You are on page 1of 8

คลื่นเสี ยง 1 n.surasing@hotmail.

com

สรุปเตรียมสอบ
เสี ยง
เสี ยง จัดว่าเป็ นคลื่นตามยาว หรื อคลื่นอัดขยาย ที่เดินทางได้โดยอาศัยตัวกลาง
การเกิดเสี ยง เสี ยงเกิดจากการสัน่ สะเทือนของวัตถุ
เสี ยงสะท้อนได้ดีกบั วัตถุที่เป็ นของแข็ง และเรี ยบ
ตัวดูดคลื่นเสี ยงได้ดี คือ 1. วัตถุผวิ ขรุ ขระ
2. วัตถุมีรูพรุ่ น
3. วัตถุอ่อนนุ่ม
อัตราเร็วของเสี ยง เสี ยงจะเคลื่อนที่ได้ดีในตัวกลางที่มีความหนาแน่นสูง
 v เสียงในของแข็ง  v เสียงในของเหลว  v เสี ยงในอากาศ ----------------*
จากการหักเหเสี ยงในอากาศพบว่า v  T และ T = 273 + t
v1 T1 273  t1
จะได้  
v2 T2 273  t2
vt1 t
และ vt2  vt1  , t  t2  t1
2T1
ถ้า t = 0C  vt1  v0  331.45 m / s
v0 t
 vt  v0   331  0.6t ----------------------*
2  273
การสะท้ อนเสี ยง Sonar
1
L
h  (vt ) 2  (l  yt ) 2
2
1
h  (vt ) 2  L2
2
เมื่อ v = ความเร็ วเสี ยงในนํ้า h
X
 = ความยาวเรื อ
y = ความเร็ วเรื อ (คงที่)
L = ระยะจากจุดส่ งคลื่นถึงจุดรับคลื่น
สู ตรแข่ งขันคลืน่
 1 1 
1. จุดเริ่ มที่เดียวกันและจุดจบทีเดียวกัน  t = S  
V Vมาก 
 น้ อย 

10.คลื่นเสี ยง
คลื่นเสี ยง 2 n.surasing@hotmail.com

1 1
2. วิ่งผลัด  t  S  
 v1 v2 

การแทรกสอดของคลืน่ เสี ยง ในทางปฏิบตั ิจะทําเฉพาะเสี ยงที่ Inphase ต่อกันเท่านั้น และหา


ตําแหน่งเสี ยงดัง (A) และเสี ยงค่อย (N) จาก
| ผลต่างระยะทาง | = d sin = n, n = 0, 1, 2, 3 -------------- (หา A)
1
| ผลต่างระยะทาง | = d sin =  n   , n = 1, 2, 3, …… (หา N)
 2
การเลี้ยวเบนของเสี ยง จะเกิดขึ้นได้ง่ายกว่าคลื่นอื่น ๆ และกระจาย จึงไม่มีสูตรคํานวณ
คุณสมบัติพิเศษของคลื่นเสี ยง
1. การสัน่ พ้อง (Resonance) เกิดจากวัตถุ 2 ชิ้น หรื อมากกว่า เกิดมีความถี่ธรรมชาติตรงกัน
เมื่อวัตถุตวั หนึ่งเกิดการสัน่ จะทําให้วตั ถุอีกตัวหนึ่งสัน่ ตามอย่างรุ นแรง
การนําความรู ้จากการสัน่ พ้องไปใช้
1. ท่อออร์แกนปลายปิ ด (ปิ ด 1 ข้าง หรื อปิ ด 2 ข้าง) จะได้
 2n  1 
fn =   v, n = 1 เรี ยก f1 ว่า ความถี่พ้นื ฐาน
 4L 
n = 2 เรี ยก f2 ว่า First Overtone
n = 3 เรี ยก f3 ว่า Second Overtone
2. ท่อออร์แกนปลายเปิ ด (เปิ ดทั้ง 2 ข้าง)
n
fn = v  nf1 , n = 1 เรี ยก f1 ว่า ความถี่พ้นื ฐาน
2L
หรื อ First harmonic frequency
n = 2 เรี ยก f2 ว่า Second harmonic frequency
n = 3 เรี ยก f3 ว่า Third harmonic frequency
3. การสัน่ พ้องของลวดขึงตรึ งทั้ง 2 ข้าง
n n T
fn = v   nf1 , T = แรงตึงในลวด (N)
2L 2L 
 = มวลต่อความยาว (kg/m)
2. บีตส์ (Beats) เป็ นปรากฏการณ์คล้ายการแทรกสอด เกิดจากคลื่น 2 ขบวนที่มีความถี่ใกล้เคียง
กัน (ต่างกันไม่เกิน 7 Hz) เดินทางมาพบกัน ณ ผูฟ้ ัง แล้วเกิดการรวมกันและหักล้างกัน
ทําให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงดังค่อย ดังค่อย สลับกันเป็ นจังหวะ

