You are on page 1of 52

บทที่ 3

การรับรู้จากระยะไกล

ทบทอง ชั้นเจริญ
หัวข้อ
• 3.1 นิยามของการรับรู้จากระยะไกล
• 3.2 องค์ประกอบของการรับรู้จากระยะไกล
• 3.3 หลักการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
• 3.4 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับสภาพแวดล้อมของโลก
• 3.5 ดาวเทียม
• 3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล
• 3.7 การประยุกต์ใช้ข้อมูลการรับรู้จากระยะไกล
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
• 1. อธิบายความหมายของการรับรู้จากระยะไกลได้
• 2. จาแนกองค์ประกอบของการรับรู้จากระยะไกลได้
• 3. อธิบายหลักการของการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
• 4. อธิบายปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับสภาพแวดล้อมของโลกได้
• 5. จาแนกประเภทของดาวเทียมได้
• 6. จาแนกระบบเครื่องมือตรวจวัดได้
• 7. อธิบายการประยุกต์ใช้ข้อมูลการรับรู้จากระยะไกลได้
บทนา
• ในการศึกษาวัตถุ พื้นที่ ปรากฏการณ์ธรรมชาติและสภาพแวดล้อมบนโลก รวมไปถึงอวกาศ เมื่อแรกเริ่มมีเพียง
การสังเกตอยู่ในช่วงคลื่นที่สายตามนุษย์มองเห็นเท่านั้น อีกทั้งการศึกษาในบริเวณกว้างและห่างไกลยังดาเนินไป
ด้วยความยากลาบาก ความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของโลกและอวกาศจึงยังถูกจากัดอยู่ด้วยเทคโนโลยีเท่าที่มี
ตามยุคสมัย ในปัจจุบันวิทยาการด้านการรับรู้จากระยะไกลมีเครื่องมือตรวจวัดที่สามารถรับรู้ข้อมูลในช่วงคลื่น
อื่น ๆ นอกเหนือจากที่มนุษย์มองเห็นได้และสามารถมองเห็นได้ไกลมากขึ้น รวมถึงพัฒนาการของเทคโนโลยี
สารสนเทศด้านอื่นทาให้การศึกษาโลกและอวกาศถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
3.1 นิยามของการรับรู้จากระยะไกล
• รีโมตเซนซิง (Remote Sensing) เริ่มถูกนามาใช้เป็นครั้งแรกโดยนักวิจัยในประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ ปี ค.ศ.
1960 เป็นต้นมา ซึ่งเป็นช่วงที่การตรวจวัดจากระยะไกลด้วยดาวเทียมได้รับการพัฒนาขึ้นมาอย่างรวดเร็ว
โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
• การส ารวจข้ อ มู ล จากระยะไกล การตรวจวั ด ข้ อ มู ล จากระยะไกล และระบบสั ม ผั ส ระยะไกล โ ดย
ราชบัณฑิตยสถานกาหนดศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกว่า การรับรู้จากระยะไกล
• โดยสรุป การรับรู้จากระยะไกล หมายถึง ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของการได้ของสารสนเทศที่
น่าเชื่ อ ถือเกี่ ยวกับ วัตถุ พื้นที่แ ละปรากฏการณ์ ของทรัพ ยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของโลก ผ่า น
กระบวนการการบันทึก การตรวจวัด และแปลตีความภาพถ่ายและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเลขที่แสดงในรูปแบบของ
พลังงานด้วยระบบบันทึกสัญญาณที่ไม่ได้สัมผัสวัตถุ พื้นที่ หรือปรากฏการณ์เหล่านั้น
3.2 องค์ประกอบของการรับรู้จากระยะไกล
• 3.2.1 แหล่งที่มาของรังสีหรือสัญญาณที่ใช้ในการตรวจวัด (Energy/signal source)
• 3.2.1.1 รังสีที่วัตถุแผ่ออกมาเองตามธรรมชาติ (Natural radiation หรือ emission)
• 3.2.1.2 แสงอาทิตย์ที่สะท้อนออกมาจากผิวด้านนอกของวัตถุ (Reflected sunlight)
• 3.2.1.3 สัญญาณจากเครื่องตรวจวัดที่สะท้อนกลับมาจากตัววัตถุเป้าหมาย (Reflected sensor’s signal)
3.2 องค์ประกอบของการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.2 ระบบตรวจวัดจากระยะไกล (Remote sensing system) โดยทั่วไปประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ
• 3.2.1 สถานีติดตั้ง (Platform)
• 3.2.2 อุปกรณ์ตรวจวัด (Remote sensor)
• 3.3 ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing system)
ภาพที่ 3.1 องค์ประกอบของการรับรู้จากระยะไกล
3.3 หลักการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
• โดยปกติพลังงานจะถูกถ่ายโอนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยอาศัยรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งของ 3 รูปแบบ
• 1. การนาความร้อน (Conduction) เกี่ยวข้องกับการชนกันของอะตอมหรือโมเลกุล
• 2. การพาความร้อน (Convection) เป็นการถ่ายโอนพลังงานภายในเนื้อของวัสดุในรูปของอนุภาค
