1 µF
1) 2 × 10-6 J 2) 3 × 10-6 J
B 3 µF 3) 4 × 10-6 J *4) 6 × 10-6 J

5. ทรงกลมตัวนํารัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ ศักยไฟฟาที่ระยะ 5 เซนติเมตรจากจุดศูนยกลาง


ภายในทรงกลมเปนเทาใด
1) 0 V 2) 9 × 103 V *3) 9 × 104 V 4) 1.8 × 105 V
6. ตัวเก็บประจุ C1 เทากับ 5 ไมโครฟารัด และ C2 เทากับ 10 ไมโครฟารัด เดิมไมมีประจุอยูเลย ตอเปนวงจร
ดังรูป ตอนแรกโยก S ไปแตะ A จนเกิดสมดุลทางไฟฟา จากนั้นโยก S ไปทาง B พลังงานที่สะสมใน C2
เปนเทาใด AS B
1) 25 µJ 2) 50 µJ
15 V C1 C2 3) 100 µJ *4) 125 µJ

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (64) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ไฟฟากระแส
1. กระแสไฟฟา (I) คือ จํานวนประจุบวกที่ผานพื้นหนาตัดหนึ่งใน 1 หนวยเวลา
หา I ไดจาก - I = Qt

- I = nevA
2. ความตานทาน (R) ของลวดตัวนํา
ρl
หา R ไดจาก R = A
3. กฎของโอหม
เมื่อมีกระแสไฟฟาผานความตานทาน ไดวาอัตราสวนระหวางกระแสที่ผานและความตางศักยของตัว
ตานทานมีคาคงที่
I 1
V = R หรือ V = IR

V = IR หมายถึง งานที่ +1 คูลอมบเสียใหแกตัวตานทาน


4. การตอตัวตานทาน ทําได 2 แบบ คือ ตออนุกรมและตอขนาน
4.1 ตออนุกรม Iรวม = I1 = I2 = I3
Vรวม = V1 + V2 + V3
Rรวม = R1 + R2 + R3

4.2 ตอขนาน Iรวม = I1 + I2 + I3


Vรวม = V1 = V2 = V3
1 1 1 1
R รวม = R1 + R 2 + R 3 → Rรวม มีคานอยกวา R แถวที่นอยที่สุด
RR
→ R = R 1+ R2 → ในกรณีที่มี 2 ตัว
1 2
5. แรงเคลื่อนไฟฟา (E) คือ งานที่เซลลไฟฟาจายใหแกประจุ +1C ในการเคลื่อนครบวงจร
หาไดจาก E = IR + Ir → I = R E+ r
6. การตอเซลลไฟฟา มีการตอ 2 แบบ คือ การตออนุกรมและการตอขนาน
ถาตอถูกขั้ว Eรวม = E1 + E2 + ...
การตออนุกรม - Eรวม
ถาตอผิดขั้ว Eรวม = ΣEถูก - ΣEผิด
- rรวมกัน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (65)


7. การหาความตางศักย หาไดจาก
VAB = ΣIR - ΣE → E ทิศตาม I เปน +, E ทิศสวน I เปน -
โดยคิดกระแสจาก A ไป B
8. พลังงานไฟฟาของตัวตานทาน (W) คือ งานที่ความตานทานไดทั้งหมด
- หา W ไดจาก W = QV
= ItV
= I2Rt
2
= VR t

9. กําลังไฟฟาของตัวตานทาน (P) คือ งานไฟฟาที่ถูกเปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา


- หา P ไดจาก P = Wt
= IV
= I2R
2
= VR

- เครื่องใชไฟฟาจะกําหนดคา P ที่ใชกับ V มาให ถาใชกับ V ที่เปลี่ยนไป คา P ก็จะเปลี่ยน I จะ


เปลี่ยนแต R คงตัว
10. การคิดคาไฟ คิดจากพลังงานไฟฟาที่ใชมีหนวยเปนหนวย (unit) ซึ่งคือ กิโลวัตต ⋅ ชั่วโมง
หาจํานวนยูนิตไดจาก จํานวนยูนิต = 1000 วัตต × ชั่วโมง

11. มิเตอร มี 3 แบบ คือ แอมมิเตอร โวลตมเิ ตอร และโอหมมิเตอร ซึ่งดัดแปลงมาจากกัลวานอมิเตอร


11.1 แอมมิเตอร วัด I
- วิธีทําตอความตานทานนอยๆ (Shunt) แบบขนานกับกัลวานอมิเตอร
IGRG = ISRS
- วิธีใชตอ A แบบอนุกรมกับวงจร
11.2 โวลตมิเตอร วัด V
- วิธีทําตอความตานทานมากๆ กับกัลวานอมิเตอร
Vที่อาน = VG + VR
- วิธีใชตอ V แบบขนานกับจุด 2 จุด
11.3 โอหมมิเตอร วัด R
- วิธีใชตอ R ที่ตองการวัดเขากับโอหมมิเตอร

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (66) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


แบบทดสอบ
1. กระแสไฟฟา I ที่ผานเสนลวดเสนหนึ่งสัมพันธกับเวลาดังกราฟ จงหาปริมาณประจุไฟฟาทั้งหมดที่ผานพื้นที่
หนาตัดของเสนลวดโลหะนี้ ในชวงเวลา 0 ถึง 10 วินาที
I (A)
1) 5.0 C
1.5 2) 6.25 C
1.0
0.5 *3) 7.5 C
t (S) 4) 5.75 C
0 5 10
2. ลวดตัวนําเสนหนึง่ มีพื้นที่หนาตัด A ตารางเมตร ความหนาแนนของอิเล็กตรอนอิสระเทากับ n อนุภาคตอ
ลูกบาศกเมตร ปลายทั้งสองขางของลวดเสนนี้ตอเขากับแหลงจายไฟทําใหเกิดกระแสไหลในลวด I แอมแปร
ถาอิเล็กตรอนอิสระใชเวลาในการเคลื่อนที่จากปลายขางหนึ่งไปอีกปลายหนึ่ง t วินาที จงหาความยาวของ
ลวด (e คือประจุของอิเล็กตรอน)
1) nAt le 2) neAtI
It
*3) neA 4) nAle
3. ในการทดลองตอตัวตานทาน R1, R2, R3 และ R4 ดังในภาพ ถาจะใหไดคาความตานทานรวมต่ําสุด คา R1,
R2, R3 และ R4 ควรมีคาเปนกี่โอหม เรียงตามลําดับดังนี้
R1 *1) 10, 40, 30, 20
2) 20, 10, 40, 30
R 2 R3 R 4 3) 30, 20, 10, 40
4) 40, 30, 20, 10
4. เซลลไฟฟา 4 ตัว ตางมีแรงเคลือ่ นไฟฟา E โวลต และความตานทานภายใน r โอหม เทากัน นําเซลลไฟฟา
ไปตอกันเปนวงจรกับความตานทานภายนอก R พบวาเมื่อตอเซลลไฟฟาอยางขนานจะใหกระแสไฟฟาผาน
ความตานทาน R เปน 1.5 เทา ของกระแสไฟฟาเมื่อตอเซลลไฟฟาอยางอนุกรมความตานทานภายใน r
มีคากี่โอหม
1) 0.5 R 2) R 3) 1.5 R *4) 2 R
5. ขนาดความตางศักยระหวาง A และ B มีคาเทาใด
4V 4Ω A
1) 0.2 V
12 V
*2) 3.8 V
3Ω 1Ω 2V 2 Ω 3) 5.0 V
4) 7.4 V
B

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (67)


แมเหล็กไฟฟา
1. ความเขมของสนามแมเหล็ก คือ จํานวนฟลักซแมเหล็กที่ตกตั้งฉากใน 1 หนวยพื้นที่ มีหนวยเปน
เวเบอร/ตารางเมตรหรือเทสลา
φ
B = A

2. การเหนี่ยวนําแมเหล็ก
2.1 เมื่อมีกระแสไหลในเสนลวดจะเกิดสนามแมเหล็กรอบๆ เสนลวด
I

B
ทิศของ B หาไดจากการใชมือขวา กําลวดใหนิ้วหัวแมมือแทน I นิ้วทั้ง 4 แทน B
2.2 เมื่อมีกระแสไหลในขดลวดจะเกิดการเหนี่ยวนําแมเหล็ก หาขั้วแมเหล็กไดจากการใชมือขวากําลวด
นิ้วทั้ง 4 แทน I นิ้วหัวแมมือแทนขั้วเหนือ
N S

3. แรงจากสนามแมเหล็ก
3.1 ประจุ q เคลื่อนที่เขาไปในสนามแมเหล็กจะมีแรงกระทํา คือ
v v
F = q vv × B
หรือ F = qvB sin θ θ เปนมุมระหวาง v กับ B
F จะตั้งฉากกับ v ทําใหประจุวิ่งโคงวงกลม โดยแรงนี้เปนแรงเขาสูศูนยกลาง
2
FC = mvR
3.2 เมื่อมีกระแสไหลในเสนลวดที่อยูในสนามแมเหล็กจะเกิดแรงกระทํา
F = I l B sin θ
3.3 การหาทิศ F หาไดจากการใชมือขวา นิ้วทั้ง 4 แทนทิศ I ฝามือหันหา B นิ้วหัวแมมอื แทนทิศ F
ที่กระทําตอประจุ +

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (68) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3.4 เสนลวด 2 เสน ที่มีกระแสผานและวางขนานกันจะเกิดแรงกระทําซึ่งกันและกัน
KI1 I 2 l
F = d
l = ความยาวของสวนที่ขนานกัน
d = ระยะหางของลวดทั้งสอง
ถา I ไหลทางเดียวกันเกิดแรงดึงดูดกัน ถา I ไหลสวนทางกันเกิดแรงผลักกัน
3.5 เมื่อมีกระแสไหลในโครงลวดจะเกิดแรงกระทํา ทําใหเกิดโมเมนตแรงคูควบ
MC = BINA cos θ θ คือ มุมระหวางระนาบขดลวดกับ B
4. การเหนี่ยวนํากระแสไฟฟา
4.1 เมื่อเคลื่อนขดลวดหรือแมเหล็กจะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
∆φ
ε = ∆t
4.2 ทิศของแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําหาไดจากการใชมือขวา
- โดยการกํามือ ใหนิ้วหัวแมมือเปนแมเหล็กขั้วเหนือที่สราง นิ้วทั้ง 4 แทนทิศของ E เหนี่ยวนํา
N
N ที่สราง
ε
- ใหนิ้วหัวแมมอื แทน B ที่สราง ซึ่งจะมีทิศตรงขาม ∆B นิ้วทั้ง 4 แทนทิศ E เหนี่ยวนํา
B
ε
B ที่สราง
4.3 เมื่อเสนลวดเคลื่อนที่ตัดเสนแรงแมเหล็กจะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
ε = Bl v
ทิศของ E หาจากการใชกฎมือขวา ใหนิ้วทั้ง 4 แทน v, F ฝามือหันหา B นิ้วหัวแมมือแทน ε, I
5. หมอแปลงไฟฟา ใชแปลงความตางศักยไฟฟา โดยใชกับไฟฟากระแสสลับ
E1 E2

R V2

N1 N2
E N
5.1 E1 = N 1
2 2
5.2 E1 อาจเขียนเปน V1 แต E2 จะเทากับ V2 เมื่อขดลวดไมมีความตานทาน
5.3 เมื่อประสิทธิภาพ 100% ไดวา I1V1 = I2V2

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (69)


ตัวอยางขอสอบ
1. ภาพนี้แสดงภาคตัดขวางของลวดยาวมาก 3 เสนตั้งฉากกับหนากระดาษอยูที่มุมทั้งสามของรูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรัส
ลวดแตละเสนมีกระแสไหล I สนามแมเหล็กที่จุด P เปนตามรูปใด (A-NET’51)
I ออก I เขา 1) 135° 2) 45°
P P
P
3) P 45° 4) 135°
P I ออก
2. อิเล็กตรอนกําลังเคลื่อนที่ลงลางในระนาบของขดลวด เมื่อปลอยกระแส I ไหลดังรูป แรงกระทําตออิเล็กตรอน
จะเปนตามขอใด (A-NET’50)
1) ไมมีแรงกระทํา
I
2) แรงกระทําในทิศขึ้น
3) แรงกระทําไปทางขวา
4) แรงกระทําไปทางซาย

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (70) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ไฟฟากระแสสลับ
1. ไฟฟากระแสสลับ ปริมาณตางๆ จะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
1.1 แรงเคลื่อนไฟฟาขณะใดๆ e = Em sin ωt
1.2 กระแสไฟฟาขณะใดๆ i = Im sin ωt ω = 2πf
1.3 ความตางศักยขณะใดๆ v = Vm sin ωt
2. คาที่วัดไดจากมิเตอร เรียกวา คายังผล ซึ่งเปนคาเฉลี่ยรากที่สองของไฟฟากระแสสลับ
3. คารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย ของไฟฟากระแสสลับจะเปน 1 ของคาสูงสุด
2
I
irms = m = Iยังผล
2
Vm
Vrms = = Vยังผล
2
4. ความตานทานของ R, C, L
ตัวตานทานมีความตานทาน = R = ρ Al
ตัวเก็บประจุมีความตานทานเชิงความจุ = xC = ω1C
ตัวเหนี่ยวนํามีความตานทานเชิงความเหนี่ยวนํา = xL = ωL
5. ความสัมพันธของ v และ i ของ R, C, L
5.1 ตัวตานทาน จาก v = iR ไดวา v และ i เฟสตรงกัน
5.2 ตัวเก็บประจุ จาก C = QV , C = itv
i = Cvt ไดวา i มีเฟสนํา v 90°
5.3 ตัวเหนี่ยวนํา จาก v = L∆t i ไดวา v มีเฟสนํา i 90°
5.4 แผนภาพเฟเชอรความสัมพันธของ v และ i ของ R, C, L เปนดังนี้
iC vL

vR
iR vC iL
ตัวตานทาน i, v เฟสตรงกัน ตัวเก็บประจุ i เฟสนํา v 90° ตัวเหนี่ยวนํา v เฟสนํา i 90°