10.คลื่นเสี ยง
คลื่นเสี ยง 3 n.surasing@hotmail.com

f  f 2  f1 = ความถี่บีตส์ = จํานวนบีตส์ที่เกิดขึ้นใน 1 วินาที


f  7
3. ความเข้ มของเสี ยง (Sound Intensity = I) หมายถึงกําลังของคลื่นเสี ยงที่ตกกระทบพื้นที่
1 ตร.หน่วย (หน่วยเป็ น วัตต์/ตร.เมตร)
P P 1
I   ,  I 
A 4 R 2 R2
เมื่อแหล่งกําเนิดคลื่นไม่เปลี่ยนแปลง จะได้
2
I1 R 
  2 --------------------*
I2  R1 
* I0 = ความเข้มของเสี ยงที่ต่าํ ที่สุดที่หูคนปรกติรับได้ = 10-12 W/m2
I max = ความเข้มของเสี ยงที่สูงสุ ดที่หูคนปรกติจะรับได้ = 1 W/m2
 I 
4. ระดับความเข้ มของเสี ยง   10 log   (หน่วยเป็ น dB)
 I0 
I  R 
   2  1  10 log  2   20 log  1  --------------------*
 I1   R2 
 I 
   10 log  I 
 0

= 10 log  
 I

 I0 
= 1 + 10 log n ……. เมื่อ I1 = I2 = I3 = I4 = ……
5. เสี ยงคู่แปด (Octave) หมายถึงเสี ยง (ดนตรี ) 2 เสี ยง ที่มีความถี่เป็ น 2 เท่าของอีกจํานวนหนึ่ง
แต่ให้โทนเสี ยงเดียวกัน เช่น
C (โท) = 256 Hz, C (โด) = 2 x 256 = 512 Hz
 C จะเป็ นเสี ยงคู่แปดของ C และ C มี f = 2fC
C จะมีความถี่เป็ น 22 เท่าของความถี่ C
6.ปรากฏการณ์ Doppler effect เป็ นปรากฏการณ์ที่แหล่งกําเนิดคลื่นเสี ยงและ/หรื อผูฟ้ ังเกิดการเคลื่อนที่
จะทําให้ความถี่ที่ได้รับผิดไปจากเดิม

(u  vL )
 f   f0  โดยกําหนด Vector บวก คือ ทิศจากแหล่งกําเนิดไปผูฟ้ ัง
(u  vS )

10.คลื่นเสี ยง
คลื่นเสี ยง 4 n.surasing@hotmail.com

u 1
7. คลืน่ กระแทก  จะได้ sin = 
vs t vS เลขมัค
 * Supper Sonic

ut
Ultra Sonic
Infra Sonic
* Supper Sonic หมายถึง เสี ยงจากแหล่งกําเนิดเสี ยงที่ เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วมากกว่าอัตราเร็ วของเสี ยงใน
อากาศ
Ultra Sonic หมายถึง เสี ยงที่มีความถี่เสี ยงสูงกว่า ความถี่เสี ยงที่หูคนปรกติจะได้ยนิ หรื อ
f  2 104 Hz
Infra Sonic หมายถึง เสี ยงที่มีความถี่เสี ยงตํ่ากว่า ความถี่เสี ยงที่หูคนปรกติจะได้ยนิ หรื อ f  20 Hz
ในบางครั้งเรารวม Ultra Sonic และ Infra Sonic เป็ นเสี ยงเงียบ