• 3. การแผ่รังสี (Radiation) คือ รูปแบบที่พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าถ่ายโอนพลังงาน ผ่านตัวกลางหรือสุญญากาศ
ภาพที่ 3.2 การถ่ายโอนพลังงาน
3.3 หลักการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (ต่อ)
• แบบจาลองที่นิยมนามาใช้ในการอธิบายคุณลักษณะของแม่เหล็กไฟฟ้าคือ แบบจาลองเชิงคลื่น (Wave model)
• โดยการแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดจากความแปรผันของการสั่นตามปกติของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
โดยรอบอนุภาคที่มปี ระจุ
• คลื่นที่คล้ายสัญญาณรบกวนถูกส่งออกจากแหล่งกาเนิดด้วยความเร็วเท่ากับแสง (3x108 m.s-1) สนามไฟฟ้า
และสนามแม่เหล็กถูกสร้างขึ้นโดยการสั่นของอนุภาคเอง
• สนามของแรงทั้งสองที่สัมพันธ์กันจะตั้งฉากซึ่งกันและกัน และจะตั้งฉากกับทิศทางของการเคลื่อนที่
ภาพที่ 3.3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3.3 หลักการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (ต่อ)
• การแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้นตามความยาวคลื่นที่ต่อเนื่อง
• ความถีข่ องคลื่นจากความยาวคลื่นที่สั้นซึ่งมีความถี่สูงไปยังความยาวคลื่นที่ยาวซึ่งมีความถี่ต่า
• แบ่งประเภทตามขอบเขตของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum) ทีแ่ ตกต่างกัน
ภาพที่ 3.4 สเปกตรัมของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า
3.3 หลักการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (ต่อ)
• การศึกษาเรื่องการแผ่รังสีที่เป็นแบบจาลองของตัวดูดซับ (Absorber) และตัวแผ่รังสี (Radiator) ของการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
อย่างสัมบูรณ์ คือ วัตถุดา (Blackbody)
• โดยวัตถุดาเป็น วัตถุ (สสารสมมุติ ) ซึ่งดูดซับการแผ่รังสีที่ตกกระทบทั้งหมด และปลดปล่อยการแผ่รังสีในปริมาณที่สูงสุดทุก
อุณหภูมิ
• โดยกฎที่ใช้ศึกษาการแผ่รังสีเรียกว่า กฎของสเตฟาน-โบลท์มานน์ (Stefan-Boltzmann' Law)
• การแผ่พลังงาน (Emissive power) ทั้งหมดของวัตถุดาเป็นสัดส่วนกับกาลังสี่ของอุณหภูมิสัมบูรณ์ (T) ของวัตถุ
• M =  T4
• โดยที่ M คือ การแผ่รังสี (Radiant emittance) (W.m-2)
•  คือ ค่าคงที่สเตฟานโบลซ์มานน์ (Stefan-Boltzmann Constant) = 5.6697x10-8 W.m-2.˚K-4
• T คือ อุณหภูมิสัมบูรณ์ (˚K) ของวัสดุที่ปลดปล่อยพลังงาน
3.3 หลักการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (ต่อ)
• ในขณะที่อุณหภูมิของวัตถุดาเพิ่มขึ้น ความยาวคลื่นสูงสุดของการแผ่รังสีจะเลื่อนตาแหน่งไปทางความยาวคลื่นสั้นของสเปกตรัม
• ตัวอย่างคือ การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์และโลก ดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 6000˚K ความยาวคลื่นการแผ่รังสี
สูงสุด (max) เท่ากับ 0.5 ไมครอน (µm) โลกมีอุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 300˚K ความยาวคลื่นการแผ่รังสีสูงสุด เท่ากับ 9.0
ไมครอน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า พลังงานที่แผ่รังสีออกมาแปรผันไปตามอุณหภูมิและความยาวช่วงคลื่น ดังนั้นเมื่อทราบอุณหภูมิก็
สามารถคานวณหาความยาวคลื่นได้
• โดยกฎที่ใช้ศึกษาการเลื่อนตาแหน่งของการแผ่รังสีเรียกว่า กฎการเลื่อนตาแหน่งของวีน (Wien's Displacement Law)
• ความยาวคลื่นสูงสุดการแผ่รังสีของวัตถุดาเป็นสัดส่วนผกผันกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ (T) ของตัววัตถุดา ดังแสดงในสมการที่ 3.2
• max = C3 /T
• โดยที่ max คือ ความยาวคลื่นสูงสุดการแผ่รังสีของวัตถุดา
• C3 คือ ค่าคงที่ มีค่าเท่ากับ 2,897 µm.K
• T คือ อุณหภูมิสัมบูรณ์ (˚K)
3.3 หลักการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (ต่อ)
• อย่างไรก็ตาม ในการคานวณหาพลังงานต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่สาหรับความยาวคลื่นหนึ่ง ๆ ซึ่งมีความสาคัญต่อการประเมินสัดส่วนของการเปล่งรังสีในการ
ออกแบบเครื่องมือตรวจวัดและการแปลตีความข้อมูล สามารถคานวณได้ โดยกฎที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์อุณหภูมิและการแผ่รังสีเรียกว่า กฎของแพลงต์
(Planck's Law)
• กฎข้อนี้ใช้อธิบายความสัมพันธ์เชิงสเปกตรัมระหว่างอุณหภูมิและคุณสมบัติการแผ่รังสีของวัตถุดา
 c
M = 1
  c /  T 
5  e 2 − 1

