You are on page 1of 124

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี

ASSUMPTION COLLEGE THONBURI

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา การวิเคราะห์
เชิงฟิ สิกส์
รหัสวิชา ว 33215 ระดับชัน
้ ม.6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565
ครูผู้สอน นางสาวพิชชาพร ประยูรอนุเทพ
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1

ข้ อ 4. เข้ าใจความสัมพันธ์ของ 18. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ พลังค์เสนอสมมติฐานเพื่ออธิบายการแผ่รังสีของวัตถุดำ หน่ วยการเรี ยนที่ 4 ฟิ สิกส์ 30


ความร้ อนกับการเปลี่ยน ทฤษฎีอะตอมของโบร์ และการเกิด ซึง่ สรุปได้ วา่ พลังงานที่วตั ถุดำดูดกลืนหรื อแผ่ออกมามีคา่ อะตอม
อุณหภูมิและสถานะของสสาร เส้ นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ได้ เฉพาะบางค่าเท่านัน้ และค่านี ้จะเป็ นจำนวนเท่าของ 4.1 สมมติฐานของพลังค์และ
สภาพยืดหยุน่ ของวัสดุและมอ รวมทังคำนวณปริ
้ มาณต่าง ๆ ที่ hf เรี ยกว่า ควอนตัมพลังงาน โดยแสงความถี่ f จะมี ทฤษฎีอะตอมของโบว์
ดุลสั ของยัง ความดันในของไหล เกี่ยวข้ อง พลังงานตามสมการ E=nhf 4.2 ปรากฎการณ์โฟโต้ อิเล็ก
แรงพยุง และหลักของอาร์ คิมีดิ ทริ ก
ทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนที่เสนอโดยโบร์ อธิบายว่า 4.3 ทวิภาวะของคลื่นและ
ส ความตึงผิวและแรงหนืดของ 19. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็ก
อนุภาค
ของเหลว ของไหลอุดมคติ และ ทริกและคำนวณพลังงานโฟตอน อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงได้
สมการแบร์ นลู ลี กฎของแก๊ ส พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอน โดยไม่แผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ถ้ าอิเล็กตรอนมีการเปลี่ยน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ สอุดมคติและ และฟั งก์ชนั งานของโลหะ วงโคจรจะมีการรับหรื อปล่อย
พลังงานในระบบทฤษฎีอะตอม พลังงานในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามสมมติฐานของ
ของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิ พลังค์ ซึง่ สามารถนำไปคำนวณรัศมีวงโคจรของ
เล็กทริ ก ทวิภาวะของคลื่นและ อิเล็กตรอนและพลังงานอะตอมของไฮโดรเจนได้ ตาม
อนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรง
( ) ( ) ตาม
2 2 4
h −1 m k e 1
นิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ สมการ r n = n
2
และ n 2 h2 n 2
E =
mke2
พลังงานนิวเคลียร์ ฟิ สิกส์ ลำดับ
อนุภาค รวมทังนำความรู
้ ้ ไปใช้
ประโยชน์ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ สามารถนำไปคำนวณ
ความยาวคลื่นของแสงในสเปกตรัมเส้ นสว่างของอะตอม
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1

ไฮโดรเจน ตามสมการ
1
λ [
1 1
=R H 2 − 2
n f ni ]
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ กเป็ นปรากฏการณ์ที่
อิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะเมื่อมีแสงที่มีความถี่เหมาะ
สมมาตกกระทบ โดยจำนวน โฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดจะ
เพิ่มขึ ้นตามความเข้ มแสงและพลังงานจลน์สงู สุดของโฟ
โตอิเล็กตรอนจะขึ ้นกับความถี่ของแสงนัน้ โดยพลังงาน
ของแสงหรื อโฟตอนตามสมมติฐานของพลังค์
ไอน์สไตน์อาศัยกฎการอนุรักษ์ พลังงานและ
สมมติฐานของพลังค์ อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ ก
ตามสมการ hf =W + Ek max

การทดลองพลังงานจลน์สงู สุดของโฟโตอิเล็กตรอน
และฟั งก์ชนั งานของโลหะคำนวณได้ จากสมการ
Ek =e V s และ W =h f 0 ตามลำดับ
max
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1

20. อธิบายทวิภาวะของคลื่นและ การค้ นพบการแทรกสอดและการเลี ้ยวเบนของ


อนุภาค รวมทังอธิ
้ บาย และคำนวณ อิเล็กตรอนสนับสนุนความคิดของเดอบรอยล์ที่เสนอว่า
ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ อนุภาคแสดงสมบัติของคลื่นได้ โดยเมื่ออนุภาคประพฤติ
ตัวเป็ นคลื่นจะมีความยาวคลื่น เรี ยกว่า ความยาวคลื่นเด
อบรอยล์ซงึ่ มีคา่ ขึ ้นกับโมเมนตัมของอนุภาค ตามสมการ
λ=h/p
จากความคิดของไอน์สไตน์และเดอบรอยล์ ทำให้
สรุปได้ วา่ คลืน่ แสดงสมบัติของอนุภาคได้ และอนุภาค
แสดงสมบัติของคลื่นได้ สมบัติดงั กล่าวเรี ยกว่า ทวิภาวะ
ของคลื่นและอนุภาค
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1

21. อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความ กัมมันตภาพรังสีเป็ นปรากฏการณ์ที่ธาตุกมั มันตรังสีแผ่ หน่ วยการเรี ยนที่ 5 ฟิ สิกส์ 30


แตกต่างของรังสีแอลฟา บีตา และ รังสีได้ เองอย่างต่อเนื่อง รังสีที่ออกมามี 3 ชนิด คือ นิวเคลียร์  
ข้ อ 4. เข้ าใจความสัมพันธ์ของ 5.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส
ความร้ อนกับการเปลี่ยน แกมมา แอลฟา บีตา และแกมมา
อุณหภูมิและสถานะของสสาร การแผ่รังสีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียสของธาตุ 5.2 กัมมันตภาพรังสี
สภาพยืดหยุน่ ของวัสดุและมอ กัมมันตรังสี ซึง่ เขียนแทนได้ ด้วยสมการ 5.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ และ
ดุลสั ของยัง ความดันในของไหล พลังงานนิวเคลียร์
การสลายให้ แอลฟา
แรงพยุง และหลักของอาร์ คิมีดิ
A
ส ความตึงผิวและแรงหนืดของ Z X → A− 4 4
Z−2Y + 2 He

ของเหลว ของไหลอุดมคติ และ


สมการแบร์ นลู ลี กฎของแก๊ ส
การสลายให้ อนุภาคบีตาลบ
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ สอุดมคติและ
พลังงานในระบบทฤษฎีอะตอม
A
Z X → Z +1AY + −10e + ν e
ของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิ
เล็กทริ ก ทวิภาวะของคลื่นและ
อนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรง การสลายให้ อนุภาคบีตาบวก
นิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ A
Z X → Z−1AY + +10e + ν e
พลังงานนิวเคลียร์ ฟิ สิกส์
อนุภาค รวมทังนำความรู
้ ้ ไปใช้
ประโยชน์ การสลายให้ แกมมา
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1
A A ¿
Z X→ Z X +γ

22. อธิบาย และคำนวณกัมมันตภาพ ในการสลายของธาตุกมั มันตรังสี อัตราการแผ่รังสีออกมา


ของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ในขณะหนึง่ เรี ยกว่า กัมมันตภาพ ปริ มาณนี ้บอกถึงอัตรา
ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวน การลดลงของจำนวนนิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสี
นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีท่เี หลือจาก คำนวณได้ จากสมการ A=λN
การสลาย และครึ่งชีวติ ช่วงเวลาที่จำนวนนิวเคลียสลดลงเหลือครึ่งหนึง่ ของ
จำนวนเริ่ มต้ น เรี ยกว่า ครึ่งชีวติ โดยจำนวนนิวเคลียส
กัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลายและครึ่งชีวิต
ln 2
คำนวณได้ จากสมการ N=N 0 e−λt และ T 1=
λ
2

ตามลำดับ
23. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพ ภายในนิวเคลียสมีแรงนิวเคลียร์ ที่ใช้ อธิบายเสถียรภาพ
ของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว ของนิวเคลียส
รวมทังคำนวณปริ
้ มาณต่าง ๆ ที่ การทำให้ นิวคลีออนในนิวเคลียสแยกออกจากกันต้ อง
เกี่ยวข้ อง ใช้ พลังงานเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยว ซึง่ คำนวณได้ จาก
ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน ตามสมการ
2
E=( Δ m ) c
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1

นิวเคลียสที่มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนสูงจะมี
เสถียรภาพดีกว่านิวเคลียสที่มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลี
ออนต่ำ โดยพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน คำนวณได้
2
E ( Δm) c
จากสมการ A
=
A

24. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ชชัน ปฏิกิริยาที่ทำให้ นิวเคลียสเกิดการเปลี่ยนแปลงองค์


และฟิ วชันรวมทังคำนวณพลั
้ งงาน ประกอบหรื อระดับพลังงาน เรี ยกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์
นิวเคลียร์ ฟิ ชชันเป็ นปฏิกิริยาที่นิวเคลียสที่มีมวลมากแตกออก
เป็ นนิวเคลียสที่มีมวลน้ อยกว่า ส่วนฟิ วชันเป็ นปฏิกิริยาที่
นิวเคลียสที่มีมวลน้ อยรวมตัวกันเกิดเป็ นนิวเคลียสที่มี
มวลมากขึ ้น
พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากฟิ ชชันหรื อฟิ วชัน
เรี ยกว่า พลังงานนิวเคลียร์ ซึง่ มีคา่ เป็ นไปตามความ
สัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงานตามสมการ E=( Δm ) c 2
25. อธิบายประโยชน์ของพลังงาน พลังงานนิวเคลียร์ และรังสีจากการสลายของธาตุ
นิวเคลียร์ และรังสี รวมทังอั
้ นตราย กัมมันตรังสีสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ในด้ านต่าง ๆ ขณะ
และการป้องกันรังสีในด้ านต่าง ๆ เดียวกันต้ องมีการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ ้นได้
การศึกษาโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสด้ วย
เครื่ องเร่งอนุภาคพลังงานสูง พบว่า โปรตอนและนิวตรอน
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1

ประกอบด้ วยอนุภาคอื่นที่มีขนาดเล็กกว่า เรี ยกว่า ควาร์ ก


ซึง่ ยึดเหนี่ยวกันไว้ ด้วยแรงเข้ ม
นักฟิ สิกส์ยงั ได้ ค้นพบอนุภาคที่เป็ นสื่อของแรงเข้ ม
ซึง่ ได้ แก่ กลูออน และอนุภาคที่เป็ นสื่อของแรงอ่อน ซึง่
ได้ แก่ W–โบซอน และ Z–โบซอน
อนุภาคที่ไม่สามารถแยกเป็ นองค์ประกอบได้ รวม
ทังอนุ
้ ภาคที่เป็ นสื่อของแรง จัดเป็ นอนุภาคมูลฐานในแบบ
จำลองมาตรฐาน
แบบจำลองมาตรฐานเป็ นทฤษฎีที่ใช้ อธิบายพฤติกรรม
และอันตรกิริยาระหว่างอนุภาคมูลฐาน
26. อธิบายการค้ นคว้ าวิจยั ด้ านฟิ สกิ ส์ การค้ นคว้ าวิจยั ด้ านฟิ สิกส์อนุภาคนำไปสูก่ ารพัฒนา
อนุภาคแบบจำลองมาตรฐาน และ เทคโนโลยีที่นำมาใช้ ประโยชน์ในด้ านต่าง ๆ เช่น ด้ านการ
การใช้ ประโยชน์จากการค้ นคว้ าวิจยั แพทย์ มีการใช้ เครื่ องเร่งอนุภาคในการรักษาโรคมะเร็ ง
ด้ านฟิ สกิ ส์อนุภาคในด้ านต่าง ๆ การใช้ เครื่ องถ่ายภาพรังสีระนาบด้ วยการปล่อยโพซิตรอน
ในการวินิจฉัยโรคมะเร็ ง ด้ านการรักษาความปลอดภัยมี
การใช้ เครื่ องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ในการตรวจวัตถุ
อันตรายในสนามบิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 60
จำนว น้ำ
มาตรฐาน/ที่มา ผลการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม หน่ วยการเรี ยนรู้ น คะ
ชั่วโมง (1

จำนวนผลการเรี ยนรู้ท่ ใี ช้ 9/ภาค 10


คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ว 33205 รายวิชา การ
วิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 2
เวลา 60 ชั่วโมง/ภาค
ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบาย อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน รังสี
แคโทด การทดลองของทอมสัน การทดลองของมิลลิแกน แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมของทอมสัน แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
สเปกตรัมของอะตอม สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส การแผ่
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากวัตถุด ำ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ระดับพลังงานของ
อะตอม การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ รังสีเอกซ์ ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎี
อะตอมของโบร์ ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
ปรากฏการณ์คอมป์ ตน
ั สมมติฐานเดอบรอยล์ กลศาสตร์ควอนตัม หลักความไม่
แน่นอนของไฮเซนเบิรก
์ โครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม ฟิ สิกส์
นิวเคลียร์ การค้นพบกัมมันตภาพรังสี การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส องค์ประกอบ
ของนิวเคลียส การค้นพบนิวตรอน การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
ไอโซโทป เสถียรภาพของนิวเคลียส แรงนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนี่ยว ปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ ฟิ ชชัน ฟิ วชัน ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและการใช้พลังงาน
นิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาติ อันตรายจากรังสี และการป้ องกัน การค้นคว้าวิจัย
และประโยชน์ด้านฟิ สิกส์อนุภาค
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสืบค้นข้อมูล อภิปรายการวิเคราะห์การสำรวจตรวจสอบและการทดลอง
เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิง่ ที่เรียนรู้ มีความ
สามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เรียนได้ใฝ่
เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน

รวมจำนวน 9 ผลการเรียนรู้
สาระฟิ สิกส์ที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 10-18
หน่วยการเรียนรู้
รหัสวิชา ว 33205 รายวิชา
การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 60
ชั่วโมง / ภาค

จำนวน
หน่วยการเรียนรู้ ชั่วโมง

ภาคเรียนที่ 2

หน่วยการเรียนที่ 4 ฟิ สิกส์อะตอม ( 30 )
หน่วยย่อยที่ 4.1 สมมติฐานของพลังค์และทฤษฎีอะตอมของโบร์
หน่วยย่อยที่ 4.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิเล็กทริก
หน่วยย่อยที่ 4.3 ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
หน่วยการเรียนที่ 5 ฟิ สิกส์นิวเคลียร์   (30 )
หน่วยย่อยที่ 5.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส
หน่วยย่อยที่ 5.2 กัมมันตภาพรังสี
หน่วยย่อยที่ 5.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
ผลการเรียนรู้
รหัสวิชา ว 33205 รายวิชา การ
วิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 60 ชั่วโมง / ภาค
( 1.5 หน่วยกิต / ภาค )

ภาคเรียนที่ 2
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 10 อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอม
ของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมทัง้ คำนวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 11 อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและ
คำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนและฟั งก์ชันงาน
ของโลหะ
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 12 อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค รวมทัง้
อธิบาย และคำนวณความยาวคลื่นเดอบรอยล์
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 13 อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตกต่าง
ของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 14 อธิบาย และคำนวณกัมมันตภาพของ
นิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวนนิวเคลียส
กัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิต
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 15 อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของ
นิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 16 อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ชชันและฟิ วชัน
รวมทัง้ คำนวณพลังงานนิวเคลียร์
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 17 อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ และ
รังสี รวมทัง้ อันตรายและการป้ องกันรังสีในด้านต่าง ๆ
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 18 อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาค
แบบจำลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์
ภาคเรียนที่ 2
อนุภาคในด้านต่าง ๆ
รวมจำนวน 9 ผลการเรียนรู้
โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
กำหนดการสอน
รหัสวิชา ว 33205 รายวิชา การ
วิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
ศึกษา 2565

คะแนน
ก่อ หลั
ชื่อหน่วยการ น กล ง ปล
วิธีการ
เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง กล าง กล าย
ประเมินผล
และหน่วยย่อย าง ภา าง ภา
ภา ค ภา ค
ค ค
หน่วยการเรียนที่ สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ ใบงาน 5
1 ฟิ สิกส์อะตอม 10 อธิบายสมมติฐานของ กิจกรรม 1 5
10
1.1 สมมติฐาน พลังค์ ทฤษฎีอะตอมของ ประเมิน
ของพลังค์และ โบร์ และการเกิดเส้น สภาพจริง
ทฤษฎีอะตอม สเปกตรัมของอะตอม
ของโบว์ ไฮโดรเจน รวมทัง้ คำนวณ
1.2 ปรากฎการณ์ ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
โฟโต้อิเล็กทริก สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ ใบงาน 5
5
1.3 ทวิภาวะของ 11 อธิบายปรากฏกา ประเมิน
คลื่นและอนุภาค รณ์โฟโตอิเล็กทริกและ สภาพจริง
คำนวณพลังงานโฟตอน
พลังงานจลน์ของโฟโต
อิเล็กตรอนและฟั งก์ชัน
คะแนน
ก่อ หลั
ชื่อหน่วยการ น กล ง ปล
วิธีการ
เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง กล าง กล าย
ประเมินผล
และหน่วยย่อย าง ภา าง ภา
ภา ค ภา ค
ค ค
งานของโลหะ
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ ใบงาน 5
5
12 อธิบายทวิภาวะของ ประเมิน
คลื่นและอนุภาค รวมทัง้ สภาพจริง
อธิบาย และคำนวณความ
ยาวคลื่นเดอบรอยล์
หน่วยการเรียนที่ สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ ใบงาน 5
4
2 ฟิ สิกส์ 13 อธิบาย สอบ
นิวเคลียร์ กัมมันตภาพรังสีและความ
2.1 เสถียรภาพ แตกต่างของรังสีแอลฟา
ของนิวเคลียส บีตา และแกมมา
2.2 สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ ใบงาน 5
4
กัมมันตภาพรังสี 14 อธิบาย และคำ สอบ
2.3 ปฏิกิริยา นวณกัมมันตภาพของ
นิวเคลียร์และ นิวเคลียสกัมมันตรังสี รวม
พลังงาน ทัง้ ทดลอง อธิบายและ
นิวเคลียร์ คำนวณจำนวนนิวเคลียส
กัมมันตภาพรังสีที่เหลือ
จากการสลาย และครึ่ง
ชีวิต
คะแนน
ก่อ หลั
ชื่อหน่วยการ น กล ง ปล
วิธีการ
เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง กล าง กล าย
ประเมินผล
และหน่วยย่อย าง ภา าง ภา
ภา ค ภา ค
ค ค
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ ใบงาน 5
4
15 อธิบายแรงนิวเคลียร์ สอบ
เสถียรภาพของนิวเคลียส
และพลังงานยึดเหนี่ยว
รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ ใบงาน 5
4
16 อธิบายปฏิกิริยา สอบ
นิวเคลียร์ ฟิ ชชันและฟิ ว
ชันรวมทัง้ คำนวณพลังงาน
นิวเคลียร์
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ สืบค้น/นำ 5
2
17 อธิบายประโยชน์ของ เสนอ
พลังงานนิวเคลียร์ และรังสี สอบ
รวมทัง้ อันตรายและการ
ป้ องกันรังสีในด้านต่าง ๆ
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ สืบค้น/นำ 5
2
18 อธิบายการค้นคว้าวิจัย เสนอ
ด้านฟิ สิกส์อนุภาคแบบ สอบ
จำลองมาตรฐาน และการ
คะแนน
ก่อ หลั
ชื่อหน่วยการ น กล ง ปล
วิธีการ
เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง กล าง กล าย
ประเมินผล
และหน่วยย่อย าง ภา าง ภา
ภา ค ภา ค
ค ค
ใช้ประโยชน์จากการ
ค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์
อนุภาคในด้านต่าง ๆ
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
การวิเคราะห์เชิง ระดับชัน

ช รหัสวิชา ว 33208 6
ฟิ สิกส์ มัธยมศึกษาปี ที่

สัปดา 1-
1-2 ชั่วโมงที่ วันที่ 25 ต.ค. – 4 พ.ย. 65
ห์ที่ 6
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์อะตอม
1
เรียนรู้ที่
แผนการ 1 หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์ จำนว 6 ชั่วโ
สอนที่ และทฤษฎีอะตอมของโบร์ น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 10 อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎี
อะตอมของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวม
ทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. สาระการ
เรียนรู้
แบบจำลองอะตอมของดอลตันมีลักษณะเป็ นทรงกลมตัน แบบ
จำลองอะตอมของทอมสันมีลักษณะเป็ นทรงกลมตัน เนื้ออะตอมเป็ น
ประจุบวก และมีประจุลบกระจายอยู่ทั่วเนื้ออะตอม แบบจำลอง
อะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดมีลักษณะเป็ นทรงกลม ตรงกลางมี
นิวเคลียสของอะตอมที่ประกอบ ด้วยโปรตอนและนิวตรอน มี
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบๆ นิวเคลียส
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 แบบจำลองอะตอม
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายความเป็ นมาของแบบจำลองอะตอม
5.2 อธิบายแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสันและรัทเทอร์ฟอร์ด
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ 1 หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์และทฤษฎีอะตอม
สอนที่ ของโบร์
ชั่วโม (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อที่ 5.1
1-6
งที่ 5.2
6.1 ขัน

นำ
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ฟิ สิกส์
อะตอม จำนวน 15 ข้อ (ใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที)
2. ครูถามนักเรียนโดยใช้คำถามในหน้าเปิ ดหน่วยการเรียนรู้
“กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนเป็ นเครื่องมือที่สร้างขึน
้ โดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับทฤษฎีควอนตัม กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมีหลักการทำงาน
อย่างไร” ครูให้นก
ั เรียนตอบโดยที่ไม่ได้ต้องการคำตอบที่ถูกต้อง แต่
นักเรียนต้องตอบได้เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้
3. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- อะตอมคืออะไร (อนุภาคเล็กๆ ที่ประกอบกันขึน
้ มาเป็ นสสาร,
อนุภาคที่เล็กที่สุดของสสาร, หน่วยพื้นฐานของสสาร)
- ฟิ สิกส์อะตอมคืออะไร (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
4. ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนโดยอธิบายความหมายและความ
สำคัญของการศึกษาฟิ สิกส์อะตอม
6.2 ขัน

สอน
30 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูให้นักเรียนศึกษาแบบจำลองอะตอมของดิโมคริตุสและดอล
ตัน ในหนังสือเรียนหน้า 78-79
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าแบบจำลองอะตอมของดอล
ตันมีการพัฒนาขึน
้ จากแบบจำลองอะตอมของดิโมคริตุสอย่างไรบ้าง
3. ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหลอดรังสีแคโทดจากใบความรู้ที่
3.1 เรื่อง หลอดรังสีแคโทด เพื่อเป็ นพื้นฐานในการศึกษาแบบจำลอง
อะตอมของทอมสัน
ชั่วโมงที่ 2
4. ครูอธิบายการศึกษาโครงสร้างอะตอมของทอมสันโดยใช้อินโฟ
กราฟฟิ กในหนังสือเรียนหน้า 79 และให้นักเรียนช่วยกันสรุปการค้น
พบของทอมสัน
5. ครูอธิบายการหาค่าประจุต่อมวลตามหนังสือเรียนหน้า 80
และตัวอย่างที่ 3.1 หน้า 81
6. ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างการคำนวณหาค่าประจุต่อมวล 2 ข้อบน
กระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกัน
ทำโจทย์เพื่อเพิ่มความเข้าใจ
7. ครูให้นักเรียนส่งตัวแทน 2 คน ออกมาหน้าห้อง เพื่อช่วยกัน
สรุปลักษณะแบบจำลองอะตอมของ
ทอมสัน พร้อมทัง้ วาดรูปบนกระดาน
8. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าแบบจำลองอะตอมของทอม
สันมีการพัฒนาขึน
้ จากแบบจำลองอะตอมของดอลตันอย่างไรบ้าง
9. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 3.2 เรื่อง การค้นพบโปรตอน
ชั่วโมงที่ 3
10. ครูให้นักเรียนดูวิดีโอจาก youtube เรื่อง วิชาฟิ สิกส์ –
สารคดี การทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน เพื่อให้นักเรียนศึกษา
เกี่ยวกับการทดลองของมิลลิแกน
(https://www.youtube.com/watch?
v=bywMsQbvQsU)
11. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากวิดีโอ โดยครู
เน้นนักเรียนว่า การทดลองของ
มิลลิแกนทำให้ทราบค่าประจุของอิเล็กตรอน ซึ่งสามารถนำไปหาค่า
มวลของอิเล็กตรอนได้จากค่าประจุต่อมวล
12. ครูยกตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับหยดน้ำมันของมิลลิแกน
2-3 ข้อ บนกระดาน เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้กับนักเรียน
30 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 4
13. ครูอธิบายการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดโดยวาดรูปที่ 3.4 ใน
หนังสือเรียนหน้า 83 บนกระดาน
14. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบางจะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างไร (อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่ทะลุผ่านแผ่นทองคำ
อนุภาคแอลฟาบางส่วนเบนไปจากแนวเดิม และมีอนุภาคแอลฟา
จำนวนน้อยมากที่สะท้อนกลับ)
- ผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดสอดคล้องกับแบบจำลอง
อะตอมของทอมสันหรือไม่ อย่างไร
(ไม่สอดคล้อง ถ้าแบบจำลองอะตอมของทอมสันถูกต้อง ภายใน
อะตอมจะต้องมีความสม่ำเสมอ อนุภาคแอลฟาควรจะทะลุผ่าน
อะตอมเป็ นเส้นตรงทัง้ หมดหรืออาจเบนไปเพียงเล็กน้อยเนื่องจาก
แรงผลักหรือแรงดูดระหว่างประจุ)
- จากการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด การที่อนุภาคแอลฟาส่วน
ใหญ่ทะลุผ่านแผ่นทองคำน่าจะเป็ นเพราะเหตุใด (ภายในอะตอมมี
ช่องว่างมาก)
- อนุภาคแอลฟาที่เบนไปจากแนวเดิมมากหรือเกิดการสะท้อน
กลับมาน่าจะเป็ นเพราะเหตุใด (มีแรงผลักของโปรตอนทำให้อนุภาค
แอลฟาที่เบนไปจากแนวเดิม และโปรตอนน่าจะมีมวลมากจึงทำให้
อนุภาคแอลฟาเกิดการสะท้อนกลับมาได้)
15. ครูให้นักเรียนส่งตัวแทน 2 คน ออกมาหน้าห้อง เพื่อช่วยกัน
สรุปลักษณะแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด พร้อมทัง้ วาดรูป
บนกระดาน
16. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าแบบจำลองอะตอมของ
รัทเทอร์ฟอร์ดมีการพัฒนาขึน
้ จากแบบจำลองอะตอมของทอมสัน
อย่างไรบ้าง
17. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- โครงสร้างอะตอมประกอบด้วยอะไรบ้าง (โปรตอน นิวตรอน
และอิเล็กตรอน)
- แบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน และรัทเทอร์ฟอร์ด
มีความแตกต่างกันอย่างไร (แบบจำลองอะตอมของดอลตันมีลักษณะ
เป็ นทรงกลมตัน แบบจำลองอะตอมของทอมสันมีลักษณะเป็ นทรง
กลมตัน มีเนื้ออะตอมเป็ นประจุบวกและมีประจุลบกระจายอยู่ทั่วเนื้อ
อะตอม ส่วนแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดมีลักษณะเป็ นทรง
กลม ตรงกลางมีนิวเคลียสของอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอนและ
นิวตรอน มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบๆ นิวเคลียส)
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“แบบจำลองอะตอมของดอลตันมีลักษณะเป็ นทรงกลมตัน
แบบจำลองอะตอมของทอมสันมีลักษณะเป็ นทรงกลมตัน เนื้อ
อะตอมเป็ นประจุบวก และมีประจุลบกระจายอยู่ทั่วเนื้ออะตอม
แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดมีลักษณะเป็ นทรงกลม
ตรงกลางมีนิวเคลียสของอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน
มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบๆ นิวเคลียส”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง แบบจำลองอะตอม
3.ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 3.1 ในหนังสือ
เรียนหน้า 84 เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power ฟิ สิกส์อะตอม
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ ฟิ สิกส์อะตอม
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้
5.1 อธิบายความเป็ นมาของแบบ
- แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
จำลองอะตอม - ประเมิน
ประเมิน คะแนน จาก 5
5.2 อธิบายแบบจำลองอะตอมขอ ทักษะ
ทักษะ คะแนน
งดอลตัน ทอมสันและ
รัทเทอร์ฟอร์ด
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
- ประเมิน
5.4 การสืบค้นข้อมูล ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


