You are on page 1of 660

รังสีอาทิตย์

Solar Radiation

โดย

ศาสตราจารย์ ดร.เสริม จันทร์ฉาย


ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร

Professor Dr. Serm Janjai


Department of Physics, Faculty of Science,
Silpakorn University

(1)
(2)
รังสีอาทิตย์
ต�ำราประกอบการสอนวิชา 514 523 รังสีอาทิตย์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

พิมพ์ครั้งที่ 2 จ�ำนวน 500 เล่ม


พ.ศ. 2560

ผู้เขียน ศาสตราจารย์ ดร. เสริม จันทร์ฉาย


ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อ�ำเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 034-270761 อีเมล์ serm.janjai@gmail.com

ผู้จัดพิมพ์ หน่วยวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์


มหาวิทยาลัยศิลปากร อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000
โทร. 034-270761

สถานที่พิมพ์ บริษัท เพชรเกษมพริ้นติ้ง กรุ๊ป จ�ำกัด


เลขที่ 18/49 ถนนทรงพล ต�ำบลล�ำพยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000
โทร. 034-259758-9, 034-259111, 034-253333

ราคา 700 บาท


(รายได้จากการจ�ำหน่ายต�ำรานีจ้ ะน�ำไปใช้ในการซ่อมบ�ำรุงสถานีวดั รังสีอาทิตย์
ของมหาวิทยาลัยศิลปากร)

(3)
(4)
ค�ำน�ำ

ต�ำรา “รังสีอาทิตย์” นี้จัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 2 พร้อมปรับปรุงแก้ไขเนื้อหา เพื่อใช้ส�ำหรับ


ประกอบการสอนวิชา 514 523 รังสีอาทิตย์ ต�ำราฉบับปรับปรุงนี้ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1 เป็นความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรังสีอาทิตย์ ส่วนที่ 2 กล่าวถึงรังสีอาทิตย์ในช่วงความยาว
คลื่นกว้าง ส่วนที่ 3 เป็นเรื่องราวของรังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ และส่วนที่ 4
อธิบายเกี่ยวกับรังสีอาทิตย์ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
การปรับปรุงครั้งนี้ มีการเปลี่ยนแปลงหลักดังนี้ ในส่วนที่ 1 เนื้อหาของบทที่ 1
ได้เพิ่มเติมทฤษฎีการถ่ายเทความร้อนโดยการแผ่รังสี ในบทที่ 3 ได้เพิ่มเติมข้อมูลการแปรค่า
ตามความสูงของโอโซนและปรับข้อมูลการกระจายตามพื้นที่ของปริมาณเมฆให้ทันสมัย
ในส่วนที่ 2 เนื้อหาบทที่ 5 ได้จัดหัวข้อใหม่และเพิ่มเติมแบบจ�ำลองกึ่งเอมไพริคัลส�ำหรับ
ค�ำนวณสเปกตรัมรังสีอาทิตย์ และบทที่ 10 ได้ปรับข้อมูลการค�ำนวณรังสีอาทิตย์บนพื้นเอียงให้
ทันสมัย ส�ำหรับส่วนที่ 3 ของต�ำราเดิม ซึ่งประกอบด้วยรังสีอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ
และรั งสี อ าทิตย์ใ นประเทศไทยและประเทศเพื่ อ นบ้ า น ผู ้ เ ขี ย นได้ แ ยกรั งสี อ าทิ ต ย์ ในช่ ว ง
ความยาวคลื่นต่างๆ เป็นส่วนที่ 3 และรังสีอาทิตย์ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน
เป็นส่วนที่ 4 โดยส่วนที่ 3 เนื้อหาบทที่ 11 ได้ปรับสูตรของการค�ำนวณประสิทธิศักย์ (efficacy)
ของรังสีรวมให้ทันสมัย ในบทที่ 12 ได้ปรับเอกสารอ้างอิงการหาปริมาณรังสีอาทิตย์เพื่อใช้
สังเคราะห์แสงให้ทันสมัย และในบทที่ 13 ได้ปรับเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับแบบจ�ำลองส�ำหรับ
ค�ำนวณรังสีอลั ตราไวโอเลตจากรังสีรวม กรณีของส่วนที่ 4 เนือ้ หาบทที่ 15 ซึง่ กล่าวถึงรังสีอาทิตย์
ในประเทศไทย ผู้เขียนได้เพิ่มเติมแผนที่ความสว่างจากแสงกระจาย และแผนที่รังสีกระจาย
ในช่วงความยาวคลื่นที่พืชสังเคราะห์แสง พร้อมทั้งได้เพิ่มเติมรังสีอาทิตย์ในประเทศเวียดนาม
ไว้ในบทที่ 16 สุดท้ายได้เพิ่มข้อมูลรังสีอาทิตย์ในประเทศเวียดนามในแผ่นซีดีท้ายเล่ม

(5)
โดยทั่วไป ในการหาความเข้มรังสีอาทิตย์ทั้งในช่วงความยาวคลื่นกว้างและในช่วง
ความยาวคลื่นต่างๆ นักวิจัยส่วนใหญ่จะเสนอแบบจ�ำลองต่างๆ ซึ่งมีทั้งแบบจ�ำลองเอมไพริคัล
และแบบจ�ำลองเชิงฟิสิกส์ โดยกรณีแบบจ�ำลองเอมไพริคัลหรือกึ่งเอมไพริคัล ซึ่งพัฒนาจาก
ข้อมูลรังสีอาทิตย์ในบริเวณต่างๆ ของโลก มักใช้งานได้ดกี บั บริเวณทีม่ สี ภาพแวดล้อมคล้ายคลึง
กับบริเวณทีน่ ำ� ข้อมูลมาสร้างแบบจ�ำลอง เนือ่ งจากผูเ้ ขียนได้จดั ตัง้ สถานีวดั รังสีอาทิตย์ในภูมภิ าค
หลักของประเทศไทย 4 แห่ง ได้แก่ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา ดังนัน้
แบบจ�ำลองทีน่ ำ� เสนอในต�ำราเล่มนีส้ ว่ นใหญ่จะเป็นแบบจ�ำลองทีพ่ ฒ ั นาจากข้อมูลทีไ่ ด้จากสถานีวดั
ทั้ง 4 แห่ง ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในประเทศไทยได้โดยตรง ส�ำหรับกรณี
แบบจ�ำลองเชิงฟิสกิ ส์ผเู้ ขียนจะเน้นทีแ่ บบจ�ำลองทีพ่ ฒ ั นาส�ำหรับเขตร้อน เพือ่ ให้สามารถน�ำมาใช้
กับประเทศไทยได้ อย่างไรก็ตามผู้เขียนได้อ้างถึงแบบจ�ำลองของนักวิจัยอื่นๆ ด้วย ซึ่งผู้ที่สนใจ
สามารถค้นหารายละเอียดได้จากเอกสารอ้างอิง
เนือ่ งจากการประยุกต์ใช้ความรูด้ า้ นรังสีอาทิตย์จำ� เป็นต้องใช้ขอ้ มูลรังสีอาทิตย์ ดังนัน้
ผู้เขียนจึงได้รวบรวมข้อมูลรังสีอาทิตย์จากสถานีวัดของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่ผู้เขียนจัดตั้งขึ้น
และข้อมูลที่ผู้เขียนค�ำนวณจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม โดยบรรจุในแผ่นซีดีไว้ท้ายเล่ม
ผู้เขียนขอขอบคุณกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ที่เชิญ
มหาวิทยาลัยศิลปากรให้ด�ำเนินโครงการด้านรังสีอาทิตย์ โดยมีผู้เขียนเป็นหัวหน้าโครงการ
และขอขอบคุณส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว) ส�ำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร สถาบันวิจยั และพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร International Development Program (IDP)
ประเทศออสเตรเลียและ Office of Naval Research-Global (ONRG) ประเทศสหรัฐอเมริกาที่
ให้ทุนสนับสนุนการวิจัยแก่ผู้เขียน จนท�ำให้ผู้เขียนสามารถพัฒนางานด้านรังสีอาทิตย์ได้อย่าง
กว้างขวาง นอกจากนี้ขอขอบคุณกรมอุตุนิยมวิทยาที่อนุญาตให้ใช้สถานที่ติดตั้งเครื่องวัดรังสี
อาทิตย์ พร้อมทั้งขอขอบคุณ Dr. Liisa Jalkanen จากส�ำนักงานใหญ่องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก
ที่เชิญผู้เขียนเข้าร่วมปฏิบัติงานด้านรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ในโครงการ Global
Atmospheric Watch (GAW) ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และขอบคุณ Dr. Manuel Nunez
จากมหาวิทยาลัย Tasmania ประเทศออสเตรเลีย ที่ให้การปรึกษาในการวิจัยด้านการค�ำนวณ
รังสีอาทิตย์จากภาพถ่ายดาวเทียม

(6)
สุดท้ายผู้เขียนขอขอบคุณมหาวิทยาลัยศิลปากร ตลอดจนบิดา มารดา ครูบาอาจารย์
พี่น้อง และครอบครัวที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้เขียนมีโอกาสได้รับการศึกษาและปฏิบัติงานวิจัย
จนสามารถน�ำความรู้ ประสบการณ์และผลงานมารวบรวมเป็นต�ำรานีเ้ พือ่ ใช้ประโยชน์ในการเรียน
การสอน การวิจัยและการประยุกต์ใช้ต่อไป
ศาสตราจารย์ ดร. เสริม จันทร์ฉาย
มกราคม 2560

(7)
(8)
สารบัญ
หนา
คํานํา v
สารบัญ ix
สวนที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับรังสีอาทิตย 1
บทที่ 1 กําเนิดของรังสีอาทิตย 3
1.1 โครงสรางของดวงอาทิตย 3
1.2 ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่บริเวณใจกลางดวงอาทิตย 4
1.3 การถายเทพลังงานจากบริเวณใจกลางของดวงอาทิตยออกมาภายนอก 7
1.4 ปรากฏการณตางๆ ในบรรยากาศของดวงอาทิตย 11
1.5 รังสีที่แผจากดวงอาทิตย 14
1.6 ชนิดของรังสีอาทิตย 15
1.7 ปริมาณของรังสีอาทิตย 16
1.8 ทฤษฎีการถายเทความรอนโดยการแผรังสี 16
1.8.1 รังสีความรอน 17
1.8.2 การบอกปริมาณของรังสี 18
1.8.3 การแผรังสีของวัตถุดํา (blackbody) 21
1.8.4 สมบัติเชิงรังสีของวัสดุ (radiative properties of material) 24
1.8.5 วิวแฟคเตอร (view factor) 29
1.8.6 การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิวของวัตถุดํา 33
1.8.7 การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิวของวัตถุเทา 34
1.9 สรุป 42
แบบฝกหัด 43
รายการสัญลักษณ 44
เอกสารอางอิง 46
บทที่ 2 สมบัติทางเรขาคณิตของรังสีอาทิตย 49
2.1 การเคลื่อนที่ของเทหวัตถุบนทองฟา 49

(9)
viii
สารบัญ (ตอ)
หนา
2.2 ทางเดินของดวงอาทิตยบนทองฟา 54
2.3 การบอกตําแหนงของดวงอาทิตย 57
2.4 เวลาและมุมชัว่ โมงของดวงอาทิตย 61
2.5 ความสัมพันธระหวางตัวแปรของระบบการบอกตําแหนงดวงอาทิตย 64
2.6 แผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตย 68
2.7 มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบตางๆ 72
2.8 มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นและชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูเ หนือระนาบ 76
ตางๆ
2.9 แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับ 81
ดวงอาทิตย
2.10 สรุป 83
แบบฝกหัด 85
รายการสัญลักษณ 86
เอกสารอางอิง 88
บทที่ 3 บรรยากาศโลกและผลกระทบตอรังสีอาทิตย 89
3.1 โครงสรางของบรรยากาศโลก 89
3.2 บรรยากาศมาตรฐาน 90
3.3 มวลอากาศ 92
3.4 การคํานวณรังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศดวยกฎของบูเกอร 94
3.5 การดูดกลืนรังสีอาทิตยที่ระดับความสูงตางๆ จากพื้นผิวโลก 96
3.6 การกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ 98
3.7 ผลกระทบของฝุนละอองตอรังสีอาทิตย 100
3.7.1 คําจํากัดความและธรรมชาติทั่วไป 100
3.7.2 การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในบรรยากาศ 102

(10)
ix

สารบัญ (ตอ)
หนา
3.7.3 การหาความลึกเชิงแสงและพารามิเตอรของอังสตรอมของ 104
ฝุนละอองจากขอมูลสเปกตรัมรังสีตรง
3.7.4 การหาคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอมจากความ 110
เขมรังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวาง
3.7.5 การหาคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอมจากขอมูล 111
ทัศนวิสัย
3.7.6 ขอมูลความลึกเชิงแสงของฝุนละอองจากดาวเทียม 112
3.7.7 การแปรคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองและสัมประสิทธิ์ 114
ความขุนมัวของอังสตรอมตามเวลาและสถานที่
3.7.8 สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง 118
3.8 ไอน้ําและผลกระทบตอรังสีอาทิตย 119
3.8.1 คําจํากัดความและธรรมชาติทั่วไป 119
3.8.2 การบอกปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ 119
3.8.3 การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา 120
3.8.4 วิธีหาปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ 121
3.8.5 การแปรคาของปริมาณไอน้ํา 125
3.9 โอโซนและผลกระทบที่มีตอ รังสีอาทิตย 129
3.9.1 กําเนิดของโอโซนและการกระจายในบรรยากาศ 129
3.9.2 การบอกปริมาณโอโซน 130
3.9.3 การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซน 130
3.9.4 การหาปริมาณโอโซนดวยวิธีของคิงและไบรน 33
3.9.5 การวัดปริมาณโอโซนดวยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร 137
3.9.6 ขอมูลปริมาณโอโซนจากดาวเทียม 139
3.9.7 การแปรคาตามเวลาและพื้นที่ของปริมาณโอโซน 140
3.10 การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโมเลกุลของกาซตางๆ 143

(11)
x
สารบัญ (ตอ)
หนา
3.11 ผลกระทบของเมฆตอรังสีอาทิตย 144
3.12 สรุป 148
แบบฝกหัด 149
รายการสัญลักษณ 150
เอกสารอางอิง 153
สวนที่ 2 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง 157
บทที่ 4 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 159
4.1 สเปกตรัมของรังสีนอกบรรยากาศโลก 159
4.2 คาคงตัวรังสีอาทิตย 161
4.3 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับ 163
4.3.1 รังสีอาทิตยรายชั่วโมง 163
4.3.2 รังสีอาทิตยรายวัน 169
4.4 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต 173
4.4.1 รังสีอาทิตยรายชั่วโมง 173
4.4.2 รังสีอาทิตยรายวัน 175
4.5 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ 175
4.5.1 รังสีอาทิตยรายชั่วโมง 175
4.5.2 รังสีอาทิตยรายวัน 176
4.6 แฟคเตอรสําหรับแปลงคารังสีนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนว 177
ระดับใหเปนคาบนระนาบเอียง
4.7 สรุป 179
แบบฝกหัด 180
รายการสัญลักษณ 181
เอกสารอางอิง 183

(12)
xi

สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 5 รังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ 185
5.1 สเปกตรัมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ 185
5.1.1 แบบจําลองการถายเทรังสี 185
5.1.2 แบบจํ า ลองทางฟ สิ ก ส ซึ่ ง ดั ด แปลงให ง า ย (simplified 191
physical model) ของสเปกตรัมรังสีอาทิตย
5.1.3 แบบจําลองสเปกตรัมรังสีอาทิตยแบบกึ่งเอมไพริคัล 196
5.2 แบบจําลองรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง (broadband solar 199
radiation model)
5.2.1 แบบจําลองทางฟสิกส 199
5.2.2 แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล 205
5.2.3 แบบจําลองเอมไพริคัล 208
5.3 สรุป 209
แบบฝกหัด 210
รายการสัญลักษณ 212
เอกสารอางอิง 216
บทที่ 6 การคํานวณรังสีอาทิตยในสภาพทองฟาทัว่ ไปโดยใชขอมูลภาพถาย 219
ดาวเทียม
6.1 ดาวเทียมอุตุนยิ มวิทยา 219
6.2 ขอมูลภาพถายดาวเทียมอุตุนยิ มวิทยาแบบอยูตําแหนงเดิมเมื่อเทียบ 222
กับพื้นผิวโลก
6.3 การจัดเตรียมขอมูลภาพถายดาวเทียมเพื่อใชในการคํานวณความเขม 223
รังสีอาทิตย
6.4 แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีอาทิตยที่พนื้ ผิวโลกจากขอมูลภาพถาย 229
ดาวเทียม
6.4.1 แบบจําลองเชิงสถิติ 229

(13)
xii
สารบัญ (ตอ)
หนา
6.4.2 แบบจําลองเชิงฟสิกส 233
6.4.3 แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล 249
6.5 สรุป 250
แบบฝกหัด 252
รายการสัญลักษณ 253
เอกสารอางอิง 255
บทที่ 7 การคํานวณรังสีอาทิตยจากขอมูลอุตุนิยมวิทยา 259
7.1 การคํานวณคารังสีอาทิตยจากความยาวนานแสงแดด 259
7.2 การคํานวณคารังสีอาทิตยจากปริมาณเมฆ 268
7.3 การคํานวณคารังสีอาทิตยจากอุณหภูมิอากาศ 277
7.4 สรุป 286
แบบฝกหัด 287
รายการสัญลักษณ 288
เอกสารอางอิง 289
บทที่ 8 การคํานวณรังสีอาทิตยโดยการใชโครงขายประสาทเทียม 291
8.1 นิวรอนทางชีววิทยา 291
8.2 ประสาทเทียม 293
8.3 โครงขายประสาทเทียม 295
8.4 การฝกสอนโครงขายประสาทเทียม 296
8.5 การสรางโครงขายประสาทเทียม 297
8.6 การใชโครงขายประสาทเทียมเพื่อคํานวณรังสีอาทิตย 297
8.7 สรุป 301
แบบฝกหัด 302
รายการสัญลักษณ 303
เอกสารอางอิง 304

(14)
xiii

สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 9 การวัดรังสีอาทิตย 305
9.1 ประเภทของการวัดรังสีอาทิตย 305
9.2 ชนิดของรังสีอาทิตยที่จะทําการวัด 308
9.3 เครื่องมือสําหรับวัดรังสีอาทิตย 310
9.3.1 เครื่องวัดรังสีรวม 310
9.3.2 เครื่องวัดรังสีกระจาย 314
9.3.3 เครื่องวัดรังสีตรง 316
9.4 สมบัติของเครื่องวัดรังสีอาทิตย 320
9.5 การจําแนกลําดับชั้นของเครื่องวัดรังสีอาทิตย 323
9.5.1 เครื่องวัดรังสีรวม 323
9.5.2 เครื่องวัดรังสีตรง 325
9.6 สเกลของคาความเขมรังสีอาทิตย 327
9.7 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีอาทิตย 328
9.7.1 เครื่องวัดรังสีอาทิตยมาตรฐานโลก 328
9.7.2 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิกับเครื่องวัด 329
รังสีมาตรฐานโลก
9.7.3 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงกับเครื่องวัดรังสีตรง 331
มาตรฐานปฐมภูมิ
9.7.4 การสอบเที ย บเครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงที่ ใ ช ง านภาคสนามกั บ 332
เครื่องวัดรังสีตรงอางอิง
9.7.5 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมกับเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง 333
9.7.6 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมที่ใชงานภาคสนาม 337
9.7.7 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมในหองปฏิบัติการ 338
9.8 การบันทึกขอมูลรังสีอาทิตย 340
9.9 การควบคุมคุณภาพขอมูล 343

(15)
xiv
สารบัญ (ตอ)
หนา
9.10 สรุป 345
แบบฝกหัด 346
รายการสัญลักษณ 347
เอกสารอางอิง 349
บทที่ 10 การประยุกตใชขอมูลรังสีอาทิตย 351
10.1 แหลงขอมูลรังสีอาทิตย 351
10.2 การแปลงคารังสีอาทิตยบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบ 352
เอียง
10.2.1 รังสีรายชั่วโมง 353
10.2.2 รังสีรายวันเฉลี่ยตอเดือน 359
10.3 การหาอัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวม 360
10.4 การคํานวณรังสีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนจากคารังสีรายวันเฉลี่ยตอ 368
เดือน
10.4.1 รังสีกระจาย 369
10.4.2 รังสีรวม 373
10.5 การสรางชุดขอมูลตัวแทน 375
10.6 การสังเคราะหขอมูลรังสีอาทิตยรายชั่วโมงจากขอมูลรังสีอาทิตย 387
รายวันเฉลี่ยตอเดือน
10.7 การแปลงขอมูลรังสีอาทิตยจากตําแหนงที่วัดไปยังตําแหนงที่ใชงาน 393
10.8 การใชขอมูลรังสีอาทิตยในการวิเคราะหสมรรถนะของระบบ 394
พลังงานรังสีอาทิตย
10.9 การใชขอมูลรังสีอาทิตยในวิธีการออกแบบสําเร็จรูป 394
10.10 การใชขอมูลรังสีอาทิตยเพื่อหาบริเวณที่เหมาะสมในการจัดตั้งระบบ 395
พลังงานรังสีอาทิตย
10.11 สรุป 397

(16)
xv

สารบัญ (ตอ)
หนา
แบบฝกหัด 398
รายการสัญลักษณ 399
เอกสารอางอิง 401
สวนที่ 3 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นตางๆ และรังสีอาทิตยในประเทศไทยและ 407
ประเทศเพื่อนบาน
บทที่ 11 แสงสวางธรรมชาติ 409
11.1 การตอบสนองตอแสงสวางของตามนุษย 409
11.2 ปริมาณแสงสวาง 410
11.3 ความสวางจากแสงสวางธรรมชาติ 412
11.4 การวัดปริมาณแสงสวางธรรมชาติ 413
11.4.1 การวัดความสวาง 413
11.4.2 การวัดความสองสวางของทองฟา 417
11.5 การหาคาความสวางจากแสงสวางธรรมชาติโดยใชแบบจําลอง 420
11.5.1 ความสวางจากแสงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 420
11.5.2 ความสวางที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ 421
11.5.3 การคํานวณความสวางในสภาพทองฟาทั่วไป โดยใชขอมูล 422
ภาพถายดาวเทียม
11.5.4 แบบจําลองประสิทธิศักยของแสงสวาง 432
11.5.5 แบบจําลองของความสวางบนระนาบในแนวดิ่ง 434
11.6 แบบจําลองความสองสวางจากทองฟา 442
11.6.1 แบบจําลองความสองสวางจากทองฟาของคณะกรรมการ 443
ความสวางนานาชาติ
11.6.2 แบบจําลองความสองสวางของทองฟาซึ่งใชขอมูลภาพถาย 448
ดาวเทียมในการจําแนกสภาพทองฟา
11.6.3 การหาคาความสองสวางโดยใชโครงขายประสาทเทียม 451

(17)
xvi
สารบัญ (ตอ)
หนา
11.7 สรุป 453
แบบฝกหัด 454
รายการสัญลักษณ 456
เอกสารอางอิง 459
บทที่ 12 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง 465
12.1 การบอกปริมาณของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นทีพ่ ืชใช 465
สังเคราะหแสง
12.2 เครื่องวัดรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง 466
12.3 การแปลงหนวยความหนาแนนฟลักซโฟตอนใหเปนความเขมรังสี 467
12.4 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงนอก 469
บรรยากาศโลก
12.5 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงที่พื้นผิวโลก 470
ในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
12.6 อัตราสวนของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง 471
ตอรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง
12.7 การคํานวณปริมาณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พชื ใช 472
สังเคราะหแสงในสภาพทองฟาทั่วไปจากขอมูลภาพถายดาวเทียม
โดยใชแบบจําลองเชิงฟสิกส
12.8 การคํานวณปริมาณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พชื ใชสังเคราะห 478
แสงในสภาพทองฟาทั่วไปจากขอมูลภาพถายดาวเทียม โดยใช
แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล
12.9 สรุป 479
แบบฝกหัด 480
รายการสัญลักษณ 481
เอกสารอางอิง 483

(18)
xvii

สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 13 รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย 485
13.1 แหลงกําเนิดและสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต 485
13.2 รังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นผิวโลก 487
13.3 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตตอรังสีอัลตราไวโอเลต 488
13.4 การวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย 490
13.4.1 เครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต 490
13.4.2 เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในชวงความยาวคลื่น 494
กวาง
13.4.3 เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตแบบใชแผนกรองรังสี 496
หลายชองสัญญาณ
13.4.4 ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต 497
13.5 การคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตโดยใชแบบจําลอง 499
13.5.1 การคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในสภาพทองฟา 500
ปราศจากเมฆโดยใชแบบจําลองการถายเทรังสี
13.5.2 แบบจําลองเอมไพริคัลสําหรับคํานวณความเขมรังสี 500
อัลตราไวโอเลตในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
13.5.3 แบบจําลองสําหรับคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตจาก 501
ดวงอาทิตยจากรังสีรวมและตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศใน
สภาพทองฟาทั่วไป
13.5.4 การคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย 502
โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียมในสภาพทองฟาทั่วไป
13.6 สรุป 509
แบบฝกหัด 510
รายการสัญลักษณ 512
เอกสารอางอิง 513

(19)
xviii
สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 14 รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย 517
14.1 การวัดความเขมรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย 517
14.2 รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 520
14.3 แบบจําลองสําหรับคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกลจากดวง 521
อาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
14.4 อัตราสวนของรังสีอินฟราเรดใกลตอรังสีรวมที่พื้นผิวโลก 522
14.5 แบบจําลองเชิงฟสิกสสําหรับคํานวณรังสีอินฟราเรดใกลจากดวง 523
อาทิตยที่พื้นผิวโลกจากขอมูลภาพถายดาวเทียม
14.6 แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกล 531
จากดวงอาทิตยในสภาพทองฟาทั่วไป
14.7 สรุป 532
แบบฝกหัด 533
รายการสัญลักษณ 534
เอกสารอางอิง 535
สวนที่ 4 รังสีอาทิตยในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน 537
บทที่ 15 รังสีอาทิตยในประเทศไทย 539
15.1 การกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวัน 539
15.2 การกระจายตามพื้นที่ของรังสีตรง 543
15.3 การแปรคาตามเวลาในรอบปของรังสีรวมจากสถานีวัดใน 548
จังหวัดตางๆ
15.4 รังสีกระจาย 556
15.5 อัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวม 557
15.6 แสงสวางธรรมชาติ 559
15.7 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง 565
15.8 รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย 570

(20)
xix

สารบัญ (ตอ)
หนา
15.9 สรุป 574
แบบฝกหัด 575
รายการสัญลักษณ 576
เอกสารอางอิง 577
บทที่ 16 รังสีอาทิตยในประเทศเพื่อนบาน 579
16.1 รังสีอาทิตยในประเทศลาว 579
16.2 รังสีอาทิตยในประเทศกัมพูชา 583
16.3 รังสีอาทิตยในประเทศเมียนมาร 586
16.4 รังสีอาทิตยในประเทศเวียดนาม 590
16.5 สรุป 594
แบบฝกหัด 595
เอกสารอางอิง 596
ภาคผนวก 597
ภาคผนวกที่ 1 วิธีทางสถิติสําหรับทดสอบสมรรถนะของแบบจําลอง 599
ภาคผนวกที่ 2 เรขาคณิตบนผิวทรงกลม 603
ภาคผนวกที่ 3 สัมประสิทธิ์ตางๆ สําหรับใชคํานวณรังสีอาทิตย 609
ภาคผนวกที่ 4 ขอมูลรังสีอาทิตยในประเทศไทย 615
ดัชนีผูแตง 625
ดัชนีเนื้อเรื่อง 633
ประวัติผูเขียน 639

(21)
(22)
สวนที่ 1
ความรูพื้นฐานเกีย่ วกับรังสีอาทิตย

สวนที่ 1 ของตํารานี้กลาวถึงความรูพื้นฐานเกี่ยวกับรังสีอาทิตยในดานการกําเนิดของ
รังสี สมบัติ ทางเรขาคณิ ตและผลกระทบของบรรยากาศตอรัง สี อาทิต ย ความรู เหลานี้เ ปน
พื้นฐานสําคัญซึ่งจําเปนตองใชในการศึกษารังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง (broadband
solar radiation) ในสวนที่ 2 และรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นตางๆ ในสวนที่ 3 โดยสวนที่ 1
จะประกอบดวย 3 บท ไดแก บทที่ 1 จะอธิบายกลไกการกําเนิดรังสีอาทิตย ซึ่งจะทําใหเขาใจ
ธรรมชาติของรังสีอาทิตยที่แผจากดวงอาทิตยออกมาสูอวกาศโดยรอบ พรอมทั้งไดอธิบาย
ทฤษฎีการถายเทความรอนโดยการแผรังสี บทที่ 2 จะกลาวถึงสมบัติทางเรขาคณิตของรังสี
อาทิตย ซึ่งจะชวยใหผูอานเขาใจการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยบนทองฟา ตลอดจนการบอก
ตําแหนงของดวงอาทิตยบนทองฟา สําหรับบทที่ 3 จะกลาวถึงองคประกอบของบรรยากาศโลก
และผลกระทบที่มีตอรังสีอาทิตยซึ่งจําเปนตองใชในการคํานวณความเขมรังสีอาทิตยที่ผาน
บรรยากาศมาถึงพื้นผิวโลกทั้งในชวงความยาวคลื่นกวางและในชวงความยาวคลื่นตางๆ

1
2
บทที่ 1
กําเนิดของรังสีอาทิตย

เนื่องจากสมบัติทางฟสิกสของรังสีอาทิตยขึ้นกับแหลงกําเนิดและกลไกการกําเนิดของ
รังสีอาทิตย ดังนั้นในบทนี้จะกลาวถึงดวงอาทิตย ซึ่งเปนแหลงกําเนิดของรังสีอาทิตย และ
กลไกการกําเนิดรังสีอาทิตย ตลอดจนปรากฏการณตางๆ ในบรรยากาศของดวงอาทิตย ซึ่งมีผล
ตอการแปรคาของปริมาณรังสีที่แผจากดวงอาทิตย

1.1 โครงสรางของดวงอาทิตย (Lang, 2001)


ดวงอาทิตยเปนดาวฤกษซึ่งเปนศูนยกลางของระบบสุริยะ (solar system) ที่มีโลก
และดาวเคราะหอื่นๆ เปนบริวาร โดยดวงอาทิตยมีเสนผานศูนยกลาง 1.4 ลานกิโลเมตรหรือ
ประมาณ 109 เทาของเสนผานศูนยกลางของโลก และมีมวลเทากับ 1.989 x 1030 กิโลกรัม หรือ
ประมาณ 3 แสนเทาของมวลโลก
จากผลการวิจัยทางดานฟสิกสดาราศาสตร (astrophysics) จากอดีตจนถึงปจจุบัน
สามารถสรุปไดวาดวงอาทิตยมีโครงสรางตามรูปที่ 1.1 โดยจะประกอบดวยสวนตางๆ ไดแก
บริเวณใจกลาง (core) บริเวณแผรังสี (radiative zone) บริเวณพาความรอน (convective zone)
และบรรยากาศ โดยบรรยากาศชั้นลางสุดคือ โฟโตสเฟยร (photosphere) ถัดขึ้นมาคือโครโมส-
เฟยร (chromosphere) และบรรยากาศชั้นนอกสุดคือโคโรนา (corona) โครงสรางดังกลาวมี
ความสัมพันธกับกระบวนการกําเนิดพลังงานภายในดวงอาทิตยและการถายเทพลังงานออกมา
สูอวกาศภายนอก ซึ่งจะกลาวในรายละเอียดในหัวขอถัดไป
ในดานองคประกอบทางเคมีของดวงอาทิตย มวลสาร 70.67% ของดวงอาทิตยเปน
ไฮโดรเจน และ 27.43% เปนฮีเลียม สวนที่เหลือจะเปนคารบอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และ
โลหะตางๆ เนื่องจากดวงอาทิตยมีอุณหภูมิสูงทําใหอิเล็กตรอนของอะตอมของธาตุตางๆ หลุด
ออกมา ดังนั้นมวลสารของดวงอาทิตยจึงมีสถานะเปนพลาสมา กลาวคือ ประกอบดวยไอออนบวก
และอิเล็กตรอนอิสระ

3
4

ดวงอาทิตยมีระยะทางหางจากโลกเฉลี่ยเทากับ 1.495978 x 1011 เมตร หรือประมาณ


150 ลานกิโลเมตร นักดาราศาสตรไดกําหนดระยะทางนี้วา 1 หนวยดาราศาสตร (Astronomical
Unit, AU) และใชหนวยนี้บอกระยะทางในระบบสุริยะ
โคโรนา

โครโมสเฟยร
2,00
โฟโตสเฟยร 0 กม.
บริเวณพาความรอน 500
กม.

บริเวณแผรังสี
0.71R0

0.25R0 1R0

บริเวณใจกลาง

รูปที่ 1.1 โครงสรางของดวงอาทิตย เมื่อ R0 คือรัศมีดวงอาทิตย (R0 = 6.9556 x105 กิโลเมตร)


(แผนภูมิวาดจากขอมูลจาก Gibson (1973) และ Lang (2006))

1.2 ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่บริเวณใจกลางดวงอาทิตย (Lang, 2001)


ในชวงตนศตวรรษที่ 20 นักวิทยาศาสตรพยายามอธิบายแหลงกําเนิดพลังงานภายใน
ดวงอาทิตยโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี แตจากผลการคํานวณพบวา ถาแหลงกําเนิดพลังงานภายใน
ดวงอาทิตยเกิดจากปฏิกิริยาเคมี พลังงานที่ไดจะไมเพียงพอที่จะตานทานการยุบตัวของมวลสาร
ที่เกิดจากแรงโนมถวงเขาหาจุดศูนยกลางของดวงอาทิตยได จนกระทั่งในตอนปลายทศวรรษที่
1930 ฮานส เอ เบธ (Hans A. Bethe) และชารล แอล คริทซ ฟลด (Charles L. Critchfield) ทั้งคู

4
5

ซึ่งทําการวิจัยแยกกัน ไดเสนอทฤษฎีกําเนิดพลังงานภายในดวงอาทิตยใหมวา พลังงานภายใน


ดวงอาทิตยเกิดจากปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร ทฤษฎีดังกลาวเปนที่ยอมรับกันกวางขวางจนถึง
ปจจุบัน
ทฤษฎีของฮาน เอ เบธ และชารล แอล คริทซ ฟลด กลาววามวลสารของดวงอาทิตย
ที่กดทับกันดวยแรงโนมถวงจะทําใหบริเวณใจกลางดวงอาทิตยมีความดันและอุณหภูมิสูง
จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่เรียกวา ปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอน (proton-
proton chain reaction) โดยในขั้นตอนแรกโปรตอนซึ่งเปนนิวเคลียสของไฮโดรเจน (1H)
จํานวน 2 ตัว จะชนกันและรวมกันเปนนิวเคลียสของดิวทีเลียม (D) ซึ่งเปนไอโซโทปของ
ไฮโดรเจนที่ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอนอยางละ 1 ตัว เนื่องจากนิวเคลียสของดิวทีเลียม
ประกอบด ว ยโปรตอน 1 ตัว และนิว ตรอน 1 ตั ว ดัง นั้น โปรตอน 1 ตัว ที่เ ข าชนกัน จะต อ ง
เปลี่ยนเปนนิวตรอนซึ่งเปนกลาง โดยปลดปลอยประจุบวกออกมาในรูปของอนุภาคโปซิตรอน
(positron, e+) พรอมดวยอนุภาคนิวตริโน (neutrino, e ) ซึ่งมีพลังงานต่ํา เพื่อทําใหเกิดสมดุล
ของพลังงาน โดยขั้นตอนแรกของปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอนสามารถเขียนในรูปสมการ
ไดดังนี้
1
H 1H  D  e   e (1.1)

ในขั้นตอนที่ 2 นิวเคลียสของดิวทิเลียม (D) ที่เกิดขึ้นจะชนกับโปรตอนอีกตัวหนึ่ง


แล ว เกิ ด เป น นิ ว เคลี ย สของฮี เ ลี ย มเบา (light helium,3He) ซึ่ ง เป น ไอโซโทปของฮี เ ลี ย มที่ มี
นิวเคลียสซึ่งประกอบดวยโปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 1 ตัว และปลอยโฟตอนในรูปของรังสี
แกมมา (gamma ray,  ) ออกมา ปฏิกิริยาในขั้นตอนนี้เขียนไดดังสมการ

D1H3 He   (1.2)

ในขั้ น ตอนสุ ด ท า ย นิ ว เคลี ย สของฮี เ ลี ย มเบา 2 ตั ว จะชนกั น และหลอมรวมเป น


นิวเคลียสของฮีเลียม (4He) ซึ่งประกอบดวยโปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2 ตัว ปฏิกิริยานี้จะมี
การปลดปลอยโปรตอน 2 ตัวออกมาหรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้
3
He 3 He4 He1H 1H (1.3)

5
6

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3

รูปที่ 1.2 แผนภูมิแสดงปฏิกริ ิยาลูกโซโปรตอน-โปรตอน (ดัดแปลงจาก Lang, 2001)

ปฏิกิริยาทั้ง 3 ขั้นตอน สามารถแสดงไดดังรูปที่ 1.2 และเมื่อรวมปฏิกิริยาดังกลาวเขา


ดวยกัน จะไดสมการ

61 H 4 He  21 H  2  2 e (1.4)

จากสมการจะเห็ น ว า โปรตอนจํ า นวน 6 ตั ว จะเข า สู ป ฏิ กิ ริ ย าลู ก โซ โ ปรตอน-


โปรตอน ทําใหเกิดนิวเคลียสของฮีเลียม 1 ตัวและมีการปลดปลอยโปรตอนออกมา 2 ตัว พรอม
ทั้งรังสีแกมมาและอนุภาคนิวตริโน โปรตอนที่ปลดปลอยออกจะทําใหเกิดปฏิกิริยาในลักษณะ
ดังกลาวตอไปเปนลูกโซ ดังนั้นจากปฏิกิริยานี้เราสามารถพิจารณาไดวาโปรตอน 4 ตัวหลอม
รวมกันเปนนิวเคลียสของฮีเลียม 1 ตัว เนื่องจากนิวเคลียสของฮีเลียม 1 ตัว มีมวลนอยกวามวล
ของโปรตอน 4 ตัวรวมกัน ดังนั้นผลตางของมวลดังกลาวจะเปลี่ยนเปนพลังงานตามสมการ
ของไอนสไตน ดังนี้

E s  mc2 (1.5)
 (4m p  m He )c 2
 ( 4  1.6726 x10 27  6.644  10 27 )  (2.9979  10 8 ) 2 จูล
 4.2  1012 จูล

เมื่อ Es คือพลังงานจากการเปลี่ยนแปลงมวล (จูล)


m คือมวลที่หายไป (กิโลกรัม)

6
7

c คือ ความเร็วแสง (2.9979 x 108 เมตรตอวินาที)


mp คือ มวลของโปรตอน (1.6726 x 10-27 กิโลกรัม)
m He คือ มวลของนิวเคลียสของฮีเลียม (6.644 x 10-27 กิโลกรัม)

จากกระบวนการดังกลาว ดวงอาทิตยจะใหกําเนิดพลังงาน ซึ่งจะถายเทจากบริเวณ


ใจกลางไปยังผิวดวงอาทิตย และผานบรรยากาศของดวงอาทิตยออกสูอวกาศโดยรอบในรูป
ของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เรียกวา รังสีอาทิตย
ปฏิกิริยาลูกโซโปรตอน-โปรตอนเปนปฏิกิริยาหลักที่ใหกําเนิดพลังงานภายในดวง-
อาทิตย นอกจากนี้ยังมีปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรอื่นเกิดขึ้นอีกเล็กนอยภายในบริเวณใจกลาง
ดวงอาทิตย

1.3 การถายเทพลังงานจากบริเวณใจกลางของดวงอาทิตยออกมาภายนอก (Gibson,


1973; Lang, 2006)
พลังงานที่กําเนิดขึ้นจากดวงอาทิตยทั้งหมดเกิดจากปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่
บริเวณใจกลาง ซึ่งมีรัศมี 1.74 x 108 เมตร หรือประมาณ 0.25 R0 เมื่อ R0 เปนรัศมีของดวง-
อาทิตย (R0 = 6.9556 x 108 เมตร) บริเวณดังกลาวมีปริมาตร 1.6% ของปริมาตรของดวงอาทิตย
แตมีมวลสารคิดเปน ครึ่งหนึ่งของมวลสารทั้งหมดของดวงอาทิตย โดยมวลสารในบริเวณ
ใจกลางจะกดทั บ กั น จนมี ค วามหนาแน น สู ง ถึ ง 151,300 กิ โ ลกรั ม ต อ ลู ก บาศก เ มตรทํ า ให
เกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่บริเวณดังกลาว ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรไมสามารถเกิดขึ้น
ภายนอกบริเวณใจกลางซึ่งมีอุณหภูมิและความหนาแนนต่ํากวานี้ได ดังนั้นนอกบริเวณใจกลาง
จึงไมมีการกําเนิดพลังงานจากปฏิกิริยาดังกลาว พลังงานที่กําเนิดขึ้นภายในบริเวณใจกลางจะ
ถายเทออกมาที่ผิวดวงเพื่อทําใหดวงอาทิตยอยูในสภาวะสมดุล
กลไกการถายเทพลังงานจะเปนตัวกําหนดโครงสรางและธรรมชาติของบริเวณตางๆ
ภายในดวงอาทิตย โดยถัดจากบริเวณใจกลางจะเปนบริเวณแผรังสีและบริเวณพาความรอน
จากนั้นจะเปนบริเวณที่โปรงแสงและมวลสารมีความหนาแนนต่ําซึ่งเรียกวาบรรยากาศ โดย
แบงไดเปน 3 ชั้น ไดแก โฟโตสเฟยร โครโมสเฟยร และโคโรนา (รูปที่ 1.1)

