You are on page 1of 17

~ 17 ~

บทที่ 2 กฎของคูลอมบ์ และความเข้ มสนามไฟฟ้ า

บทนี้ กล่าวถึงกฎของแรงที่เกิดจากประจุไฟฟ้ าซึ่ งเรี ยกว่าแรงไฟฟ้ าสถิต ซึ่ งเป็ นกฎของคูลอมบ์ โดยกฎนี้
นาไปสู่ ทฤษฎีต่าง ๆ ของสนามไฟฟ้า โดยทฤษฎีดงั กล่าวสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางไฟฟ้ า
สถิตที่เกี่ยวกับแรงระหว่างประจุหยุดนิ่ ง รวมไปถึงการหาสนามไฟฟ้ าที่สอดคล้องกับการกระจายประจุดงั กล่าว
โดยเบื้องต้นจะกล่าวเฉพาะสนามไฟฟ้าในสุ ญญากาศ หรื อที่วา่ ง (free space) ที่เป็ นตัวกลางเท่านั้น

1. การทดลองของกฎลอมบ์
ก่ อนหน้าที่ คูลอมบ์จะคิ ดค้นกฎอของแรงระหว่างประจุ พบว่า ในปี ค.ศ. 1600 Dr. Gilbert นักฟิ สิ กส์ ชาว
อังกฤษ ได้ทาการทดลองจนพบว่า กระจก ซัลเฟอร์ แท่งอาพัน และวัสดุ อื่น ๆ ไม่เพียงแต่จะดู ดสิ่ ง ของที่ มี
น้ าหนักเบาเท่านั้น แต่ยงั ดึงดูดเหล็กทุกชนิด ไม้ ใบไม้ หิ น พื้นโลก แม้กระทัง่ น้ า และน้ ามันด้วย
จากนั้นคูลอมบ์ได้คิดค้นกฎขึ้นมาซึ่ งมีความคล้ายกับกฎแรงโน้มถ่วงของนิ วตัน ซึ่ งกล่าวได้วา่ แรงระหว่าง
วัตถุ ขนาดเล็ก ๆ สองอย่างวางห่ างกันในสุ ญญากาศหรื อพื้นที่ ว่างโดยเป็ นระยะห่ างที่ มากกว่าขนาดของวัตถุ
มาก ๆ จะแปรผันตรงกับประจุไฟฟ้ าของวัตถุ ท้ งั สอง และแปรผกผันกับระยะห่ างระหว่างวัตถุท้ งั สองยกกาลัง
สอง ซึ่ งสามารถเขียนสรุ ปได้ดงั นี้
Q1Q2
F=
4 0 R 2
โดยที่ Q1 และ Q2 หมายถึง ปริ มาณประจุไฟฟ้าบวกหรื อลบ มีหน่วย คูลอมบ์ (C)
R หมายถึง ระยะห่างระหว่างประจุ มีหน่วยเมตร (m)
1
 0 หมายถึง permittivity ของพื้นที่วา่ งมีค่าเท่ากับ 8.854  10−12 =  10−9 F m
36

เนื่ องจากแรงเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ ดังนั้นในการเขี ยนสมการของคู ลอมบ์จะต้องเขีย นในรู ปของเวกเตอร์


โดยหลักที่ควรทราบคือ แรงที่กระทาดังกล่าวจะกระทาในแนวของเส้นตรงที่เชื่ อมระหว่างประจุไฟฟ้ าทั้งสอง
โดยถ้าประจุเหมือนกันจะออกแรงผลักกัน แต่ถา้ ประจุต่างกันจะออกแรงดูดกัน
~ 18 ~

