You are on page 1of 6

ข้ อสอบภาคทฤษฎี

สอบวันที่ 19 เมษายน 2545


เวลา 9.00 - 12.00น.
ศูนย์ โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา
ข้ อ 1 (10 คะแนน)
1.1 (2 คะแนน)
มวล A และ B ยึดติดกับปลายแต่ละข้างของสปริ ง ซึ่ งสปริ งมีมวลน้อยมาก ถูกปล่อย
ให้เคลื่อนที่บนพื้นลื่น ขณะที่มวล A อยูห่ ่างจากกาแพง 1.0 เมตร สปริ งจะมีความยาว
1.5 เมตร ณ เวลาหนึ่งขณะที่สปริ งหดสั้นลงเหลือความยาว 1.2 เมตร จงหาว่ามวล A
จะอยูห่ ่างจากกาแพงเท่าใด

กาแพง 2.0 kg 1.0 kg


A B

1.0 m 1.5 m

1.2 (2 คะแนน)
ab และ cd เป็ นลวดตัวนาผิวเรี ยบวางขนานกันและห่างกัน L ปลาย b และ d ต่อ
คร่ อมตัวต้านทาน R มีสนามแม่เหล็ก B ทิศพุง่ เข้าตั้งฉากกับระนาบ abcd มีลวดตัวนา
ef มวล M ถูกบังคับให้เลื่อนไถลโดยไม่มีแรงเสี ยดทาน ไปบนรางคู่ โดยทามุม  กับ
รางคู่ตลอดเวลา ณ เวลา t = 0 ลวดตัวนานี้กาลังเคลื่อนที่ไปทางขวามือ ด้วยความเร็ ว vo
a. จงหา emf (แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนา) ตอนตั้งต้น (ที่เวลา t = 0 ) ( 0.5 คะแนน)
b. จงหาความเร็ ว v ของลวดตัวนาที่เวลา t ใด ๆ ต่อมา ( 1.5 คะแนน)

        
   B
  a       b   
 e
 L         R 
f
 c d
         

1
หมายเหตุ
NOTE:
 x dx  ln x  C
1.3 ( 2 คะแนน)
เมื่อเอาวัตถุวางไว้ที่ตาแหน่ง A หน้าเลนส์นูนบางอันหนึ่ ง พบว่าขนาดของภาพเสมือนมี
ขนาดเท่ากับขนาดของภาพจริ งที่ได้ เมื่อเอาวัตถุวางไว้ที่ตาแหน่ง B จงหาสู ตรสาหรับ
ความยาวโฟกัส ( f ) ของเลนส์นูนนี้ ในเทอมของ a และ b

B A เลนส์นูนบาง
a

1.4 ( 2 คะแนน)
ทรงกลมตันมวล M และรัศมี r เริ่ มกลิ้งจากสภาพนิ่งโดยไม่มีการไถลลงมาจากตาแหน่ง
ตั้งต้นที่ทามุม  o , กับแนวดิ่ง สู่ ดา้ นล่าง (B) ของอ่างทรงกลมที่มีรัศมีภายใน R
จงหาสู ตรสาหรับอัตราเร็ วเชิงมุมสู งสุ ดของทรงกลม M รอบแกนที่ผา่ นจุดศูนย์กลาง
มวลของมัน
กาหนดให้ : โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกลมตัน รอบแกนที่ผา่ นศูนย์กลางมวล มีค่า
2
เท่ากับ Mr 2 .
5

C
o R g
M
r

B
1.5 ( 2 คะแนน)
ดรรชนีหกั เหของคลื่นวิทยุในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟี ยร์ สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปของ

2
nionosphere  1 
A

โดยที่ A เป็ นค่าคงตัว และ  เป็ นความยาวคลื่นของคลื่นวิทยุ สมมติวา่ ชั้นบรรยากาศ


ไอโอโนสเฟี ยร์ มีขอบด้านล่างที่คมชัดที่ความสู ง h เหนือผิวโลก

2

1 h

R R

พิจารณาคลื่นที่ออกจากผิวโลก โดยที่ทามุม  เทียบกับแนวดิ่ง ณ จุดที่ออกดังที่แสดง


ในรู ป ให้  1 เป็ นมุมตกกระทบที่คลื่นนี้ทากับขอบด้านล่างของไอโอโนสเฟี ยร์
จงหาความยาวคลื่นที่ส้ นั ที่สุดของคลื่นวิทยุที่สามารถสะท้อนกลับหมดจาก
ไอโอโนสเฟี ยร์ ได้ เมื่อคลื่นนั้นถูกส่ งจากผิวโลก ที่ทามุม  เทียบกับแนวดิ่ง เราเรี ยก
ความยาวคลื่นนี้วา่ ความยาวคลื่นสุด ๆ ( ฮ่ า ๆๆๆ )
ข้ อ 2. (10 คะแนน)
แท่งทรงกระบอกรัศมี r ถูกยึดตั้งฉากไว้กบั กาแพงดิ่ง มีวงแหวนบางมวล M รัศมี R
(R > r) คล้องบนแท่งทรงกระบอกอีกที วงแหวนนี้สามารถแกว่งในระนาบดิ่งได้โดยไม่
ไถล จงหาปริ มาณต่อไปนี้ (พร้ อมวิธีทา แสดงให้ เห็นว่าได้ คาตอบมาอย่างไร)