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (71)


6. การตอ R, L, C แบบอนุกรม
R L C
vL v รวม vL - vC
φ
เขียน phasor ได vR
vC vR i R , iC , i L i

6.1 i เทากัน
6.2 v รวมกันแบบ phasor vรวม = v 2R + (v L - v C ) 2

6.3 z = R 2 + (x L - x C ) 2
7. การตอ R, L, C แบบขนาน
R iC i รวม iC - iL
L iR
C vR , vC , vL iR v
iL
7.1 v เทากัน
7.2 i รวมกันแบบ phasor iรวม = i 2R + (i C - i L ) 2
2
7.3 z รวมหาไดจาก 1z = 1 
+  x1 - x1 
R2  L C 
8. กําลังที่สูญเสียในวงจร
8.1 P = iรวมvรวม cos φ
8.2 P = กําลังที่สูญเสียในตัวตานทาน

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (72) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยางขอสอบ
1. กระแสไฟฟา IC มีคาเทาใด (A-NET’51)

ความถี่เชิงมุม IC I 0 sin ωt
เทากับ ω C R

1) ωCRI0 sin ωt 2) ωCRI0 cos ωt 3) ω RI 0 sin ωt RI 0 cos ωt


4) ω
C C
2. เซลลไฟฟาในวงจรนี้กําลังทํางานดวยอัตรารวมเปนเทาใด (A-NET’51)
I 1) I2R q2
2) 2C
R +q
V C -q q2
3) I2R + 2C 4)  IR + Cq  I

3. แอมพลิจูดของกระแส I มีคาเทาใด (A-NET’50)


 2  2
I 1) 1  2 +  1   V0



 2)
  2   
  1  -  1   V0
R   ωL  
    R   ω L  
   
V0 sin ωt L R
V0 V0
3) 4)
2 2
R + (ωL) R 2 - (ωL) 2
4. หลังสับสวิตช SW ลงแลว ความตางศักยระหวางจุด A กับ B มีคาเทาใด (A-NET’50)
A q q
SW 1) 13 C0 2) 12 C0
+q
C -q 0 2C q q
0 3) 32 C0 4) C0
B

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (73)


อะตอมและอิเล็กตรอน
1. ทอมสัน หาคา q/m ได 1.76 × 1011 C/kg ทําการทดลองโดย
1.1 เรงประจุผานความตางศักย V qV = 12 mv2
2
1.2 ประจุวิ่งโคงในสนามแมเหล็ก qvB = mvR
1.3 ประจุวิ่งตรงในสนามแมเหล็กและสนามไฟฟา qvB = qE
2. มิลลิแกน หาคาของ e- ได 1.6 × 10-19 C โดยใชหยดน้ํามัน
หยดน้ํามันที่ลอยนิ่งในสนามไฟฟา qE = mg
หา E ไดจาก E = Vd
3. โครงสรางอะตอม
3.1 รัทเทอรฟอรด
- มีประจุ + รวมกันตรงกลาง เรียกวา “นิวเคลียส”
- มี e- วิ่งเปนวงกลมรอบๆ
3.2 บอร
- e- ในชั้นพิเศษไมแผสเปกตรัม โดยที่ชั้นพิเศษนี้ไดวา mvR = n h
- รัศมีอะตอม Rn = n2R1
E
- พลังงานอะตอม En = 12
n
- เมื่อเปลี่ยนชั้นพลังงาน จะมีการดูดกลืนหรือปลดปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา λ ที่ปลดปลอย
หาไดจาก
 
1 = R  1 - 1  ไลมานท nf = 1 ni = 2, 3, ...
λ H 2 2
 nf ni  บาลมเมอร nf = 2 ni = 3, 4, ...
โดย RH = 1.10 × 107 m-1
4. ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก เมื่อแสงความถี่พอเหมาะตกกระทบโลหะ จะทําใหเกิดกระแสโฟโต-
อิเล็กตรอน
4.1 พลังงานโฟตอน E = hf
4.2 สมการพลังงาน hf = W + eVs
4.3 พลังงานจลนสูงสุดของ e Ekmax = eVs หรือ Ekmax = hf - W
-

Vs คือ stopping potential Vs


4.4 จากกราฟระหวาง Vs และ f
f
- slope = he f0
W
e

วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (74) _______________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


5. ความยาวคลื่นเดอบรอยล อนุภาคประพฤติเปนคลื่นไดเมื่อเคลื่อนที่
5.1 ความยาวคลื่นสสาร λ = hP = mv h

5.2 พลังงานอนุภาค E = 12 mv2


5.3 พลังงานคลื่น E = hf
6. รังสีเอกซ เกิดเมื่อเรง e- ผานความตางศักยสูงๆ แลวทําใหเกิดการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวง
รังสีเอกซมี 2 แบบ
6.1 รังสีเอกซแบบเสน หา λmin จากการพิจารณา e- ตัวที่ชนเปาแลวหยุดไดวา
eV = 12 mv2 = hfmax = λhc → λmin = eV hc
min
6.2 รังสีเอกซแบบตอเนือ่ ง เกิดเมื่อ e- ชน atom แลว atom ถูกกระตุนเมื่อกลับสูสถานะพื้นจะ
ปลดปลอยพลังงาน

ตัวอยางขอสอบ
1. ฟงกชันงานของโลหะโซเดียมเทากับ 2.0 อิเล็กตรอนโวลต ถาแสงความยาวคลื่น 300 นาโนเมตร ตกกระทบ
ผิวโซเดียม โฟโตอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจะมีพลังงานจลนสูงสุดกี่อิเล็กตรอนโวลต (A-NET’49)
1) 1.2 eV 2) 2.1 eV 3) 4.2 eV 4) 6.1 eV
2. ถาระดับพลังงานชั้นที่ n ของอะตอมไฮโดรเจนในหนวยอิเล็กตรอนโวลต เขียนไดเปน En = - 13.6
n2
ถาอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนสถานะจากชั้นที่ 2 ลงมาชั้นที่ 1 จะปลดปลอยโฟตอนที่มีโมเมนตัม
เทาใด (A-NET’49)
1) 3.40 × 10-8 kg ⋅ m/s 2) 4.89 × 10-10 kg ⋅ m/s
3) 1.63 × 10-18 kg ⋅ m/s 4) 5.44 × 10-27 kg ⋅ m/s
3. เมื่อฉายแสงความถี่หนึ่งลงบนผิวโลหะที่มีคาฟงกชันงาน 1.0 อิเล็กตรอนโวลต ไดพลังงานจลนสูงสุดของ
อิเล็กตรอนเปน 2.0 อิเล็กตรอนโวลต ถาใชแสงความถี่ใหมเปน 1.5 เทาของความถี่เดิม คาพลังงานจลน
สูงสุดของอิเล็กตรอนเปนเทาใด (A-NET’50)
1) 2.5 eV 2) 3.0 eV 3) 3.5 eV 4) 4.0 eV
r r
4. อนุภาคโปรตอนเคลื่อนที่ในสนามไฟฟา ( E ) หรือในสนามแมเหล็ก ( B ) ดังรูปในขอใดที่ความยาวคลื่น
เดอบรอยลของอนุภาคไมเปลี่ยน (A-NET’50)
r r
P r v P r v
v r v
1) 2) P r 3) r 4) P r
E E E B

————————————————————

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 _______________________ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส (75)


การเคลื่อนที่เปนเสนตรง
สรุปเรื่องการเคลื่อนที่เปนเสนตรง
การเคลื่อนที่เปนเสนตรงสามารถสรุปเปนสมการได 3 สมการ
v = u + at
S = ut + 12 at2
v2 = u2 + 2aS
u คือ อัตราเร็วตน v คือ อัตราเร็วปลาย
t คือ เวลา S คือ การขจัด
a คือ ความเรง
หลักการคิด
1. ความเร็วมีทิศขึ้นเปนบวก ลงเปนลบ
2. จุดที่อยูต่ํากวาจุดเริ่มตนของการเคลื่อนที่เปนลบ
3. ความเรงชี้ขึ้นเปนบวก ลงเปนลบ
ปญหาเชิงกราฟ
1. กราฟระหวางความเรงกับเวลา พื้นที่ใตกราฟคือความเร็วที่เปลีย่ นไป ถาความเร็วตนเปนศูนย พื้นที่
ใตกราฟ คือ ความเร็ว
2. กราฟระหวางความเร็วกับเวลา
¾ พื้นที่ใตกราฟ คือ การกระจัด
¾ ความชันของกราฟ คือ ความเรง
3. กราฟระหวางระยะทางกับเวลา
¾ ความชันของกราฟ คือ ความเร็ว

วิทยาศาสตร ฟสิกส (76) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยางขอสอบ
1. กราฟของอัตราเร็ว (v) กับเวลา (t) ขอใดแทนการปลอยวัตถุจากหยุดนิ่งใหตกอยางอิสระในสุญญากาศ
ภายใตแรงโนมถวง
1) v 2) v

t t
3) v 4) v

t t
2. กราฟในขอใดที่แสดงการกระจัด (s) กับเวลา (t) สําหรับการดีดลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งและตกลงมาภายใต
แรงโนมถวง
1) s 2) s

t t
3) s 4) s

t t
3. รถยนตคันหนึ่งวิ่งดวยความเร็วคงที่ 10 เมตรตอวินาที ขณะที่อยูหางจากสิ่งกีดขวางเปนระยะทาง 35 เมตร
คนขับตัดสินใจหามลอรถโดยเสียเวลา 1 วินาที กอนที่หามลอจะทํางาน เมื่อหามลอทํางานแลว รถจะตองลด
ความเร็วในอัตราเทาใด จึงจะทําใหรถหยุดพอดีเมื่อถึงสิ่งกีดขวางนั้น
1) 1.0 m/s2 2) 1.5 m/s2 3) 2.0 m/s2 4) 3.0 m/s2

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (77)


การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล
สรุปเรื่องการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล เปนการเคลื่อนที่ในสองมิติโดยที่ความเรงอยูในแนวดิ่งอยางเดียว ดังนั้นใน
แนวราบมักจะเปนการเคลื่อนที่ดว ยอัตราเร็วคงที่ เทากับอัตราเร็วตน สวนอัตราเร็วตามแนวดิ่งเปลี่ยนไปตาม
ความเรง g สามารถสรุปความสัมพันธไดดังนี้
แนวดิ่ง แนวราบ
ความเรง ความเรง
ay = -g m/s2 ax = 0 m/s2
ความเร็ว ความเร็ว
vy = uy - gt m/s vx = ux m/s (ความเร็วคงที่)
ระยะทาง ระยะทาง
y = uyt - 12 gt2 เมตร x = uxt เมตร

ขอสังเกต
จุดที่การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล มีความเร็วต่ําสุดไดแกจุดที่อยูสูงสุด โดยจะมีอัตราเร็วเทากับอัตราเร็ว
ตนในแนวราบ (เพราะอัตราเร็วในแนวดิ่งเทากับศูนย)
ระยะสูงสุด
จุดสูงสุดของการเคลือ่ นที่วิถีโคง อัตราเร็วในแนวดิง่ เทากับศูนย จะมีคา
u2
H = 2gy เมตร
ระยะไกลที่สุด
ระยะไกลที่สุดหาไดจากการหาเวลาที่การขจัดทางแกน y = 0 เมตร และนําเวลาไปแทนในสมการหาคา
ระยะทางตามแนวราบ
2u x u y
R = g เมตร
ถาเรายิงวัตถุดวยอัตราเร็วตน u เมตรตอวินาที ทํามุม θ กับแนวระดับ ระยะไกลสุดสามารถเขียนในรูป
ของอัตราเร็ว u และมุม θ ไดวา
2 2
R = 2u sin (gθ) cos ( θ) = u sing (2θ) เมตร
ดังนั้น จะเห็นไดวาระยะทางไกลสุดที่วัตถุจะไปไดที่อัตราเร็วตนคงที่ จะเกิดเมื่อยิงวัตถุเปนมุม 45 องศา
ระยะไกลสุดเมื่อยิงวัตถุดวยมุม 30 องศาจะเทากับยิงดวยมุม 60 องศา ถาอัตราเร็วตนเทากัน (จริงๆ แลวถามุม
บวกกันได 90 องศาจะไดระยะทางเทากัน

วิทยาศาสตร ฟสิกส (78) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยางขอสอบ
1. เมื่อไมคิดแรงตานของอากาศ รูปใดแสดงทิศทางของแรงลัพธที่กระทําตอลูกทรงกลมหลังจากที่ขวางออกไป
ในอากาศและกําลังเคลื่อนที่ทํามุม θ กับแนวระดับ

1) 2) 3) 4)
θ θ

2. เด็ก 4 คนนั่งอยูริมตลิง่ และขวางกอนหินพรอมกันลงน้ําคนละกอน ถาแตละกอนตกที่ตําแหนงตางกันคือ A,


B, C และ D โดยมีทางเดินของกอนหิน ดังรูป จงพิจารณาวากอนหินที่ตกตรงตําแหนงใดถึงพื้นน้ํากอน