7
8

บริเวณแผรังสีอยูถัดจากบริเวณใจกลางจนถึงที่ระยะ 0.71R0 หรือ 4.96 x 106 เมตร


จากจุดศู น ยก ลางของดวงอาทิตย เมื่ อ ระยะจากศูน ยกลางเพิ่มขึ้น อุณหภู มิของมวลสารใน
บริเวณแผรังสีจะมีคาลดลง รังสีแกมมาที่เกิดจากปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรในบริเวณใจกลาง
จะเคลื่ อ นที่ อ อกมายั ง บริ เ วณแผ รั ง สี โดยจะชนกั บ อนุ ภ าคต า งๆ ที่ อ ยู ใ นบริ เ วณนั้ น และ
ถูกอนุภาคดังกลาวดูดกลืน จากนั้นอนุภาคเหลานี้จะปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ความยาวคลื่นยาว
ขึ้นออกมา กระบวนการดังกลาวทําใหเกิดการถายเทของพลังงานอยางตอเนื่องโดยไมมีการ
สะสมพลังงานในมวลสารของบริเวณแผรังสี ทําใหบริเวณดังกลาวอยูในสภาวะสมดุล และ
ไมมีการไหลเวียนของมวลสาร
เมื่อถึงที่ระยะรัศมี 0.71R0 ซึ่งเปนรอยตอระหวางบริเวณแผรังสีกับบริเวณพาความรอน
อุณหภูมิของมวลสารจะลดลงจนมีคาประมาณ 2 ลานเคลวิน ทําใหการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
มี ค วามเร็ ว ลดลง นิ ว เคลี ย สของธาตุ ห นั ก ต า งๆ จึ ง สามารถจั บ อิ เ ล็ ก ตรอนมาเป น บริ ว าร
กลายเป น ไอออนบวกที่ มี ข นาดใหญ ขึ้น และมี ค วามสามารถในการดูด กลื น รัง สีต า งๆ ได
มากขึ้นดวย ไอออนเหลานี้จึงมีการสะสมพลังงานทําใหมีอุณหภูมิสูงขึ้นและลอยตัวขึ้นแลว
ปลดปลอยพลังงานออกสูบรรยากาศซึ่งอยูดานบน หลังจากนั้นจะจมลงและรับพลังงานอีก
ครั้งหนึ่ง เกิดการหมุนเวียนของมวลสาร ซึ่งเปนการถายเทพลังงานแบบพาความรอน
มวลสารเหนือบริเวณพาความรอนจะเปนบริเวณที่มีความหนาแนนต่ําและโปรงแสง
ซึ่งเรียกวา บรรยากาศของดวงอาทิตย โดยบรรยากาศชั้นแรกที่อยูถัดจากบริเวณพาความรอน
เราจะเรียกบรรยากาศชั้นนี้วา โฟโตสเฟยร ซึ่งมีความหนาประมาณ 500 กิโลเมตร และเปน
บริเวณที่มวลของดวงอาทิตยเปลี่ยนจากบริเวณทึบแสงมาเปนบริเวณโปรงแสง เมื่อสังเกตดวง
อาทิตยจากโลกในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง จะเห็นมีลักษณะดังแสดงในรูปที่ 1.3 โดยรังสี
อาทิตยสวนใหญจากดวงอาทิตยจะออกมาจากบรรยากาศชั้นโฟโตสเฟยร และมีพลังงานสวน
ใหญอยูในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง และรังสีอินฟราเรด

8
9

จุดมืด

รูป ที่ 1.3 ภาพถา ยดวงอาทิต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น แสงสว าง ซึ่ ง ส ว นใหญ แ ผอ อกมาจาก
บรรยากาศชั้ น โฟโตสเฟ ย ร โดยจุ ด สี ดํ า คื อ จุ ด มื ด บนดวงอาทิ ต ย (sunspot)
(เสริม จันทรฉาย, 2521)

รังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศชั้นโฟโตสเฟยรออกมาภายนอกจะถูกอะตอมของธาตุ
ตางๆ ในโฟโตสเฟยรดูดกลืน ถาเราตรวจวัดรังสีดังกลาวดวยเครื่องสเปกโตกราฟจะเห็นเสน
สเปกตรัมดู ดกลืน (absorption spectrum) ดัง นั้ น ถึง แมวาสเปกตรั มรัง สีอาทิต ย ที่ยังไม ผาน
บรรยากาศโลกก็จะปรากฏเสนดูดกลืนแลว เสนดูดกลืนดังกลาว เรียกวา เสนเฟราฮอฟเฟอร
(Frauhoffer lines) ซึ่งทําใหสามารถบอกชนิดของธาตุตางๆ ที่อยูในโฟโตสเฟยรได
บรรยากาศชั้ น ถั ด ออกมา คื อ โครโมสเฟ ย ร ซึ่ ง มี ร ะดั บ ความสู ง ประมาณ 2,000
กิโลเมตร เหนือโฟโตสเฟยร และมีอุณหภูมิสูงถึง 10,000 เคลวิน อุณหภูมิที่สูงขึ้นนี้เปนผลมา
จากการสงพลังงานจากภายในตัวดวงอาทิตยผานลําสาร (spicule) ที่พุงขึ้นมาในบรรยากาศชั้น
นี้ โครโมสเฟยรแผรังสีที่มีความเขมต่ํามากจึงไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลาไดในเวลาปกติ

9
10

แตจะเห็นไดในชวงเวลา 2-3 วินาที กอนดวงจันทรบดบังดวงอาทิตย เมื่อเกิดสุริยุปราคาเต็ม


ดวง เนื่องจากองค ป ระกอบสว นใหญของโครโมสเฟย รเ ป น ไฮโดรเจน รั ง สี ที่แ ผ อ อกจาก
โครโมสเฟยรจะเปนสีแดง ซึ่งเกิดจากการแผรังสีของไฮโดรเจนที่ความยาวคลื่น 656.3 นาโนเมตร
และมีความเขมต่ํามาก
บรรยากาศชั้นนอกสุดของดวงอาทิตยคือ โคโรนา ทํานองเดียวกันกับโครโมสเฟยร
กลาวคือไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลาในเวลาปกติ แตจะสังเกตเห็นไดเมื่อเกิดสุริยุปราคา
เต็มดวง ดังรูปที่ 1.4

รู ป ที่ 1.4 ภาพถ า ยดวงอาทิ ต ย ข ณะเกิ ด สุ ริ ยุ ป ราคาเต็ ม ดวง เมื่ อ วั น ที่ 24 ตุ ล าคม 2538 ที่
จังหวัดนครสวรรค แสดงใหเห็นโคโรนาที่อยูรอบๆ ดวงจันทรสีดําซึ่งบังดวงอาทิตย
(เสริม จันทรฉาย, 2538)

10
11

โคโรนามี อุ ณ หภู มิ สู ง ถึ ง 1-2 ล า นเคลวิ น อุ ณ หภู มิ ที่ สู ง นี้ เ กิ ด จากคลื่ น ของ


สนามแมเหล็ก (magnetic wave) จากภายในดวงอาทิตยที่นําพลังงานออกมาสูบรรยากาศชั้นนี้
มวลสารของโคโรนามีความหนาแนนต่ําและมีอุณหภูมิสูง ความหนาแนนและอุณหภูมิจะ
ลดลงเมื่อระยะหางจากตัวดวงเพิ่มขึ้น มวลสารของโคโรนาจะแผกระจายออกสูอวกาศโดยรอบ
โดยที่ระยะหางจากตัวดวงมากๆ แรงดันของกาซรอนที่เปนองคประกอบของโคโรนาจะมี
อํานาจเหนือแรงโนมถวงของดวงอาทิตย ทําใหอนุภาคตางๆ ในโคโรนาหลุดออกจากดวง-
อาทิตยออกมาสูอวกาศโดยรอบ ซึ่งเรียกวา ลมสุริยะ (solar wind) ที่สามารถเคลื่อนที่มาถึงโลก
และถูกสนามแมเหล็กโลกดักจับใหเคลื่อนที่เขาไปสูบรรยากาศโลกที่บริเวณขั้วโลก ทําใหเกิด
แสงเหนือและแสงใต (aurora)
เนื่ อ งจากบรรยากาศชั้ น โคโรนามี อุ ณ หภู มิ สู ง จึ ง แผ รั ง สี เ อกซ แ ละรั ง สี
อัลตราไวโอเลต รังสีดังกลาวมีความเขมต่ํา แตมีพลังงานโฟตอน (photon energy) สูง โดยรังสี
เอกซ จ ะถู ก ดู ด กลื น โดยบรรยากาศโลกหมด ส ว นรั ง สี อั ล ตราไวโอเลตบางส ว นจะผ า น
บรรยากาศมาถึงพื้นผิวโลก นอกจากนี้บรรยากาศชั้นโคโรนายังแผคลื่นวิทยุออกมาภายนอก แต
มีความเขมต่ํา และมีผลทางดานพลังงานนอยมาก

1.4 ปรากฏการณตางๆ ในบรรยากาศของดวงอาทิตย (Lang, 2006)


ทํานองเดียวกับการเกิดพายุตางๆ ในบรรยากาศของโลก ในบรรยากาศของดวง-
อาทิตยก็มีปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนครั้งคราวแลวก็สลายตัวไป โดยปรากฏการณใน
บรรยากาศของดวงอาทิตยที่สําคัญ มีดังนี้
1) จุ ด มื ด (sunspot) เป นปรากฏการณที่สามารถสัง เกตการณได ทั้ง ในบรรยากาศ
ชั้นโฟโตสเฟยร และโครโมสเฟยร โดยมีลักษณะเปนบริเวณมืดเมื่อเทียบกับบริเวณโดยรอบ
ทั้งนี้เพราะจุดมืดจะมีอุณหภูมิต่ํากวาบริเวณรอบๆ จุดมืดมักอยูเปนคูหรือเปนกลุม แตก็สามารถ
สังเกตเห็นอยูเดี่ยวๆ เพียงจุดเดียวได (รูปที่ 1.3) โดยทั่วไปจุดมืดจะมีโครงสรางในแนวดิ่งจาก
ตัวดวงออกมาจนถึงบรรยากาศชั้นโครโมสเฟยรและมีผลถึงบรรยากาศชั้นโคโรนา
จุดมืดจะเริ่มเกิดเปนจุดเล็กๆ แลวมีขนาดใหญขึ้น จากนั้นจะคอยสลายตัวไป ซึ่งสวน
ใหญมีอายุ 1-2 สัปดาห โดยจํานวนของจุดมืดจะบอกในรูปของตัวเลขจุดมืด (sunspot number)

11
12

ซึ่งจะมีการเพิ่มขึ้นและลดลงเปนวัฏจักร โดยมีคาบประมาณ 11 ป ซึ่งจะเรียกวาวัฏจักรของจุดมืด


(sunspot cycle) (รูปที่ 1.5)

250

200
ตัวเลขจุดมืด

150

100

50

0
1880 1891 1902 1913 1924 1935 1946 1957 1968 1979 1990 2001 2012
ป

รูปที่ 1.5 กราฟแสดงวัฏจักรของจุดมืด (sunspot cycle) (กราฟเขียนจากขอมูลตัวเลขจุดมืดของ


นาซา (NASA) ซึ่งไดจาก http://solarscience.msfc.nasa.gov/SunspotCycle.shtml)

2) โพรมิเนนซ (prominence) เปนปรากฏการณหนึ่งที่สังเกตการณไดในบรรยากาศ


ชั้นโครโมสเฟยรโดยสังเกตไดในขณะเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง เมื่อมองที่ขอบดวงเทียบกับ
อวกาศดานหลังจะเห็นโพรมิเนนซมีลักษณะเปนมวลสารพุงขึ้นมา (รูปที่ 1.6) ที่มีความสูง
หลายหมื่นกิโลเมตรและคงอยูหลายวัน ถาสังเกตโพรมิเนนซในบริเวณตัวดวงจะเห็นเปนแนวมืด
ซึ่งเรี ย กชื่ ออี กอย า งหนึ่ ง ว า ฟล าเมนต (filament) นัก วิทยาศาสตรเ ชื่อว ามวลสารเหลานี้ถูก
พยุงดวยสนามแมเหล็กของดวงอาทิตย ทําใหคงสภาพอยูในลักษณะดังกลาว

12
13

โพรมิเนนซ

รูปที่ 1.6 โพรมิเนนซซึ่งสังเกตการณไดขณะเกิดสุริยุปราคา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2538


(เสริม จันทรฉาย และประเสริฐ ไกรสิงหเดชา, 2538)

3) การลุกจา (flare) เปนการระเบิดอยางรุนแรงในบรรยากาศของดวงอาทิตย ในชวง


เวลาสั้น ๆ ประมาณ 1 ถึง 15 นาที การลุก จาขนาดใหญจ ะมี แ รงระเบิด เทีย บเท ากั บระเบิ ด
ไฮโดรเจนขนาด 100 เมกะตัน หลายลูกพรอมกัน เราสามารถสังเกตการณการลุกจาไดใน
บรรยากาศชั้นโครโมสเฟยร โดยมีลักษณะเปนบริเวณสวางซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
อุณหภูมิภายในบริเวณที่เกิดการลุกจาจะสูงถึง 10 ลานเคลวิน แรงระเบิดและอุณหภูมิ
ที่สูงมากจะทําใหอิเล็กตรอนในบริเวณดังกลาวเคลื่อนที่ดวยความเร็วสูงมากใกลกับความเร็ว
แสงและถูกเบี่ยงเบนทิศทางการเคลื่อนที่ดวยแรงดึงดูดของไอออนบวก และโปรตอนอิสระ ทํา
ใหอิเล็กตรอนดังกลาวแผรังสีเอกซความเขมสูงออกมา โดยอิเล็กตรอนและโปรตอนบางสวน
จะถูกแรงระเบิดจนหลุดออกจากดวงอาทิตย กลายเปนลมสุริยะ ซึ่งบางสวนเคลื่อนที่มาถึงโลก
และถูกดักจับดวยสนามแมเหล็กโลกทําใหพุงเขาสูบรรยากาศของโลกในบริเวณขั้วเหนือและ
ขั้วใตของโลก ซึ่งทําใหเกิดปรากฏการณแสงเหนือและแสงใต
โดยทั่วไปจะพบปรากฏการณจุดมืด โพรมิเนนซ และการลุกจาในบริเวณเดียวกัน
นักวิทยาศาสตรพบวาสนามแมเหล็กใตผิวดวงอาทิตยซึ่งมีความเขมสูงและซับซอนเปนสาเหตุ
ของการเกิดปรากฏการณดังกลาว เนื่องจากจํานวนจุดมืดมีการเปลี่ยนแปลงเปนวัฏจักรตามการ
เปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กในดวงอาทิตย ดังนั้นความถี่และความรุนแรงของปรากฏการณ
โพรมิเนนซและการลุกจาซึ่งถูกควบคุมดวยสนามแมเหล็กก็มีการเปลี่ยนแปลงเปนวัฏจักร

13
14

เชนเดียวกับจุดมืด โดยมีคาบประมาณ 11 ป เราเรียกวาวัฏจักรของปรากฏการณทั้งหมดวา


วัฏจักรดวงอาทิตย (solar cycle) โดยปริมาณรังสีที่แผออกมาจากดวงอาทิตยจะเปลี่ยนแปลง
ตามวัฏจักรดวงอาทิตย ซึ่งจะกลาวถึงในบทที่ 4

1.5 รังสีที่แผจากดวงอาทิตย
พลั ง งานที่ กํ า เนิ ด จากดวงอาทิ ต ย จ ะแผ อ อกสู อ วกาศโดยรอบในรู ป ของคลื่ น
แมเหล็กไฟฟาที่ความยาวคลื่นตางๆ ซึ่งมีทั้งในรูปรังสีและแสงสวางจึงเรียกโดยทั่วไปวา รังสี
อาทิตย โดยรังสีที่มีความสําคัญในดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ไดแก รังสีอัลตราไวโอเลต
แสงสวาง และรังสีอินฟราเรด พลังงานรวมของรังสีทั้งหมดที่แผจากดวงอาทิตยจะมีคาเทากับ
3.854 x 1026 วัตต (Lang, 2001) โดยพลังงานของรังสีแตละชวงความยาวคลื่นมีสัดสวนเปน
เปอรเซ็นตเมื่อเทียบกับพลังงานทั้งหมด ตามตารางที่ 1.1
จากตารางที่ 1.1 จะพบว า รั ง สี อ าทิ ต ย ส ว นใหญ อ ยู ใ นรู ป ของแสงสว า งและรั ง สี
อินฟราเรด สําหรับรังสีอัลตราไวโอเลต ถึงแมจะมีสัดสวนคอนขางนอยแตมีพลังงานโฟตอน
(photon energy) สูง ซึ่งมีผลกระทบตอเซลลของสิ่งมีชีวิต นอกจากรังสีตางๆ ดังกลาวแลว
ดวงอาทิตยยังแผรังสีเอกซ และคลื่นวิทยุอีกเล็กนอย ซึ่งมีผลในดานพลังงานนอยมาก

14
15

ตารางที่ 1.1 ชวงความยาวคลื่นและสัดสวนของพลังงานในชวงความยาวคลื่นตางๆ ที่สําคัญเมื่อ


เทียบกับพลังงานทั้งหมดของรังสีที่แผจากดวงอาทิตย (ดัดแปลงจาก Petty, 2004
และ ISO, 2007)

ชวงความ สัดสวนของพลังงาน เมื่อ


รังสีอาทิตย ยาวคลื่น เทียบกับพลังงานทั้งหมด
(m) ที่แผออกมา (%)
รังสีอัลตราไวโอเลตที่ความคลื่นสั้นมาก 0.01-0.1 3 x 10-6
(extreme ultraviolet, XUV)
รังสีอัลตราไวโอเลตไกล (far ultraviolet, FUV) 0.1-0.2 0.01
รังสีอัลตราไวโอเลตซี (ultraviolet C, UVC) 0.2-0.28 0.5
รังสีอัลตราไวโอเลตบี (ultraviolet B, UVB) 0.28-0.32 1.3
รังสีอัลตราไวโอเลตเอ (ultraviolet A, UVA) 0.32-0.40 6.2
แสงสวาง 0.40-0.78 39
รังสีอินฟราเรด 0.78-1,000 52.9

1.6 ชนิดของรังสีอาทิตย
รังสีอาทิตยจะเดินทางเปนเสนตรงจากดวงอาทิตยออกมายังอวกาศรอบๆ และสามารถ
ตกกระทบวัตถุตางๆ ในอวกาศ เชน เซลลสุริยะ (solar cell) ของดาวเทียม ผิวนอกของยาน
อวกาศ หรือมนุษยอวกาศที่ออกมานอกยาน เมื่อสังเกตวัตถุเหลานี้จะเห็นวัตถุดังกลาวโดยมีพื้น
หลังมืด ทั้งนี้เพราะไมมีบรรยากาศกระเจิงรังสี
เมื่อรังสี อาทิ ตย เคลื่อนผานบรรยากาศมายัง พื้น ผิวโลก รัง สีดังกลาวจะถูกโมเลกุล
อากาศ ฝุนละออง และเมฆกระเจิงและดูดกลืน โดยรังสีที่เหลือจะพุงตรงมาถึงพื้นผิวโลก ซึ่งจะ
เรียกวารังสีตรง (direct radiation) สวนรังสีที่เกิดจากการกระเจิงโดยองคประกอบตางๆ ของ
บรรยากาศจะเรียกวา รังสีกระจาย (diffuse radiation) และเรียกผลรวมของรังสีตรงและรังสี
กระจายวารังสีรวม (global radiation) (รูปที่ 1.7)

15
16

รังสีตรง

รังสีกระจาย

รูปที่ 1.7 องคประกอบของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบพืน้ ผิวโลก

1.7 ปริมาณของรังสีอาทิตย
ในงานดานรังสีอาทิตยจะเกี่ยวของกับปริมาณของรังสีอาทิตยที่สําคัญ ดังนี้
1) รังสีที่ขณะเวลาหนึ่ง (irradiance) หรือความเขมรังสีอาทิตย หมายถึง พลังงาน
ของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นที่ 1 หนวยที่ขณะเวลาหนึ่ง มีหนวยเปนจูลตอ
วินาทีตอตารางเมตร หรือ วัตตตอตารางเมตร
2) รังสีในชวงเวลา (irradiation) หมายถึงปริมาณของพลังงานของรังสีอาทิตยที่ตก
กระทบพื้นที่ในชวงเวลาที่กําหนด ตัวอยางเชน ถาเปนชวงเวลา 1 ชั่วโมงก็จะ
เรียกวารังสีรายชั่วโมง (hourly irradiation) ซึ่งมีหนวยเปนจูลตอตารางเมตรตอ
ชั่วโมง หรือกรณีที่เปนชวงเวลา 1 วันก็จะเรียกวารังสีรายวัน (daily irradiation)
ซึ่งมีหนวยเปนจูลตอตารางเมตรตอวัน
3) รังสีในมุมตัน (radiance) หรือเรเดียนรังสีอาทิตย หมายถึง พลังงานที่ไดรับจาก
รังสีอาทิตยที่เดินทางเขามาใน 1 หนวยมุมตันตอ 1 หนวยพื้นที่ที่ตั้งฉากกับมุมตัน
มีหนวยเปนจูลตอตารางเมตรตอสเตอเรเดียน

1.8 ทฤษฎีการถายเทความรอนโดยการแผรังสี (Çengel and Ghajar, 2015; Howell et al.,


2016)
ดวงอาทิตยถายเทพลังงานมายังโลกโดยการแผรังสี ดังนั้นในหัวขอนีจ้ ะกลาวถึงทฤษฎี
การแผรังสีซึ่งเปนพื้นฐานของรังสีอาทิตยและประยุกต ตามรายละเอียดดังนี้

16
17

1.8.1 รังสีความรอน (thermal radiation)


รั ง สี (radiation) เป น คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ซึ่ ง ประกอบด ว ยสนามแม เ หล็ ก และ
สนามไฟฟาที่มีทิศทางตั้งฉากกัน และเคลื่อนที่แบบคลื่นดวยความเร็ว 2.9979 x 108 เมตรตอ
วินาที ในสุญญากาศ คลื่นแมเหล็กไฟฟานี้สามารถพบไดตั้ งแตความยาวคลื่น สั้นกวา 10-3
ไมครอน จนถึงความยาวคลื่นยาวกวา 103 ไมครอน โดยแบงไดเปนชวงๆ โดยแตละชวงมีชื่อ
เรียก ดังแสดงในแผนภาพในรูปที่ 1.8

แสงสวาง
รังสี อลั ตราไวโอเลต รังสี อินฟราเรด
รังสี เอ็กซ คลื่นวิทยุ

รังสี ความรอน

ความยาวคลื่น (ไมครอน)

รูปที่ 1.8 แผนภูมิแสดงคลื่นแมเหล็กที่ชว งความยาวคลื่นตางๆ (ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983 และ


Çengel and Ghajar, 2015)

คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่แตละชวงความยาวคลื่นจะมีสมบัติและกลไกการกําเนิดแตกตาง
กัน เชน รังสีเอ็กซเกิดจากการยิงอิเลคตรอนพลังงานสูงเขาไปกระทบโลหะบางชนิด โดยรังสี
เอ็กซมีความยาวคลื่นสั้นซึ่งสามารถผานเนื้อเยื่อของสิ่งมีวิตได สวนคลื่นวิทยุมีความยาวคลื่น
ยาวมาก (> 103 ไมครอน) และสามารถกําเนิดไดจากการไหลกลับไปมาของอิเลคตรอนในวงจร
อิเลคทรอนิกส เปนตน
โดยทั่วไปจะเรียกคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงความยาวคลื่น 0.1-100 ไมครอนวา รังสี
ความรอน โดยรังสีดังกลาวจะครอบคลุมแสงสวางและบางสวนของรังสีอัลตราไวโอเลตและ
รังสีอินฟราเรด
รังสีความรอนเกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของโมเลกุล อะตอม หรืออิเลคตรอน
ของสสาร โดยพลังงานที่แผออกมาจะมีระดับและปริมาณขึ้นกับอุณหภูมิ เมื่อรังสีความรอนถูก

17
18

สสารดูดกลืนจะเปลี่ยนไปเปนพลังงานความรอน ดังนั้นการแผรังสีจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุ
หนึ่งจึงเกิดการถายเทความรอน

1.8.2 การบอกปริมาณของรังสี
1.8.2.1 รังสีที่แผออกจากวัตถุ
ก) รังสีแผออกในมุมตัน (emitted radiance) เปนรังสีที่แผจากผิวของวัตถุในหนึ่งหนวย
มุมตันตอหนึ่งหนวยพื้นที่ผิวที่ตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (รูปที่ 1.9)
เราจะบอกทิศทางของรังสีดวยมุมเซนิธ (zenith angle,  ) ซึ่งเปนมุมระหวางแกนของ
มุมตันและเสนตั้งฉากกับระนาบผิวของวัตถุ และมุมอาซิมุธ (azimuth angle,  ) ซึ่งเปนมุม
ระหวางเงาของแกนของมุมตันบนระนาบของผิววัตถุกับแกน x (ตามรูปที่ 1.9) หรือเขียนใน
รูปสมการ ไดดังนี้
dQ
Ie (, )  e (1.6)
dA cos d

-2
เมื่อ I e (, ) คือรังสีในมุมตันที่แผออก (วัตต เมตร สเตอเรเดียน-1)

dw

dA
y

รูปที่ 1.9 รังสีแผจากผิวของวัตถุ dA เมื่อ  คือมุมเซนิธ (zenith angle),  คือมุมอาซิมุธ


(azimuth angle) และ  คือมุมตัน

18
19

ข) รังสีที่แผออกทั้งหมด (radiant exitance, E) เปนพลังงานรังสีที่แผจากผิววัตถุรวมทุก


ทิศทางตอหนึ่งหนวยพื้นที่ของวัตถุที่แผรังสี (รูปที่ 1.10) ซึ่งหาไดจากการวัดพจนในสมการ
(1.6) ใหม ดังนี้
Z

X
dA

รูปที่ 1.10 รังสีที่แผออกทั้งหมด

dQ
dE  E  I (, ) cos d
e (1.7)
dA
E   dE   Ie (, ) cos d (1.8)

เมื่อ E คือรังสีที่แผออกทั้งหมด (วัตต เมตร-2)

โดยทั่วไปรังสีที่ออกมาจากผิววัตถุมีทั้งรังสีที่วัตถุแผออกมาและรังสีที่สะทอนจากวัตถุ
เมื่อมีรังสีตกกระทบวัตถุนั้น ในกรณีนี้ เราจะเรียก ผลรวมของรังสีดังกลาววารังสีที่ออกมา
ทั้งหมด (radiosity) ซึ่งเขียนในรูปสมการไดดังนี้

J   Ietr (, ) cos d (1.9)

เมื่อ Ietr คือรังสีในมุมตันที่เกิดจากการแผรังสี และการสะทอนรังสี (วัตต เมตร-2 สเตอ


เรเดียน-1)
J คือรังสีที่ออกมาทั้งหมด (วัตต เมตร-2)

19
20

1.8.2.2 รังสีที่ตกกระทบวัตถุ
ก) รังสีที่ตกกระทบในมุมตัน (incident radiance)
ในกรณีที่มีรังสีเดินทางมาตกกระทบกับผิววัตถุ เราจะกําหนดปริมาณพื้นฐานของรังสี
ที่ตกกระทบเชนเดียวกับกรณีของรังสีที่แผจากวัตถุ กลาวคือ จะบอกปริมาณดวย "รังสีในมุม
ตัน" ซึ่งเปนอัตราพลังงานรังสี ( Qi ) ที่เดินทางเขามาในทิศทาง ( ,  ) ตอหนึ่งหนวยพื้นที่ที่รับ
รังสีซึ่งตั้งฉากกับทิศทางของรังสีตอหนึ่งหนวยมุมตัน (รูปที่ 1.11) หรือเขียนในรูปสมการได
ดังนี้
z

dA
y

รูปที่ 1.11 รังสีในมุมตันที่ตกกระทบ

dQ
Ii (, )  i (1.10)
dA cos d

-2
เมื่อ I e (, ) คือรังสีในมุมตันที่ตกกระทบ (วัตต เมตร สเตอเรเดียน-1)

ข) รังสีตกกระทบ (irradiance)
ถาเราอินทิเกรตรังสีที่ตกกระทบจากทุกทิศทางเหนือผิวของวัตถุ จะไดรังสีตกกระทบ
ทั้งหมด หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้


dQ
dG  i  I (, ) cos d
i (1.11)
dA

20
21

G   dG   Ii (, ) cos d (1.12)

เมื่อ G คือรังสีที่ตกกระทบทั้งหมด (วัตต เมตร-2)

Y
dA

รูปที่ 1.12 รังสีที่ตกกระทบทัง้ หมด

1.8.3 การแผรังสีของวัตถุดํา (blackbody)


วัต ถุ ทุ ก ชนิด ที่ มี อุ ณ หภู มิ สู ง กว าศู น ย เ คลวิน จะแผ รั ง สี อ อกมา โดยจะขึ้ น กั บ สารที่
ประกอบเปนพื้นผิวของวัตถุและอุณหภูมิของวัตถุนั้น โดยทั่วไปวัตถุแตละชนิดจะแผรังสีตอ
หนึ่งหนวยพื้นที่ผิวของวัตถุไดไมเทากัน ถึงแมจะมีอุณหภูมิเทากันก็ตาม เพื่อเปรียบเทีย บ
ความสามารถในการแผรังสีและการดูดกลืนรังสีของวัตถุตางๆ นักวิทยาศาสตรจึงไดกําหนด
วัตถุ ในอุ ด มคติ ที่เ รีย กวา "วั ตถุดํ า " ขึ้น โดยวัตถุดํามีสมบัติใ นการแผรัง สี แ ละดูดกลืน รัง สี
สมบูรณ กลาวคือที่อุณหภูมิคาหนึ่งวัตถุดําจะแผรังสีไดสูงสุด เมื่อเทียบกับวัตถุอื่นๆ และรังสีที่
ตกกระทบวัตถุดําจะถูกวัตถุดําดูดกลืนหมดโดยไมมีการสะทอนกลับ นอกจากนี้รังสีในมุมตัน
ที่ แ ผ จ ากวั ต ถุ ดํ า จะไม ขึ้น กั บ ทิ ศ ทาง ในธรรมชาติ ไ ม มี วั ต ถุ ดํ า อยู จ ริ ง แต มี วั ต ถุ ที่ มี ส มบั ติ
ใกล เ คี ย งกั บ วั ต ถุ ดํ า เช น วั ต ถุ ที่ เ คลื อ บด ว ย "lampblack paint" วั ต ถุ อี ก ชนิ ด หนึ่ ง ที่ มี ส มบั ติ

21
22

ใกลเคียงกับวัตถุดําคือ โพรง (cavity) ที่มีอุณหภูมิของผิวในสม่ําเสมอ T ละมีชองเล็กๆ ที่ให


รังสีเขาไปภายในโพรง และมีชองเล็กๆ ใหรังสีแผออก (รูปที่ 1.13)

รังสี เขา
รังสี ที่แผออก

รูปที่ 1.13 โพรงที่ผิวในมีอณ


ุ หภูมิ T และมีสมบัติในการดูดกลืนและการแผรังสีใกลเคียงกับ
วัตถุดํา

สเปกตรัมของรังสีที่แผจากวัตถุดําที่อุณหภูมิตางๆ สามารถแสดงไดตามกราฟในรูปที่
1.14

22
23

สเปกตรัมของรังสีที่แผจากวัตถุดํา
(วัตต เมตร-2 ไมครอน-1)

อุณหภูมิ (เคลวิน)

ความยาวคลื่น (ไมครอน)

รูปที่ 1.14 สเปกตรัมของรังสีที่แผจากวัตถุดาํ ที่อุณหภูมิ (T) คาตางๆ (ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)

ในป ค.ศ. 1901 มั ก ซ พลัง ค (Max Planck) นั ก วิท ยาศาสตร ช าวเยอรมัน ไดพั ฒ นา
ทฤษฎีการแผรังสีของวัตถุดํา ทฤษฎีดังกลาวซึ่งเรียกกันทั่วไปวา กฎของพลังค (Planck's law)
กลาววารังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดําที่มีอุณหภูมิ T ความยาวคลื่น  จะเปนไปตามสมการ

c1
E b  5
(1.13)
 [exp(c 2 / T )  1]

เมื่อ E b คือรังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดําแตละความยาวคลื่น (วัตต เมตร-2 ไมครอน-1)


T คืออุณหภูมิของวัตถุดํา (เคลวิน)
 คือความยาวคลื่น (ไมครอน)
c1 คือคาคงตัว (กรณีที่วัตถุดําอยูในสุญญากาศจะมีคาเทากับ 3.74177 x 108 วัตต
ไมครอน4 เมตร-2)
c2 คือคาคงตัว (กรณีที่วัตถุดําอยูในสุญญากาศจะมีคาเทากับ 1.43878 x 104
ไมครอน เคลวิน)

23
24

ถาอินทิเกรตทุกความยาวคลืน่ จะได

E b (T)  T 4 (1.14)

เมื่อ Eb คือรังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดํา (วัตต เมตร-2)


 คือคาคงตัวชเตฟาน-โบตซมานน ซึ่งมีคาเทากับ 5.670 x 10-8 วัตต เมตร-2
เคลวิน4)

โดยทั่วไปจะเรียกสมการ (1.14) วากฏของชเตฟาน-โบตซมานน ซึ่งสามารถใชคํานวณ


รังสีทั้งหมดจากวัตถุดํา

1.8.4 สมบัติเชิงรังสีของวัสดุ (radiative properties of material)


เนื่องจากในการศึกษาการถายเทความรอนโดยการแผรังสีจะเกี่ยวของกับรังสีที่ออก
จากวัตถุหนึ่ง ดังนั้นเราจึงตองทราบสมบัติเชิงรังสีของวัตถุซึ่งจะกลาวในรายละเอียดดังนี้

1.8.4.1 ผิวกระจายรังสีสมบูรณ (perfect diffuse surface)


รังสี ที่แผ หรือสะทอนจากผิว ของวัตถุ ทั่วไปจะกระจายออกจากผิวของวัตถุนั้นทุก
ทิศทางเหนือผิวนั้น โดยเราสามารถบอกปริมาณของรังสีดังกลาวดวยรังสีในมุมตัน ถาผิวที่แผ
รังสีออกนี้มีคารังสีในมุมตันเทากันทุกทิศทางหรือรังสีในมุมตันไมขึ้นกับทิศทาง เราจะเรียกผิว
นี้วา "ผิวกระจายรังสีสมบูรณ หรือ ผิวแบบแลมเบอเทียน (Lambertian surface)" (รูปที่ 1.15)

24
25

ผิวกระจายรังสี สมบูรณ

รูปที่ 1.15 ผิวกระจายรังสีสมบูรณ (รังสีในมุมตัน Ie1 , Ie2 และ Ie3 มีคาเทากัน)

กรณีของผิวกระจายรังสีสมบูรณ ความสัมพันธระหวางรังสีที่แผออกจากผิวทั้งหมด
(E) กับรังสีในมุมตัน ( Ie ) สามารถหาไดดังนี้
จากสมการ (1.8) เมื่อ Ie ไมขึ้นกับทิศทาง เราสามารถเขียนสมการนี้ใหมไดดังนี้

E  Ie  cos d (1.15)

เนื่องจาก d  sin dd ดังนั้น

2  / 2
E  Ie   cos  sin dd (1.16)
0 0

หรือ E  Ie (1.17)

เมื่อ E คือรังสีที่แผออกไปจากผิวทัง้ หมด (วัตต เมตร-2)

25
26

วัตถุดํามีผิวแบบผิวกระจายรังสีสมบูรณ ในการศึกษาเกี่ยวกับการถายเทความรอนโดย
การแผรังสี โดยทั่วไปจะตั้งสมมติฐานวาผิวที่มีการถายเทความรอนเปนผิวกระจายรังสีสมบูรณ

1.8.4.2 สภาพแผรังสี (emissivity)


ตามที่กลาวไปแลว วัตถุตางๆ มีความสามารถในการแผรังสีแตกตางกัน เราจะบอก
ความสามารถดังกลาวในรูปของ "สภาพแผรังสี" ซึ่งเปนอัตราสวนระหวางรังสีทั้งหมดที่แผจาก
ผิววัตถุตอรังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดําที่อุณหภูมิเดียวกัน หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้
E (T )
 (1.18)
E b (T )

1.8.4.3 สภาพดูดกลืนรังสี (absorptivity) สภาพสะทอนรังสี (reflectivity) และสภาพสงผาน


รังสี (transmissivity)
โดยทั่วไปเมื่อรังสีตกกระทบวัตถุที่รังสีสงผานไดบางสวน รังสีที่ตกกระทบบางสวน
จะถูกสะทอนจากผิวของวัตถุ สวนที่เหลือจะผานเขาไปในเนื้อของวัตถุและบางสวนถูกดูดกลืน
โดยสวนที่เหลือจะสงผานวัตถุออกไปภายนอก (รูปที่ 1.16)
รังสี ที่ตกกระทบ (G)

รังสี ที่สะทอน (Gref)

รังสี ที่ถูกดูดกลืน (Gab)

รังสี ที่สงผาน (Gtr)

รูปที่ 1.16 รังสีสวนตางๆ ที่เกิดขึ้น เมื่อมีรงั สีมาตกกระทบวัตถุซึ่งรังสีสงผานไดบางสวน

26
27

นักวิทยาศาสตรไดใหนิยามสมบัติในการสะทอน การดูดกลืน และการสงผาน ดังนี้

รังสีที่สะทอน G ref
สภาพสะทอนรังสี (  ) = = (1.19)
รังสีที่ตกกระทบ G

รังสีที่ถูกดูดกลืน G ab
สภาพดูดกลืนรังสี (  ) = = (1.20)
รังสีที่ตกกระทบ G

รังสีที่สงผาน G tr
สภาพสงผานรังสี (  ) = = (1.21)
รังสีที่ตกกระทบ G

เมื่อ G คือรังสีที่ตกกระทบ (วัตต เมตร-2)


G ref คือรังสีที่สะทอน (วัตต เมตร-2)
G ab คือรังสีที่ถูกดูดกลืน (วัตต เมตร-2)
G tr คือรังสีที่สงผาน (วัตต เมตร-2)

จากกฎการอนุรักษพลังงาน จะไดวา

G ab  G ref  G tr  G (1.22)

เมื่อหารสมการ (1.22) ดวย G จะไดวา

    1 (1.23)

กรณีของวัตถุทึบแสง   0 จะไดวา

27
28

  1 (1.24)

กรณีของวัตถุดํา รังสีที่ตกกระทบจะถูกดูดกลืนหมด ดังนั้น   1 และไมมรี ังสีที่


สะทอน หรือ   0 และไมมีรังสีที่สงผานหรือ   0

1.8.4.4 วัตถุเทา (gray body)


โดยทั่วไปสมบัติเชิงรังสี ไดแก สภาพแผรังสี สภาพดูดกลืนรังสี สภาพสะทอนรังสี
และสภาพสงผานรังสีของวัตถุจะขึ้นกับความยาวคลื่นของรังสี กรณีของวัตถุทึบรังสี (opaque
body) ที่สภาพแผรังสี สภาพดูดกลืนรังสี และสภาพสะทอนรังสีไมขึ้นกับความยาวคลื่นของ
รังสี เราจะเรียกวัตถุนี้วา "วัตถุเทา" ทั้งนี้เพราะเราจะเห็นวัตถุดังกลาวเปนสีเทา ในการคํานวณ
การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางวัตถุธรรมดา เรามักตั้งสมมติฐานวาวัตถุดังกลาว
เปนวัตถุเทา ทั้งนี้เพื่อใหสะดวกตอการคํานวณ

1.8.4.5 กฏของเคียรฮอฟฟ (Kirchhoff's law)


ถาเราพิจารณาโพรงปดซึ่งผิวในมีอุณหภูมิสม่ําเสมอ Tb และภายในมีวัตถุเล็กๆ ซึ่งมี
พื้นที่ผิว As มีสภาพแผรังสี  มีสภาพดูดกลืน  และมีอุณหภูมิ Ts (รูปที่ 1.17)

วัตถุเล็กๆ โพรง



รังสี ที่แผจากวัตถุเล็กๆ
รังสี ที่แผจากโพรง

รูปที่ 1.17 โพรงปดที่มีวัตถุเล็กๆ ภายใน ( Tb เปนอุณหภูมิของผิวในของโพรง Ts เปนอุณหภูมิ


ของวัตถุเล็กๆ,  และ  เปนสภาพแผรังสีและสภาพดูดกลืนรังสีของวัตถุเล็กๆ
ตามลําดับ และ As เปนพื้นที่ผิวของวัตถุเล็กๆ)

28
29

โพรงปดนี้จะทําหนาที่เหมือนวัตถุดํา ซึ่งจะแผรังสีเทากับ Tb 4 และรังสีนี้บางสวน


จะตกกระทบกับวัตถุเล็กๆ ภายในโพรง และถูกดูดกลืนโดยวัตถุดังกลาว เทากับ AsTb 4
ในสภาวะสมดุล ( Tb  Ts ) จะไดวา

A sTb 4  A sTb 4 (1.25)

หรือ  (1.26)

ถาพิจารณารังสีแตละความยาวคลื่น จะไดวา
   (1.27)

นั่นคือสภาพแผรังสีของวัตถุที่ความยาวคลื่นหนึ่งจะเทากับสภาพดูดกลืนรังสีที่ความ
ยาวคลื่นนั้น ถาอุณหภูมิของวัตถุที่รับรังสีเทากับอุณหภูมิแหลงกําเนิดรังสี ความสัมพันธนี้
พัฒนาโดย กุสตาฟ เคียรฮอฟฟ (Gustav Kirchhoff) นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน เมื่อ ป ค.ศ.
1860 เรียกความสัมพันธืดังกลาววา กฏของเคียรฮอฟฟ
กฏของเคียรฮอฟฟจะชวยใหเราหาสมบัติเชิงรังสีของวัตถุทึบรังสีไดสะดวก กลาวคือ
กรณีของวัตถุ ทึบรั ง สี   1   ถาเราทราบคา  ก็จ ะหาคา  ได จากนั้น อาศัย กฎเคีย ร
ฮอฟฟ (    ) ก็จะหาคาของ  ได

1.8.5 วิวแฟคเตอร (view factor)


การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิวของวัตถุ นอกจากจะขึ้นกับอุณหภูมิ
ของผิววัตถุและสมบัติเชิงรังสีของวัตถุแลว ยังขึ้นกับลักษณะการวางตัวของผิววัตถุที่ปลอยและ
รับรังสีดวย ตัวอยางเชน แผนโลหะวางขนานกัน 2 แผน ที่วางใกลกัน (รูปที่ 1.18 (ก)) รังสีที่
ปลอยจากแผน 1 จะไปตกกระทบแผน 2 ทั้งหมด

29
30

แผนที่ 2
แผนที่ 2
แผนที่ 1

แผนที่ 1
ก) ข)
รูปที่ 1.18 แผนโลหะ 2 แผนที่มีการถายเทรังสี

แตถาแผน 2 ตั้งฉากกับแผน 1 (รูปที่ 1.18 (ข)) รังสีจากแผน 1 จะไปตกกระทบแผน 2


บางสวนเทานั้น อัตราสวนระหวางสวนของรังสีที่ออกจากผิว 1 และไปตกกระทบผิว 2 ตอรังสี
ทั้งหมดที่ออกจากผิว 1 จะเรียกวา วิวแฟคเตอร (view factor) ที่มองจากแผน 1 ไปยังแผน 2
หรือแทนดวยตัวแปร F12
ในการหาสูตรทั่วไปสําหรับคํานวณ F12 เราจะพิจารณาผิว A1 และ A2 ที่วางตามรูปที่
1.19

dA 2
n2
n1 θ2

A2
r
θ1
dω 21

dA1

A1

รู ปที่ 1.19 ลั ก ษณะการจั ด วางของผิว A1 และ A2 สํา หรับ หาวิ ว แฟคเตอร โดย r เป น ระยะ
ระหวาง A1 และ A2 n1 และ n2 เปนเสนตั้งฉากกับผิว A1 และ A2ตามลําดับ 1 และ
2 เปนมุมระหวางเสนเชื่อมตอระหวางผิวทั้งสองกับเสนตั้งฉากกับผิว A1 และ A2
ตามลําดับ และ d21 คือมุมตันที่มองจาก dA1 ไป dA2 (ดัดแปลงจาก Çengel and
Ghajar, 2015)

30
31

จากรูปที่ 1.19 มีผิว 2 ผิว A1 และ A2 วางอยูหางกัน r และเสนตั้งฉากของผิว A1 (n1)


และเสนตั้งฉากของผิว A2 (n2) ทํามุมกับเสนเชื่อมตอระหวางผิวทั้งสองเปนมุม 1 และ 2
ตามลําดับ เราจะตั้งสมมติฐานวาผิว A1 และ A2 เปนผิวกระจายรังสีสมบูรณ โดยสวนเล็กๆ ของ
ผิว A1 คือ dA1 จะปลอยรังสี (จากการแผและการสะทอน) เปนรังสีในมุมตันเทากับ I1 อัตรา
ของพลังงานรังสีที่ปลอยออกจาก dA1 ในทิศทาง 1 และไปตกกระทบสวนเล็กๆ ของผิว A2
คือ dA2 จะหาไดจากสมการ