 
• โดยที่ M คือ การเปล่งรังสีเชิงคลื่น (Spectral radiant emittance) (W.m-2.µm-1)
 คือ ค่าสัมประสิทธิ์การแผ่รังสี (Emissivity)
 คือ ความยาวคลื่น
e คือ ค่าคงที่ มีค่าเท่ากับ 2.718
C1 คือ ค่าคงที่การแผ่รังสีลาดับที่หนึ่ง มีค่าเท่ากับ 3.74151 x108 W.m-2.µm4
C2 คือ ค่าคงที่การแผ่รังสีลาดับที่สอง มีค่าเท่ากับ 1.433879 x104 µm.K
T คือ อุณหภูมิสัมมบูรณ์ (˚K)
ภาพที่ 3.5 กราฟความสัมพันธ์ของความยาวคลื่นการแผ่รังสีสูงสุด
กับอุณหภูมิสัมบูรณ์
3.4 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับสภาพแวดล้อมของโลก
• 3.4.1 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในบรรยากาศ
• 3.4.2 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับรูปลักษณ์บนพื้นผิวโลก
• 3.4.3 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับพืชพรรณ ดิน และน้า
3.4.1 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในบรรยากาศ
• 3.4.1 การกระเจิง (Scattering) คือ การเปลี่ยนทิศทางของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าโดยอนุภาคที่ลอยในบรรยากาศหรือ
โมเลกุลขนาดใหญ่ของแก๊สในบรรยากาศ การลดทอนของพลังงานซึ่งเกิดจากการกระเจิงโดยอนุภาคที่แขวนลอยใน
บรรยากาศจะเกี่ยวข้องกับความยาวคลื่นของการแผ่รังสี ความเข้มข้นและเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาค ความหนาแน่น
เชิงแสง (Optical density) ของบรรยากาศ และสภาพการดูดซับ (Absorptivity) ของบรรยากาศ
• 3.4.2 การดูดซับ (Absorption) คือ การกักเก็บพลังงานจากการแผ่รังสีโดยสสารหรือวัตถุ การดูดซับจะเกี่ยวข้องกับ
การแปลงรังสีตกกระทบ (Incident radiation) บางส่วนให้เป็นความร้อน และจะแผ่รังสีพลังงานนั้นออกมาภายหลังอีก
ครั้งในขนาดความยาวคลื่นที่ยาวกว่าเดิม การดูดซับจากการแผ่รังสีเกิดขึ้นเมื่อบรรยากาศถูกปิดกั้นหรือลดทอนการ
ส่งผ่านของการแผ่รังสีหรือพลังงานผ่านชั้นบรรยากาศ ได้แก่ โอโซน (Ozone) คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide)
และไอน้า (Water vapor)
• 3.4.3 การหักเห (Refraction) คือ การดัดโค้งของรังสีแสง ณ ตาแหน่งสัมผัสระหว่างสองตัวกลางที่แสงส่งผ่าน เมื่อ
การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าส่งผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง การหักเหจะเกิดขึ้นเนื่องจากความหนาแน่นของ
ตัวกลางที่แตกต่างกัน
ภาพที่ 3.6 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในบรรยากาศ
3.4.2 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับรูปลักษณ์บน
พื้นผิวโลก
• เมื่อพลังงานการแผ่รังสีทะลุผ่านชั้นบรรยากาศ พลังงานจะส่งถึงรูปลักษณ์ของโลกก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ของ
พลังงานกับรูปลักษณ์บนพื้นผิวโลก ปฏิสัมพันธ์ของการแผ่รังสีกับรูปลักษณ์บนพื้นโลก