g
ระดับที่พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็ นศูนย์
r
R

a. พลังงานศักย์ของวงแหวน (1 คะแนน)
b. พลังงานจลน์ของวงแหวน (2 คะแนน)
d 2
c. ความเร่ งเชิงมุม (4 คะแนน)
dt 2

(แนะนา นักเรี ยนสามารถหาคาตอบนี้ได้โดยการหาอนุ พนั ธ์ของพลังงานกลทั้งหมดของ


ระบบเทียบกับเวลาหรื อการใช้สมการทอร์ กรอบจุดหมุนที่เหมาะสม)
d. ความถี่ของการสั่นด้วยแอมพลิจูดน้อย ๆ (2 คะแนน)
e. จากผลที่ได้มาจงหาความถี่ของการสั่นน้อย ๆ ในกรณี ที่แท่งทรงกระบอกมีขนาดเล็ก
จนมีขนาดเท่ากับเข็ม (1 คะแนน)
d 2x
[แนะนำ : สมการ   k2x มีคาตอบอยู่ในรู ปของ f x(t )  A sinkt  B  ]
dt 2

[กาหนดให้: ทฤษฎีแกนขนาน : I = Icm + mb2, โดยที่ b เป็ นระยะทางระหว่ างแกน


ที่ขนานกับแกนที่ผ่านจุดศูนย์ กลางมวล.]
ข้ อ 3. (10 คะแนน)
จากภาพข้างล่าง ซึ่ งไม่ตรงกับสัดส่ วนจริ ง แสดงท่อที่มีพ้ืนที่ภาคตัดขวางรู ปสี่ เหลี่ยม
ผืนผ้ามีขนาดภายใน เป็ น a และ b ท่อนี้สร้างจากวัสดุที่เป็ นฉนวน บรรจุของเหลว
ความหนาแน่น D และมีสภาพนาไฟฟ้ าเป็ น  โดยในช่วงความยาว L ของท่อตรงกลาง
ผนังด้านบนและด้านล่างทาด้วยโลหะทาให้สามารถส่ งกระแสไฟฟ้ า I ผ่านทะลุของเหลว
ได้ มีสนามแม่เหล็กสม่าเสมอขนาด B ในทิศพุง่ ตั้งฉากเข้าไปในระนาบของกระดาษ
ในบริ เวณระหว่างแผ่นโลหะคู่

a B

ของเหลวนาไฟฟ้ า
แผ่นโลหะคู่

a. ในกรณี ที่มีไฟฟ้ ากระแสตรงไหลผ่าน ทิศดังรู ป จงหาว่าระดับของเหลวในท่อด้าน


ขวามือ จะเคลื่อนที่ลงมาหรื อเลื่อนขึ้นจากระดับเดิม เทียบกับตอนที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ า
อธิ บายว่าได้คาตอบนั้นมาอย่างไร ( 3 คะแนน)

b. จงหาสู ตรสาหรับผลต่างระดับความสู งของของเหลวในท่อด้านซ้ายและด้านขวา , h ,


ในรู ปของ I, B, D, b และ g. (4 คะแนน)
c. จงหาสู ตรสาหรับพลังงานที่สูญเสี ยไปเป็ นความร้อนต่อหนึ่งหน่วยเวลาในของเหลว
เมื่อระดับของเหลวในท่อสองข้างต่างกัน h จงคานวณปริ มาณความร้อนที่สูญเสี ย
ในของเหลวต่อหนึ่งหน่วยเวลาเมื่อ a = b = 1.0 cm, L = 10 cm, h = 1.0 cm,
B = 1.0 T, D = 1.2103 kg/m3 .และของเหลวเป็ นสารละลายที่มีสภาพนาไฟฟ้ า
 = 1.0 -1m-1 ใช้ g = 9.8 m/s2. ( 3 คะแนน)

หมายเหตุ สภาพนาไฟฟ้ ามีค่าเท่ากับส่ วนกลับของสภาพต้านทานไฟฟ้ า

***********************

You might also like