You are on page 1of 12

ี ง (Sound)

บทที่ 12 เสย

12.1 ธรรมชาติของเสียง
 เสี ยงเกิดจากการสั่ นของวัตถุ เสี ยงจะดังมากเมื่อวัตถุเกิดการสัน่ มาก และเบาลงเมื่อสัน่ น้อยลง
 เสี ยงจากแหล่งกำเนิดเสี ยง เช่น สายกีตาร์ หนังกลอง ฯลฯ ต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายโอนพลังงาน
ของการสัน่ จากแหล่งกำเนิดเสี ยงนั้นไปยังที่ต่างๆ เช่น เสี ยงจากการดีดสายกีตาร์ ถ่ายดอนพลังงานของ
การสัน่ ให้โมเลกุลของอากาศที่อยูร่ อบๆ แล้วถ่ายโอนให้กบั โมเลกุลของอากาศที่อยูถ่ ดั ไปต่อกันมาเป็ น
ช่วงๆ จนถึงหูผฟู้ ัง ดังรู ป

สมบัติของคลืน่ เสี ยง
เสี ยงเป็ นคลื่นชนิดหนึ่ง ดังนั้นเสี ยงจึงมีคุณสมบัติของคลื่นทุกประการ คือ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด
และการเลี้ยวเบน
1. การสะท้ อนของคลืน่ เสี ยง (Reflection)
เมื่อเสี ยงตกกระทบผิวสะท้อนที่ขนาดใหญ่กว่าความยาวคลื่นจะเกิดการสะท้อน และเป็ นไปตามกฎการสะท้อน
ของคลื่นทุกประการ ดังนี้
1) มุมตกกระทบ ( ) เท่ากับ มุมสะท้อน ( )
2) รังสี คลื่นตกกระทบ, รังสี คลื่นสะท้อน
และเส้นตั้งฉาก จะต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน

***ประยุกต์ เรื่องการสะท้ อนของเสี ยง ข้อสอบมักจะถามเกี่ยวกับ


1. การประมง
หลักการ เรื อทำการส่ งคลื่นเสี ยงโซนา (Sonar)
ลงไปในน้ำทะเล เมื่อเสี ยงไปกระทบฝูงปลา
เสี ยงจะสะท้อนกลับมาที่เรื อ ทำให้ทราบว่า
ฝูงปลาอยูห่ ่างจากเรื อเท่าใดและอยูท่ ี่ใด ดังรู ป

สู ตรคำนวณ เมือ
่ S แทน ระยะทีเ่ สย ี งเดินทางถึง
ปลา (m)
S = vt
v แทน อัตราเร็วของเสย ี งในน้ำ
Exsample 1. ชาวประมงส่ งคลื่นโซนาร์ไปยังฝูงปลา พบว่ ทะเลาช่วงเวลาที
(m/s)่คลื่นออกไปจากเครื่ องส่ งจนกลับมาถึงเครื่ อง
เป็ น 1.0 วินาทีพอดี จงหาว่าปลาอยูห่ ่างจากเรื อเท่าใด (กำหนด ความเร็ วเสี ยงในน้ำเท่
t แทน ากับ 1,540 เมตรต่บ
ชว่ งเวลาไป-กลั อวิของเส
นาที) ย
ี ง(770
เมตร) ในน้ำทะเล (s)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
2 | เส ีย ง (SO UND)

Exsample 2. (Ent 37) เรื อหาปลาลำหนึ่งหาฝูงปลาด้วยโซนาร์ ส่ งคลื่นดลของเสี ยงความถี่สูงลงไปในน้ำทะเล ถ้าฝูง


ปลาอยูห่ ่างจากเครื่ องกำเนิดคลื่นไปทางหัวเรื อเป็ นระยะทาง 120 เมตร และอยูล่ ึกจากผิวน้ำเป้ นระยะ 90 เมตร หลังจากส่ ง
คลื่นดลจากโซนาร์ไปเป็ นเวลาเท่าใด จึงจะได้รับคลื่นที่สะท้อนกลับมา (กำหนด ความเร็ วเสี ยงในน้ำทะเลเท่ากับ 1,500
เมตรต่อวินาที) (0.2
วินาที)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 3. (มข.50) ชายคนหนึ่งยืนตะโกนเข้าใส่ หน้าผา เขาได้ยนิ เสี ยงสะท้อนกลับมาหลังจากตะโกนออกไป