• 3.4.2.1 การส่งผ่าน (Transmission) ระบบการรับรู้จากระยะไกลส่วนใหญ่ทางานในช่วงความยาวคลื่นที่
อาศัยพลังงานจากการสะท้อนเป็นหลัก หากนาหลักการของการอนุรักษ์พลังงาน (Principle of conservation
of energy) มาประยุกต์ใช้ สามารถแสดงในรูปสมการได้ดังนี้
• ER() = EI() -[EA() + ET()]
• โดยที่ ER แทนพลังงานที่ถูกสะท้อน (Reflected energy) EI แทนพลังงานที่ตกกระทบ (Incident energy) EA
แทนพลังงานที่ถูกดูดกลืน (Absorbed energy) ET แทนพลังงานที่ถูกส่งผ่าน (Transmitted energy) และ 
คือ ความยาวคลื่น สมการนี้เป็นสมการความสมดุลของพลังงาน (Energy balance equation)
3.4.2 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับรูปลักษณ์บน
พื้นผิวโลก (ต่อ)
• 3.4.2.2 การสะท้อน (Reflection) ได้แก่
• การสะท้อนแสงตรง (Specular reflection) จะเกิดกับพื้นที่ผิวที่มีลักษณะราบเรียบคล้ายการสะท้อนแสงในกระจก ถ้า
พื้นผิวมีความขรุขระรังสีที่จะสะท้อนไปในหลายทิศทาง เรียกว่า การสะท้อนแสงทุกทิศทาง (Diffuse reflection) ถ้า
พื้นผิวขรุขระมากจะไม่มีการสะท้อนเกิดขึ้นแต่จะเกิดการกระเจิง (Scattering) เรียกว่า การสะท้อนแสงทุกทิศทางแบบ
สัมบูรณ์ (Perfectly diffuse surface) โดยเรียกพื้นผิวประเภทนี้ว่า พื้นผิวแบบแลมเบิรท์ (Lambertian surface) โดย
พลังงานความเข้มของการแผ่รังสีจะสะท้อนแสงออกจากทุกมุมการสะท้อนของพื้นผิวปกติด้วยค่าคงที่
• 3.4.2.3 การดูดซับ คือ การกักเก็บพลังงานจากการแผ่รังสีโดยสสารหรือวัตถุ โดยจะเกี่ยวข้องกับการแปลงรังสีตก
กระทบบางส่วนให้เป็นความร้อน และจะแผ่รังสีพลังงานนั้นออกมาภายหลังอีกครั้ง ในขนาดความยาวคลื่นที่ยาวกว่าเดิม
ซึ่งเป็นกระบวนการทางกายภาพลักษณะเดียวกันกับการดูดซับของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในบรรยากาศ ดังที่กล่าวไป
แล้ว โดยตัวดูดซับพลังงานจะขึ้นอยู่กับชนิดหรือลักษณะของสสารหรือวัตถุที่แสงอาทิตย์ตกกระทบเป็นสาคัญ เช่น พืช
พรรณ น้า และดิน เป็นต้น
ภาพที่ 3.7 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับรูปลักษณ์บน
พื้นผิวโลก
3.4.3 ปฏิสัมพันธ์ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้ากับพืชพรรณ ดิน และน้า
• คุณลักษณะของการสะท้อนของพื้นผิวโลกจะอธิบายในเชิงปริมาณ
• โดยการวัดค่าที่สัมพันธ์กับความยาวคลื่น เรียกว่า การสะท้อนเชิงคลื่น (Spectral reflectance)
• วัตถุแต่ละประเภทบนพื้นผิวโลกจะมีคุณลักษณะการสะท้อนเชิงคลื่นหรือการแผ่รังสีเชิงคลื่นที่เป็นเอกลักษณ์
เฉพาะตัว
• ดังนั้นจึงสามารถจาแนกรูปลักษณ์บนพื้นผิวโลกบนพื้นฐานของคุณสมบัติเชิงคลื่นของวัตถุเหล่านั้น
ภาพที่ 3.8 กราฟความสัมพันธ์ของการสะท้อนเชิงคลื่นกับพืชพรรณ
ดิน และน้า
3.5 ดาวเทียม
• ดาวเทียม (Satellites) หมายถึง วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเลียนแบบดาวเคราะห์ เพื่อให้โคจรรอบโลกหรือฟากฟ้า
อื่น มีอุปกรณ์สาหรับบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศและส่งข้อมูลนั้นกลับมายังสถานีภาคพื้นดินบนโลก