จากรู ปจะเห็ นได้ว่า r1 เป็ นเวกเตอร์ บอกตาแหน่ งของ Q1 และ r 2 เป็ นเวกเตอร์ บอกตาแหน่ งของ Q2
ดังนั้น R12 = r 2 − r1 ซึ่ งเป็ นเวกเตอร์ ที่ลากจาก Q1 ไปยัง Q2 ซึ่ งจากรู ปจะเห็นได้วา่ F 2 เป็ นแรงที่กระทา
บนจุด Q2 ดังนั้นสมการของคูลอมบ์สามารถเขียนใหม่ได้วา่
Q1Q2
F2 = a12
4 0 R122
เมื่อ a12 คือเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยในทิศ R12
แรงที่เกิดขึ้นจากกฎของคูลอมบ์ มองอีกนัยหนึ่ งว่าแรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา ซึ่ งมีขนาดเท่ากันแต่ทิศทาง
ตรงกันข้าม ซึ่ งเขียนได้ดงั นี้
Q1Q2 Q1Q2
F1 = −F 2 = a 21 = − a12
4 0 R122 4 0 R122
กฎของคูลอมบ์มีคุณสมบัติเชิ งเส้น กล่าวคือ ถ้าคูณประจุ Q1 ด้วย m จะทาให้แรงที่กระทาบนประจุ Q2 มี
ค่าเป็ น m เท่าของแรงเดิมด้วย และถ้าประจุมีมากกว่าสองตาแหน่ง แรงลัพธ์ที่เกิดขึ้นบนประจุที่สนใจ จะมีค่า
เท่ากับแรงเนื่องจากประจุอื่น ๆ ทุกจุดรวมกัน (superposition)

ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้จุดประจุ Q1 = 3  10−4 C ที่จุด M (1,2,3) และจุดประจุ Q2 = −10−4 C ที่จุด


N ( 2,0,5) ในบริ เวณพื้นที่วา่ ง จงหาแรงกระทาบน Q2 เนื่ องจาก Q1
~ 19 ~

ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้จุดประจุ QA = −20 C ที่จุด A( −6,4,7 ) และจุดประจุ QB = 50 C ที่จุด


B ( 5,8, −2) ในบริ เวณพื้นที่วา่ ง ถ้าให้ระยะทางเป็ นหน่วยเมตร จงหา a) R AB , b) R AB , c) จงหาเวกเตอร์
ของแรงที่กระทาบนประจุ QA โดย QB

ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ค่าประจุและระยะห่างระหว่างประจุ จงหาแรงที่ 150 C เนื่องจากประจุอื่น ๆ ดังรู ป


~ 20 ~

2. Electric Field Intensity


สมมติให้ประจุ Q1 อยู่นิ่ง แล้วทาการเลื่อนประจุที่สอง เข้ามาในบริ เวณของประจุแรกอย่างช้า ๆ พบว่าจุด
ประจุที่สองมีแรงกระทาเกิ ดขึ้นตลอด กล่าวคือ จุดประจุที่สองอยูใ่ นสนามของแรงที่เกิ ดขึ้นจาก Q1 ซึ่ งเราจะ
เรี ยกประจุที่สองว่าประจุทดลอง Qt พบว่าแรงที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับ
Q1Qt
Ft = a1t
4 0 R12t
โดยที่แรงต่อประจุหนึ่งหน่วย กาหนดให้มีค่าเท่ากับ ความเข้ มสนามไฟฟ้ า (Electric Field Intensity) Et ที่เกิด
จาก Qt จะได้วา่
Ft Q1
Et = = a1t
Qt 4 0 R12t
ซึ่งความหมายของ Et อีกนัยหนึ่งคือ แรงที่กระทาบนประจุทดสอบ 1 หน่วยที่เกิดจากประจุ Q1 ดังนั้น
Ft
Et =
Qt
จากบทนิยามสามารถสรุ ปได้วา่
Q Q r − r
E= a =
2 R
4 0 R 4 0 r − r  r − r 
2

โดยเวกเตอร์ a R เป็ นเวกเตอร์ หนึ่งหน่วยที่มีทิศจากจุดประจุ Q ไปยังตาแหน่งที่ตอ้ งการทราบสนามไฟฟ้า