ตัวอย่ างข้ อสอบเสี ยง


1. เด็กคนหนึ่งกําลังวิ่งอยูด่ ว้ ยอัตราเร็ ว 10 เมตร/วินาที ได้ตะโกนเสี ยงเข้าหากําแพงซึ่งอยูห่ ่างออกไป
ระยะหนึ่งพบว่าในเวลาผ่านไป 2 วินาที เขาได้ยนิ เสี ยงสะท้อนกลับมา ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ
ขณะนั้นเท่า กับ 340 เมตร/วินาที ขณะที่ ตะโกนเขาอยู่ ห่างจากกําแพงกี่เมตร
1. 20 2. 340
3. 350 4. 680
2. เสี ยงถูกปล่อยจากบริ เวณหนึ่งซึ่งมีอุณหภูมิค่าหนึ่ง พบว่า เมื่อเข้าสู่บริ เวณที่สองอุณหภูมิจะ
เปลี่ยนเป็ นอีกค่าหนึ่ง และวัดความยาวคลื่นในบริ เวณนี้ได้เป็ นครึ่ งหนึ่งของบริ เวณแรก อยาก
ทราบ ว่าอุณหภูมิในหน่วยเคลวินของบริ เวณแรกเป็ นกี่เท่าของบริ เวณที่สอง
1. 0.25 2. 0.50
3. 2 4. 4
3. ลําโพงเสี ยงคู่หนึ่งวางหันหน้าเข้าหากันให้คลื่นเสี ยงความยาวคลื่น 2 เมตร คน ๆ หนึ่งยืนอยูต่ รง
กลาง ระหว่างลําโพง เสี ยงคู่น้ นั ถ้าเขาเดินเข้าไปหาลําโพงเสี ยงข้างหนึ่งพบว่าเขาจะได้ยนิ เสี ยง
ดังเป็ นครั้งแรก อยากทราบว่า เขาเดินห่ าง จากจุดเริ่ มต้นกี่เมตร
1. 1 2. 2
3. 3 4. 4

10.คลื่นเสี ยง
คลื่นเสี ยง 5 n.surasing@hotmail.com

4. แหล่งกําเนิดเสี ยงอันหนึ่งปล่อยเสี ยงด้วยกําลังเสี ยง 4  x 10-12 วัตต์ในการนี้ได้ใช้วสั ดุก้ นั เสี ยง