1 วินาที ถ้าความเร็ วของเสี ยงในอากาศขณะนั้นเท่ากับ 350 เมตรต่อวินาที จงหาว่าหน้าผาอยูห่ ่างจากชายคนนั้น
เป็ นระยะทางเท่าใด (175
เมตร)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

2. การหักเหของคลืน่ เสี ยง (Refraction)


เกิดจากการที่เสี ยงเปลี่ยนตัวกลางในการเคลื่อนที่แล้วทำให้
อัตราเร็ วและความยาวคลื่นเสี ยงเปลี่ยนไป แต่ความถี่ไม่เปลี่ยน
ปรากฏการณ์ที่เกิดในชีวิตประจำวันเนื่องจากการหักเหของเสี ยง เช่น
การเห็นฟ้ าแลบแล้วไม่ได้ยนิ เสี ยงฟ้ าร้อง
กฎการณ์ หักเหของสเนลล์
เมือ
่ และ แทน มุมในตัวกลางที่ 1 และ
sin 1
=
v1
=
1
=
T1
= n
2
1 2
sin  2 v2 2 T2 และ แทน ความเร็วในตัวกลางที่ 1
และ 2
***มุมวิกฤติ คือ มุมตกกระทบทีท่ ำให้ มุมหักเห และ แทน ความยาวคลืน
่ ในตัวกลาง
มีค่าเป็ น 90 องศา
ที่ 1 และ 2
และ แทน อุณหภูม(ิ เคลวิน)ใน
ตัวกลางที่ 1 และ 2
เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้ แทน ค่าคงที่ เรียกว่า ดัชนี
Jateja505@hotmail.com
หักเหตัวกลางที่
1 เทียบกับตัวกลางที่ 2
เส ีย ง (SO UND) | 3

Exsample 4. เสี ยงระเบิดใต้น ้ำหักเหขึ้นสู่อากาศโดยมีมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหที่ออกสู่ อากาศและในน้ำเป็ น


350 และ 1400 เมตรต่อวินาที ตามลำดับ (sin-1 0.125)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 5. เสี ยงเคลื่อนที่จากบริ เวณที่มีอุณหภูมิ 27o ไปสู่บริ เวณที่มีอุณหภูมิเท่าใด จึงทำให้ความยาวคลื่น


เป็ น 3/2 เท่าของความยาวคลื่นเดิม (402
o
C)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 6. ถ้าเสี ยงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ไปยังตัวกลางที่ 2 โดยความยาวของคลื่นเสี ยงเพิ่มเป็ น 2 เท่าของเดิม


จงหา มุมวิกฤต (30o)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

3. การแทรกสอดของคลืน่ เสี ยง (Interference)


เกิดจากการที่คลื่นเสี ยงอย่างน้อย 2 ขบวนเคลื่อนที่มาพบกันแล้วเกิดการเสริ มหรื อหักล้างกัน เช่น ในเครื่ องบิน
การป้ องกันเสี ยงในเครื่ องบิน ทำโดยการผลิตเสี ยงที่มีความถี่เท่ากับเสี ยงที่เกิดจากเครื่ องยนต์ไอพ่น แต่มีลกั ษณะตรงข้ามกัน
ทำให้เสี ยงเกิดการหักล้าง เสี ยงในห้องโดยสารจึงเงียบสนิท
4. การเลีย้ วเบนของคลืน่ เสี ยง (Reflection)
เกิดจากการที่คลื่นเสี ยงสามารถอ้อมเลี้ยวผ่านสิ่ งกีดขวางได้ เสี ยงที่มีความยาวคลื่นยาวจะเลี้ยวเบนผ่านขอบของ
สิ่ งกีดขวางได้ดีกว่าเสี ยงที่ความยาวคลื่นสั้น เช่น รถวิ่งไปด้านหน้าตึกเปิ ดแตรขึ้น คนที่อยูด่ า้ นข้างของตึกจะได้ยนิ เสี ยงได้
เพราะเสี ยงเลี้ยวเบนผ่านขอบของตึกไปได้