จะเห็ นได้ว่าสมการของสนามไฟฟ้ าสามารถใช้กฎ superposition ได้เหมื อนกับแรงประจุ ไ ฟฟ้ า อี กทั้งยัง


สามารถใช้กฎอื่น ๆ ได้เหมือนกับอีกด้วย
~ 21 ~

ตัวอย่างที่ 4 จงหา E ที่จุด P (1,1,1) ที่มาจากจุดประจุที่มีค่าเท่ากันทั้ง 4 จุด คือ 3 nC ที่ตาแหน่ง


A(1,1,0) , B ( −1,1,0) , C ( −1, −1,0) , D (1, −1,0 )

ตัวอย่างที่ 5 จุดประจุ −0.3 C ที่ตาแหน่ง A( 25, −30,15) ในหน่วยเซนติเมตร และจุดประจุที่สอง


0.5 C ที่ตาแหน่ง B ( −10,8,12) cm จงหา E ที่ a) จุดกาเนิด , b) จุด P (15,20,50) cm
~ 22 ~

3. Field Arising from a Continuous Volume Charge Distribution


หากในพื้นที่วา่ งที่เราสนใจมีประจุอดั แน่ นเป็ นจานวนมาก สามารถพิจารณาได้เป็ นการกระจายของประจุที่
อธิ บายด้วย ความหนาแน่ นประจุเชิ งปริ มาตร (volume charge density) ซึ่ งกาหนดให้ความหนาแน่ นประจุเชิ ง
ปริ มาตรมี ค่าเท่ากับ v มี หน่ วยเป็ น C m3 โดยสามารถเขี ยนความสัมพันธ์ จะได้ว่า dQ = v dv หรื อ
เขียนได้วา่ Q =  v dv
vol

หากเราทาการหาสนามไฟฟ้ าจากประจุยอ่ ย ๆ จากการที่พิจารณา dv เรามองเหมือนจุดประจุซ่ ึ งเราสามารถ


v dv r − r
ใช้สูตรจะได้วา่ E =  2
vol 4 r − r  r − r
0

ตัวอย่างที่ 6 จงหาประจุท้ งั หมดที่อยูภ่ ายในลาแสงอิเล็กตรอน โดยที่  = 1cm และ 2  z  4 โดยที่มี


v = −5e−10  z C m3
5

1
ตัวอย่างที่ 7 จงหาประจุท้ งั หมดที่อยูภ่ ายในปริ มาตรโดย a) 0.1  x , y , z  0.2 โดย v = 3
x y3 z3
−2 r
b) 0    0.1, 0     , 2  z  4 โดยที่ v =  2 z 2 sin 0.6 , c) universe โดยที่ v = e
r2
~ 23 ~

4. Field of a Line Charge


ในการวิเคราะห์เส้นประจุเราจะพิจารณาคล้าย ๆ กับประจุที่มีลกั ษณะเป็ นปริ มาตร โดยเราจะกาหนดให้ความ
หนาแน่ นประจุ เชิ งเส้ นมี ค่าเท่ากับ l มี หน่ วยเป็ น C m ซึ่ งในการวิเคราะห์เส้นประจุที่เป็ น uniform line
charge คือ เราจะกาหนดให้ความหนาแน่ นประจุ เชิ งเส้ นมี ค่าคงที่ (มีความสม่ าเสมอ) และเส้นลวดยาวตั้ง แต่
− ถึง  ดังรู ป
~ 24 ~

เนื่องจากเส้นประจุไม่จาเป็ นต้องอยูใ่ นตาแหน่งแกน z เสมอไป เช่น เมื่อพิจารณาเส้นประจุดงั กล่าว แต่วาง