Q dA1  dA 2  I1 cos 1dA1d21 (1.28)

เมื่อ 
Q dA1  dA 2 คืออัตราของพลังงานรังสีที่ปลอยออกจาก dA1 ไปตกกระทบ dA2

(วัตต เมตร-2)
I1 คือรังสีในมุมตันที่ปลอยออกจาก dA1 (วัตต เมตร-2 สเตอเรเดียน-1)
d21 คือมุมตันเมืองมองจาก dA1 และรองรับโดย dA2 (สเตอเรเดียน)

dA 2 cos 2
เนื่องจาก d21  ดังนั้นสมการ (1.28) เขียนไดใหมเปน
r2

dA 2 cos 2

Q dA1  dA 2  I1 cos 1dA1 (1.29)
r2

จากนั้นจะหาอัตราของพลังงานรังสีที่ปลอยออกจากผิว A1 และตกกระทบผิว A2 หรือ


dA  dA โดยการอินทิเกรตดานขวามือของสมการ (1.29) ตลอดผิว A1 และ A2 หรือเขียน
Q
1 2

ในรูปสมการไดดังนี้

I1 cos 1 cos 2

Q dA1  dA 2    dA1dA 2 (1.30)
A 2 A1 r2

31
32

ในขั้นตอนต อไปจะหาอัตราของพลังงานรัง สีที่ปล อยออกจากผิว A1 ทั้งหมดหรือ



Q dA1 กรณีที่ A1 เปนผิวกระจายรังสีสมบูรณ ซึ่งจะไดวา


Q dA1  I1A1 (1.31)

ในขั้นตอนสุดทายจะหารสมการ (1.30) ดวยสมการ (1.31) จะไดวิวแฟคเตอร F12 ดังนี้


Q 1 I1 cos 1 cos 2
dA1  dA 2
F12     dA1dA 2 (1.32)

Q dA1 A1 A 2 A1 r2
I1 ไมขึ้นกับ 1 , 2 , A1, A2 และ r ทั้งนี้เพราะเปนผิวกระจายรังสีสมบูรณ ในทํานองเดียวกัน
เราสามารถหา F21 ไดดังนี้


Q 1 I1 cos 1 cos 2
dA 2  dA1
F21     dA1dA 2 (1.33)

Q dA 2 A 2 A 2 A1 r2

ถาคูณสมการ (1.32) ดวย A1 และคูณสมการ (1.33) ดวย A2 เราจะได

A1F12  A 2 F21 (1.34)

เราจะเรียกความสัมพันธในสมการ (1.34) วา "ความสัมพันธสลับกัน (reciprocity relation)"


จากสมการ (1.32) และ (1.33) จะเห็นวาวิวแฟคเตอรไมขึ้นกับอุณหภูมิและสมบัติเชิง
รังสีของผิว แตจะขึ้นกับตัวแปรทางเรขาคณิตเทานั้น สูตรของวิวแฟคเตอรของการเรียงตัวของ
ผิวแบบพื้นฐาน เชน แผนเรียบ 2 แผน วางทํามุมกัน หรือทอเล็กในทอใหญ เปนตน สามารถ
ศึกษาไดจากตําราการถายเทความรอนตางๆ (เชน Çengel and Ghajar, 2015; Howell et al.,
2016)

32
33

1.8.6 การถายเทความรอนโดยการแผรงั สีระหวางผิวของวัตถุดํา


เมื่อมีผิววัตถุดาํ 2 ผิว วางอยูใ นสุญญากาศ โดยผิวที่ 1 มีพนื้ ที่ A1 และอุณหภูมิ T1 และ
ผิวที่ 2 มีพื้นที่ A2 และอุณหภูมิ T2 (รูปที่ 1.20) ผิวทั้งสองมีการแลกเปลี่ยนพลังงานกันดังนี้

T1 T2
A1 A2

Q 12

แผนที่ 2
แผนที่ 1

รูปที่ 1.20 วัตถุดํา 2 ผิว มีอุณหภูมิตางกัน ซึ่งจะเกิดการถายเทความรอนโดยการแผรังสี

ผิวที่ 1 จะแผรังสีออกมาและไปตกกระทบผิวที่ 2 เทากับ A1T14F12 ในขณะเดียวกัน


ผิวที่ 2 ก็ จะแผรังสีออกมาและไปตกกระทบผิวที่ 1 เทากับ A 2T2 4F21 รังสีสุทธิที่ผิวที่ 1
ถายเทไปใหแผนที่ 2 ( Q12 ) จะหาไดจากสมการ

Q1 2  A1T14 F12  A 2T2 4 F21 (1.35)

เนื่องจาก A1F12  A 2F21 ดังนั้นสมการ (1.35) เขียนไดใหม ดังนี้

Q1 2  A1F12 (T14  T2 4 ) (1.36)

ถ า Q12 มี เ ครื่ อ งหมายบวกแสดงว า มี รั ง สี สุ ท ธิ ถ า ยเทจากแผ น 1 ไปยั ง แผ น ที่ 2


ในทางกลับกันถา Q12 เปนลบ แสดงวามีรังสีสุทธิถายเทจากแผนที่ 2 ไปยังแผนที่ 1

33
34

1.8.7 การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิวของวัตถุเทา
ในกรณี ของผิว วั ตถุ ธรรมดา การวิเ คราะห การถ ายเทความร อ นจะมี ความซับซอน
มากกวากรณีของผิววัตถุดํา ทั้งนี้เพราะผิววัตถุธรรมดาจะมีรังสีออกจากผิวทั้งจากการแผรังสี
ของผิวและจากการสะทอนรังสีของผิว เพื่อความสะดวกในการวิเคราะหการถายเทความรอน
โดยการแผรังสีของผิวธรรมดา เราจะตั้งสมมติฐานวาผิวดังกลาวเปนผิวแบบทึบรังสี กระจาย
รังสีสมบูรณ และเปนผิวเทา โดยในลําดับแรกจะทบทวนเรื่องรังสีทั้งหมดที่ออกจากผิววัตถุเทา
จากนั้นจะกลาวถึงรังสีสุทธิที่ผิวไดรับ และสุดทายจะอธิบายการแลกเปลี่ยนรังสีระหวางผิวของ
วัตถุเทา ตามรายละเอียด ดังนี้

1.8.7.1 รังสีที่ออกจากวัตถุทั้งหมด (radiosity)


กรณีของวัตถุเทาที่ทึบรังสี รังสีทั้งหมดที่ออกจากวัตถุ (รูปที่ 1.21) สามารถแสดงใน
รูปสมการ ไดดังนี้
J i = (รังสีที่แผจากผิว i) + (รังสีที่สะทอนจากผิว i)

รังสี ท้ งั หมดที่ออกจากผิววัตถุ (J)

รังสี ที่ตกกระทบ รังสี ที่สะทอน รังสี ที่แผ

ผิวของวัตถุเทา

รูปที่ 1.21 รังสีที่ตกกระทบ และรังสีที่ออกจากผิววัตถุเทา เมื่อ G เปนรังสีทั้งหมดที่ตกกระทบ


 เปนสภาพสะทอนรังสีของผิว วัตถุเทา  เปนสภาพแผรังสีของผิว วัตถุเทา และ
E b เปนรังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดําที่อุณหภูมิเทากับวัตถุเทาดังกลาว

หรือ J i  i E bi  i G i (1.37)

34
35

เมื่อ Ji คือรังสีทั้งหมดที่ออกจากผิว i ของวัตถุเทา (วัตต เมตร-2)


E bi คือรังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดํา ถาวัตถุดํา ซึ่งมีอุณหภูมเิ ทากับวัตถุ
เทากับวัตถุเทา (วัตต เมตร-2)
Gi คือรังสีทั้งหมดที่ตกกระทบผิว i (วัตต เมตร-2)
i คือสภาพสะทอนรังสีของผิว i
i คือสภาพแผรังสีของผิว i

เนื่องจาก   1   เมื่อ i เปนสภาพดูดกลืนรังสีของผิว i และ i = i ดังนั้น


สมการ (1.37) เขียนไดใหมดงั นี้

J i  i E bi  (1  i )G i (1.38)

1.8.7.2 รังสีสุทธิที่ผิววัตถุไดรับ
ในการถายเทความรอนโดยการแผรังสี ผิวของวัตถุจะสูญเสียพลังงานโดยการแผรังสี
และจะไดรับ พลัง งานโดยการดูด กลืน รัง สีที่แ ผห รือสะทอ นมาจากผิ ว อื่ น ๆ โดยอัต ราของ
พลังงานรังสีสุทธิที่ผิว i ไดรับหรือสูญเสีย ( Q i ) สามารถเขียนในรูปสมการไดดังนี้


Q i = (รังสีที่ออกจากผิว i) - (รังสีที่ตกกระทบผิว i)

  A J A G
Q i i i i i (1.39)

หรือ   A (J  G )
Q i i i i (1.40)

เมื่อ Ai คือพื้นที่ของผิว i (เมตร2)


Ji คือรังสีทั้งหมดที่ออกจากผิว i (วัตต เมตร-2)
Gi คือรังสีทั้งหมดที่ตกกระทบผิว i (วัตต เมตร-2)

35
36

จากสมการ (1.40) จะไดวา


J i  i E bi
Gi  (1.41)
1  i

แทน G i จากสมการ (1.41) ในสมการ (1.40) จะได

  A (J  J i  i E bi )
Q (1.42)
i i i
1  i

หรือ   A i i ( E  J )
Q (1.43)
i bi i
1  i

ถาเราเขียนสมการการถายเทความรอนในลักษณะเดียวกับการไหลของกระแสไฟฟา สมการ
(1.43) จะเขียนไดดังนี้
  E bi  J i
Q (1.44)
i
Ri

1  i
โดยที่ Ri  (1.45)
A i i

และจะเรียก R i วาความตานทานเชิงพื้นที่ตอรังสี (surface resistance to radiation) หรือเขียนใน


รูปวงจรไฟฟาไดตามรูปที่ 1.22

ผิว i
รูปที่ 1.22 แผนภูมิการถายเทความรอนโดยการแผรังสีของผิว i ในลักษณะเดียวกับการไหลของ
กระแสไฟฟา

36
37

1.8.7.3 รังสีสุทธิของการถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิววัตถุเทา
ในการหารังสีสุทธิดังกลาว เราจะพิจารณาผิววัตถุเทาที่ทึบรังสี 2 ผิว ไดแก ผิว i และ
ผิว j ซึ่งมีพื้นที่ Ai และ A j ตามลําดับ และมีอุณหภูมิแตกตางกัน เมื่อสังเกตจากผิว i ไปยังผิว j
จะมีวิวแฟคเตอร Fij และในทางกลับกันเมื่อสังเกตจากผิว j ไปยังผิว i มีวิวแฟคเตอร Fji รังสี
ทั้งหมดออกจากผิว i จะเทากับ J i และรังสีทั้งหมดออกจากผิว j จะเทากับ J j เนื่องจากผิวทั้ง
สองมีอุณหภูมิสูงกวาศูนยเคลวิน และเปนผิวของวัตถุเทา ดังนั้นทั้งผิว i และ j ตางก็แผรังสี
และสะทอนรังสีดวย โดยรังสีจากผิว i สวนหนึ่งจะไปตกกระทบผิว j ในขณะเดียวกันรังสีจาก
ผิว j ก็ไปตกกระทบผิว i อัตราของพลังงานรังสีสุทธิ ( Q i  j ) ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนรังสี
ระหวางผิวทั้งสองสามารถเขียนในรูปสมการ ไดดังนี้


Q i j = (รังสีที่ออกจากผิว i ซึ่งไปตกกระทบผิว j) - (รังสีที่ออกจากผิว j ซึ่งไปตกกระทบผิว i)


Q i  j  A i J i Fij  A jJ jFji (1.46)

เนื่องจาก Ai Fij  A jFji ดังนัน้ สมการ (1.46) จึงเขียนไดใหม ดังนี้


Q i  j  A i Fij ( J i  J j ) (1.47)

สมการ (1.47) สามารถเขียนในลักษณะกับการไหลของกระแสไฟฟาไดดังนี้

Ji  J j

Q i j  (1.48)
R ij

โดยจะเรียก R ij วาความตานทานของสุญญากาศตอรังสี (space resistance to radiation) จากการ


เทียบการถายเทความรอนเหมือนกับการไหลของกระแสไฟฟา จะเห็นวาการถายเทความรอน
โดยการแผรังสีจะผานความตานทาน 3 ตัว ที่ตออนุกรมกัน ไดแก ความตานทานของผิว i ความ
ตานทานของสุญญากาศตอรังสี ( R ij ) และความตานทานของผิว j ตามรูปที่ 1.23

37
38

ผิว j

ผิว i
รูปที่ 1.23 การแทนการถายเทความรอนระหวางผิววัตถุเทา i และ j ในลักษณะเดียวกับการไหล
ของกระแสไฟฟา โดย E bi และ E bj เปนรังสีที่แผจากวัตถุดําที่มีอุณหภูมิเทากับผิว
วัตถุเทา i และ j ตามลําดับ Ji และ J j เปนรังสีที่ออกมาทั้งหมดจากผิว i และ j และ
R i , R ij และ R j เปน ความตานทานของผิว i ความตานทานของสุญญากาศ และ
ความตานทานของผิว j ตามลําดับ

1.8.7.4 การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวาง 2 ผิว ที่ประกอบกันเปนโพรงปด


เราจะพิจารณาโพรงปดในรูปที่ 1.24 ซึ่งประกอบดวยผิวที่ 1 ซึ่งมีอุณหภูมิ T1 พื้นที่ A1
และสภาพแผรังสี 1 และผิวที่ 2 ซึ่งมีอุณหภูมิ T2 พื้นที่ A2 และสภาพแผรังสี  2 ผิวทั้งสองจะมี
การแลกเปลี่ยนรังสีกัน โดยมีรังสีสุทธิเทากับ Q12 ซึ่งทําใหเกิดการถายเทความรอนระหวางผิว
ทั้งสอง จากการเทียบการถายเทความรอนกับการไหลของกระแสไฟฟา เราสามารถแทนการ
ถายเทความรอนระหวางผิวทั้งสองดวยวงจรไฟฟา ตามรูปที่ 1.24

38
39


Q 12

1 2

= = =

รูปที่ 1.24 ผิว 2 ผิวที่ประกอบกันเปนโพรงปดและการแทนการถายเทความรอนดวยวงจรไฟฟา

จากรูปที่ 1.24 เราจะแทนความตานทานของผิวที่ 1 ความตานทานของสุญญากาศ และ


ความตานทานของผิวที่ 2 ดวย R1 , R12 และ R 2 ตามลําดับ จากการเทียบการถายเทความรอน
กับการไหลของกระแสไฟฟาตามกฎของโอหม (Ohm's law) จะไดวา

E b1  E b 2
 
Q12 (1.49)
R1  R12  R 2
(T14  T2 4 )
หรือ  
Q12
1  1 1 1  2
(1.50)
 
A11 A1F12 A 2 2

สมการ (1.50) สามารถใชคํานวณอัตราของพลังงานสุทธิที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนรังสี


ระหวางผิว 2 ผิว โดย F12 ขึ้นกับลักษณะการวางตัวของผิวทั้งสอง ซึ่งตองทําการหากอนการ
คํานวณ Q 12

39
40

ตัวอยางที่ 1.1 มีแผนโลหะ 2 แผนวางขนานกัน โดยทั้งสองแผนวางอยูใกลกันและมีพื้นที่


เทากัน (A) แผนที่ 1 มีอุณหภูมิ T1 = 800 เคลวิน และมีสภาพแผรังสี 1 = 0.2 และ
แผนที่ 2 มีอุณหภูมิ T2 = 500 เคลวิน และมีสภาพแผรังสี  2 = 0.7 จงคํานวณ
อัตราการถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางแผนทั้งสอง
วิธีทํา แผนโลหะที่มกี ารถายเทความรอนโดยการแผรังสี ดังแสดงในรูปที่ 1.25

แผนที่ 1

แผนที่ 2

รูปที่ 1.25 แผนโลหะ 2 แผน วางขนานกัน

อัตราการแผรังสีสุทธิจากแผนที่ 1 ไปยังแผนที่ 2 หาไดจากสมการ

  (T14  T2 4 )
Q12
1  1 1 1  2
 
A11 A1F12 A 2 2

เนื่องจากแผนโลหะทั้งสองกวางมากและวางใกลกัน โดยมีพื้นที่เทากัน รังสีที่ออกจาก


แผนที่ 1 จะไปตกกระทบกับแผนที่ 2 ทั้งหมด ดังนั้น F12 = 1 และถาให A  A1  A 2 สมการ
อัตราการแผรังสี Q 12 จะเขียนไดใหม ดังนี้

  (T14  T2 4 )
Q12
1  1 1 1   2
 
A1 A A 2

Q 12 (T14  T2 4 )

A 1 1
 1
1  2

40
41

(5.67 x108 )(800  500) 4



1 1
 1
0.2 0.7
-2
 3,625 วัตต เมตร

1.8.7.5 การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางพื้นผิววัสดุกับทองฟา
ในงานดานรังสีอาทิตย เรามักจะตองคํานวณอัตราการถายเทความรอนระหวางพื้นผิว
ของวัสดุกับทองฟา ในกรณีนี้เราสามารถตั้งสมมติฐานวาผิววัสดุมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับ
ทองฟา ถาใหผิววัสดุมีพื้นที่ A1 และทองฟามีพื้นที่ A 2 จะไดวา A1 / A 2  0
เนื่องจากผิววัสดุมีขนาดเล็กมาก ดังนั้นรังสีที่แผจากผิววัสดุจะไปยังทองฟาทั้งหมด
หรือ F12  1 เมื่อ F12 เปนวิวแฟคเตอรจากผิววัสดุไปยังทองฟา ถาเราประยุกตสมการ (1.50)
เขากับกรณีนี้ เราจะสามารถเขียนสมการการถายเทความรอนจากการแผรังสีไดดังนี้

Q12  A11(T14  Tsky 4 ) (1.51)

เมื่อ Ai คือพื้นที่ผิวของวัสดุ (เมตร2)


 คือสภาพแผรังสีของผิววัสดุ (-)
T1 คืออุณหภูมิของผิววัสดุ (เคลวิน)
Tsky คืออุณหภูมิของทองฟา (เคลวิน)

ในการหาคาอุณหภูมิทองฟา นักวิจัยดานบรรยากาศและดานพลังงานรังสีอาทิตยได
เสนอสูตรเอมไพริคัลสําหรับใชคํานวณอุณหภูมิดังกลาวหลายสูตร ในที่นี้จะนําเสนอสูตรของ
เบอรดาหลและมาร ติน (Berdahl and Martin, 1984) ซึ่ งดัฟฟและเบคแมน (Diffie and Beckman,
2013) แนะนําใหใช สูตรดังกลาวเขียนไดดังนี้

2  0.013 cos(15t )]1/ 4


  0.000073Tdp
Tsky  Ta [0.711  0.0056Tdp (1.52)

41
42

เมื่อ Tsky คืออุณหภูมิของทองฟา (เคลวิน)


Ta คืออุณหภูมิอากาศแวดลอม (เคลวิน)

Tdp คืออุณหภูมิจุดน้ําคาง (องศาเซลเซียส)
t คือจํานวนชั่วโมงนับจากหลังเที่ยงคืน (ชั่วโมง)

1.9 สรุป
เนื้อหาในบทนี้ไดกลาวถึง โครงสรางของดวงอาทิตยวาประกอบดวย บริเวณใจกลาง
บริเวณแผรังสี บริเวณพาความรอน และบรรยากาศ โดยบรรยากาศของดวงอาทิตยแบงไดเปน
3 ชั้น ไดแก โฟโตสเฟยร โครโมสเฟยร และโคโรนา เนื่องจากดวงอาทิตยมีมวลมาก ดังนั้นจึงมี
แรงโน ม ถ ว งมาก ทํ า ให บ ริ เ วณใจกลางมี ค วามหนาแน น และความดั น สู ง มาก จนทํ า ให
เกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร โดยโปรตอนซึ่งเปนนิวเคลียสของไฮโดรเจนหลอมรวมกันเปน
อะตอมของฮี เ ลีย มและมวลบางส ว นไดเ ปลี่ ย นไปเปน พลัง งานตามสมการของไอน สไตน
(E = mc2) พลังงานที่ไดจะถายเทจากบริเวณใจกลางผานบริเวณแผรังสี และบริเวณพาความ
รอนโดยกระบวนการแผรังสีและการพาความรอน ตามลําดับ เมื่อมาถึงบรรยากาศชั้นโฟโตส-
เฟยร พลังงานสวนใหญจะอยูในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟาในชวงความยาวคลื่นแสงสวางและ
รังสีอินฟราเรด จากนั้นเดินทางผานบรรยากาศชั้นโครโมสเฟยรและโคโรนาออกมาสูอวกาศ
โดยรอบ ซึ่งสวนหนึ่งเดินทางมาถึงโลก ถึงแมวาบรรยากาศชั้นโครโมสเฟยรและโคโรนา ซึ่งมี
อุณหภูมิสูงจะแผรังสีในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟาดวย แตมีความเขมต่ํา จึงมีผลในเชิงพลังงาน
ที่มาถึงโลกนอยมาก
บรรยากาศของดวงอาทิตยมีปรากฏการณตางๆ เกิดขึ้นเปนครั้งคราวที่สําคัญ ไดแก
จุดมืด โพรมิเนนซ และการลุกจา ปรากฏการณเหลานี้มีความถี่และความรุนแรงเปนวัฏจักร ซึ่ง
มีคาบประมาณ 11 ป โดยปรากฏการณดังกลาวสงผลตอพลังงานที่แผออกมาในอวกาศ และ
พลังงานในสวนที่มาถึงโลก
เนื่องจากดวงอาทิตยถายเทพลังงานมายังโลก โดยการแผรังสีและการประยุกตใชรังสี
อาทิตยจะเกี่ยวของกับการแผรังสี ดังนั้นในสวนสุดทายของบทที่ 1 จึงกลาวถึงทฤษฎีเบื้องตน
ของการแผรังสี

42
43

แบบฝกหัด

1. จงคํานวณปริมาณของรังสีอาทิตยตอวินาทีที่มาถึงซีกโลกทางดานที่หันไปหาดวงอาทิตย
นอกบรรยากาศโลก
คําตอบ 1.75 x 1017 จูลตอวินาที

2. ขณะที่ดาวพุธอยูใกลดวงอาทิตยที่สุด ดาวพุธจะอยูหางจากดวงอาทิตย 46 x 106 กิโลเมตร


ถาทานอยูที่ดาวพุธในขณะนั้นจะสังเกตเห็นดวงอาทิตยมีขนาดเชิงมุมเปนกี่เทาของขนาด
เชิงมุมของดวงอาทิตยที่สังเกตจากโลก
คําตอบ 3.26 เทา

3. จงคํานวณมวลสารของดวงอาทิตยที่เปลี่ยนไปเปนพลังงานที่บริเวณใจกลางของดวง-
อาทิตยในแตละวินาที
คําตอบ 4.3 x 1013 กิโลกรัม หรือ 4.3 ลานตัน

4. ถ า เกิ ด ปรากฏการณ ลุ ก จ า บนดวงอาทิ ต ย ที่ เ วลา 10:00 นาฬิ ก า นั ก ดาราศาสตร ที่ เ ฝ า


สังเกตการณปรากฏการณดังกลาวที่ประเทศไทยจะเห็นการลุกจาเวลาใด
คําตอบ 10:08 นาฬิกา

5. จงใชหลักทฤษฎีฟสิกสควอนตัมอธิบายการเกิดเสนดูดกลืนในสเปกตรัมรังสีอาทิตยนอก
บรรยากาศโลก

6. จงคํานวณอัตราการถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิวของวัตถุที่ปดคลุมเครื่อง
อบแหงพลังงานรังสีอาทิตยกับทองฟาที่เวลา 9.00 น. โดยขณะนั้นผิวของวัตถุดังกลาวมี
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และมีสภาพแผรังสีเทากับ 0.2 และอากาศแวดลอมมีอุณหภูมิ
จุดน้ําคาง 20 องศาเซลเซียส
คําตอบ 16.40 วัตต เมตร-2

43
44

รายการสัญลักษณ

Ai คือพื้นที่ของผิว i (เมตร2)
c ความเร็วแสง (เมตรตอวินาที)
c1 คือคาคงที่ (กรณีที่วัตถุดําอยูใ นสุญญากาศมีคาเทากับ 3.74177 x 108 (วัตต ไมครอน4
เมตร-2)
c2 คือคาคงที่ (กรณีที่วัตถุดําอยูใ นสุญญากาศมีคาเทากับ 1.43878 x 104 (วัตต ไมครอน4
เมตร-2)
e+ โปรซิตรอน
D ดิวทีเลียม
E คือรังสีที่แผทั้งหมด (วัตต เมตร-2)
Eb คือรังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดํา (วัตต เมตร-2)
E bi คือรังสีทั้งหมดทุกทิศทางทีแ่ ผจากวัตถุดํา ถาวัตถุดํา ซึ่งมีอุณหภูมิเทากับวัตถุ
เทากับวัตถุเทา (วัตต เมตร-2)
-2 -1
E b คือรังสีทั้งหมดที่แผจากวัตถุดําแตละความยาวคลื่น (วัตต เมตร ไมครอน )
Es คือพลังงานจากการเปลี่ยนแปลงมวล (จูล)
G คือรังสีที่ตกกระทบทั้งหมด (วัตต เมตร-2)
-2
G ab คือรังสีที่ดูดกลืน (วัตต เมตร )
Gi คือรังสีทั้งหมดที่ตกกระทบผิว i (วัตต เมตร-2)
-2
G ref คือรังสีที่สะทอน (วัตต เมตร )
G tr คือรังสีที่สงผาน (วัตต เมตร-2)
1
H โปรตอน
3
He ฮีเลียมเบา
4
He ฮีเลียม
I1 คือรังสีในมุมตันที่ปลอยออกจาก dA1 (วัตต เมตร-2 สเตอเรเดียน-1)
-2 -1
I e (, ) คือรังสีในมุมตันที่แผออก (วัตต เมตร สเตอเรเดียน )

44
45

Ietr คือรังสีในมุมตันที่เกิดจากการแผรังสี และการสะทอนรังสี (วัตต เมตร-2


สเตอเรเดียน-1)
J คือรังสีที่ออกมาทั้งหมด (วัตต เมตร-2)
Ji คือรังสีทั้งหมดออกจากผิว i ของวัตถุเทา (วัตต เมตร-2)
m มวล (กิโลกรัม)
mp มวลของโปรตอน (กิโลกรัม)
mHe มวลของนิวเคลียสของฮีเลียม (กิโลกรัม)
m มวลที่หายไป (กิโลกรัม)
-2
dA  dA คืออัตราของพลังงานรังสีที่ปลอยออกจาก dA1 ไปตกกระทบ dA2 (วัตต เมตร )
Q
1 2

t คือจํานวนชั่วโมงนับจากหลังเที่ยงคืน (h)
T คืออุณหภูมิของวัตถุดํา (เคลวิน)
T1 คืออุณหภูมิของผิววัสดุ (เคลวิน)
Ta คืออุณหภูมิอากาศแวดลอม (เคลวิน)
Tdp คืออุณหภูมจิ ุดน้ําคาง (องศาเซลเซียส)
Tsky คืออุณหภูมิของทองฟา (เคลวิน)
d21 คือมุมตันเมืองมองจาก dA1 และรองรับโดย dA2 (สเตอเรเดียน)
R0 รัศมีของดวงอาทิตย (เมตร)
 รังสีแกมมา
e นิวตริโน
 คือความยาวคลื่น (ไมครอน)
 คือสภาพแผรังสีของผิววัสดุ (-)
i คือสภาพแผรังสีของผิว i
 คือคาคงที่ชเตฟาน-โบตซมานน
i คือสภาพสะทอนรังสีของผิว i

45
46

เอกสารอางอิง

เสริม จันทรฉาย, 2521. สหสัมพันธระหวางฟลักซดวงอาทิตยที่ความยาวคลื่น 23 เซนติเมตร


กับกัมมันตภาพของจุดมืด, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
เสริม จันทรฉาย, 2538. การสังเกตปรากฏการณสุริยุปราคาเต็มดวง 24 ตุลาคม 2538 ของคณะ
นักดาราศาสตรจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ จังหวัดนครสวรรค, วารสารทางชางเผือก
ปที่ 14 ฉบับที่ 3 – 4, 45 -48.
เสริม จันทรฉาย, ประเสริฐ ไกรสิงหเดชา, 2538. สุริยุปราคาเต็มดวง 24 ตุลาคม 2538 ใน
ประเทศไทย, เอกสารการสัมมนาสรุปผลการศึกษาวิจัยเบื้องตนงานสุริยุปราคาเต็มดวง
15 ธันวาคม 2538, ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพฯ.

Berdahl, P., Martin, M., 1984. Emissivity of clear skies, Solar Energy 32 (5), 663-664.
Çengel, Y.A., Ghajar, A. J., 2015. Heat and Mass Transfer: Fundamentals & Applications,
Fifth Edition, McGraw Hill, New York.
Dittus, F.W., Boelter, L.M.K., 1930. Heat transfer in automobile radiator of the tubular type.
University of California at Berkley Pub. Eng. 2, 443-461.
Duffie, J.A., Beckman, W.A., 2013. Solar Engineering of Thermal Processes, Fourth Edition,
John Wiley & Sons, New Jersey, USA.
Gibson, E.G., 1973. The Quit Sun. US Government Printing Office, Washington D.C.
Howell, J.R., Mengüç, M.P., Siegel, R., 2016. Thermal Radiation Heat Transfer. Sixth
Edition, CRC Press, Boca Raton, Florida, USA.
Iqbal, M., 1983. An Introduction to Solar Radiation, Academic Press, New York.
ISO, 2007. Optics and photonics – Spectral bands (ISO 20473). International Organization
for Standardization. Geneva, Switzerland.
Lang, K.R., 2001. The Cambridge Encyclopedia of the Sun. Cambridge University Press,
Cambridge, UK.

46
47

Lang, K.R., 2006. Sun, Earth and Sky. Springer, New York.
Petty, G.W., 2004. A First Course in Atmospheric Radiation. Sundog Publishing, Madison,
Wisconsin.

47
48
บทที่ 2
สมบัติทางเรขาคณิตของรังสีอาทิตย
ในการคํานวณปริมาณรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกและที่พื้นผิวโลก ทั้งในชวง
ความยาวคลื่นกวางและในชวงความยาวคลื่นตางๆ จําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับสมบัติทาง
เรขาคณิตของรังสีอาทิตย ซึ่งจะกลาวในรายละเอียดในบทนี้

2.1 การเคลื่อนที่ของเทหวัตถุบนทองฟา
จากความรูทางดาราศาสตร เรารูวาโลกโคจรรอบดวงอาทิตย แตสิ่งที่ปรากฏในแตละ
วันคือ เราเห็นดวงอาทิตยเคลื่อนที่รอบตัวเราจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกเสมือนกับวา
ดวงอาทิตยโคจรรอบโลก ความเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ปรากฏกับสายตาของเรากับสิ่งที่เปนจริง
สามารถอธิบายไดดังนี้
โลกเป น สมาชิ ก ของระบบสุ ริ ย ะ (solar system) ซึ่ ง มี ด วงอาทิ ต ย เ ป น ศู น ย ก ลาง
ในขณะเดียวกันดวงอาทิตยเปนสมาชิกของระบบดาวฤกษ ซึ่งเรียกวา กาแล็กซีของเรา (Our
Galaxy) กาแล็กซีดังกลาวมีสมาชิกเปนดาวฤกษทั้งหมดประมาณ 100,000 ลานดวง ที่กระจาย
กั น อยู เ ป น รู ป คล า ยกงจั ก ร ซึ่ ง มี เ ส น ผ า นศู น ย ก ลางประมาณ 100,000 ป แ สง (9.46x1017
กิโลเมตร) โดยดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงหางจากศูนยกลางประมาณ 2/3 ของรัศมีของกาแล็กซี
ดังกลาว ดังแสดงในรูปที่ 2.1

ศูนยกลาง
(ก)
ดวงอาทิตย

รูปที่ 2.1 ลักษณะของกาแล็กซีของเรา และตําแหนงของดวงอาทิตย

49
50

ดวงอาทิตยจะโคจรไปรอบศูนยกลางของกาแล็กซีของเรา โดยใชเวลาประมาณ 250


ลานป ตอรอบ เนื่องจากระยะเวลาดังกลาวยาวนานมาก เมื่อเทียบกับเวลาที่ใชในการโคจรของ
โลกรอบดวงอาทิ ตย (1 ป) ดัง นั้นโดยทั่ว ไปเราจึงไมสามารถสัง เกตการเปลี่ ยนแปลงของ
ตําแหนงของดวงอาทิตยและดาวฤกษตางๆ ในกาแล็กซีของเราได
ถาเรานําบริเวณของกาแล็กซีของเราที่ดวงอาทิตยอยู (บริเวณ (ก) ในรูปที่ 2.1) มาขยาย
เราจะเห็นดวงอาทิตยอยูทามกลางดาวฤกษตางๆ ดังรูปที่ 2.2

โลก ดวงอาทิตย
บริเวณ (ข)

ดาวอัลฟาเซนทอรี

รูปที่ 2.2 ดวงอาทิตย และดาวฤกษตางๆ ที่อยูรอบดวงอาทิตย ในกาแล็กซีของเรา

จากรูปที่ 2.2 ถึงแมดาวฤกษตางๆ จะอยูในกาแล็กซีเดียวกันแตมีระยะทางระหวางดาว


แตละดวงหางกันมาก ตัวอยางเชน ดาวอัลฟาเซนทอรี ซึ่งอยูใกลดวงอาทิตยที่สุด แตอยูหางจาก
ดวงอาทิตยถึง 4.3 ปแสง หรือแสงจากดาวดังกลาวตองใชเวลาเดินทาง 4.3 ป จึงจะมาถึงดวง
อาทิตย สวนดาวฤกษอื่นๆ ยิ่งอยูหางจากดวงอาทิตยมาก เนื่องจากสายตาของเราที่สังเกตดาว
ฤกษเหลานี้จากโลก จะไมสามารถแยกแยะความแตกตางของระยะหางจากโลกถึงดาวฤกษ
เหลานั้นได ดังนั้นเราจึงเห็นดาวฤกษเหลานั้นอยูบนระนาบเดียวกันหมด คือที่ผิวของทองฟา
ตัวอยางเชน ดาว  ,  ,  ,  และ  อยูหางจากเราเปนระยะทางตางๆ ตามรูปที่ 2.3 แตเราจะ

50
51

เห็นดาวดังกลาวอยูที่ระยะเดียวกันหมด กลาวคือ บนผิวของทองฟา ถาเราตอเสนตรงเชื่อมดาว


แตละดวง เราจะเห็นดาวเปนกลุม ซึ่งนักดาราศาสตรเรียกวา กลุมดาว (constellation) เนื่องจาก
กลุมดาวดังกลาว (รูปที่ 2.3) มีลักษณะคลายกับคางคาว คนทั่วไปจึงเรียกกลุมดาวนี้วา กลุมดาว
คางคาว นอกจากนี้ยังมีกลุมดาวอื่นๆ อีกซึ่งนักดาราศาสตรแบงไดทั้งหมดเปน 88 กลุม

ทองฟา

 
ภาพดาวฤกษที่เราเห็น
  (กลุมดาวคางคาว)

0 100 200 300


ระยะทาง (ปแสง)

รูปที่ 2.3 ดาว  ,  ,  ,  และ  ที่ตําแหนงจริงและภาพดาวที่เราเห็นบนทองฟา

ถาเรานําภาพโลกในบริเวณ (ข) ของรูปที่ 2.2 มาขยายจะไดภาพของโลกซึ่งมีแกนหมุน


เอียงเปนมุม 23 12 องศา กับเสนตั้งฉากระนาบทางโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย โดยมีตัวเราซึ่ง
เปนผูสังเกตอยูบนพื้นผิวโลกที่ละติจูด  ตามรูปที่ 2.4

51
52

แกนหมุนโลก
แกนหมุนทองฟา
ขั้วเหนือ ระนาบในแนวระดับ

ศูนยสตู รทองฟา 23 12
o

N
 E 
O  W
S

A A
ขั้วใต ศูนยสตู รทองฟา

โลก
ทองฟา
(ก) (ข)
รูปที่ 2.4 ก) โลก และ ข) ทองฟาที่เราเห็น (N, S, E, W คือ ทิศเหนือ ใต ตะวันออก และตะวันตก
ตามลํ า ดั บ A เป น ดาวฤกษ ที่ อ ยู ใ นระนาบเดี ย วกั บ ระนาบศู น ย สู ต รของโลก และ
 เปนละติจูดของผูสังเกต)

ถาพิจารณาที่วันใดวันหนึ่ง โลกจะหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก
เมื่อมองจากขั้วโลกเหนือ ขณะที่โลกหมุนและเราแหงนมองทองฟาในเวลากลางคืน สายตาของ
เราจะกวาดผานดาวตางๆ เนื่องจากพื้นผิวโลกมีขนาดกวางใหญ เราจะไมรูสึกถึงการเคลื่อนที่
ของโลก แตเราจะรูสึกวา เราอยูกับที่ และดาวตางๆ เปนฝายเคลื่อนที่ เนื่องจากโลกหมุนจากทิศ
ตะวันตกไปทิศตะวันออก ดังนั้นเราจึงเห็นดาวเคลื่อนจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
ตามที่กลาวไปแลวขางตนวา สายตาของเราไมสามารถแยกแยะระยะหางระหวางดาว
ตางๆ ได ดังนั้นเราจึงเห็นดาวทุกดวงบนทองฟาอยูหางจากเราเทากันหมด นอกจากนี้สายตา
ของเราจะรับรูแสงที่กระเจิงมาจากบรรยากาศทุกทิศทางวามีแหลงกําเนิดหางจากเราเทากัน
หมด ดังนั้นเราจึงเห็นทองฟาเปนรูปครึ่งทรงกลม โดยมีดาวตางๆ ตรึงติดกับผิวของครึ่งทรง
กลมดังกลาว เราจะเรียกทรงกลม ซึ่งเราเห็นครึ่งหนึ่งนี้วา ทรงกลมทองฟา (celestial sphere)
เนื่องจากการเคลื่อนที่ของดาวบนทองฟาในแตละวันเปนผลมาจากการหมุนรอบตัวเอง
ของโลก ซึ่งมีอัตรา 24 ชั่วโมงตอรอบ จากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ดังนั้นเราจึงเห็นทรง

52
53

กลมทองฟาหมุนจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตกรอบแกนหมุนที่ขนานกับแกนหมุนของ
โลกดวยอัตราเดียวกัน โดยมีดาวตางๆ ที่ตรึงติดกับทองฟาและเคลื่อนที่ไปกับทรงกลมทองฟา
จากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก
ถาดาวดวงหนึ่งอยูในระนาบเดียวกับระนาบศูนยสูตรโลก (ดาว A ในรูปที่ 2.4 (ก))
และเราอยูที่ศูนยสูตร ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองเราจะเห็นดาวดวงนี้เคลื่อนที่จากขอบฟาดาน
ตะวันออกไปยังขอบฟาตะวันตกในระนาบที่ขนานกับระนาบศูนยสูตรโลก เราเรียกระนาบ
ดังกลาววาระนาบศูนยสูตรทองฟา (celestial equator) ถึงแมวาเราไมไดอยูที่ศูนยสูตรก็จะเห็น
การเคลื่อนที่ของดาวดังกลาวเชนเดียวกับกรณีที่เราอยูที่ศูนยสูตร ทั้งนี้เพราะระยะทางบนโลกมี
คานอยมากเมื่อเทียบกับระยะทางจากโลกถึงดาวตางๆ ระนาบศูนยสูตรทองฟาจะอยูในแนวทิศ
ตะวันออก-ตะวันตกและตั้งฉากกับแกนหมุนของทรงกลมทองฟา เชนเดียวกับแกนหมุนของ
โลกซึ่งตั้งฉากกับระนาบศูนยสูตรของโลก
สําหรับดาวอื่นที่มิไดอยูในระนาบเดียวกับระนาบศูนยสูตรของโลกก็จะเคลื่อนที่ใน
ระนาบที่ขนานกับระนาบศูนยสูตรทองฟาดวยอัตราเดียวกับอัตราการหมุนของโลก ทองฟาที่
เราเห็นจะมีลักษณะดังรูปที่ 2.4 (ข) หรือสามารถเขียนไดใหมดังรูปที่ 2.5
จุจุดดเซนิ
เซนิธธ เมอริเดียน
ZZ
แกนทองฟา ศูนยสตู รทองฟา

ทางเดินของเทหวัตถุ

ระนาบในแนวระดับ

รูปที่ 2.5 ลักษณะของทองฟา

จากรูปที่ 2.5 จุด ที่ อยู ตรงศีรษะของเรา จะเรี ย กว า จุ ดเซนิ ธ (Z) เส น ที่ ล ากผ า นจาก
ทิศเหนือ (N) ผานจุดเซนิธไปยังทิศใต (S) จะเรียกวาเสนเมอริเดียน (meridian) และเรียกระนาบ

53
54

ที่เราอยูวาระนาบในแนวระดับ (horizontal plane) โดยทองฟาจะมีแกนหมุนอยูในระนาบ NZS


และทํามุมกับระนาบในแนวระดับเทากับละติจูดของผูสังเกต (  )

2.2 ทางเดินของดวงอาทิตยบนทองฟา
โดยทั่วไปตําแหนงของดาวฤกษจะอยูคงที่เมื่อเทียบกับระนาบศูนยสูตรของโลก ทั้งนี้
เพราะดาวฤกษ อยูไกลจากโลกมากจนไมสามารถสังเกตการเคลื่อนที่ในชว งเวลาสั้น ๆ ได
ดังนั้นเราจึงเห็นดาวฤกษอยูในระนาบเดิมซึ่งขนานกับระนาบศูนยสูตรทองฟา แตกรณีของดาว
เคราะหและดวงอาทิตยจะมีการเปลี่ยนระนาบการเคลื่อนที่บนทองฟาไปตามเวลาในรอบป
ทั้งนี้เพราะเทหวัตถุเหลานี้อยูใกลโลก และมีตําแหนงเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาเมื่อเทียบกับ
ระนาบศูนยสูตรของโลก
เป น ที่ ท ราบกั น ดี แ ล ว ว า โลกโคจรรอบดวงอาทิ ต ย เ ป น วงรี โ ดยมี ด วงอาทิ ต ย อ ยู ที่
ตําแหนงโฟกั สหนึ่งของวงรีดั งกล าวและแกนหมุนของโลกทํามุมเอีย งกับเสนตั้ งฉากของ
ระนาบวงโคจรของโลกเปนมุม 23 1 องศาดังแสดงในรูปที่ 2.6
2
1o
23
2
21/22 มิถุนายน
20/21 มีนาคม
N

21/22 ธันวาคม

22/23 กันยายน

รูปที่ 2.6 วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย

จากรูปที่ 2.6 จะเห็นวาในวันที่ 21 หรือ 22 มิถุนายน โลกจะหันขั้วเหนือเขาหาดวง


อาทิตยมากที่สุดและในวันที่ 21 หรือ 22 ธันวาคมโลกจะหันขั้วใตเขาหาดวงอาทิตยมากที่สุด
สําหรับวันที่ 20 หรือ 21 มีนาคม และวันที่ 22 หรือ 23 กันยายน ดวงอาทิตยจะอยูในแนวศูนยสูตร
ของโลก โดยในวันที่ 20 หรือ 21 มีนาคม และ 22 หรือ 23 กันยายน เราจะเห็นดวงอาทิตย