- สังเกต
5.5 ใฝ่ เรียนรู้ ประเมิน คะแนนจาก 10
พฤติกรรม
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ฟิ สิกส์อะตอม


แผนการสอนที่ 1 หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์และทฤษฎีอะตอม
ของโบร์ (จำนวน 2 ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 1 - 6 วันที่ 25 ต.ค. – 4 พ.ย. 65
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์และทฤษฎีอะตอมของโบร์ (ชั่วโมงที่ 1 -
2 ) จากการทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำน
วน 100 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบาย
สมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ดและโบร์
ถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายสมมติฐานของ
พลังค์ ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ดและโบร์ถูกต้องชัดเจน
ใช้สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 4 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 144 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของด
อลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ดและโบร์ถูกต้องชัดเจน

มิส พิชชาพร ประยูรอนุ


เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 7-
3-5 ชั่วโมงที่ วันที่ 7 - 25 พ.ย. 65
ห์ที่ 15
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์อะตอม
1
เรียนรู้ที่
แผนการ 2 หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์ จำนว ชั่วโ
9
สอนที่ น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 10 อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎี
อะตอมของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมทัง้
คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. สาระการ
เรียนรู้
พลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุดำจะมีค่าเฉพาะตัวตาม
สมมติฐานของพลังค์ ดังสมการและความยาวคลื่นของสเปกตรัม
ไฮโดรเจนหาได้จากสมการ
1
λ (
1 1
=R H 2 − 2
n f ni )
ทฤษฎีอะตอมของโบร์อธิบายว่า อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและ
นิวตรอนรวมเป็ นนิวเคลียส
มีอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียสเป็ นชัน
้ ๆ ตามระดับพลังงาน โดย
พลังงานที่ระดับต่างๆ หาได้จากสมการ
13 .6
En =−
n2
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 การแผ่รังสีของวัตถุดำ
3.2 สเปกตรัมของอะตอม
3.3 แบบจำลองอะตอมของโบร์
3.4 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์
3.5 รังสีเอกซ์
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายทฤษฎีอะตอมของพลังค์และโบร์
5.2 อธิบายและคำนวณการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์
2
สอนที่
ชั่วโมง 7- (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อที่ 5.1
ที่ 15 5.2
6.1 ขัน

นำ
1. ครูทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน และ
รัทเทอร์ฟอร์ดที่ได้เรียนไปแล้วในชั่วโมงก่อน
2. ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียน โดยกล่าวถึงการแผ่รังสีของวัตถุดำและการเกิด
สเปกตรัมของธาตุ ซึ่งเป็ นปรากฏการณ์หรือการค้นพบใหม่ที่ฟิสิกส์ดงั ้ เดิมอธิบาย
ไม่ได้ เพื่อนำไปสู่การศึกษากลศาสตร์ควอนตัมและทฤษฎีอะตอมของโบร์
6.2 ขัน

สอน
30 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูอธิบายลักษณะการแผ่รังสีของวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกว่าศูนย์องศาส
สัมบูรณ์ ความหมายของวัตถุดำ และลักษณะการแผ่รังสีของวัตถุดำโดยอ้างอิงจา
กนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 85-86
2. ครูให้นักเรียนดูวิดีโอจาก youtube เรื่อง วิชาฟิ สิกส์ - บทเรียน การแผ่
คลื่นแม่เหล้กไฟฟ้ าของวัตถุดำ เพื่อให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการแผ่รังสีของวัตถุ
ดำ (https://www.youtube.com/watch?v=eQooNUdUFCY)
3. หลังจากดูวิดีโอจบ ครูถามนักเรียนโดยให้นักเรียนช่วยกันตอบ
คำถาม
- วัตถุดำคืออะไร (วัตถุที่แผ่รังสีและดูดกลืนรังสีได้อย่างสมบูรณ์)
- การแผ่รังสีของวัตถุดำมีลักษณะอย่างไร (การแผ่รังสีของวัตถุดำจะขึน

กับอุณหภูมิของวัตถุ ซึ่งเป็ นไปตามกฎของสเตฟาน-โบลต์ซมันน์)
- สมมติฐานของพลังค์มีใจความว่าอย่างไร (พลังงานที่วัตถุดำดูดกลืน
เข้าไปหรือปลดปล่อยออกมามีคา่ ได้เฉพาะบางค่าเท่านัน
้ ซึ่งจะเป็ นจำนวนเท่าของ
ค่า hf โดยค่าพลังงาน hf เรียกว่า ควอนตัมของพลังงาน)
4. ครูอธิบายสมมติฐานของพลังค์โดยเชื่อมโยงสมการที่ 3.7 ในหนังสือเรียน
หน้า 86 กับทฤษฎีโฟตอนของแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เพื่อให้ได้สมการที่ 3.8 และ
3.9 ในหนังสือเรียนหน้า 87
5. ครูให้นักเรียนทำโจทย์เกี่ยวกับพลังงาน ความถี่ และความยาวคลื่นของโฟ
ตอนที่ครูได้เตรียมมา 3-5 ข้อ ลงในสมุดประจำตัวนักเรียน
ชั่วโมงที่ 2
6. ครูอธิบายการสเปกตรัมของอะตอมตามหนังสือเรียนหน้า 87-90
7. ครูให้นักเรียนจับคู่กันค้นหาตัวอย่างโจทย์การคำนวณหาความยาวคลื่น
ของสเปกตรัมไฮโดรเจนอนุกรมต่างๆ โดยใช้ search engine แล้วให้นักเรียน
ทำความเข้าใจโจทย์ข้อนัน
้ ๆ
8. ครูสุ่มนักเรียน 5 คู่ เพื่อออกมาอธิบายวิธีแก้โจทย์ให้เพื่อนฟั งหน้าชัน
้ เรียน

ชั่วโมงที่ 3
9. ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนโดยอธิบายแนวคิดของโบร์ที่นำมาใช้ในการ
พัฒนาแบบจำลองอะตอมของโบร์
10. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- แบบจำลองอะตอมของโบร์มีลักษณะอย่างไร (อะตอมประกอบด้วย
โปรตอนและนิวตรอนรวมเป็ นนิวเคลียสตรงกลางอะตอม และมีอิเล็กตรอนโคจร
รอบนิวเคลียสเป็ นชัน
้ ๆ ตามระดับพลังงาน)
11. ครูอธิบายแบบจำลองอะตอมของโบร์โดยวาดรูปที่ 3.12 ในหนังสือเรียน
หน้า 91 บนกระดาน โดยเน้นนักเรียนว่า แบบจำลองอะตอมของโบร์มีค่าระดับ
พลังงานเป็ นชัน
้ ๆ ไม่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นไปตามทฤษฎีควอนตัมและสมมติฐานของ
พลังค์
12. ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกสมมติฐานทัง้ 4 ข้อ ตามแบบจำลองอะตอม
ของโบร์
13. ครูอธิบายเนื้อหาเรื่องรัศมีของโบร์และระดับพลังงานของอิเล็กตรอนตาม
หนังสือเรียนหน้า 92-93 เพื่อให้ได้สมการที่ 3.17 และ 3.20
14. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- ทฤษฎีอะตอมของโบร์อธิบายการเกิดสเปกตรัมของไฮโดรเจนได้อย่างไร
(จากทฤษฎีอะตอมของโบร์ อิเล็กตรอนจะโคจรอยู่บนระดับพลังงานเป็ นชัน
้ ๆ
แต่ละชัน
้ มีค่าพลังงานเฉพาะค่าหนึ่ง ซึ่งการเกิดสเปกตรัมของไฮโดรเจนอนุกรม
ต่างๆ นัน
้ เกิดจากการเปลี่ยนระดับวงโคจรของอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูงลงมายัง
ระดับที่มีพลังงานต่ำกว่า แล้วคายพลังงานออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่
ความยาวคลื่นช่วงต่างๆ)
15. ครูอธิบายการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเชื่อมโยงกับการเกิด
สเปกตรัมของไฮโดรเจนในอนุกรมต่างๆ ซึ่งทฤษฎีอะตอมของโบร์สามารถอธิบาย
ปรากฏการณ์นไี ้ ด้เป็ นอย่างดี
16. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 3.4-3.6 ในหนังสือเรียนหน้า 94
17. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 3.1 เรื่อง แบบจำลองอะตอมของโบร์ เพื่อเพิ่ม
ความเข้าใจ
30 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 4
18. ครูอธิบายการทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ในหนังสือเรียนหน้า 95 โดย
เน้นนักเรียนว่า พลังงานที่อิเล็กตรอนได้รับมีค่าเฉพาะไม่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นการ
สนับสนุนทฤษฎีอะตอมของโบร์
19. ครูให้นักเรียนศึกษาการเกิดรังสีเอกซ์ในหนังสือเรียนหน้า 95-96 แล้ว
ร่วมกันอภิปรายว่า สเปกตรัมของรังสีเอกซ์มีลักษณะอย่างไร ปรากฏการณ์นี ้
สอดคล้องกับทฤษฎีอะตอมของโบร์หรือไม่ อย่างไร
20. ครูอธิบายการคำนวณเกี่ยวกับรังสีเอกซ์โดยใช้ตัวอย่างที่ 3.7 และ 3.8
ในหนังสือเรียนหน้า 97 เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้กับนักเรียน
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“พลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุดำจะมีค่าเฉพาะตัวตามสมมติฐานของ
พลังค์ ดังสมการ E = nhf อนุกรมของไฮโดรเจนมีทงั ้ หมด 5 ชุด ได้แก่ ไลมาน บัล
เมอร์ พาสเชน แบรกเกต และฟุนด์ โดยหาความยาวคลื่นของสเปกตรัมไฮโดรเจน

ได้จากสมการ
1
λ
1 1
(
=R H 2 − 2
n f ni )
ทฤษฎีอะตอมของโบร์อธิบายว่า อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน
รวมเป็ นนิวเคลียสตรงกลางอะตอม มีอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียสเป็ นชัน
้ ๆ ตาม
13.6
En =− 2
ระดับพลังงาน โดยพลังงานที่ระดับต่างๆ หาได้จากสมการ n
ฟรังก์และเฮิรตซ์ทดลองยิงอิเล็กตรอนไปชนกับอะตอมของไอปรอท พบว่า มี
การดูดกลืนพลังงานได้เพียงบางจำนวนเท่านัน
้ แสดงว่าระดับพลังงานของอะตอม
ไม่ต่อเนื่องกัน เป็ นข้อสนับสนุนทฤษฎีอะตอมของโบร์
เรินต์เกนค้นพบรังสีเอกซ์ โดยรังสีเอกซ์แบบสเปกตรัมลักษณะเฉพาะช่วย
ยืนยันความถูกต้องของทฤษฎีอะตอมของโบร์”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง ทฤษฎีอะตอมของโบร์
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 3.2 ในหนังสือเรียนหน้า 98
เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power ฟิ สิกส์อะตอม
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ ฟิ สิกส์อะตอม
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายทฤษฎีอะตอมของพลัง ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
ค์และโบร์ ทักษะ คะแนน
5.2 อธิบายและคำนวณการเกิด
เส้นสเปกตรัมของอะตอม
ไฮโดรเจน
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.4 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ฟิ สิกส์อะตอม


แผนการสอนที่ 2 หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์และทฤษฎีอะตอม
ของโบร์ (จำนวน 9 ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 7 - 15 วันที่ 7 - 25 พ.ย. 65
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 1.1 สมมติฐานของพลังค์และทฤษฎีอะตอมของโบร์ (ชั่วโมงที่ 7 -
15 ) จากการทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำ
นวน 100 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถ
อธิบายการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายการเกิดเส้น
สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องถูก
ต้องชัดเจน ใช้สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 4 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 144 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอม
ไฮโดรเจน รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........

ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด
ช่วง คะแนน
คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
12 5
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
10-11 4
คะแนน
7-9 3  ผ่าน  ไม่ผ่าน
4-6 2
1-3 1
ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา
6-8 ชั่วโมงที่ 16 - 24 วันที่ 28 พ.ย. – 16 ธ.ค. 65
ห์ที่
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์อะตอม
1
เรียนรู้ที่
แผนการ 3 หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิ จำนว ชั่วโ
9
สอนที่ เล็กทริก น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 12 อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
รวมทัง้ อธิบาย และคำนวณความยาวคลื่นเดอบรอยล์
2. สาระการ
เรียนรู้
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค หมายถึง สิ่งที่แสดงสมบัติได้ทงั ้ คลื่น
และอนุภาค โดยปรากฏการณ์หรือแนวคิดที่แสดงให้เห็นทวิภาวะของ
คลื่นและอนุภาค ได้แก่ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกที่แสงแสดงสมบัติ
เป็ นอนุภาค สมมติฐานของเดอบรอยล์ที่อธิบายถึงอนุภาคที่แสดงสมบัติ
ของคลื่น และปรากฏการณ์คอมป์ ตันที่รังสีเอกซ์แสดงสมบัติเป็ นอนุภาค
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
3.2 สมมติฐานของเดอบรอยล์
3.3 ปรากฏการณ์คอมป์ ตัน
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
5.2 คำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนและ
ฟั งก์ชันงานของโลหะ
5.3 อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
5.4 อธิบายและคำนวณความยาวคลื่นเดอบรอยล์
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.5 การอภิปรายและสรุป
5.6 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.7 ใฝ่ เรียนรู้
5.8 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิเล็กทริก
3
สอนที่
ชั่วโมง 16 - (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อที่ 5.1
ที่ 24 5.2
6.1 ขัน

นำ
1. ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนโดยวาดรูปคลื่นที่มีความยาวคลื่น  และอนุภาคที่มี
มวล m บนกระดาน
2. ครูอธิบายสมบัติทั่วไปของคลื่นและอนุภาค คลื่นเป็ นการส่งผ่านพลังงานรูปหนึ่ง
เกิดจากการรบกวนที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่และแผ่กระจาย คลื่นมีความยาวคลื่น
ความถี่ และแอมพลิจูด สมบัติเฉพาะของคลื่น คือ การแทรกสอดและการเลีย
้ ว
เบน ส่วนอนุภาคนัน
้ มีมวลและมีตำแหน่งที่อยู่ มีการส่งผ่านพลังงานไปพร้อมกับ
การเคลื่อนที่ สมบัติเฉพาะของอนุภาค คือ โมเมนตัม
3. ครูถามนักเรียน

คำถาม
- นักเรียนคิดว่า คลื่นสามารถแสดงสมบัติของอนุภาคได้หรือไม่ และ
อนุภาคสามารถแสดงสมบัติของคลื่นได้หรือไม่ (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
- ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคคืออะไร (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
6.2 ขัน

สอน
50 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูครูให้นักเรียนดูวิดีโอจาก youtube เรื่อง วิชาฟิ สิกส์ - บทเรียน ปรากฏ
การณ์โฟโตอิเล็กทริก เพื่อให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
https://www.youtube.com/watch?v=WaHg7DTFO_o
2. หลังจากดูวิดีโอจบแล้วครูถามนักเรียน
คำถาม
- ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกคืออะไร (ปรากฏการณ์ที่เกิดขึน
้ เมื่อแสง
ตกกระทบผิวโลหะแล้วทำให้ อิเล็กตรอนหลุดออกจากผิวโลหะ)
- ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
อย่างไร (เซนเซอร์ของกล้องถ่ายรูป เครื่องพีอีทีสแกนที่ใช้ตรวจสอบอวัยวะภายใน
ร่างกาย)
3. ครูอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกตามหนังสือเรียนหน้า 99-
100
4. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- ถ้าความถี่แสงมีค่าน้อยกว่าความถีข
่ ีดเริ่มจะเกิดปรากฏการณ์โฟโตอิเล็ก
ทริกได้หรือไม่ (ไม่ได้)
- พลังงานจลน์และจำนวนของโฟโตอิเล็กตรอนขึน
้ อยู่กับปริมาณใด (พลัง
งานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนขึน
้ อยู่กับความถี่แสงและจำนวนของโฟโตอิเล็กตรอน
ขึน
้ อยู่กับความเข้มแสง)
- ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกแสดงถึงทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
อย่างไร (แสงประพฤติตัวเป็ นอนุภาคได้ เนื่องจากเมื่อโฟตอนตกกระทบผิวโลหะ
จะมีการถ่ายเทพลังงานให้กับอิเล็กตรอนในลักษณะเดียวกับการถ่ายเทโมเมนตัม
ของอนุภาคเมื่อเกิดการชน)
5. ครูให้นักเรียนสแกน QR code ในหนังสือเรียนหน้า 99 เพื่อศึกษาเพิ่มเติม
เกี่ยวกับปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
ชั่วโมงที่ 2
6. ครูอธิบายเกี่ยวกับสมมติฐานของเดอบรอยล์ตามหนังสือเรียนหน้า 101-
102
7. ครูวาดรูปที่ 3.17 ในหนังสือเรียนหน้า 101 เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงการ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเป็ นคลื่นนิ่ง ซึ่งสามารถอธิบายข้อบกพร่องของทฤษฎี
อะตอมของโบร์ได้
8. ครูอธิบายเกี่ยวกับสมมติฐานของเดอบรอยล์โดยเน้นนักเรียนว่า ถ้าคลื่น
สามารถประพฤติตัวเป็ นอนุภาคได้ อนุภาคก็น่าจะสามารถประพฤติตัวเป็ นคลื่นได้
โดยความยาวคลื่นอนุภาคจะมีค่าดังสมการที่ 3.30
9. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- ความยาวคลื่นเดอบรอยล์คืออะไร (ความยาวคลื่นของอนุภาคที่
ประพฤติตัวเป็ นคลื่น)
10. ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการเลีย
้ วเบนของอิเล็กตรอนในหนังสือ
เรียนหน้า 103-104 แล้วร่วมกันอภิปรายว่า การเลีย
้ วเบนของอิเล็กตรอนแสดงถึง
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคอย่างไร มีการนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร และตอบ
คำถามในหน้าเปิ ดหน่วยการเรียนรู้ “กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนเป็ นเครื่องมือที่
สร้างขึน
้ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีควอนตัม กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมีหลัก
การทำงานอย่างไร”
11. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็ น 10 กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน
12. ครูให้นักเรียน 5 กลุ่ม สืบค้นและศึกษาตัวอย่างโจทย์เรื่อง ปรากฏกา
รณ์โฟโตอิเล็กทริก และนักเรียนอีก 5 กลุ่ม สืบค้นและศึกษาตัวอย่างโจทย์เรื่อง
สมมติฐานของเดอบรอยล์ จากห้องสมุดหรือเว็บไซต์ต่างๆ กลุ่มละ 2 ข้อ เพื่อทำ
กิจกรรมในชั่วโมงถัดไป
ชั่วโมงที่ 3
13. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอธิบายโจทย์ที่กลุ่มของตนเองได้สืบค้น
หน้าชัน
้ เรียน โดยให้เวลากลุ่มละ 5 นาที
16. ครูให้นักเรียนจดบันทึกโจทย์ที่เพื่อนได้ออกมาอธิบายลงในสมุดประจำ
ตัวนักเรียน
30 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 4
17. ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์คอมฟ์ ตันในหนังสือเรียน
หน้า 104-105 แล้วร่วมกันอภิปรายว่า ปรากฏการณ์คอมป์ ตันแสดงถึงทวิภาวะ
ของคลื่นและอนุภาคอย่างไร และผลการศึกษาปรากฏการณ์คอมป์ ตันสรุปได้ว่า
อย่างไร
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้ นกั เรี ยนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดงั นี ้
“ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ กเกิดขึ ้นเมื่อแสงตกกระทบผิวโลหะ แล้ วทำให้ อิเล็กตรอนหลุดออกจากผิวโลหะได้ เรี ยก
อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาว่า โฟโตอิเล็กตรอน ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ กจะเกิดขึ ้นได้ เมื่อแสงมีความถี่มากกว่าความถี่
ขีดเริ่ ม โดยพลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนจะขึ ้นกับความถี่ของแสง และจำนวนของโฟโตอิเล็กตรอนจะขึ ้นกับความ
เข้ มแสง และพลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนหาได้ จากสมการ

Ek
max = eVs = hf–W
เดอบรอยล์ได้ เสนอแนวคิดว่า ถ้ าคลื่นแสดงสมบัติเป็ นอนุภาคได้ สิง่ ที่เป็ นอนุภาคก็ควรแสดงสมบัติ
h
เป็ นคลื่นได้ เช่นกัน โดยความยาวคลื่นเดอบรอยล์หาได้ จากสมการ  = p
ปรากฏการณ์คอมป์ตันเกิดขึ ้นเมื่อรังสีเอกซ์ตกกระทบผลึกแกรไฟต์ แล้ วทำให้ อิเล็กตรอน หลุดออกจากผลึก
ช่วยสนับสนุนแนวคิดที่วา่ คลื่นสามารถประพฤติตวั เป็ นอนุภาคได้ ”
2. ครู ให้ นกั เรี ยนทำผังมโนทัศน์สรุ ปเรื่ อง ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
3. ครูให้ นกั เรี ยนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรี ยนรู้ที่ 3.3 ในหนังสือเรี ยนหน้ า 106 เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power ฟิ สิกส์อะตอม
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ ฟิ สิกส์อะตอม
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิ ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
เล็กทริก ทักษะ คะแนน
5.2 คำนวณพลังงานโฟตอน พลัง
งานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนและ
ฟั งก์ชันงานของโลหะ
5.3 อธิบายทวิภาวะของคลื่นและ
อนุภาค
5.4 อธิบายและคำนวณความยาว
คลื่นเดอบรอยล์
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.5 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.6 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.7 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.8 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ฟิ สิกส์อะตอม


แผนการสอนที่ 3 หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิเล็กทริก (จำนวน 9
ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 16 - 24 วันที่ 28 พ.ย. – 16 ธ.ค. 65
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิเล็กทริก (ชั่วโมงที่ 16 - 24 ) จากการ
ทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน 100 คน
จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบายทวิภาวะของ
คลื่นและอนุภาคถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายทวิภาวะของ
คลื่นและอนุภาคถูกต้องชัดเจน ใช้สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ
92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 4 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 144 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคถูกต้อง
ชัดเจน

มิส พิชชาพร ประยูรอนุ


เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา

เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 25 -
9 - 10 ชั่วโมงที่ วันที่ 28 พ.ย. – 16 ธ.ค. 65
ห์ที่ 30
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์อะตอม
1
เรียนรู้ที่
แผนการ 4 หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิ จำนว ชั่วโ
6
สอนที่ เล็กทริก น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 11 อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและ
คำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนและฟั งก์ชัน
งานของโลหะ
2. สาระการ
เรียนรู้
กลศาสตร์ควอนตัมเป็ นทฤษฎีที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ใน
ระดับอะตอม โดยใช้หลักความไม่แน่นอนในการบอกตำแหน่งหรือ
โมเมนตัมของอนุภาคดังสมการ
(x)(p)  ℏ