ภาพที่ 3.9 ดาวเทียมประเภทต่าง ๆ
3.5 ดาวเทียม (ต่อ)
• 3.5.1 การใช้งาน
• 3.5.1.1 ดาวเทียมดาราศาสตร์ (Astronomical satellites)
• 3.5.1.2 ดาวเทียมสื่อสาร (Communications satellites)
• 3.5.1.3 ดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก (Earth observation satellites)
• 3.5.1.4 ดาวเทียมนาร่อง (Navigation satellites)
• 3.5.1.5 ดาวเทียมจารกรรม (Reconnaissance satellites)
• 3.5.1.6 ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา (Meteorological satellites)
• 3.5.1.7 ดาวเทียมขนาดเล็ก (Miniaturized satellites)
• 1) Smallsatellites มีน้าหนักต่ากว่า 1,000 กิโลกรัม
• 2) Minisatellites มีน้าหนักระหว่าง 500-200 กิโลกรัม
• 3) Microsatellites มีน้าหนักต่ากว่า 10 กิโลกรัม
• 3.5.1.8 สถานีอวกาศ (Space stations)
3.5 ดาวเทียม (ต่อ)
• 3.5.1 วงโคจร
• 3.5.1.1 วงโคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun-synchronous orbit) เป็นวงโคจรในแนวเหนือ-ใต้และผ่านแนวละติจูด
หนึ่ง ๆ ณ เวลาท้องถิ่นเดียวกัน ส่วนใหญ่เป็นวงโคจรสาหรับดาวเทียมสารวจทรัพยากร บางครั้งอาจเรียกว่า วงโคจรตามตะวัน
• 1) วงโคจรผ่านขั้วโลก (Polar orbit) เป็นวงโคจรที่มีรูปลักษณะเป็นวงกลมโดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวขั้วโลก โคจรที่ระดับความสูง 500-
1,000 กิโลเมตรจากพื้นโลก (วงโคจรระดับต่า) เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 28,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง ใช้เวลาในการโคจรรอบโลกประมาณ 90 นาที/รอบ
และเป็นวงโคจรลักษณะเดียวที่สามารถให้พื้นที่บริการได้ครอบคลุมทั่วโลก
• 2) วงโคจรเอียง (Inclined orbit) เป็นวงโคจรที่มีรูปลักษณะเป็นทั้งวงกลมและวงรี โดยจะมีอยู่เป็นจานวนมากแตกต่างกันไปตามความเอียง
(Incline) หรือมุมที่ทากับระนาบศูนย์สูตรและความรีของวงโคจรมากน้อยเพียงใด โคจรอยู่ที่ระดับความสูง 5,000-13,000 กิโลเมตรจากพื้นโลก
สามารถให้พื้นที่บริการบริเวณละติจูดสูงหรือต่ามาก ๆ ได้ หรืออาจจะครอบคลุมพื้นที่แถวขั้วโลกได้ด้วย
• 3.5.1.2 วงโคจรระนาบศูนย์สูตร (Equatorial orbit) เป็นวงโคจรในแนวระนาบ มีลักษณะการโคจรเป็นรูปวงกลม โคจรในแนว
ระนาบกับเส้นศูนย์สูตร ถ้าเป็นดาวเทียมที่โคจรที่ระดับความสูง 36,000 กิโลเมตรจากพื้นโลก จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับ
ความเร็วที่โลกหมุนรอบตัวเอง (24 ชั่วโมง) จึงเสมือนว่าตาแหน่งของดาวเทียมคงที่ตลอดเวลา เรียกว่า วงโคจรค้างฟ้า (Geo-
stationary orbit) และเรียกดาวเทียมที่โคจรในวงโคจรนี้ว่า ดาวเทียมค้างฟ้า (Geo-stationary satellites) ส่วนใหญ่จะเป็น
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาและดาวเทียมสื่อสาร เช่น ดาวเทียมไทยคม เป็นต้น
ภาพที่ 3.10 วงโคจรของดาวเทียม