12.2 อัตราเร็วของเสียง
อัตราเร็วเสี ยงขึ้นกับสถานะและชนิดของตัวกลาง โดยทัว่ ไปอัตราเร็ วเสี ยงในของแข็งมากกว่ าในของเหลว และใน
ของเหลวมากกว่ าในแก๊ ส สามารถหาอัตราเร็ วของเสี ยงในอากาศ (vt) ที่อุณหภูมิ t องศาเซลเซียส ได้จาก
v t = 331 + 0.6t เมือ
่ vt แทน อัตราเร็วของเสย ี งในอากาศที่
อุณหภูม ิ t ใดๆ (m/s)
เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้ t แทน อุณหภูมข ิ องอากาศ (องศา
Jateja505@hotmail.com เซลเซย ี ส)
4 | เส ีย ง (SO UND)

***ใช้ได้เมื่อไม่ เกิน 45 oC ***กรณี ที่เกิน 45 oC ใช้ สูตร --->

Exsample 7. จงหาอัตราเร็ วเสี ยงที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส (346 m/s)


วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 8. แหล่งกำเนิดเสี ยงอันหนึ่งสัน่ ด้วยความถี่ 692 เฮิรตซ์ วางในอากาศที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส อยาก


ทราบว่า คลื่นเสี ยงที่ออกจากแหล่งกำเนิดนี้ จะมีความยาวคลื่นเท่าไร (0.5 m)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 9. คลื่นเสี ยงมีความถี่ค่าหนึ่งผ่านเข้าช่องกว้าง 0.8 เมตร ในแนวตั้งฉาก ผูฟ้ ังได้ยนิ เสี ยงอย่างชัดเจน ถ้า
อุณหภูมิอากาศในขณะนั้น 25 องศาเซลเซียส ความถี่ที่ปล่อยออกมามีค่าเท่าใด (432.5 Hz)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 10. ถ้าเห็นฟ้ าแลบและได้ยนิ เสี ยงฟ้ าร้องในเวลา 5 วินาที ต่อมา จงหาตำแหน่งที่ฟ้าแลบอยูไ่ กลเท่าไร
เมื่ออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที
(1,700 m)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

12.3 ความเข้ มเสียงและการได้ ยนิ


1. ความเข้ มเสี ยง (Sound Intensity; I)
ความเข้มเสี ยง คือ กำลังเสี ยงที่ตกกระทบตั้งฉากกับพื้นที่ของหน้าคลื่นของทรงกลมหนึ่งตารางหน่วย หาได้จาก
เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
เส ีย ง (SO UND) | 5

เมือ
่ I คือ ความเข ้มเสย ี ง (Watt/m2)
I=
P
=
P P คือ กำลังของเสย ี งทีอ่ อกมาจาก
2
A 4πR แหล่งกำเนิด (Watt)
A คือ พืน ้ ทีท
่ รี่ ับพลังงานเสย ี ง (m2)
R คือ ระยะห่างจากแหล่งกำเนิดเสย ี ง
ในกรณี ที่ P คงตัว จะได้วา่ แสดงว่า ความเข้ มเสียง ณ ตำแหน่ งต่ างๆ จะลดลง เมื่อตำแหน่ งนั้นๆ อยู่
(m)
ห่ างจากแหล่ งกำเนิดเสียงมากขึ้น เขียนความสัมพันธ์ได้วา่
I2  R 
2
***ออกสอบบ่อย***
=  1 
I1  R2  เมือ่ I1 และ I2 คือ ความเข ้มเสย ี งตำแหน่งที่
1 และ 2 (Watt/m ) 2

R1 และ R2 คือ ระยะห่างจากแหล่งกำเนิด


1) ความเข้มเสี ยเส ยี งดทีตำแหน่
งต่ำสุ งที่ 1 ยนิ คือ I = 10-12 Watt/m2
่หูมนุษย์สามารถได้ 0
ควร และ 2งได้
2) ความเข้มเสี ยงสู งสุ ดที่หูมนุษย์สามารถทนฟั (m)
คือ Imax = 1 Watt/m2
จำ!
Exsample 11. วิทยุให้ก ำลังเสี ยง 250 W กระทบประตูกว้าง 0.5 m สูง 1 m จงหาความเข้มของเสี ยงที่ประตู (500
W/m2)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 12. แหล่งกำเนิดเสี ยงที่ให้ก ำลังเสี ยง วัตต์ ผูฟ้ ังอยูไ่ กลจากแหล่งกำเนิดเสี ยงมากที่สุดเท่าใด
จึงพอจะได้ยนิ เสี ยง เมื่อความเข้มเสี ยงต่ำสุ ดที่ได้ยนิ เท่ากับ 10 วัตต์ต่อตารางเมตร
-12
(5 m)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 13. ชายคนหนึ่งขณะอยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยงอันหนึ่งเป็ นระยะทาง 10 เมตร วัดความเข้มของเสี ยง