A B C D

1) A 2) B 3) C 4) D
3. เมื่อขวางกอนหินกอนหนึ่งดวยความเร็วตน 20 เมตรตอวินาที พบวากอนหินตกถึงพื้นราบดวยความเร็วที่ทํา
มุม 60 องศากับแนวดิ่ง หินกอนนี้ขวางไปไดสูงสุดเทาใด
1) 5 m 2) 10 m 3) 15 m 4) 20 m
4. ชายคนหนึ่งยืนอยูบนพื้นสนามราบ เขาขวางลูกบอลขึ้นไปในอากาศ ลูกบอลลอยอยูในอากาศนาน 4.0 วินาที
โดยไมคิดแรงตานของอากาศ ถาลูกบอลไปไดไกลในแนวระดับ 60.0 เมตร ความเร็วที่ใชขวางลูกบอลมีคา
เทาใด
1) 15.0 เมตรตอวินาที 2) 20.0 เมตรตอวินาที
3) 25.0 เมตรตอวินาที 4) 30.0 เมตรตอวินาที
5. ชายคนหนึ่งโยนลูกบอลจากยอดพื้นเอียงดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที เอียงทํามุม 30 องศากับแนวระดับ
ถาพื้นเอียงนั้นเอียงลง 30 องศาจากแนวระดับเชนกัน จะใชเวลาเทาใดลูกบอลจึงจะตกกระทบพื้นเอียงนับ
จากเริ่มโยน
1) 2.0 วินาที 2) 2.6 วินาที 3) 3.5 วินาที 4) 4.0 วินาที

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (79)


6. ลูกปนมวล 8 กรัม ยิงตรงไปยังทอนไมมวล 2 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบนขอบโตะพื้นลื่น ที่มีความสูง 0.8 เมตร
เมื่อลูกปนกระทบไมและฝงในเนือ้ ไม ทอนไมเคลื่อนที่หลนจากโตะและตกถึงพื้นหางจากขาโตะ 2 เมตร
จงหาอัตราเร็วของลูกปนในหนวยเมตรตอวินาที
8g
2k

0.8 m

2.0 m

วิทยาศาสตร ฟสิกส (80) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่
กฎของนิวตัน
1. วัตถุจะรักษาสภาพหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่ ถาแรงลัพธที่กระทําบนวัตถุเปนศูนย
2. ความเรงที่เกิดขึ้นตอวัตถุจะแปรผันตรงตอแรงกระทําตอวัตถุ และแปรผกผันกับมวลของวัตถุนั้น
3. ทุกๆ แรงที่กระทําตอวัตถุหนึ่งโดยอีกวัตถุหนึ่งจะมีแรงขนาดเทากันแตทิศตรงขามกระทําตอวัตถุที่ออก
แรงแรกเสมอ
การแตกแรง
Y
F
Fy = F sin θ
θ
X
Fx = F cos θ

การรวมเวกเตอรของแรง ถามีแรง 2 แรงตั้งฉากกัน Fx และ Fy ผลรวมของแรงทั้งสองหาไดจาก


F = Fx2 + Fy2

ตัวอยางขอสอบ
1. รถเข็นมวล 100 กิโลกรัม เดิมอยูนิ่ง ถูกแรงในแนวระดับขนาด 50 นิวตัน ผลักใหเคลื่อนที่ไปบนพื้นราบ
ถาแรงเสียดทานที่กระทําตอรถทั้งหมดเทากับ 30 นิวตัน ถามวาถาแรงกระทําเปนเวลา 12 วินาที จะทําให
รถเข็นมีความเร็วเทาใด
1) 2.4 m/s 2) 7.2 m/s 3) 9.6 m/s 4) 14.4 m/s
2. แรง 5 นิวตัน และ 12 นิวตัน ในระนาบระดับ มีทิศ
5N
ตั้งฉากกันกระทําตอมวล 10 กิโลกรัมบนพื้นระดับลื่น
90° จงหาขนาดของความเรงของมวลนี้
1) 0.7 m/s2
10 kg 12 N
2) 1.2 m/s2
3) 1.3 m/s2
4) 1.7 m/s2

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (81)


3. รถมวล 1000 กิโลกรัม เพิ่มความเร็วอยางสม่ําเสมอจากหยุดนิ่งไปเปน 72 กิโลเมตรตอชัว่ โมง ในเวลา
10 วินาที แรงเสียดทานที่สงใหรถเรงไปขางหนามีคาเทาใด
1) 1000 N 2) 2000 N 3) 3600 N 4) 7200 N
4. ลิ่มวางอยูบนพื้นฝดมาก ผิวบนของลิ่มเปนผิวราบลื่น นํามวล M มาวางและปลอยใหไถลลงบนผิวลื่นนี้
แรงที่ลิ่มกดทับพื้นระดับจะเพิ่มขึน้ จากเดิมเทาใด
M
g
ผิวลื่น
α
พื้นระดับ ฝดมาก

1) Mg 2) Mg cos α 3) Mg cos2 α 4) Mg cos3 α


5. เมื่อดึงดวยแรง F1 วัตถุ A มีความเรง a1 และเมื่อดึงดวยแรง F2 วัตถุ A มีความเรง a2 แรงเสียดทานมีคา
เทาใด
g A แรงดึงในแนวระดับ
แรงเสียดทาน
Fa -F a F a -F a Fa +Fa Fa +Fa
1) 1a1 - a2 2 2) 1a2 - a2 1 3) 1a1 + a2 2 4) 1a2 + a2 1
1 2 2 1 1 2 2 1
6. สปริงเบาๆ ทั้งสามอันเหมือนกันหมด สปริงในรูป ก
ยืดออก 4 เซนติเมตร สปริงในรูป ข ยืดออกรวมกี่
เซนติเมตร
1) 2 2) 4
g
3) 6 4) 8
M
รูป ก M
รูป ข

วิทยาศาสตร ฟสิกส (82) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


สมดุล
สมดุลของแรง
สภาพสมดุล เกิดขึ้นตามกฎขอที่ 1 ของนิวตัน
“วัตถุจะรักษาสภาพหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่เมื่อแรงลัพธ เปนศูนย”
v
เขียนเปนสมการคณิตศาสตรไดวา ∑ F = 0
ทั้งนี้สามารถสรุปเปนหลักสั้นๆ ไดวา
“แรงขึ้น = แรงลง”

“แรงซาย = แรงขวา”

สมดุลตอการหมุน
ในเรื่องสมดุล ในเรื่องนี้นอกจากสมดุลตอการเคลื่อนที่แลวยังมีสมดุลตอการหมุนดวย การหมุนนั้นจะเกิด
ตอเมื่อมีแรงกระทําตอวัตถุในแนวที่ไมผานจุดตรึง หรือที่เรียกวา จุดหมุน แรงนี้จะทําใหเกิด ปริมาณหนึ่งขึ้น มีชื่อ
เรียกวา ทอรก (Torque) โดยนิยาม ทอรก ไดแก ผลคูณของแรงในแนวตั้งฉากกับรัศมีของแกนหมุน คูณกับ
ระยะหางจากแกนหมุนของจุดที่แรงกระทํา
จุดหมุน

R F sin θ
θ
F
F cos θ

ดังนั้น ทอรกจะมีขนาดเทากับ
| vτ | = RF sin θ
ทั้งนี้ทอรกจะทําใหเกิดการหมุนในสองทิศทาง บางครั้งจึงเรียกทอรกวา โมเมนต (Moment) โดย
กําหนดใหมีทิศตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกา ในสภาพสมดุล เราสรุปไดวา ทอรกลัพธของระบบเทากับศูนย
v
Στ = θ
หรือ
ผลรวมของโมเมนตทวนเข็ม = ผลรวมของโมเมนตตามเข็ม

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (83)


ตัวอยางขอสอบ
1. คานเหล็กสม่ําเสมอมวล 2 กิโลกรัม ยาว 2 เมตร ที่ปลายทั้งสองขางผูกมวล 13 และ 6 กิโลกรัม ถามวา
จะตองผูกเชือกที่ตําแหนงหางจากปลายดานมวล 13 กิโลกรัม เทาใดคานจึงจะสมดุล
1) 1.33 m 2) 1.00 m 3) 0.75 m 4) 0.67 m
2. มวล m แขวนดวยเชือก 2 เสน ยาว 40 และ 30 เซนติเมตร ปลายเชือกยึดไวหางกัน 50 เซนติเมตร
ในแนวระดับดังรูป และอยูในสมดุล ถาตัดเชือกดาน 30 เซนติเมตรใหขาดแบบทันที มวล m จะเริ่มเคลื่อนที่
ดวยความเรงเปนกี่เทาของคา g
50
40 30

m
3. คานสม่ําเสมอหนัก W วางพิงกําแพงลื่นและพื้นลื่นดังรูป ถามีเชือกในแนวระดับดึงรั้งระหวางกําแพงกับ
จุดศูนยกลางมวลของคานเพื่อไมใหคานลม เชือกนี้มีความตึงเทาใด
กําแพงลื่น

1) W
g 3
T 2) 3 W
เชือก
3) 2 W
พื้นระดับลื่น 30° 4) W
2
4. ชายคนหนึ่งถือแผนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 2 เมตรน้ําหนัก 100 นิวตัน ใหสมดุลตามแนวระดับโดยมือขาง
หนึ่งยกแผนไมขึ้นที่ตําแหนง 40 เซนติเมตร จากปลายใกลตัวและมืออีกขางหนึง่ กดแผนไมลงที่ปลาย
เดียวกันนั้น จงคํานวณหาแรงกดและแรงยกจากมือทั้งสอง ตามลําดับ ที่ทําใหแผนไมอยูนิ่งได
1) 120 และ 220 นิวตัน 2) 130 และ 230 นิวตัน
3) 140 และ 240 นิวตัน 4) 150 และ 250 นิวตัน
5. ชายคนหนึ่งหนัก 500 นิวตัน กําลังขึ้นบันไดสม่ําเสมอยาว 5.0 เมตร และหนัก 100 นิวตัน ถาบันไดพาดอยู
กับผนังลื่นโดยปลายบันไดบนพื้นอยูหางจากผนัง 3.0 เมตร และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางพื้นกับ
บันไดเทากับ 0.5 ชายคนนี้จะขึ้นบันไดไปไดระยะกี่เมตรกอนที่บันไดจะไถล

วิทยาศาสตร ฟสิกส (84) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


งานและพลังงาน
งานคืออะไร
งาน คือ ความสามารถที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เปนสิ่งที่วัตถุไดรับเมื่อถูกแรงกระทําและเกิดการเคลื่อนที่ขึ้น
(หากไมเกิดการเคลื่อนที่ถือวาไมเกิดงาน)
หนวยของงาน
งานมีหนวยเปนแรงคูณกับระยะทาง คือ นิวตัน ⋅ เมตร (N ⋅ m) ซึ่งในระบบฐานของระบบ SI จะเขียนได
เปนกิโลกรัม ⋅ เมตร2/วินาที2 ซึ่งตอมามีการบัญญัติหนวยใหมวา จูล (joules: J)
งานของแรงคงที่
นิยาม งานของแรงคงที่ = แรงในทิศการเคลื่อนที่ × ระยะทางที่เคลื่อนที่
ถาแรงไมอยูในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่
เราสามารถใชการแตกแรงเพื่อหาขนาดของแรงที่อยูในแนวทางการเคลื่อนที่
v v
F sin θ F
v
θ F cos θ
v
X
ดังภาพ แรงในแนวการเคลื่อนที่ คือ F cos (θ) ดังนั้นงานจึงมีคาเทากับ
W = [F cos (θ)] × [x]
เมื่อ x เปนระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไป
งานและกราฟของแรงกับระยะทาง
เมื่อนําแรงมาเขียนกราฟกับระยะทาง ตัวอยางเชนแรงคงที่
แรง (นิวตัน)
งาน
F

ระยะทาง (เมตร)
X
“งาน คือ พื้นที่ใตกราฟของแรงกับระยะทาง”

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (85)


งานของแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ แรงเสียดทานสถิต (Static friction) และแรงเสียดทานจลน (Kinetic friction)
1. แรงเสียดทานสถิตเปนแรงตานการเคลื่อนที่เมื่อวัตถุถูกแรงภายนอกกระทํา แรงนี้จะมีคานอยกวาคา
หนึ่งเสมอ และจะเทากับแรงภายนอกที่กระทําตอวัตถุแตมีทิศตรงขามและวัตถุจะไมเคลื่อนที่
fs ≤ µsN
µs คือ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต และ N คือ แรงตัง้ ฉาก (Normal Force) ดังนั้นแรงเสียด
ทานสถิตจึงไมใหงาน
2. แรงเสียดทานจลน เกิดขึ้นในระหวางการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีขนาด
F = µkN
µk คือ สัมประสิทธความเสียดทานจลน และ N คือ แรงตั้งฉาก (Normal Force) เนื่องจากแรงเสียด
ทานมีทิศตรงขามกับทิศการเคลื่อนที่ งานของแรงเสียดทานจะเปนลบเสมอ
งานของแรงโนมถวง
แรงโนมถวงเปนแรงที่มีขนาดคงที่เทากับ mg และมีทิศเขาสูศูนยกลางโลก (ทิศลง) เสมอ งานของแรง
โนมถวงของโลก เมื่อวัตถุเคลื่อนที่จากตําแหนงที่มีความสูง y1 ไปยังตําแหนงที่มีความสูง y2 เปน
W = -mg(y2 - y1)
เนื่องจากแรงโนมถวงมีทิศลงงานของแรงโนมถวงสําหรับการเคลื่อนที่ในแนวราบจึงมีคาเปนศูนย (แรงมีทิศ
ตั้งฉากกับการเคลื่อนที่) งานของแรงโนมถวงจึงขึ้นกับความสูงเริม่ ตนและความสูงสุดทายของวัตถุเทานั้น
งานของแรงไมคงที่
ถาแรงมีขนาดไมคงที่ขึ้นกับตําแหนงของวัตถุ การคํานวณงานสามารถทําไดจากการหาพื้นที่ใตกราฟของ
แรงกับระยะทาง ตัวอยางเชน แรงจากสปริง ที่เปนไปตามกฎของฮุค (Hooke’s law) ขนาดของแรงจากสปริง
แปรผันตรงกับระยะยืดของสปริงดังกราฟ

f = kX
(Newton)

kx
Force

X x (m)

