You are on page 1of 12

ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

แบบฝึ กหัด
เรื่ อง หน่ วยและปริมาณทางไฟฟ้ า
1. ระบบหน่ วยและคานาหน้ าหน่ วย
1.1 ระบบหน่วย เอส ไอ (SI Unit)
ระบบหน่วย เอส ไอ เป็ นหน่วยระหว่างชาติที่นิยมใช้ในปั จจุบนั แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ หน่วยพื้นฐาน
และหน่วยอนุพนั ธ์
1.1.1 หน่วยพื้นฐาน (Fundamental Unit)
ตามข้อตกลงในที่ประชุมใหญ่แห่งมาตรา ชัง่ ตวง วัด ระหว่างชาติ ครั้งที่ 11 ได้กาหนดให้
หน่วยพืน้ ฐานมี 9 หน่ วย ดังแสดงไว้ในตารางที่ 1.1
ตารางที่ 1.1 แสดงหน่วยพื้นฐานในระบบ เอส ไอ
ปริ มาณ หน่วยพื้นฐาน สัญลักษณ์
ความยาว (Length) เมตร (Meter) m
มวล (Mass) กิโลกรัม (Kilogram) kg
เวลา (Time) วินาที (Second) s
กระแสไฟฟ้า (Current) แอมแปร์ (Ampere) A
อุณหภูมิเทอร์โมไดนามิกส์ เคลวิน (Kelvin) K
ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา (Candela) cd
ปริ มาณของสสาร โมล (Mole) mol
มุมในแนวระนาบ (หน่วยเสริ ม) เรเดียน (Radian) rad
มุมในวัตถุทรงตัน (หน่วยเสริ ม) สเตอเรเดียน (Steradian) sr

1.1.2 หน่วยอนุพนั ธ์ (Derived Unit)


หน่วยอนุพนั ธ์เป็ นหน่วยผสมที่ได้จากผลคูณหรื อผลหารระหว่างหน่วยพื้นฐาน เช่น พื้นที่
เกิดจากผลคูณระหว่างหน่วยความยาวมีหน่วยเป็ นตารางเมตร(m2) หรื อ ความเร็ว เกิดจากผลหารระหว่างหน่วย
ความยาวกับเวลามีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที ( ms ) เป็ นต้น ส่วนหน่วยอนุพนั ธ์ทางไฟฟ้าที่นิยมใช้ในทฤษฎี
วงจรไฟฟ้าดังแสดงไว้ในตารางที่ 1.2
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

ตารางที่ 1.2 แสดงหน่วยอนุพนั ธ์ทางไฟฟ้า


ปริ มาณ สัญลักษณ์ หน่วย ตัวย่อ การอนุพนั ธ์
ความถี่ (Frequency) f เฮิรตซ์ (Hertz) Hz 1 Hz = 1s−1
แรง (Force) F นิวตัน (Newton) N 1 N = 1kg 2- m
s
พลังงาน (Energy) หรื อ งาน W จูล (Joule) J 1 J = 1Nm
กาลังไฟฟ้า (Electric Power) P วัตต์ (Watt) W 1 W = 1sJ
แรงดันไฟฟ้า (Potential) E โวลต์ (Volt) V 1 V = 1AW
ความต้านทาน (Resistance) R โอห์ม (Ohm)  1  = 1AV
ซีเมนส์
ความนาไฟฟ้า (Conductance) G S 1 S = 1A
V
(Siemens)
คูลอมบ์
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) Q C 1 C = 1A-s
(Coulomb)
ค่าความจุ (Capacitance) C ฟารัด (Farad) F 1 F = 1AV- s
อินดักแตนซ์ (Inductance) L เฮนรี (Henry) H 1 H = 1VA- s
เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnatic
 เวเบอร์ (Weber) Wb 1Wb = 1Vs
Flux)
ความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็ก B เทสลา (Tesla) T 1T = 1mWb2

1. ให้นกั เรี ยนสรุ ปสาระสาคัญของระบบหน่วย เอส ไอ จากเนื้อเรื่ องที่ 1.1

2. จงบอกหน่วยอนุพนั ธ์ของปริ มาณทางไฟฟ้าต่อไปนี้


2.1 ประจุไฟฟ้า 2.2 แรงดันไฟฟ้า

2.3 กาลังไฟฟ้า 2.4 ความต้านทาน


ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

1.2 คานาหน้ าหน่ วย (Prefix)


ตารางที่ 1.3 แสดงค่าและสั ญลักษณ์ของคานาหน้ าหน่ วย
คาอุปสรรค(Prefix) สั ญลักษณ์ เลขยกกาลังฐาน 10 จานวนเต็มปกติ
เอ็กซ์สะ (exa) E 1018 1,000,000,000,000,000,000
เพตะ (peta) P 1015 1,000,000,000,000,000
เทรา (tera) T 1012 1,000,000,000,000
จิกะ (giga) G 109 1,000,000,000
เมกะ (mega) M 106 1,000,000
กิโล (kilo) k 103 1,000
ยูนิต (Unit) - 100 1
มิลลิ (milli) m 10−3 0.001
ไมโคร (micro)  10−6 0.000 001
นาโน (nano) n 10−9 0.000 000 001
พิโก (pico) p ,( ) 10−12 0.000 000 000 001
เฟมโต (femto) f 10−15 0.000 000 000 000 001
อัตโต (atto) a 10−18 0.000 000 000 000 000 001
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

2. ปริมาณทางไฟฟ้ า
ปริ มาณทางไฟฟ้า หมายถึง ค่าต่าง ๆทางไฟฟ้า สามารถแบ่งได้ดงั นี้
2.1 ประจุไฟฟ้ า
ประจุไฟฟ้า (Electric charge) คือ อนุ ภาคทางไฟฟ้าประกอบด้วย อนุ ภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน
โปรตอนจะมีอนุภาคเป็ นประจุบวกและอิเล็กตรอนจะมีอนุภาคเป็ นประจุลบ