จากแหล่งกำเนิดเสี ยงนั้นได้ 10-8 วัตต์ต่อตารางเมตร อยากทราบว่าแหล่งกำเนิดเสี ยงนี้ ให้ก ำลังเสี ยงออกมาเท่าใด (
W)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
6 | เส ีย ง (SO UND)

Exsample 14. ณ ตำแหน่งที่อยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยง 10 เมตร มีความเข้มเสี ยง 2 x 10-8 วัตต์ต่อตารางเมตร ถ้าอีก


ตำแหน่งหนึ่งห่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยงเดียวกัน 5 เมตร จะมีความเข้มเสี ยงเท่าใด ( W/m2)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 15. (มข.52) แดงเห็นดอกไม้ไฟระเบิดอยูเ่ หนือศีรษะของเขาในระยะ 10 เมตรพอดี ในขณะเดียวกัน ถ้า


ดำยืนห่างจากแดง บนพื้นราบเดียวกันไปตามแนวราบเป็ นระยะ 24 เมตร เขาจะได้ยนิ เสี ยง ดอกไม้ไฟระเบิดด้วยความเข้ม
เสี ยงเป็ นกี่เท่าที่แดงได้ยนิ (25:169)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

2. ระดับความเข้ มเสี ยง (Sound Intensity Level; )


ระดับความเข้มเสี ยง คือ ระดับที่บอกให้ทราบถึงความดังของเสี ยงซึ่งได้จากสมการ

 = 10 • log10
I เมือ ี ง ณ ตำแหน่งที่
่ คือ ระดับความเข ้มเสย
I0
พิจารณา (เดซเิ บล dB)
I คือ ความเข ้มเสย ี ง ณ ตำแหน่งทีพ ่ จิ ารณา
1) ระดับความเข้(Watt/m
มเสี ยงที่หูมนุษ) ย์ไม่ ได้ ยนิ (เบาสุ ด)มีค่าน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 0 dB
2

2) ระดับความเข้มเสี ยIงที คืูมอนุษความเข


0 ่ห ้มเสงย
ย์ทนฟังไม่ ไหว(ดั ี สุงต่ำสุ ดทีม่ านุ
ด) มีค่ามากกว่ หรืษ
อเท่ย์าไกัด
บ ้ยิ120
น dB
ควร
เท่ากับ 10 (Watt/m )
-12 2

จำ!
***สมการเปรียบเทียบระดับความเข้ มเสี ยง
2
 RI 
2 - 11 ==10
10 log
log 21  หรือ ***ออกสอบ
 RI12 
บ่อย***

Exsample 16. ณ ตำแหน่งซึ่งอยูห่ ่างจากแหล่งกำเนิดเสี ยงอันหนึ่ งวัดค่าความเข้มเสี ยงได้ 10-10 วัตต์ต่อตารางเมตร ณ


ตำแหน่งนี้จะมีค่าระดับความเข้มเสี ยงเท่าใด (20 dB)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
เส ีย ง (SO UND) | 7

Exsample 17. (มช.43) เสี ยงที่มีระดับความเข้มเสี ยง 80 เดซิเบล จะมีความเข้มเสี ยงในหน่วยวัตต์ต่อตารางเมตร


เท่าใดวิเคราะห์ โจทย์ รู้ (10-4
W/m2)

Exsample 18. (มข.51) ความเข้มเสี ยง 18 x 10-7 วัตต์ต่อตารางเมตร คิดเป็ นระดับความเข้มเสี ยงกี่เดซิเบล (กำหนด
ให้ log2 = 0.3010 และ log3 = 0.4771) (62.6 dB)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 19. (มช.31) ลำโพง 1 ตัว ให้เสี ยงที่มีระดับความเข้มของเสี ยง 60 เดซิเบล ถ้าใช้ล ำโพงชนิดเดียวกัน 10
ตัว จะให้ระดับความเข้มของเสี ยงกี่เดซิเบล (70
dB)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
8 | เส ีย ง (SO UND)