(ก) วงโคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (ข) วงโคจรระนาบศูนย์สูตร


3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล
• 3.6.1 ระบบกรอบ (Framing system)
• 3.6.2 ระบบการสแกน (Scanning system)
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล
• 3.6.1 ระบบกรอบ (Framing system) บันทึกลักษณะภูมิประเทศภายใต้พื้นที่หรือกรอบในเวลาเดียวกัน เช่น
กล้องถ่ายรูป (Cameras) การทางานของระบบกรอบ คือ กล้องถ่ายภาพใช้เลนส์สาหรับสร้างรูปภาพของ
ลักษณะภูมิประเทศบนระนาบโฟกัส (Focal plane) มีการกาหนดช่วงเวลาสาหรับเปิดซัตเตอร์เพื่อถ่ายภาพ
โดยปล่อยให้แสงผ่านเข้าสู่ตัวกล้อง หลังจากนั้นภาพของลักษณะภูมิประเทศที่ถ่ายจะถูกบันทึกบนฟิล์ม
ภาพที่ 3.11 การบันทึกภาพการรับรู้จากระยะไกลของระบบกรอบ
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2 ระบบการสแกน (Scanning system)
• ระบบการสแกนใช้ตัวตรวจวัด (Detector) แบบเดี่ยวที่มีสนามมุมอง (Field Of View : FOV) ขนาดเล็กที่กวาด
ผ่าน ภูมิประเทศเพื่อผลิตภาพ เมื่อโฟตอนของพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าจากการแผ่รังสีหรือการสะท้อนจากภูมิ
ประเทศผ่านเข้าเครื่องมือตรวจวัด สัญญาณไฟฟ้าที่ถูกส่งเข้าในระบบจะแปรผันตามสัดส่วนของจานวนโฟตอน
หลังจากนั้นจะถูกขยายพร้อมทั้งบันทึกบนเทปแม่เหล็ก โดยในการสแกนของเครื่องตรวจวัดจะกวาดสนาม
มุมมองผ่านภูมิประเทศเรียงตามลาดับของเส้นแนวสแกนที่ขนานกัน