ที่ตาแหน่ ง x = x1 , y = y1 หากเราต้องการทราบสนามไฟฟ้ าที่จุด P ( x, y, z ) ให้เริ่ มจากพิจารณาจาก 
ให้เป็ นระยะในแนวรั ศ มี ร ะหว่า งเส้ นประจุ ก ับ จุ ด P ซึ่ ง ก็ คื อ R = ( x − x1 ) + ( y − y1 ) จะได้ว่า
2 2

a  = aR

ตัวอย่ างที่ 8 เส้นประจุที่ขยายไปยังอนันต์ ที่มีความหนาแน่ น 5 nC m วางตัวบนแกน x และ y ในพื้นที่


ว่าง จงหา E ที่จุด a) PA ( 0,0,4) , b) PB ( 0,3,4 )
~ 25 ~

5. Field of a Sheet of Charge


ในการวิเคราะห์ผิวประจุเราจะกาหนดให้ความหนาแน่นประจุเชิ งพื้นที่มีค่าเท่ากับ  s มีหน่วยเป็ น C m
2

ซึ่งในการวิเคราะห์ผวิ ประจุที่มีความหนาแน่นประจุเชิงพื้นที่สม่าเสมอ โดยแผ่นดังกล่าววางบนระนาบ xy และ


มีความกว้างยาวเป็ นอนันต์ ดังรู ป
~ 26 ~

ตัวอย่ างที่ 9 จงหา E ทุกบริ เวณ เมื่อมีแผ่นประจุแรกมีค่าความหนาแน่ นประจุ เชิ งพื้นที่เท่ากับ  s วางอยูท่ ี่
x = 0 และมีแผ่นที่สองมีประจุเชิ งพื้นที่เท่ากับ −s อยู่ที่ x = a โดยผิวประจุท้ งั สองมีความกว้างยาวเป็ น
อนันต์และเป็ นผิวที่มีความสม่าเสมอ

ตัวอย่างที่ 10 จากแผ่นประจุ 3 แผ่นที่มีความกว้างยาวเป็ นอนันต์ภายใต้พ้นื ที่วา่ งโดยที่แผ่นที่ 1 คือ


3 nC m , z = −4 แผ่นที่ 2 คือ 6 nC m , z = 1 และ แผ่นที่ 2 คือ −8 nC m , z = 4 จงหา E
2 2 2

ที่จุด a) PA ( 2,5, −5) , b) PB ( 4,2, −3) , c) Pc ( −1, −5,2 ) , d) PD ( −2,4,5)


~ 27 ~

แบบฝึ กหัด
1. ก าหนดให้จุดประจุ 2 จุ ดมี ค่ า ประจุ Q วางที่ ตาแหน่ ง ( x,0) และ (− x,0) จงหาตาแหน่ ง จุ ดบนแกน
(0, a) ที่ทาให้สนามไฟฟ้ามีค่ามากที่สุดและมีค่าเท่ากับเท่าใด

Ans y = a , E=
Q
ay V m
( 3) a
3
2  0 2

2. กาหนดให้เส้นประจุยาว l วางอยูบ่ นแกน z โดยมีความหนาแน่นของประจุเชิงเส้นสม่าเสมอเท่ากับ l


จงหาสนามไฟฟ้าที่จุด P ซึ่ งวางห่างจากเส้นประจุยาวออกไป a
l l
Ans E = az V m
4 0 a ( a + l )
~ 28 ~

3. (ข้อสอบปี 58 8 คะแนน) แผ่นจานกลมซึ่ งมีรัศมี a มีประจุ Q กระจายสม่าเสมอ วางอยูบ่ นระนาบ z = 0


โดยมีจุดศูนย์ที่จุดกาเนิด จงหาสมการสนามไฟฟ้าที่จุด z ใด ๆ ที่อยูบ่ นแกนที่ต้ งั ฉากกับแผ่นประจุน้ ี
Q  z 
Ans E = 1 −  az V m
2 0 a 2  z +a 
2 2