Exsample 20. (มข.51) เมื่อยิงปื น 1 นัด ทำให้เกิดเสี ยงที่มีระดับความเข้มเสี ยง 20 เดซิเบล ถ้าต้องการทำให้เกิดเสี ยง


ที่มีระดับความเข้มเสี ยง 40 เดซิเบล จะต้องยิงปื นพ้อมกันกี่กระบอก (100 กระบอก)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

มลภาวะของเสี ยง คือ เสี ยงที่ที่มีระดับความเข้มสูง เมื่อรับ


ฝังติดต่อกันนานๆ จะทำให้สภาพร่ างกายและจิตใจผิดปกติ (มักเป็ น
เสียงที่มรี ะดับความเข้ มเสียงตั้งแต่ 80 dB ขึ้นไป)
เวลาทำงาน (ชม.) ระดับความเข้ มเสี ยง (dB)
น้อยกว่า 7 91
7–8 90
มากกว่า 80

12.5 เสี ยงดนตรี


1. ระดับเสียง (Pitch)
ความทุ้ม แหลมของเสี ยงจะขึน้ อยู่กบั ความถี่(f) ของคลื่นเสี ยง
- ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่สูง เสี ยงจะแหลม เรี ยกว่า ระดับเสียงสู ง
- ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่ต่ำ เสี ยงจะทุม้ เรี ยกว่า ระดับเสี ยงต่ำ
ช่ วงความถี่ของมนุษย์ ที่ได้ ยนิ (Audible range) มีค่าอยูร่ ะหว่าง 20 – 20,000 Hz เท่านั้น
- เสี ยงที่มีความถีต่ ่ำกว่ า 20 Hz ลงไป เรี ยกว่า คลืน่ ใต้ เสี ยง (Infra Sonic)
- เสี ยงที่มีความถีส่ ู งกว่ า 20,000 Hz ขึ้นไป เรี ยกว่า คลืน่ เหนือเสี ยง (Ultra Sonic)
2. คุณภาพเสี ยง (Sound quality)
คุณภาพของเสี ยง คือ ความสามารถในการบ่งบอกได้วา่ เสี ยงที่ได้ยนิ เป็ นเสี ยงอะไร แหล่งกำเนิดเสี ยงจะมีคุณภาพ
ของเสี ยงที่ต่างกัน คุณภาพของเสี ยงนั้นขึ้นอยูก่ บั จำนวนโอเวอร์ โทน (Overtone) ที่เกิดจากต้นกำเนิดเสี ยงและยังขึ้นกับความ
เข้มของเสี ยงอีกด้วย
12.6 บีตส์ (Beats)
เป็ นปรากฏการณ์ที่คลื่นเสี ยง 2 ชุด ที่มีแอมพลิจูดเท่ากัน แต่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อยมาแทรกสอดกัน โดยคลื่นทั้ง
สองนั้นรวมกันแบบเสริ มกันและหักล้างกันสลับกันไปเป็ นช่วงๆ ทำให้ได้ยนิ เสี ยงดังค่อยสลับกันไป เรี ยกปรากฏการณ์น้ ี วา่
การเกิดบีตส์ ของเสียง (Beats of sound)
ความถี่บตี ส์ (Beat frequency) คือ จำนวนครั้งที่ได้ยนิ เสี ยงดังในหนึ่งวินาที หาได้จากผลต่างระหว่างความถี่ของ
แหล่งกำเนิดทั้งสอง ซึ่งหาได้จาก ***หมายเหตุ***
บีตสไ์ ม่ใชความถี
้ ข ่ องเสย ี งทีเ่ รา
f B = f 2 - f1
ได ้ยิน สงั เกตได ้จากความถีบ ่ ต
ี สจ์ ะมีคา่ ไม่
่ ึ ี
เกิน 7 Hz ซงต่ำกว่าความถีเ่ สยงต่ำสุดที่
และความถีท่ ี่ได้ยนิ มีค่าเท่ากับความถี่เฉลี่ย หาได้จาก มนุษย์เราสามารถได ้ยิน คือ 20 Hz
f1 + f 2
f av = เมื่อ f1 คือ ความถี่เสี ยงที่ 1
2
f2 คือ ความถี่เสี ยงที่ 2
เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
เส ีย ง (SO UND) | 9