3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 หลักความไม่แน่นอน
3.2 โครงสร้างอะตอมแบบกลุ่มหมอก
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายและคำนวณหลักความไม่แน่นอน
5.2 อธิบายโครงสร้างอะตอมแบบกลุ่มหมอกที่อาศัยทฤษฎีกลศาสตร์ค
วอนตัม
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ 4 หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิเล็กทริก
สอนที่
ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
25 - 30
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
1. ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนเรื่อง กลศาสตร์ควอนตัม โดยอธิบายความหมาย
ของกลศาสตร์ควอนตัม โดยเน้นนักเรียนว่า การศึกษาโครงสร้างระดับที่เล็กมากๆ
อย่างอะตอมหรืออิเล็กตรอนไม่สามารถใช้กลศาสตร์ดงั ้ เดิมในการอธิบายได้ แต่กล
ศาสตร์ควอนตัมซึ่งใช้หลักการความน่าจะเป็ นทางคณิตศาสตร์ สามารถใช้อธิบาย
พฤติกรรมของอิเล็กตรอนได้เป็ นอย่างดี
2. ครูให้ให้นักเรียนดูวิดีโอจาก youtube เรื่อง Schrödinger's cat: A thought
experiment in quantum mechanics - Chad Orzel เพื่อให้นักเรียนทำความ
เข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดทางกลศาสตร์ควอนตัมของชเรอดิงเงอร์
(https://www.youtube.com/watch?v=UjaAxUO6-Uw)
6.2 ขัน

สอน
1. ครูอธิบายเกี่ยวกับหลักความไม่แน่นอนและตัวอย่างการคำนวณตาม
หนังสือเรียนหน้า 107
2. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- หลักความไม่แน่นอนคืออะไร (สำหรับอนุภาคเล็กๆ จะไม่สามารถบอก
ตำแหน่งและโมเมนตัมที่แน่นอนของ อนุภาคได้พร้อมๆ กัน หากต้องการทราบ
ตำแหน่งของอนุภาคก็จะไม่ทราบค่าโมเมนตัมที่แน่นอน หากต้องการทราบ ค่า
โมเมนตัมของอนุภาคก็จะไม่ทราบตำแหน่งที่แน่นอน)
- แบบจำลองอะตอมตามทฤษฎีควอนตัมมีลักษณะอย่างไร (ตามทฤษฎีค
วอนตัมจะอธิบายโครงสร้างอะตอมแบบกลุ่มหมอก ซึ่งไม่สามารถระบุได้ว่า
อิเล็กตรอนอยู่ที่ตำแหน่งใดของอะตอม แต่จะบอกได้เพียงโอกาสที่จะพบ
อิเล็กตรอนในบริเวณหนึ่งเท่านัน
้ โดยบริเวณที่มีกลุ่มหมอกหนาแน่นจะมีโอกาส
พบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกเบาบาง)
3. ครูอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมตามทฤษฎีควอนตัมในหนังสือเรียน
หน้า 107-108
4. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิดีโอที่ได้ดูในขัน
้ นำว่า แมวของช
เรอดิงเงอร์นน
ั ้ เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของอิเล็กตรอนอย่างไร
5. ครูให้นักเรียนดูวิดีโอจาก youtube เรื่อง 19.6 กลศาสตร์ควอนตัม เพื่อ
เพิ่มความเข้าใจให้กับนักเรียน (https://www.youtube.com/watch?
v=NvEj5Vc9eOY&t=1s)
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูใช้ “สรุปเรื่องฟิ สิกส์อะตอม” ในหนังสือเรียนหน้า 110-111 เพื่อ
ทบทวนบทเรียน
2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน (4 ตัวเลือก) จำนวน 20 ข้อ (ใช้
เวลา 15-20 นาที)
3. ครูให้นักเรียนทำคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้เพื่อส่งท้ายชั่วโมง
4. ครูให้นักเรียนเลือกทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ภาคเรียน
ละ 1 กิจกรรม และนำเสนอในนิทรรศการ
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power ฟิ สิกส์อะตอม
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ ฟิ สิกส์อะตอม
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายและคำนวณหลักความ ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
ไม่แน่นอน ทักษะ คะแนน
5.2 อธิบายโครงสร้างอะตอมแบบ
กลุ่มหมอกที่อาศัยทฤษฎีกลศาสตร์
ควอนตัม
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.4 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เอกภพ


แผนการสอนที่ 4 หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิเล็กทริก (จำนวน 6
ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1-3 ชั่วโมงที่ 25 - 30 วันที่ 28 พ.ย. – 16 ธ.ค. 65
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 1.2 ปรากฎการณ์โฟโต้อิเล็กทริก (ชั่วโมงที่ 25 - 30) จากการ
ทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1-3 จำนวน 140
คน จากนักเรียนทัง้ หมด 144 คน คิดเป็ นร้อยละ 97.22 สามารถอธิบายปรากฏ
การณ์โฟโตอิเล็กทริกและคำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโต
อิเล็กตรอนและฟั งก์ชันงานของโลหะถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ 2.78 สามารถ
อธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1-3 นักเรียน
จำนวน 140 คนจากนักเรียนทัง้ หมด 144 คน คิดเป็ นร้อยละ 97.22 มีทักษะ
การอภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
2.78 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1-3 นักเรียนจำนวน 140 คนจากนักเรียน
ทัง้ หมด 144 คน คิดเป็ นร้อยละ 97.22 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 2.78 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1-3
นักเรียนจำนวน 140 คนจากนักเรียน 144 คน มีการอธิบายปรากฏการณ์โฟโต
อิเล็กทริกและคำนวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนและ
ฟั งก์ชันงานของโลหะถูกต้องชัดเจน ใช้สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อย
ละ 97.22
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 4 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 144 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 2.78 ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและคำนวณ
พลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนและฟั งก์ชันงานของโลหะถูก
ต้องชัดเจน

มิส พิชชาพร ประยูรอนุ


เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........

ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................ คะแนน
ช่วง คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน
คะแนน
12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 31 -
11 ชั่วโมงที่ วันที่ 3 – 6 ม.ค. 66
ห์ที่ 33
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
2
เรียนรู้ที่
แผนการ 5 หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของ จำนว 3 ชั่วโ
สอนที่ นิวเคลียส น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 13 อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตก
ต่างของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
2. สาระการ
เรียนรู้
นิวเคลียสของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอนุภาค
นิวตรอน เรียกว่า นิวคลีออน ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอน
เรียกว่า เลขมวล ส่วนจำนวนโปรตอนในนิวเคลียส เรียกว่า เลขอะตอม
และใช้สัญลักษณ์นิวเคลียร์ในการแสดงชื่อและจำนวน อนุภาคโปรตอน
และนิวตรอนภายในนิวเคลียสของธาตุ
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 สัญลักษณ์นิวเคลียร์
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายสัญลักษณ์นิวเคลียร์
5.2 คำนวณปริมาณต่างๆ จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์
5.3 คำนวณขนาดของนิวเคลียส
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.4 การอภิปรายและสรุป
5.5 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.6 ใฝ่ เรียนรู้
5.7 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ 5 หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส
สอนที่
ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
31 - 33
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
จำนวน 15 ข้อ (ใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที)
2. ครูถามนักเรียนโดยใช้คำถามในหน้าเปิ ดหน่วยการเรียนรู้ “ดวงอาทิตย์
เป็ นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก พลังงานมหาศาลบนดวงอาทิตย์เกิดขึน
้ ได้
อย่างไร” ครูให้นักเรียนตอบโดยที่ไม่ได้ต้องการคำตอบที่ถูกต้อง แต่นักเรียนต้อง
ตอบได้เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้
3. ครูเกริ่นนำเกี่ยวกับฟิ สิกส์นิวเคลียร์โดยอธิบายความหมาย การศึกษา และ
การประยุกต์ใช้ที่เกี่ยวข้องกับฟิ สิกส์นิวเคลียร์

6.2 ขัน

สอน
30 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูให้ตัวแทนนักเรียน 1 คนออกมาวาดภาพอะตอมที่แสดงอนุภาค
โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนบนกระดาน
2. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- นิวคลีออนคืออะไร (อนุภาคในนิวเคลียสหรืออนุภาคโปรตอนและ
อนุภาคนิวตรอนภายในนิวเคลียส)
- อนุภาคที่บ่งบอกถึงชนิดของธาตุคืออนุภาคใด (อนุภาคโปรตอน)
- ธาตุที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า โปรตอนและอิเล็กตรอนของธาตุจะต้องเป็ น
อย่างไร (มีจำนวนเท่ากัน)
- สัญลักษณ์นิวเคลียร์คืออะไร (สัญลักษณ์ที่แสดงชื่อของธาตุและราย
ละเอียดของอนุภาคโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียส)
- จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ทำให้ทราบปริมาณใดบ้าง (จำนวนของอนุภาค
โปรตอนและนิวตรอน)
2. ครูอธิบายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ การคำนวณ และความหมายของไอโซโทป
ไอโซโทน และไอโซบาร์ ตามหนังสือเรียนหน้า 117-118 พร้อมยกตัวอย่างการ
คำนวณปริมาณต่างๆ จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์

30 นาทีของชั่วโมงที่ 2
3. ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับขนาดของนิวเคลียสตามหนังสือเรียนหน้า 119
4. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- การหาขนาดของนิวเคลียสมีวิธีการอย่างไร (ใช้อนุภาคต่างๆ เช่น
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน ยิงไปยังเป้ าโลหะ)
- รัศมีของนิวเคลียสไฮโดรเจนมีค่าประมาณเท่าไร (1.35 เฟอร์มี)
4. ครูยกตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับรัศมีของนิวเคลียสโดยใช้ตัวอย่างที่ 4.2-
4.3 ในหนังสือเรียนหน้า 120
5. ครูให้นักเรียนทำโจทย์ตัวอย่างการหารัศมีของนิวเคลียสที่ครูเตรียมมา 2-3
ข้อ

6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“นิวเคลียสของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอนุภาคนิวตรอน
เรียกว่า นิวคลีออน ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอน เรียกว่า เลขมวล
ส่วนจำนวนโปรตอน ในนิวเคลียส เรียกว่า เลขอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์
ของธาตุเขียนได้ดังรูป

1
3
รัศมีของนิวเคลียสหาได้จากสมการ R = R0 A ”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 4.1 ในหนังสือเรียนหน้า
120 เพื่อวัดและประเมินผล

7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power สัญลักษณ์นิวเคลียร์
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ สัญลักษณ์นิวเคลียร์

ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
5.2 คำนวณปริมาณต่างๆ จาก ทักษะ คะแนน
สัญลักษณ์นิวเคลียร์
5.3 คำนวณขนาดของนิวเคลียส
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.4 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.5 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.6 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.7 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ฟิ สิกส์


นิวเคลียร์
แผนการสอนที่ 5 หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส (จำนวน 3
ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 31 - 33 วันที่ 3 – 6 ม.ค. 66
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส (ชั่วโมงที่ 31 - 33) จากการทดลอง
และการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน 100 คน จาก
นักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบายกัมมันตภาพรังสี
และความแตกต่างของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมาถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ
7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายกัมมันตภาพรังสี
และความแตกต่างของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมาถูกต้องชัดเจน ใช้สมรรถนะ
ได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 8 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตกต่างของ
รังสีแอลฟา บีตา และแกมมาถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 34 -
12 ชั่วโมงที่ วันที่ 9 – 13 ม.ค. 66
ห์ที่ 36
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
2
เรียนรู้ที่
แผนการ 6 หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของ จำนว 3 ชั่วโ
สอนที่ นิวเคลียส น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 14 อธิบายและคำนวณกัมมันตภาพของ
นิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวน
นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลายและครึ่งชีวิต
2. สาระการ
เรียนรู้
กัมมันตภาพรังสี คือ รังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี
เนื่องจากนิวเคลียสของอะตอมของธาตุไม่เสถียร เช่น เรเดียม ยูเรเนียม
มี 3 ชนิด คือ รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 กัมมันตภาพรังสี
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายความหมายกัมมันตภาพรังสี
5.2 อธิบายสมบัติของกัมมันตภาพรังสีแต่ละชนิด
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส
6
สอนที่
ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
34 - 36
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
ครูถามนักเรียน
คำถาม
- กัมมันตภาพรังสีคืออะไร (รังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี)
้ ได้อย่างไร (เกิดจากธาตุกัมมันตรังสีมีนิวเคลียสที่
- กัมมันภาพรังสีเกิดขึน
ไม่เสถียร จึงปลดล่อยพลังงานออกมาในรูปของกัมมันตภาพรังสี)
6.2 ขัน

สอน
45 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูให้นักเรียนดูวิดีโอจาก youtube เรื่อง วิชาฟิ สิกส์ – บทเรียน การค้น
พบกัมมันตภาพรังสี เพื่อให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการค้นพบกัมมันตภาพรังสีและ
สมบัติของกัมมันตภาพรังสีแต่ละชนิด (https://www.youtube.com/watch?
v=FRx_Jgjb8iQ)
2. หลังจากดูวิดีโอจบ ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถาม
คำถาม
- กัมมันตภาพรังสีถูกค้นพบได้อย่างไร
- แบ็คเกอแรลทราบได้อย่างไรว่ารังสีที่ตนค้นพบนัน
้ ไม่ใช่รังสีเอกซ์
- กัมมันภาพรังสีมีกี่ชนิด อะไรบ้าง
- กัมมันภาพรังสีแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร

30 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 2
3. ครูให้นักเรียนศึกษาความแตกต่างของรังสีแต่ละชนิดจากหนังสือเรียนหน้า
122
4. ครูใช้อินโฟกราฟฟิ กในหนังสือเรียนหน้า 123 เพื่ออธิบายนักเรียนเกี่ยวกับ
สมบัติของกัมมันตภาพรังสี
5. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 4.1 เรื่อง กัมมันตภาพรังสี เพื่อส่งในชั่วโมงถัด
ไป
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“กัมมันตภาพรังสี คือ รังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุเนื่องจากนิวเคลียสของ
อะตอมของธาตุไม่เสถียร เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุยูเรเนียม มี 3 ชนิด ได้แก่ รังสี
แอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา
รังสีแกมมามีอำนาจทะลุผ่านสูงสุด รองลงมาคือ รังสีบีตา และรังสีแอลฟา
ตามลำดับ
รังสีแอลฟาทำให้สารแตกตัวเป็ นไอออนได้ดีที่สุด รองลงมา คือ รังสีบีตา
ส่วนรังสีแกมมาไม่ทำให้สารแตกตัวเป็ นไอออน
การเบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก รังสีแอลฟาจะเบนขึน
้ ไปจากแนวเดิมเล็ก
น้อย รังสีบีตาเบนไปจากเดิมมากและมีทิศทางตรงข้ามกับรังสีแอลฟา ส่วนรังสี
แกมมาไม่เกิดการเบี่ยงเบนเลย”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง กัมมันตภาพรังสี
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 4.2 ในหนังสือเรียนหน้า
124 เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power สมบัติของกัมมันตภาพรังสี
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ สมบัติของกัมมันตภาพรังสี
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายความหมาย ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
กัมมันตภาพรังสี ทักษะ คะแนน
5.2 อธิบายสมบัติของ
กัมมันตภาพรังสีแต่ละชนิด
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.4 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.5 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ฟิ สิกส์


นิวเคลียร์
แผนการสอนที่ 6 หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส (จำนวน 3
ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 34 - 36 วันที่ 9 – 13 ม.ค. 66
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส (ชั่วโมงที่ 34 - 36) จากการทดลอง
และการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน 100 คน จาก
นักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบายและคำนวณกัม
มันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวน
นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลายและครึ่งชีวิตถูกต้องชัดเจน ส่วน
ร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายและคำนวณกัม
มันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวน
นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลายและครึ่งชีวิตถูกต้องชัดเจน ใช้
สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 4 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 144 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายและคำนวณกัมมันตภาพของนิวเคลียส
กัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวนนิวเคลียส
กัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลายและครึ่งชีวิตถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........

ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................ คะแนน
ช่วง คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน
คะแนน
12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 37 -
13 - 14 ชั่วโมงที่ วันที่ 17 – 27 ม.ค. 66
ห์ที่ 42
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
2
เรียนรู้ที่
แผนการ 7 หน่วยย่อยที่ 2.2 กัมมันตภาพรังสี จำนว 6 ชั่วโ
สอนที่ น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 14 อธิบายและคำนวณกัมมันตภาพของ
นิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวน
นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิต
2. สาระการ
เรียนรู้
นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีนน
ั ้ ไม่เสถียรจึงเกิดการสลายและ
ปล่อยกัมมันตภาพรังสีชนิดต่างๆ ออกมาเกิดเป็ นนิวเคลียสของธาตุใหม่
เรียกว่า การสลายกัมมันตรังสี ซึง่ อัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
หรือกัมมันตภาพจะเป็ นปฏิภาคโดยตรงกับจำนวนนิวเคลียสที่มีอยู่เดิม
ในขณะนัน
้ โดยเมื่อเวลาผ่านไป จำนวนนิวเคลียสจะค่อยๆ ลดลง ระยะ
เวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีลดลงเหลือครึ่งหนึง่ ของจำนวนเริ่ม
ต้นจะเรียกว่า ครึ่งชีวิต
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
5.2 คำนวณอัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
5.3 อธิบายและคำนวณเวลาครึ่งชีวิต
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 2.2 กัมมันตภาพรังสี
7
สอนที่
ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
37 - 42
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
1. ครูทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสีให้กับนักเรียน
2. ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนโดยใช้ภาพหรือสัญลักษณ์ของธาตุทั่วไปและ
ธาตุกัมมันตรังสีรวมกัน
คำถาม
้ รือไม่ (คำตอบขึน
- นักเรียนรู้จักธาตุเหล่านีห ้ อยู่กับนักเรียน)
- ธาตุชนิดใดสามารถทำให้เกิดกัมมันตภาพรังสีได้บ้าง (คำตอบขึน
้ อยู่กับ
นักเรียน)
- หลังจากธาตุกัมมันตรังสีสลายให้กัมมันตภาพรังสีแล้วนิวเคลียสและ
ปริมาณของธาตุจะเป็ นอย่างไร (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
- การสลายกัมมันตรังสีคืออะไร (กระบวนการที่ธาตุกัมมันตรังสีเกิดการ
สลายและปล่อยกัมมันตภาพรังสีออกมา โครงสร้างของนิวเคลียสของธาตุจะ
เปลี่ยนไปจากเดิมและเกิดเป็ นนิวเคลียสของธาตุใหม่)
6.2 ขัน

สอน
45 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูอธิบายความหมายของการสลายและการสลายกัมมันตรังสี
2. ครูอธิบายเกี่ยวกับการสลายให้รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมาตาม
หนังสือเรียนหน้า 127-128 โดยเน้นนักเรียนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเลขมวล
และเลขอะตอมทัง้ ก่อนและหลังการเกิดการสลาย
3. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- เหตุใดธาตุกัมมันตรังสีจึงเกิดการสลาย (นิวเคลียสของธาตุไม่เสถียร)
- เมื่อธาตุกัมมันตรังสีเกิดการสลายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
(จะเกิดนิวเคลียสของธาตุใหม่และให้กัมมันภาพรังสีออกมา)
- หลังเกิดการสลาย ถ้านิวเคลียสของธาตุใหม่ไม่เสถียรจะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างไร (นิวเคลียสของธาตุใหม่จะเกิดการสลายต่อไปเรื่อยๆ จนกว่า
จะเสถียร)
4. ครูอธิบายเกี่ยวกับอนุกรมการสลายพร้อมทัง้ ยกตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับ
อนุกรมการสลายตามหนังสือเรียนหน้า 127-131
ชั่วโมงที่ 2
5. ครูอธิบายเกี่ยวกับอัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสีโดยใช้รูปที่ 4.11 ใน
หนังสือเรียนหน้า 129 โดยเชื่อมโยงกับหลักการทางสถิติและความน่าจะเป็ น เพื่อ
ให้นักเรียนเห็นภาพว่าเมื่อเวลาผ่านไปจำนวนของนิวเคลียสจะค่อยๆ ลดลง และ
นิวเคลียสตัวใดจะสลายก่อนหรือหลังนัน
้ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน
6. ครูถามนักเรียน
คำถาม
ึ ้ อยู่กับปริมาณใด (จำนวน
- อัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสีขน
นิวเคลียสของธาตุ)
7. ครูอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนนิวเคลียสของธาตุ กัมมันตภาพ
และมวลของสารเพื่อให้ได้สมการที่ 4.9-4.11
8. ครูอธิบายความหมายของเวลาครึ่งชีวิตโดยเชื่อมโยงสมการที่ 4.9 กับ
กราฟที่ 4.1 เพื่อให้ได้สมการที่ 4.14-4.17
9. ครูยกตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับอัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสีและ
เวลาครึ่งชีวิต 3-5 ข้อ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากยิ่งขึน

ชั่วโมงที่ 3
10. ครูถามนักเรียนเพื่อนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมการทดลอง
คำถาม
- เวลาครึ่งชีวิตคืออะไร (ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีสลายไปจนมีปริมาณ
เหลืออยู่ครึ่งหนึ่งของปริมาณที่มีอยู่ในตอนเริ่มต้น)
- การสลายของสารกัมมันตรังสีเปรียบเทียบกับการทอดลูกเต๋าได้หรือไม่
(ได้ โดยใช้ลูกเต๋าแทนจำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี เมื่อทอดลูกเต๋าแล้ว
หยิบลูกเต๋าที่หงายหน้าตามเงื่อนไขที่ได้กำหนดไว้ออกจากกอง ก็จะเหลือลูกเต๋า
อยู่จำนวนหนึ่ง ลูกเต๋าที่ถูกหยิบออกไปเปรียบเทียบได้กับนิวเคลียสของธาตุที่
สลายไป ส่วนลูกเต๋าที่เหลือเปรียบเทียบได้กับนิวเคลียสของธาตุที่เหลืออยู่)
11. ครูให้นักเรียนศึกษาวิธีปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง กิจกรรมที่ 4.1 หน้า
136
12. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5-6 คน
13. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง กิจกรรมที่ 4.1 เรื่อง การเปรียบ
เทียบการทอดลูกเต๋ากับการสลายของสารกัมมันตรังสี
14. ครูและนักเรียนสรุปผลการทดลองด้วยคำถามท้ายกิจกรรม
15. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“เงื่อนไขที่กำหนดคือโอกาสที่ลูกเต๋าจะหงายหน้าแต้มสี ซึ่งเปรียบเทียบได้
กับค่าคงที่ของการสลาย ลูกเต๋าที่คัดออกไปนัน
้ เปรียบเทียบได้กับนิวเคลียสของ
ธาตุที่สลายไป ส่วนลูกเต๋าที่เหลืออยู่เปรียบเทียบได้กับนิวเคลียสของธาตุที่เหลือ
อยู่ จำนวนครัง้ ที่ทอดลูกเต๋า คือ เวลาที่ใช้ในการสลาย จำนวนครัง้ ที่ทอดลูกเต๋าจน
กระทั่งจำนวนลูกเต๋าเหลือครึ่งหนึ่งของตอนเริ่มต้น คือ เวลาครึ่งชีวิต”
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีนน
ั ้ ไม่เสถียรจึงเกิดการสลายและปล่อย
กัมมันตภาพรังสีชนิดต่างๆ ออกมา เกิดเป็ นนิวเคลียสของธาตุใหม่ เรียกว่า การ
สลายกัมมันตรังสี
เมื่อธาตุกัมมันตรังสีเกิดการสลาย แต่นิวเคลียสที่เกิดใหม่นัน
้ ยังไม่เสถียร ก็จะ
เกิดการสลายต่อไปเรื่อยๆ จนกว่านิวเคลียสที่เกิดใหม่จะเสถียร การสลายจึงจะ
หยุดลง เรียกว่า อนุกรมการสลาย
อัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสีหรือกัมมันตภาพจะเป็ นปฏิภาคโดยตรง
กับจำนวนนิวเคลียสที่มีอยู่เดิมในขณะนัน

ในการสลายกัมมันตรังสี เมื่อเวลาผ่านไปจำนวนนิวเคลียสจะค่อยๆ ลดลง
โดยระยะเวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของของจำนวน
เริ่มต้น เรียกว่า ครึ่งชีวิต”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง อัตราการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 4.3 ในหนังสือเรียนหน้า
138 เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power ครึ่งชีวิต
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ ครึ่งชีวิต
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายการสลายของธาตุ ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
กัมมันตรังสี ทักษะ คะแนน
5.2 คำนวณอัตราการสลายของ
ธาตุกัมมันตรังสี
5.3 อธิบายและคำนวณเวลาครึ่ง
ชีวิต
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.4 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.5 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.6 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.7 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ฟิ สิกส์


นิวเคลียร์
แผนการสอนที่ 6 หน่วยย่อยที่ 2.2 กัมมันตภาพรังสี (จำนวน 3 ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 37 - 42 วันที่ 17 – 27 ม.ค. 66
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 2.1 เสถียรภาพของนิวเคลียส (ชั่วโมงที่ 37 - 42) จากการทดลอง
และการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน 100 คน จาก
นักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบายและคำนวณกัม
มันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวน
นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิตถูกต้องชัดเจน
ส่วนร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายและคำนวณกัม
มันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวน
นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิตถูกต้องชัดเจน ใช้
สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 8 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายและคำนวณกัมมันตภาพของนิวเคลียส
กัมมันตรังสี รวมทัง้ ทดลอง อธิบายและคำนวณจำนวนนิวเคลียส
กัมมันตภาพรังสีที่เหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิตถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา
เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 43 -
15 ชั่วโมงที่ วันที่ 30 ม.ค. – 3 ก.พ. 66
ห์ที่ 45
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
2
เรียนรู้ที่
แผนการ 8 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และ จำนว 6 ชั่วโ
สอนที่ พลังงานนิวเคลียร์ น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 15 อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของ
นิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง
2. สาระการ
เรียนรู้
แรงนิวเคลียร์ คือ แรงที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนไว้ภายในนิวเคลียส
และพลังงานที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนภายในนิวเคลียส เรียกว่า พลังงาน
ยึดเหนี่ยว เมื่อโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็ นนิวเคลียส จะมีมวล
ส่วนหนึ่งหายไป เรียกว่า มวลพร่อง มวลส่วนที่หายไปนีจ
้ ะเปลี่ยนไป
เป็ นพลังงานซึง่ จะมีค่าเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยวตามทฤษฎีสัมพัทธภาพ
ของไอน์สไตน์
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 พลังงานยึดเหนี่ยว
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียส และพลังงานยึด
เหนี่ยว
5.2 คำนวณหามวลพร่องและพลังงานยึดเหนี่ยว
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
8
สอนที่
ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
43 - 45
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
1. ครูทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับแรงพื้นฐานในธรรมชาติทงั ้ 4 แรง
2. ครูนำนักเรียนเข้าสู่บทเรียนโดยวาดรูปนิวเคลียสของธาตุบนกระดาน
3. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- โปรตอนมีประจุบวกเหมือนกัน เมื่ออยู่ใกล้กันจะเกิดแรงผลักกัน
เหตุใดโปรตอนจึงอยู่รวมกันภายในนิวเคลียสได้ (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
6.2 ขัน