ถาสปริงยืดจากจุดสมดุลถึงระยะยืด x งานสามารถหาไดจากพื้นที่ใตกราฟ
งาน = พื้นที่ใตกราฟ
= 12 × ฐาน × สูง
W = 12 kx2

วิทยาศาสตร ฟสิกส (86) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ถาสปริงยืดจาก x1 ถึง x2 งานจะเปน
W = -  12 kx22 - 12 kx12 

กําลัง
กําลังโดยความหมายหมายถึง อัตราการทํางาน คือทํางานไดมากพียงใดในเวลาที่กําหนด โดยหลักการแลว
กําลัง หมายถึง งานที่ทําหารดวยเวลาที่ใช
ถา P แทนกําลัง ในหนวยจูลตอวินาที หรือวัตต (Watt)
และ W แทนงานในหนวยจูล
และ t แทนเวลาในหนวยวินาที
เราสามารถเขียนความสัมพันธไดวา
P = Wt

ตัวอยางขอสอบ
1. กราฟของแรงกับตําแหนงของวัตถุเปนดังรูป จงหางานที่ระยะ 10 เมตร
50
(Newton)

40
30
20
10
F

00 5 10 15
X (m)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (87)


2. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางแรง (F) และการกระจัด (S) มีลักษณะดังรูป ถาวัตถุเคลือ่ นที่ทั้งสิ้น 5
วินาที จงหาวางานและกําลังมีคาเทาใด
7
6
(Newton) 5
4
3
2
1
F

0 0 2 4 6 8 10
S (m)

3. จงหางานอยางนอยที่กรรมกรคนหนึ่งตองทําในการดันกลองสินคามวล 50 กิโลกรัม ขึ้นไปตามพื้นเอียงทํามุม


53 องศากับพื้นราบถึงจุดสูงจากพื้นราบ 4 เมตร ถาแรงเสียดทานระหวางพื้นเอียงกับกลองเปน 80 นิวตัน
(กําหนด sin (53) = 4/5)

4. เครื่องยนตจะตองออกกําลังกี่วัตตในการขับเคลื่อนรถยนตมวล 1000 กิโลกรัม ขึ้นไปตามพื้นเอียง 30 องศา


ดวยอัตราเร็วคงที่ 15 เมตรตอวินาที ถาพื้นมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน 0.8

วิทยาศาสตร ฟสิกส (88) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


พลังงาน
1. งานของแรงลัพธและพลังงานจลน
ถาแรงลัพธบนวัตถุมีคาไมเปนศูนย งานลัพธที่กระทําบนวัตถุยอมไมเปนศูนย จากกฎของนิวตัน แรงลัพธ
บนวัตถุมีคา
v
Σ F = m va
m คือ มวลของวัตถุและ a คือความเรงเฉลี่ยของวัตถุ จากการเคลื่อนที่เปนเสนตรง ความเรงเฉลี่ย
ของวัตถุเปน
va = v - u
t
งานของแรงลัพธมีคา
W = ΣF ⋅ x
x = vavt
=  v +2 u  t
งานของแรงลัพธมีคา
W = 12 mv2 - 12 mu2
ปริมาณ 12 mv2 เรียกวา พลังงานจลน (Kinetic Energy) สรุปไดวา
งานของแรงลัพธ = ความเปลี่ยนแปลงของพลังงานจลน
2. งานของแรงโนมถวงและพลังงานศักยโนมถวง
แรงโนมถวงของโลกมีทิศเขาสูศูนยกลางของโลกเสมอ ถาวัตถุเปลี่ยนความสูงจากความสูง y1 มาเปน y2
งานของแรงโนมถวงเปน
Wmg = -mg(y2 - y1)
= -(PE2 - PE1)
PE = mgy
เทอม mgy เรียกวา พลังงานศักย งานนี้ไมขึ้นกับเสนทางที่วัตถุเคลื่อนที่ ขึ้นแตกับตําแหนงของวัตถุ
ที่จุดเริ่มตน และจุดสุดทาย เราเรียกแรงนั้นวา แรงอนุรักษ (Conservative Force) แรงสวนใหญเปนแรง
อนุรักษ ยกเวนแรงเสียดทาน หรือแรงหนวง

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (89)


3. งานของแรงจากสปริงและพลังงานศักยยืดหยุน
แรงจากสปริงมีลักษณะพิเศษที่ไมคงที่ เราสามารถหา
งานในการยืด สปริ ง จากระยะสมดุ ล จนมี ความยาว
(Newton)

F = kX
ของระยะยื ด เป น x โดยหาพื้ น ที่ ใ ต ก ราฟ งานนี้
เรี ย กอี ก อย า งหนึ่ ง ว า พลั ง งานศั ก ย ยื ด หยุ น
(Elastic Potential Energy) คาพลังงานศักย-
ยืดหยุนมีคา
Force

area = kx2/2 PEelastic = 12 kx2


X x (m)

4. กฎการอนุรักษพลังงาน (Conservation of Energy)


ถาแรงยอยทุกแรงเปนแรงอนุรักษ งานของแรงยอยทุกแรงจะเทากับผลตางของพลังงานศักย ณ ตําแหนง
สุดทาย กับพลังงานศักยของตําแหนงเริ่มตน เมื่อรวมงานของแรงยอยทุกแรงเขาดวยกันเปนแรงลัพธ งานของแรงลัพธ
เทากับผลตางของพลังงานจลน เราสามารถสรุปไดวาถาไมมีแรงเสียดทาน (หรือแรงไมอนุรักษ) พลังงานทั้งหมด
(รวมทั้งพลังงานจลนและพลังงานศักยทุกชนิด) จะมีคาคงที่ เราเรียกกฎนี้วา กฎการอนุรักษพลังงาน
(Conservation of Energy) หลักการนี้เปนหลักการที่ใชบอยครั้งในปญหาเรื่องพลังงาน

ตัวอยางขอสอบ
1. รถทดลองมวล 0.5 กิโลกรัม วิ่งดวยอัตราเร็ว 2.0 เมตรตอวินาทีบนพื้นราบ เขาชนสปริงอันหนึ่งซึ่ง มีปลาย
ขางหนึ่งยึดติดกับผนังและมีคาคงตัวสปริง 200 นิวตันตอเมตร สปริงจะหดตัวเทาใด ในจังหวะที่มวลลด
อัตราเร็วลงเปนศูนยพอดี

2. ยิงลูกปนมวล 12 กรัม ไปยังแทงไมซึ่งตรึงอยูกับที่ ปรากฏวาลูกปนฝงเขาไปในเนื้อไมเปนระยะ 5 เซนติเมตร


ถาความเร็วลูกปนคือ 200 เมตรตอวินาที จงหาแรงตานทานเฉลี่ยของเนื้อไมตอลูกปน

วิทยาศาสตร ฟสิกส (90) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3. กดมวล 1 กิโลกรัม ลงบนสปริงซึ่งตั้งในแนวดิ่ง ใหสปริงยุบตัวลงไป 10 เซนติเมตร จากนั้นก็ปลอย ปรากฏ
วามวลถูกดีดใหลอยสูงขึ้นเปนระยะ 50 เซนติเมตร จากจุดที่ปลอย จงหาคาคงตัวของสปริง

4. ในเหตุการณไฟไหมครัง้ หนึ่ง ชายมวล 60 กิโลกรัม ติดอยูบนตึกสูง และจําเปนตองกระโดด ลงมาบนตาขาย


ซึ่งคนขางลางชวยกันจับเอาไว โดยเขาอยูสูงจากตาขาย 8 เมตร ภายหลังการกระโดดตาขายยุบลงจาก
ระดับเดิม 0.8 เมตร โดยที่ตัวชายผูนี้มิไดกระดอนจากตาขายเลย จงหาแรงเฉลี่ยที่ตาขายกระทําตอชายผูนี้

5. ชายคนหนึ่งกําลังวิ่งอยูปรากฏวาพลังงานจลนของเขาเทากับครึ่งหนึ่งของเด็กซึ่งกําลังวิ่งอยู เด็กคนนี้มีมวล
ครึ่งหนึ่งของเขา ถาชายคนนี้เพิ่มอัตราเร็วขึ้นอีก 1 เมตรตอวินาที ปรากฏวาเขามีพลังงานจลนเทากับ
พลังงานจลนของเด็กพอดี จงหาอัตราเร็วของเด็ก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (91)


การชนและโมเมนตัม

จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
F = ma = m(vt- u)
F = mv -t mu
เราสามารถนิยาม โมเมนตัม p = mv
แรง คือ อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัม
การดล คือ การเปลี่ยนโมเมนตัม มีคาเทากับ แรงเฉลี่ย คูณดวยเวลาที่วัตถุรับแรง
∆p = mv - mu
= Favg × t
เมื่อนําแรงมาพลอตเปนกราฟกับเวลา เราจะไดวา พื้นที่ใตกราฟระหวาง แรงกับเวลา ไดแก โมเมนตัมที่
เปลี่ยนไป หรือการดลนั่นเอง
แรง (นิวตัน)

การเปลี่ยน
โมเมนตัม

เวลา (วินาที)

วิทยาศาสตร ฟสิกส (92) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


การชนและกฎการอนุรักษโมเมนตัม

ในการชนกันระหวางวัตถุ 2 ชิ้น m1 และ m2 ในระหวางการชนแรงกระทําบนวัตถุทั้งสอง เปนไปตาม


กฎของนิวตัน
F12 = -F21
m 1 v 1 - m 1u 1 m v -m u
t = - 2 2t 2 2
m1v1 + m2v2 = m1u1 + m2u2
ผลรวมโมเมนตัมกอนชน = ผลรวมโมเมนตัมหลังชน
ในการชนโมเมนตัมจะอนุรกั ษเสมอทั้งการชนแบบยืดหยุนและแบบไมยืดหยุน
การชน แบบตางๆ
• การชนแบบยืดหยุน คือ การชนที่ไมมีการเสียพลังงานในการชนเลย
• การชนแบบไมยืดหยุน คือ การชนที่เมื่อชนแลวมีพลังงานบางสวนเสียไป เชน การชนที่ติดกันไป
การชนในสองมิติ
หลักการคํานวณการชนในสองมิติ ใชหลักเดียวกับขางตนเพียงแตวา แยก แกน x และ y โดยโมเมนตัม
รวมในแตละแกนจะอนุรักษ มีขอสังเกตคือถามวลของวัตถุเทากันและการชนเปนแบบยืดหยุน หลังชนทิศทางที่
วัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ไปจะตั้งฉากกัน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (93)


ตัวอยางขอสอบ
1. ในการชนกันอยางไมยืดหยุนดังแสดงในรูป ความเร็วหลังชนของ m มีขนาดเทาเดิมแตกลับทิศ v มีคาเทาใด
M m M m
u u v u

กอนชน หลังชน

1) u เมตร/วินาที 2)  M -M2m  u เมตร/วินาที


3)  M M- m  u เมตร/วินาที 4)  2mM- M  u เมตร/วินาที
2. วัตถุ A มีมวลเปน 2 เทาของวัตถุ B ปลอยทั้งคูใหตกจากหยุดนิ่งจากระดับสูงเดียวกัน ขณะเมือ่ กระทบพื้น
นั้นโมเมนตัมของวัตถุ A มีขนาดเปนกี่เทาของวัตถุ B
1) 12 2) 1 3) 2 4) 4
3. ลูกฟุตบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที ถาผูรักษาประตูใชมือรับลูกบอลให
หยุดนิ่งภายในเวลา 0.04 วินาที แรงเฉลี่ยที่มือกระทําตอลูกบอลมีขนาดเทาใด

4. แรง F กระทําตอมวล 0.4 กิโลกรัม ทําใหขนาดของความเร็ว v เปลี่ยนแปลงตามเวลา t โดยทิศไมเปลี่ยน


ดังกราฟ อัตราการเปลี่ยนการดลในชวงความเร็ว ที่ A ไปเปนความเร็วที่ B มีคาเทาใด
อัตราเร็ว (เมตรตอวินาที)

40
30
20
10
00 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5
เวลา (วินาที)

วิทยาศาสตร ฟสิกส (94) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


5. ลูกบอลมวล 2.0 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 1.25 เมตร ในแนวดิ่ง กระทบพื้นราบแลวสะทอนกลับขึ้นไปไดสูงสุด
0.45 เมตร ถาลูกบอลกระทบพื้นเปนเวลา 0.1 วินาที แลว
1. การดลที่พื้นกระทําตอลูกบอลเปนเทาใด
2. พื้นออกแรงเฉลี่ยตอลูกบอลเทาใด
3. การกระทบพื้นลูกบอลเสียพลังงานจลนไปเทาใด

6. ลูกฟุตบอลมวล 0.3 กิโลกรัม ถูกเตะจากสภาพที่หยุดนิ่งใหลอยไปในอากาศดวยอัตราเร็วตน 10 เมตรตอ


วินาที ถารองเทาของนักฟุตบอลตกกระทบลูกฟุตบอลนาน 5 × 10-3 วินาที จงหาแรงดลในหนวยนิวตันที่
กระทําตอลูกฟุตบอล โดยคิดวาแรงนี้กระทําผานจุดศูนยกลางมวลและมีคาคงตัว
1) 150 2) 300 3) 600 4) 1200

