You are on page 1of 17

13.

2 กฎของคูลอมบ์

กฎของคูลอมบ์

จุดประสงค์การเรียนรู้
 อธิบายและคำนวณแรงที่กระทำต่อกันระหว่างจุด
ประจุ ตามกฎของคูลอมบ์
 อธิบายและคำนวณแรงไฟฟ้ าลัพธ์ที่กระทำต่อจุด
ประจุ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

ในหัวข้อที่ผ่านมา นักเรียนได้เห็นว่าท่อพีวีซีที่มี
ประจุไฟฟ้ าสามารถดูดเศษกระดาษชิ้นเล็ก ๆ ได้ หรือ
ทำให้แผ่นโลหะบางในอิเล็กโทรสโคปกางออก เมื่อมีการ
เหนี่ยวนำประจุไฟฟ้ า แสดงว่ามีแรงระหว่างวัตถุเกิดขึ้น
เมื่อวัตถุนั้นมีประจุไฟฟ้ า

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

คูลอมบ์ได้ทดลองเพื่อศึกษาแรง
ระหว่างประจุไฟฟ้ า โดยใช้อุปกรณ์
ดังรูป ซึ่งมีส่วนประกอบสำคัญ ได้แก่
คานเล็ก ๆ ที่ทำด้วยฉนวนและมีทรง
กลมเล็ก ๆ ติดที่ปลายคาน A และ B
ข้างละลูก ดังรูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

โดยแขวนคานกับลวดเงินเส้น
เล็ก ๆ ให้คานวางตัวอยู่ในแนวระดับ
ทรงกลมเล็ก ๆ อีกลูกหนึ่งคือ C อยู่
ใกล้ A เมื่อทำให้ C และ A มีประจุ C

จะเกิด
แรง F ระหว่างประจุบน C และ
A ซึ่งอยู่ห่างกันเป็ นระยะ r คูลอมบ์
พบว่า ขนาดของแรงระหว่างประจุ
ขึ้นอยู่กับขนาดของประจุ และระยะ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

คูลอมบ์ได้ทำการทดลองเพื่อศึกษาแรงระหว่าง
ประจุไฟฟ้ า สรุปได้ดังนี้
ขนาดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้ าทั้งสอง มีค่า
แปรผันตามผลคูณขนาดประจุแต่ละตัว และแปรผกผัน
กับกำลังสองของระยะห่างระหว่างประจุทั้งสอง เรียกว่า
กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’s law)
kq1qตามสมการ
2
F
r2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์
kq1q2
F 2
r
1
k คือ ค่าคงตัวคูลอมบ์
k มีค่าประมาณ
9.0  10 นิวตัน เมตร2ต่
9

4
ลอมบ์
0
2

q2, q1 คือ (Nm


ขนาดของประจุทั้งสอง
2
/C2) มีหน่วยเป็ น คูลอมบ์ (C)
r คือ ระยะห่างระหว่างจุดประจุทั้งสอง มีหน่วยเป็ น เมตร (m)
F คือ แรงระหว่างประจุไฟฟ้ าทั้งสอง มีหน่วยเป็ น นิวตัน (N)
คือ สภาพยอมในสุญญากาศ (permittivity of free space)
มีค่าประมาณ 8.8542 x 10-12 C2/Nm2
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

ทิศทางของแรงที่ประจุกระทำต่อกันจะอยู่ในแนว
เส้นตรงที่ลากเชื่อมต่อระหว่างประจุคู่นั้น ๆ ถ้าประจุทั้ง
สองเป็ นชนิดเดียวกัน (บวกทั้งคู่ หรือ ลบทั้งคู่) แรงที่
กระทำต่อประจุทั้งสองเป็ นแรงผลัก และมีทิศชี้ออกจาก
กันในแนวเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างประจุทั้งสอง ดังรูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

ถ้าประจุทั้งสองเป็ นคนละชนิด
(บวกและลบ) แรงที่กระทำต่อ
ประจุทั้งสองเป็ นแรงดึงดูด และ
มีทิศทางชี้เข้าหากันในแนวเส้น
ตรงที่เชื่อมระหว่างประจุทั้ง
สอง ดังรูป
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน แรงที่วัตถุที่
หนึ่งกระทำต่อวัตถุที่สองมีขนาดเท่ากับแรงที่วัตถุที่สอง
กระทำต่อวัตถุที่หนึ่ง แต่มีทิศทางตรงข้ามกัน ดังนั้น แรงที่
ประจุ q1 กระทำต่อประจุ q2 และแรงที่ประจุ q2 กระทำต่อ
 
ประจุ q1 จึงเป็ นแรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยาตามกฎการเคลื่อนที่
F12   F21
 
ข้อที่สามของนิวตัน นั่นคือ F12  F21

เมื่อ F12

คือ แรงที่ประจุ q2 กระทำต่อประจุ q1
F21 คือ แรงที่ประจุ q1 กระทำต่อประจุ q2
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

