You are on page 1of 40

Electromagnetic Theory

1
เนื้อหา อ. สุ ทธินาถ

• สนามไฟฟ้าสถิต
• ศักย์ไฟฟ้าและพลังงาน
• เทคนิคพิเศษสาหรับการคานวณศักย์ไฟฟ้า
• สนามไฟฟ้าในสสารไดอิเล็กทริกเชิงเส้นและปั ญหา
ค่าขอบเขต

2
เนื้อหา อ. วรศักดิ์

• สนามแม่เหล็กสถิต
• การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า
• สมการแมกซ์เวลล์
• การแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวกลาง

3
เนื้อหา อ. สุ ทธินาถ
• การบ้าน 10 %
• การเข้าเรี ยน 5 %
• สอยย่อย 5 %
• สอบกลางภาค 30%

4
เอกสารอ้ างอิง

 ฟิ สิ กส์ สาหรับมหาวิทยาลัย
 University_Physics_with_Modern_Physics
 ไฟฟ้ า แม่ เหล็ก อ. สุ ปราณี ลิม้ สุ วรรณ

5
6
7
บทที่ 1 สนามไฟฟ้า
กฏของคูลอมป์
(Coulomb’s Law)

8
เมื่อ q คือประจุไฟฟ้า, r คือระยะห่ างระหว่างประจุไฟฟ้า และ คือ
ค่าความซาบซึ ม ได้ของสนามไฟฟ้ าของสุ ญญากาศ (permittivity
of free space) มีค่าเท่ากับ 8.854 x 10-12 F/m, n คือจานวนประจุ, e
คือประจุไฟฟ้าพื้นฐานมีค่าเท่ากับ 1.61 x 10-19 C
9
เวกเตอร์ของแรงไฟฟ้ าทีก่ ระทาบนจุดประจุ

10
11
ตัวอย่ างที่ 1
จุดประจุด q1, q2, และ q3 วางตรงมุมสามเหลี่ยมดังรู ป กาหนด q1=q3=5.0
C และ q2=2.0 C จงหาแรงลัพธ์บนประจุ q3 ที่เกิดจากประจุ q1 กระทา
บน q3 และ q2 กระทาบน q3

12
ตัวอย่ างที่ 1
จุดประจุด q1, q2, และ q3 วางตรงมุมสามเหลี่ยมดังรู ป กาหนด
q1=q3=5.0 C และ q2=2.0 C จงหาแรงลัพธ์บนประจุ q3

13
14
15
สนามไฟฟ้า (electric field)

16
สนามไฟฟ้า (electric field)

𝐹Ԧ
𝐸 =
𝑞0

เมื่อ E คือ สนามไฟฟ้า หน่วยเป็ น นิวตัน/คูลอม


F คือ แรงทางไฟฟ้าที่กระทาต่อประจุ
q0 คือ ประจุทดสอบ
17
สนามไฟฟ้า (electric field)

18
เวกเตอร์ ของสนามไฟฟ้า

19
เวกเตอร์ ของแรงและสนามไฟฟ้า
แรงเนื่องจากประจุบวก แรงเนื่องจากประจุลบ

สนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุบวก สนามไฟฟ้าเนื่องจากประจุลบ

20
เส้ นสนามไฟฟ้าจากจุดประจุ

21
ตัวอย่ างที่ 2

จุดประจุ q1= 7.0 uC วางที่จุดกาเนิด


(0,0) และประจุ q2=- 5.0 uC วางที่
ตาแหน่ง (0.3, 0)m แสดงดังรู ป จงหา
ขนาดสนามไฟฟ้าที่จุด P ซึ่ งอยูห่ ่าง
จากจุดกาเนิ ด (0, 0.4)m

22
จุดประจุ q1= 7.0 uC วางทีจ่ ุดกาเนิด (0,0) และประจุ q2=- 5.0 uC
ตัวอย่ างที่ 2 วางทีต่ าแหน่ ง (0.3, 0)m แสดงดังรู ป จงหาขนาดสนามไฟฟ้ าทีจ่ ุด P
ซึ่งอยู่ห่างจากจุดกาเนิด (0, 0.4)m

23
24
ตัวอย่ างที่ 3
แผ่นประจุสม่าเสมอ +q=12 nC และ –q=12nC วางห่างกันเป็ นระยะ 10 cm แผ่น
ประจุท้งั สองมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่ อม 100V แสดงดังรู ป ถ้าเริ่ มต้นมีอเิ ล็กตรอน
เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็วต้น v0 ตามแนวนอน (แกน x) จงแสดงสมการการเคลื่อนที่
ทางโค้ง (ประจุขนาดเท่ากันแต่ประจุต่างกันเรี ยกว่า electric dipole (ขั้วคู่ไฟฟ้า))

25
แผ่นประจุสม่าเสมอ +q=12 nC และ –q=12nC วางห่างกันเป็ นระยะ 10 cm แผ่นประจุ
ทั้งสองมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่ อม 100V แสดงดังรู ป ถ้าเริ่ มต้นมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่
ตัวอย่างที่ 3 ด้วยความเร็วต้น v0 ตามแนวนอน (แกน x) จงแสดงสมการการเคลื่อนที่ทางโค้ง
(ประจุขนาดเท่ากันแต่ประจุต่างกันเรี ยกว่า electric dipole (ขั้วคู่ไฟฟ้า))

26
ขั้วคู่ไฟฟ้า (electric dipole)

27
28
29
ตัวอย่ างที่ 4
y

ประจุไฟฟ้าแบบขั้วคู่ (dipole) ประกอบด้วยประจุ


บวกและลบขนาด q เท่ากัน วางห่างกันเป็ นระยะ
2a ดังรู ป จงหาสนามไฟฟ้าที่เกิดจากขั้วคู่ไฟฟ้านี้ที่
จุด P ซึ่งอยูบ่ นแกน y (y>>a)

30
ตัวอย่ างที่ 4
ประจุไฟฟ้าแบบขั้วคู่ (dipole) ประกอบด้วยประจุ
บวกและลบขนาด q เท่ากัน วางห่างกันเป็ นระยะ
2a ดังรู ป จงหาสนามไฟฟ้าที่เกิดจากขั้วคู่ไฟฟ้านี้ที่
จุด P ซึ่งอยูบ่ นแกน y (y>>a)

31
32
สนามไฟฟ้ าเนื่องจากประจุกระจายตัวอย่ างต่ อเนื่อง

33
สนามไฟฟ้ าเนื่องจากประจุกระจายตัวอย่ างต่ อเนื่อง

34
ตัวอย่ างที่ 5

35
36
ตัวอย่ างที่ 6
วงแหวนรัศมี a มีประจุรวม Q กระจายตัวอย่างสม่าเสมอจงหา
สนามไฟฟ้าเนื่องจากวงแหวนที่จุด P ซึ่ งวางห่ างจากจุดศูนย์กลาง
ตามแนวแกนกลางตั้งฉากกับวงแหวนเป็ นระยะ x ดังรู ป

37
38
39
เส้นสนามไฟฟ้า (electric field lines)

723, 752 40

You might also like