7. ยิงลูกปนมวล 5 กรัม ใหมีความเร็ว 900 เมตรตอวินาที ตามแนวระดับขณะกระทบถุงทรายมวล 1 กิโลกรัม


ซึ่งแขวนไวดว ยเชือกตามแนวดิ่ง ทันทีที่ลูกปน ทะลุผานถุงทรายพบวาถุงทรายมีความเร็ว 4 เมตร/วินาที
จงหาขนาดของความเร็วที่ลูกปนออกจากถุงทราย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (95)


การเคลื่อนที่เปนวงกลม
การเคลื่อนที่เปนวงกลมเปนการเคลื่อนที่โดยมีระยะหางจากจุดคงที่ “จุดหมุน” เทากันเสมอ โดยลักษณะ
ทั่วไปในระดับนี้เนนที่การเคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็วคงที่ โดยสรุปความสัมพันธไดดังนี้

v
R
o ac

ถา R เปนรัศมีความโคงของการเคลื่อนที่เปนวงกลม หนวยเมตร


v เปนอัตราเร็วเชิงเสนของวัตถุที่เคลื่อนที่เปนวงกลม (มีทิศสัมผัสกับผิว) หนวยเมตรตอวินาที
ω เปนอัตราเร็วเชิงมุม (มุมที่กวาดไปไดในหนึ่งวินาที) หนวยเรเดียนตอวินาที
T คือ คาบการเคลื่อนที่ (เวลาที่เคลื่อนที่ครบรอบ)
ac คือ ความเรงมีทิศเขาสูศูนยกลางของวงกลมในหนวยเมตรตอวินาที
เราพบวา
v = ωR เมตรตอวินาที
ω = 2Tπ เรเดียนตอวินาที
2
ac = vR
= ω2R เมตรตอวินาที
ดังนั้น แรงที่จะดึงวัตถุใหเคลื่อนที่เปนวงกลม
F = m ac
2
= m vR นิวตัน
วัตถุจะเคลื่อนที่เปนวงกลมไดตองมีแรงภายนอก (แรงตึงเชือก, แรงเสียดทาน ฯลฯ) ในทิศเขาสูศูนยกลาง
จึงจะรักษารูปแบบการเคลื่อนที่ได

วิทยาศาสตร ฟสิกส (96) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยางขอสอบ
1. วัตถุหนึ่งเคลือ่ นที่แบบฮารมอนิกอยางงายรอบจุดสมดุล O โดยมีอัตราเร็วสูงสุด 5 เซนติเมตรตอวินาที
โดยมีคาบเทากับ 2π วินาที ถามวาขณะที่วัตถุมีความเร็ว 3 เซนติเมตรตอวินาที วัตถุอยูห างจากจุด O
เทาใด
1) 1 cm 2) 2 cm 3) 3 cm 4) 4 cm
2. ลูกบิลเลียดมวล M รัศมี R มีโมเมนตความเฉื่อย MR2 เดิมอยูนิ่งๆ บนพื้นเอียงสูง 2.8 เมตร กลิง้ ลงมาตาม
พื้นเอียง เมื่อถึงพื้นราบลูกบิลเลียดนี้มีความเร็วเทาใด
1) 6.3 m/s 2) 7.4 m/s 3) 9.0 m/s 4) 12 m/s

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (97)


แมเหล็กและการเหนี่ยวนําแมเหล็กไฟฟา
สนามแมเหล็ก

y สนามแมเหล็ก ไดแก บริเวณโดยรอบแทงแมเหล็ก ซึ่งสามารถสงผลใหเกิดแรงบนประจุไฟฟาที่


เคลื่อนที่เขามาได และเหนี่ยวนําใหแทงแมเหล็กอื่นเรียงตัวในแนวขนานกับเสนแรง
y สนามแมเหล็กมีทิศพุงออกจากขั้วเหนือ และพุงเขาหาขั้วใต
y ขั้วโลกเหนือมีขั้วแมเหล็กใต และขั้วโลกใตมีขวั้ แมเหล็กเหนือ
สนามแมเหล็กโดยรอบแทงแมเหล็ก

สนามแมเหล็กจากขั้วแมเหล็กตางขั้วกัน สนามแมเหล็กจากแมเหล็กเหมือนกัน
y หนวยของสนามแมเหล็กเปน “เทสลา” (T)
y 1 เทสลา = 1 เวเบอร/ตารางเมตร = 1 นิวตัน/แอมแปร ⋅ เมตร
y 1 เกาส (Gauss) = 10-4 เทสลา
y แมเหล็กทั่วไปจะมีความเขมสนามประมาณ 25000 G หรือ 2.5 T
y สนามแมเหล็กโลกขนาดประมาณ 0.5 G

วิทยาศาสตร ฟสิกส (98) __________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยาง โดยปกติเข็มทิศจะวางตัวตามแนวทิศเหนือ-ใต เมื่อนําเข็มทิศมาวางใกลๆ กับกึ่งกลางแทงเหล็กที่
ตําแหนงดังรูป เข็มทิศจะชี้ในลักษณะใด

N S

เข็มทิศ

N S
4) S N
N S
1) 2) 3)
S N

การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาในสนามแมเหล็ก

เมื่อประจุไฟฟาเคลื่อนที่เขาในสนามแมเหล็กมันจะเบี่ยงเบนเปนสวนโคงของวงกลม
แรงแมเหล็กบนประจุไฟฟาเคลื่อนที่
พบวาแรงแมเหล็กจะเกิดขึ้นตอประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่เทานั้นและมีทิศทางตั้งฉากกับ
ทั้งความเร็วและสนามแมเหล็ก เปนไปตามกฎมือขวาดังสมการ
F = qV × B
การใชกฎมือขวา
1. หันมือขวาใหปลายนิ้วทั้ง 4 ชี้ไปในทิศเดียวกับความเร็ว
2. กํามือโดยใหหมุนเขาหาทิศของสนามแมเหล็ก
3. ถาทิศของสนามแมเหล็กชี้ไปดานหลังมือใหพลิกมือกลับ
4. นิ้วโปงจะชี้ทิศของแรงตอประจุบวก
5. ประจุลบแรงจะกลับทิศ

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 ___________________________ วิทยาศาสตร ฟสิกส (99)


แรงไฟฟาบนลวดตัวนําที่มีกระแสไหล
กระแสไฟฟาเกิดจากประจุไฟฟาเคลื่อนที่ ดังนั้นลวดตัวนําที่มีกระแสไหลที่อยูในสนามแมเหล็กก็จะถูกแรง
กระทําเชนกัน โดยมีทิศเปนไปตามกฎมือขวา ตามความสัมพันธ
v v v
F = Il × B
ตามกฎมือขวาเชนกัน โดยแทนความเร็วของประจุดว ยทิศทางของกระแสไฟฟา
ตัวอยาง
1. อนุภาค P และ Q เมื่อเคลื่อนทีผ่ านสนามแมเหล็ก B ที่มีทิศพุงออกตั้งฉากกับกระดาษมีการเบี่ยงเบนดังรูป
ถานําอนุภาคทั้งสองไปวางไวในบริเวณที่มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอ แนวการเคลื่อนที่จะเปนอยางไร
B
P
Q

1) เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตามเสนสนามไฟฟา
2) เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันในทิศทางตรงขามกับเสนสนามไฟฟา
3) เคลื่อนที่ในทิศตรงขามกันโดยอนุภาค P ไปทางเดียวกับสนามไฟฟา
4) เคลื่อนที่ในทิศตรงขามกันโดยอนุภาค Q ไปทางเดียวกับสนามไฟฟา
2. อนุภาคโปรตอนเคลื่อนที่เขาไปในทิศขนานกับสนามแมเหล็ก ซึ่งมีทิศพุงเขากระดาษแนวการเคลื่อนที่ของ
อนุภาคโปรตอนจะเปนอยางไร
1) วิ่งตอไปเปนเสนตรงดวยความเร็วคงตัว 2) เบนไปทางขวา
3) เบนไปทางซาย 4) วิ่งตอไปเปนเสนตรงและถอยหลังกลับในที่สุด
3. อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา เมื่อเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก ขอใดไมเกิดการเบน
1) อนุภาคแอลฟา 2) อนุภาคบีตา
3) รังสีแกมมา 4) อนุภาคแอลฟาและอนุภาคบีตา
4. วางลวดไวในสนามแมเหล็กดังรูป เมื่อใหกระแสไฟฟาเขาไปในเสนลวดตัวนําจะเกิดแรงเนื่องจากสนามแมเหล็ก
กระทําตอลวดนี้ในทิศทางใด

N S
I

1) ไปทางซาย (เขาหา N) 2) ไปทางขวา (เขาหา S)


3) ลงขางลาง 4) ขึ้นดานบน

วิทยาศาสตร ฟสิกส (100) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


5. AB เปนสวนของลวดตรงยาวมีกระแส i จาก A ไป B และมีอิเล็กตรอนประจุ -e กําลังวิ่งผานจุด C ดวย
ความเร็ว v ซึ่งมีทิศขนานกับ AB ดังรูป ขณะนั้น อิเล็กตรอนมีความเรงตามขอใด
1) มีความเรงในทิศเขาหาเสน AB
C v
2) มีความเรงในทิศออกจากเสน AB
A B 3) มีความเรงในทิศขนานกับการเคลื่อนที่
i 4) ไมมีความเรง
6. เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผานบริเวณหนึ่งซึ่งมีสนาม กรณีใดที่ความเร็วของอิเล็กตรอนไมเปลี่ยนแปลง
1) ขนานกับสนามแมเหล็ก 2) ขนานกับสนามไฟฟา
3) ตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก 4) ตั้งฉากกับสนามไฟฟา
7. อนุภาคบีตาเคลื่อนที่เขาไประหวางแผนตัวนําขนาน a และ b ซึ่งวางหางกัน 2.0 มิลลิเมตร และมีความตาง
ศักย 160 โวลต ภายในที่วางระหวางแผนตัวนํา มีสนามแมเหล็กสม่ําเสมอขนาด 4.0 เทสลา และมีทิศดังรูป
ถาตองการใหอนุภาคบีตาทะลุชองเปด S พอดี ความเร็วของอนุภาคจะตองเปนเทาใด และแผนตัวนํา a
จะตองเปนขั้วบวกหรือขัว้ ลบ

8. อิเล็กตรอนมวล m ประจุ -q เคลื่อนที่เขาไปในสนามแมเหล็ก B ในแนวตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก ความเร็ว


ของอิเล็กตรอนมีทิศเบนไป 45 องศาจากแนวเดิมเมื่อเวลาผานไปกี่วินาที

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (101)


การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาเปนวงกลม
เมื่อประจุไฟฟาเคลื่อนในสนามแมเหล็กจะเคลื่อนเปนวงกลม โดยมีแรงแมเหล็กเทากับแรงเขาสูศูนยกลาง
ดังนั้นเราจะแสดงไดวา
FB = FC
mv 2
qv⊥B = R ⊥
mv
R = qB⊥

ถาความเร็วมีทิศตัง้ ฉากกับสนามแมเหล็ก
ประจุจะเคลื่อนที่เปนวงกลม
รัศมีความโคง R = mv qB
ความถี่การหมุน f = 2qB πm มีชื่อเรียกวา cyclotron frequency

ถาความเร็วไมตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก
mv
ประจุจะเคลื่อนที่เปนเกลียว (spiral) โดยมีรัศมีของเกลียว R = qB⊥ และประจุจะเคลื่อนที่ตามแนว
สนามแมเหล็ก ดวยอัตราเร็ว v //
ขอสังเกต ถามองเขาหาตามแนวสนามแมเหล็ก ประจุบวกจะวนในทิศทวนเข็มนาฬิกา ขณะที่ประจุลบจะวนในทิศ
ตามเข็มนาฬิกาแสมอ
ตัวอยาง
1. ถาอนุภาคไฟฟาบวกมีขนาดประจุเทากัน มวลไมเทากัน เคลื่อนที่เขาสูสนามแมเหล็กในแนวตั้งฉากดวย
ความเร็วเทากัน แลวประจุตางเคลื่อนที่วิถีเปนวงกลม ขอใดตอไปนี้ทถี่ ูกตอง
1) รัศมีของการเคลื่อนที่ไมเทากัน
2) อัตราเร็วเชิงมุมของอนุภาคที่มีมวลมากจะมีคามากกวาของอนุภาคที่มีมวลนอย
3) แมเหล็กที่กระทําตอแตละอนุภาคมีคาเทากัน
4) พลังงานจลนของอนุภาคทั้งสองขณะวิ่งโคงเทากัน
2. อิเล็กตรอนมวล m กิโลกรัม ประจุ e คูลอมบ เคลื่อนที่ดว ยอัตราเร็วคงตัว v เมตรตอวินาที เขาไปในบริเวณ
สนามแมเหล็กสม่ําเสมอ ขนาด B เทสลา ในทิศที่ตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ ทําใหเกิดการเคลื่อนที่เปนวงกลม
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไดกี่รอบตอวินาทีในสนามแมเหล็กนั้น

วิทยาศาสตร ฟสิกส (102) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


3. ประจุ -q มวล m เคลื่อนที่ดวยความเร็วตน V0 เขาไปในบริเวณ (1) ซึ่งมีสนามไฟฟาสม่ําเสมอ E และ
บริเวณ (2) ซึ่งมีสนามแมเหล็กสม่ําเสมอ B โดย E และ B มีทิศดังรูป และ d เปนระยะทางที่ประจุเคลื่อนที่
ในบริเวณ (1) เมื่อเขาสูบริเวณ (2) แลวประจุจะมีเสนทางการเคลื่อนที่อยางไร และมีรัศมีความโคงเทาใด

4. ขดลวดสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 10 เซนติเมตร × 30 เซนติเมตร แขวนยึดติดเพดานดวยเชือก ปลายลางของ


ขดลวดอยูในสนามแมเหล็กที่มีความเขม 0.2 เทสลา ทิศทางดังรูป จะตองมีกระแสไหลในขดลวดเทาใด และ
มีทิศทางใด จึงจะทําใหความตึงในเสนเชือกที่แขวนขดลวดไวมีขนาด 6 × 10-2 นิวตัน ในที่นี้ไมคิดมวลของ
ขดลวด

5. อิเล็กตรอนและโปรตอนที่มีพลังงานจลนเทากันและเขาไปในสนามแมเหล็กเดียวกัน รัศมีความโคงของการ
เคลื่อนที่ของโปรตอนจะเปนกี่เทาของอิเล็กตรอน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (103)


6. อนุภาคแอลฟาและอนุภาคเบตาเคลื่อนที่เขาไปในแนวขนานกับสนามแมเหล็ก B ที่มีคาสม่ําเสมอดังรูป
การเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็กของอนุภาคทั้งสองจะเปนอยางไร
v
B
α

เครื่อง mass spectrometer

เปนเครื่องแยกประจุไฟฟาที่มีมวลตางกันออกจากกัน โดยการเรงประจุไฟฟาใหเคลื่อนที่เขาสูสนามแมเหล็ก
โดยมีอัตราเร็วเทากัน หรือมีพลังงานเทากัน เมื่อเขาสูสนามแมเหล็กประจุก็จะเคลื่อนเปนวงกลมโดยมีรัศมีมาก
นอยตามแตอัตราสวนประจุตอมวลของประจุ โดยที่ระยะที่ไปกระทบ x = 2R
กรณีประจุมีความเร็วเทากัน
x = 2R
x = 2 mv
qB
X ∝ qm

วิทยาศาสตร ฟสิกส (104) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


กรณีประจุมีพลังงานเทากัน (ถูกเรงดวยความตางศักยเทากัน)
x = 2R
x = 2 mv qB
x = 2 mv 2qV
qB m
x = B2 2mV
q
X ∝ m
q

ตัวอยาง อนุภาค 3 ตัว ไดแก โปรตอน ( 11 H ) ดิวเทอรอน ( 21 H ) และ อนุภาคแอลฟา ( 42 He ) ถูกเรงดวยความ


ตางศักยไฟฟาเทากัน วิ่งเขาในบริเวณสนามแมเหล็กขนาดสม่ําเสมอ โดยมีทิศทางการวิ่งตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก
จงเปรียบเทียบรัศมีวงโคจรของอนุภาคทั้ง 3 นั้น

สนามแมเหล็กจากกระแสไฟฟา (แมเหล็กไฟฟา)
y ป พ.ศ. 2362 (ค.ศ. 1819) Hans Oersted ขณะที่กําลังทําการสาธิตเรื่องกระแสไฟฟา สังเกตเห็นวา
เมื่อผานกระแสไฟฟาในเสนลวด สามารถทําใหเข็มทิศเปลี่ยนทิศได
y ตอมา Andre’ Ampère เสนอกฎเกณฑแสดงความสัมพันธระหวางแรงแมเหล็กระหวางเสนลวดที่มี
กระแสไหล
y ในทศวรรษ 1820 ฟาราเดยและเฮนรี แสดงวากระแสไฟฟาสามารถเกิดขึ้นไดจากการเปลี่ยนแปลง
สนามแมเหล็ก ซึ่งนําไปสูการผลิตกระแสไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาในเวลาตอมา

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (105)


สนามแมเหล็กจากลวดตรงยาวที่มีกระแสไหล
สนามแมเหล็กจะมีทิศเปนไปตามกฎมือขวา โดยกํารอบเสนลวดใหนิ้วโปงชี้
ในทิศที่มีกระแสไหล แนวของมือจะชี้ในทิศของสนามแมเหล็ก
ขนาดของสนามแมเหล็กจะแปรผันตรงกับกระแสไฟฟา และแปรผกผันกับ
ระยะหางจากลวด
B ∝ I
B ∝ 1r
ดังนั้นสามารถแสดงไดวา
µ I
B ∝ 2π0r เทสลา
µ0 คือ ความซาบซึมไดของสุญญากาศ permeability constant

µ0 ∝ 4π × 10-7 T / mA
µ0 ∝ 1.26 × 10-6 T / mA

ตัวอยาง A, B และ C เปนเข็มทิศเบา วางอยูบนกระดาษราบ เสนลวดตัวนํา PQ ตั้งฉากกับกระดาษ และตอ


กับสวิตช S อนุกรมกับเซลลไฟฟา ดังรูป เมื่อสับสวิตช S ลง คํากลาวตอไปนี้ขอใดถูก

1) ปลายเหนือของ A จะเบนไปทางตะวันตก
2) ปลายเหนือของ B จะเบนไปทางตะวันออก
3) ปลายเหนือของ C ยังคงชี้ไปยังทิศเหนือดังเดิม

วิทยาศาสตร ฟสิกส (106) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยาง ภาพนี้แสดงภาคตัดขวางของลวดยาวมาก 3 เสนตั้งฉากกับหนากระดาษอยูที่มุมทั้งสามของรูปสีเ่ หลี่ยม
จัตุรัส ลวดแตละเสนมีกระแสไหล I สนามแมเหล็กที่จุด P เปนตามรูปใด
I ออก I เขา

P I ออก

1) 135° 2) 45°
P P

P
3) P 45° 4) 135°

แรงระหวางลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟา

y สนามแมเหล็กเนื่องจากกระแส Ia ที่ระยะหาง d เทากับ


µ i
B = 20πda เทสลา
y แรงบนลวดเสนที่สองเทากับ
µ i i
Fb = iblBa = 20πad b l นิวตัน
y ในทางกลับกันจะเกิดแรงบนลวดเสนที่ 1 เนื่องจากสนามแมเหล็กในลวดเสนที่ 2
µ i i
Fa = ialBb = 20πad b l
y แรงตอหนวยความยาวจะเทากัน
สรุป กระแสไหลทางเดียวกันจะเกิดแรงดูดกัน กระแสไหลสวนกันจะกิดแรงผลักกัน
y หลักการนี้ใชในการเทียบมาตรฐาน 1 แอมแปร

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (107)


ตัวอยาง ลวดทองแดง 2 เสนยาวเทากัน ขนาดเทากันและวางขนานกัน เมื่อมีความตางศักยระหวางปลายลวด
ทั้งสองเทากัน เกิดแรงในแตละเสนเปน F ถาลวดเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัดโตเปนสองเทาโดยที่ขอกําหนดอื่นคงเดิม
แรงที่เกิดบนเสนลวดนั้นจะเปนกี่เทาของ F

ตัวอยาง นักเรียนคนหนึ่งทําการทดลองเรื่องแรงระหวางลวดตัวนําสองเสนที่มีกระแสไฟฟาไหลผานและขนานกัน
ครั้งที่ 1 เขาจายใหกระแสไฟฟาไหลผานลวดทั้งสองในทิศทางตรงกันขาม ครั้งที่ 2 เขาจายใหกระแสไฟฟาที่ผาน
ลวดทั้งสองมีทิศไปทางเดียวกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับแรงระหวางลวดทั้งสองสําหรับการทดลองครั้งที่ 1
และครั้งที่ 2 ตามลําดับ
1) แรงดูดและแรงผลัก
2) แรงดูดทั้งสองกรณี
3) แรงผลักทั้งสองกรณี
4) แรงผลักและแรงดูด

วิทยาศาสตร ฟสิกส (108) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


มอเตอรไฟฟา
เปนอุปกรณที่อาศัยหลักแรงกระทําตอเสนลวดที่มีกระแสไหล ทําใหเกิดโมเมนตรอบแกนหมุน ทําใหหมุนได

ทั้งนี้โมเมนตของแรงคูควบที่เกิดขึ้นรอบแกนหมุนมีคาเทากับ M = NIA sin (θ) นิวตันเมตร


เมื่อ M คือ โมเมนตของแรงคูควบ
I คือ กระแสไฟฟาในขดลวด
N คือ จํานวนรอบของขดลวด
A คือ พื้นที่หนาตัดของขดลวด
θ เปนมุมระหวางสนามแมเหล็กกับเสนตั้งฉากกับระนาบของขดลวด

ตัวอยาง ขดลวดตัวนํารูปสี่เหลี่ยมมีพื้นที่ 12 ตารางเซนติเมตร มีระนาบอยูในแนวระดับ วางอยูในบริเวณที่


สนามแมเหล็ก 4 เทสลาในแนวดิ่ง ถาจํานวนขดของขดลวดตัวนําเทากับ 500 รอบ จงหาโมเมนตของแรงคูควบที่
เกิดขึ้น ณ ตําแหนงนั้น ถาคาของกระแสที่ผานขดลวดเทากับ 5 แอมแปร

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (109)


แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
การทดลองของฟาราเดย

ในทศวรรษ 1820 ฟาราเดยและเฮนรี แสดงวากระแสไฟฟาสามารถเกิดขึ้นไดจากการเปลี่ยนแปลง


สนามแมเหล็ก ซึ่งนําไปสูการผลิตกระแสไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาในเวลาตอมา โดยฟาราเดยทําการทดลอง 2
อยาง คือเคลื่อนแทงแมเหล็กเขาหาขดลวด และทําใหเกิดสนามแมเหล็กในขดลวดจากกระแสไฟฟา ฟาราเดย
พบวาจะมีกระแสไฟฟาไหลในขดลวดที่ 2 ขณะที่แทงแมเหล็กเคลื่อนที่ หรือมีกระแสไฟฟาที่เปลี่ยนแปลงเทานั้น
และเมื่อเบนขดลวดไป 90 องศา ไมเกิดกระแส
ฟาราเดยสรุปวา เกิดแรงเคลื่อนไฟฟาในขดลวด 2 เปนผลมาจากการเปลี่ยน ฟลักซแมเหล็กที่เกิดจาก
ขดลวด 1

ฟลักซแมเหล็ก
ฟลักซแมเหล็ก คือ ผลคูณระหวางพื้นที่กับสนามแมเหล็กที่ผานพื้นที่ในแนวตั้งฉาก

Φ = B⊥A = BA cos (θ)


r
B

วิทยาศาสตร ฟสิกส (110) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยาง จงหาฟลักซแมเหล็กที่ผานขดลวดสี่เหลี่ยมผืนผา abcd ถามีสนามแมเหล็ก B ขนาดสม่ําเสมอ 2 เทสลา
ในทิศที่ขนาดแกน X ดังรูป

ตัวอยาง ขดลวดของมอรเตอรไฟฟามีพื้นที่หนาตัด 0.4 ตารางเมตร วางอยูในสนามแมเหล็ก 2 เทสลา โดยมี


ระนาบของขดลวดทํามุม 30 องศากับสนามแมเหล็กดังรูป จงคํานวณวาฟลักซแมเหล็กที่ผานขดลวดเทากับเทาไร

1) 1.0 Wb
2) 0.8 Wb
3) 0.6 Wb
30° 4) 0.4 Wb

r
B

กฎของเลนซ
กระแสไฟฟาเหนี่ยวนําจะเกิดขึ้นในทิศทางที่จะสรางสนามแมเหล็กตานความเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็ก
ภายนอก

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (111)


ตัวอยาง กระแสเหนี่ยวนําในขดลวดเกิดขึน้ ไดเมื่อสนามแมเหล็กผานในขดลวดมีการเปลี่ยนแปลง รูปใดแสดงทิศ
ของกระแสเหนี่ยวนํา i ไดถูกตอง

1) ก., ข. และ ค.
2) ก. และ ข.
3) ค. เทานั้น
4) คําตอบเปนอยางอื่น

ตัวอยาง เมื่อสับสวิตช S ใหครบวงจร จะเกิดกระแสไฟฟาไหลในวงจร B ในทิศใด


แกนเหล็กออน

A B
S
+- R P Q
1) ไมมีกระแสไหล
2) กระแสไฟฟาไหลในทิศ R → P → Q
3) กระแสไฟฟาไหลในทิศ Q → P → R
4) กระแสไฟฟาไหลในทิศ R → P → Q แลวกลับทิศเปน Q → P → R

วิทยาศาสตร ฟสิกส (112) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยาง ลวดตัวนํา P วางอยูระหวางขัว้ ของแมเหล็กไฟฟา ถาสนามแมเหล็กในบริเวณขดลวดมีคาสม่ําเสมอ
v v
เทากับ B1 (รูป ก.) ตอมาลดกระแสไฟฟา ทําใหสนามแมเหล็กสม่ําเสมอมีคาลดลงเปน B2 (รูป ข.) นั่นคือ
ฟลักซแมเหล็กที่ผานขดลวด P มีการเปลี่ยนแปลง ขอใดตอไปนี้แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน (e) และ
ทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟา (E) ในขดลวด P ไดถูกตอง

รูป ก. รูป ข.