4. (ข้อสอบปี 58 8 คะแนน, สมการ 7 คะแนน แทนค่า 1 คะแนน) จากข้อ 3 หากมี เส้ นประจุ ยาว a มีประจุ
กระจายสม่าเสมอ q วางอยูบ่ นแกน z โดยปลายด้านหนึ่ งของเส้นประจุอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางของแผ่นประจุพอดี
โดยมีฉนวนที่บางมากคัน่ ไว้ จงหาสมการของแรงที่เส้นประจุได้รับ และจากสมการที่ได้จงคานวณขนาดและ
ทิศทางของแรงเมื่อ Q = 0.1 mC , q = 0.05 mC , a = 0.3 ตัวกลางเป็ นที่วา่ ง

Ans F =
( 2 − 2 ) qQ a z N , F = 584.976a z N
2 0 a 2
~ 29 ~

5. (ข้อสอบปี 56 14 คะแนน) บางส่ วนบนแกน z ซึ่ ง z  2 มีประจุกระจายสม่ าเสมออยูไ่ ม่สม่ าเสมอด้วย


สมการ 10 z nC m ส่ วนบริ เวณอื่น ๆ ไม่มีประจุ จงหาสนามไฟฟ้ า ในที่วา่ ง ณ ตาแหน่ง a) ( 0,4,0) และ
b) ( 0,0,4)
~ 30 ~

6. แผ่น ประจุ ท รงสี่ เ หลี่ ย มจัตุ รั ส ที่ ต าแหน่ ง z = −3 ในบริ เ วณ −2  x  2 , − 2  y  2 โดยมี ค วาม
หนาแน่นประจุเชิงพื้นที่เท่ากับ 2 ( x2 + y 2 + 9 ) nC m2 จงหาความเข้มสนามไฟฟ้าที่จุดกาเนิด

7. (ข้อสอบปี 54 7 คะแนน) เส้นประจุครึ่ งวงกลมมีรัศมี R มีประจุสม่าเสมอเท่ากับ Q จงหาสนามไฟฟ้าที่จุด


กาเนิด ดังรู ป
~ 31 ~

8. วงแหวนรัศมี R มีประจุไฟฟ้ากระจายสม่าเสมอ Q วางอยูบ่ นระนาบ z = 0 โดยมีจุดศูนย์กลางที่จุดกาเนิ ด


จงหาสนามไฟฟ้าที่อยูบ่ นจุด (0,0, z ) และจงหาค่า z ที่ทาให้มีค่าสนามไฟฟ้ามากที่สุด

9. จากข้อ 8 หากมีเส้นประจุที่มีประจุสม่ าเสมอเท่ากับ q วางในแกน z โดยมีความยาวเท่ากับ a ซึ่ งวางห่ าง


จากจุดศูนย์กลางของเส้นลวดวงแหวนเป็ นระยะทาง b จงหาแรงที่วงแหวนทาเส้นประจุ
~ 32 ~

10. (ข้อสอบปี 58 เทอม 2 10 คะแนน)แผ่นตัวนาบางรู ปครึ่ งทรงกลมมีรัศมี R มีประจุกระจายอย่างสม่าเสมอ


s C m2 ดังรู ป จงหาสมการของแรงที่กระทาต่อจุดประจุ q ที่วางอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางของวงกลม P และจาก
สมการที่ ไ ด้จ งค านวณหาขนาดของแรงที่ ก ระท าต่ อ จุ ด ประจุ เมื่ อ s = 10 C m2 , q = −2C และ
R = 0.12m โดยพิจารณาในพื้นที่วา่ ง
Ans F = q s a y N , F = 0.5647a y N
4 0
~ 33 ~

11. (ข้อสอบปี 60 เทอม 2) ให้จุดประจุวางบนระนาบ xy ที่มีลกั ษณะเป็ นวงกลมอย่างสมมาตร จานวน 8 จุ ด


ประจุ ซึ่ ง มี ค่ า ประจุ เท่ า กับ Q จงหาตาแหน่ ง บนแกน z ที่ ท าให้ส นามไฟฟ้ าสู งสุ ด และจงหาค่ า สนามไฟฟ้ า
ดังกล่าว

You might also like