54
55

เคลื่อนที่ในแนวศูนยสูตรทองฟาและในวันที่ 21 หรือ 22 มิถุนายน ดวงอาทิตยจะเคลื่อนที่ไป


เหนือสุดเมื่อเทียบกับศูนยทองฟา สําหรับในวันที่ 21 หรือ 22 ธันวาคม ดวงอาทิตยจะเคลื่อนไป
ใตสุด เมื่อเทียบกับศูนยสูตรทองฟา ดังแสดงในรูปที่ 2.7
ทางเดินของดวงอาทิตยในวันที่
21/22 มิถุนายน
ทางเดินของดวงอาทิตยในวันที่
20/21 มีนาคม และ 22/23 กันยายน

ระนาบศูนยสูตรทองฟา
แกนหมุนทองฟา ทางเดินของดวงอาทิตยในวันที่
21/22 ธันวาคม
E
 S
N
W

รูปที่ 2.7 แสดงทางเดินของดวงอาทิตยบนทองฟา

ระนาบของทางเดิ น ของเทหวัต ถุต า งๆ บนทอ งฟ า รวมถึ ง ดวงอาทิต ยจ ะขนานกั บ


ระนาบศูนยสูตรทองฟา แตเนื่องจากระนาบศูนยสูตรทองฟาทํามุมตั้งฉากกับแกนหมุนของ
ทองฟาและแกนหมุนดังกลาวจะทํา มุมกับระนาบในแนวระดับเทากับละติจูดของผูสังเกต
ดังนั้นระนาบของทางเดินของดวงอาทิตย ณ ตําแหนงละติจูดตางๆ บนผิวโลกจึงแตกตางกันดวย
ดังตัวอยางในรูปที่ 2.8 ซึ่งแสดงทางเดินของดวงอาทิตยที่กรุงเทพฯ (ละติจูด 13.8 องศาเหนือ)
และรูปที่ 2.9 แสดงทางเดินของดวงอาทิตยที่เมืองสตอกโฮม ประเทศสวีเดน (ละติจูด 59.2
องศาเหนือ)

55
56

20/21
21/22 มิถุนายน
20/21 มีนาคม, 22/23 กันยายน
21/22
20/21 ธัธันนวาคม
วาคม

N 13.8°
S

รูปที่ 2.8 ทางเดินของดวงอาทิตยบนทองฟาที่กรุงเทพฯ

21/22 มิมิถุนายน
20/21
20/21 มีนาคม และ22/23 กันยายน

E
20/21
21/22ธัธันนวาคม
วาคม

59.2° S
N

รูปที่ 2.9 ทางเดินของดวงอาทิตยบนทองฟาที่เมืองสตอกโฮม

จากรูปที่ 2.8 และ 2.9 จะเห็นวาในวันที่ 21 หรือ 22 มิถุนายน ซึ่งเปนวันที่ดวงอาทิตย


อยูเหนือขอบฟายาวนานที่สุด ความยาวนานของวันดังกลาวที่เมืองสตอกโฮมจะยาวกวาที่
กรุงเทพฯ มาก ในทางกลับกันในวันที่ 21 หรือ 22 ธันวาคม ซึ่งเปนวันที่ดวงอาทิตยอยูเหนือ
ขอบฟาสั้นที่สุด ความยาวนานของวันที่กรุงเทพฯ จะยาวนานกวาที่เมืองสตอกโฮมมาก

56
57

2.3 การบอกตําแหนงของดวงอาทิตย
ในการคํานวณรังสีอาทิตยที่ตกกระทบบนระนาบตางๆ ทั้งที่อยูนอกบรรยากาศโลก
และที่พื้นผิวโลก จําเปนตองรูตําแหนงของดวงอาทิตยบนทองฟา ในการบอกตําแหนงของ
ดวงอาทิตยจะพิจารณาวาทองฟาเปนครึ่งหนึ่งของทรงกลม ที่เรียกวา ทรงกลมทองฟา โดยมี
ผูสังเกตเปนศูนยกลาง เนื่องจากทองฟามีขนาดใหญมาก หรือมีรัศมีเปนอนันต (infinity) ดังนั้น
การบอกตํา แหน งของดวงอาทิตย จึง ใชมุมเพีย ง 2 มุม หรือ ใชสวนโคง (arc) ของทรงกลม
ทองฟา 2 สวนโคง ก็สามารถระบุตําแหนงได ในงานดานรังสีอาทิตยสามารถบอกตําแหนงของ
ดวงอาทิตยได 2 ระบบ ดังนี้

1) ระบบที่ใชระนาบในแนวระดับอางอิง (horizontal system) ระบบนี้จะอาศัยมุม


2 มุม ในการระบุตําแหนงของดวงอาทิตย (รูปที่ 2.10) ดังนี้
ก. มุมอาซิมุธ (azimuth,  ) เปนมุมที่วัดจากแนวทิศใต (OS ในรูปที่ 2.10) ไปยัง
ภาพฉาย (projection) ของเสนตรงที่เชื่อมตอระหวางผูสังเกตกับดวงอาทิตยบนระนาบในแนว
ระดับ (OB) โดยมีคาเปนบวกถาเงาดังกลาวอยูซีกตะวันออก และเปนลบถาอยูซีกตะวันตกของ
ทองฟา หรือ  180     180 
ข. มุ ม อั ล ติ จู ด (altitude,  ) หรื อ มุ ม เงยเป น มุ ม ระหว า งเส น ตรงที่ เ ชื่ อ มต อ
ระหวางผูสังเกตกับดวงอาทิตย (OA) กับภาพฉายของเสนตรงดังกลาวบนระนาบในแนวระดับ
(OB) ซึ่งจะมีคาจาก 0 ถึง 90 องศา สําหรับมุมระหวางเสนตรงที่เชื่อมตอระหวางผูสังเกตกับ
ดวงอาทิตย (OA) กับเสนตรงที่เชื่อมตอระหวางผูสังเกตกับจุดเซนิธ (OZ) จะเรียกวา มุมเซนิธ
(zenith angle, z ) ซึ่งนิยมใชบอกตําแหนงดวงอาทิตยเชนกัน โดยที่ z  90  
การบอกตําแหนงโดยใชระบบระนาบในแนวระดับอางอิง มีขอดี คือ เขาใจไดงาย
แตมีขอดอย คือ คามุมอาซิมุธ และมุมอัลติจูด จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแตดวงอาทิตยขึ้น
จนถึงดวงอาทิตยตก และเปลี่ยนแปลงไปตามวันในรอบปดวย

57
58

จุดเซนิธ
Z

z
E

 
N S
O 
B
W ระนาบในแนวระดับ

รูปที่ 2.10 การบอกตําแหนงของดวงอาทิตยโดยใชระนาบในแนวระดับอางอิง

2) ระบบที่ ใ ช ร ะนาบศู น ย สู ต รอ า งอิ ง (equatorial system) เนื่ อ งจากระนาบของ


ทางเดินของดวงอาทิตยบนทรงกลมทองฟาจะขนานกับระนาบของศูนยสูตรทองฟา โดยในชวง
เวลา 1 วัน ระนาบของทางเดินของดวงอาทิตยจะเปลี่ยนแปลงนอยมากจนสามารถถือวาคงที่ได
ดังนั้นในระบบที่ใชระนาบศูนยสูตรอางอิงจะบอกตําแหนงของดวงอาทิตย โดยการลากวงกลมใหญ
(great circle) จากขั้วหนึ่งของทรงกลมทองฟาผานดวงอาทิตยไปยังอีกขั้วหนึ่ง (รูปที่ 2.11)
(ดูภาคผนวกที่ 2) และใชระยะหางเชิงมุมระหวางดวงอาทิตยกับศูนยสูตรทองฟาบนวงกลมใหญ
ดังกลาวเปนตัวแปรที่ 1 เพื่อบอกตําแหนงของดวงอาทิตย และเรียกตัวแปรนี้วา เดคลิเนชัน
(declination) สําหรับตัวแปรที่ 2 จะใชมุมบนผิวทรงกลมทองฟาระหวางวงกลมใหญที่ลากผาน
ดวงอาทิตย และเสนเมอริเดียน โดยจะเรียกมุมดังกลาววา มุมชั่วโมง (hour angle,  )

58
59

มุมชัว่ โมง
วงกลมใหญที่ผานดวงอาทิตย
ขั้วเหนือของทรงกลมทองฟา  ศูนยสตู รทองฟา
ทางเดินของดวงอาทิตย
เดคลิเนชัน
 เมอริเดียน

ขั้วใตของทรงกลมทองฟา

รูปที่ 2.11 การบอกตําแหนงของดวงอาทิตยโดยใชระนาบศูนยสูตรอางอิง

ค า เดคลิ เ นชั น (  ) จะแปรค า อยู ร ะหว า ง -23 12 องศา และ 23 12 องศา จากการ
สังเกตการณจะพบวาคาเดคลิเนชันจะแปรตามเวลาในรอบปตามกราฟรูปที่ 2.12

30
20
10
 (องศา)

0
-10
-20
-30
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน

รูปที่ 2.12 การแปรคาของเดคลิเนชันของดวงอาทิตย () ตามเวลาในรอบป (ดัดแปลงจาก


Bernard et al. (1980))

59
60

กราฟในรูปที่ 2.12 สามารถแทนดวยสมการเอมไพริคัล ไดดังนี้


  (0.006918  0.399912 cos   0.070257 sin   0.006758 cos 2
(2.1)
 0.000907 sin 2  0.002697 cos 3  0.00148 sin 3)(180 / )

เมื่อ  คือ เดคลิเนชัน (องศา)


 คือ มุมวัน (day angle) (เรดียน) ซึ่งคํานวณไดจากสมการ

  2(d n  1) / 365 (2.2)

เมื่อ d n เปนลําดับของวันในรอบป โดย d n  1 ในวันที่ 1 มกราคม และ d n  365 ในวันที่ 31


ธันวาคม สําหรับเดือนกุมภาพันธจะคิดวามี 28 วัน
สมการ (2.1) จะใหความละเอียดถูกตองของคาเดคลิเนชันสูง โดยมีความคลาดเคลื่อน
สูงสุดไมเกิน 3 ลิปดา แตการคํานวณโดยใชสูตรดังกลาวคอนขางยุงยาก ดังนั้นคูเปอร (Cooper,
1969) จึงเสนอสูตรที่ใชงานไดสะดวกขึ้น ถึงแมจะมีความคลาดเคลื่อนเพิ่มขึ้นเล็กนอยแต
สามารถใชในงานดานพลังงานรังสีอาทิตยทั่วไปได (Diffie and Beckman, 1991) สูตรดังกลาว
เขียนไดดังสมการ
360
  23.45 sin[ (d n  284)] (2.3)
365

ตัวอยางที่ 2.1 จงคํานวณคาเดคลิเนชันของดวงอาทิตยในวันที่ 4 สิงหาคม โดยใชสูตรคํานวณ


อยางละเอียด
วิธีทํา วันที่ 4 สิงหาคม d n  216
  2(d n  1) / 365
  2(216  1) / 365  3.706 เรเดียน หรือ 212.0548
จากสมการ (2.1)

60
61

  (0.006918  0.399912 cos   0.070257 sin   0.006758 cos 2


 0.000907 sin 2  0.002697 cos 3  0.00148 sin 3)(180 / )
 (0.006918  0.399912 cos(3.706)  0.070257 sin(3.706)
 0.006758 cos(2  3.706)  0.000907 sin( 2  3.706)  0.002697 cos(3  3.706)
 0.00148 sin(3  3.706))(180 / )
 17.428

กรณีของมุมชั่วโมง (  ) จะแปรตามเวลาที่ใชตําแหนงดวงอาทิตยอางอิงหรือเวลาดวง
อาทิตย (solar time) ทั้งนี้เพราะชวงเวลาที่ดวงอาทิตยเคลื่อนจากเสนเมอริเดียนที่อยูตรงศีรษะ
ของผูสังเกตไปทางทิศตะวันตกจนกลับมายังตําแหนงเดิมอีกครั้ง จะใชเวลา 24 ชั่วโมง ใน
ขณะเดียวกันมุมชั่วโมงของดวงอาทิตยก็จะวนมาครบรอบ หรือ 360 องศา จะเห็นวาดวงอาทิตย
เคลื่อนที่ดวยอัตรา 15 องศาตอชั่วโมง ดังนั้นเราจึงสามารถหาความสัมพันธระหวางมุมชั่วโมง
กับเวลาดวงอาทิตยไดดังสมการ

 = 15(12-ST) (2.4)

เมื่อ  คือ มุมชั่วโมงของดวงอาทิตย (องศา)


ST คือ เวลาดวงอาทิตย (ชั่วโมง)

เวลาดวงอาทิตยสามารถคํานวณไดจากเวลามาตรฐานทองถิ่น (local standard time)


หรือเวลาตามนาฬิกาที่ใชในชีวิตประจําวัน โดยรายละเอียดของการคํานวณจะอธิบายในหัวขอ
ถัดไป

2.4 เวลาและมุมชั่วโมงของดวงอาทิตย
เวลาดวงอาทิตยเปนเวลาที่ไมสม่ําเสมอ กลาวคือ ความยาวนานของแตละวันไมเทากัน
โดยจะแปรคาไปตามเวลาในรอบป ทั้งนี้เพราะวงโคจรของโลกเปนวงรีทําใหความเร็วในการ
เคลื่อนที่ของโลกรอบดวงอาทิตยที่ตําแหนงตางๆ ในวงโคจรมีคาไมเทากัน โดยที่ตําแหนงที่
โลกอยู ใ กล ด วงอาทิ ต ย โลกจะเคลื่ อ นที่ ด ว ยความเร็ ว สู ง กว า ที่ ตํ า แหน ง อื่ น ๆ การใช เ วลา
ดวงอาทิตยในการเปรียบเทียบเหตุการณตางๆ จึงมีความยุงยาก นักวิทยาศาสตรจึงไดกําหนดเวลาที่
สม่ําเสมอขึ้น โดยนําเวลาดวงอาทิตยในวันที่ 1 มกราคม ป ค.ศ. 1900 มาแบงเปน 86,400 สวน

61
62

ซึ่งเรียก 1 สวนวา 1 วินาที และเรียกเวลานี้วาเวลาดวงอาทิตยเฉลี่ย (mean solar time) (Smart,


1971; Bernard et al., 1980)
เนื่องจากเวลาดวงอาทิตยเฉลี่ยเปนเวลาสม่ําเสมอจึงสามารถวัดไดดวยคาบของการสั่น
ตางๆ ที่คงที่ เชน คาบการแกวงของลูกตุมนาฬิกา และการสั่นของผลึกควอทซ เปนตน และ
กํ า หนดว า เวลาดวงอาทิ ต ย เ ฉลี่ ย ณ เมื อ งกรี นิ ช (Greenwich) ประเทศอั ง กฤษเป น เวลา
มาตรฐานสากล (universal time, UT) หรือเวลากรีนิช (Greenwich mean time, GMT) ประเทศ
ตางๆ จะแบงเวลาออกเปนเขตๆ เทียบกับเวลากรีนิช โดยแตละเขตจะกําหนดเสนลองจิจูด
มาตรฐาน (standard longitude, Ls) และในเขตนั้ น ๆ จะใช เ วลาเดี ย วกั น โดยเส น ลองจิ จู ด
มาตรฐานนี้ จ ะห า งจากลองจิจู ด ของกรี นิ ช เป น จํ า นวนเท า ของ 15 องศา เช น เสน ลองจิ จู ด
มาตรฐานของประเทศไทยเทากับ 105 องศา (15x7) นั่นคือเวลาของประเทศไทยจะเร็วกวาเวลา
กรีนิช 7 ชั่วโมง โดยทั่วไปเวลาในแตละเขตจะเรียกวา เวลามาตรฐานทองถิ่น (local standard
time, LST) ซึ่ ง เป น เวลาที่ อ า นได จ ากนาฬิ ก า (clock time) และใช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น นั่ น เอง
สําหรับประเทศที่มีขนาดใหญ เชน สหรัฐอเมริกา จะแบงเขตเวลามาตรฐานทองถิ่นออกเปน
หลายเขต เพื่อใหสอดคลองกับสภาพที่เปนจริงของกลางวันและกลางคืนของทองถิ่นนั้นๆ
เวลาดวงอาทิตยและเวลาดวงอาทิตยเฉลี่ยมีความแตกตางกันตามวันในรอบป ตาม
กราฟในรูปที่ 2.13 ความแตกตางนี้สามารถแทนไดดวยสมการเวลา (equation of time) ดังนี้
E t  229.18(0.000075  0.001868 cos   0.032077 sin   0.014615 cos 2
(2.5)
 0.04089 sin 2)

เมื่อ E t คือ ความแตกตางระหวางเวลาดวงอาทิตยกับเวลาดวงอาทิตยเฉลี่ย (นาที)


 คือ มุมวัน (day angle) (เรเดียน)

62
63

20
15
10
5
Et (นาที)

0
-5
-10
-15
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน

รูปที่ 2.13 การแปรคาในรอบปของความแตกตางระหวางเวลาดวงอาทิตยกับเวลาดวงอาทิตย


เฉลี่ย ( E t ) (ดัดแปลงจาก Bernard et al. (1980))

เวลาดวงอาทิตยจะมีความสัมพันธโดยตรงกับตําแหนงของดวงอาทิตย กลาวคือเมื่อ
เวลา 12.00 นาฬิกา ตามเวลาดวงอาทิตย คา  = 0 องศา ถาเวลาดวงอาทิตยเปน 11.00 นาฬิกา
 = 15 องศา เวลาดวงอาทิตยนี้สามารถคํานวณไดจากเวลามาตรฐานทองถิ่น สมการเวลา และ
ผลตางระหวางตําแหนงเสนลองจิจูดมาตรฐาน และเสนลองจิจูดของตําแหนงที่ตองการคํานวณ
ซึ่งเขียนเปนรูปสมการไดดังนี้

ST  LST  4(Ls  L loc )  E t (2.6)

เมื่อ ST คือ เวลาดวงอาทิตย (ชม.:นาที)


LST คือ เวลามาตรฐานทองถิ่น (ชม.:นาที)
Ls คือ ลองจิจูดมาตรฐาน (องศา)
Lloc คือ ลองจิจูดของตําแหนงทีต่ องการคํานวณ (องศา)
Et คือ ความแตกตางระหวางเวลาดวงอาทิตยกับเวลาดวงอาทิตยเฉลี่ย (นาที)

63
64

ค า ของ 4(Ls  Lloc ) มี ห น ว ยเป น นาที แ ละค า ของ Ls และ Lloc เป น ลบเมื่ อ อยู ท าง
ตะวันออกของกรีนิช และเปนบวก เมื่ออยูทางตะวันตกของกรีนิช ดังนั้นถาเราทราบเวลา
มาตรฐานทองถิ่นหรือเวลาตามนาฬิกา เราจะสามารถคํานวณเวลาดวงอาทิตยได จากนั้นจะ
นําไปแทนคาในสมการ (2.4) จะไดคามุมชั่วโมงตามตองการ

ตัวอยางที่ 2.2 จงคํานวณเวลาดวงอาทิตยที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม ซึ่ง


ตั้ ง อยู ที่ ตํ า แหน ง ละติ จู ด 18.78 N และลองจิ จู ด 98.98 E ในวั น ที่ 16 ตุ ล าคม เวลา 10:00
นาฬิกา ตามเวลามาตรฐานทองถิ่น
วิธีทํา วันที่ 16 ตุลาคม คา d n = 289
  2(d n  1) / 365
 2(289  1) / 365
 4.958 เรเดียน

จาก E t  229.18(0.000075  0.001868 cos   0.032077 sin   0.014615 cos 2


 0.04089 sin 2)

 229.18(0.000075  0.001868 cos(4.958)  0.032077 sin(4.958)


 0.014615 cos(2  4.958)  0.04089 sin(2  4.958))

หรือ E t  14.62 นาที

จาก ST  LST  4(Ls  L loc )  E t


= 10:00 + 4 [-105-(-98.98)] นาที + 14.62 นาที
ดังนั้น ST  9 นาฬิกา 50 นาที 32 วินาที

2.5 ความสัมพันธระหวางตัวแปรของระบบการบอกตําแหนงดวงอาทิตย
เราสามารถหาความสัมพันธระหวางตัวแปรของระบบการบอกตําแหนงดวงอาทิตยที่
ใชระนาบในแนวระดับอางอิงกับระบบที่ใชระนาบศูนยสูตรอางอิงได โดยพิจารณาจากรูปที่
2.14

64
65

Z
180  
เสนศูนยสูตรทองฟา
P  Q
90  
M

L
E
z
  S
N O 
180  

T
W

รูปที่ 2.14 ทรงกลมทองฟาและตําแหนงของดวงอาทิตยในระบบที่ใชระนาบในแนวระดับ


อางอิง และระบบที่ใชระนาบศูนยสูตรอางอิง เมื่อ O เปนศูนยกลางของทรงกลม
ทองฟา PR เปนแกนหมุนทรงกลมทองฟา  เปนละติจูดของผูสังเกต M เปนดวง
อาทิตย NWE เปนระนาบในแนวระดับ EWQ เปนระนาบศูนยสูตรทองฟา NZS เปน
ระนาบเมอริเดียน PMR เปนวงกลมใหญที่ลากผานดวงอาทิตยไปยังขั้วทั้งสองของ
ทรงกลมทองฟา  เปนเดคลิเนชัน  เปนมุมชั่วโมง  เปนมุมอัลติจูด และ 
เปนมุมอาซิมุธ

จากรูปที่ 2.14 เราสามารถบอกตําแหนงดวงอาทิตยในระบบที่ใชระนาบในแนวระดับ


อางอิงดวยมุมอัลติจูด  และมุมอาซิมุธ  ในขณะเดียวกันเราก็สามารถบอกตําแหนงดวง
อาทิตยในระบบที่ใชระนาบศูนยสูตรอางอิงดวยเดคลิเนชัน  และมุมชั่วโมง 
สามเหลี่ยม PZM เปนสามเหลี่ยมบนผิวกลมทองฟา โดยมีดานทั้ง 3 เปนสวนหนึ่งของ
วงกลมใหญที่มีจุดศูนยกลาง O รวมกัน เนือ่ งจากสวนโคง PL มีขนาดเชิงมุม 90 องศา และ LM
=  ดังนั้น PM = 90 - 

65
66

ทํานองเดียวกันสวนโคง TZ มีขนาดเชิงมุม 90 องศา และสวนโคง TM =  ดังนั้น ZM


= 90 -  เราสามารถใชวิธีเดียวกันพิสูจนวาสวนโคง PZ = 90 -  จากรูปที่ 2.14 จะเห็นวา
ระนาบ ZON กับระนาบ ZOT ทํามุมกันเทากับ 180 -  ดังนั้นมุม PẐM = 180 - 
จากความสั ม พั น ธ ร ะหว า งมุ ม กั บ ด า นของสามเหลี่ ย ม PZM ตามสู ต รโคซายน
(ดูภาคผนวกที่ 2) เราสามารถเขียนสมการไดดังนี้

cos ZM  cos PZ cos PM  sin PZ sin PM cos M P Z (2.7)

แทนคามุมและดานตางๆ ในสมการ (2.7) จะได

cos(90  )  cos(90  ) cos(90  )  sin(90  ) sin(90  ) cos  (2.8)

หรือ sin   sin  sin   cos  cos  cos  (2.9)

จะได   sin 1 [sin  sin   cos  cos  cos ] (2.10)

ในการหาสูตรสําหรับคํานวณ  เราจะพิจารณาความสัมพันธของมุมและดานของ
สามเหลี่ยม PZM อีกครั้งหนึ่ง แตในครั้งนี้จะใชสูตรซายน (ดูภาคผนวกที่ 2) ซึ่งเขียนไดดังนี้
sin PẐM sin MP̂Z
 (2.11)
sin P M sin M Z

แทนคามุมและดานตางๆ ในสมการ (2.11) จะได


sin(180   ) sin 
 (2.12)
sin(90  ) sin(90  )

sin  sin 
หรือ  (2.13)
cos  cos 

จัดรูปสมการใหม จะได
sin  cos 
sin   (2.14)
cos 

66
67

 sin  cos  
จะได   sin 1  (2.15)
 cos  

นอกจากสูตรตามสมการ (2.15) แลวเราสามารถหาสูตรสําหรับคํานวณ  ไดอีกรูป


หนึ่งดังนี้
จากสามเหลี่ยม PZM (รูปที่ 2.14) และใชสตู รโคซายนเราจะไดวา

cos PM  cos PZ cos ZM  sin PZ sin ZM cos P Z M (2.16)

แทนคามุมและดานจะได
cos(90  )  cos(90  ) cos(90  )  sin(90  ) sin(90  ) cos(180  ) (2.17)

หรือ sin   sin  sin   cos  cos  cos  (2.18)

จัดพจนในสมการ (2.18) ใหม จะไดวา


sin  sin   sin 
cos   (2.19)
cos  cos 

sin  sin   sin 


หรือ   cos 1 [ ] (2.20)
cos  cos 

ดังนั้นถาเรารูคา  และ  เราสามารถใชสมการ (2.10) คํานวณคา  แลวนําไปแทนใน


สมการ (2.15) หรือ (2.20) ก็จะหาคา  ได
ในงานดานรังสีอาทิตย บางครั้งแทนที่จะบอกตําแหนงของดวงอาทิตยดวยมุมอัลติจูด
แตจะบอกดวยมุมเซนิธ ( Z ) ซึ่งจะเปนมุมระหวางเสนตรงที่เชื่อมตอระหวางดวงอาทิตยถึงจุด
ที่เราสังเกตดวงอาทิตย (เสน OM ในรูปที่ 2.14) กับเสนตรงที่ลากจากผูสังเกตขึ้นไปยังเซนิธ
(เสน OZ)
จากรูปที่ 2.14 จะเห็นวา   90   Z ดังนั้นเมื่อแทน  ในสมการ (2.9) จะได

cos  Z  sin  sin   cos  cos  cos  (2.21)

67
68

ตัวอยางที่ 2.3 จงคํานวณมุมอัลติจูดและมุมอาซิมุธของดวงอาทิตยในวันที่ 4 สิงหาคม เวลา


10:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตยที่สถานีศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม ซึ่งตั้งอยูที่
พิกัด 18.78 N, 98.98 E
วิธีทํา
วันที่ 4 สิงหาคม เดคลิเนชันของดวงอาทิตย  =17.428 องศา
ที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ  =18.78N
ที่เวลา 10:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตย เราสามารถหามุมชั่วโมงของดวงอาทิตยไดจาก
สมการ (2.4) ดังนี้
จาก   15(12  ST)

= 15(12-10)
= 30 องศา
จากสมการ (2.10)
  sin 1 [sin  sin   cos  cos  cos ]
 sin 1 [sin(18.78) sin(17.428)  cos(18.78) cos(17.428) cos(30)]
= 61.49 องศา
จากสมการ (2.15)
 sin  cos  
  sin 1 
 cos  
 sin(30) cos(17.428) 
 sin 1  
 cos(61.49) 
= 88.09 องศา

2.6 แผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตย
ในการติดตั้งอุปกรณพลังงานรังสีอาทิตยตางๆ เชน เซลลสุริยะ เราจําเปนตองรูทางเดิน
ของดวงอาทิตยในเดือนตางๆ ในรอบป ณ สถานที่ที่ตองการติดตั้งอุปกรณดังกลาว ทั้งนี้เพื่อจะ
ไดรูวาอุปกรณนั้นๆ ถูกเงาของตนไมหรือสิ่งปลูกสรางที่อยูใกลเคียงบดบังหรือไม เพื่อความ
สะดวกในการหาขอมูลดังกลาว เราสามารถนําความรูเกี่ยวกับตําแหนงและการเคลื่อนที่ของ
ดวงอาทิตยบนทองฟามาเขียนในรูปของแผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตยได

68
69

ในการสรางแผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตยเราจะแสดงตําแหนงและทางเดินของ
ดวงอาทิตยบนกราฟแบบโพลาร (polar graph) ซึ่งมีศูนยกลางเปนตําแหนงที่เราสนใจ โดยจะให
วงกลมรอบตําแหนงที่เราสนใจเปนตัวบอกมุมอัลติจูดของดวงอาทิตยและเสนรัศมีจากจุด
ศูนยกลางในทิศทางตางๆ เปนตัวบอกมุมอาซิมุธของดวงอาทิตย (รูปที่ 2.15) จากนั้นจะกําหนด
วันที่ตองการหาทางเดินของดวงอาทิตยซึ่งโดยทั่วไปจะเปนวันที่ดวงอาทิตยอยูเหนือเสนศูนย-
สูตรทองฟามากที่สุด (21/22 มิถุนายน) วันที่ดวงอาทิตยอยูใตศูนยสูตรทองฟามากที่สุด (21/22
ธันวาคม) และวันที่ดวงอาทิตยอยูที่ศูนยสูตรทองฟา (20/21 มีนาคม และ 22/23 กันยายน)
นอกจากนี้ อ าจกํ า หนดวั น ในเดื อ นอื่ น ๆ ที่ ส นใจด ว ย จากนั้ น จะคํ า นวณเดคลิ เ นชั น ของ
ดวงอาทิตยในวันดังกลาวโดยอาศัยสมการ (2.3) ในขั้นตอนตอไปจะกําหนดเวลาซึ่งตองการทราบ
ตําแหนงของดวงอาทิตยในวันนั้น โดยทั่วไปจะเปนเวลาดวงอาทิตย (solar time) โดยเริ่มตั้งแต
เวลาที่ดวงอาทิตยขึ้นจนดวงอาทิตยตก โดยวิธีการคํานวณเวลาที่ดวงอาทิตยขึ้นและตกจะกลาว
ในหั ว ข อ 2.8 หลั ง จากนั้ น จะคํ า นวณมุม ชั่ว โมงของเวลาที่กํา หนดโดยใช สมการ (2.4) ใน
ขั้นตอนสุดทายจะทําการคํานวณมุมอัลติจูดและอาซิมุธของดวงอาทิตยที่เวลานั้นๆ โดยใช
สมการ (2.10) และ (2.15) แลวนําคาที่ไดไปเขียนจุดลงในกราฟโพลารที่เตรียมไวและลากเสน
ตอจุดที่ได ก็จะไดเสนทางเดินของดวงอาทิตยในวันที่กําหนด และไดแผนภูมิทางเดินของ
ดวงอาทิตยตามตองการ (รูปที่ 2.15)

69
70

อัลติจูด
อาซิมุธ

เวลา

22 มิถนุ ายน
18h 6h 22 พฤษภาคม
17h 7h
16h 23 กรกฎาคม
15h 14h 10h 9h 8h 16 เมษายน
13h 11h 28 สิงหาคม
21 มีนาคม
23 กันยายน
24 กุมภาพันธ
19 ตุลาคม
21 มกราคม
22 พฤศจิกายน
22 ธันวาคม

ทางเดินของดวงอาทิตย

รูปที่ 2.15 แผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตยที่อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม (18.78 N, 98.98 E)

ในการใชงาน สมมติวาที่อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งอยูที่พิกัด 18.78 N, 98.98 E


มี เ ซลล สุ ริ ย ะ 1 แผงตั้ ง เอี ย งหั น หน า ไปทางทิ ศ ใต โดยด า นหน า มี อ าคารอยู ห ลั ง หนึ่ ง
เราสามารถหาวาอาคารดังกลาวจะบังดวงอาทิตยในชวงเวลาใดโดยใชแผนภูมิทางเดินของ
ดวงอาทิตยไดดังนี้
เราจะเริ่มจากการคํานวณคามุมอาซิมุธของขอบซายและขอบขวาของอาคารเมื่อสังเกต
จากตําแหนงของเซลลสุริยะ (รูปที่ 2.16) ซึ่งในที่นี้มีคาเทากับ -15 และ 15 ตามลําดับและหา
คามุมอัลติจูดของขอบบนของอาคารซึ่งเทากับ 30 องศา จากนั้นจะนําคาอาซิมุธและอัลติจูดไป
เขี ย นขอบเขตของอาคารในแผนภู มิ ท างเดิ น ของดวงอาทิ ต ย (บริ เ วณแรเงาในรู ป ที่ 2.17)
ทางเดินของดวงอาทิตยที่อยูในพื้นที่แรเงาจะเปนชวงเวลาที่เซลลสุริยะถูกอาคารบังดวงอาทิตย
จากตัวอยางในรูปที่ 2.17 จะเห็นวาเงาของอาคารจะบังเซลลสุริยะในชวงตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม
จนถึงวันที่ 24 กุมภาพันธของปถัดไป ตั้งแตเวลาประมาณ 11 นาฬิกา จนถึง 13 นาฬิกาตามเวลา
ดวงอาทิตย

70
71

ทิศใต

อาคาร
3 0 ° 15 ° 1 5 °

เซลลสุริยะ
รูปที่ 2.16 เซลลสุริยะและอาคาร
อัลติจดู
อาซิมุธ

เวลา

22 มิถนุ ายน
18h 6h 22 พฤษภาคม
17h
7h 23 กรกฎาคม
16h 15h
14h 13h 10h 9h 8h 16 เมษายน
11h 28 สิงหาคม
21 มีนาคม
23 กันยายน
24 กุมภาพันธ
19 ตุลาคม
21 มกราคม
22 พฤศจิกายน
22 ธันวาคม

ทางเดินของดวงอาทิตย

รูปที่ 2.17 แผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตยที่แสดงขอบเขตของอาคารซึ่งสังเกตจากตําแหนง


ของเซลลสุริยะ (บริเวณแรเงา) และชวงเวลาที่เซลลสุริยะถูกอาคารบังดวงอาทิตย

71
72

2.7 มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบตางๆ
ในการคํานวณปริมาณรังสีอาทิตยที่ตกลงบนระนาบตางๆ เราจําเปนตองทราบมุมตก
กระทบ (  ) ของรังสีอาทิตยบนระนาบนั้นๆ มุมดังกลาวเปนมุมระหวางเสนตั้งฉากของระนาบ
หรือเสนปกติ (normal line) กับเสนตรงที่เชื่อมตอระหวางจุดที่รังสีตกกระทบกับดวงอาทิตย
โดยสามารถแบงเปนกรณีตางๆ ไดดังนี้
ก) กรณีร ะนาบในแนวระดับ ในกรณีนี้มุม ตกกระทบจะเทากับมุ ม เซนิ ธของดวง
อาทิตย ( z ) (รูปที่ 2.18) ซึ่งสามารถคํานวณไดโดยใชสมการ (2.21)

เสนตั้งฉากกับระนาบ

z

ระนาบในแนวระดับ

รูปที่ 2.18 มุมตกกระทบ ( z ) ของรังสีอาทิตยบนระนาบในแนวระดับ

ข) กรณีระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต
อุปกรณพลังงานรังสีอาทิตย เชน แผงเซลลสุริยะสวนมากจะวางเอียงและหันไป
ทางทิศใต เพื่อใหรับรังสีอาทิตยรวมทั้งปสูงสุด ในการคํานวณรังสีอาทิตยที่อุปกรณดังกลาว
ไดรับจําเปนตองรูมุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบของอุปกรณนั้น
ในการหามุมตกกระทบดังกลาว เราจะพิจารณาระนาบ 2 ระนาบ (รูปที่ 2.19) โดย
ระนาบที่ 1 เป น ระนาบในแนวระดั บ ซึ่ ง อยู ที่ตํ า แหนง ละติ จู ด    ส ว นระนาบที่ 2 อยู ที่
ละติ จู ด  เอี ย งทํ า มุ ม  กั บ ระนาบในแนวระดั บ และหั น ไปทางทิ ศ ใต จากหลั ก การทาง
เรขาคณิต เราสามารถพิสูจนไดวา มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบที่ 1 ( z ) จะเทากับ
มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบที่ 2 (  ) ดังนั้นถาเราแทน z ดวย  แทน  ดวย

72
73

(    ) ในสมการ (2.21) เราจะไดสมการสําหรับคํานวณมุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบน


ระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต ดังนี้

cos   sin  sin(   )  cos  cos(   ) cos  (2.22)

2
 
n2

z n1

 1

รูปที่ 2.19 ระนาบที่ 1 อยูทลี่ ะติจูด    ซึ่งเปนระนาบในแนวระดับและระนาบที่ 2 ซึ่งอยูที่


ละติจูด  และเอียงทํามุม  กับระนาบในแนวระดับ โดย n1 และ n2 เปนเสนปกติ
ของระนาบที่ 1 และ 2 ตามลําดับ

ค) กรณีระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ
ในบางครั้งระนาบที่เราตองการคํานวณรังสีอาทิตยที่ตกกระทบเปนระนาบเอียงที่
ไมไดหันไปทางทิศใต เชน หลังคาบาน หรือผนังอาคารตางๆ มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบน
ระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ สามารถหาไดโดยพิจารณาจากรูปที่ 2.20

73
74

z ตะวันออก


 ŝ

z 
เหนือ A y
 γ  ใต

ตะวันตก

รูปที่ 2.20 ระนาบเอียงซึ่งทํามุมกับระนาบในแนวระดับเปนมุม  และหันไปทางทิศใดๆ โดย


ที่ n̂ เปนเสนปกติของระนาบเอียง ŝ เปนเวคเตอร 1 หนวยที่ชี้ไปทางดวงอาทิตย 
เปนมุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบเอียง  เปนมุมอาซิมุธของดวงอาทิตย
และ  เปนอาซิมุธของระนาบเอียง

จากรูปที่ 2.20 ระนาบเอียง A ซึ่งทํามุม  กับระนาบในแนวระดับ โดยมีภาพฉาย


(projection) ของเสนปกติ (normal line) n̂ บนระนาบในแนวระดับ ซึ่งมีมุมอาซิมุธ  และ
รังสีตรงของดวงอาทิตยตกกระทบบนระนาบเอียงในแนว ŝ โดยทํามุม  กับ n̂ โดยภาพฉาย
ของ ŝ บนระนาบในแนวระดับที่ มี มุมอาซิมุธ  ถา ให n̂ และ ŝ เปน เวคเตอรที่มีข นาด
1 หนวย จากหลักการทางเวคเตอร เราสามารถเขียนสมการของเวคเตอร n̂ และ ŝ ไดดังนี้

n̂  sin  sin î  sin  cos ĵ  cos k̂ (2.23)

ŝ  sin  z sin  î  sin  z cos ĵ  cos  z k̂ (2.24)

ถาเรานําเวคเตอร n̂ มาทําสเกลารโปรดัค (scalar product) กับเวคเตอร ŝ จะได

n̂  ŝ  sin  sin  sin  z sin   sin  cos  sin  z cos   cos  cos  z (2.25)

เนื่องจาก n̂  ŝ  n̂ ŝ cos   cos  ดังนัน


74
75

cos   sin  sin  sin  z sin   sin  cos  sin  z cos   cos  cos  z (2.26)

หรือ cos   sin  sin  z sin  sin   cos  cos   cos  cos  z (2.27)

เนื่องจาก sin  sin   cos  cos   cos(   )

แทน sin  sin   cos  cos  ดวย cos(    ) ในสมการ (2.27) จะได

cos   cos  cos  z  sin  sin  z cos(   ) (2.28)

เราสามารถหาสมการของ cos  ไดอีกรูปหนึ่งโดยเริ่มจากสมการ (2.25)


เนื่องจาก sin  z  cos  ดังนั้น ถาเราแทน sin  z ดวย cos  ในสมการ (2.26)
เราจะเขียนสมการ (2.26) ไดใหมดังนี้

cos   sin  cos  cos  cos   sin  sin  sin  cos   cos  cos  z (2.29)
(sin  sin   sin )
ถาเราแทน cos  (สมการ 2.19) ดวย และแทน sin  (สมการ 2.14)
cos  cos 
cos  sin 
ดวย ในสมการ (2.29) จะได
cos 
 sin  sin   sin    cos  sin  
cos   sin  cos    cos   sin  sin   cos   cos  cos  z
 cos  cos    cos  

 sin  sin   sin  


 sin  cos     sin  sin  cos  sin   cos  cos  z
 cos  
แทน sin  (สมการ 2.9 ) ดวย sin  sin   cos  cos  cos  จะได
 (sin  sin   cos  cos  cos ) sin   sin  
cos   sin  cos   
 cos  
 sin  sin  cos  sin   cos  cos z
 sin  sin 2   cos  cos  cos  sin   sin  
 sin  cos     sin  sin  cos  sin   cos  cos z
 cos  

75
76

 sin (sin 2   1) 
 sin  cos    cos  cos  sin   sin  sin  cos  sin   cos  cos  z
 cos  
แทน sin 2   1 ดวย  cos 2  จะได

cos    sin  cos  sin  cos   sin  cos  cos  cos  sin 
(2.30)
 sin  sin  cos  sin   cos  cos  z

จากสมการ (2.30) เราสามารถแทน cos  z ดวย sin  sin   cos  cos  cos  จะได

cos    sin  cos  sin  cos   sin  cos  cos  cos  sin 
 sin  sin  cos  sin   cos (sin  sin   cos  cos  cos )

  sin  cos  sin  cos   sin  cos  cos  cos  sin 


(2.31)
 sin  sin  cos  sin   cos  sin  sin   cos  cos  cos  cos 
หรือ
cos   cos  sin  sin  sin   (cos  cos  cos   sin  sin  cos  cos ) cos 
(2.32)
 sin  cos  sin   cos  sin  cos  sin 

กรณีของกําแพงหรือผนังอาคาร เราสามารถหามุมตกกระทบของรังสีตรงโดยแทน
คา   90 องศา ในสมการ (2.32) จะไดวา

cos    cos  cos  sin   sin  cos  cos  cos   cos  sin  sin  (2.33)

2.8 มุมชั่วโมงทีด่ วงอาทิตยขึ้นและชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูเหนือระนาบตางๆ


ในการประมาณคารังสีอาทิตยที่ตกกระทบระนาบตางๆ ตลอดวัน เราจําเปนตองรู
ชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูเหนือระนาบนั้นตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึงดวงอาทิตยตกบนระนาบ
นั้น ชวงเวลาดังกลาวสามารถคํานวณได ดังนี้

ก. กรณีพื้นระนาบในแนวระดับ
เราจะพิจารณาทางเดินของดวงอาทิตยบนระนาบในแนวระดับ ตามรูปที่ 2.21

76
77

เหนือ

ตะวันตก ตะวันออก

ใต ระนาบในแนวระดับ

รูปที่ 2.21 ทางเดินของดวงอาทิตยเหนือระนาบในแนวระดับ

ชวงระยะเวลาที่ดวงอาทิตยอยูเหนือระนาบในแนวระดับ คือ ชวงความยาวนานของวัน


นั่นเอง (day length) ในการหาชวงเวลาดังกลาว เราจะตองหามุมชั่วโมงขณะที่ดวงอาทิตยขึ้น
(sunrise hour angle, sr )โดยใชสมการ (2.9) โดยแทนคามุมอัลติจูดของดวงอาทิตยเปน
0 องศา ทั้งนี้เพราะขณะที่ดวงอาทิตยขึ้น   0 และแทน  ดวย sr จะไดวา

sin(0)  sin  sin   cos  cos  cos sr (2.34)


sin  sin 
cos sr   (2.35)
cos  cos 

sr  cos1 ( tan  tan ) (2.36)