ตัวอย่าง ประจุ -2.5 และ 6.0 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน


1.0 เมตร ดังรูป

จงหาแรงไฟฟ้ าที่กระทำต่อประจุ -2.5 ไมโครคูลอมบ์


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์
kq1q2
ตัวอย่าง หาขนาดแรงไฟฟ้
F  2 าจาก
r ระบบนี้
ประกอบด้วยประจุบวกและประจุลบ ซึ่งจะเกิด
แรงดึงดูดระหว่างกัน โดยทิศทางของแรงที่กระทำจะ
วิธีทำ อยู่ในแนวเส้นตรงซึ่งเชื่อมระหว่างประจุทั้งสอง
แทนค่า1 โดยมี
6 6
q   2 . 5  10 C q 2  6 . 0  10 C r  1 . 0 m k  9 . 0  10 9
Nm 2
/C 2

ทิศทางพุ่งเข้าหากัน
F 2
kq1q2
r
(9.0  109 Nm 2 /C)(2.5  10 6 C)(6.0  10 6 C)

(1.0 m) 2
 0.135 N
ตอบ แรงไฟฟ้ าที่กระทำต่อประจุ -2.5 ไมโครคูลอมบ์ เมื่ออยู่
ห่าง 1.0 เมตร มีค่า 0.14 นิวตัน โดยมีทิศไปทางขวา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

สำหรับระบบหลายประจุ N เมื่อพิจารณาแรงลัพธ์ที่
กระทำต่อประจุหนึ่ง ๆ ในระบบ ต้องหาแรงไฟฟ้ าลัพธ์
เนื่องจากประจุอื่น ๆ ในระบบที่กระทำต่อประจุนั้น ๆ โดยหา
ได้จากผลรวมแบบเวกเตอร์ของแรงไฟฟ้ าที่กระทำต่อประจุนั้น
เช่น แรงไฟฟ้ าที่กระทำต่อประจุ
F1  F12  F13  Fq141 เนื่องจากประจุ
    
  F1N q2, q3, …, qN
เท่ากับ  N 
F1   F1i
i 2
 kq1q2  
เมื่อ
kq1q3 kq1q N
F12  2 , F13  2 ,..., F1N  2
r12 r13 r1N

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

แรงไฟฟ้ าของระบบประจุ 3 ประจุ และการรวมแบบเวก


เตอร์ของแรงไฟฟาที่กระทำต่อประจุ q1

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

ตัวอย่าง จุดประจุ 1.0, 2.0 และ -0.3 ไมโครคูลอมบ์ อยู่ที่


ตำแหน่ง (0.0,0.0),
(-3.6,0.0) และ (0.0,4.8) เมตร ตามลำดับ ดังรูป จงหาแรง
ไฟฟ้ าลัพธ์ที่กระทำต่อประจุ 1.0 ไมโครคูลอมบ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

แนวคิด แรงไฟฟ้ าลัพธ์ที่กระทำต่อประจุ 1.0 ไมโครคูลอม


บ์ มาจากแรงผลักของประจุ 2.0 ไมโครคูลอมบ์ ใน
kq1q2
ทิศทาง +x และแรงดึงดูดของประจุ r 2 ไมโครคูลอมบ์
F  -0.3

ในทิศทาง +y โดยหาขนาดของแรงทั้งสองจาก

วิธีทำ ให้F12แล้วจึงรวมแรงทั้งสองแบบเวกเตอร์
แทนแรงที่ประจุ 2.0 ไมโครคูลอมบ์ กระทำต่อ

ประจุ
F13 1.0 ไมโครคูลอมบ์ และ แทนแรงที่ประจุ -0.3

ไมโครคูลอมบ์ กระทำต่อประจุkq1q2
F12  2 1.0 ไมโครคูลอมบ์
r12
จะได้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์
(9.0  109 Nm 2 /C)(1.0  10 6 C)(2.0  10 6 C)
F12 
(3.6 m) 2
 1.39  10 3 N โดยแรง F12 อยู่ใน

ทิศ
kq1q3
F13  2 +x
r13
F
(9.0  10 Nm /C)(1.0  10 6 C)(3.0  10 6 C)
9 213

F13 
(4.8m) 2
 1.17  10 3 N

และแรง นี้อยู่ในทิส +y ขนาดแรงไฟฟ้ าลัพธ์ที่กระทำต่อประจุ


1.0 ไมโครคูลอมบ์ หาได้จาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
13.2 กฎของคูลอมบ์

F1  F122  F132

 (1.39  10 3 N)2  (1.17  10 3 N)2

 1.82  10 3 N
F13
ทิศของแรงลัพธ์หา tan  
F12
ได้จาก 1  F13 
หรือ   tan  
 F12 
 1.17  10 3
N
 tan 
1
3

 1.39  10 N 
 tan 1 0.842  40.1
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like