ไว้จาํ นวนหนึ่งเพื่อลดความดังของเสี ยงพบว่าที่จุดซึ่งจากแหล่งกําเนิดเสี ยง 0.5 เมตร วัดความ
เข้มเสี ยงได้ 1012 W / m2 อยากทราบว่าวัสดุดงั กล่าวนี้ดูดกลืนเสี ยงไว้กี่เปอร์เซ็นต์
1. 25 2. 50
3. 75 4. 80
5. จากการทดลองเรื่ องการสัน่ พ้องของเสี ยงโดยใช้หลอดสัน่ พ้อง พบว่าเกิดสัน่ พ้องครั้งแรกและครั้งที่
สองที่ระยะ 0.15 เมตร และ 0.50 เมตร จากปากท่อตามลําดับ ถ้าความเร็ วของเสี ยงในขณะนั้น
เท่ากับ 350 เมตร/วินาที จงหาความถี่ของคลื่นเสี ยงที่ใช้
1. 450 เฮิรตซ์ 2. 500 เฮิรตซ์
3. 600 เฮิรตซ์ 4. 1000 เฮิรตซ์
6. บอลลูนเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร็ วสมํ่าเสมอ 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยูส่ ูงจากพื้นดินระยะหนึ่ง
ส่ งคลื่นเสี ยงความถี่ 1000 Hz ลงมา และได้รับสัญญาณเสี ยงสะท้อนกลับมาในเวลา 4 วินาที ขณะที่
ส่ งคลื่นเสี ยงบอลลูนสูงจากพื้นดินเท่าใด ความเร็ วเสี ยงขณะนั้นเท่ากับ 350 เมตรต่อวินาที
1. 660 เมตร 2. 1000 เมตร
3. 1320 เมตร 4. 1400 เมตร
7. ทหารคนหนึ่งยิงปื นกลด้วยอัตราเร็ ว 5 นัดต่อวินาที ทําให้คนที่อยูห่ ่าง 100 เมตร ได้ยนิ เสี ยงปื นมีระดับ
ความเข้มเสี ยง 100 dB ถามว่า การยิงปื นแต่ละนัดเกิดกําลังของเสี ยงโดยเฉลี่ยกี่วตั ต์ (เมื่อสมมุติวา่
เสี ยงปื นกระจายออกทุกทิศทางเท่ากัน กําหนดให้ความเข้มเสี ยงเบาที่สุดที่ได้ยนิ มีค่า 10-12 W/m2
1. 20 2. 40
3. 60 4. 80
8. ส้อมเสี ยง x ไม่ทราบความถี่ธรรมชาติ และส้อมเสี ยง A ที่มีความถี่ธรรมชาติ 90 Hz เมื่อ
ทําการเทียบเสี ยงส้อมเสี ยงทั้งสองกับสายกีตาร์เส้นหนึ่ง พบว่าเกิดบีตส์ 5 ครั้งต่อวินาที เหมือนกัน
แต่ถา้ ทําการเทียบเสี ยงส้อมเสี ยงทั้งสองกับหลอดสัน่ พ้อง จะพบว่าตําแหน่งการเกิดสัน่ พ้องครั้งแรกของ
ส้อมเสี ยง x ลูกสู บจะอยูต่ ่าํ จากปากหลอดมากกว่าตําแหน่งการเกิดสัน่ พ้องครั้งแรกของส้อมเสี ยง A
ถามว่า ส้อมเสี ยง x มีความถี่ธรรมชาติกี่ Hz
1. 80 2. 85
3. 90 4. 100
9. ชายผูห้ นึ่งยืนอยู่ ณ ตําแหน่งที่มีระดับความเข้มเสี ยง 60 dB ถ้าเขาใส่ ที่ครอบหู ซึ่งมีสมบัติดูดกลืน
ความเข้มของเสี ยงได้ร้อยละ 90 เขาจะได้ยนิ เสี ยงที่มีระดับความเข้มเสี ยงลดลงร้อยละเท่าใด
1. 17 2. 20
3. 83 4. 90

10.คลื่นเสี ยง
คลื่นเสี ยง 6 n.surasing@hotmail.com

10. หลอดสัน่ พ้องยาว 20 ซม. ให้เสี ยงที่มีความถี่ต่าง ๆ กัน ออกมาหลายค่า อยากทราบว่าคนปกติจะได้ยนิ