เนื่องจากในกรณีระนาบในแนวระดับทางเดินของดวงอาทิตยในชวงเชาจะสมมาตรกับ
ชวงบาย ทําใหมุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตก (sunset hour angle, ss ) มีคาเทากับมุมชั่วโมงที่
ดวงอาทิตยขึ้น แตมีเครื่องหมายตรงขาม ดังนั้นมุมชั่วโมงตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึงดวงอาทิตย
ตกจึ ง เท า กั บ 2 sr ซึ่ ง คิ ด เป น จํ า นวนชั่ ว โมงได โดยการหารด ว ยอั ต ราการเคลื่ อ นที่ ข อง
ดวงอาทิตย (15 องศาตอชั่วโมง) ซึ่งจะไดสมการสําหรับหาชวงเวลาของดวงอาทิตยที่อยูเหนือ
ระนาบในแนวระดับหรือความยาวนานของวันไดดังนี้
2
S0  cos 1 (  tan  tan ) (2.37)
15
เมื่อ S0 คือ ความยาวนานของวัน (ชั่วโมง)

77
78

ข. กรณีระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต
ในการหาชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูเหนือระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต เราจะใช
สมการ (2.22) ซึ่งใชหามุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต โดย
ขณะที่ดวงอาทิตยขึ้น มุมตกกระทบ (  ) จะเทากับ 90 องศา และมุมชั่วโมงขณะที่ดวงอาทิตย
ขึ้นจะเปน sr เมื่อแทนตัวแปรดังกลาวในสมการ (2.22) จะได

cos(90)  sin  sin(  )  cos  cos(  ) cos sr (2.38)


sin  sin(  )
cos sr   (2.39)
cos  cos(  )

sr  cos 1[ tan  tan(  )] (2.40)

จากสมการ (2.40) ในกรณีที่   0 สมการนี้จะใหคา sr มากกวามุมชั่วโมงที่ดวง


อาทิตยขึ้นบนระนาบในแนวระดับ ( sr ) ซึ่งไมเปนความจริง ในกรณีนี้เราจะตองใชคา sr
แทน sr ดังนั้นสมการทั่วไปสําหรับหาคามุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบเอียงจึงเขียน
ไดดังนี้

 
sr  min cos 1 ( tan  tan ), cos 1 (  tan  tan(  )) (2.41)

เมื่อ min เปนสัญลักษณที่บอกวา sr จะเปนคาต่ําสุด เมื่อเปรียบเทียบระหวางคาที่คํานวณได


จากพจนแรกและพจนที่ 2 ในวงเล็บ
เนื่องจากระนาบเอียงนี้หันไปทางทิศใต ทางเดินของดวงอาทิตยในชวงเชาจะสมมาตร
กับชวงบาย ทําใหมุ มชั่ วโมงที่ดวงอาทิ ตย ตก ( ss ) เทากับมุมชั่ วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้น แต
เครื่องหมายตรงขาม ดังนั้นชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยูเหนือระนาบเอียงนี้ ( S0 ) จะสามารถหาได
จาก
2
S0  sr (2.42)
15

78
79

ค. กรณีระนาบเอียงหันไปทางทิศใดๆ
ทํานองเดียวกับกรณีระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต เราจะใชสมการสําหรับคํานวณ
มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ (สมการ (2.32)) ชวยในการ
หามุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบเอียง โดยการเขียนสมการดังกลาวในรูปของตัวแปร
ใหม ดังนี้

cos   A sin   B cos   C (2.43)

เมื่อ A  cos  sin  sin  (2.44)

B  cos  cos  cos   sin  sin  cos  cos  (2.45)

C  sin  cos  sin   cos  sin  cos  sin  (2.46)

ขณะที่ดวงอาทิตยขึ้น   'sr และ   90 องศา จากสมการ (2.43) จะไดวา


cos 90  A sin sr'  B cos sr'  C
0  A sin sr'  B cos sr'  C
1
0  A (1  cos 2 ' 2
sr )  B cos sr'  C (2.47)
1
2 ' 2
 A (1  cos sr ) '
 B cos sr C (2.48)
ยกกําลังสองทั้ง 2 ขาง
A 2 (1  cos 2 sr' )  B2 cos 2 sr'  2BC cos sr'  C 2 (2.49)
A 2  A 2 cos 2 sr'  B 2 cos 2 sr'  2BC cos sr'  C 2 (2.50)

จัดรูปใหมจะได
( B2  A 2 ) cos 2 sr'  2BC cos sr'  (C 2  A 2 )  0 (2.51)

สมการ (2.51) มีรูปเทียบไดกับสมการ ax 2  bx  c  0 ซึ่งมีผลเฉลยเปน


 b  b 2  4ac
x ดังนั้นผลเฉลยของสมการ (2.51) สามารถเขียนไดดังนี้
2a

79
80

 2BC  4B2C2  4(C 2  A 2 )(B2  A 2 )


cos sr'  (2.52)
2(B2  A 2 )

 BC  B2C2  B2C2  A 2C2  A 2 B2  A 4



B2  A 2
หรือ
 BC  A 4  A 2 B2  A 2C2
cos sr'  (2.53)
B2  A 2

หารดวย A2 ทั้งเศษและสวนจะได

BC B2 C 2
  1  
cos sr'  A2 A2 A2 (2.54)
B2
1
A2
ให x  B และ y
C
จะได
A A
 xy  1  x 2  y 2
cos sr'  (2.55)
x2 1
B cos  cos  cos   sin  sin  cos  cos 
โดยที่ x 
A cos  sin  sin 
cos  sin 
หรือ x  (2.56)
sin  tan  tan 

C sin  cos  sin   cos  sin  cos  sin 


และ y  (2.57)
A cos  sin  sin 
 sin  cos  
หรือ y  tan    (2.58)
 sin  tan  tan  

เนื่ องจากมุ มชั่ ว โมงที่ ด วงอาทิต ย ขึ้น ( sr' ) และตก (ss' ) บนระนาบเอีย งจะต อ ง
น อ ยกว ากรณี ข องระนาบในแนวระดั บ ดั ง นั้ นเราจึ ง สามารถเขียนสมการของมุมชั่ว โมงที่
ดวงอาทิตยขึ้นและตกในกรณีตางๆ ไดดังนี้

80
81

- กรณีระนาบเอียงหันไปสูดา นตะวันออก หรือ   0

 xy  x 2  y 2  1
sr'  min[ sr , cos 1 ( )] (2.59)
x2  1

 xy  x 2  y 2  1
และ '
   min[ sr , cos (
ss
1
)] (2.60)
x2 1

- กรณีระนาบเอียงหันไปสูดา นตะวันตก หรือ 0

 xy  x 2  y 2  1
sr'  min[ sr , cos 1 ( )] (2.61)
x2  1

 xy  x 2  y 2  1
และ '
ss   min[ sr , cos 1 ( )] (2.62)
x2  1

เมื่อไดมุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นและตกแลว เราสามารถหาชวงเวลาที่ดวงอาทิตยอยู
เหนือระนาบเอียงไดจากสมการ
1
S0  ( sr'  ss
'
) (2.63)
15

2.9 แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย
(eccentricity correction factor)
เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตยเปนวงรี โดยดวงอาทิตยอยูที่จุดโฟกัสหนึ่งของวงรี
ดั ง กล า ว ดั ง นั้ น ขณะที่ โ ลกโคจรรอบดวงอาทิ ต ย ร ะยะทางระหว า งโลกกั บ ดวงอาทิ ต ย จึ ง
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลตอความเขมรังสีอาทิตยที่โลกไดรับ ทั้งนี้
เพราะความเขมรังสีอาทิตยจะแปรผกผันกับระยะทางยกกําลังสอง ถา Isc เปนความเขมรังสี
อาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีที่ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลก
กับดวงอาทิตย ( ro ) และ Ion เปนรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทาง

81
82

ของรังสี ขณะที่โลกอยูที่ระยะทางจากดวงอาทิตย r เราสามารถเขียนสมการความสัมพัน ธ


ระหวาง Ion กับ Isc ไดดังนี้
2
I   ro  I (2.64)
on sc
r
2
r 
ถาให E0   o  เราสามารถเขียนสมการ (2.64) ใหมไดดังนี้
r
I  E I
on 0 sc (2.65)

โดยทั่วไปจะเรียก E 0 วาเปนแฟคเตอรสําหรับแกผลการแปรคาของระยะทางระหวาง
โลกกับดวงอาทิตย เนื่องจากความรูทางดาราศาสตร เราสามารถหาคา ro และคา r ได ดังนั้น
เราจึงสามารถหาคา E 0 ในแตละวันขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตยได ถานําคา E 0 มาเขียน
กราฟกับเวลาจะไดผลดังรูปที่ 2.22
1.06
1.04
1.02
1.00
E0

0.98
0.96
0.94
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน

รูปที่ 2.22 การแปรคาของแฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับ


ดวงอาทิตย ( E 0 ) กับเวลาในรอบป

เพื่อความสะดวกในการนําคา E 0 ไปใชในการคํานวณตางๆ สเปนเซอร (Spencer,


1971) จึงไดทําการแทนกราฟในรูปที่ 2.22 ดวยสมการเอมไพริคัล ซึ่งเขียนไดดังนี้

82
83

E 0  1.000110  0.034221cos   0.001280 sin 


(2.66)
 0.000719 cos 2  0.000077 sin 2

โดยที่  คือมุมวัน (day angle) (เรเดียน) ซึ่งสามารถคํานวณไดจากสมการ (2.2)

คา E 0 ที่คํานวณจากสมการ (2.66) จะมีความละเอียดถูกตองมาก ซึ่งเหมาะสมกับการ


ใชงานที่ตองการความละเอียดสูง สําหรับงานทางดานวิศวกรรมทั่วไป ดัฟฟและเบคแมน
(Duffie and Beckman, 1991) เสนอใหใชสมการที่ซับซอนนอยกวาซึ่งเขียนไดดังนี้

 2d n 
E 0  1  0.033 cos   (2.67)
 365 

เมื่ อ d n คื อ ลํ า ดั บ วั น ในรอบป โดย d n  1 ในวั น ที่ 1 มกราคม และเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ จ ะ


กําหนดใหมีจํานวนวัน 28 วัน
เราสามารถนําคา E 0 ไปใชแกคาผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวง
อาทิตยในกระบวนการคํานวณพลังงานของรังสีอาทิตยที่ระยะหางใดๆ จากดวงอาทิตย ทั้งกรณี
รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง (0.3 - 3.0 ไมครอน) และในชวงความยาวคลื่นตางๆ เชน
ความยาวคลื่นแสงสวางและรังสีอัลตราไวโอเลต เปนตน

2.10 สรุป
บทนี้ เริ่มตนจากการอธิบายความเชื่อมโยงระหวางการเคลื่อนที่จริงของดาวฤกษ ดวงอาทิตย
และโลกกั บ การเคลื่ อ นที่ ป รากฏของเทหวั ต ถุ เ หล า นี้ ที่ เ ราสั ง เกตเห็ น บนท อ งฟ า โดยใน
การเคลื่ อ นที่ ป รากฏจะเสมื อ นกั บ ว า ท อ งฟ า ที่ เ ราเห็ น เป น ซี ก หนึ่ ง ของทรงกลมที่ เ รี ย กว า
ทรงกลมทองฟา ซึ่งมีแกนหมุนอยูในแนวเหนือใต และทํามุมกับระนาบในแนวระดับเทากับ
ละติจูดของผูสังเกต ในแตละวันเทหวัตถุทุกชนิดบนทองฟา รวมถึงดวงอาทิตยจะเคลื่อนที่
ขนานกับเสนศูนยสูตรทองฟาจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตกดวยอัตราเร็ว 24 ชั่วโมงตอรอบ
การเคลื่อนที่ดังกลาวเปนผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก

83
84

ระนาบทางเดินของดวงอาทิตยจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาในรอบป โดยจะอยูใตและ
เหนือเสนศูนยสูตรทองฟามากที่สุดในวันที่ 21/22 ธันวาคม และ 21/22 มิถุนายน ตามลําดับ
และอยูที่ศูนยสูตรในวันที่ 20/21 มีนาคม และ 22/23 กันยายน ในลําดับตอมาไดอธิบายระบบ
การบอกตําแหนงของดวงอาทิตย 2 ระบบ ไดแก ระบบที่ 1 ซึ่งใชระนาบในแนวระดับอางอิง
และระบบที่ 2 ที่ใชระนาบศูนยสูตรอางอิง โดยระบบที่ 1 ใชมุมอัลติจูดและมุมอาซิมุธบอก
ตําแหนงดวงอาทิตย สวนระบบที่ 2 ใชมุมชั่วโมงและเดคลิเนชันบอกตําแหนงดวงอาทิตย โดย
เดคลิเนชันมีความสัมพันธกับลําดับวันในรอบป และมุมชั่วโมงมีความสัมพันธกับเวลาในรอบวัน
ถาเรารูคามุมชั่วโมงและเดคลิเนชัน เราสามารถใชสูตรคํานวณคามุมอัลติจูดและมุมอาซิมุธ
ได จากนั้นไดอธิบายวิธีสรางแผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตย เพื่อหาคาชวงเวลาและวันที่ที่
อุปกรณพลังงานรังสีอาทิตยจะถูกตนไมหรือสิ่งปลูกสรางบังดวงอาทิตย นอกจากนี้ยังไดหา
สูตรสําหรับคํานวณมุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบตางๆ และชวงเวลาที่ดวงอาทิตย
อยู เ หนื อ ระนาบเหล า นั้ น สุ ด ท า ยได ก ล า วถึ ง แฟคเตอร สํ า หรั บ แก ผ ลจากการแปรค า ของ
ระยะทางระหวางโลกและดวงอาทิตย ซึ่งขึ้นกับลําดับวันในรอบป เพื่อใชสําหรับคํานวณรังสี
อาทิตยที่เดินทางมาถึงโลก

84
85

แบบฝกหัด

1. จงคํานวณมุมเซนิธและมุมอาซิมุธของดวงอาทิตยที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัด
เชียงใหม ซึ่งตั้งอยูที่พิกัด 18.78 N, 98.98 E เมื่อเวลา 9.00 นาฬิกาตามเวลามาตรฐาน
ทองถิ่น ในวันที่ 21 มิถุนายน
คําตอบ มุมเซนิธ = 47.98 องศา และมุมอาซิมุธ = 75.46 องศา

2. จงคํานวณความยาวนานของวันที่อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ซึ่งตั้งอยูที่พิกดั 13.82 N,


100.04 E ในวันที่ 21 ธันวาคม
คําตอบ 11 ชัว่ โมง 12 นาที

3. เซลลสุริยะแผงหนึ่งตั้งอยูที่พิกัด 7.20 N, 100.60 E โดยทํามุมเอียงกับระนาบในแนว


ระดับ 20 องศา และหันไปทางทิศใต จงคํานวณชวงเวลาที่เซลลสุริยะดังกลาวสามารถรับ
รังสีอาทิตยไดในวันที่ 21 กันยายน ถาวันดังกลาวทองฟาไมมีเมฆตลอดทั้งวัน
คําตอบ 12 ชั่วโมง

4. จงคํานวณมุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนดาดฟาที่เปนพื้นราบของอาคารหลังหนึ่ง ซึ่ง
ตั้งอยูที่พิกัด 15.25 N, 104.87 E ในวันที่ 21 มีนาคม เวลา 12.00 นาฬิกาตามเวลา
มาตรฐานทองถิ่น
คําตอบ 15.92 องศา

5. เสาธงตนหนึ่งสูง 10 เมตร ตั้งอยูที่พิกดั 13.82 N, 100.04 E จงคํานวณความยาวของเงา


ของเสาธงตนนี้ที่ทอดยาวไปบนระนาบในแนวระดับจากโคนเสาในวันที่ 21 มิถุนายน เวลา
9.00 นาฬิกาตามเวลามาตรฐานทองถิ่น
คําตอบ 13 เมตร

85
86

รายการสัญลักษณ

dn ลําดับวันในรอบป (-)
E0 แฟคเตอรสําหรับแกผลการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย (-)
Et ความแตกตางระหวางเวลาดวงอาทิตยกับเวลาดวงอาทิตยเฉลี่ย (นาที)
I
on รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีที่ระยะทางใดๆ
(วัตตตอตารางเมตร)
I
sc ความเขมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีที่
ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย (วัตตตอตารางเมตร)
LST เวลามาตรฐานทองถิ่น (ชม:นาที)
L loc ลองจิจูดของผูสังเกต (องศา)
Ls ลองจิจูดมาตรฐาน (องศา)
n̂ เวคเตอรขนาด 1 หนวยซึ่งตั้งฉากกับระนาบเอียง (-)
r ระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย (เมตร)
ro ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย (เมตร)
ŝ เวคเตอรขนาด 1 หนวยซึ่งชี้ในแนวของรังสีตรงที่ตกกระทบบนระนาบเอียง (-)
S0 ความยาวนานของวัน (ชัว่ โมง)
ST เวลาดวงอาทิตย (ชม:นาที)
 มุมอัลติจูดของดวงอาทิตย (องศา)
 มุมอาซิมุธของระนาบเอียง (องศา)
 มุมเอียงของระนาบเอียง (องศา)
 มุมวัน (เรเดียน)
 เดคลิเนชันของดวงอาทิตย (องศา)
 มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบตางๆ (องศา)
Z มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
 ละติจูด (องศา)
 มุมอาซิมุธของดวงอาทิตย (องศา)
 มุมชั่วโมง (องศา)

86
87

sr มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบในแนวระดับ (องศา)


ss มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบในแนวระดับ (องศา)
sr มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบเอียง (องศา)
ss มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบเอียง (องศา)

87
88

เอกสารอางอิง

Bernard, R., Menguy, G., Schwartz, M., 1980. Le Rayonnement Solaire: Conversation
Thermique et Applications. Technique & Documentation, Paris.
Cooper, P.I., 1969. The absorption of solar radiation in solar still. Solar Energy 12(3), 333-
346.
Duffie, J.A., Beckman, W.A., 1991. Solar Engineering of Thermal Processes. John
Wiley&Sons, New York.
Smart, W.M., 1971. Spherical Astronomy. Cambridge University Press, Cambridge, UK.
Spencer, J.W., 1971. Fourier series representation of the position of the sun. Search 2(5), 17-
20.

88
บทที่ 3
บรรยากาศโลกและผลกระทบตอรังสีอาทิตย

รังสีที่แผจากดวงอาทิตยจะเดินทางผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลก โดยระหวางทางจะ
ถูกองคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ กระเจิง (scatter) และดูดกลืน ในการคํานวณความเขม
รังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับองคประกอบตางๆ ของบรรยากาศโลกและ
ผลกระทบขององคประกอบดังกลาวที่มีตอรังสีอาทิตยซึ่งจะอธิบายในบทนี้

3.1 โครงสรางของบรรยากาศโลก
บรรยากาศโลกสามารถแบ ง ตามการเปลี่ ย นแปลงอุ ณ หภู มิ ต ามความสู ง ได 4 ชั้ น
(Andrews, 2010) (รูปที่ (3.1)) ดังนี้
ก) โทรโปสเฟยร (troposphere) เปนบรรยากาศชั้นแรก ซึ่งมีความสูงจากพื้นผิวโลก
ขึ้นไปประมาณ 16-18 กิโลเมตร ที่บริเวณศูนยสูตร และ 8-10 กิโลเมตร ที่บริเวณขั้วโลก มวล
อากาศ 80% ของบรรยากาศโลกทั้งหมดจะอยูในโทรโปสเฟยร โดยเมฆ ไอน้ําและฝุนละออง
(aerosols) สวนใหญจะอยูในบรรยากาศชั้นนี้ พลังงานสวนใหญที่บรรยากาศชั้นนี้ไดรับจะได
จากการดู ด กลื น รั ง สี อ าทิ ต ย ข ององค ป ระกอบของบรรยากาศชั้ น นี้ ที่ สํ า คั ญ ได แ ก
คารบอนไดออกไซด ไอน้ํา และฝุนละออง องคประกอบเหลานี้มีปริมาณมากที่บริเวณใกล
พื้นผิวโลก และคาลดลงเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น นอกจากนี้บรรยากาศชั้นนี้ยังไดรับพลังงานจาก
รังสีที่แผจากพื้นผิวโลก ดังนั้นบรรยากาศบริเวณใกลพื้นผิวโลกจึงมีอุณหภูมิสูงสุด แลวคอยๆ
ลดลงตามความสู ง โดยอุ ณ หภู มิ ที่ ส ว นบนของโทรโปสเฟ ย ร หรื อ เรี ย กว า โทรโปพอส
(tropopause) จะมีคาประมาณ 217 เคลวิน ความแตกตางของอุณหภูมิที่พื้นผิวกับสวนบนของ
โทรโปสเฟยรทําใหเกิดการไหลเวียนของอากาศในแนวดิ่ง ซึ่งชวยพาความรอนจากพื้นผิวโลก
ขึ้นไปสูบรรยากาศชั้นนี้ดวย
ข) สตราโตสเฟ ยร (stratosphere) เปนบรรยากาศที่อยูถัด ขึ้นไปจากโทรโปสเฟย ร
จนถึงที่ระดับความสูงประมาณ 50 กิโลเมตรจากพื้นโลก อุณหภูมิของอากาศในบรรยากาศชั้น
นี้จ ะเพิ่ ม ตามความสู ง โดยมี ค า สู ง สุ ด ประมาณ 270 เคลวิ น ที่ ค วามสูง 50 กิ โ ลเมตร ทั้ ง นี้
เนื่ อ งจากโอโซนในบรรยากาศชั้ น นี้ ดู ด กลื น รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น รั ง สี

89
90

อัลตราไวโอเลตทําใหบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟยรมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น ฝุนละอองที่เกิดจากการ
ระเบิดของภูเขาไฟสามารถขึ้นมาถึงชั้นนี้ได
ค) เมโซสเฟยร (mesosphere) เปนบรรยากาศที่อยูสูงขึ้นไปจากสตราโตสเฟยรถึงที่
ระดับความสูงประมาณ 80-90 กิโลเมตรจากพื้นผิวโลก อุณหภูมิของอากาศจะลดลงเมื่อความ
สู ง เพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากอยู ห า งจากพื้ น ผิ ว โลกมาก ทํ า ให บ รรยากาศชั้ น นี้ ไ ด รั บ พลั ง งานจาก
พื้นผิวโลกนอย นอกจากนี้มวลของบรรยากาศชั้นเมโซสเฟยรเบาบางมากจึงดูดกลืนรังสีอาทิตย
ได น อ ยมาก ส ว นบนสุ ด ของบรรยากาศชั้ น เมโซสเฟ ย ร ที่ เ รี ย กว า เมโซพอส (mesopause)
มีอุณหภูมิประมาณ 180-190 เคลวิน
ง) เทอร โ มสเฟ ย ร (thermosphere) เป น บรรยากาศชั้ น บนสุ ด โดยอยู ถั ด จาก
เมโซสเฟยรขึ้นไป ไมสามารถบอกขอบเขตไดแนนอน โดยความหนาแนนของมวลสารของ
เทอรโมสเฟยรจะคอยๆ ลดลงจนเปนสวนหนึ่งของมวลสารที่กระจายอยูเล็กนอยในอวกาศ
อุณหภูมิของเทอรโมสเฟยรจะเพิ่มขึ้นเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น โดยที่ความสูง 200 กิโลเมตร จะมี
อุณหภูมิสูงถึง 1000-1100 เคลวิน ทั้งนี้เนื่องจากมีระยะทางเขาใกลดวงอาทิตย
โดยทั่ ว ไปจะเรี ย กบรรยากาศชั้ น โทรโปสเฟ ย ร ว า เป น บรรยากาศชั้ น ล า ง เรี ย ก
บรรยากาศชั้นสตาโตสเฟยรและเมโซสเฟยรวาเปนบรรยากาศชั้นกลาง และเรียกบรรยากาศชั้น
เทอรโมสเฟยรวาเปนบรรยากาศชั้นบน ในงานดานรังสีอาทิตยจะนิยมกําหนดสวนบนสุดของ
บรรยากาศ (top of atmosphere, TOA) วาอยูที่ความสูงประมาณ 100 กิโลเมตร (Saha, 2008)

3.2 บรรยากาศมาตรฐาน
เนื่องจากความสูงของบรรยากาศชั้นตางๆ และองคประกอบของบรรยากาศมีการ
เปลี่ยนแปลงตามละติ จู ด และเวลาในรอบป ดัง นั้น องคการบริห ารการบิน และอวกาศของ
ประเทศสหรัฐอเมริกาหรือนาซา (NASA, 1976) จึงไดกําหนดบรรยากาศมาตรฐาน เพื่อใช
อางอิงในงานออกแบบและกําหนดสมรรถนะของอากาศยานและอุปกรณวัดทางบรรยากาศ
เช น เครื่ อ งวั ด ความสู ง (altimeter) รวมถึ ง งานทางด า นบรรยากาศต า งๆ โดยบรรยากาศ
มาตรฐานดังกลาวมีคาความดันเทากับ 101.325 กิโลปาสคาล คาอุณหภูมิเทากับ 288 เคลวิน
หรื อ 15 องศาเซลเซี ย ส และค า ความหนาแน น เท า กั บ 1.225 กิ โ ลกรั ม ต อ ลู ก บาศก เ มตร
ที่ระดับน้ําทะเล สําหรับการแปรคาของอุณหภูมิและความดันบรรยากาศตามความสูงจนถึง
ระดับ 100 กิโลเมตร ตามบรรยากาศมาตรฐานดังกลาว แสดงไวในดังรูปที่ 3.1

90
91

เทอรโมสเฟยร
เมโซพอส

เมโซสเฟยร

ความสูง (กิโลเมตร)

ความดัน (มิลลิบาร)
สตราโตสพอส

สตราโตสเฟยร

โทรโปพอส
โทรโปสเฟยร

อุณหภูมิ (เคลวิน)
รูปที่ 3.1 การแปรคาของอุณหภูมแิ ละความดันตามความสูงของบรรยากาศมาตรฐาน (ดัดแปลง
จาก NASA, 1976)

ในกรณีของอากาศแหง องคประกอบของบรรยากาศมาตรฐานจะประกอบดวยสัดสวน
เปนเปอรเซ็นตตามปริมาตรของกาซตางๆ ไดแก ไนโตรเจน (N2) 78.084% ออกซิเจน (O2)
20.948% และอารกอน (Ar) 0.934% สวนที่เหลืออีกประมาณ 1% จะเปนกาซอื่นๆ สัดสวนนี้
จะคงที่ จ ากพื้ น ผิ ว โลกขึ้ น ไปจนถึ ง ระดั บ ความสู ง 90 กิ โ ลเมตร ที่ ค วามสู ง ระดั บ นี้ รั ง สี
อัลตราไวโอเลตจะทําใหโมเลกุลของกาซออกซิเจนสลายตัวเปนอะตอมของออกซิเจน ทําให
สัดสวนดังกลาวเปลี่ยนแปลง สําหรับกรณีที่พิจารณาไอน้ํา สัดสวนดังกลาวก็จะเปลี่ยนแปลง
ไปเนื่องจากปริมาณไอน้ํา ซึ่ งโดยทั่ว ไปจะขึ้น กับภูมิอากาศ โดยในเขตรอน (tropics) จะมี
สัดสวนประมาณ 2.5% โดยปริมาตร และในเขตละติจูดปานกลาง (middle latitude) หรือ 30 N
– 60 N และ 30 S – 60 S จะมีสัดสวนประมาณ 1.5% สําหรับที่ละติจูดสูง (high latitude)
หรือตั้งแตละติจูด 60 N หรือ 60 S จนถึงขั้วโลกจะมีไอน้ําประมาณ 0.5% (Frederick, 2008)

91
92

3.3 มวลอากาศ (air mass)


เมื่อรังสีอาทิตยเดินทางผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลกจะถูกองคประกอบตางๆ ของ
บรรยากาศดูดกลื นและกระเจิ ง ทําใหรัง สีอาทิต ยที่พุงตรงมาถึงพื้ น ผิวโลกหรือรัง สีตรง มี
ปริมาณลดลง การลดลงนี้นอกจากจะขึ้นกับสมบัติการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยของ
องคประกอบของบรรยากาศแลว ยังขึ้นกับมวลของอากาศที่รังสีอาทิตยเคลื่อนที่ผาน (รูปที่ 3.2)
ซึ่งสามารถหาไดจากสมการ

mact ,s   ds (3.1)
0

เมื่อ m act ,s คือ มวลอากาศในคอลัมนของบรรยากาศซึ่งมีพื้นที่ตัดขวาง 1 ตารางเมตรที่รังสี


อาทิตยเดินทางผาน เมื่อดวงอาทิตยอยู ณ ตําแหนงใดๆ (กิโลกรัมตอตารางเมตร)
 คือ ความหนาแนนของอากาศ (กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร)
s คือ ระยะทางตามแนวที่รังสีอาทิตยเดินทางผาน (เมตร)

รังสีอาทิตยเมื่อดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงใดๆ
รังสีอาทิตยเมื่อดวงอาทิตยอยูที่เซนิธ

Z
Z
mact,s S
mact,v

รูปที่ 3.2 คอลัมนของมวลอากาศที่รังสีอาทิตยเดินทางผาน เมื่อดวงอาทิตยอยูที่เซนิธ ( m act, v )


และเมื่อดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงใดๆ ( mact ,s )

92
93

ขณะที่ดวงอาทิตยอยูที่เซนิธหรือรังสีตรงตกกระทบตั้งฉากกับพื้นผิวโลก มวลอากาศที่
รังสีอาทิตยเคลื่อนที่ผานจะคํานวณไดจากสมการ


mact ,v   dz (3.2)
0

เมื่อ m act , v คือ มวลอากาศที่รังสีอาทิตยเดินทางผานในคอลัมนของอากาศที่มีพื้นที่ตัดขวาง


1 ตารางเมตรและดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงเซนิธ (กิโลกรัมตอตารางเมตร)
z คือ ระยะทางในแนวดิ่ง (เมตร)

เพื่อความสะดวกในการคํานวณ จะนิยมบอกมวลอากาศที่รังสีอาทิตยเคลื่อนที่ผาน
โดยเปรียบเทียบกับมวลอากาศขณะที่ดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงเซนิธในรูปของอัตราสวนดังนี้

 ds
mr  0

(3.3)
 dz
0

เราจะเรียก m r วามวลอากาศสัมพัทธ (relative air mass) หรือเรียกสั้นๆ วามวลอากาศ


สมการ (3.3) สามารถหาผลเฉลย (solution) ได ถาเรารูการแปรคาของ  ตามระยะทางซึ่ง
สามารถหาไดจากการปลอยบัลลูน หรือจรวดซึ่งติดอุปกรณวัดขึ้นไปในบรรยากาศ จากนั้นจะ
ใช วิ ธี เ ชิ ง ตั ว เลข (numerical method) หาค า m r ผลที่ ไ ด พ บว า m r ขึ้ น กั บ มุ ม เซนิ ธ ของ
ดวงอาทิตย ( z ) ซึ่งสามารถแทนไดดวยสมการ
1
mr  (3.4)
cos  z

สมการ (3.4) สามารถใช ใ นงานด า นพลั ง งานรั ง สี อ าทิ ต ย ทั่ ว ไปได อย า งไรก็ ต าม
คาสเทน (Kasten, 1966) ไดเสนอความสัมพันธระหวาง m r กับ z ที่มีความละเอียดถูกตอง
ยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถเขียนในรูปสมการเอมไพริคัล (empirical equation) ไดดังนี้

m r  [cos z  0.15(93.885  z ) 1.253 ]1 (3.5)

93
94

เมื่อ mr คือ มวลอากาศ (-)


z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

เนื่องจากมวลอากาศขึ้นกับความสูงของพื้นที่ โดยคามวลอากาศ mr ในสมการ (3.4)


และ (3.5) ใชไดกับที่ระดับน้ําทะเลซึ่งกําหนดใหมีความดันเทากับ 101.325 กิโลปาสคาล
ดังนั้นที่ความดันบรรยากาศอื่นๆ เราตองคํานวณแกคามวลอากาศโดยใชสมการ
p
ma  mr ( ) (3.6)
101.325

เมื่อ ma คื อ มวลอากาศที่ คํ า นวณแก ไ ขผลจากความดั น ที่ แ ตกต า งไปจากความดั น ที่


ระดับน้ําทะเล (-)
p คือ ความดันบรรยากาศ (กิโลปาสคาล)

คาความดันบรรยากาศ p ที่ระดับความสูง z จากระดับน้ําทะเลสามารถคํานวณ โดยใช


สูตร (Lunde, 1980)
p
 exp(0.0001184 z) (3.7)
p0

เมื่อ p0 คือ ความดันบรรยากาศที่ระดับน้ําทะเล (101.325 กิโลปาสคาล)


z คือ ความสูงจากระดับน้ําทะเล (เมตร)

3.4 การคํานวณรังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศดวยกฎของบูเกอร (Bouguer’s law)


เมื่อรังสีอาทิตยเดินทางผานบรรยากาศ รังสีดังกลาวจะถูกกระเจิงและดูดกลืนโดย
องคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ ซึ่งสามารถแสดงไดดังรูปที่ 3.3

94
95

I
on

สวนบนสุดของบรรยากาศ
กระเจิง (Top of atmosphere, TOA)

ดูดกลืน บรรยากาศ

I
n
พื้นผิวโลก
รูปที่ 3.3 การลดลงของรังสีอาทิตยที่เดินทางผานบรรยากาศ โดย I 0 n คือรังสีนอกบรรยากาศ
โลก I n คือรังสีตรงของดวงอาทิตยที่พื้นผิวโลก
กฎของบูเกอรจะบอกความสัมพันธของรังสีตรงของดวงอาทิตยที่พื้นผิวโลกกับรังสี
อาทิตยนอกบรรยากาศโลกกับตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศตามสมการ
I  I exp(   m )
n 0 n  a (3.8)
เมื่อ I
0 n คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (วัตต
ตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
n คือ รังสีตรงของดวงอาทิตยที่พื้นผิวโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี
(วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
 คือ ความลึกเชิงแสงของบรรยากาศ (-)
ma คือ มวลอากาศ (-)
ความลึกเชิงแสงเปนพารามิเตอรที่บอกความสามารถของตัวกลางในการลดทอนรังสีที่
เดินทางผานตัวกลางโดยกระบวนการดูดกลืนและการกระเจิง ตัวอยางเชน สมมติวารังสีอาทิตย
เดินทางผานบรรยากาศโลกที่มีเฉพาะฝุนละอองอยู โดยฝุนละอองมีความลึกเชิงแสงเทากับ 1
และดวงอาทิตยอยูตรงศีรษะ (ma = 1) จากสมการ (3.8) จะไดวา
I 1
I
n
 (3.9)
0 n e
= 0.368

95
96

จากผลการคํานวณจะเห็นวารังสีอาทิตยที่มาถึงพื้นผิวโลก ( I n ) จะมีคาประมาณ 37%


ของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบสวนบนบรรยากาศโลก ( I 0 n ) โดยรังสีอาทิตยประมาณ 63% ถูก
ทําใหลดลง โดยการดูดกลืนและการกระเจิงของฝุนละออง ดังนั้นความลึกเชิงแสงเทากับ 1 จึง
ถือวามีคามาก และสามารถใชเปนคาอางอิงของความลึกเชิงแสงคาอื่นๆ ได

3.5 การดูดกลืนรังสีอาทิตยที่ระดับความสูงตางๆ จากพื้นผิวโลก


ขณะที่รังสีอาทิตยเดินทางผานบรรยากาศชั้นตางๆ ของโลกมายังพื้นผิวโลก จะถูก
องคประกอบของบรรยากาศในชั้นตางๆ ดูดกลืน ทําใหรังสีอาทิตยเฉพาะบางความยาวคลื่น
เทานั้นที่มาถึงพื้นผิวโลก เราสามารถแบงการดูดกลืนไดในชวงความยาวคลื่นตางๆ ไดแก ที่
ความยาวคลื่นนอยกวา 0.1 ไมครอน 0.1-0.2 ไมครอน 0.2-0.3 ไมครอน และที่ความยาวคลื่น
มากกวา 0.3 ไมครอน
  0. 1 ไมครอน   0 .2  0 .3 ไมครอน
  0.1  0.2 ไมครอน   0.3 ไมครอน

เทอรโมสเฟยร

เมโซสเฟยร

สตราโตสเฟยร

โทรโปสเฟยร

รู ป ที่ 3.4 แผนภู มิ แ สดงการลดลงของรั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น ต า งๆ ขณะที่ ผ า น


บรรยากาศชั้นตางๆ (ดัดแปลงจาก Wallace and Hobbs, 1977)

96
97

รังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นนอยกวา 0.1 ไมครอน จะถูกดูดกลืนโดย N2, O2 และ O จน


หมดที่ความสูง 90-200 กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก หรือในบรรยากาศชั้นเทอรโมสเฟยร ทั้งนี้
เพราะรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นดังกลาวเปนรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งมีพลังงานโฟตอนสูง จน
สามารถทําใหเกิดปฏิกิริยาโฟโตไอออไนเซชัน (photoionization) กลาวคือรังสีอัลตราไวโอเลต
จะทําให N2, O2 และ O ซึ่งเปนองคประกอบสวนใหญของบรรยากาศชั้นเทอรโมสเฟยรแตกตัว
เปนไอออนบวกและอิเล็กตรอนอิสระ
สําหรับรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นในชวง 0.1-0.2 ไมครอน สามารถเดินทางผานลงมา
จนถึงที่ความสูง 50-110 กิโลเมตรซึ่งเปนบรรยากาศชั้นเมโซสเฟยร และถูกดูดกลืนหมดโดย
ปฏิ กิ ริ ย าโฟโตดิ ส โซซิ เ อชั น (photodissociation) ของออกซิ เ จน กล า วคื อ โฟตอนของรั ง สี
อาทิตยในชวงความยาวคลื่นนี้จะทําใหโมเลกุลของออกซิเจน (O2) แตกตัวเปนอะตอมของ
ออกซิเจน (O) 2 อะตอม และอะตอมที่เกิดขึ้นจะไปรวมตัวกับโมเลกุลของออกซิเจนเกิดเปน
โอโซน (O3)
กรณีของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น 0.2-0.3 ไมครอน จะผานลงมาถึงที่ความสูง
30-60 กิ โ ลเมตรซึ่ ง เป น บรรยากาศชั้ น สตราโตสเฟ ย ร และถู ก โอโซนในบรรยากาศที่
ชว งความสู ง นี้ ดูด กลื น เกื อ บทั้ ง หมด โดยมี เ พี ย งส ว นน อ ยซึ่ ง อยู ใ นช ว งความยาวคลื่ น รั ง สี
อัลตราไวโอเลตบี (0.28-032 ไมครอน) ที่ผานลงมาถึงพื้นผิวโลก สําหรับกรณีของรังสีอาทิตยที่
ความยาวคลื่นมากกวา 0.3 ไมครอน จะเดินทางผานลงมาถึงพื้นผิวโลก โดยบางสวนจะถูก
ดูดกลืนดวยไอน้ําและคารบอนไดออกไซด
ผลรวมของการดูดกลืนรั งสีอาทิ ตยทั้งหมดที่ ความยาวคลื่นตางๆ ที่ระดับความสู ง
11 กิโลเมตร และที่พื้นผิวโลกสามารถแสดงดังกราฟรูปที่ 3.5 (ก) และ (ข) ตามลําดับ

97
98

ความยาวคลื่น (ไมครอน)

(ก) ที่ระดับความสูง
11 กิโลเมตร
การดูดกลืน (เปอรเซ็นต)

(ข) ที่พื้นผิวโลก

รู ป ที่ 3.5 การดู ด กลื น รั ง สี อ าทิ ต ย โ ดยองค ป ระกอบต า งๆ ของบรรยากาศ กรณี ที่ ท อ งฟ า
ปราศจากเมฆและฝุนละออง (ก) ที่ระดับความสูง 11 กิโลเมตร และ (ข) ที่พื้นผิวโลก
(O2 คือออกซิเจน O3 คือโอโซน H2O คือ ไอน้ํา CO2 คือ กาซคารบอนไดออกไซด
CH4 คือ มีเทน และ N2O คือ ไนตรัสออกไซด (ดัดแปลงจาก Wallace and Hobbs
(1977))

3.6 การกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ
รังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลกจะถูกโมเลกุลของอากาศกระเจิงโดย
บางสวนจะเดินทางกลับขึ้นไปในอวกาศและบางสวนจะลงมาสูพื้นผิวโลกซึ่งอยูในรูปของรังสี
กระจาย ลอรดเรยลีห (Lord Rayleigh) ไดเสนอทฤษฎีสําหรับคํานวณการกระเจิงแสงของวัตถุ
ทรงกลมเล็กๆ ซึ่งสามารถนํามาใชไดกับกรณีของรังสีอาทิตยที่ถูกกระเจิงโดยโมเลกุลของกาซ
ตางๆ ในบรรยากาศโลกได เพื่อเปนเกียรติกับลอรดเรยลีห จึงเรียกการกระเจิงแสงโดยโมเลกุล
อากาศวาการกระเจิงแบบเรยลีห (Rayleigh scattering)
เนื่ อ งจากการกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข องโมเลกุ ล อากาศ ทํ า ให รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ม าถึ ง
พื้นผิวโลกลดลง ดังนั้นจึงนิยมบอกสมบัติของโมเลกุลอากาศซึ่งลดทอนรังสีอาทิตยจากการ
กระเจิงในรูปของความลึกเชิงแสง จากทฤษฎีของลอรดเรยลีห (Iqbal, 1983) ความลึกเชิงแสง

98
99

ของโมเลกุลอากาศที่เปนผลมาจากการกระเจิงรังสีอาทิตยจะมีความสัมพันธกับความยาวคลื่น
ของรังสีอาทิตยตามสมการ

R  0.008735 4.08 (3.10)

เมื่อ R คือ ความลึกเชิงแสงซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ (-)


 คือ ความยาวคลื่นของรังสีอาทิตย (ไมครอน)

การลดลงของรังสีอาทิตยจากการกระเจิงโดยโมเลกุลอากาศ นอกจากจะขึ้นกับความ
ลึกเชิงแสงแลวยังขึ้นกับมวลอากาศที่รังสีอาทิตยเดินทางผาน เราสามารถแสดงผลดังกลาวใน
รู ป ของสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารส ง ผ า นรั ง สี อ าทิ ต ย (transmittance) ได ดั ง สมการของเลคเนอร
(Leckner, 1978) ดังนี้

 R  exp( 0.0087354.08 m a ) (3.11)

โดยที่  R คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตย ซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยโดย


โมเลกุลอากาศ (-)
ma คือ มวลอากาศ (-)

ถาเขียนกราฟระหวางสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตย ซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสี
อาทิตยที่เกิดจากโมเลกุลอากาศกับความยาวคลื่นที่มวลอากาศตางๆ จะไดดังรูปที่ 3.6

99
100

1.0

0.9

0.8

0.7

0.6
( R  )

0.5

0.4
m =1
maa= 1

0.3 m =3
ma a= 3

ma= =
ma 5 5
0.2

0.1

0.0
0.3 0.5 0.7 0.9 1.1 1.3
(ไมครอน)

รูปที่ 3.6 การแปรคาของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตย


โดยโมเลกุลอากาศ ( R ) ที่ความยาวคลื่น (  ) และมวลอากาศ ( m a ) คาตางๆ

จากกราฟจะเห็นวาที่ความยาวคลื่นมากกวา 1 ไมครอน การกระเจิงรังสีอาทิตยโดย


โมเลกุลอากาศจะมีผลนอยมาก และการกระเจิงจะมีผลมากที่ความยาวคลื่นสั้นๆ จากกราฟนี้ยัง
แสดงใหเห็นวาที่ความยาวคลื่นสั้นซึ่งเปนแสงสีน้ําเงิน สัมประสิทธิ์การสงผานมีคาต่ํา แสดงวา
แสงสวนใหญที่ความยาวคลื่นนี้ถูกกระเจิงทําใหเราเห็นทองฟาเปนสีน้ําเงิน
สําหรับกรณีของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตย
ของโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่นกวาง (0.3-3.0 ไมครอน) ( R ) สามารถหาไดจาก
สมการเอมไพริคัล (Iqbal, 1983) ดังนี้