จากรู ปที่ 1.2 แสดงภาพจาลองของอะตอมทีม่ ีโครงสร้างคล้ายกับระบบสุริยะ โดยปกติอะตอมจะอยูใ่ น


สภาพเป็ นกลางทางไฟฟ้า คือ มีจานวนโปรตอนกับอิเล็กตรอนเท่ากัน ดังนั้นหากอะตอมมีพลังงานภายนอกมา
กระทา จะทาให้วาเลนซ์อิเล็กตรอนหลุดจากวงโคจรเป็ นอิเล็กตรอนอิสระ (Free electron) ที่แสดงประจุลบ
ส่วนอะตอมทีข่ าดอิเล็กตรอนก็จะแสดงประจุบวก และหากประจุไฟฟ้าทั้งสองถูกวางไว้ใกล้กนั จะทาให้เกิดแรง
ไฟฟ้าขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า โดยประจุไฟฟ้าเหมือนกันจะมีแรงผลักกันและประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะมีแรง
ดึงดูดกัน ดังแสดงในรู ปที่ 1.3
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

กฎของโอห์ ม (Ohm’s Law)

E = IR

เมื่อ E คือแรงดันไฟฟ้า (Voltage; หน่วยเป็นโวลต์)


I คือกระแสไฟฟ้า (Current; หน่วยเป็นแอมแปร์)
R คือความต้านทาน (Resistance; หน่วยเป็นโอห์ม)

3. จากรูปต่อไปนี้ แบตเตอรี่ 12 โวลต์ จ่ายไฟผ่านหลอดไฟฟ้าขนาด 20 โอห์ม จงคานวณหากระแสไฟฟ้าที่ไหลใน


วงจร

วิธีทา
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

การแปลงหน่วยกระแสไฟฟ้า
1 กิโลแอมแปร์ (kA) = 1,000 แอมแปร์ (A)
1 แอมแปร์ (A) = 1,000 มิลลิแอมแปร์ (mA)
= 1,000,000 ไมโครแอมแปร์ (A)
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

2.2.1 ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า

2.2.2 ทิศทางการไหลของกระแสอิเล็กตรอน

2.3 แรงดันไฟฟ้ า
นิ ยามของแรงดันไฟฟ้ า (Voltage) คือ จานวนพลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้า ต่อ
จานวนประจุไฟฟ้านั้น เขียนสมการได้ดงั นี้
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

E = WQ …….. (V) (1.4)

E คือ แรงดันไฟฟ้าหรื อค่าความต่างศักย์ มีหน่วยเป็ นโวลต์ (V)


W คือ พลังงานหรื องาน มีหน่วยเป็ นจูล (J)
Q คือ ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็ นคูลอมบ์ (C)
โดย 1 V = 1C 1J (1.5 )

2.4 กาลังไฟฟ้ า
นิ ยามของกาลังไฟฟ้ า (Electric Power) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้ า ต่อ หนึ่ งหน่ วย
เวลา เขียนสมการได้ดงั ต่อไปนี้

P = W …….( W ) (1.7)
t

P คือ กาลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็ นวัตต์ (W)


W คือ พลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็ นจูล (J)
t คือ เวลา มีหน่วยเป็ นวินาที (s)
และ 1 W = 1J1s (1.8)
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

2.5 พลังงานไฟฟ้ า
พลังงานไฟฟ้า คือ ความสามารถในการใช้กาลังไฟฟ้าของภาระโหลด เช่น พลังงานไฟฟ้า ทาให้
เกิดความร้อน กาลังทางกล เสียงและแสง เป็ นต้น จากสมการของกาลังไฟฟ้าสามารถเขียนสมการได้ดงั นี้
W = EQ และ Q = It ดังนั้น W = EIt

ดังนั้น W = Pt ....... (W-s) (1.11)

เมื่อ W คือ พลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็ นวัตต์-วินาที (W-s)


P คือ กาลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็ นวัตต์ (W)
t คือ เวลา มีหน่วยเป็ นวินาที (s)
หน่ วยของพลังงานไฟฟ้ า
W-s = 1 W × 1 s
W-h = 1 W × 3,600 s
kW-h = 1,000 W × 3,600 s = 1 หน่วย (1 Unit)
2.5.1 แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้า
องค์ประกอบของวงจรไฟฟ้าที่ทาหน้าที่จ่ายแรงดันและกระแสให้กบั โหลด เรี ยกว่า แหล่งกาเนิด
พลังงานไฟฟ้า (Source) แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้าแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

4.หลอดไฟฟ้าขนาด 60 W ถูกเปิ ดใช้งานนาน 6 ชัว่ โมง จะใช้พลังงานไฟฟ้าเท่าไร


วิธีทา

2.6 ความต้ านทานและค่าความนาไฟฟ้ า


2.6.1 ความต้านทาน คือ คุณสมบัติของตัวต้านทานไฟฟ้าที่ตา้ นทานการไหลของกระแสไฟฟ้าที่
ไหลผ่านไปได้มากหรื อน้อยแตกต่างกันเปรี ยบเสมือนกับแรงเสียดทานที่ตา้ นการเคลื่อนที่ นัน่ เอง

5. ต่อหลอดไส้เข้ากับแบตเตอรี่ 12 โวลต์ หลอดไฟฟ้าทนกระแสสูงสุดได้ 0.4 แอมแปร์ จงคานวณหาค่าความ


ต้านทานของไส้หลอด
วิธีทา
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............ เลขที่ ...........

ตัวต้ านทานแบบ 5 แถบสี

You might also like