• 3.6.2.1 ระบบการสแกนแบบแพสซิฟ (Passive scanning system)


• 3.6.2.2 ระบบสแกนแบบแอ็กทิฟ (Active scanning system)
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2.1 ระบบการสแกนแบบแพสซิฟ (Passive scanning system)
• เป็นระบบเครื่องมือตรวจวัดที่บันทึกพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งธรรมชาติซึ่งคือ ดวงอาทิตย์ เป็นหลัก

• 1) ระบบการสแกนแบบมัลติสเปคทรัล (Multispectral scanning system)


• 2) ระบบการสแกนแบบไฮเปอร์สเปคทรัล (Hyperspectral scanning system)
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2.1 ระบบการสแกนแบบแพสซิฟ (Passive scanning system)
• เป็นระบบเครื่องมือตรวจวัดที่บันทึกพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งธรรมชาติซึ่งคือ ดวงอาทิตย์ เป็นหลัก

• 1) ระบบการสแกนแบบมัลติสเปคทรัล (Multispectral scanning system)


• ทาการบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่น ระหว่าง 0.30-14.00 ไมโครเมตร
• 1.1) ระบบการสแกนขวางแนวโคจร (Cross-track scanning system)
• 1.2) ระบบการสแกนขนานแนวโคจร (Along-track scanning system)
• 1.3) ระบบการสแกนแบบวงกลม (Circular scanning system)
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2.1 ระบบการสแกนแบบแพสซิฟ (Passive scanning system)
• เป็นระบบเครื่องมือตรวจวัดที่บันทึกพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งธรรมชาติซึ่งคือ ดวงอาทิตย์ เป็นหลัก

• 1) ระบบการสแกนแบบมัลติสเปคทรัล (Multispectral scanning system)


• ทาการบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่น ระหว่าง 0.30-14.00 ไมโครเมตร
• 1.1) ระบบการสแกนขวางแนวโคจร (Cross-track scanning system)
• ทางานโดยใช้กระจกที่หมุนโดยมอเตอร์ไฟฟ้า โดยกระจกจะหมุนและกวาดผ่านภูมิประเทศในรูปแบบของเส้นสแกนที่ตั้งฉาก
กับแนวการเคลื่อนที่ และถูกโฟกัสบนตัวตรวจจับของกระจกลาดับทีส่ อง
ภาพที่ 3.12 การบันทึกข้อมูลของเครื่องสแกนขวางแนวโคจร
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2.1 ระบบการสแกนแบบแพสซิฟ (Passive scanning system)
• เป็นระบบเครื่องมือตรวจวัดที่บันทึกพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งธรรมชาติซึ่งคือ ดวงอาทิตย์ เป็นหลัก

• 1) ระบบการสแกนแบบมัลติสเปคทรัล (Multispectral scanning system)


• ทาการบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่น ระหว่าง 0.30-14.00 ไมโครเมตร
• 1.2) ระบบการสแกนขนานแนวโคจร (Along-track scanning system)
• ทางานโดยใช้ตัวตรวจวัดแต่ละตัวสาหรับบันทึกพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าจากการแผ่รังสีหรือการสะท้อนจากภูมิประเทศทาง
ภาคพื้นดินในแต่ละจุดภาพตามระยะทางของการสแกน โดยตัวตรวจวัดจะถูกวางเป็นแบบอาร์เรย์เชิงเส้น (Linear array)
และบันทึกข้อมูลเป็นแนวขนานไปกับการเคลื่อนที่
ภาพที่ 3.13 การบันทึกข้อมูลของเครื่องสแกนขนานแนวโคจร
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2.1 ระบบการสแกนแบบแพสซิฟ (Passive scanning system)
• เป็นระบบเครื่องมือตรวจวัดที่บันทึกพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งธรรมชาติซึ่งคือ ดวงอาทิตย์ เป็นหลัก

• 1) ระบบการสแกนแบบมัลติสเปคทรัล (Multispectral scanning system)


• ทาการบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่น ระหว่าง 0.30-14.00 ไมโครเมตร
• 1.3) ระบบการสแกนแบบวงกลม (Circular scanning system)
• ทางานโดยใช้มอเตอร์หมุนกระจกที่ใช้ในการสแกนซึ่งถูกติดตั้งในแกนแนวดิ่งของการหมุน กวาดภาพในแนววงกลมบน
ภูมิประเทศ นิยมนาไปใช้สาหรับการสารวจขั้นต้น (Reconnaissance) โดยเฮลิคอปเตอร์หรือเครื่องบินที่มีเพดานบินต่า
ภาพที่ 3.14 การบันทึกข้อมูลของเครื่องสแกนแบบวงกลม
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2.1 ระบบการสแกนแบบแพสซิฟ (Passive scanning system)
• เป็นระบบเครื่องมือตรวจวัดที่บันทึกพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากแหล่งธรรมชาติซึ่งคือ ดวงอาทิตย์ เป็นหลัก

