You are on page 1of 42

การเคลื่อนที่เป็ นวงกลมอย่างสมํ่าเสมอ

v
แรงดึงเชือก, Fr , มีทิศชี้
ยังจุดศูนย์กลางวงกลม Fr
แรงนี้เกี่ยวข้องกับ
ความเร่ งสู่ ศูนย์กลาง, ac C
ใช้กฎการเคลื่อนที่ขอ้ 2
กับแรงตามแนวรัศมี
 v2
F ma
∑= = c m
r
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 1
การเคลื่อนทีเ่ ป็ นวงกลม(ต่อ)
มีแรงทีท่ าํ ให้ เกิดความเร่ งสู่ ศูนย์ กลาง
กระทําในทิศตรงเข้ าสู่ จุดศูนย์ กลาง
วงกลม
แรงนีท้ าํ ให้ เวกเตอร์ ความเร็วของการ
เคลื่อนทีม่ ีทศิ เปลีย่ นไป
ถ้ าแรงหายไป วัตถุจะเคลื่อนทีเ่ ป็ น
แนวเส้ นตรงเป็ นแนวสั มผัสวงกลม
ตรงจุดทีแ่ รงพอดีหายไป
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 2
แรงสู่ ศูนย์กลาง
แรงกระทําให้เกิดความเร่ งสู่ ศูนย์กลางเรี ยกว่าแรงสู่ ศูนย์กลาง
(centripetal force)
แรงสู่ ศูนย์กลางไม่ใช่แรงชนิดใหม่ แต่เป็ นบทบาทของแรง
แรงสู่ ศูนย์กลางเป็ นแรงที่กระทําเพื่อให้วตั ถุเคลื่อนที่เป็ น
วงกลม

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 3
ลูกตุม้ แกว่งแบบกรวย(Conical Pendulum)
วัตถุสมดุลในแนวดิ่ง และเคลื่อนที่เป็ น
วงกลมในแนวระดับ

ma c
– แรงลัพธ์จึงอยูใ่ นแนวระดับ m

v ไม่ข้ ึนกับมวล m 
mg 
T
θ
v = Lg sin θ tan θ

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 4
ตัวอย่ าง ในการทดลองการแกว่งแบบกรวยของลูกยางมวล 50.0 กรัม ใช้
เชือกยาว 40.0 เซนติเมตร ขณะที่ลูกยางเคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบระดับ
และเส้นเชือกทํามุมกับแนวดิ่ง 37o จงหา ก. แรงตึงในเส้นเชือก
วิธีทาํ mac 𝑚𝑚𝑚𝑚 0
= cos 37 ≃ 0.80
𝑇𝑇
37o
mg T
37o m
T 𝑚𝑚𝑚𝑚 50.0 × 10−3 kg 9.80 2
𝑇𝑇 ≃ = s
0.80 0.80

mg ตอบ แรงตึงในเส้นเชือกมีขนาด 6.1×10-1 N หน้าที่ 5


ข. ความเร่ งสู่ ศูนย์กลางมีขนาดเท่าใด
𝑚𝑚𝑎𝑎𝑐𝑐
= tan 37∘
mac 𝑚𝑚𝑚𝑚
𝑎𝑎𝑐𝑐
≃ 0.75
mg T
𝑔𝑔
37o
m
𝑎𝑎𝑐𝑐 ≃ 0.75𝑔𝑔 = 0.75(9.80 2)
s
m
ตอบ ความเร่ งสู่ ศูนย์กลางมีขนาด 0.74 2
s

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 6
ค. รัศมีการเคลื่อนที่แนววงกลมของจุกยางนี้มีค่าเท่าใด
𝑟𝑟
= sin 37∘ ≃ 0.60
𝐿𝐿
37o
𝑟𝑟 ≃ 0.60𝐿𝐿 = 0.60(40.0 cm)

ตอบ รัศมีมีค่า 24 เซนติเมตร


การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 7
ง. อัตราเร็ วของจุกยางนี้มีค่าเท่าใด
𝑣𝑣 = 𝑔𝑔𝑔𝑔 sin 𝜃𝜃 tan 𝜃𝜃

𝑣𝑣 = (9.8 m/s2)(40.0 cm) sin 37∘ tan 37∘

𝑣𝑣 ≃ (9.8 m/s2)(0.400 m)(0.60)(0.75)