1) B B 2) B B

e E e E

3) B B 4) B B

e E e E

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (113)


กฎของฟาราเดย (Faraday law)
ฟาราเดยสรุปความสัมพันธตามกฎของเขาไดวา
“แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําจะเทากับจํานวนขดลวดคูณดวยอัตราการเปลี่ยนฟลักซแมเหล็ก”

∆Φ
ε = -N ∆t B

เมื่อ ΦB คือ ฟลักซแมเหล็ก ในหนวยเวเบอร


t คือ เวลา
N คือ จํานวนขดลวด

วิทยาศาสตร ฟสิกส (114) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


แรงเคลื่อนไฟฟาในเสนลวดทีเ่ คลื่อนที่

เมื่อมีลวดตรงยาวเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กดวยอัตราเร็ว v แรงไฟฟาจะทําใหปลายทั้งสองมีความตางศักย
เทากับ
∆Φ
ε = - ∆t B โวลต
ε = BLv

ตัวอยาง ลวดตัวนําเสนหนึ่งเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กสม่ําเสมอในทิศทางดังรูป ดวยความเร็วคงที่ v ศักยไฟฟาที่


ปลายทั้งสองของลวดเปนอยางไร

ตัวอยาง เครื่องบินซึ่งกําลังบินในแนวระดับมุงหนาทางทิศเหนือในสนามแมเหล็กโลกจะถูกเหนี่ยวนําใหเกิด
แรงเคลื่อนไฟฟาระหวางปลายปกซายกับขวามีคาเทาใด กําหนดใหสนามแมเหล็กโลกในแนวดิ่งตรงตําแหนง
เครื่องบินมีคา B เครื่องบินบินดวยอัตราเร็ว v และระยะจากปลายปกซายไปถึงปลายปกขวาเทากับ D

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (115)


หมอแปลงไฟฟา
หมอแปลงไฟฟาเปนอุปกรณเปลี่ยนแรงเคลื่อนไฟฟาโดยอาศัยหลักแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําระหวางขดลวด 2
ขด โดยขดแรก เรียกวา ขดลวดปฐมภูมิ (Primary Coil) และขดลวดที่สอง เรียกวา ขดลวดทุติยภูมิ
(secondary Coil) โดยเชื่อมตอกันดวยแกนเหล็ก โดยขดลวดทั้งสองจะมีจํานวนขดตางกัน ถาขดปฐมภูมิมี
จํานวนขด N1 และขดลวดทุติยภูมิมีจํานวนขด N2

โดยที่อัตราการเปลี่ยนฟลักซแมเหล็กในขดลวดปฐมภูมิเทากับอัตราการเปลี่ยนฟลักซแมเหล็กในขดลวดทุติยภูมิ
ε1 ∆Φ B ε
N1 = ∆t = N2
2
หรือ
ε1 N
ε2 = N1
2

เนื่องจากพลังงานไฟฟาจะตองอนุรักษ ดังนั้นถาหมอแปลงมีประสิทธิภาพ 100% กําลังไฟฟาที่ขดลวดปฐมภูมิ


จะเทากับกําลังไฟฟาที่ขดลวดทุติยภูมิ ซึ่งสรุปไดวา
I1ε1 = I2ε2
ถาประสิทธิภาพต่ํากวา 100% จะไดวา
=  II2εε2  × 100%
 
η
 1 1

วิทยาศาสตร ฟสิกส (116) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ตัวอยาง
1. หมอแปลงไฟลงจาก 20,000 โวลต เปน 220 โวลต เกิดกําลังในขดลวดทุติยภูมิ 5.4 กิโลวัตต หมอแปลงมี
ประสิทธิภาพ รอยละ 90 กระแสไฟฟาที่ผานขดลวดปฐมภูมิมีคาเทาใด
1) 0.24 A 2) 0.27 A 3) 0.30 A 4) 0.54 A
2. หมอแปลงเครื่องหนึง่ มีจํานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิตอจํานวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ เปน 1 : 4 ถามี
กระแสและความตางศักยในขดลวดทุติยภูมิเทากับ 10 แอมแปรและ 200 โวลตตามลําดับ จงหากระแสและ
ความตางศักยในขดลวดปฐมภูมิ
1) 40 A และ 50 V 2) 50 A และ 40 V
3) 40 A และ 40 V 4) 50 A และ 50 V
3. หมอแปลงมีแกนเหล็กเพื่อใหฟลักซแมเหล็กผานจากขดลวดปฐมภูมิไปยังขดลวดทุติยภูมิ จงพิจารณา
ขอความตอไปนี้
I. แกนเหล็กมีสมบัตเิ ปนเหล็กออน
II. แกนเหล็กมีสมบัตเิ ปนสารแมเหล็กถาวร
III. หมอแปลงที่มีประสิทธิภาพดีตองมีกระแสวนในแกนเหล็กมาก
IV. หมอแปลงที่มีประสิทธิภาพดีตองมีกระแสวนในแกนเหล็กนอย
ขอความทีถ่ ูกตองคือ
1) I และ III 2) II และ IV 3) II และ III 4) I และ IV
4. หมอแปลงชนิดแปลงลงเครื่องหนึ่ง ใชกับความตางศักย 220 โวลต เมื่อนําหมอแปลงนี้ไปใชกับเตารีด 110
โวลต 750 วัตต เปนเวลา 1 นาที พบวาเกิดความรอนขึ้นในแกนเหล็ก 7.8 กิโลจูล ในขณะที่เตารีดมี
กําลังไฟฟาคงเดิม ขดลวดปฐมภูมิจะตองใชกระแสไฟฟาอยางนอยที่สุดกี่แอมแปร
5. หมอแปลงอุดมคติตวั หนึ่ง มีจํานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิเปน 2,000 รอบ และจํานวนรอบของขดลวด
ทุติยภูมิเปน 1,000 รอบ เมื่อนํามาใชในวงจรดังรูป ขนาดของฟวสที่นํามาใชจะตองมีคาอยางนอยที่สุดเทาใด

6. หมอแปลงมีแกนเหล็กเพื่อใหฟลักซแมเหล็กผานจากขดลวดปฐมภูมิไปยังขดลวดทุติยภูมิ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) แกนเหล็กมีสมบัตเิ ปนเหล็กออน
2) แกนเหล็กมีสมบัตเิ ปนสารแมเหล็กถาวร
3) หมอแปลงที่มีประสิทธิภาพดี ตองมีกระแสวนในแกนเหล็กมาก
4) หมอแปลงที่มีประสิทธิภาพดี ตองมีกระแสวนในแกนเหล็กนอย

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (117)


คลื่นแมเหล็กไฟฟา
คลื่นแมเหล็กไฟฟา
คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นชนิดเดียวที่ไมตองอาศัยตัวกลางในการสงผานพลังงาน ดังนั้นจึงสามารถเดินทาง
ในสุญญากาศได คลื่นแมเหล็กไฟฟาจึงเปนตัวการหลักในการสงผานพลังงานจากดวงอาทิตยมายังโลกในรูปของแสง
โดยเฉลี่ยแลวแสงอาทิตยนําพลังงานมาถึงโลกในอัตรา 1370 วัตตตอตารางเมตร
คลื่นแมเหล็กไฟฟาเคลื่อนที่ในสุญญากาศดวยอัตราเร็วคงที่ 3 × 108 เมตรตอวินาที อัตราเร็วนีเ้ ปน
ปริมาณสมบูรณ นั่นคือ ไมวาผูสังเกตจะอยูนิ่งหรือเคลือ่ นที่ก็จะวัดอัตราเร็วแสงไดเทากันเสมอ ในตัวกลางอื่น
นอกจากสุญญากาศ อัตราเร็วของคลื่นแมเหล็กไฟฟาจะชาลงโดยอัตราสวนระหวางอัตราเร็วแสงในสุญญากาศ
หารดวยอัตราเร็วแสงในตัวกลาง เรียกวา ดัชนีหักเห
n = cv

องคประกอบของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
องคประกอบของคลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวยสนามแมเหล็ก และสนามไฟฟาในทิศทางที่ตั้งฉากกันที่
สําคัญอัตราสวนระหวางสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาจะเทากับอัตราเร็วของแสงในตัวกลางนั้น
electric
field
magnetic
field
propa
ga tion
c = E
B

วิทยาศาสตร ฟสิกส (118) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดตางๆ
คลื่นแมเหล็กไฟฟาแบงออกเปนประเภทยอยๆ ตามความยาวคลืน่ ดวยชื่อตางๆ กัน เมื่อเรียงตามความยาว
คลื่น ไดแก รังสีแกมมา รังสีเอกซ รังสีอัลตราไวโอเลต แสง คลืน่ อินฟราเรด คลื่นไมโครเวฟ คลืน่ วิทยุ โดยแตละ
กลุมมีการใชประโยชนที่แตกตางกันออกไป
gamma ultraviolet infrared
rays X-rays rays rays radar FM TV shortwave AM

10-14 10-12 10-10 10-8 10-6 10-4 10-2 1 102 10 4


Wavelength (meters)
Visible Light

400 500 600 700


Wavelength (nanometers)
รังสีแกมมา เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ปลอยออกมาจากสารกัมมันตรังสี รังสีแกมมามีพลังงานสูง ดังนั้น
ความยาวคลื่นจึงสั้นอยูในระดับ 0.001 นาโนเมตร หรือสั้นกวา เราใชรังสีแกมมาในทางการแพทยเพื่อใชฆาเชื้อ
หรือทําลายเซลลมะเร็ง
รังสีเอกซ มีความยาวคลื่นมากกวารังสีแกมมาอยูในชวง 1 นาโนเมตร ถึง 0.001 นาโนเมตร รังสีเอกซ
เกิดจากการหนวงประจุไฟฟาอยางแรงทําใหประจุนั้นมีการแผรังสีออกมา เนื่องจากรังสีเอกซมีอํานาจทะลุทะลวง
สูงเราจึงนํามาใชประโยชนในการถายภาพอวัยวะภายในรางกายที่เรารูจักในชื่อเรียกวา ถายเอกซเรย
รังสีอัลตราไวโอเลต หรือรังสีเหนือมวงมีความยาวคลื่นในชวง 1 ถึง 400 นาโนเมตร เปนรังสีที่มอี ันตราย
ตอสิ่งมีชีวิต สามารถกระตุนใหเกิดมะเร็งที่ผิวหนัง รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยจะถูกดูดกลืนไปดวยบรรยากาศ
โดยเฉพาะอยางยิ่งดวยแกสโอโซน อยางไรก็ดีรังสีอัลตราไวโอเลตมีประโยชนในการฆาเชื้อโรค
แสง แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เรามองเห็น มีความยาวคลื่น 400-700 นาโนเมตร เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
ที่สามารถรับไดดวยเซลลสีในตา (เรตินา) จึงมีบทบาทสําคัญในการเห็นแสงมีสีตางๆ ตั้งแตสีมว งที่ 400 นาโนเมตร
จนถึงสีแดงที่ 700 นาโนเมตร
รังสีอินฟราเรด หรือรังสีความรอนมีความยาวคลื่นตั้งแต 700 นาโนเมตร (0.7 ไมครอน) ถึง 1000 ไมครอน
(1 ไมครอน คือ 1 ในลานเมตร) เราใชรงั สีนี้ในการปรุงอาหาร และใชสงสัญญาณควบคุมอุปกรณจากระยะไกล
(รีโมตคอนโทรล)
คลื่นไมโครเวฟ เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นในชวง 1 มิลลิเมตร ถึง 10 มิลลิเมตร เราใช
ประโยชนในการสื่อสาร (โทรศัพทมือถือ) และปรุงอาหาร (เตาไมโครเวฟ)
คลื่นวิทยุ มีความยาวคลื่นตั้งแต 1 เซนติเมตร ไปจนถึงหลายเมตร เราใชคลื่นวิทยุในการสื่อสาร (โทรทัศน
วิทยุ)

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (119)


ตัวอยาง
1. คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดใดตอไปนีท้ ี่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
1) อินฟราเรด 2) ไมโครเวฟ 3) คลื่นวิทยุ 4) อัลตราไวโอเลต
2. ขอใดเปนการเรียงลําดับคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากความยาวคลื่นนอยไปมากไดถูกตอง
1) รังสีเอกซ อินฟราเรด ไมโครเวฟ
2) อินฟราเรด ไมโครเวฟ รังสีเอกซ
3) รังสีเอกซ ไมโครเวฟ อินฟราเรด
4) ไมโครเวฟ อินฟราเรด รังสีเอกซ
3. คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่นิยมใชในรีโมทควบคุมการทํางานของเครื่องโทรศัพทคือขอใด
1) อินฟราเรด 2) ไมโครเวฟ 3) คลื่นวิทยุ 4) อัลตราไวโอเลต
4. สนามแมเหล็กที่เปนสวนหนึ่งของคลื่นแสงนั้น มีทิศทางตามขอใด
1) ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
2) ขนานกับสนามไฟฟา แตตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของแสง
3) ตั้งฉากกับทั้งสนามไฟฟาและทิศการเคลื่อนที่ของแสง
4) ตั้งฉากกับสนามไฟฟาแตขนานกับทิศการเคลื่อนที่ของแสง
การฝากสัญญาณเสียงไปกับคลื่นวิทยุ
ในการสื่อสารนั้นตองสงสัญญาณเสียงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง วิธีที่ทํากัน คือ การเปลี่ยนสัญญาณเสียง
เปนสัญญาณไฟฟาและฝากไปกับคลื่นวิทยุ ซึ่งวิธีการฝากสัญญาณเสียงนี้เรียกวา โมดูเลชัน (Modulation) ซึ่ง
สามารถ ทําได 2 วิธี คือ
Frequency Modulation คือ การนําสัญญาณเสียงไปฝากกับคลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงและเดินทางไปไดไกล
สัญญาณที่ผสมแลวจะมีคาอําพนเทากันตลอด แตความถี่จะเปลี่ยนไปเล็กนอยตามสัญญาณไฟฟาที่เขามา สัญญาณ
FM มีขอไดเปรียบที่ความคมชัดของสัญญาณ แตไมสามารถสงสัญญาณไปไดไกลเทาที่ควร
Amplitude Modulation คือ การฝากสัญญาณเสียงโดยผสมสัญญาณไปกับคลื่นวิทยุโดยคลื่นจะมีความถี่
คงเดิมแตคาอําพนจะเปลี่ยนไปตามสัญญาณเสียงที่เขามา การฝากสัญญาณเสียงดวยวิธีนี้สามารถสงสัญญาณได
ไกลกวาระบบ FM
ตัวอยาง
1. การฝากสัญญาณเสียงไปกับคลื่นในระบบวิทยุแบบ เอ เอ็ม คลื่นวิทยุที่ไดจะมีลักษณะอยางไร
1) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามแอมพลิจูดของคลื่นเสียง
2) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดตามความถี่ของคลื่นเสียง
3) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามแอมพลิจูดของคลื่นเสียง
4) คลื่นวิทยุจะเปลี่ยนแปลงความถี่ตามความถี่ของคลื่นเสียง