• 2) ระบบการสแกนแบบไฮเปอร์สเปคทรัล (Hyperspectral scanning system)


• เป็นระบบเครื่องมือตรวจวัดที่สามารถบันทึกภาพของช่วงคลื่นแคบ ๆ ได้ต่อเนื่องกันเป็นจานวนมากจนถึงหลายร้อยช่วงคลื่น
ภาพที่ 3.15 การบันทึกข้อมูลของเครื่องสแกนแบบไฮเปอร์สเปคทรัล
3.6 ระบบเครื่องมือตรวจวัดในการรับรู้จากระยะไกล (ต่อ)
• 3.6.2.2 ระบบสแกนแบบแอ็กทิฟ (Active scanning system)
• ระบบจะสร้างพลังงานของตนเองขณะปฏิบัติงานและบันทึกพลังงานที่กระเจิงจากภูมิประเทศขณะกลับสูจ่ าน
รับสัญญาณ (Antenna)
• ระบบสแกนที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ระบบการสแกนด้ า นข้ า ง (Side scanning system) ของระบบเรดาร์ (Radar
system) ที่ส่งคลื่นไมโครเวฟออกทางด้านข้างของแนวบินและรอรับสัญญาณที่กระเจิงกลับมาสร้างภาพ หรือ
ระบบส่งสัญญาณประเภทอื่น เช่น ไลดาร์ (Lidar system) ที่ส่งสัญญาณแสงเลเซอร์ระดับปานกลางในช่วงคลื่น
ที่สั้นกว่าช่วงคลื่นที่สายตามองเห็นและอินฟราเรดใกล้เพื่อใช้วัดและสร้างแบบจาลองความสูงของพื้นผิวที่มี
ประสิทธิภาพสูง และ ระบบโซนาร์ (Sonar system) ที่ส่งสัญญาณคลื่นเสียงผ่านลงในน้าเพื่อบันทึกข้อมูลความ
ลึกของท้องทะเล
ภาพที่ 3.16 การบันทึกข้อมูลของเครื่องสแกนด้านข้าง
3.7 การประยุกต์ใช้ข้อมูลการรับรู้จากระยะไกล
• ข้อ มูล การรับ รู้ จ ากระยะไกลถูก นาไปประยุ ต์ใ ช้ กั น อย่ างกว้า งฃวางโดยเฉพาะข้อ มูล ภาพเชิ ง เลขถ่ า ยจาก
ดาวเทียมสารวจทรัพยากร เริ่มจากการแปลตีความด้วยสายตาจากภาพถ่าย ภาพพิมพ์ หรือฟิล์ม หลังจากนั้น
เมื่อพัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีเพิ่มขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลภาพเชิงเลขส่วนใหญ่จึงอาศัยระบบ
คอมพิวเตอร์เป็นหลัก
• นอกจากนี้สถานีติดตั้งตัวตรวจวัดที่ทันสมัยยังทาให้มีข้อมูลมาใช้ติดตามสภาพแวดล้อมโลกและภายนอกโลกได้
อย่างสะดวกรวดเร็ว โดยสามารถนาไปใช้ร่วมกับข้อมูลอื่น เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมได้อย่าง
มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยแนวทางในการประยุ ก ต์ ใ ช้ ข้ อ มู ล การรั บ รู้ จ ากระยะไกลในด้ า นต่ า ง ๆ เช่ น ป่ า ไม้
เกษตรกรรม และการใช้ที่ดิน เป็นต้น
ภาพที่ 3.17 การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้
ในเขตเมืองอาร์นสทัดท์ ประเทศเยอรมัน

(ก) ภาพถ่ายจากดาวเทียมสปอต (ข) การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินของป่าไม้


ภาพที่ 3.18 การประเมินพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ภาพที่ 3.19 การประเมินพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ในประเทศสหรัฐอเมริกา

(ก) การใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน (ข) การใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน


บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเล
ปี ค.ศ. 1976 ปี ค.ศ. 2000

(ค) การใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน (ง) การใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน


บริเวณพื้นที่ภูเขาสูง บริเวณพื้นที่ภูเขาสูง
ปี ค.ศ. 1976 ปี ค.ศ. 2000
?

You might also like