R  exp[0.0903m 0a.84 (1.0  m a  m1a.01 )] (3.12)

3.7 ผลกระทบของฝุนละอองตอรังสีอาทิตย
3.7.1 คําจํากัดความและธรรมชาติทั่วไป
ฝุนละอองหมายถึงอนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่แขวนลอยอยูในบรรยากาศ ทั้งนี้
รวมถึงควันจากการเผาไหมเชื้อเพลิงตางๆ ฝุนที่ฟุงกระจายจากพื้นดินหรือจากทะเลทราย

100
101

ละอองเกลือจากน้ําทะเล ละอองเกสรดอกไม และละอองของเหลวของสารเคมีตางๆ แตจะไม


รวมถึงเมฆและหมอก โดยทั่วไปฝุนละอองในบรรยากาศมีขนาดตั้งแต 0.1 – 1,000 ไมครอน
โดยมีรูปทรงและองคประกอบทางเคมีแตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นกับแหลงกําเนิดของฝุนละออง
(Iqbal, 1983) ตัวอยางของฝุนละอองที่เกิดจากการเผาไหมชีวมวลจะมีลักษณะดังรูปที่ 3.7

รูปที่ 3.7 ลักษณะของฝุนละอองที่เกิดจากการเผาไหมชวี มวล (ภาพไดรับความเอื้อเฟอ จาก


Dr. Brent Holben ศูนยการบินอวกาศกอดดารด องคการนาซา (NASA Goddard
Space Flight Center))

ฝุ น ละอองส ว นใหญ จ ะอยู ใ นบรรยากาศชั้ น โทรโปสเฟ ย ร ที่ ช ว งความสู ง ตั้ ง แต
พื้นผิวโลกจนถึงที่ระดับความสูง 2 กิโลเมตร และจะลอยไปตามกระแสลม โดยทั่วไปฝุน
ละอองในบรรยากาศชั้นนี้จะอยูในบรรยากาศประมาณ 1- 2 สัปดาห จากนั้นจะรวงหลนลงสู
พื้นผิวโลกดวยแรงโนมถวงหรือการชะลางของฝน เราสามารถพบฝุนละอองไดเล็กนอยใน
บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟยร โดยสวนใหญเ กิดจากเถาที่พ นจากภูเขาไฟ และสามารถฟุง
กระจายไปไดทั่วโลก ฝุนละอองนี้อาจอยูในบรรยากาศไดนานหลายป เนื่องจากในบรรยากาศ
ชั้นสตราโตสเฟยรไมมีฝนชวยชะลางและอยูในระดับสูง ซึ่งไดรับอิทธิพลจากแรงโนมถวงนอย
โดยทั่วไปเราสามารถแบงฝุนละอองในบรรยากาศไดเปน 2 ประเภท คือ ฝุนละอองที่
เกิดจากกิจกรรมของมนุษย และฝุนละอองธรรมชาติ ตัวอยางของฝุนละอองที่เกิดจากกิจกรรม
ของมนุษยไดแก ฝุนละอองจากการสันดาปของเชื้อเพลิงฟอสซิลตางๆ และการเผาชีวมวล เปนตน

101
102

สําหรับฝุนละอองธรรมชาติจะเกิดขึ้นตามกระบวนการตางๆ ในธรรมชาติ เชน ฝุนละอองจาก


ทะเลทราย ฝุนละอองจากพื้นดิน ละอองเกลือจากน้ําทะเล และละอองเกสรดอกไม เปนตน

3.7.2 การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในบรรยากาศ
โดยทั่วไปบรรยากาศจะมีฝุนละอองอยูเสมอ เมื่อรังสีอาทิตยเดินทางผานจะถูกฝุน
ละอองกระเจิงทําใหเกิดรังสีกระจาย และบางสวนจะถูกฝุนละอองดูดกลืน สัดสวนของการ
กระเจิงและการดูดกลืนจะขึ้นกับชนิดของฝุนละออง เชน ฝุนละอองที่เกิดจากการสันดาปของ
เชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งมีคารบอนดํา (black carbon) เปนองคประกอบจะดูดกลืนรังสีอาทิตยไดถึง
20% สวนฝุนละอองจากทะเลทรายจะดูดกลืนรังสีอาทิตยนอยกวา 5% (Kondratyev, 1999)
เนื่ อ งจากความสามารถในการลดทอนรั ง สี อ าทิ ต ย ข องฝุ น ละอองเกิ ด ได ทั้ ง จาก
กระบวนการดู ด กลื น และการกระเจิ ง การแยกสั ด ส ว นของรั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ล ดลงจากแต ล ะ
กระบวนการทําไดยาก ดังนั้น อังสตรอม (Angstrom, 1929) จึงเสนอใหบอกความสามารถใน
การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละออง โดยใชความลึกเชิงแสงของฝุนละอองซึ่งเปนฟงกชัน
ของสัม ประสิ ทธิ์ ค วามขุ น มั ว (turbidity coefficient) และตั ว เลขยกกํา ลัง ของความยาวคลื่ น
(wavelength exponent) ตามสมการ

aer ,     (3.13)

เมื่อ aer , คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละออง (-)


 คือ สัมประสิทธิ์ความขุนมัวของบรรยากาศของอังสตรอม (Angstrom’s
turbidity coefficient) (-)
 คือ ตัวเลขยกกําลังของอังสตรอม (Angstrom’s wavelength exponent) (-)
 คือ ความยาวคลื่นของรังสีอาทิตย (ไมครอน)

คา  จะมีความสัมพันธกับความหนาแนนของปริมาณฝุนละออง หรือจํานวนอนุภาค


ของฝุนละอองตอหนึ่งหนวยปริมาตรของอากาศ กลาวคือ ถา  มีคามาก ความหนาแนนของ
ฝุนละอองในบรรยากาศจะมีคามากดวย สําหรับ  จะมีความสัมพันธกับขนาดของฝุนละออง

102
103

แบบผกผัน กลาวคือ ถา  มีคานอย ฝุนละอองจะมีขนาดใหญ และ  มีคามาก ฝุนละอองจะ


มีขนาดเล็ก โดยฝุนละอองทั่วไปจะมีคา  = 1.3  0.5
ถาพิจารณาในดานของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตย เราสามารถเขียนสมการ
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละออง โดยอาศัยสมการของอังสตรอม (Angstrom,
1929) ไดดังนี้

 aer ,  exp(  m a ) (3.14)

เมื่อ  aer , คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของฝุนละออง (-)


ma คือ มวลอากาศ (-)

จากสมการ (3.14) ถานําคา  aer , มาเขียนกราฟกับ  (รูปที่ 3.8) จะเห็นวา คา  aer ,
เพิ่มขึ้นตามคา  และที่ความยาวคลื่นมาก ฝุนละอองจะมีผลตอรังสีอาทิตยนอย
1.0
0.9 = 0.2
0.8 = 1.3
0.7
0.6
aer,

0.5
0.4
0.3
ma=1
ma = 1
0.2 ma=3
ma = 3
0.1 ma=5
ma = 5
0.0
0.3 0.5 0.7 0.9 1.1 1.3
(ไมครอน)

รูปที่ 3.8 การแปรคาของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละออง ( aer , ) ตามความ


ยาวคลื่น ในกรณีที่บรรยากาศมีสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม (  ) เทากับ
0.2 และตัวเลขยกกําลังของอังสตรอม (  ) เทากับ 1.3 ที่มวลอากาศ ( m a ) คาตางๆ

103
104

สําหรับกรณีของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาว
คลื่นกวาง ( aer ) สามารถคํานวณได โดยใชสูตรของเมชเลอร (Mächler, 1983) ดังนี้

aer  (0.12445  0.0162)  (1.003  0.1252) exp[ m a (1.089  0.5123)],   0.5


(3.15)

3.7.3 การหาความลึ ก เชิ ง แสงและพารามิ เ ตอร ข องอั ง สตรอมของฝุ น ละอองจากข อ มู ล


สเปกตรัมรังสีตรง
การหาสมบั ติของฝุนละอองดังกลาวเราจะตองทํ าการวัดสเปกตรั มรั งสีตรงของ
ดวงอาทิตยในสภาพทองฟาปราศจากเมฆดวยเครื่องซันโฟโตมิเตอร (sunphotometer) หรือ
สเปกโตรเรดิ โ อมิ เ ตอร (spectroradiometer) โดยต อ งเลื อ กวั ด ที่ ค วามยาวคลื่ น ซึ่ ง ไม มี ก าร
ดูดกลืนรังสีอาทิตยจากไอน้ําและกาชตางๆ ซึ่งสามารถดูไดจากกราฟการดูดกลืนรังสีอาทิตย
ของบรรยากาศ (รูปที่ 3.9) โดยทั่วไปนิยมเลือกวัดที่ความยาวคลื่น 380, 415, 500, 673 และ 870
นาโนเมตร โดยทําการวัดที่มวลอากาศคาตางๆ จากนั้นจะนําขอมูลที่ไดมาทําการวิเคราะหดังนี้

104
105

1.0

380 การดูดกลืน
ของโอโซน
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของบรรยากาศ
0.8

615

การดูดกลืน
0.6

ของไอน้ํา
และกาซตางๆ
0.4 0.2

600 400
800 1000
ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)
รูปที่ 3.9 การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นตางๆ ของบรรยากาศ (ดัดแปลงจาก
McClatchey and Selby, 1972)

ในกรณีที่เราเลือกความยาวคลื่น 1 = 415 นาโนเมตร และ 2 = 870 นาโนเมตร


ซึ่งไมมีการดูดกลืนของโอโซน ไอน้ํา และกาซตางๆ จากสมการของบูเกอร เราสามารถเขียน
สมการซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางรังสีตรงที่วัดไดกับรังสีนอกบรรยากาศโลก และความลึก
เชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่นดังกลาวไดดังนี้

105
106

I  I
n1 0 n1 exp[(R  aer , 1 )m a ]
1
(3.16)

เมื่อ I
n1 คือ รังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับรังสีที่ผานบรรยากาศโลกมายังเครื่องวัดที่
ความยาวคลื่น 1 (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
0 n1 คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับรังสีที่ตกกระทบที่
ความยาวคลื่น 1 (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
ma คือ มวลอากาศ (-)
R1 คือ ความลึกเชิงแสงซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ (-)
aer , 1 คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละออง (-)

สมการ (3.16) สามารถเขียนในรูปของสมการล็อกกาลิทึม ไดดังนี้

ln In1  ln I0 n1  (R1  aer, 1 )ma (3.17)

จากสมการ (3.17) ถาเรามีคารังสีตรง In1 ที่ความยาวคลื่น 1 ซึ่งไดจากการวัดที่


มวลอากาศคาตางๆ ( ma ) เราสามารถนํา I n1 มาเขียนกราฟกับ ma ซึ่งจะไดกราฟเสนตรง
ตามตัวอยางในรูปที่ 3.10
8.0

7.0

6.0

5.0
ln In1

4.0

3.0

2.0

1.0

0.0
0 5 10 15 20 25 30 35 40

มวลอากาศ (ma)

รูปที่ 3.10 กราฟของความสัมพันธระหวาง ln In1 กับมวลอากาศ ( ma )

106
107

การเขียนกราฟแบบนี้จะเรียกวา การเขียนกราฟแบบแลงลีย (Langley plot) เพื่อเปน


เกียรติกับแลงลีย นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกาซึ่งเปนผูเสนอแนวคิดนี้
จากกราฟรูปที่ 3.10 และสมการ (3.17) จะไดคาสัมบูรณของความชันของกราฟ
ดังสมการ
s  R1  aer ,1 (3.18)

เมื่อ s คือ คาสัมบูรณของความชันของกราฟ

คาของ R สามารถคํานวณไดจากสมการ (3.10) และคา s อานไดจากกราฟใน


1

รูปที่ 3.10 ดังนั้นอาศัยสมการ (3.18) เราสามารถหาคา aer ,1 ได ทํานองเดียวกันถาเราสามารถ


หาคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 2 ซึ่งไมมีการดูดกลืนของไอน้ําและ
ก า ซต า งๆ เราจะได ค า aer , 2 จากนั้ น นํ า aer ,1 และ aer , 2 แทนในสมการของอั ง สตรอม
(สมการ (3.13) ) จะไดวา

aer , 1  1 (3.19)


และ aer , 2  2 (3.20)

จากสมการ (3.19) และ (3.20) เราสามารถหาสมการของ  และ  ไดดังนี้

ln (aer ,1 / aer , 2 )


 (3.21)
ln ( 2 /  1 )

 aer ,1
 
 1
 (3.22)
 aer , 2
 2
จากสมการ (3.22) เราสามารถเลือกคํานวณ  จาก aer ,1 หรือ aer , 2 ซึ่งจะไดผล
เหมือนกัน นอกจากนี้ในการคํานวณ  และ  โดยวิธีดังกลาวขางตน เราสามารถเลือกคํานวณ

107
108

ที่ความยาวคลื่นที่มีการดูดกลืนของโอโซน (500, 615 และ 673 นาโนเมตร) ไดโดยผลที่ไดจะมี


ความคลาดเคลื่อนเล็กนอย

ตัวอยาง 3.1 ถาเราทําการวัดสเปกตรัมรังสีตรงของดวงอาทิตยที่ความยาวคลื่น  1 = 0.380


ไมครอน และ  2 = 0.415 ไมครอน แลวนํามาหาคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองไดเทากับ
0.3538 และ 0.3228 ตามลําดับ จงคํานวณคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของบรรยากาศ (  ) และ
คาตัวเลขยกกําลัง (  ) ของอังสตรอม
วิธีทํา
ตัวเลขยกกําลังของอังสตรอมหาไดจากสมการ
ln (aer ,1 / aer , 2 )

ln ( 2 / 1 )

แทนคา 1 = 0.380 ไมครอน 2 = 0.415 ไมครอน aer,1 = 0.3538 และ aer , 2 = 0.3228 จะ
ได

ln (0.3538 / 0.3228)
  1.041
ln (0.415 / 0.380)
สัมประสิทธิ์ความขุนมัวของบรรยากาศ หาไดจากสมการ
aer1

1
0.3538
  0.1292
(0.380) 1.041

เนื่องจากความลึกเชิงแสงและสมบัติเชิงแสงอื่นๆ ของฝุนละอองเปนขอมูลที่สําคัญ
สําหรับงานวิจัยดานบรรยากาศและภูมิอากาศ ดังนั้นองคการนาซาของประเทศสหรัฐอเมริกา
จึ ง ได จั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยการวั ด สมบั ติ เ ชิ ง แสงของฝุ น ละอองอั ต โนมั ติ ที่ เ รี ย กว า AERONET
(Aerosol Robotic Network) โดยมีสถานีวัดกระจายอยูในประเทศตางๆ ทั่วโลกกวา 500 แหง
(Holben et al., 1998) สถานีแตละแหงจะติดตั้งเครื่องซันโฟโตมิเตอรซึ่งทําการวัดรังสีอาทิตยที่
ความยาวคลื่น 340, 380, 440, 500, 675, 870, 940 และ 1020 นาโนเมตร โดยขอมูลที่ใชในการ

108
109

หาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองเปนขอมูลที่ความยาวคลื่น 340, 380, 440, 500, 675, 870 และ


1020 นาโนเมตร สวนที่ความยาวคลื่น 940 นาโนเมตร จะใชหาปริมาณไอน้ํา และทําการ
เผยแพร ข อ มู ล ความลึ ก เชิ ง แสง และสมบั ติ เ ชิ ง แสงอื่ น ๆ ของฝุ น ละออง ทางเว็ บ ไซต
http://aeronet.gsfc.nasa.gov/ กรณีของประเทศไทย หนวยวิจัยพลังงานแสงอาทิตย ภาควิชา
ฟ สิ ก ส มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรได นํ า เครื่ อ งซั น โฟโตมิ เ ตอร ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง อยู ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา เขารวมในเครือขายดังกลาวดวย (รูปที่ 3.11) และผูสนใจ
สามารถนําขอมูลจากเว็บไซตดังกลาวมาใชได โดยปฏิบัติตามเงื่อนไขของ AERONET

เชียงใหม

นครปฐม อุบลราชธานี

สงขลา

รูปที่ 3.11 เครื่องซันโฟโตมิเตอรของมหาวิทยาลัยศิลปากรซึ่งเขารวมในเครือขาย AERONET

109
110

3.7.4 การหาคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอมจากความเขมรังสีตรงในชวงความยาว
คลื่นกวาง
ถึ ง แม เ ราสามารถหาค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ค วามขุ น มั ว ของอั ง สตรอมได จ ากข อ มู ล
สเปกตรัมรังสีตรงแตการวัดสเปกตรัมรังสีตรงตองใชอุปกรณที่มีราคาแพง จึงมีสถานีวัดอยู
คอนขางนอย ดังนั้นลูเชและคณะ (Louche et al., 1987) จึงไดเสนอวิธีการหาสัมประสิทธิ์ความ
ขุนมัวของอังสตรอมโดยใชขอมูลรังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวางซึ่งมีจํานวนสถานีวัด
มากกวา
วิธีของลูเชและคณะจะใชหลักการที่วา ขณะที่ทองฟาปราศจากเมฆ ความเขมรังสี
ตรงในช ว งความยาวคลื่ น กว า ง ( I n ) จะขึ้ น กั บ สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารส ง ผ า นรั ง สี อ าทิ ต ย ข อง
องคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ และรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกตามสมการ

I  I     
n on R w o aer g (3.23)

เมื่อ I
n คือความเขมรังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของ
รังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
on คือ ความเขมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี
(วัตตตอตารางเมตร)
R คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางซึ่งเกิดจากการ
กระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ (-)
w คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการดูดกลืนของไอน้ําในชวงความ
ยาวคลื่นกวาง (-)
o คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางของโอโซน (-)
 aer คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางของฝุนละออง (-)
g คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซ
ตางๆ ในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)

คาสั ม ประสิ ทธิ์การสง ผา นรั ง สีอาทิต ยเ นื่อ งจากการกระเจิ ง รั ง สี ดวงอาทิต ยข อง
โมเลกุลอากาศ (  R ) จะคํานวณโดยใชสมการ (3.12) สําหรับคาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสี

110
111

อาทิตยของโอโซน (  o ) สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ํา (  w ) และสัมประสิทธิ์


การสงผานรังสีอาทิตยของกาซตางๆ (  g ) สามารถคํานวณไดจากปริมาณโอโซน ปริมาณ
ไอน้ํา และมวลอากาศ ซึ่งจะอธิบายในหัวขอ 3.8-3.10
ดังนั้นถาเรารูคารังสีตรง In ซึ่งไดจากการวัด คารังสีนอกบรรยากาศโลก Ion ซึ่งได
จากการคํานวณตามรายละเอียดในบทที่ 4 คาปริมาณไอน้ํา (w) คาปริมาณโอโซน (  ) และคา
มวลอากาศ ( m a ) เราสามารถใชสมการ (3.23) คํานวณคาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตย
ของฝุนละออง (  aer ) ได จากนั้นจะแทนคา  aer ในสมการของเมชเลอร (สมการ (3.15)) และ
แทนคา   1.3 ซึ่งเปนของฝุนละอองทั่วไป เราจะไดคา  ตามตองการ จันทรฉายและคณะ
(Janjai et al., 2003) ไดใชวิธีของลูเชและคณะคํานวณคา  และเปรียบเทียบกับคาที่ไดจากการ
ใชขอมูลสเปกตรัมที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม ผลที่ได
พบว า ค า  ที่ ไ ด จ ากข อ มู ล รั ง สี ต รงมี ค วามสอดคล อ งกั บ ค า จากการคํ า นวณโดยใช ข อ มู ล
สเปกตรัม อยางไรก็ตามคา  ที่ไดจากรังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวางตามวิธีดังกลาวจะมี
ความละเอียดถูกตองนอยกวาการคํานวณโดยใชขอมูลสเปกตรัมรังสีตรง

3.7.5 การหาคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอมจากขอมูลทัศนวิสัย
โดยทั่วไปฝุนละอองจะทําใหบรรยากาศขุนมัวซึ่งจะมีผลตอคาทัศนวิสัย กลาวคือ ถา
บรรยากาศขุนมัวมากทัศนวิสัยจะมีคาต่ํา และในทางกลับกันถาบรรยากาศบริสุทธิ์ซึ่งมีฝุน
ละอองนอยทัศนวิสัยจะมีคามาก หรือสามารถมองเห็นวัตถุที่อยูไกลๆ ได ดังนั้นนักวิจัยตางๆ
จึงไดเสนอแบบจําลองซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม
กับคาทัศนวิสัย (McClatchey and Selby, 1972) สําหรับกรณีนี้ประเทศไทย จันทรฉายและคณะ
(Janjai et al., 2003) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอมกับ
ทัศนวิสัย และพบวาปริมาณทั้งสองมีความสัมพันธกันตามสมการ

  0.589  0.068VIS  0.0019VIS2 , เมื่อ VIS < 14 กิโลเมตร (3.24)

เมื่อ  คือ สัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม (-)


VIS คือ ทัศนวิสัย (กิโลเมตร)

111
112

3.7.6 ขอมูลความลึกเชิงแสงของฝุนละอองจากดาวเทียม
ตั้งแต ค.ศ. 2001 เปนตนมาองคการนาซาไดเปดใหบริการขอมูลความลึกเชิงแสง
และสมบัติอื่นๆ ของฝุนละอองทางอินเตอรเน็ต (http://disc.sci.gsfc.nasa.gov/giovanni)
ข อ มู ล ดั ง กล า วได จ ากดาวเที ย มเทอร ร า (Terra) และอาควา (Aqua) โดยดาวเที ย มดั ง กล า ว
ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งวั ด สเปกตรั ม รั ง สี อ าทิ ต ย กํ า ลั ง แยกปานกลาง (Moderate Resolution Imaging
Spectroradiometer, MODIS) ซึ่งทําการวัดสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่สะทอนจากพื้นโลก แลวนํา
ขอมูลสเปกตรัมที่ไดไปคํานวณหาความลึกเชิงแสงของฝุนละออง ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ
และสมบั ติ อื่ น ๆ ของบรรยากาศ กรณี ข องข อ มู ล ความลึ ก เชิ ง แสงของฝุ น ละอองที่ ไ ด จ าก
ดาวเทียมดังกลาวจะครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของโลก โดยมีความละเอียดเชิงพื้นที่ประมาณ
1x1 ตารางกิโลเมตร อยางไรก็ตาม จันทราชและคณะ (Jantarach et al., 2012) ไดทําการเปรียบ
เที ย บข อมูลความลึก เชิง แสงที่ ไดจาก MODIS กับขอมูลที่ไ ดจ ากซันโฟโตมิเ ตอรที่จัง หวัด
เชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา พบวา คาที่ไดจากดาวเทียมแตกตางจากคาที่ได
จากการวั ด 33.8% ถึ ง 53.7% ซึ่ ง ก็ แ สดงว า ค า ที่ ไ ด จ ากดาวเที ย มยั ง มี ค วามคลาดเคลื่ อ น
คอนขางมาก
เนื่องจากความลึกเชิงแสงจาก MODIS จะมีวันละ 1-2 ครั้งเทานั้น ดังนั้นจันทรฉาย
และคณะ (Janjai et al., 2013a) ไดพัฒนากระบวนการสํ าหรับคํานวณความลึ กเชิง แสงจาก
ขอมูลภาพถายดาวเทียม MTSAT-1R ซึ่งจะไดความลึกเชิงแสงรายชั่วโมงโดยตัวอยางผลการ
คํานวณคาความลึกเชิงแสงที่เวลา 12:30 นาฬิกาของประเทศไทยแสดงไวในรูปที่ 3.12
จากรูปที่ 3.12 จะเห็นวาความลึกเชิงแสงในภาคเหนือในชวงเดือนกุมภาพันธถึง
เมษายนจะมีคาสูงกวาภาคอื่นๆ ทั้งนี้เพราะมีฝุนละอองจากการเผาปา และวัสดุเหลือใชทาง
การเกษตรในบริเวณดังกลาวและในประเทศใกลเคียง

112
113

มกราคม
JANUARY กุมภาพันธ
FEBRUARY มีนาคม
MARCH เมษายน
APRIL

พฤษภาคม
MAY มิJUNE
ถุนายน กรกฎาคม
JULY สิงหาคม
AUGUST

กันยายน
SEPTEMBER ตุลาคม
OCTOBER พฤศจิกายน
NOVEMBER ธันวาคม
DECEMBER

รูปที่ 3.12 การกระจายตามพื้นที่ของความลึกเชิงแสงของฝุนละอองในเดือนตางๆ ในประเทศไทย


ที่เวลา 12:30 นาฬิกา (Janjai et al., 2013a)

113
114

3.7.7 การแปรคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองและสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม
ตามเวลาและสถานที่
ปริมาณและชนิดของฝุนละอองในบรรยากาศในบริเวณหนึ่งจะขึ้นกับแหลงที่มาของ
ฝุนละออง ซึ่งอาจอยูในพื้นที่นั้น หรือถูกลมพัดพามาจากบริเวณอื่น ทําใหคาความลึกเชิงแสง
ของฝุนละอองมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาดวย สําหรับกรณีประเทศไทย จันทรฉายและคณะ
(Janjai et al., 2012) ไดศึกษาการเปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบปของความลึกเชิงแสงที่ภูมิภาค
ตางๆ ของประเทศไทย ผลที่ไดแสดงดังรูปที่ 3.13

114
115

เชียงใหม

อุบลราชธานี

นครปฐม

สงขลา

รูปที่ 3.13 การแปรคาตามเวลาในรอบปของความลึกเชิงแสงของฝุนละออง (AOD) ที่ความยาว


คลื่ น 500 นาโนเมตร ที่ส ถานี วัด รัง สีอาทิ ต ย ข องมหาวิทยาลัย ศิ ลปากรที่ตั้ งอยู ที่
จังหวัดเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2012)

115
116

จากกราฟจะเห็ น ว า ความลึ ก เชิ ง แสงของฝุ น ละออง 3 สถานี ได แ ก เชี ย งใหม


อุบลราชธานี และนครปฐม มีลักษณะการแปรคาคลายกัน กลาวคือ คาความลึกเชิงแสงจะคอยๆ
เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมจนถึงคาสูงสุดในเดือนเมษายนแลวคอยลดลงจนถึงเดือนธันวาคม
ที่เปนเชนนี้เพราะในชวงเดือนมกราคมถึงเมษายนเปนชวงฤดูแลง มีฝุนละอองจากพื้นดินที่พัด
พาโดยลมมาก นอกจากนี้ยังมีฝุนละอองที่เกิดจากการเผาชีวมวลตางๆ ดวย หลังจากนั้นจะเปน
ฤดูฝน โดยฝนจะชวยชะลางฝุนละอองจากบรรยากาศ ทําใหความลึกเชิงแสงของฝุนละออง
ลดลง สําหรับกรณีของสงขลา คาความลึกเชิงแสงมีการเปลี่ยนแปลงเล็กนอยตลอดทั้งป ทั้งนี้
เพราะฝุ น ละอองส ว นใหญ เ ป น ละอองเกลื อ จากทะเลซึ่ ง มี ค า คงที่ ต ลอดทั้ ง ป นอกจากนี้
จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2009) ยังไดทําการศึกษาการแปรคาของความลึกเชิงแสงของ
ฝุนละอองที่กรุงเทพฯ และบริเวณชานเมือง ผลที่ไดพบวาการแปรคาของความลึกเชิงแสงใน
บริเวณดังกลาวมีคาสูงสุดในเดือนเมษายนและมีคาต่ําสุดในเดือนกรกฎาคม
ในดานของสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม จะมีความเปลี่ยนแปลงไปตาม
สถานที่และมีการแปรตามเวลาในรอบปคลายกับความลึกเชิงแสงของฝุนละออง ในกรณีของ
ประเทศไทย จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2003) ไดทําการหาคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัว
ของอังสตรอมที่สถานีอุตุนิยมวิทยา 53 แหง โดยสวนใหญคํานวณจากคาทัศนวิสัย ผลที่ได
แสดงไวในตารางที่ 3.1

116
117

ตารางที่ 3.1 สัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอมในประเทศไทย (Janjai et al., 2003)


ละติจูด ลองจิจูด สัมประสิทธิค์ วามขุนมัวของอังสตรอม
สถานี
(องศา) (องศา) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย
1 เชียงราย 19.88 99.83 0.158 0.183 0.332 0.182 0.036 0.014 0.033 0.061 0.082 0.089 0.071 0.108 0.112
2 เชียงใหม 18.78 98.98 0.135 0.167 0.241 0.205 0.164 0.100 0.070 0.106 0.130 0.150 0.154 0.153 0.147
3 แมฮอ งสอน 19.30 97.83 0.164 0.171 0.314 0.207 0.059 0.049 0.074 0.080 0.093 0.115 0.126 0.151 0.134
4 แมสะเรียง 18.17 97.93 0.342 0.355 0.424 0.333 0.187 0.161 0.195 0.203 0.252 0.284 0.300 0.357 0.283
5 ลําปาง 18.28 99.52 0.205 0.202 0.184 0.111 0.068 0.050 0.059 0.070 0.111 0.161 0.155 0.175 0.129
6 นาน 18.77 100.77 0.271 0.284 0.329 0.220 0.076 0.037 0.056 0.086 0.110 0.144 0.158 0.185 0.163
7 แพร 18.17 100.17 0.245 0.264 0.281 0.190 0.112 0.074 0.083 0.100 0.133 0.177 0.193 0.244 0.173
8 อุตรดิตถ 17.62 100.10 0.293 0.328 0.321 0.213 0.077 0.019 0.057 0.065 0.095 0.124 0.123 0.160 0.156
9 ตาก 16.88 99.15 0.318 0.292 0.256 0.220 0.112 0.067 0.082 0.095 0.107 0.178 0.227 0.269 0.185
10 พิษณุโลก 16.78 100.27 0.237 0.233 0.216 0.171 0.120 0.084 0.094 0.101 0.110 0.127 0.168 0.196 0.155
11 แมสอด 16.67 98.55 0.251 0.246 0.260 0.182 0.103 0.081 0.104 0.111 0.123 0.158 0.165 0.214 0.166
12 เพชรบูรณ 16.43 101.15 0.310 0.318 0.320 0.225 0.134 0.099 0.109 0.111 0.125 0.132 0.182 0.205 0.189
13 เขื่อนภูมพิ ล 17.25 99.02 0.211 0.210 0.188 0.132 0.068 0.049 0.054 0.062 0.078 0.116 0.145 0.174 0.124
14 หนองคาย 17.87 102.72 0.188 0.175 0.193 0.091 0.058 0.051 0.065 0.066 0.076 0.086 0.114 0.160 0.110
15 เลย 17.45 101.73 0.277 0.310 0.353 0.242 0.105 0.049 0.052 0.075 0.126 0.155 0.174 0.225 0.179
16 อุบลราชธานี 15.25 104.87 0.108 0.155 0.223 0.200 0.090 0.053 0.070 0.076 0.090 0.100 0.096 0.094 0.113
17 อุดรธานี 17.38 102.80 0.162 0.168 0.182 0.104 0.055 0.038 0.035 0.044 0.080 0.087 0.106 0.143 0.100
18 นครพนม 17.42 104.78 0.103 0.138 0.173 0.104 0.071 0.064 0.083 0.087 0.106 0.088 0.093 0.122 0.103
19 สกลนคร 17.15 104.13 0.153 0.181 0.183 0.118 0.073 0.055 0.051 0.061 0.095 0.111 0.133 0.168 0.115
20 มุกดาหาร 16.53 104.72 9.175 0.175 0.185 0.128 0.082 0.072 0.076 0.092 0.114 0.125 0.138 0.168 0.128
21 ขอนแกน 16.43 102.83 0.211 0.211 0.199 0.156 0.107 0.081 0.082 0.079 0.103 0.155 0.136 0.175 0.138
22 รอยเอ็ด 16.05 103.68 0.163 0.170 0.161 0.124 0.085 0.076 0.084 0.081 0.093 0.102 0.117 0.137 0.116
23 นครราชสีมา 14.97 102.08 0.227 0.219 0.213 0.183 0.157 0.136 0.146 0.139 0.157 0.166 0.173 0.193 0.176
24 สุรินทร 14.88 103.50 0.222 0.240 0.237 0.182 0.128 0.098 0.107 0.109 0.138 0.169 0.225 0.245 0.175
25 ชัยภูมิ 15.80 102.03 0.242 0.239 0.243 0.192 0.123 0.091 0.097 0.098 0.098 0.113 0.156 0.202 0.158
26 กรุงเทพฯ 13.73 100.57 0.129 0.235 0.245 0.270 0.176 0.110 0.095 0.060 0.078 0.090 0.087 0.110 0.139
27 นครปฐม 13.81 100.40 0.144 0.082 0.102 0.117 0.071 0.043 0.064 0.069 0.128 0.147 0.131 0.096 0.099
28 นครสวรรค 15.80 100.17 0.361 0.319 0.314 0.201 0.104 0.059 0.072 0.076 0.120 0.164 0.211 0.256 0.188
29 ลพบุรี 14.80 100.62 0.190 0.196 0.204 0.147 0.097 0.081 0.084 0.083 0.092 0.094 0.097 0.104 0.122
30 สุพรรณบุรี 14.47 100.13 0.245 0.219 0.212 0.149 0.104 0.080 0.086 0.086 0.106 0.117 0.140 0.168 0.143
31 กาญจนบุรี 14.02 99.53 0.229 0.206 0.187 0.146 0.113 0.080 0.094 0.095 0.114 0.154 0.184 0.189 0.149
32 ดอนเมือง 13.92 100.60 0.232 0.205 0.176 0.155 0.138 0.118 0.125 0.136 0.157 0.171 0.174 0.193 0.165
33 ปราจีนบุรี 14.05 101.37 0.174 0.165 0.163 0.157 0.149 0.139 0.146 0.151 0.150 0.138 0.155 0.160 0.154
34 อรัญประเทศ 13.70 102.58 0.165 0.156 0.156 0.128 0.119 0.113 0.118 0.122 0.129 0.127 0.135 0.144 0.134
35 ชลบุรี 13.37 100.98 0.218 0.179 0.167 0.110 0.067 0.041 0.050 0.063 0.104 0.143 0.147 0.161 0.121
36 เกาะสีชัง 13.17 100.80 0.259 0.225 0.206 0.178 0.146 0.107 0.103 0.100 0.134 0.183 0.193 0.190 0.169
37 สัตหีบ 12.68 101.02 0.209 0.175 0.135 0.092 0.061 0.042 0.052 0.058 0.097 0.152 0.172 0.203 0.121
38 จันทบุรี 12.60 102.12 0.208 0.219 0.195 0.191 0.183 0.183 0.190 0.190 0.198 0.192 0.171 0.180 0.192
39 คลองใหญ 11.78 102.88 0.114 0.118 0.112 0.105 0.108 0.122 0.142 0.134 0.126 0.107 0.099 0.095 0.115
40 หัวหิน 12.58 99.95 0.200 0.162 0.120 0.087 0.064 0.057 0.068 0.067 0.084 0.149 0.170 0.200 0.119
41 ประจวบคีรขี ันธ 11.80 99.80 0.221 0.186 0.151 0.106 0.072 0.061 0.080 0.074 0.082 0.140 0.184 0.224 0.132
42 ชุมพร 10.48 99.18 0.184 0.172 0.146 0.122 0.091 0.084 0.103 0.110 0.109 0.129 0.141 0.170 0.130
43 สุราษฎรธานี 9.12 99.35 0.185 0.184 0.189 0.187 0.106 0.098 0.107 0.102 0.111 0.143 0.168 0.220 0.150
44 เกาะสมุย 9.47 100.05 0.245 0.234 0.222 0.195 0.131 0.115 0.137 0.111 0.123 0.158 0.228 0.257 0.180
45 นครศรีธรรมราช 8.47 99.97 0.179 0.180 0.174 0.156 0.124 0.124 0.146 0.137 0.152 0.153 0.182 0.201 0.159
46 สนามบินหาดใหญ 6.92 100.43 0.107 0.104 0.110 0.109 0.089 0.098 0.132 0.111 0.130 0.134 0.133 0.156 0.118
47 สงขลา 7.20 100.60 0.077 0.076 0.139 0.096 0.072 0.055 0.081 0.073 0.066 0.081 0.072 0.135 0.085
48 ปตตานี 6.78 101.17 0.182 0.174 0.181 0.188 0.156 0.154 0.196 0.176 0.189 0.174 0.204 0.264 0.187
49 นราธิวาส 6.42 101.82 0.115 0.118 0.111 0.132 0.130 0.127 0.149 0.142 0.158 0.126 0.143 0.160 0.134
50 ระนอง 9.98 98.62 0.098 0.092 0.090 0.101 0.095 0.104 0.122 0.124 0.138 0.118 0.118 0.116 0.110
51 ภูเก็ต 7.88 98.40 0.116 0.117 0.130 0.114 0.107 0.106 0.114 0.113 0.127 0.118 0.112 0.127 0.117
52 สนามบินภูเก็ต 8.12 98.32 0.100 0.101 0.105 0.105 0.106 0.107 0.111 0.114 0.123 0.119 0.110 0.109 0.109
53 สนามบินตรัง 7.52 99.62 0.176 0.182 0.202 0.193 0.181 0.189 0.198 0.185 0.217 0.199 0.187 0.197 0.192

117
118

3.7.8 สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง (single scattering albedo, SSA)


ฝุนละอองสามารถทําใหรังสีอาทิตยลดลงโดยการดูดกลืนและการกระเจิง เมื่อรังสี
อาทิตยตกกระทบอนุภาคของฝุนละอองจะถูกดูดกลืนและกระเจิงไปในทิศตางๆ สวนที่ถูก
กระเจิงจะไปตกกระทบอนุภาคของฝุนละอองอื่นและถูกกระเจิงไปเรื่อยๆ โดยอาจกลับมาตก
กระทบกับอนุภาคของฝุนละอองที่กระเจิงครั้งแรกได เราจะเรียกอัตราสวนของรังสีอาทิตยที่
ถูกกระเจิงครั้งแรกตอรังสีอาทิตยที่ลดลงทั้งหมดวาสัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรก (SSA)
สัมประสิทธิ์นี้จะขึ้นกับชนิดของฝุนละออง เชน ฝุนละอองที่เกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงใน
เครื่องยนตจะมีคา SSA ต่ํา กลาวคือฝุนละอองดังกลาวจะดูดกลืนรังสีอาทิตยไดมาก ในทาง
กลับกัน ฝุนละอองที่เปนละอองเกลือจากทะเล หรือฝุนจากทะเลทรายจะมีคา SSA สูง ทําให
สามารถกระเจิงรังสีอาทิตยไดมาก และดูดกลืนรังสีอาทิตยนอย คา SSA สามารถหาไดจากการ
วิเ คราะหสเปกตรั มรั ง สี ก ระจายจากดวงอาทิ ต ย โดยอาศั ย ทฤษฎี ก ารถ า ยเทรั ง สี (radiative
transfer theory) (Dubovik et al., 2000) ตั ว อย า งของค า SSA ในเดื อ นต า งๆ ที่ ส ถานี ส งขลา
แสดงไวในรูปที่ 3.14

1.2
Songkhla : 440 nm

1.1
Single Scattering Albedo

1.0
SSA

0.9

0.8

0.7
ม.ค.
JAN ก.พ.
FEB มี.ค.
MAR เม.ย.
APR พ.ค.
MAY มิ.ย.
JUN ก.ค.
JUL ส.ค.
AUG ก.ย.
SEP ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
OCT NOV DEC

เดื อน
Month

รูปที่ 3.14 การแปรคาตามเวลาในรอบปของสัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง


(SSA) ที่สถานีสงขลา (เสริม จันทรฉาย และคณะ, 2553)

118
119

3.8 ไอน้ําและผลกระทบตอรังสีอาทิตย
3.8.1 คําจํากัดความและธรรมชาติทั่วไป
โดยทั่วไปน้ําที่อยูในบรรยากาศมีไดทั้ง 3 สถานะ ไดแก ของแข็ง ของเหลว และกาซ
โดยไอน้ําในบรรยากาศจะหมายถึงน้ําที่อยูในสถานะของกาซซึ่งแทรกตัวอยูในชองวางระหวาง
โมเลกุลของกาซอื่นๆ ในบรรยากาศ ไอน้ําสวนใหญจะอยูในบรรยากาศตั้งแตพื้นผิวโลกจนถึง
ที่ระดับความสูงประมาณ 2 กิโลเมตร ในขณะที่อยูในบรรยากาศ ไอน้ําสามารถเปลี่ยนสถานะ
ไปเปนของเหลวหรือของแข็งได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาวะของบรรยากาศที่สําคัญไดแก อุณหภูมิ
ของบรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงสถานะดังกลาวจะมีการดูดกลืนหรือคายความรอน ซึ่งมีผลตอ
สมดุลของพลังงานในบรรยากาศ
ไอน้ํ า เกิ ด จากการระเหยของน้ํ า ซึ่ ง ส ว นใหญ ร ะเหยจากทะเลและมหาสมุ ท ร
นอกจากนี้ ยั ง เกิ ด จากการระเหยของน้ํ า ผิ ว ดิ น และการคายน้ํ า ของพื ช ปริ ม าณไอน้ํ า ใน
บรรยากาศจะขึ้นกับสภาพภูมิอากาศ โดยในเขตศูนยสูตรจะมีไอน้ําสูงกวาบริเวณเขตละติจูด
ปานกลางและเขตละติจูดสูง

3.8.2 การบอกปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ
วิธีบอกปริมาณไอน้ําในงานดานรังสีอาทิตย นิยมบอกในรูปของพริซิพิเทเบิลวอเตอร
(precipitable water) ซึ่ ง เป น ความสู ง ของน้ํ า ในคอลั ม น ข องอากาศ ถ า สมมติ ว า ทํ า ให ไ อน้ํ า
ทั้งหมดในคอลัมนของอากาศที่ตั้งฉากกับพื้นผิวโลกซึ่งมีพื้นที่ฐาน 1 หนวยควบแนนกลายเปน
น้ําที่พื้นผิวโลก โดยมีหนวยเปนเซนติเมตร (รูปที่ 3.15)
บรรยากาศ
พริซิพิเทเบิลวอเตอร