เสี ยงจากหลอดสัน่ พ้องนี้ ในช่วงความถี่เท่าใดถ้าระดับความเข้มของเสี ยงที่แต่ละ ความถี่สูงพอที่หู
คนเรา จะได้ยนิ และช่วงความถี่ของเสี ยงที่หูคนปกติจะได้ยนิ คือ 20-20000 Hz
(กําหนดให้ความเร็ วของเสี ยงในอากาศ = 360 เมตร/วินาที)
1. 450 - 19,350 Hz 2. 450 - 19,800 Hz
3. 900 - 18,900 Hz 4. 900 - 19,800 Hz
11. รถพยาบาลกําลังวิ่งด้วยความเร็ ว 40 เมตร/วินาที เปิ ดไซเรนส่ งเสี ยงด้วยความถี่ 300 เฮิรตซ์ ชายคนหนึ่ง
กําลังวิ่งออกกําลังกายด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ถ้ารถพยาบาลกําลังวิ่งเข้าหาชายคนนี้ทางด้านหลัง
เขาจะได้ยนิ เสี ยงไซเรนมีความถี่ เท่าใด ถ้าเสี ยงอากาศขณะนั้นมีความเร็ ว 340 เมตร/วินาที
1. 300 เฮิรตซ์ 2. 330 เฮิรตซ์
3. 340 เฮิรตซ์ 4. 350 เฮิรตซ์
12. รถพยาบาลแล่นด้วยอัตราเร็ ว 25 เมตร/วินาที ส่ งเสี ยงไซเรนมีความถี่ 400 เฮิรตซ์ ถ้าอัตราเร็ วเสี ยง
ในอากาศเป็ น 350 เมตร/วินาที ความยาวคลื่นเสี ยงไซเรนด้านหน้ารถพยาบาลเป็ นเท่าใด
1. 76 cm 2. 81 cm
3. 87 cm 4. 94 cm
13. นาย ก. ยืนที่ขอบสนามหญ้าด้านหนึ่ง (จุด A) เมื่อรถตัดหญ้าทํางานอยูก่ ่ ึงกลางสนาม (จุด B) จะวัด
ระดับความเข้มเสี ยงได้ 77.34 เดซิเบล ถ้ารถตัดหญ้าเลื่อนไปอยูท่ ี่ขอบสนามด้านตรงข้าม(จุด C) จะ
วัดความเข้มเสี ยงได้กี่เดซิเบล
1. 77.34 dB
2. 71.32 dB นาย ก
A B C
3. 38.67 dB
4. 35.66 dB
14. เครื่ องเจาะถนนเครื่ องหนึ่ง อยูห่ ่างจากนาย ก. 10 เมตร เขาวัดระดับความเข้มเสี ยงได้เป็ น 90 เดซิเบล
ถ้ามีเครื่ องเจาะสามเครื่ องที่เหมือนกันทุกประการอยูห่ ่างจากเขา 10 เมตร เท่ากัน เมื่อเครื่ องเจาะทั้ง
สามทําพร้อมกัน เขาจะวัดระดับความเข้มเสี ยงได้เป็ นเท่าใด
1. 93 dB 2. 95 dB
3. 120 dB 4. 270 dB
15. ลําโพงตัวหนึ่งให้เสี ยงที่มีความเข้ม I0 ที่ระยะห่างจากลําโพง 10 เมตร ถ้าต้องการเสี ยงความเข้ม 2I0
จะต้องปอยูท่ ี่ตาํ แหน่งซึ่งห่ างจากลําโพงเท่าใด
1. 5 m 2. 7 m
3. 14 m 4. 20 m