***หูของมนุษย์สามารถจำแนกเสี ยงบีตส์ที่มีความถี่ไม่ เกิน 7 เฮิรตส์

Exsample 21. นักดนตรี คนหนึ่งเล่นไวโอลิน 507 เฮิรตซ์ และนักดนตรี อีกคนหนึ่งเล่นกีตาร์ความถี่ 512 เฮิรตซ์ ถ้า
ทั้งสองคนเล่นพร้อมกันจะเกิดปรากฏการณ์บีตส์ที่ความถี่เท่าใด (5 Hz)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 22. ส้อมเสี ยง 2 อัน มีความถี่ 310 และ 316 เฮิรตซ์ ตามลำดับ เมื่อเคาะทั้ง 2 อัน จะเกิดบีตส์ที่มีความถี่
เท่าใดวิเคราะห์ โจทย์ รู้ (6
Hz)

Exsample 23. ต่อและต๋ องมีส้อมเสี ยงคนละหนึ่งอัน มีความถี่ 366 เฮิรตซ์ และ 370 เฮิรตซ์ ตามลำดับ เมื่อทั้งสองคน
เคาะส้อมเสี ยงพร้อมๆ กัน จงหา
1. ความถี่บีตส์เป็ นกี่ครั้งต่อวินาที (4 Hz)
2. เสี ยงที่ได้ยนิ มีความถี่เท่าใด (368 Hz)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

12.7 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ (Doppler Effect)


เป็ นปรากฏการณ์ที่ผสู้ งั เกตเสี ยงได้ยนิ เสี ยงจากแหล่ง
กำเนิดที่มีความถี่เปลี่ยนแปลงไปจากความถี่ของเสี ยงเดิม
เนื่องจากการเคลื่อนที่ของผูส้ งั เกตเสี ยงสัมพัทธ์กบั แหล่งกำเนิด
เสี ยง ทำให้ผสู้ งั เกตได้ยนิ เสี ยงแหลม-ทุม้ มากกว่าปกติ ความ
เป็ นจริ งที่เกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิดเสี ยงเอง ซึ่งจะได้สมการการ
คำนวณดังนี้
เมือ่ f0 ี งปรากฏต่อผู ้
คือ ความถีเ่ สย
สงั เกต (Hz)
 v ± vo  ี งจากแหล่ง
f0 =   fs fS คือ ความถีเ่ สย
 v ± v s 
กำเนิดเสย ี ง (Hz)
v คือ อัตราเร็วเสย ี งในอากาศ
เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
(m/s)
Jateja505@hotmail.com v0 คือ อัตราเร็วของผู ้สงั เกต
เสย ี ง (m/s)
vS คือ อัตราเร็วของแหล่งกำเนิด
10 | เ ส ี ย ง ( S O U N D )

***หมายเหตุ วิธีการใช้สมการ
1) ถ้าผูส้ งั เกตเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกำเนิดเสี ยง v0 มีค่าเป็ นบวก (+)
2) ถ้าผูส้ งั เกตเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดเสี ยง vo มีค่าเป็ นลบ (-)
3) ถ้าแหล่งกำเนิดเสี ยงเคลื่อนที่เข้าหาผูส้ งั เกต vs มีค่าเป็ นลบ (-)
4) ถ้าแหล่งกำเนิดเสี ยงเคลื่อนที่ออกจากผูส้ งั เกต vs มีค่าเป็ นบวก (+)

Exsample 24. รถพยาบาลเปิ ดไซเรนความถี่ 1000 Hz ถ้าความเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 m/s อยากทราบความถี่
เสี ยงที่ผฟู้ ังได้ยนิ เมื่อ
1. รถพยาบาลวิ่งด้วยความเร็ ว 40 m/s เข้ าหาผูฟ้ ังซึ่งอยูน่ ่ิงด้ านหน้ า (1133 Hz)

2. รถพยาบาลวิ่งด้วยความเร็ ว 40 m/s ออกจากผูฟ้ ังซึ่งอยูน่ ่ิงด้ านหลัง (895 Hz)

3. ผูฟ้ ังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 10 m/s เข้ าหารถซึ่งจอดนิ่ง (1029 Hz)