สอน
45 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- แรงนิวเคลียร์คืออะไร (แรงที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนไว้ภายในนิวเคลียส)
2. ครูอธิบายเกี่ยวกับแรงเข้มและแรงนิวเคลียร์
3. ครูอธิบายเกี่ยวกับการวัดมวลในหน่วย atomic mass unit เพื่อใช้กับมวล
ของนิวคลีออนที่มีขนาดเล็กๆ
4. ครูอธิบายความหมายของมวลพร่องตามหนังสือเรียนหน้า 139
5. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- มวลและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างไร (มวลสามารถเปลี่ยนเป็ น
พลังงานได้ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์)
6. ครูอธิบายการคำนวณหามวลพร่องตามสมการที่ 4.19 ในหนังสือเรียน
หน้า 140

45 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 2
7. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- พลังงานยึดเหนี่ยวคืออะไร (พลังงานที่นิวคลีออนภายในนิวเคลียสใช้ยึด
เหนี่ยวไว้ด้วยกัน)
- ถ้าต้องการแยกนิวคลีออนภายในนิวเคลียสออกจากกันจะมีวิธีอย่างไร
(ให้พลังงานที่มีค่าเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยว)
8. ครูอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมวลพร่องและพลังงานยึดเหนี่ยวเพื่อให้ได้
สมการที่ 4.20 และ 4.21
11. ครูอธิบายการคำนวณเกี่ยวกับพลังงานยึดเหนี่ยวและพลังงานยึดเหนี่ยว
ต่อนิวคลีออนโดยใช้ตัวอย่างที่ 4.12-4.14 ในหนังสือเรียนหน้า 142
12. ครูให้นักเรียนฝึ กทำโจทย์เรื่องพลังงานยึดเหนี่ยวที่ครูได้เตรียมมา 3-5
ข้อ เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“แรงนิวเคลียร์หรือแรงเข้ม คือ แรงที่ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนไว้ภายในนิวเคลียส
เป็ น 1 ใน 4 ของแรงพื้นฐานในธรรมชาติ
พลังงานยึดเหนี่ยว คือ พลังงานที่ยึดเหนี่ยวระหว่างนิวคลีออนภายใน
นิวเคลียส หากให้พลังงานที่มีค่าเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยวแก่นิวเคลียสจะทำให้นิว
คลีออนแยกออกจากกัน
เมื่อโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็ นนิวเคลียสจะมีมวลส่วนหนึ่งหายไป
เรียกว่า มวลพร่อง มวลส่วนที่หายไปนีจ
้ ะเปลี่ยนเป็ นพลังงานตามทฤษฎีสัมพัทธ
ภาพของไอสไตน์ ซึ่งจะมีค่าเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยว”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง แรงนิวเคลียร์
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 4.4 ในหนังสือเรียนหน้า
143 เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power พลังงานยึดเหนี่ยว
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ พลังงานยึดเหนี่ยว
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายแรงนิวเคลียร์ ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
เสถียรภาพของนิวเคลียส และ ทักษะ คะแนน
พลังงานยึดเหนี่ยว
5.2 คำนวณหามวลพร่องและ
พลังงานยึดเหนี่ยว
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.4 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.5 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ฟิ สิกส์


นิวเคลียร์
แผนการสอนที่ 8 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
(จำนวน 3 ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 43 - 45 วันที่ 30 ม.ค. – 3 ก.พ. 66
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์ (ชั่วโมงที่ 43 - 45)
จากการทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน
100 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบาย
แรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทัง้ คำนวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้
บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายแรงนิวเคลียร์
เสถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องถูกต้องชัดเจน ใช้สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 8 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียส
และพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทัง้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 46 -
16 - 17 ชั่วโมงที่ วันที่ 6 - 17 ก.พ. 66
ห์ที่ 51
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
2
เรียนรู้ที่
แผนการ 9 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และ จำนว 6 ชั่วโ
สอนที่ พลังงานนิวเคลียร์ น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 16 อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ชชันและฟิ ว
ชันรวมทัง้ คำนวณพลังงานนิวเคลียร์
2. สาระการ
เรียนรู้
ปฏิกิริยานิวเคลียร์เกิดขึน
้ เมื่อนิวเคลียสของธาตุเกิดการ
เปลี่ยนแปลงกลายเป็ นนิวเคลียสของธาตุใหม่ โดยปฏิกิริยาฟิ ชชันเกิด
จากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนักไปเป็ นธาตุเบา ส่วนปฏิกิริยาฟิ ว
ชันเกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบาไปเป็ นนิวเคลียสของธาตุที่
หนักกว่า
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 ปฏิกิริยาฟิ ชชัน
3.2 ปฏิกิริยาฟิ วชัน
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ชชันและฟิ วชัน
5.2 คำนวณพลังงานนิวเคลียร์
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
9
สอนที่
ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
46 - 51
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
ครูถามนักเรียน
คำถาม
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์คืออะไร (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์กับปฏิกิริยาเคมีเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร (คำตอบขึน

อยู่กับนักเรียน)
้ ได้อย่างไร (คำตอบขึน
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์เกิดขึน ้ อยู่กับนักเรียน)
6.2 ขัน

สอน
45 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูอธิบายกฎของปฏิกิริยานิวเคลียร์ทงั ้ 4 ข้อ ตามหนังสือเรียนหน้า 143

2. ครูอธิบายการเขียนปฏิกิริยานิวเคลียร์ในรูปของสมการตามสมการที่ 4.22-

4.23 ในหนังสือเรียนหน้า 144

3. ครูเขียนโจทย์เกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ได้เตรียมมา 2-3 ข้อ บน


กระดาน แล้วให้นักเรียนออกมาแสดงวิธีทำหน้าชัน
้ เรียน
4. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์มีกี่ชนิด อะไรบ้าง (2 ชนิด ได้แก่ ปฏิกิริยาฟิ ชชันและ
ปฏิกิริยาฟิ วชัน)
- ปฏิกิริยาฟิ ชชันและฟฏิกิริยาฟิ วชันแตกต่างกันอย่างไร (ปฏิกิริยาฟิ ชชัน
เกิดจากการแตกตัวของธาตุหนัก ส่วนปฏิกิยาฟิ วชันเกิดจากการแตกตัวของธาตุ
เบา)
5. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาฟิ ชชัน
อีกกลุ่มหนึ่งศึกษาเรื่องปฏิกิริยาฟิ วชันจากหนังสือเรียนและเว็บไซต์ต่างๆ

45 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 2

5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมากลุ่มละ 5 คน เพื่ออธิบายเกี่ยว
กับปฏิกิริยาฟิ ชชันและปฏิกิริยาฟิ วชัน
6. ครูนำคำถามในขัน
้ นำถามนักเรียนอีกครัง้ โดยให้นักเรียนช่วยกันตอบ
คำถาม
- ดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งพลังงานที่สำคัญต่อโลก พลังงานมหาศาลบนดวง
้ ได้อย่างไร (พลังงานบนดวงอาทิตย์รวมถึงดาวฤกษ์ทุกดวงเกิดขึน
อาทิตย์เกิดขึน ้
จากปฏิกิริยาฟิ วชัน)
7. ครูอธิบายการคำนวณเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์โดยใช้ตัวอย่างที่ 4.17-4.18

ในหนังสือเรียนหน้า 148 และตัวอย่างที่ 4.19 ในหนังสือเรียนหน้า 150

8. ครูให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แล้วทำเป็ นแผ่นพับ
หรือใบความรู้
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“ปฏิกิริยานิวเคลียร์เกิดขึน
้ เมื่อนิวเคลียสของธาตุเกิดการเปลี่ยนแปลงกลาย
เป็ นนิวเคลียสของธาตุใหม่ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ได้แก่ ปฏิกิริยาฟิ ชชันและปฏิ
กิริยาฟิ วชัน
ปฏิกิริยาฟิ ชชันเกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนักไปเป็ นธาตุเบา โดย
มวลของนิวเคลียสที่หายไปจะกลายเป็ นพลังงานนิวเคลียร์
ปฏิกิริยาฟิ วชันเกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบาไปเป็ นนิวเคลียสของ
ธาตุที่หนักกว่า โดยมวลที่หายไปจะเปลี่ยนไปเป็ นพลังงานนิวเคลียร์”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง ปฏิกิริยานิวเคลียร์
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 4.5 ในหนังสือเรียนหน้า
152 เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ช ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
ชันและฟิ วชัน ทักษะ คะแนน
5.2 คำนวณพลังงานนิวเคลียร์

ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.4 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.5 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ฟิ สิกส์
นิวเคลียร์
แผนการสอนที่ 9 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
(จำนวน 6 ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 46 - 51 วันที่ 6 - 17 ก.พ. 66
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์ (ชั่วโมงที่ 46 - 51)
จากการทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน
100 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบาย
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ชชันและฟิ วชันรวมทัง้ คำนวณพลังงานนิวเคลียร์ถูกต้อง
ชัดเจน ส่วนร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ ฟิ ชชันและฟิ วชันรวมทัง้ คำนวณพลังงานนิวเคลียร์ถูกต้องชัดเจน ใช้
สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 8 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิ ชชันและฟิ วชันรวม
ทัง้ คำนวณพลังงานนิวเคลียร์ถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........

ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 52 -
18 - 19 ชั่วโมงที่ วันที่ 20 ก.พ. – 3 มี.ค. 66
ห์ที่ 57
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
2
เรียนรู้ที่
แผนการ 1 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ จำนว 6 ชั่วโ
สอนที่ 0 และพลังงานนิวเคลียร์ น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 17 อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์
และรังสี รวมทัง้ อันตรายและการป้ องกันรังสีในด้านต่าง ๆ
2. สาระการ
เรียนรู้
กัมมันตภาพรังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในหลายด้าน เช่น ด้าน
การแพทย์ ด้านเกษตรกรรม ด้านธรณีวิทยา ส่วนพลังงานนิวเคลียร์ที่ได้
จากปฏิกิริยาฟิ ชชันสามารถนำไปใช้ผลิตไฟฟ้ าได้ แต่ถ้ามีการนำไปใช้
โดยไม่รัดกุมจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างมาก
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสี
3.2 การใช้ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์และรังสี
5.2 บอกถึงอันตรายและวิธีการป้ องกันรังสี
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
10
สอนที่
ชั่วโมง 52 - 57 (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
ครูถามนักเรียน
คำถาม
- กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์นำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้
อย่างไร (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
- กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์มีอันตรายอย่างไร และจะมีวิธี
การป้ องกันรังสีอย่างไร (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
6.2 ขัน

สอน
45 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อสืบค้นและทำ
ป้ ายนิเทศเกี่ยวกับการกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์นำไปใช้ประโยชน์
อันตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ และจะมีวิธีการป้ องกัน
รังสี
2. ครูกำหนดหัวข้อต่างๆ 5 หัวข้อ ดังนี ้
- ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีด้านการแพทย์
- ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีด้านการเกษตร
- การใช้กัมมันตภาพรังสีหาอายุของวัตถุโบราณ
- พลังงานนิวเคลียร์จากโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
- อันตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสีและวิธีการป้ องกัน
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจับสลากเพื่อเลือก 1 หัวข้อ แล้วให้นักเรียนสืบค้น
และทำป้ ายนิเทศเพื่อนำเสนอหน้าชัน
้ เรียนในชั่วโมงถัดไป

45 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 2

4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน้าชัน
้ เรียน กลุ่มละ 7 นาที
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการกัมมันตภาพรังสีและพลังงาน
นิวเคลียร์นำไปใช้ประโยชน์ อันตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสีและพลังงาน
นิวเคลียร์ และจะมีวิธีการป้ องกันรังสี
6. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 4.1 เรื่อง ผลกระทบจากโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“กัมมันตภาพรังสีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในหลายด้าน เช่น ด้าน การ
แพทย์ ด้านการเกษตร ด้านธรณีวิทยา
พลังงานนิวเคลียร์ที่ได้จากปฏิกิริยาฟิ ชชันสามารถนำไปใช้ผลิตไฟฟ้ าได้”
2. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและ
พลังงานนิวเคลียร์
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 4.6 ในหนังสือเรียนหน้า
156 เพื่อวัดและประเมินผล
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ อันตรายและวิธีการ
Point เรื่อง ป้ องกันรังสี
7.2 ใบงาน/แบบ ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ อันตรายและวิธี
ฝึ กหัด เรื่อง การป้ องกันรังสี
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายประโยชน์ของพลังงาน ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
นิวเคลียร์และรังสี ทักษะ คะแนน
5.2 บอกถึงอันตรายและวิธีการ
ป้ องกันรังสี
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.4 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5
5.5 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ฟิ สิกส์


นิวเคลียร์
แผนการสอนที่ 10 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
(จำนวน 6 ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 52 - 57 วันที่ 20 ก.พ. – 3 มี.ค. 66
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์ (ชั่วโมงที่ 52 - 57)
จากการทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน
100 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบาย
ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ และรังสี รวมทัง้ อันตรายและการป้ องกันรังสี
ในด้านต่าง ๆถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ 7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายประโยชน์ของ
พลังงานนิวเคลียร์ และรังสี รวมทัง้ อันตรายและการป้ องกันรังสีในด้านต่าง ๆ
ถูกต้องชัดเจน ใช้สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัดที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 8 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ และรังสี
รวมทัง้ อันตรายและการป้ องกันรังสีในด้านต่าง ๆถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน
โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........

ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1
ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 25
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
วิทยาศาสตร์ 65
วิ
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษา
ช ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว 33208 6
ปี ที่

สัปดา 58 -
20 ชั่วโมงที่ วันที่ 7 – 10 มี.ค. 66
ห์ที่ 60
หน่วยการ เรื่อง ฟิ สิกส์นิวเคลียร์
2
เรียนรู้ที่
แผนการ 1 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ จำนว 3 ชั่วโ
สอนที่ 1 และพลังงานนิวเคลียร์ น มง

1. ผลการ
เรียนรู้
สาระที่ 4 ผลการเรียนรู้ที่ 18 อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาค
แบบจำลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้าวิจัยด้าน
ฟิ สิกส์อนุภาคในด้านต่าง ๆ
2. สาระการ
เรียนรู้
ฟิ สิกส์อนุภาคเป็ นการศึกษาสมบัติของอนุภาคขนาดเล็กๆ โดยพบ
ว่าภายในโปรตอนและนิวตรอนนัน
้ เกิดขึน
้ จากการรวมตัวของอนุภาคค
วาร์ก สสารทุกชนิดประกอบขึน
้ มาจากควาร์กและเลปตอนที่ยึดเหนี่ยว
กันด้วยอันตรกิริยาพื้นฐานทัง้ 4 ชนิด โดยมีอนุภาคโบซอน ทำหน้าที่
เป็ นสื่อนำแรง
3. หัวข้อสาระการ
เรียนรู้
3.1 ฟิ สิกส์อนุภาค
4. สมรรถนะ
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบทของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.2 หาความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำวัน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือ
ความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน
5. จุดประสงค์การเรียน
รู้
ด้านความรู้
5.1 อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาคและแบบจำลอง
มาตรฐาน
5.2 อธิบายการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาคใน
ด้านต่าง ๆ
ด้านทักษะ/
กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป
5.4 การสืบค้นข้อมูล
ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5.5 ใฝ่ เรียนรู้
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน
6.การออกแบบกิจกรรม
แผนการ หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
11
สอนที่
ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบทดลองและอภิปราย) จุดประสงค์ข้อ
58 - 60
ที่ ที่ 5.1 5.2
6.1 ขัน

นำ
ครูถามนักเรียน
คำถาม
- องค์ประกอบที่เล็กที่สุดของสสารคืออะไร (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
- นักเรียนคิดว่าโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนที่เป็ นอนุภาคมูลฐาน
้ เป็ นอนุภาคที่เล็กที่สุดหรือไม่ (คำตอบขึน
ของอะตอมนัน ้ อยู่กับนักเรียน)
- นักเรียนคิดว่ามีอนุภาคที่เล็กกว่าโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนอีก
หรือไม่ (คำตอบขึน
้ อยู่กับนักเรียน)
6.2 ขัน

สอน
50 นาทีของชั่วโมงแรก
1. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- ฟิ สิกส์อนุภาคคืออะไร (การศึกษาสมบัติของอนุภาคขนาดเล็กๆ)
- การศึกษาด้านฟิ สิกส์อนุภาคมีวิธีการอย่างไร (การศึกษาฟิ สิกส์อนุภาค
จะต้องใช้พลังงานสูงๆ ในการเร่งอนุภาคให้ชนกันและเกิดการแตกตัว จึงจะ
สามารถทำให้อนุภาคเล็กๆ ที่ซ่อนอยู่ปรากฏออกมา โดยนักวิทยาศาสตร์จะใช้
เครื่องเร่งอนุภาคในการศึกษาด้านฟิ สิกส์อนุภาค)
2. ครูอธิบายความหมายเกี่ยวกับฟิ สิกส์อนุภาคและการศึกษาด้านฟิ สิกส์
อนุภาคด้วยเครื่องเร่งอนุภาคตามหนังสือเรียนหน้า 157-158
3. ครูอธิบายความหมายเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐานและแบบจำลองมาตรฐาน
ตามหนังสือเรียนหน้า 158-159
4. ครูถามนักเรียน
คำถาม
- จากแบบจำลองมาตรฐาน สสารต่างๆ เกิดขึน
้ ได้อย่างไร (สสารทุกชนิด
ประกอบขึน
้ มาจากควาร์กและเลปตอนที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยอันตรกิริยาพื้นฐานทัง้
4)

10 นาทีแรกของชั่วโมงที่ 2
5. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 4.2 เรื่องควาร์ก เพื่อเพิ่มความเข้าใจเกี่ยว
กับอนุภาคมูลฐาน
6. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ดังนี ้
“ฟิ สิกส์อนุภาคเป็ นการศึกษาสมบัติของอนุภาคเล็กๆ โดยอนุภาคมูลฐาน คือ
อนุภาคในหน่วยเล็กที่สุดที่ไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีก และแบบจำลอง
มาตรฐาน คือ การแบ่งชนิดหรือสมบัติของอนุภาค
สสารทุกชนิดประกอบขึน
้ มาจากควาร์กและเลปตอนที่ยึดเหนี่ยวกันด้วย
อันตรกิริยาพื้นฐานทัง้ 4 ซึ่งเกิดจากโบซอนหรืออนุภาคที่ทำหน้าที่เป็ นสื่อนำแรง”
12. ครูให้นักเรียนทำผังมโนทัศน์สรุปเรื่อง ฟิ สิกส์อนุภาค
13. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 4.7 ในหนังสือเรียนหน้า
159 เพื่อวัดและประเมินผล
6.3 ขัน

สรุป
1. ครูใช้ “สรุปเรื่องฟิ สิกส์นิวเคลียร์” ในหนังสือเรียนหน้า 161-162 เพื่อ
ทบทวนบทเรียน
2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน (4 ตัวเลือก) จำนวน 20 ข้อ (ใช้
เวลา 15-20 นาที)
3. ครูให้นักเรียนทำคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้เพื่อส่งท้ายชั่วโมง
4. ครูให้นักเรียนเลือกทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ภาคเรียน
ละ 1 กิจกรรม และนำเสนอในนิทรรศการ
7. สื่อการเรียนรู้ /
แหล่งเรียนรู้
7.1 Power
Point เรื่อง
7.2 ใบงาน/แบบ
ฝึ กหัด เรื่อง
8.การออกแบบวิธีการและเครื่อง
มือประเมินผล
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์
ด้านความรู้ - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.1 อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้าน ทักษะ ประเมิน คะแนน จาก 5
ฟิ สิกส์อนุภาคและแบบจำลอง ทักษะ คะแนน
มาตรฐาน
5.2 อธิบายการใช้ประโยชน์จาก
การค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาค
ในด้านต่าง ๆ
ด้านทักษะ/กระบวนการ
5.3 การอภิปรายและสรุป - ประเมิน - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 3
5.4 การสืบค้นข้อมูล ทักษะ ประเมิน คะแนนจาก 5
ทักษะ คะแนน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกต - แบบ - ผ่านเกณฑ์ 5


5.5 ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม ประเมิน คะแนนจาก 10
5.6 มุ่งมั่นในการทำงาน คุณลักษณะ คะแนน
สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถใน -การสังเกต -แบบบันทึก -ใช้สมรรถนะได้
การคิด และการ การสังเกต ทุกตัวชีว้ ัด
ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 คิดพื้นฐาน บันทึกการ และแบบ ถือว่าผ่าน
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.1 จำแนก ปฏิบัติงาน บันทึกการ เกณฑ์
จัดหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ ปฏิบัติงาน
และเปรียบเทียบข้อมูลในบริบท
ของการดำเนินชีวิต
พฤติกรรมบ่งชี ้ 2.1.3 สามารถระบุ
หลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้
ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นใน
บริบทของการดำเนินชีวิตประจำ
วัน

9. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ฟิ สิกส์


นิวเคลียร์
แผนการสอนที่ 11 หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์
(จำนวน 3 ชั่วโมง)
สรุปผลการเรียนรู้ ชัน
้ ม.6/1 ชั่วโมงที่ 58 - 60 วันที่ 7 – 10 มี.ค. 66
1.ผลการเรียนรู้ (Deep knowledge) ที่เกิดขึน
้ กับผู้เรียน
หน่วยย่อยที่ 2.3 ปฏิกิริยานิวเคลียร์และพลังงานนิวเคลียร์ (ชั่วโมงที่ 58 - 60)
จากการทดลองและการทำแบบฝึ กหัด นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 จำนวน
100 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 สามารถอธิบาย
การค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาคแบบจำลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์
จากการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาคในด้านต่าง ๆถูกต้องชัดเจน ส่วนร้อยละ
7.41 สามารถอธิบายได้บางส่วน
2.ทักษะ / กระบวนการ
จาการสังเกตพฤติกรรม นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน
35 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 มีทักษะการ
อภิปรายและสรุป กระบวนการอภิปรายกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ส่วนร้อยละ
7.41 ต้องได้รับการฝึ กฝนการอภิปรายและสรุปให้มากยิ่งขึน

3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน
ทัง้ หมด 36 คน คิดเป็ นร้อยละ 92.59 เพียรพยายามในการเรียนรู้ค้นคว้า
หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้บันทึกความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ส่วนร้อยละ 7.41 ชอบพูดคุยขณะเรียน ไม่ค้นคว้าหาความรู้
และบันทึกสิ่งที่เรียนรู้ ต้องได้รับการตักเตือน
4.สมรรถนะ
จากการสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงานโดยประเมินจากแบบบันทึก
การสังเกตพฤติกรรมและการปฏิบัติงาน นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
6/1 นักเรียนจำนวน 35 คน จากนักเรียน 36 คน มีการอธิบายการค้นคว้าวิจัย
ด้านฟิ สิกส์อนุภาคแบบจำลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้า
วิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาคในด้านต่าง ๆถูกต้องชัดเจน ใช้สมรรถนะได้เกณฑ์ตัวชีว้ ัด
ที่กำหนด ร้อยละ 92.59
5.แนวทางการพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแผนการสอน
การจัดการเรียน นักเรียนจำนวน 8 คน จากนักเรียนทัง้ หมด 36 คน คิด
เป็ น ร้อยละ 7.41 ไม่สามารถอธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาคแบบ
จำลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้าวิจัยด้านฟิ สิกส์อนุภาคใน
ด้านต่าง ๆถูกต้องชัดเจน
มิส พิชชาพร ประยูรอนุ
เทพ
ครูผู้สอน

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการอภิปราย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิชา การวิเคราะห์เชิงฟิ สิกส์ รหัส
วิชา ว 33215 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ ............................................... นามสกุล........................................เลขที่


.............. ห้อง ...........
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
กระบวนการอภิปรายและสรุป ดีมาก ดี ผ่าน
(3) (2) (1)
1.ความสามารถในการอธิบาย
2.ความสัมพันธ์ของข้อมูล
3.ความสามารถในการสื่อความคิด
4.สรุปเนื้อหาได้สัมพันธ์และถูกต้อง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทัง้ หมด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้ ........................
ช่วง คะแนน คะแนน
คะแนน  ผ่าน  ไม่ผ่าน

12 5
10-11 4
7-9 3
4-6 2
1-3 1

ลงชื่อ ..............................................
...............
ครู
ประจำวิชา
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1.ความสามารถ อธิบายเปรียบ อธิบายเปรียบ อธิบายได้ แต่
ในการอธิบาย เทียบหรือยก เทียบหรือยก ตัวอย่างยังไม่
ตัวอย่าง ตัวอย่างประกอบ สอดคล้องกับ
ประกอบได้ ได้ คำอธิบาย
อย่างชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน
2.ความสัมพันธ์ บอกความ บอกความสัมพันธ์ บอกความ
ของข้อมูล สัมพันธ์ของ ของข้อมูลได้ สัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ละเอียด ชัดเจน ข้อมูลได้ไม่ครบ
ชัดเจนครบถ้วน แต่ไม่ครบถ้วน ถ้วน
3.ความสามารถ งานสมบูรณ์ งานชัดเจน แต่มี งานชัดเจน
ในการสื่อความ ชัดเจนครบถ้วน บางส่วนขาดหาย แต่ไม่ครบถ้วน
คิด ไป
4.สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาได้ สรุปเนื้อหาไม่
สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์และถูก สัมพันธ์ ค่อยสัมพันธ์
ต้อง ต้อง แต่ไม่ถูกต้องบาง
ส่วน

You might also like