10.คลื่นเสี ยง
คลื่นเสี ยง 7 n.surasing@hotmail.com

16. ส้อมเสี ยงอันหนึ่ง เมื่อเคาะเหนือท่อ เรโซแนนซ์ เกิดเสี ยงดังครั้งแรกเมื่อนํ้าอยูต่ ่าํ จากปากท่อ 17 cm.
และดังครั้งที่สองเมื่อนํ้าอยูต่ ่าํ จากปากท่อ 53 เซนติเมตร ส้อมเสี ยงอีกอันหนึ่งมีความถี่ 450 เฮิรตซ์ทาํ
ให้เกิดเสี ยงดัง ครั้งที่สองเมื่อนํ้าอยูต่ ่าํ จากปากท่อ 59 เซนติเมตร และดังครั้งที่สาม เมื่อนํ้าอยูต่ ่าํ จาก
ปาก ท่อ 99 เซนติเมตร ส้อมเสี ยงอันแรกมีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 350 Hz 2. 450 Hz
3. 500 Hz 4. 550 Hz
17. มอเตอร์ไซด์เหมือน ๆ กัน 3 คัน แล่นมาจากปากซอย พอมาถึงกลางซอย คันหนึ่งจอดและดับ
เครื่ องยนต์นาย ก. ซึ่งมีบา้ นอยูส่ ุ ดซอย จะวัดความแตกต่างของระดับความเข้มเสี ยงจาก มอเตอร์ไซด์ที่
ปากซอยกับที่กลาง ซอยได้กี่เดซิเบล
1. 4.3 dB 2. 3.0 dB
3. 2.3 dB 4. 1.2 dB
18. ท่อปลายปิ ดอันหนึ่งยาว 5 เซนติเมตร เมื่อนําส้อมเสี ยงมาเคาะแล้วจ่อที่ปากท่อพบว่าจะเกิดกําทอน
(การสัน่ พ้อง) กับลําอากาศในท่อพอดี ถ้าเสี ยงในอากาศมีอตั ราเร็ ว 340 m/s ความถี่ของส้อมเสี ยง จะ
มีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 17 2. 68
3. 680 4. 1700
19. ในการทดลองเรื่ องการวัดความยาวคลื่นเสี ยง ถ้าตําแหน่งลูกสูบใกล้ปากหลอด เรโซแนนซ์มากที่
สุ ด ที่ให้เสี ยงดังมากมีระยะห่ างจากปากหลอด เรโซแนนซ์ x มีค่าเป็ น 20 เซนติเมตร พบว่า
ความถี่ ของสัญญาณเสี ยงมีค่า 520 เฮิรตซ์ การทดลองนี้ จะได้ยนิ เสี ยงดังมากอีกครั้งเมื่อ
1. ลดความถี่เป็ น 130 เฮิรตซ์ 2. ลดระยะทาง x เป็ น 10 เซนติเมตร
3. เพิ่มความถี่เป็ น 1560 เฮิรตซ์ 4. เพิ่มระยะทาง x เป็ น 10 เซนติเมตร
20. เด็กคนหนึ่งยืนอยูท่ ี่ชานชาลาได้ยนิ เสี ยงหวูดรถไฟมีความถี่ 273 Hz จงพิจารณาข้อความ ต่อไปนี้
ก. รถไฟเปิ ดหวูดความถี่ 300 เฮิรตซ์ กําลังแล่นห่างออกไปจากเด็ก
ข. รถไฟเปิ ดหวูดความถี่ 300 เฮิรตซ์ กําลังแล่นเข้าหาเด็ก
ค. รถไฟเปิ ดหวูดความถี่ 273 เฮิรตซ์ กําลังแล่นห่างออกไปจากเด็ก
ง. รถไฟเปิ ดหวูดความถี่ 273 เฮิรตซ์ กําลังแล่นเข้าหาเด็ก
ข้อความที่เป็ นไปได้คือ
1. ก 2. ข
3. ก และ ง 4. ข และ ค
          

10.คลื่นเสี ยง
คลื่นเสี ยง 8 n.surasing@hotmail.com

เฉลยตอนที่10 คลื่นเสี ยง ออกอากาศวันจันทร์ ที่ 20 กรกฎาคม 2552


ข้อ1 = 1 ข้อ2 = 4 ข้อ3 = 1 ข้อ4 = 3 ข้อ5 = 2 ข้อ6 = 1 ข้อ7 = 4
ข้อ8 = 1 ข้อ9 = 1 ข้อ10 = 1 ข้อ11 = 1 ข้อ12 = 2 ข้อ13 = 2 ข้อ14 = 2
ข้อ15 = 2 ข้อ16 = 3 ข้อ17 = 1 ข้อ18 = 4 ข้อ19 = 3 ข้อ20 = 1

10.คลื่นเสี ยง

You might also like