วิทยาศาสตร ฟสิกส (120) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟาและการใชประโยชน

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (121)


ไฟฟากระแสตรง (Direct current)
1. ความตางศักยระหวางจุด a กับจุด b เปนเทาใด
a
R R
V R R
b
1) V5 2) V4 3) V3 4) V2
2. เซลลไฟฟาในวงจรนี้กําลังทํางานดวยอัตรารวมเปนเทาใด

I R +q
V C -q

1) I2R q2
2) 2C q2
3) I2R + 2C 4)  IR + Cq  I

3. กระแสไฟฟา I มีคาเทาใด
หลอดไฟ I 5W 6V
15 W 12 V
12 V 5W 6V

1) 0.48 A 2) 0.83 A 3) 1.25 A 4) 2.08 A


4. เครื่องทําน้ําอุนไฟฟาใหความรอนแกน้ํา 15 กิโลกรัม ทําใหน้ําอุณหภูมิเพิ่มจาก 22 ไปเปน 42 องศาเซลเซียส
สําหรับการอาบน้ําแตละครั้ง จงหาวาในการนี้จะเสียคาใชจายเทาใด กําหนดใหความจุความรอนจําเพาะของน้ํา
= 4.2 กิโลจูล/กิโลกรัม ⋅ เคลวิน และคาพลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตต-ชั่วโมง เทากับ 5 บาท
1) 0.18 บาท 2) 1.20 บาท 3) 1.75 บาท 4) 2.50 บาท

วิทยาศาสตร ฟสิกส (122) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ไฟฟาสถิต (Electrostatic)
กฎของคูลอมบ
|q ||q | 1 |q1||q 2| นิวตัน
F = k 1 2 2 = 4 πε
r 0 r2
1 2
k = 4 πε = 9 × 109 Nm2
0 C
2
ε0 = 8.85 × 10-12 C 2
Nm
สนามไฟฟา v
v
E = qF
0
สําหรับจุดประจุ
|q||q 0|
F = k
r2
E = qF
0
= k q2||
r
สนามไฟฟาในทรงกลมตัวนําที่มีประจุไฟฟา Q
E = kQ2 นิวตันตอคูลอมบ เมื่อ r > R (อยูนอกทรงกลม)
r
E=0 นิวตันตอคูลอมบ เมื่อ r < R (อยูในทรงกลม)

1. จากรูป ถาตัวเก็บประจุ A มีประจุ 2 ไมโครคูลอมบ จงหาพลังงานไฟฟาสะสมในตัวเก็บประจุ B


A 1 µF

B 3 µF
1) 2 × 10-6 J 2) 3 × 10-6 J 3) 4 × 10-6 J 4) 6 × 10-6 J
2. ทรงกลมตัวนํารัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ ศักยไฟฟาที่ระยะ 5 เซนติเมตรจากจุด
ศูนยกลางภายในทรงกลมเปนเทาใด
1) 0 V 2) 9 × 103 V
3) 9 × 104 V 4) 1.8 × 105 V
3. จํานวนขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิของหมอแปลงไฟฟาเทากับ 200 รอบ และ 20 รอบ ตามลําดับ
หมอแปลงนี้ใชกับไฟบาน 220 โวลต ถาขดลวดทุติยภูมิตอกับความตานทาน 10 โอหม ถามวากําลัง
ความรอนที่เกิดขึ้นที่ความตานทานนี้เปนเทาใด ถาไมมีการสูญเสียพลังงานในหมอแปลงเลย
1) 4840 W 2) 220 W 3) 48.4 W 4) 22.0 W

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (123)


4. ขอความตอไปนี้ ขอใดไมใชคลื่นแมเหล็กไฟฟา
1) แสงเลเซอร 2) คลื่นอัลตราซาวนด
3) แสงจันทร 4) รังสีแกมมา
5. อนุภาคมวล m ประจุ q ถูกเรงจากหยุดนิ่งผานความตางศักย V = 2000 โวลต ทําใหไดความเร็ว v = 5 × 106
เมตร/วินาที เมื่อเริม่ เขาสูสนามแมเหล็ก B = 0.1 เทสลา ทิศตั้งฉากกับความเร็ว รัศมีความโคงของการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแมเหล็กจะเปนกี่เซนติเมตร
m B
q v

6. ทรงกลมโลหะรัศมี 5 มิลลิเมตร สามารถรับประจุในอากาศไดปริมาณสูงสุดเทาใด ถาอากาศแตกตัวเปน


ไอออนเมือ่ สนามไฟฟาในอากาศมีขนาดสูงถึง 3 × 106 โวลต/เมตร
1) 8.3 × 10-3 C 2) 1.7 × 10-3 C 3) 1.7 × 10-6 C 4) 8.3 × 10-9 C
7. หลังสับสวิตช SW ลงแลว ความตางศักยระหวางจุด A กับ B มีคาเทาใด
A
SW
+q
C -q 0 2C
0
B
q q q q
1) 13 C0 2) 12 C0 3) 32 C0 4) C0

วิทยาศาสตร ฟสิกส (124) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


ความรอนและทฤษฎีจลน
สรุปเรื่องความรอนและทฤษฎีจลน
1. ความรอนจําเพาะและความรอนแฝง
ความรอนจําเพาะ คือ ความรอนที่ใชในการทําใหสาร 1 หนวย มีอุณหภูมิสงู ขึ้น 1 เคลวิน
ความรอนจําเพาะตอกิโลกรัม คือ ความรอนที่ใชในการทําใหสาร 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 เคลวิน
Q = MC∆T
ความรอนจําเพาะตอโมล คือ ความรอนที่ใชในการทําใหสาร 1 โมล มีอุณหภูมิสงู ขึ้น 1 เคลวิน
Q = nc∆T
การเปลี่ยนความรอนเปนงาน
งานและความรอนสามารถเปลี่ยนรูปไปมาระหวางกันได
W = ∆Q
2. กฎของแกส
P1 V1 PV
T = 2T 2
1 2
PV = nRT = NkT
n คือ จํานวนโมลของแกส
N คือ จํานวนโมเลกุลของแกส
R คือ คาคงตัวของแกส = 8.31 J/mol ⋅ K
k คือ คาคงที่ของโบลทซมันน = 1.38 ×10-23 J/K
3. กฎของแกสและพลังงานจลนเฉลี่ย
PV = 23 N Ek
Ek = 32 kT
4. พลังงานภายใน
U = N Ek = 32 NkT = 32 nRT
5. อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ย
1 mv2 = 3 kT
2 2
vrms = 3kT
m

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (125)


6. งานในการขยายตัวของแกส ไดแก พื้นที่ใตกราฟของกราฟความดันกับปริมาตร
P

งาน

V
V1 V2

ทั้งนี้แกสขยายตัว งานเปนบวก แกสหดตัวงานเปนลบ


สําหรับการขยายตัวที่ความดันคงที่ W = P∆V
7. กฎขอที่ 1 ของเทอรโมไดนามิกส
∆Q = ∆U + W
∆U = 32 Nk∆T = 32 nR∆T

ตัวอยาง
1. ใหพลังงานความรอน 30000 จูลแกน้ําแข็งมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ผลลัพธจะเปนอยางไร
ถากําหนดใหความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้ําแข็งเทากับ 333 จูลตอกรัม และความจุ
ความรอนจําเพาะของน้ําเทากับ 4.2 จูลตอกรัม ⋅ องศาเซลเซียส
1) ไดน้ํารอนอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส 2) ไดน้ํารอนอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
3) ไดน้ําเย็นอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส 4) ไดน้ําเย็นผสมน้ําแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
2. แกสอุดมคติในกระบอกสูบเดิมมีอุณหภูมิ 293 เคลวิน มวล 15 1 โมล ถาแกสนี้รับความรอน 75 จูล และ
ขยายตัว สุดทายอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเปน 343 เคลวิน ถามวาในการนี้แกสทํางานเทาใด

1) 34 J 2) 47 J
ความรอน 3) 72 J 4) 117 J

3. แกสอุดมคติอณ ุ หภูมิ 360 เคลวิน ถูกอัดที่ความดันคงที่ใหปริมาตรเหลือเพียง 0.8 เทา ของปริมาตรเดิม


จะมีอุณหภูมิสุดทายเปนเทาใดในหนวยเคลวิน
4. เครื่องทําน้ําอุนไฟฟาใหความรอนแกน้ํา 15 กิโลกรัม ทําใหน้ําอุณหภูมิเพิ่มจาก 22 ไปเปน 42 องศา-
เซลเซียส สําหรับการอาบน้ําแตละครั้ง จงหาวาในการนี้จะเสียคาใชจายเทาใด กําหนดใหความจุความรอน
จําเพาะของน้ํา = 4.2 กิโลจูลตอกิโลกรัม ⋅ เคลวิน และคาพลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตต ⋅ ชั่วโมง เทากับ 5 บาท
1) 0.18 บาท 2) 1.20 บาท 3) 1.75 บาท 4) 2.50 บาท

วิทยาศาสตร ฟสิกส (126) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009


5. ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส พบวาในอากาศมีไอน้ําอยู 18 กรัม/ลูกบาศกเมตร ถาที่อุณหภูมนิ ี้ความดันไอ
น้ําอิ่มตัวเทากับ 4.2 กิโลพาสคัล ขณะนั้นอากาศมีความชื้นสัมพัทธเทาใด
1) 40% 2) 50% 3) 60% 4) 70%
6. ถาแกสอุดมคติในภาชนะปดไดรบั ความรอน 350 จูล และไดรับงาน 148 จูล พลังงานภายในแกสจะ
เปลี่ยนไปเทาใด
1) เพิ่มขึ้น 202 J 2) ลดลง 202 J 3) เพิ่มขึ้น 498 J 4) ลดลง 498 J
7. แกสออกซิเจนบรรจุในถังมีความดัน 1.2 บรรยากาศ แกสโอโซนมวลเทากันบรรจุอยูในถังขนาดเทากัน
อุณหภูมิเทากัน จะมีความดันกี่บรรยากาศ
1) 0.4 2) 0.8 3) 1.8 4) 3.6
8. แกสชนิดหนึ่งบรรจุอยูในกระบอกสูบที่ความดัน P และอุณหภูมิ 273 K มีโมเลกุลเคลื่อนที่ดว ยความเร็วเฉลี่ย
v = ชนฝาลูกสูบจํานวน f ครั้งตอวินาที ถาเพิ่มปริมาตรกระบอกสูบเปนสองเทาดวยการขยายลูกสูบโดยทํา
ใหอุณหภูมิคงที่ ความถี่ในการชนฝาลูกสูบจะเปนเทาใด
1) f/4 2) f/2 3) f 4) 2f
9. ระบบหนึ่งประกอบดวยกระบอกสูบบรรจุแกสอุดมคติ ถาแกสภายในกระบอกสูบมีการเปลี่ยนแปลงความดัน
และปริมาตร ดังกราฟจาก A → B → C จงหางานที่แกสทําในหนวยกิโลจูล
ความดัน (N/m2)

A
5 × 105
2 × 105 C
B
ปริมาตร (m3)
0.2 0.4

10. ถาใหความดันของแกสในกระบอกสูบหนึ่งคงที่ และใหอุณหภูมิของแกสในกระบอกสูบเปลี่ยนจาก 27°C เปน


77°C อัตราสวนของปริมาตรใหมตอปริมาตรเดิมเปนเทาใด
1) 0.3 2) 0.9 3) 1.2 4) 3.5
11. จะตองใหความรอนเทาใดแกแกสฮีเลียมจํานวน 1 โมล ที่บรรจุอยูในกระบอกสูบแลวทําใหแกสนั้นดันให
ลูกสูบทํางาน 20 จูลและอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน
1) 72.5 J 2) 124.5 J 3) 144.5 J 4) 249.5 J
12. จงหาวาแกสไนโตรเจนที่อุณหภูมิเทาใดที่มีคาเฉลี่ยของกําลังสองของอัตราเร็วของโมเลกุลเทากับของแกส
ออกซิเจน ที่อุณหภูมิ 47๐C (กําหนดน้ําหนักโมเลกุลของไนโตรเจน และออกซิเจนเทากับ 28 และ 32
ตามลําดับ)
1) -28°C 2) 7°C 3) 42°C 4) 47°C

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009 __________________________วิทยาศาสตร ฟสิกส (127)


13. ถาแกสอุดมคติมีปริมาตรคงที่ ขอความใดตอไปนี้เปนจริง
ก. โมเลกุลของแกสทุกโมเลกุลมีอัตราเร็วเทากันที่อุณหภูมิที่กําหนด
ข. พลังงานจลนทั้งหมดของโมเลกุลแปรผันโดยตรงกับความดันคูณปริมาตรของแกสนั้น
ค. พลังงานภายในของแกสเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
ง. ความดันแปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิสมบูรณ
ขอใดถูก
1) ก., ข. และ ค. 2) ข., ค. และ ง. 3) ง. เทานั้น 4) คําตอบเปนอยางอื่น

————————————————————

วิทยาศาสตร ฟสิกส (128) _________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2009

You might also like