ตอบ อัตราเร็ วของจุกยางมีค่า 1.3 เมตรต่อวินาที

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 8
คําถามตรวจสอบความเข้าใจ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่
(ทําเครื่ องหมาย หรื อ หน้าตัวเลขของแต่ละข้อความต่อไปนี้)
การเคลือ
่ นทีใ่ ดต่อไปนี้ทค
ี่ วามเร่งมีคา่ คงตัว

…1. วัตถุตกเสรี

…2. โพรเจกไทล์

…3. การเคลือ
่ นทีแ
่ นววงกลม

…4. การเคลือ
่ นทีแ
่ นววงกลมอย่างสมํ่าเสมอ

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 9
คําถามตรวจสอบความเข้าใจ เกี่ยวกับการเคลื่อนทีแ่ นววงกลม
(ทําเครื่ องหมาย หรื อ หน้าตัวเลขของแต่ละข้อความต่อไปนี้)
…1. ความเร็วมีคา่ คงตัว
…2. อัตราเร็วมีคา่ คงตัว
…3. แรงสูศ
่ น
ู ย์กลางทิศตัง้ ฉากกับความเร็ว
…4. แรงสูศ
่ น
ู ย์กลางทิศตัง้ ฉากกับความเร่ง
…5. การเคลือ
่ นทีแ
่ นววงกลมอย่างสมํ่าเสมอมีความเร่งเป็ นศูนย์
…6. การเคลือ
่ นทีแ
่ นววงกลมอย่างสมํ่าเสมอมีความเร่งเป็ นค่าคงตัว
…7. แรงสูศ
่ น
ู ย์กลางและความเร่งสูศ
่ น
ู ย์กลางมีทศ
ิ เดียวกันเสมอ
…8. การเคลือ
่ นทีแ
่ นววงกลมอย่างสมํ่าเสมอมีขนาดของแรงสูศ
่ น
ู ย์กลางคงตัว
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 10
โจทย์ฝึกประสบการณ์
1. รถไต่ถงั คันหนึ่งเคลือ
่ นทีเ่ ป็ นวงกลมในระนาบระดับด้วยอัตรา
16.0 รอบในเวลา 2.00 นาที จงตอบคําถามต่อไปนี้
1. คาบของการเคลือ
่ นทีม
่ ค
ี า่ เท่าใด
2. ความถีข
่ องการเคลือ
่ นทีน
่ ี้มค
ี า่ เท่าใด
3. ถ้ารัศมีของถังเป็ น 4.00 เมตร อัตราเร็วของรถนี้มค
ี า่ เท่าใด
4. ความเร่งสูศ
่ น
ู ย์กลางของรถนี้มค
ี า่ เท่าใด
5. ถ้ารถนี้มวล 1.00x103 กิโลกรัม แรงสูศ
่ น
ู ย์กลางมีคา่ เท่าใด