4. ผูฟ้ ังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 10 m/s ออกจากรถซึ่งจอดนิ่ง (970 Hz)

Exsample 25. เรื อลำหนึ่งวิ่งด้วยความเร็ ว (vS) 5 เมตรต่อวินาที ปล่อยเสี ยงความถี่ 2,000 รอบต่อวินาที ออกไป
รอบตัวตลอดเวลา อยากทราบว่าคลื่นเสี ยงที่สะท้อนหน้าผากลับไปยังเรื อจะมีความถี่เท่าไร ถ้าความเร็ วเสี ยงในอากาศขณะ
นั้นมีค่า 340 เมตรต่อวินาที (1,942.03 Hz)

เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
เ ส ี ย ง ( S O U N D ) | 11

วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 26. แหล่งกำเนิดเสี ยงอันหนึ่งให้คลื่นเสี ยงมีความถี่ 510 เฮิรตซ์ ยศกรขับรถเข้าหาแหล่งกำเนิดเสี ยงนี้ ดว้ ย
อัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที และอัตราเร็ วของเสี ยงในอากาศขณะนั้นเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที จงหาความถี่เสี ยงที่ยศกร
ได้ยนิ มีค่ากี่เฮิรตซ์ (540 Hz)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

12.8 คลืน่ กระแทก (Shock Wave)


คลื่นกระแทก หมายถึง คลื่นที่เกิดจากการอัดตัว
ของหน้าคลื่น เมื่ออัตราเร็วของแหล่งกำเนิดสูงกว่า
อัตราเร็วของคลื่นโดยคลื่นเสี ยงจะแทรกสอดกันเกิด
กรวยของคลื่นกระแทกที่มีมุมกรวย 2θ ดังรู ป

จากรู ป จะได้
เมือ
่ v แทน ความเร็วคลืน ่ เสย ี ง
(m/s)
กรณี คลื่นเสี ยง อัตราส่ วน เรี ยกว่า เลขมัค (Mach number)
vs แทน ความเร็วของแหล่ง
กำเนิด (m/s)
ดังนั้น Mach number แทน ครึง่ หนึง่ ของมุมที่
ปลายกรวย
x แทน ระยะจากเครือ ่ งบิน
***ซุปเปอร์ โซนิก (Supersonic) คือ ความเร็ วของวัตถุในอากาศที่มีความเร็ วสูงกว่าความเร็วเสี ยง
ถึงผู ้สงั เกต(m)
Exsample 27. เครื่ องบินบินด้วยอัตราเร็ ว 510 เมตรต่อวินาที ในแนวระดับเหนื h อแทน
พื้นดิน 4ระดั บความสู
กิโลเมตร ในขณะทีง่เของ
สี ยง
มีอตั ราเร็วในอากาศ 340 เมตรต่อวินาที จงหา เครือ่ งบิ น (m)
1. เลขมัค (1.5)

2. มุมระหว่างหน้าคลื่นกระแทกกับแนวการเคลื่อนที่ของเครื่ องบิน (sin-1 2/3)

เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com
12 | เ ส ี ย ง ( S O U N D )

ค. เมื่อคนที่พ้ืนดินได้ยนิ เสี ยงเครื่ องบินนั้น เครื่ องบินอยูห่ ่างจากคนเท่าใด (6 km)

Exsample 28. เครื่ องบินมีความเร็ว 2.5 มัค จะมีอตั ราเร็ วเท่ากับเท่าไร ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

Exsample 29. เครื่ องบินโดยสารเร็ วกว่าเสี ยงบินผ่านบริ เวรหนึ่งที่มีชาย 2 คน คนหนึ่งอยูบ่ นยอดเขาสูง 300 เมตร
ชายอีกคนหนึ่งยืนบนที่ราบห่างจากเขา 400 เมตร ถ้าปรากฏว่าทั้งสองคนได้ยนิ เสี ยงเครื่ องบินบินผ่านไปพร้อมกัน ถาม
ว่าความเร็ วของเครื่ องบินเป็ นกี่เท่าของความเร็วเสี ยงในขณะนั้น ( เท่า)
วิเคราะห์ โจทย์ รู้

เอก สา รป ระ ก อบ ก า ร เร ีย น ร ู ้
Jateja505@hotmail.com

You might also like