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 11
โจทย์ฝึกประสบการณ์
2. การทดลองแกว่งแบบกรวยกลมในระนาบระดับ จุกยางทีป ่ ลายเชือกมวล
20.0 กรัม เชือกทีแ
่ กว่งยาว 1.00 เมตร นํ้าหนักน็ อตและห่วงรวมกัน
หนัก 4.00 นิวตัน จงวาดรูปประกอบการพิจารณา แล้วคําถามต่อไปนี้
1. เส้นเชือกเอียงทํามุมเท่าใดกับแนวดิง่
2. แรงสูศ
่ น
ู ย์กลางของจุกยางนี้มค
ี า่ เท่าใด
3. รัศมีของการเคลือ
่ นทีแ
่ นววงกลมมีคา่ เท่าใด
4. คาบของการแกว่งมีคา่ เท่าใด
5. ความถีม
่ ค
ี า่ เท่าใด
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 12
โจทย์ฝึกประสบการณ์
3. รถยนต์คน ั หนึ่งมวล 1.00x103 kg กําลังแล่นบนถนนทางโค้งแบบ
่ รี ศั มีความโค้ง 2.00x102 m ด้วยอัตราเร็ว 20.0 m/s
วงกลมทีม
จงวาดรูปประกอบการพิจารณา แล้วคําถามต่อไปนี้
1. ความเร่งสูศ
่ น
ู ย์กลางของรถคันนี้มค
ี า่ เท่าใด
2. แรงสูศ
่ น
ู ย์กลางของรถคันนี้มค
ี า่ เท่าใด
3. แรงเสียดทานทีผ
่ วิ ถนนกระทํากับรถคันนี้มค
ี า่ เท่าใด
์ วามเสียดทานสถิตระหว่างถนนกับยางรถคันนี้ตอ
4. สัมประสิทธิค ้ งมีคา่ ไม่
น้อยกว่าค่าใด
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 13
โจทย์ฝึกทักษะการวิเคราะห์ขอ้ มูล 4. ในกิจกรรมการทดลองแกว่งแบบ
กรวย ใช้จุกยางมวล 20.0 กรัม
ครั้งที่ แรงตึงเชือก เวลา 30 รอบ เชือกยาว 1.00 เมตร เปลีย่ น
(N) (s) ค่าแรงตึงเชือก 8 ครัง้ ได้ขอ
้ มูลการ
1 2.45 38.1 แกว่งครบ 30 รอบ ดังตาราง
2 2.94 26.9
3 3.43 22.0 1. เพิม
่ ช่องตารางทางขวา เพือ
่ หา คาบ
4 3.92 19.0 คาบกําลังสอง และส่วนกลับของ
5 4.41 17.0 คาบกําลังสอง
6 4.90 15.5
7 5.39 14.4 2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์
8 5.88 13.5 ระหว่างแรงตึงเชือกกับส่วนกลับ
ของคาบกําลังสอง และหาความชัน
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 14
Σ𝐹𝐹⃗ = 𝑚𝑚𝑔𝑔⃗ + 𝑛𝑛 + 𝑓𝑓⃗𝑠𝑠
ถนนโค้งระนาบระดับ
𝑚𝑚𝑔𝑔⃗ + 𝑛𝑛 = 0
แรงเสี ยดทานสถิตทําหน้าที่ Σ𝐹𝐹⃗ = 𝑓𝑓⃗𝑠𝑠
เป็ นแรงสู่ ศูนย์กลาง
𝑚𝑚𝑎𝑎𝑐𝑐 = 𝑓𝑓𝑠𝑠
อัตราเร็ วที่รถพอดีแหกโค้ง
𝑣𝑣 2
คือ 𝑚𝑚 < 𝜇𝜇𝑠𝑠 𝑚𝑚𝑚𝑚
𝑟𝑟

𝑣𝑣 2 < 𝜇𝜇𝑠𝑠 𝑔𝑔𝑔𝑔


สังเกตว่า ค่าอัตราเร็ วนี้ไม่
เกี่ยวกับมวลของรถ
𝑣𝑣 < 𝜇𝜇𝑠𝑠 𝑔𝑔𝑔𝑔

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 15
ตัวอย่ าง รถยนต์มวล 1 200 kg แล่นด้วยอัตราเร็ ว 20.0 m/s
บนถนนโค้งรัศมี 55.0 m ต้องใช้แรงสู่ ศูนย์กลางเท่าใด
mv 2
Fc ma
= = c
r
2
(1200 kg)(20.0 m/s)
=
55.0 m
Fc 8.73 ×103 N
=

แรงเสี ยดทานสถิตทําหน้าที่เป็ นแรงสู่ ศูนย์กลาง


การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 16
ตัวอย่ าง 5.7 รถยนต์มวล 2500 kg แล่นบนถนนโค้งในแนวระดับ
รัศมี 65.0 m ยางกับถนนมีสมั ประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิต
0.750 จงหาอัตราเร็ วสู งสุ ดที่รถอาจแล่ นผ่านโค้งได้
    
ΣF= mg + n + f s= Fc
 
f s = Fc
mv 2
ac ≤ µs n
C r
2
fs mv
≤ µ s mg
r
mg n v ≤ µs g r
µs g r
∴ vmax =
2
vmax = จงหา vmaxm/s
(0.750)(9.8 ให้ เวลา 3 นาที
)(65.0 m) 21.9 m/s
ทางโค้งเอียง(Banked Curve)
    
ถนนนี้ออกแบบมาเพื่อให้รถแล่นได้โดย n ∑ F = mg + n = Fc
ไม่ตอ้ งมีแรงเสี ยดทาน

มีเพียงนํ้าหนัก mg และแรงตั้งฉากกับ
 
ผิวถนน n ที่บวกกันเป็ นแรงสู่ ศูนย์กลาง mg θ

v2
tan θ =  
gr mg θ n

การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 18
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 19
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 20
การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หน้าที่ 42

You might also like