พื้นผิวโลก
w เซนติเมตร

รูปที่ 3.15 การบอกปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ

119
120

3.8.3 การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา
เมื่อรังสีอาทิตยเดินทางผานบรรยากาศจะถูกไอน้ําดูดกลืนและกระเจิง ทําใหรังสี
อาทิตยที่มาถึงพื้นโลกมีปริมาณลดลงโดยการลดลงของรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการกระเจิงของ
โมเลกุ ลไอน้ํา จะถื อ ว า นอ ยมากเมื่ อ เที ย บการดูด กลืน ดัง นั้ น การคํ า นวณรั ง สีอ าทิ ต ย ที่ผา น
บรรยากาศโดยทั่วไปจะพิจารณาเฉพาะผลจากการดูดกลืนเทานั้น
ไอน้ํ า จะดู ด กลื น รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ค วามยาวคลื่ น ต า งๆ เป น แถบความยาวคลื่ น
(wavelength band) โดยสวนใหญจะอยูในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด ปริมาณของรังสี
อาทิ ต ย ที่ ถู ก ดู ด กลื น จะขึ้ น กั บ ปริ ม าณไอน้ํ า ในบรรยากาศและมวลอากาศที่ รั ง สี อ าทิ ต ย
เดินทางผาน ผลของการดูดกลืนนี้สามารถแสดงไดในรูปของสัมประสิทธิ์การสงผานสเปกตรัม
รังสีอาทิตยของไอน้ํา (spectral transmittance) ซึ่งเปนอัตราสวนของสเปกตรัมรังสีอาทิตยนอก
บรรยากาศโลกต อสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก ตัว อยางของสัมประสิทธิ์การสงผาน
ที่กรณีของบรรยากาศซึ่งมีไอน้ําคิดเปนพริซิพิเทเบิลวอเตอรเทากับ 2 เซนติเมตร แสดงไวในรูป
ที่ 3.16 จากรูปจะเห็นไดชดั เจนวา ไอน้ํามีบทบาทสําคัญตอการดูดกลืนรังสีอาทิตยในชวงความยาว
คลื่นรังสีอินฟราเรด
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ํา w)

ความยาวคลื่น (ไมครอน)
รูปที่ 3.16 สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ํา ( w ) กรณีมวลอากาศเทากับ 1 และ
บรรยากาศมีไอน้ํา 2 เซนติเมตร (ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)

120
121

ในการคํานวณสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกจําเปนตองรูคาสัมประสิทธิ์การ
สงผานรังสีอาทิตยที่แตละความยาวคลื่น สัมประสิทธิ์ดังกลาวจะขึ้นกับปริมาณไอน้ํา และ
สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตย (extinction coefficient) ของไอน้ํา ซึ่งสามารถคํานวณได
จากสมการของเลคเนอร (Leckner, 1978) ดังนี้

 w  exp[ 0.2385k w wm r /(1  20.07 k w wm r )0.45 ] (3.25)

เมื่อ w คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา (-)


k w คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของไอน้ํา (แสดงในภาคผนวกที่ 3)
(เซนติเมตร-1)
mr คือ มวลอากาศ (-)

กรณีของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นกวาง
สามารถหาไดจากสูตรของลาซิสและแฮนเซน (Lacis and Hansen, 1974) ดังนี้
2.9U1
w  1  (3.26)
(1  141.5U1 )0.635  5.92U1
เมื่อ U1  wm r (3.27)

3.8.4 วิธีหาปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ
3.8.4.1 การหาปริมาณไอน้ําจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบน
โดยทั่วไปที่สถานีอุตุนิยมวิทยาหลักของประเทศตางๆ จะมีการตรวจอากาศชั้นบน
โดยการปลอยบัลลูนตรวจอากาศ (radiosonde) เปนประจําทุกวัน (รูปที่ 3.17) บัลลูนดังกลาวจะ
ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ วั ด อุ ณ หภู มิ ความชื้ น สั ม พั ท ธ และความดั น บรรยากาศ เมื่ อ บั ล ลู น ลอยขึ้ น
อุปกรณ วั ด จะส ง ข อมูลที่ ไ ดท างวิทยุลงมายั ง เครื่องรับที่พื้น ดิ น ทํ า ใหเ ราทราบค าอุณ หภู มิ
ความชื้นสัมพัทธ และความดันบรรยากาศที่ระดับความสูงตางๆ ขอมูลที่ไดนี้สามารถนํามา
คํานวณหาปริมาณไอน้ําในบรรยากาศได

121
122

รูปที่ 3.17 การปลอยบัลลูนตรวจอากาศที่ศนู ยอุตุนยิ มวิทยาภาคใตฝงตะวันตก จังหวัดภูเก็ต

ในการคํานวณ เราจะเริ่มจากการหาปริมาณไอน้ําในคอลัมนของบรรยากาศจาก
สมการ (Pierrehumbert, 1972)
10M
w  dp (3.28)
g p0 

เมื่อ w คือ ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศในรูปของพริซิพิเทเบิลวอเตอร (เซนติเมตร)


M คือ อัตราสวนผสมของไอน้ํากับอากาศแหง (mixing ratio) (-)
g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก (980 เซนติเมตรตอวินาที2)
p คือ ความดันบรรยากาศ (มิลลิบาร)
 คือความหนาแนนของน้ํา (กรัม เซนติเมตร-2)

เนื่องจากสมการ (3.28) เปนสมการอินทิกรัล ไมสามารถนํามาใชไดกับขอมูลตรวจ


อากาศชั้นบนไดโดยตรง ดังนั้นเราจึงแปลงสมการดังกลาวใหอยูในรูปของสมการพีชคณิต
ดังนี้
1
w [M1 (p 0  p1 )  M 2 (p1  p 2 )  ......  M n (p n 1  p n )] (3.29)
g

122
123

โดยที่ pi คือความดันบรรยากาศที่ระดับความสูง i (i = 1, 2, 3,…..,n) (มิลลิบาร)


p 0 คือความดันบรรยากาศที่พื้นผิวโลก (มิลลิบาร)
M i คืออัตราสวนผสมของไอน้ํากับอากาศแหง (-)
n คือระดับความสูงที่สุดที่ทําการวัด (-)

คาความดันบรรยากาศที่ระดับความสูงตางๆ จะไดจากขอมูลการตรวจอากาศชั้นบน
สําหรับคาอั ตราสว นผสมระหว างไอน้ํ ากั บอากาศแห ง ที่ระดับความสูง ต างๆ จะหาไดจ าก
สมการ (Wallace and Hobbs, 1977)

p vi
M i  0.622 (3.30)
p i  p vi

เมื่อ p vi คือ ความดันไอน้ํา (water vapour pressure) ที่ระดับความสูง i (มิลลิบาร)

คาความดันไอน้ํา p vi สามารถคํานวณไดจากความชื้นสัมพัทธ โดยอาศัยสมการ


p vi
rh i  (3.31)
p vsi

โดยที่ rh i คือ ความชื้นสัมพัทธที่ระดับความสูง i (-)


p vsi คือ ความดันไอน้ําอิ่มตัว (saturated water vapour pressure) ที่ระดับความสูง i
(มิลลิบาร)

คาความดันไอน้ําอิ่มตัวสามารถหาไดจากอุณหภูมิอากาศ ดังสมการ (Pierrehumbert,


1972)

6.1078x10(7.5Ti / 273.3 Ti ) , Ti  0 องศาเซลเซียส


p vsi   (3.32)
6.1078x10(9.321Ti / 261.24  Ti ) , Ti  0 องศาเซลเซียส

เมื่อ Ti คือ อุณหภูมิของอากาศที่ระดับความสูง i (องศาเซลเซียส)

123
124

เนื่องจากคาความชื้นสัมพัทธ ( rh i ) และอุณหภูมิอากาศ ( Ti ) ที่ระดับความสูง i จะ


ไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบน ดังนั้นโดยอาศัยสมการ (3.29) ถึง (3.32) เราสามารถคํานวณ
ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศได

3.8.4.2 การหาปริมาณไอน้ําจากขอมูลอุตุนิยมวิทยาผิวพื้น
เนื่องจากการตรวจอากาศชั้นบนมีคาใชจายคอนขางสูง ดังนั้นสถานีอุตุนิยมวิทยาที่มี
การตรวจอากาศชั้ น บนจึ ง มี จํ า นวนจํ า กั ด สํ า หรั บ ประเทศไทยมี 5 แห ง ได แ ก ที่ ก รม
อุตุนิยมวิทยากรุงเทพฯ ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคใตฝงตะวัน ออก จังหวัด
สงขลา และศู น ย อุตุนิย มวิท ยาภาคใตฝง ตะวั น ตก จัง หวัด ภูเก็ ต โดยแตละสถานี จ ะทําการ
ตรวจวัดวันละ 1 ครั้ง ที่เวลา 7.00 น. ขอมูลจากการตรวจอากาศชั้นบนจึงมีนอย ดังนั้นนักวิจัย
ตางๆ จึงไดพยายามหาวิธีคํานวณปริมาณไอน้ําจากขอมูลอุตุนิยมวิทยาผิวพื้น ซึ่งมีจุดตรวจวัด
มากกวาการตรวจอากาศชั้นบน โดยขอมูลที่นิยมใชคือ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธของ
อากาศแวดล อ ม โดยมี ก ารเสนอสู ต รเอมไพริ คั ล สํ า หรั บ คํ า นวณปริ ม าณไอน้ํ า จากข อ มู ล
อุตุนิยมวิทยาผิวพื้นในบริเวณตางๆ ของโลกหลายสูตร (Cole, 1976; Smith, 1966) สําหรับกรณี
ของประเทศไทย จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2005) ไดทําการวิเคราะหความสัมพันธ
ระหวางปริมาณไอน้ําที่ไดจากขอมูลตรวจอากาศชั้นบนกับขอมูลอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ
และความดันไอน้ําอิ่มตัว และไดเสนอแบบจําลองดังนี้

w  0.8933 exp(0.1715rh p vs / T ' ) (3.33)

เมื่อ w คือ ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)


rh คือ ความชื้นสัมพัทธของอากาศแวดลอม (-)
T' คือ อุณหภูมิของอากาศแวดลอม (เคลวิน)
p vs คือ ความดันไอน้ําอิ่มตัว (มิลลิบาร)

แบบจําลองตามสมการ (3.33) จะใชไดเฉพาะกรณีของการคํานวณคาปริมาณไอน้ํา


รายวันเฉลี่ยตอเดือนเทานั้น โดยตัวแปรดานขวามือของสมการ ตองเปนคารายวันเฉลี่ยตอเดือน
รุงนภา รสภิรมยและเสริม จันทรฉาย (2553) ไดทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองดังกลาว

124
125

และพบวาแบบจําลองนี้สามารถใชคํานวณปริมาณไอน้ํา โดยมีคาความคลาดเคลื่อนในรูปของ
รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (RMSD) เทากับ 15.7% (ดูรายละเอียดการหา
คา RMSD ในภาคผนวกที่ 1)

3.8.4.3 ขอมูลปริมาณไอน้ําจากดาวเทียม
ปจจุบันมีดาวเทียมหลายดวงที่ทําการวัดสเปกตรัมของรังสีอาทิตยที่กระเจิงกลับขึ้นไป
นอกบรรยากาศโลก แล ว นํา มาคํ า นวณปริม าณไอน้ํา ในบรรยากาศ โดยดาวเที ย มที่สํ าคั ญ
ได แ ก ดาวเที ย มเทอร ร า (Terra) และอาควา (Aqua) ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ชื่ อ MODIS
อุปกรณดังกลาวนอกจากใชหาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองไดแลวยังสามารถหาปริมาณ
ไอน้ําไดดวย โดยผูสนใจสามารถรับบริการขอมูลปริมาณไอน้ําจากดาวเทียมดังกลาวที่เว็บไซต
http://disc.sci.gsfc.nasa.gov/giovanni

3.8.5 การแปรคาของปริมาณไอน้ํา
ไอน้ําสวนใหญเกิดจากการระเหยของน้ําผิวดินและน้ําในทะเลและมหาสมุทร ซึ่งเกิด
จากพลังงานความรอนที่ไดรับจากรังสีอาทิตยที่ตกกระทบ เนื่องจากแหลงน้ําในบริเวณตางๆ
ของโลกมีปริมาณมากนอยแตกตางกันและรังสีอาทิตยที่ตกกระทบมีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่
และเวลา ดังนั้นปริมาณไอน้ําในบรรยากาศจึงมีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่และเวลาเชนเดียวกัน
ในดานของการเปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบวัน ปริมาณไอน้ําจะมีการเปลี่ยนแปลง
โดยแปรคาตามสภาพแวดลอมและสภาวะทางอุตุนิยมวิทยาของบริเวณนั้นๆ สําหรับกรณี
ประเทศไทยซึ่งอยูในเขตรอน (tropical zone) โดยทั่วไปปริมาณไอน้ําจะมีคาคอยๆ เพิ่มขึ้นจาก
ตอนเชาจนถึงคาสูงสุดในตอนบายแลวลดลงจนถึงตอนเย็น ดังตัวอยางในรูปที่ 3.18

125
126

3.0

2.8
ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)

2.6

2.4

2.2

2.0
6:30 7:30 8:30 9:30 10:30 11:30 12:30 13:30 14:30 15:30 16:30 17:30 18:30
เวลา

รู ป ที่ 3.18 ตั ว อย า งการเปลี่ ย นแปลงปริ ม าณไอน้ํ า ตามเวลาในรอบวั น ซึ่ ง ทํ า การวั ด ที่
มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2013

กรณีของการเปลี่ยนแปลงปริมาณไอน้ําตามเวลาในรอบปจะขึ้นกับภูมิอากาศของ
พื้นที่ที่พิจารณา ตัวอยางเชนกรณีที่มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม ปริมาณไอน้ําจะมีคา
คอยๆ เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมจนถึงคาสูงสุดในเดือนพฤษภาคมซึ่งเปนชวงฤดูฝน จากนั้นจะ
ลดลงจนถึงเดือนสิงหาคม หลังจากนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเล็กนอยจนถึงเดือนธันวาคม

126
127

7.0
6.0
ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร) 5.0
4.0
3.0
2.0
1.0
0.0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน

รูปที่ 3.19 การแปรคาปริมาณไอน้ําตามเวลาในรอบปที่มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม


จากขอมูลป ค.ศ. 2012

สําหรับการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่ ปริมาณไอน้ําเฉลี่ยตอปจะขึ้นอยูกับภูมิอากาศของ
แตละพื้นที่ ตัวอยางเชน ในเขตทะเลทราย ปริมาณไอน้ําเฉลี่ยตลอดทั้งป อาจมีคาเพียง 0.1
เซนติเมตร ในทางตรงกันขามในเขตรอนอาจมีคาปริมาณไอน้ําเฉลี่ยตลอดทั้งปถึง 4 เซนติเมตร
ในกรณีของประเทศไทย รุงนภา รสภิรมณ และเสริม จันทรฉาย (2553) ไดศึกษา
การกระจายตามพื้นที่ของปริมาณไอน้ํา โดยใชขอมูลปริมาณไอน้ําที่คํานวณจากอุณหภูมิและ
ความชื้นสัมพัทธของอากาศแวดลอมจากสถานีวัด 85 แหง และคํานวณคาปริมาณไอน้ําใน
ชองวางระหวางสถานี โดยการประมาณคาจากคาขางเคียง (interpolation) และจัดแสดงผลใน
รูปแผนที่ (รูปที่ 3.20)
จากรูปที่ 3.20 จะเห็นวาปริมาณไอน้ําในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ
ภาคกลางจะมีคาสูงในฤดูฝน (พฤษภาคม - ตุลาคม) โดยมีคาคอนขางต่ําในชวงเวลาที่เหลือและ
ปริมาณไอน้ําในภาคใตจะสูงกวาภาคอื่นๆ ทั้งนี้เพราะภาคใตมีฤดูฝนยาวนานกวาภาคอื่นๆ
(พฤษภาคม - ธันวาคม) และตั้งอยูใกลทะเล

127
128

เซนติเมตร

รูปที่ 3.20 การกระจายตามพื้นที่ของปริมาณไอน้ําในเดือนตางๆ ในประเทศไทย (รุงนภา รสภิรมณ


และเสริม จันทรฉาย, 2553)

128
129

3.9 โอโซนและผลกระทบที่มีตอรังสีอาทิตย
3.9.1 กําเนิดของโอโซนและการกระจายในบรรยากาศ
โอโซนส ว นใหญ จ ะอยู ใ นบรรยากาศชั้ น สตราโตสเฟ ย ร และมี อ ยู เ ล็ ก น อ ยใน
บรรยากาศชั้ น โทรโปสเฟ ย ร โอโซนในบรรยากาศชั้ น โทรโปสเฟ ย ร เ กิ ด จากโรงงาน
อุตสาหกรรมบางอยาง เชน อุตสาหกรรมน้ําดื่มที่ใชโอโซนฆาเชื้อโรคและเกิดจากฟาผา สวน
โอโซนในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟยร เกิดจากปฏิกิริยาโฟโตดิสโซซิเอชัน (photodissociation)
ของโมเลกุลของออกซิเจน (O2) โดยโฟตอนของรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย จะทําให
โมเลกุลของออกซิเจนแตกตัวเปนอะตอมของออกซิเจน ( O ) จากนั้นอะตอมของออกซิเจน
จะไปรวมตัวกับโมเลกุลของออกซิเจน ( O 2 ) เกิดเปนโอโซน ( O 3 ) หรือเขียนในรูปสมการ
ทางเคมีไดดังนี้ (Frederick, 2008)

O2  h  O  O (3.34)

O  O 2  M  O3  M (3.35)

เมื่อ h คือ พลังงานโฟตอนของรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย


 คือ ความถี่ของรังสีอัลตราไวโอเลต
h คือคาคงที่ของพลังค (Planck’s constant)
M คือ อะตอมหรือโมเลกุลของธาตุอื่นๆ ที่ทําหนาที่เปนตัวเรงปฏิกิริยา

ในการทําใหเกิดความสมดุล โอโซนที่อยูในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟยรก็จะถูก
ทําลายดวยปฏิกิริยาโฟโตไลซิส (photolysis) โดยโมเลกุลของโอโซนจะถูกชนดวยโฟตอนของ
รังสีอัลตราไวโอเลตทําใหสลายตัวเปนโมเลกุลของออกซิเจนและอะตอมของออกซิเจน ตาม
สมการ (Frederick, 2008)

O 3  h  O 2  O (3.36)

129
130

3.9.2 การบอกปริมาณโอโซน
ในการบอกปริมาณของโอโซนจะคลายกับการบอกปริมาณไอน้ํา กลาวคือจะนิยมบอก
ในรูปความสูงของโอโซนในคอลัมนของบรรยากาศที่มีพื้นที่ฐาน 1 หนวย (รูปที่ 3.21) โดย
สมมติวานําโอโซนที่อยูในคอลัมนของอากาศนั้นทั้งหมดมารวมกันที่พื้นผิวโลกที่อุณหภูมิและ
ความดันปกติ (Normal Temperature and Pressure, NTP) กลาวคือที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส
และความดั น 101.325 กิ โลปาสคาล และบอกปริมาณโอโซนเปนความสูงของโอโซนใน
คอลั มนนั้ น ในหน ว ยเซนติ เ มตร และจะเรีย กปริมาณโอโซนที่ วั ด ได วา โอโซนทั้ง หมดใน
คอลัมนบรรยากาศ (total ozone column)
บรรยากาศ
โอโซนทั้งหมดในคอลัมนบรรยากาศ

พื้นผิวโลก
 เซนติเมตร

รูปที่ 3.21 การบอกปริมาณโอโซน

นอกจากนี้เรายังสามารถบอกปริมาณโอโซนในหนวยดอบสัน (Dobson Unit) หรือ


DU ซึ่งเทากับปริมาณโอโซนในรูปของปริมาณโอโซนทั้งหมดในคอลัมนบรรยากาศเปน
เซนติเมตรคูณดวย 1000 หรือ

1 DU = 1000 x ปริมาณโอโซนทั้งหมดในคอลัมนบรรยากาศเปนเซนติเมตร

3.9.3 การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซน
จากโครงสรางระดับพลังงานของโมเลกุลของโอโซน ทําใหโอโซนสามารถดูดกลืน
รังสีเปนแถบความยาวคลื่น ที่สําคัญคือ แถบฮารทลีย (Hartley band) ซึ่งอยูในชวงความยาว

130
131

คลื่น 0.22-0.295 ไมครอน ในชวงความยาวคลื่นนี้โอโซนจะดูดกลืนรังสีอาทิตยไดสูงมาก


นอกจากนี้ยังมีแถบอื่นๆ ที่สามารถดูดกลืนรังสีอาทิตยไดเล็กนอย ไดแก แถบฮักกินส (Huggins
band) ซึ่งอยูในชวงความยาวคลื่น 0.32 - 0.36 ไมครอน และแถบแชปปูสช (Chappuis band)
ในชวงความยาวคลื่นตั้งแต 0.45 - 0.65 ไมครอน จากแถบการดูดกลืนเหลานี้ทําใหรังสีอาทิตย
ในชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลตบี (0.28-0.32 ไมครอน) สวนใหญถูกดูดกลืนโดย
โอโซน และในชวงความยาวคลื่นแสงสวางถูกดูดกลืนโดยโอโซนเล็กนอย
สมบัติในการดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนสามารถบอกไดในรูปของความลึกเชิง
แสงของโอโซน (ozone optical depth) ซึ่งสามารถเขียนไดดังสมการ (Vigroux, 1953)

o   k o  (3.37)

เมื่อ o คือ ความลึกเชิงแสงของโอโซน (-)


k o คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของโอโซน (extinction coefficient)
(แสดงในภาคผนวกที่ 3) (เซนติเมตร-1)
 คือ ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)

ปริมาณรังสีอาทิตยที่ถูกดูดกลืนโดยโอโซน นอกจากจะขึ้นกับความลึกเชิงแสงของ
โอโซนแลวยังขึ้นกับมวลอากาศที่รังสีอาทิตยเดินทางผาน วิกรูซ (Vigroux, 1953) เสนอสมการ
ของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซน ดังนี้

o  exp( k o m a ) (3.38)

เมื่อ  o คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของโอโซน (-)

ถาเขียนกราฟระหวางสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซนกับความยาว
คลื่นจะไดกราฟดังรูปที่ 3.22

131
132

0.9
สั มประสิ ทธิ์การส งผ านรังสี อาทิตย ของโอโซน (  )

0.8

0.7

0.6

0.5

0.4
m =1
ma=1
a
0.3
ma=3
ma=3

0.2 ma=5
ma=5

0.1

0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1

ความยาวคลื่ น (ไมครอน)

รูปที่ 3.22 สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซน ( o ) ที่มวลอากาศ ( m a ) คาตางๆ

จากกราฟจะเห็นวาสัมประสิทธิ์การสงผานที่ความยาวคลื่นนอยกวา 0.29 ไมครอน


ซึ่งเปนชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลตจะมีคาเปนศูนย ทั้งนี้เพราะโอโซนดูดกลืนรังสี
อาทิตยในชวงความยาวคลื่นนี้ นอกจากนี้ยังสังเกตเห็นการดูดกลืนของโอโซนในชวงความยาว
คลื่นแสงสวาง (0.50-0.75 ไมครอน) อีกเล็กนอย
กรณีของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่นกวาง
สามารถหาไดจากสมการของลาซีสและแฮนสัน (Lacis and Hanson, 1974) ดังนี้

0.02118U 3 1.082U 3 0.0658U 3


o  1  4 2
 0.805
 (3.39)
1  0.042U 3  3.23  10 U 3 (1  138.6U 3 ) 1  (103.6U 3 )3

เมื่อ U 3  m r (3.40)

132
133

3.9.4 การหาปริมาณโอโซนดวยวิธีของคิงและไบรน (King and Byrne, 1976)


วิธีดังกลาวจะหาปริมาณโอโซนโดยใชขอมูลสเปกตรัมรังสีตรงของดวงอาทิตยในเวลา
ที่ทองฟาปราศจากเมฆที่มวลอากาศคาตางๆ ขอมูลดังกลาวอาจไดจากการวัดรังสีอาทิตยดวย
เครื่องซันโฟโตมิเตอร หรือเครื่องสเปกโตเรดิโอมิเตอรที่สามารถวัดความเขมรังสีตรงที่ความ
ยาวคลื่นที่มีการดูดกลืนของโอโซน เชน 0.615 ไมครอน และความยาวคลื่นอื่นๆ ที่ไมมีการ
ดูดกลืนโอโซน ไอน้ํา และกาซตางๆ เชนที่ความยาวคลื่น 0.415, 0.50, 0.67 และ 0.87 ไมครอน
เปนตน ในที่นี้จะใชสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นดังกลาว เปนตัวอยางในการอธิบาย
วิธีการคํานวณปริมาณโอโซนตามวิธีของคิงและไบรน
ขั้นตอนที่ 1 เราจะเขียนสมการกฎของบูเกอรสําหรับรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น
1 = 0.615 ไมครอน ซึ่ ง มี เ ฉพาะการดู ด กลื น ของโอโซน และการกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย โ ดย
โมเลกุลอากาศและฝุนละออง ดังนี้
I  I
n1 0 n1 exp[( R  aer ,   o1 ) m a ]
1 1
(3.41)

เมื่อ I
n1 คือ ความเขมรังสีตรงที่ความยาวคลื่น 1 = 0.615 ไมครอน (วัตตตอตาราง
เมตรตอไมครอน)
I
0 n1 คือ ความเขมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกที่ความยาวคลื่น 1 = 0.615
ไมครอน (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
R1 คือ ความลึกเชิงแสง ซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศที่
ความยาวคลื่น 1 = 0.615 ไมครอน (-)
aer , คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 1 = 0.615 ไมครอน (-)
1

o1 คือ ความลึกเชิงแสงของโอโซนที่ความยาวคลื่น 1 = 0.615 ไมครอน (-)


ma คือ มวลอากาศ (-)
จากสมการ (3.41) เราจะนําคา ln In1 มาเขียนกราฟแบบแลงลียกับ ma (รูปที่ 3.23)
ซึ่งจะไดกราฟเสนตรง ซึ่งมีคาสัมบูรณของความชันเทากับ R 1  aer, 1  o 1 จากนั้นเรา
จะสมมติคาปริมาณโอโซนขึ้นมาคาหนึ่ง เชน  = 0.3 เซนติเมตร และทําการคํานวณคา o
ดวยสมการ (3.37) และ R ดวยสมการ (3.10) ดังนั้นจากคาสัมบูรณของความชันของกราฟ คา
o1 และ R1 เราสามารถคํานวณคา aer , ได
1

133
134

8.0

7.0

6.0

5.0
ln In 1

4.0

3.0

2.0

1.0

0.0
0 10 20 30 40

มวลอากาศ (ma)

รูปที่ 3.23 กราฟระหวางคาล็อกกาลิทึมของความเขมรังสีอาทิตย ( ln In1 ) ที่ความยาวคลื่น 1


กับคามวลอากาศ ( ma )

ขั้นตอนที่ 2 จะเขียนสมการกฎของบูเกอรกับรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  2 = 0.415


ไมครอน 3 = 0.50 ไมครอน 4 = 0.67 ไมครอน และ 5 = 0.87 ไมครอน ซึ่งมีเฉพาะการ
กระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศและฝุนละออง ดังสมการ

I  I
n 2
 
0 n 2 exp[ (  R 2   aer ,  2 ) m a ] (3.42)
I  I
n 3
 
0 n 3 exp[  (  R 3   aer ,  3 ) m a ] (3.43)
I  I
n 4
 
0 n 4 exp[ (  R 4   aer ,  4 ) m a ] (3.44)
I  I
n 5
 
0 n 5 exp[  (  R 5   aer , 5 ) m a ] (3.45)

จากนั้ น ทํ า การเขี ย นกราฟแบบแลงลี ย ร ะหว า ง ln In 2 กั บ ma , ln In 3 กั บ ma ,


ln I n 4 กับ ma และ ln In 5 กับ ma ซึ่งจะไดกราฟเสนตรงที่มีคาสัมบูรณของความชันเทากับ
R ,  2  aer ,  2 , R ,  3  aer ,  3 , R ,  4  aer ,  4 และ R ,  5  aer ,  5 เนื่ อ งจากค า R ,  2 ,
R ,  3 , R ,  4 และ R ,  5 สามารถคํานวณไดจากสมการ (3.10) ดังนั้นจากคาสัมบูรณของความ

134
135

ชันของกราฟและคา R , , R , , R , และ R , เราจึงสามารถหาคา aer , , aer , , aer ,
2 3 4 5 2 3 4

และ aer , ได


5

ขั้ น ตอนที่ 3 เราจะนํ า ค า aer ,1 ที่ ไ ด จ ากขั้ น ตอนที่ 1 และ aer , 2 , aer , 3 , aer , 4
และ aer , 5 ที่ไดจากขั้นตอนที่ 2 มาเขียนกราฟกับ  ซึ่งจะไดกราฟตามตัวอยางในรูปที่ 3.24

1.0

0.8
ความลึกเชิ งแสงของฝุนละออง

0.6

0.4

0.2

0.0
0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 1.2 1.4 1.6
ความยาวคลื่น (ไมครอน)

รูปที่ 3.24 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางความลึกเชิงแสงของฝุนละออง ( aer , ) กับความ


ยาวคลื่น (  )

จากการศึกษาของคิงและไบรน (King and Byrne, 1976) พบวาความลึกเชิงแสงของฝุน


ละอองจะแปรตามความยาวคลื่นตามสมการ

ln(aer ,  )  a  b ln   c(ln ) 2 (3.46)

โดยที่ a, b และ c เปนคาคงที่เอมไพริคัล (empirical constant)

135
136

ขั้นตอนที่ 4 เราจะทําการฟต (fit) กราฟในรูปที่ 3.24 ดวยสมการ (3.46) และหาความ


คลาดเคลื่อนของการฟตกราฟในรูปของรากที่สองของคาเฉลี่ ยความแตกตางยกกําลั งสอง
(root mean square difference, RMSD) ซึ่งหาไดจากสมการ

N
2
 (aer , mod el  aer , data )
RMSD  i 1
(3.47)
N

เมื่อ RMSD คือรากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (คาสัมบูรณ)


aer , mod el คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่คํานวณไดจากสมการ (3.46)
ซึ่งใชคาสัมประสิทธิ์ที่ไดจากการฟตกราฟ
aer , data คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองจากขอมูลในกราฟรูปที่ 3.24
N คือ จํานวนขอมูล

เนื่องจากในการหาค า aer ,data ไดมาจากการคํานวณโดยสมมติวาปริมาณโอโซน


  0.3 เซนติเมตร ถาคาที่สมมติตางไปจากคาที่แทจริงมาก RMSD ก็จะมีคามาก ดังนั้นเรา
จะทําการแปรคาปริมาณโอโซนแลวทําการคํานวณซ้ําตั้งแตขั้นตอนที่ 1 จนถึงขั้นตอนที่ 4
แลวนําคาปริมาณโอโซนที่สมมติมาเขียนกราฟกับคา RMSD ซึ่งจะไดกราฟตามตัวอยางใน
รูปที่ 3.25

136
137

0.02930
0.02929
0.02928
0.02927
0.02926
0.02925
0.02924
RMSD'

0.02923
0.02922
0.02921
0.02920
0.02919
0.02918
0.232 0.235 0.238 0.241 0.244 0.247 0.25 0.253 0.256 0.259
ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)

รูปที่ 3.25 ตัวอยางของกราฟระหวางคารากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง


( RMSD ) กับคาปริมาณโอโซน (  )

คาปริมาณโอโซนที่ใหคา RMSD ต่ําสุด จะถือวาเปนคาปริมาณโอโซนที่แทจริง


จากตัวอยางในกราฟรูปที่ 3.25 คาของปริมาณโอโซนที่ไดคือ 0.246 เซนติเมตร การหาปริมาณ
โอโซนโดยวิธีนี้เราจะไดคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองดวย
กุลนิษฐ ชิวปรีชา และเสริม จันทรฉาย (2553) ใชวิธีของคิงและไบรนหาปริมาณ
โอโซนที่มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม จากขอมูลสเปกตรัมรังสีตรงซึ่งทําการวัดดวย
เครื่องสเปกโตรเรดิโอมิเตอรที่ผลิตโดย บริษัทแยงคกี (Yankee รุน MFRSR) แลวนําผลที่ไดไป
เปรียบเทียบกับขอมูลปริมาณโอโซนที่ทําการวัดจากดาวเทียม TOMS/EP พบวาขอมูลทั้งสอง
ชุดมีความแตกตางกันในรูปของรากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง เทากับ 2.2%
(ดูรายละเอียดในภาคผนวกที่ 1)

3.9.5 การวัดปริมาณโอโซนดวยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร
เครื่ อ งสเปกโตรโฟโตมิ เ ตอร ที่ ใ ช ใ นการหาปริ ม าณโอโซนตามหน ว ยงานทาง
อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาของประเทศต า งๆ ตามคํ า แนะนํ า ขององค ก ารอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาโลก (World

137
138

Meteorological Organization, WMO) คือ เครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอรแบบดอบสัน (Dobson


spectrophotometer) (รูปที่ 3.26)
เครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอรดังกลาวสามารถวัดความเขมรังสีตรงของดวงอาทิตย
ในชวงรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นเปนคู โดยแตละคูจะมีความยาวคลื่นหนึ่งตรงกับ
ความยาวคลื่นที่มีการดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนมาก เชนที่ความยาวคลื่น 0.305 ไมครอน
และอีกความยาวคลื่นหนึ่งไมมีการดูดกลืนโดยโอโซน เชนที่ความยาวคลื่น 0.325 ไมครอน
ตามปกติที่นอกบรรยากาศโลก อัตราสวนของความเขมรังสีทั้งสองความยาวคลื่นจะมีคาคงที่
แตเมื่อผานบรรยากาศลงมาถึงพื้นผิวโลก ความเขมรังสีอาทิตยทั้งสองความยาวคลื่นจะลดลง
เนื่องจากการกระเจิงของโมเลกุลอากาศ ฝุนละออง แตที่ความยาวคลื่น 0.305 ไมครอน จะถูก
ดูดกลืนโดยโอโซนดวย ในขณะที่ความยาวคลื่น 0.325 ไมครอน ไมมีการดูดกลืนของโอโซน
ดังนั้นอัตราสวนของรังสีที่ความยาวคลื่นที่ 0.305 ไมครอน ตอรังสีที่ความยาวคลื่น 0.325
ไมครอน จึงเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณโอโซน คาอัตราสวนดังกลาวสามารถนําไปคํานวณ
ปริมาณโอโซนได โดยใชแบบจําลองการถายเทรังสี (radiative transfer model) (Evans, 2008)
ปจจุบันสถานีอุตุนิยมวิทยาของบางประเทศจะใชสเปกโตโฟโตมิเตอรของบริวเวอร (Brewer)
แทนสเปกโตโฟโตมิเตอรแบบดอบสัน ซึ่งไมมีการผลิตในเชิงการคาแลว

รูปที่ 3.26 เครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอรแบบดอบสันของกรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งใชวัดปริมาณ


โอโซนที่กรุงเทพฯ

138
139

นอกจากนี้ เรายังสามารถหาปริมาณโอโซนดวยเครื่องวัดโอโซนแบบพกพา ซึ่งทํางาน


ดวยหลักการคลายกับเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอรแบบดอบสันเชนเครื่องโอโซนมิเตอรที่ผลิต
โดยบริษัท โซลารไลท (Solar Light) ดังรูปที่ 3.27

รูปที่ 3.27 การวัดโอโซนดวยเครื่องโอโซนมิเตอร (Solar Light, model 520) ที่ภาควิชาฟสิกส


มหาวิทยาลัยศิลปากร

3.9.6 ขอมูลปริมาณโอโซนจากดาวเทียม
เนื่ อ งจากข อ มู ล ปริ ม าณโอโซนมี ค วามสํ า คั ญ ต อ งานวิ จั ย ด า นบรรยากาศและ
สิ่งแวดลอม ประกอบกับขอมูลปริมาณโอโซนตามสถานีอุตุนิยมวิทยาตางๆ มีจํากัด ดังนั้น
องคการนาซา ประเทศสหรัฐอเมริกาจึงไดสงดาวเทียมที่ติดตั้งเครื่องวัดโอโซนไปโคจรรอบ
โลก โดยดาวเทียมดวงแรกไดแก ดาวเทียมนิมบัส 7 (Nimbus 7) ซึ่งติดตั้งอุปกรณวัดโอโซนชื่อ
TOMS (Total Ozone Mapping Spectrophotometer) อุปกรณดังกลาวจะรับรังสีอัลตราไวโอเลต
ที่กระเจิงจากบรรยากาศและพื้นผิวโลกที่ 2 ความยาวคลื่น โดยความยาวคลื่นหนึ่งจะตรงกับ
ความยาวคลื่นของการดูดกลืนของโอโซน สวนอีกความยาวคลื่นหนึ่งไมมีการดูดกลืนของ
โอโซน จากนั้นจะเอาความเขมของรัง สี อัลตราไวโอเลตทั้ง สองความยาวคลื่ น ไปคํา นวณ
ปริมาณโอโซน โดยใชแบบจําลองการถายเทรังสี (Tanskanen, 2008) อุปกรณ TOMS ที่ติดตั้ง

139
140

บนดาวเทียมนิมบัส 7 ใชงานตั้งแตป ค.ศ. 1979 จนถึงป ค.ศ. 1988 ตอมาองคการนาซาไดสง


ดาวเทียมเอิรธโพรบ (Earth Probe, EP) ซึ่งติดตั้งอุปกรณ TOMS เพื่อวัดโอโซนจนถึงป ค.ศ.2005
สําหรับดาวเทียมที่ติดตั้งอุปกรณวัดโอโซนปจจุบันคือ ดาวเทียมออรา (Aura) ซึ่งติดตั้งอุปกรณ
วัดโอโซนชื่อ OMI (Ozone Monitoring Instrument) ซึ่งมีสมรรถนะสูงกวา TOMS (รูปที่ 3.28)
ขอมูลโอโซนที่ไดจากดาวเทียมดังกลาวทั้ง 3 ดวง จะมีวันละ 1 เวลา (ประมาณเที่ยงวัน ตาม
เวลาทองถิ่น) ครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของโลกและสามารถรับบริการขอมูลทางเว็บไซต
http://disc.sci.gsfc.nasa.gov/giovanni

3.9.7 การแปรคาตามเวลาและพื้นที่ของปริมาณโอโซน
โดยทั่วไปปริมาณโอโซนมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบวันนอยมากจนสามารถ
ถือไดวามีคาคงที่ ในงานทางดานรังสีอาทิตย เราสามารถใชคาปริมาณโอโซนที่ไดจากการวัด
ภาคพื้นดิน หรือคาที่ไดจากดาวเทียมเพียง 1 ครั้งตอวัน เพื่อการคํานวณรังสีอาทิตยตลอดทั้งวัน
ได
จากที่ ก ล า วไปแล ว ข า งต น ว า โอโซนเกิ ด จากปฏิ กิ ริ ย าโฟโตดิ ส โซซิ เ อชั น โดยใช
พลังงานจากรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย ในขณะเดียวกันการสลายตัวของโอโซนก็เกิด
จากรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยเชนเดียวกัน เนื่องจากความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่
ชั้นสตราโตสเฟยรซึ่งเปนบริเวณที่มีโอโซนอยูหนาแนน จะมีการเปลี่ยนแปลงตามละติจูดและ
เวลาในรอบป ดั ง นั้ น ปริ ม าณโอโซนจึ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามละติ จู ด และฤดู ก าลด ว ย
โดยทั่วไปปริมาณโอโซนจะมีคาเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของคาละติจูด ทั้งนี้เพราะที่ละติจูดสูงๆ
ความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตจะลดลง ทําใหปริมาณโอโซนที่เปนคาสมดุลระหวางอัตราการ
เกิดและอัตราการสลายตัวมีคาสูงขึ้น ปริมาณโอโซนในบริเวณศูนยสูตรมีคาต่ํากวาบริเวณ
ละติจูด สูงๆ ในด านการเปลี่ยนแปลงตามฤดูก าล ปริมาณโอโซนในชวงฤดูรอ นจะสูง กวา
ในชวงฤดูหนาว ทั้งนี้เพราะความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในชวงฤดูรอนมีคาสูงกวาในฤดู
หนาว
สําหรับกรณีประเทศไทย กุลนิษฐ ชิวปรีชาและเสริม จันทรฉาย (2553) ไดทําการศึกษา
การกระจายตามพื้นที่ของปริมาณโอโซนในประเทศไทยในเดือนตางๆ โดยใชขอมูลโอโซน
จากดาวเทียม TOMS/EP ผลที่ไดแสดงดังรูปที่ 3.28

140
141

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม

กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

รูปที่ 3.28 การกระจายตามพื้นที่ของปริมาณโอโซนในประเทศไทยในเดือนตางๆ (กุลนิษฐ ชิวปรีชา


และเสริม จันทรฉาย, 2553)

141
142

จากรูปจะเห็นวาโอโซนเหนือพื้นที่สวนใหญของประเทศจะมีคาสูงในชวงระหวาง
เดือนเมษายนจนถึงตุลาคม ทั้งนี้เพราะรังสีอัลตราไวโอเลตนอกบรรยากาศโลกในชวงเวลา
ดังกลาวมีคาสูงกวาชวงเวลาอื่นๆ ในรอบป
ในดานการแปรคาตามความสูง โดยทั่วไปปริมาณโอโซนจะคอยๆ ลดลงตามความสูง
ในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยร จากนั้นจะคอยเพิ่มขึ้นในชั้นสตราโตสเฟยรจนถึงคาสูงสุดที่
ความสูงประมาณ 22-28 กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก จากนั้นจะคอยลดลง โดยการแปรคาดังกลาว
จะมีการเปลี่ยนแปลงในรอบป ดังตัวอยางในรูปที่ 3.29
h (กิโลเมตร)

Po3 (นาโนบาร)
รูปที่ 3.29 การแปรคาความสูง (h) ของปริมาณโอโซนในรูปความดันยอยของโอโซน (Po3) ที่
กรุงเทพ (เสริม จันทรฉาย และคณะ, 2560; Janjai et al., 2016)

142
143

3.10 การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโมเลกุลของกาซตางๆ
โมเลกุลอากาศในที่นี้จะหมายถึงโมเลกุลของกาซอื่นๆ นอกเหนือจากโอโซนและ
ไอน้ํา โดยสวนใหญ ไดแก คารบอนไดออกไซด (CO2) และออกซิเจน (O2) นอกจากนี้ยังมีกาซ
อื่ น ๆ อี ก เล็ ก น อ ย เช น ไนตรั ส ออกไซด (N2O) และคาร บ อนมอนนอกไซด (CO) เป น ต น
เนื่องจากกาซดังกลาวมีหลายชนิด เพื่อความสะดวกในการคํานวณรังสีอาทิตย เราจะพิจารณา
การสงผานรังสีอาทิตยดวยสัมประสิทธิ์เพียงตัวเดียว ซึ่งสามารถเขียนไดดังสมการที่เสนอโดย
เลคเนอร (Leckner, 1978) ดังนี้

g  exp[1.41k g ma /(1  118.93k g ma )0.45 ] (3.48)

เมื่อ g คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของโมเลกุลของกาซ


ตางๆ (-)
k g คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของโมเลกุลของกาซตางๆ
(เซนติเมตร-1)
ma คือ มวลอากาศ (-)

สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโมเลกุลของกาซตางๆ สามารถแสดงในรูป
ของกราฟได ดังรูปที่ 3.30 จากกราฟจะเห็นการดูดกลืนของโมเลกุลของกาซ ซึ่งสวนใหญอยู
ในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด โดยมีการดูดกลืนมากที่ความยาวคลื่น 2.8 ไมครอน และที่
ความยาวคลื่นใกลเคียง
สําหรับสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาวคลื่นกวาง
( g ) สามารถคํานวณไดจากสมการ (Iqbal, 1983)

g  exp(0.0127 m 0a.26 ) (3.49)

143
144

1.0

0.9
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีของกาชตางๆ (g)
0.8

0.7

0.6

0.5

0.4

0.3

0.2

0.1

0.0
0.0 0.8 1.2 1.6 2.0 2.4 2.8 3.2 3.6 4.0

ความยาวคลื่น (ไมครอน)

รูปที่ 3.30 การแปรคาตามความยาวคลื่นของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโมเลกุล


ของกาซตางๆ ( g ) ที่มวลอากาศ ( m a ) เทากับ 1 (ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)

3.11 ผลกระทบของเมฆตอรังสีอาทิตย
เมฆประกอบดวยหยดน้ําเล็กๆ (water droplet) หรือ ผลึกน้ําแข็ง (ice crystal) หรือทั้ง
สองอยางผสมกัน เราสามารถแบงเมฆตามความสูงไดเปน 3 ระดับ ไดแก เมฆชั้นต่ํา เมฆชั้น
กลาง และเมฆชั้นสูง โดยเมฆชั้นต่ําจะอยูที่ความสูงนอยกวา 2 กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก สวน
เมฆชั้นกลางจะอยูที่ความสูง 2-7 กิโลเมตร สําหรับเมฆชั้นสูงจะอยูสูงกวา 7 กิโลเมตรขึ้นไป
นอกจากนี้ยังมีเมฆที่มีโครงสรางในแนวดิ่ง หรือเมฆคิวมูโลนิมบัส (cumulonimbus) ซึ่งมีฐาน
อยูในระดับเมฆชั้นต่ําและมีความสูงหลายกิโลเมตรโดยทั่วไปเมฆชั้นต่ําและเมฆชั้นกลางจะ
ประกอบดวยละอองน้ําเปนสวนใหญ สวนเมฆชั้นสูงสวนมากจะประกอบดวยผลึกน้ําแข็ง
เมฆมีผลสําคัญตอการลดลงของรังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลก โดยเมฆ
สามารถกระเจิงรังสีอาทิตยบางสวนออกไปนอกบรรยากาศและบางสวนลงมาถึงพื้นผิวโลกใน
รู ป ของรั ง สี ก ระจาย โดยทั่ ว ไปเมฆจะดู ด กลื น รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น รั ง สี

144
145

อัลตราไวโอเลตและแสงสวางนอยมากแตจะดูดกลืนมากในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด
(Paltride and Platt, 1976)
สมบัติเชิงแสงของเมฆที่สําคัญ ไดแก ความลึกเชิงแสงและสัมประสิทธิ์การกระเจิง
รังสีซึ่งพิจารณารังสีที่ตกกระทบครั้งแรก (single scattering albedo) สมบัติเหลานี้จะขึ้นกับ
สมบั ติ ข ององค ป ระกอบของเมฆที่ สํ า คั ญ ได แ ก สถานะของน้ํ า และขนาดของละอองน้ํ า
ตัว อยางของสั ม ประสิ ทธิ์ ก ารดู ด กลื น รัง สีอ าทิต ยของเมฆที่ ประกอบดว ยหยดน้ําขนาด 20
ไมครอน แสดงไวในรูปที่ 3.31
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของเมฆ

ความยาวคลื่น (ไมครอน)
รูปที่ 3.31 สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของเมฆทีป่ ระกอบดวยหยดน้ําเล็กๆ ที่มีรัศมี (r)
เทากับ 20 ไมครอน (ดัดแปลงจาก Petty, 2004)

ในการคํานวณรังสีอาทิตยอยางละเอียดในชวงความยาวคลื่นกวาง (0.3-3.0 ไมครอน)


เราจําเปนตองรูสมบัติเชิงแสงของเมฆ ซึ่งการวัดภาคพื้นดินมีอยูนอยมาก อยางไรก็ตามใน
ปจจุบันเราสามารถหาขอมูลสมบัติของเมฆที่ไดจากดาวเทียมขององคการนาซาที่สําคัญไดแก
ดาวเทียม CLOUDSAT นอกจากนี้เรายังสามารถใชขอมูลภาพถายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เชน
MTSAT-1R เพื่อคํานวณการสะทอนของบรรยากาศและเมฆได (Janjai et al., 2013b)

145
146

การคํานวณรังสีอาทิตยดวยแบบจําลองทางสถิติจะนิยมแทนผลของเมฆดวยปริมาณ
เมฆที่ปกคลุมทองฟา (cloud cover) ซึ่งมีการสังเกตการณตามสถานีอุตุนิยมวิทยาทั่วไป โดย
การสังเกตการณสวนใหญจะดูดวยตาเปลา และประมาณวาในขณะนั้นมีเมฆปกคลุมทองฟากี่
สวนถาแบงทองฟาออกเปน 10 สวน อยางไรก็ตามในปจจุบันเราสามารถใชกลองถายภาพ
ทองฟา (sky camera) ทําการสังเกตการณปริมาณเมฆโดยอัตโนมัติได (รูปที่ 3.32)

รู ป ที่ 3.32 กล อ งถ า ยภาพท อ งฟ า ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง ที่ ส ถานี วั ด รั ง สี อ าทิ ต ย มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร
จังหวัดนครปฐม

โดยทั่วไป ปริมาณเมฆจะขึ้นกับสภาพภู มิอากาศ โดยในบริเวณศูนยสูตรจะมี เมฆ


มากกวาในบริเวณทะเลทราย สําหรับกรณีประเทศไทย การแปรคาของปริมาณเมฆตามพื้นที่ใน
เดือนตางๆ แสดงไวในรูปที่ 3.33 (เสริม จันทรฉายและคณะ, 2559)
จากแผนที่จะเห็นวา ในชวงฤดูฝน (พฤษภาคม-ตุลาคม) พื้นที่สวนใหญของประเทศ
ไทยจะมีเมฆปกคลุมมากกวาในชวงฤดูแลง (พฤศจิกายน-เมษายน) และบริเวณภาคใตมีปริมาณ
เมฆสูงกวาในภาคอื่นๆ

146
147

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิ งหาคม


กนยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

รูปที่ 3.33 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของปริมาณเมฆในเดือนตางๆ ของประเทศไทย


(ปริมาณเมฆแปรคาจาก 0 กรณีทองฟาปราศจากเมฆ จนถึง 10 กรณีทองฟาปกคลุม
ดวยเมฆทั้งหมด) (เสริม จันทรฉาย และคณะ, 2559)

147
148

3.12 สรุป
บทนี้เริ่มตนจากการอธิบายโครงสรางของบรรยากาศโลกวาประกอบดวย 4 ชั้น ไดแก
โทรโปสเฟ ย ร สตราโตสเฟ ย ร เมโซสเฟ ย ร และเทอร โ มสเฟ ย ร เนื่ อ งจากความสู ง และ
องค ป ระกอบของชั้ น ต า งๆ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามละติ จู ด และเวลาในรอบป ดั ง นั้ น
นักวิทยาศาสตรจึงกําหนดบรรยากาศมาตรฐานขึ้น โดยบรรยากาศมาตรฐานที่ยอมรับกันใน
ปจจุบัน คือ บรรยากาศมาตรฐานขององคการนาซา ประเทศสหรัฐอเมริกา
โดยทั่วไปรังสีอาทิตยที่เดินทางผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลกจะถูกองคประกอบ
ตางๆ ของบรรยากาศดูดกลืนและกระเจิง เนื่องจากปริมาณของรังสีที่ถูกลดทอนลงนอกจากจะ
ขึ้นกับสมบัติการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยขององคประกอบของบรรยากาศแลว ยัง
ขึ้นกับมวลอากาศที่รังสีอาทิตยเดินทางผานดวย ดังนั้นในบทนี้จึงไดอธิบายวิธีการคํานวณมวล
อากาศและกฎของบูเกอรเพื่อใชคํานวณการลดลงของรังสีอาทิตยโดยองคประกอบตางๆ ของ
บรรยากาศ พรอมทั้งอธิบายรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นตางๆ ที่สามารถผานบรรยากาศแต
ละชั้น โดยรังสีอาทิตยสวนใหญที่สามารถเดินทางมาถึงพื้นผิวโลกจะมีความยาวคลื่นมากกวา
0.3 ไมครอน จากนั้นไดกลาวถึงบทบาทขององคประกอบตางๆ ที่มีผลตอการลดลงของรังสี
อาทิตย ไดแก โมเลกุลอากาศ ฝุนละออง ไอน้ํา โอโซน กาซตางๆ และเมฆ โดยโมเลกุลอากาศ
จะทําใหรังสีอาทิตยลดลงโดยการกระเจิงรังสีอาทิตย ในกรณีของฝุ นละอองจะทําใหรัง สี
อาทิตยลดลงโดยกระบวนการดูดกลืนและการกระเจิง โดยสัดสวนของกระบวนการทั้งสองจะ
ขึ้ น กั บ ชนิ ด ของฝุ น ละออง ในด า นไอน้ํ า จะดู ด กลื น รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น รั ง สี
อินฟราเรด สําหรับกาซตางๆ ที่สําคัญ ไดแก คารบอนไดออกไซด และออกซิเจนจะดูดกลืน
รังสีอาทิตยเล็กนอยในชวงความยาวคลื่นแสงสวางและดูดกลืนมากในชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรด สําหรับเมฆจะทําใหรังสีอาทิตยลดลงทั้งจากการกระเจิงและการดูดกลืน โดยเมฆจะ
ดูดกลืนรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลต และแสงสวางนอยมาก และ
ดูดกลืนมากในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด นอกจากนี้ยังไดอธิบายการหาปริมาณและ
สมบัติเชิงแสงขององคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ ความรูเหลานี้จะใชเปนพื้นฐานของ
การศึกษารังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก

148
149

แบบฝกหัด

1. ถาสถานีอุตุนิยมวิทยาแหงหนึ่ง มีการวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธของอากาศ โดยได


คาเฉลี่ยรายเดือนของอุณหภูมิเทากับ 25 องศาเซลเซียส และของความชื้นสัมพัทธเทากับ
60% จงคํานวณปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ
คําตอบ 3.13 เซนติเมตร

2. ถ า บรรยากาศมี อ งค ป ระกอบเฉพาะโมเลกุ ล ของก า ซต า งๆ โอโซน และไอน้ํ า โดยมี


ปริมาณโอโซนเทากับ 0.3 เซนติเมตร ไอน้ําเทากับ 2 เซนติเมตร จงคํานวณสัมประสิทธิ์
การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นเทากับ 0.7 ไมครอน ถาดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงซึ่ง
มีคามุมเซนิธเทากับ 60
คําตอบ 0.98

3. จงคํานวณคามวลอากาศบนดอยอินทนนท ซึ่งอยูที่ระดับความสูง 2600 เมตร ขณะที่ดวง


อาทิตยมีคามุมเซนิธ 45 องศา โดยเปรียบเทียบคาที่คํานวณไดโดยแกไขผลจากความสูง
( m a ) และคาที่ไมไดแกไข ( mr )
คําตอบ m a = 1.04 และ mr = 1.41

4. ในบรรดาองคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ องคประกอบใดที่มีผลตอการลดลงของรังสี


อาทิตยสูงสุดในกรณีของประเทศไทย จงอธิบายใหเหตุผล

5. จงเขียนกราฟการแปรคาตามเวลาในรอบปของปริมาณโอโซนรายวันเฉลี่ยตอเดือนของป
ค.ศ. 2008 ที่สถานีเชียงใหม ซึ่งอยูที่พิกัด 18.78 N, 98.98 E โดยใชขอมูลโอโซนที่ได
จากดาวเทียม OMI/Aura ที่เว็บไซต http://disc.sci.gsfc.nasa.gov/giovanni

149
150

รายการสัญลักษณ

g ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวง (980 เซนติเมตรตอวินาที2)


h คาคงที่ของพลังค (จูลวินาที)
I
on ความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางนอกบรรยากาศโลกบน
ระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตร)
I
n ความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางที่ตกกระทบพื้นผิวโลกบน
ระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีตรง (วัตตตอตารางเมตร)
I
on ความเขมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกที่ความยาวคลื่น  บนระนาบตั้งฉาก
กับทิศทางของรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
n ความเขมรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ที่ตกกระทบพื้นผิวโลกบนระนาบตั้ง
ฉากกับทิศทางของรังสีตรง (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
k o สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของโอโซนที่ความยาวคลื่น 
(เซนติเมตร-1)
k w สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของไอน้ําที่ความยาวคลื่น  (เซนติเมตร-1)
k g สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของกาซที่ความยาวคลื่น  (-)
 ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
mr มวลอากาศ (-)
ma มวลอากาศที่แกผลจากความสูงแลว (-)
mact ,s มวลอากาศในคอลัมนของบรรยากาศที่มีพนื้ ที่ตัดขวาง 1 ตารางเมตรที่รังสี
อาทิตยเคลื่อนที่ผาน เมื่อดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงใดๆ (กิโลกรัมตอเมตร2)
m act , v มวลอากาศในคอลัมนของบรรยากาศที่มีพนื้ ที่ตัดขวาง 1 ตารางเมตรที่รังสี
อาทิตยเคลื่อนที่ผาน เมื่อดวงอาทิตยอยูที่ตําแหนงเซนิธ (กิโลกรัมตอเมตร2)
M อัตราสวนผสมของไอน้ํากับอากาศแหง (-)
rh ความชื้นสัมพัทธ (-)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (คาสัมพัทธ) (%)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (คาสัมบูรณ)

150
151

s คาสัมบูรณของความชัน
T อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส)
T' อุณหภูมิอากาศ (เคลวิน)
VIS ทัศนวิสัย (กิโลเมตร)
w ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
Z ความสูง (เมตร)
 ตัวเลขยกกําลังของอังสตรอม (-)
 สัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม (-)
z มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
 ความยาวคลื่น (ไมครอน)
 ความถี่ (วินาที -1)
p ความดันบรรยากาศ (มิลลิบาร)
pv ความดันไอน้ํา (มิลลิบาร)
p vs ความดันไอน้ําอิ่มตัว (มิลลิบาร)
t ความลึกเชิงแสงของบรรยากาศโลก (-)
R ความลึกเชิงแสงซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของ
โมเลกุลอากาศ (-)
 R สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยที่ความ
ยาวคลื่น  ของโมเลกุลอากาศ (-)
R สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางซึ่งเกิดจากการ
กระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ (-)
aer สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นกวาง
(-)
w สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางซึ่งเกิดจากการ
ดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา (-)
g สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางของกาซ (-)
o สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางของโอโซน (-)

151
152

aer,  ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น  (-)


 w สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา (-)
o ความลึกเชิงแสงที่ความยาวคลื่น  ของโอโซน (-)
 o สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของโอโซน (-)
 g สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของกาซตางๆ (-)

152
153

เอกสารอางอิง

กุลนิษ ฐ ชิ ว ปรี ชา, เสริ ม จั นทรฉ าย, 2553. การศึ ก ษาปริม าณโอโซนในบรรยากาศของ
ประเทศไทย เอกสารการประชุมวิชาการ ศิลปากรวิจัย ครั้งที่ 3, 28-29 มกราคม พ.ศ.
2553 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม.
รุงนภา รสภิรมย, เสริม จันทรฉาย, 2553. การกระจายตามพื้นที่ของปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ
ในประเทศไทย เอกสารการประชุมวิชาการศิลปากรวิจัย ครั้งที่ 3, 28-29 มกราคม พ.ศ.
2553 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม.
เสริม จันทรฉาย, สุมามาลย บรรเทิง, สมเจตน ภัทรพานิชชัย, รุงรัตน วัดตาล, 2560. การศึกษา
โอโซนในบรรยากาศของประเทศ. รายงานวิจัย, สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย
ศิลปากร.
เสริม จันทรฉาย, สุมามาลย บรรเทิง, สมเจตน ภัทรพานิชชัย, อิสระ มะศิริ, 2559. การศึกษา
เมฆในประเทศไทย. รายงานวิจัย, สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เสริ ม จั น ทร ฉ าย, อิ ส ระ มะศิ ริ , ตรี นุ ช จั น ทราช, 2553. การศึ ก ษาผลของฝุ น ละอองใน
บรรยากาศตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย รายงานวิจัย สํานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กรุงเทพฯ.
Andrews, D.G., 2010. An Introduction to Atmospheric Physics, Cambridge University Press,
Cambridge.
Angstrom, A., 1929. On the atmospheric transmission of sun radiation and on dust in the air.
Geografis. Annal. 2, 156-166.
Cole, R. J., 1976. Direct solar radiation data as input into mathematical models describing the
thermal performance of buildings – II. Development of relationships, Buildings and
Environment 11, 181-186.
Dubovik, D., Smirnov, A., Holben, B.N., King, M.D., Kaufman, Y.J., Eck, T.F., Slusker, I.,
2000. Accuracy assessments of aerosol optical properties retrieved from Aerosol
Robotic Network (AERONET) sun and sky radiance measurements. Journal of
Geophysical Research 105, 9791-9806.

153
154

Evans, D., 2008. Operations Handbook-Ozone Observation with a Dobson Spectrophotometer,


World Meteorological Organization: Global Atmospheric Watch (GAW), Geneva,
Switzerland.
Frederick, J.E., 2008. Principle of Atmospheric Science, Jones and Barlett Publishers,
London.
Holben, B.N., Eck, T.F., Slutsker, I., Tanré, D., Buis, J.P., Setzer, A., 1998. AERONET-a
federated instrument network and data archive for aerosol characterization. Remote
Sensing of Environment 66, 1-16.
Iqbal, M., 1983. An Introduction of Solar Radiation, Academic Press, New York.
Janjai, S., Kumharn, W., Laksanaboonsong, J., 2003. Determination of Angstrom’s turbidity
coefficient over Thailand. Renewable Energy 28, 1685-1700.
Janjai, S., Laksanaboonsong, J., Nunez, M., Thongsathitya, A., 2005. Development of a
method for generating operational solar radiation maps from satellite data for a tropical
environment. Solar Energy 78, 739-751.
Janjai, S., Masiri, I., Buntoung, S., Wattan, R., 2013a. An investigation of aerosol optical
depth over Thailand using data from geostationary satellite data. Proceedings of the
Conference on Frontier in Nonlinear Physics, Nychny Nokorov, Russia, 31 July-2
August, 2013.
Janjai, S., Masiri, I., Pattarapanitchai, S., Laksaboonsong, J., 2013b. Mapping global solar
radiation from long-term satellite data in the tropics using an improved model.
International Journal of Photoenergy 2013, 1-11.
Janjai, S., Nunez, M., Masiri, I., Wattan, R., Buntoung, S., Jantarach, T., Promsen, W., 2012.
Aerosol optical properties at four sites in Thailand. Atmospheric and Climate Sciences
2, 441-453.
Janjai, S., Suntaropas, S., Nunez, M., 2009. Investigation of aerosol optical properties in
Bangkok and Suburbs. Theoretical and Applied Climatology 96, 221-233.

154
155

Janjai, S., Buntoung, S., Nunez, M., Chiwpreecha, K., Pattharapanitchai, S., 2016.
Meteorological factors affecting lower tropospheric ozone mixing ratios in Bangkok,
Thailand. Journal of Atmospheric and Solar-Terrestrial Physics 147, 76–89.
Jantarach, T., Masiri, I., Janjai, S., 2012. Comparison of MODIS aerosol optical depth
retrievals with ground-based measurements in the tropics. Procedia Engineering,
32392-32398.
Kasten, F., 1966. A new table and approximate formula for relative optical air mass. Archives
of Meteorology, Geophysics, and Bioklimatology, Ser. B 14, 206-223.
King, M.D., Byrne, D.M., 1976. A method for inferring total ozone content from the spectral
variation of total optical depth obtained with a solar radiometer. Journal of the
Atmospheric Science 33, 2242-2251.
Kondratyev, K.Y., 1999. Climate Effects of Aerosols and Clouds. Springer, Berlin.
Lacis, A.A., Hansen, J.E., 1974. A parameterization for the absorption of solar radiation in
the earth’s atmosphere. Journal of Atmospheric Science 31, 118-132.
Leckner, B., 1978. The spectral distribution of solar radiation at the earth’s surface elements
of the model. Solar Energy 20(2), 143-150.
Louche, A., Maurel M., Simonnot G., Peri G., Iqbal M., 1987. Determination of Angstrom’s
turbidity coefficient from direct total solar irradiance measurements. Solar Energy 38,
89-86.
Lunde, P.J., 1980. Solar Thermal Engineering. Wiley, New York.
McClatchey, R.A., Selby, J.E., 1972. Atmospheric transmittance from 0.25 to 38.5:
computer code LOWTRAN-2 Air Force Cambridge Research Laboratories. AFCRL-
70-0745, Environment Research. Paper 427.
Mächler, M., 1983. Parameterization of solar irradiation under clear skies. M.A.Sc.Thesis,
University of British Columbia, Vancouver, Canada.
NASA, U.S., 1976. Standard Atmosphere 1976, Report number NASA-TM-X-74336,
National Aeronautics and Space Administration, USA.

155
156

Petty, G.W., 2004. A First Course in Atmospheric Radiation, Madison, Sudog Publishing,
Wisconsin.
Pierrehumbert, C.L., 1972. Precipitable water statistics; Australian monthly statistics of
precipitable water between surface and 400 mb and at 2300 GMT, 1958-1969.
Technical Report of Australian Burean of Meteorology, Melbourn, Australia.
Paltridge, G.W., Platt, C.M.R., 1976. Radiative Processes in Meteorology and Climatology.
Elsevier Scientific Publishing Company, New York.
Saha, K., 2008. The Earth’s Atmosphere: Its Physics and Dynamics. Springer, Berlin.
Smith, W., 1966. Note on the relationship between total precipitable water and surface dew
point. Journal of Applied Meteorology 5, 726 -727.
Tanskanen, A., 2008. Modeling of surface UV Radiation using satellite data, Technical report
No.70. Finish Meteorological Institute, Helsinki, Finland.
Wallace, J.M., Hobbs, P.V., 1977. Atmospheric Science. An Introduction, Academic Press,
London.
Vigroux, E., 1953. Contribution à l’étude expérimentale de l’absorption de l’ozone. Annale
de Physiques 8, 709 – 762.

156
สวนที่ 2
รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง
พลั ง งานของรั ง สีอ าทิ ตย สว นใหญจ ะอยูใ นช ว งความยาวคลื่ น 0.3-3.0 ไมครอน
โดยทั่วไปจะเรียกรังสีนี้วา รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง ความรูเกี่ยวกับรังสีอาทิตย
ในชวงความยาวคลื่นกวางจะใชประโยชนในงานดานพลังงานรังสีอาทิตย การศึกษาสภาวะ
ของบรรยากาศและอุตุนิยมวิทยา โดยเนื้อหาของสวนที่ 2 จะเนนความรูเกี่ยวกับรังสีอาทิตย
สําหรับงานดานพลังงานรังสีอาทิตยซึ่งเปนจุดประสงคหลักของตํารานี้
สวนที่ 2 ของตํารานี้จะประกอบดวย 7 บทตอเนื่องจากบทตางๆ ในสวนที่ 1 โดย
บทที่ 4 จะกลาวถึงรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก บทที่ 5 จะอธิบายเรื่องราวของรังสีอาทิตย
ที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ บทที่ 6 จะกลาวถึงการคํานวณรังสีอาทิตยในสภาพ
ทองฟาทั่วไปโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม บทที่ 7 เปนเรื่องราวของการคํานวณรังสีอาทิตย
จากขอมูลอุตุนิยมวิทยา บทที่ 8 จะกลาวถึงการคํานวณรังสีอาทิตยโดยการใชโครงขายประสาท
เทียม บทที่ 9 จะอธิบายเกี่ยวกับการวัดรังสีอาทิตย และบทที่ 10 จะกลาวถึงการประยุกตใช
ขอมูลรังสีอาทิตยในงานดานพลังงานรังสีอาทิตย

157
158
บทที่ 4
รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก

คาความเขมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (extraterrestrial solar radiation) เป น


ข อ มู ล สํ า คั ญ สํ า หรั บ การออกแบบเซลล สุ ริ ย ะ เพื่ อ ใช ใ นดาวเที ย มและยานอวกาศต า งๆ
นอกจากนี้ยังเปนขอมูลพื้นฐานในการคํานวณรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก ในบทนี้จะกลาวถึง
สเปกตรั ม รั ง สี อ าทิ ต ย (solar spectrum) นอกบรรยากาศโลก ค า คงตั ว รั ง สี อ าทิ ต ย (solar
constant) การหาคารังสีอาทิตยบนระนาบตางๆ นอกบรรยากาศโลก และแฟคเตอรสําหรับใช
แปลงคารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบเอียง

4.1 สเปกตรัมของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
รังสีที่แผออกมาจากดวงอาทิตยเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาซึ่งมีความยาวคลื่นตางๆ ตั้งแต
รังสีแกมมาจนถึงคลื่นวิทยุ โดยแตละความยาวคลื่นมีความเขมแตกตางกัน สเปกตรัมรังสี
อาทิตยหมายถึง ความเขมของรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นตางๆ ซึ่งสามารถแสดงในรูปกราฟ
หรือตาราง เนื่องจากเซลลสุริยะและวัสดุที่ใชเปนผนังชั้นนอกของยานอวกาศมีการตอบสนอง
ตอรังสีดวงอาทิตยที่ความยาวคลื่นตางๆ ไมเทากัน ดังนั้นขอมูลสเปกตรัมรังสีอาทิตยจึงมี
ความสําคั ญต อ การออกแบบเซลลสุ ริย ะและวัสดุ ที่ ใ ชเ ปน ผนั ง ของยานอวกาศ นอกจากนี้
สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศยังใชเปนขอมูลสําหรับคํานวณสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่
พื้นผิวโลก จากความสําคัญดังกลาวในชวง 100 ป ที่ผานมานักวิทยาศาสตรจึงไดพยายามหา
สเปกตรัมของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก โดยในชวงแรกจะใชอุปกรณวัดสเปกตรัมรังสี
อาทิตยที่พื้นดิน แลวทําการคํานวณยอนกลับขึ้นไปนอกบรรยากาศของโลก ผลที่ไดมีความ
คลาดเคลื่อนคอนขางมากอันสืบเนื่องมาจากเครื่องมือที่ใชมีสมรรถนะต่ํา
ในช ว งป ค.ศ. 1968-1971 องค ก ารนาซาได ทํ า การหาสเปกตรั ม รั ง สี อ าทิ ต ย น อก
บรรยากาศโลก โดยติดตั้งอุปกรณวัดสเปกตรัมในเครื่องบินที่บินระดับสูง ตอมาเทกีคารา
(Thekaekara, 1973) ได นํ า ข อ มู ล ที่ ไ ด ม าทํ า การวิ เ คราะห และตี พิ ม พ เ ผยแพร โดยในป
ค.ศ. 1973 สมาคมการทดสอบและวัสดุของสหรัฐอเมริกา (American Society for Testing and

159
160

Meterials, ASTM) ได ป ระกาศยอมรั บ สเปกตรั ม ดั ง กล า วเป น สเปกตรั ม มาตรฐาน และมี
ผูนํามาใชงานเกือบ 1 ทศวรรษ
ตอมาฟรือลิคและบรูซา ( Fröhlich and Brusa, 1981) นักวิจัยของศูนยรังสีโลก (World
Radiation Center, WRC) ไดรวบรวมและคัดเลือกขอมูลสเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศ
โลกจากรายงานของนักวิจัยตางๆ ที่สําคัญไดแก ขอมูลของเนเคลและแลบส (Neckel and Labs,
1981) จากนั้นไดทําการปรับระดับสเกลใหไดตามเกณฑของศูนยรังสีโลก เพื่อใหไดคาคงตัว
รังสีอาทิตย เทากับ 1,367 วัตตตอตารางเมตร ซึ่งยอมรับกันในขณะนั้น และเรียกสเปกตรัม
ดังกลาววาสเปกตรัมของศูนยรังสีโลก (WRC spectrum) โดยในป ค.ศ. 1981 คณะกรรมการ
ดานเครื่องมือและวิธีการวัดขององคการอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization,
WMO) ไดยอมรับสเปกตรัมดังกลาว
หลังจากนั้นเนเคลและแลบส (Neckel and Labs, 1984) ไดตีพิมพเผยแพรสเปกตรัม
รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกชุดใหม ซึ่งมีชวงความยาวคลื่นระหวาง 0.3 -12.5 ไมครอน โดย
ผลรวมพลังงานที่ความยาวคลื่นตางๆ จากสเปกตรัมดังกลาวจะไดคาคงตัวรังสีอาทิตยเทากับ
1,365 วัตตตอตารางเมตร
สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกของศูนยรังสีโลกไดรับการปรับปรุงอีกครั้ง
โดยใชขอมูลใหมท่ไี ดจากเครื่องวัดสเปกตรัมที่ติดตั้งในบัลลูนและจรวด และทําการปรับสเกล
ใหสอดคลองกับสเกลมาตรฐานสากลของการวัดรังสีอาทิตย โดยผลรวมของพลังงานที่แตละ
ความยาวคลื่นจากสเปกตรัมนี้จะไดคาคงตัวรังสีอาทิตยเทากับ 1,367 วัตตตอตารางเมตร เวรลิ
(Wehrli, 1985) ไดตีพิมพเผยแพรสเปกตรัมนี้ในป ค.ศ. 1985 สเปกตรัมดังกลาวเรียกกันทั่วไป
วาสเปกตรัมของเวรลิ (Wehrli spectrum) สเปกตรัมชุดนี้มีผูนําไปใชงานอยางกวางขวาง
ในช ว งทศวรรษที่ 1990 มี ก ารวั ด โดยติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ วั ด สเปกตรั ม รั ง สี อ าทิ ต ย บ น
ดาวเที ย มและยานอวกาศมากขึ้ น โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การวั ด ในช ว งความยาวคลื่ น รั ง สี
อัลตราไวโอเลต และรั งสีอินฟราเรดซึ่ ง ทํ าได ยากที่พื้น ผิวโลก ดัง นั้นจึง ได มีการนําขอมู ล
สเปกตรั ม ที่ ไ ด จ ากยานอวกาศมาประกอบกั บ ข อ มู ล จากเครื่ อ งบิ น จรวด และจากการ
สังเกตการณในระดับสูง โดยผลรวมของพลังงานที่ความยาวคลื่นตางๆ จากสเปกตรัมที่ไดจะ
ไดคาคงตัวรังสีอาทิตยเทากับ 1,366.1 วัตตตอตารางเมตร ตอมาสมาคมการทดสอบและวัสดุ
ของสหรัฐอเมริกาไดประกาศใหเปนสเปกตรัมมาตรฐานในป ค.ศ. 2000 ซึ่งเรียกกันทั่วไปวา

160
161

สเปกตรัม ASTM E-490 (ASTM, 2000) ถึงแมวาหลังจากนั้นจะมีผูเสนอสเปกตรัมชุดใหมอีก


(Ricchiazzi et al., 1998; Gueymard, 2004) และมีอุปกรณใหมที่ทําการวัดสเปกตรัมรังสีอาทิตย
ในอวกาศ แตงานเหลานี้ยังไมมีการยอมรับหรือประกาศเปนมาตรฐานจากหนวยงานที่เกี่ยวของ
ดังนั้นในปจ จุบัน นักวิจั ยสวนใหญยังคงอางอิงสเปกตรัม ASTM E-490 สเปกตรัมดังกลาว
สามารถแสดงบางสวนไดดังกราฟในรูปที่ 4.1 สําหรับสเปกตรัมทุกความยาวคลื่นสามารถหา
ไดที่เว็บไซต http://rredc.nrel.gov/solar/spectra/am1.5/
2,500
(W m m )
-1
irradianceอไมครอน)
-2

2,000

1,500
ตตตอตารางเมตรต

1,000
Solar(วัspectral

500
I

0
0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0
 (ไมครอน)
Wavelength (m)

รูปที่ 4.1 สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกของสมาคมการทดสอบและวัสดุของ


สหรัฐอเมริกา ตามมาตรฐาน ASTM E-490 เมื่อ I คือความเขมรังสีอาทิตย และ 
คือความยาวคลื่น (กราฟเขียนจากขอมูลของ ASTM (2000))

4.2 คาคงตัวรังสีอาทิตย (solar constant)


พลังงานของรังสีอาทิตยรวมทุกความยาวคลื่นที่ตกกระทบตั้งฉากกับพื้นที่ 1 หนวยตอ
1 หนวยเวลาที่ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย (1.495 x 1011 เมตร) นอกบรรยากาศ
โลก จะเรียกวาคาคงตัวรังสีอาทิตย (solar constant, Isc )
เนื่องจากคาคงตัวรังสีอาทิตยมีความสําคัญตอการคํานวณพลังงานของรังสีอาทิตยที่แผ
จากดวงอาทิตยทั้งหมด และการหาคาความเขมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก ดังนั้นนักวิทยาศาสตร
จึงพยายามหาคาดังกลาวมาตั้งแตปลายศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตรคนแรกที่เสนอวิธีหาคา

161
162

คงตัวรังสีอาทิตยคือ แลงลีย (Langley) เขาเสนอใหใชการวัดคารังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกและ


คํานวณแกผลการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศโลก เพื่อหาคารังสีอาทิตย
นอกบรรยากาศโลก (Robinson, 1966) ตอมาแอบบอต (Abbot) และคณะจากสถาบันสมิตโซเนียน
(Smithsonian Institute) ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าได ใ ช วิ ธี ดั ง กล า วหาค า คงตั ว รั ง สี อ าทิ ต ย ซึ่ ง
ไดคาเทากับ 1,322 วัตตตอตารางเมตร ตอมาไดมีการวัดคาคงตัวรังสีอาทิตยโดยติดตั้งเครื่องวัด
ในบัลลูน เครื่องบิน จรวด ดาวเทียม และยานอวกาศ ขอมูลที่ไดแสดงใหเห็นวาคาคงตัวรังสี
อาทิตยมีการเปลี่ยนแปลงตามวัฏจักรของดวงอาทิตย (solar cycle) ซึ่งมีคาบประมาณ 11 ป ดังนั้น
จึงเรียกคาพลังงานของรังสีอาทิตยรวมทุกความยาวคลื่นที่ตกกระทบตั้งฉากกับพื้นที่ 1 หนวยตอ
1 หนวยเวลานอกบรรยากาศโลกที่ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตยวา “รังสีอาทิตย
ทั้งหมด (Total Solar Irradiance หรือ TSI)” และเรียกคาเฉลี่ยระยะยาวของ TSI วาคาคงตัวรังสี
อาทิตย ถึงแมจะมีการวัดคา TSI ดวยอุปกรณวัดที่ติดตั้งในดาวเทียมและยานอวกาศตางๆ มาตั้งแต
ค.ศ. 1978 ก็ตาม แตผลที่ไดมักสอดคลองกันเฉพาะในดานของลักษณะการแปรคาตามวัฏจักรของ
ดวงอาทิตยเทานั้น กลาวคือ มีการเพิ่มขึ้นและลดลงตามกัน แตจะมีคาที่ขณะเวลาหนึ่งแตกตางกัน
ทั้งนี้เนื่องมาจากการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือวัดและการใชสเกลรังสีอาทิตยที่แตกตางกัน
ดังนั้นศูนยรังสีโลกจึงไดนําขอมูลที่ไดจากเครื่องวัดเหลานี้มาปรับสเกลใหเปนมาตรฐานเดียวกัน
ผลที่ไดแสดงดังรูปที่ 4.2

1369
TSI (วัตตตอตารางเมตร)

1368
1367
1366 TSI
1365
1364
S
1363

รูปที่ 4.2 การแปรคาของรังสีอาทิตยทั้งหมด (TSI) และตัวเลขจุดมืด (S) ระหวางป ค.ศ. 1978-


2005 (ดัดแปลงจาก Lang, 2006)

162
163

จากรูปที่ 4.2 จะเห็นวาคา TSI ในชวงป ค.ศ. 1978 ถึง 2005 มีการแปรคาเปนวัฏจักร
ตามการเปลี่ยนแปลงตัวเลขจุดมืด (sunspot number) โดย TSI มีคาเฉลี่ยเทากับ 1,366.1 วัตตตอ
ตารางเมตร สมาคมการทดสอบและวัสดุของสหรัฐอเมริกาไดยอมรับคาดังกลาวเปนคาคงตัว
รังสีอาทิตยมาตรฐาน และมีการนําไปใชงานทั่วไปในปจจุบัน ในตํารานี้จะใชคานี้ในการคํานวณ
รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศและพื้นผิวโลก

4.3 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับ
4.3.1 รังสีอาทิตยรายชั่วโมง
ปริมาณรังสีอาทิตยที่ขณะเวลาหนึ่ง (solar irradiance) นอกบรรยากาศโลกที่ตกกระทบ
บนระนาบซึ่งตั้งฉากกับทิศทางของรังสีอาทิตย จะขึ้นกับระยะหางระหวางโลกกับดวงอาทิตย
ตามสมการ

I  I (r / r ) 2
on sc 0

หรือ I  I E
on sc o (4.1)

เมื่อ I on คือ รังสีอาทิตยที่ขณะเวลาหนึ่งซึ่งตกกระทบระนาบที่ตงั้ ฉากกับทิศทางของรังสี


(วัตตตอตารางเมตร)
I
SC คือ คาคงตัวรังสีอาทิตย (1,366.1 วัตตตอตารางเมตร)
ro คือ ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย (1.496x108 กิโลเมตร)
r คือ ระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตยที่เวลาใดๆ (กิโลเมตร)
E o คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย (-)

กรณีระนาบในแนวระดับ รังสีอาทิตยที่ตกกระทบขณะเวลาหนึ่งบนระนาบดังกลาวจะ
เขียนไดดังสมการ
I  I E cos 
o sc o z (4.2)

163
164

I
o

I ระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีอาทิตย
on
Z
ระนาบในแนวระดับ

บรรยากาศโลก
พื้นผิวโลก

รูปที่ 4.3 รังสีอาทิตยที่ตกกระทบบนระนาบในแนวระดับ ( I o ) และบนระนาบที่ตั้งฉากกับ


ทิศทางของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก ( Ion ) เมื่อ  z คือ มุมเซนิธของดวง
อาทิตย

แทน cos z จากสมการ (2.21) ในสมการ (4.2) จะได


I  I E (sin  sin   cos  cos  cos )
o sc o (4.3)

กรณีที่เราตองการหาปริมาณของรังสีอาทิตย dIo ที่ตกกระทบในชวงเวลา dt เรา


สามารถเขียนสมการ (4.2) ใหมในรูปสมการ

dIo  Isc E o cos z dt (4.4)

เมื่อ dt เปนชวงเวลาซึ่งมีหนวยเปนชั่วโมง และ Isc เปนคาคงตัวรังสีอาทิตยโดยคิดปริมาณ


พลังงานในชวงเวลา 1 ชั่วโมง (4,917.96 x 103 จูลตอตารางเมตร) จากสมการ (4.4) จะเห็นวา
cos z ขึ้นกับมุมชั่วโมง (  ) เพื่อความสะดวกในการหา Io เราจะแปลง dt ใหอยูในรูปของ
d โดยอาศั ย ความจริ ง ที่ ว า เมื่ อ โลกหมุ น ครบรอบ ซึ่ ง ใช เ วลา 24 ชั่ ว โมง มุ ม ชั่ ว โมงจะ
เปลี่ยนไป 2 เรเดียน หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้
d 2
 (4.5)
dt 24
12
หรือ dt  ( )d (4.6)

164
165

เมื่อแทน dt จากสมการ (4.6) และแทน cos z จากสมการ (2.21) ในสมการ (4.4) จะได
12
dI o  ( )Isc E o (sin  sin   cos  cos  cos )d (4.7)

ค า พลั ง งานของรั ง สี อ าทิ ตย ใ นช ว งเวลา 1 ชั่ ว โมง จะหาได โ ดยการอิ น ทิ เ กรต dIo
ในชวงเวลา 1 ชั่วโมงดังสมการ
i  
12 24
Io  ( )Isc E o  (sin  sin   cos  cos  cos )d (4.8)
   i 24

โดย i เปนมุมชั่วโมงที่กึ่งกลางชั่วโมงนั้น ผลจากการอินทิเกรตจะได


24 
Io  Isc E o [sin  sin   ( ) sin( ) cos  cos  cos i ] (4.9)
 24
24 
เนื่องจาก ( ) sin( ) = 0.9972  1
 24

ดังนั้นสมการ (4.9) จึงเขียนไดดังนี้

Io  Isc E o (sin  sin   cos  cos  cos i ) (4.10)

อาศัยสมการ (2.35) และแทน sr ดวย ss เราสามารถเขียนสมการ (4.10) ในรูปใหม


ไดดังนี้

I o  Isc E o [cos  cos (cos i  cos ss )] (4.11)

ในการคํานวณคารังสีอาทิตยรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับนอกบรรยากาศโลก
อาจใช ส มการ (4.10) หรื อ สมการ (4.11) แทนการใช ส มการ (4.9) ได โดยจะมี ค วาม
คลาดเคลื่อนประมาณ 0.3%
กรณีที่ตองการหาคารังสีอาทิตยในชวงเวลาที่นอยหรือมากกวา 1 ชั่วโมง กลาวคือ
ในชวงเวลาระหวางที่ดวงอาทิตยมีคามุมชั่วโมง 1 และ 2 เราสามารถหาสมการสําหรับ
คํานวณคารังสีดังกลาว โดยการอินทิเกรตสมการ (4.7) ตั้งแต 1 ถึง 2 ดังนี้

165
166

2
12
Io  Isc E o  (sin  sin   cos  cos  cos )d (4.12)
 1
2 2
12
 Isc E o [  sin  sin d   cos  cos  cos d]
  
1 1
12
 Isc E o [sin  sin (2  1 )  cos  cos (sin 2  sin 1 )]

หรือ I o  12 I sc E o [  (2  1 ) sin  sin   cos  cos (sin 2  sin 1 )] (4.13)
 180
( 1 และ  2 ในสมการ (4.13) มีหนวยเปนองศา โดยแฟคเตอร  180 ใชแปลงหนวยของ 1
และ  2 ใหเปนเรเดียน)

ถาตองการคารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน ( Io ) เราจะนําคา
Io ของชั่วโมงเดียวกันตั้งแตวันแรกจนถึงวันสุดทายของเดือนมารวมกันแลวหารดวยจํานวนวัน
ทั้งหมดของเดือนนั้น หรือ
1 N
Io   Ioi (4.14)
N i 1

เมื่อ Ioi เปนคารังสีอาทิตยรายชัว่ โมงนอกบรรยากาศโลกของวันที่ i และ N เปนจํานวนวันของ


เดือนที่ตองการคํานวณ

ในการหาคารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน อาจจะใชคารังสี
รายชั่วโมงของวันที่เปนตัวแทนของเดือนนั้นๆ แทนได โดยวันที่เปนตัวแทนของเดือนจะแสดง
ไวในตารางที่ 4.1

166
167

ตารางที่ 4.1 วันที่เปนตัวแทนของแตละเดือน (ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)

วันที่เปนตัวแทน
เดคลิเนชัน
เดือน ลําดับวันในรอบปเริ่ม
วันที่ (องศา)
ตั้งแตวนั ที่ 1 มกราคม
มกราคม 17 17 -20.84
กุมภาพันธ 14 45 -13.32
มีนาคม 15 74 -2.40
เมษายน 15 105 9.64
พฤษภาคม 15 135 18.78
มิถุนายน 10 161 23.04
กรกฎาคม 18 199 21.11
สิงหาคม 18 230 13.28
กันยายน 18 261 1.97
ตุลาคม 19 292 -9.84
พฤศจิกายน 18 322 -19.02
ธันวาคม 13 347 -23.12

ตัวอยางของคารังสีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนนอกบรรยากาศโลก ( Io ) ที่กรุงเทพฯ ซึ่ง


อยูที่พิกัด 13.75 N, 100.51 E และที่เมืองทรอนไฮม (Trondheim) ประเทศนอรเวย ซึ่งอยูที่
พิ กั ด 63.42 N, 10.39 E ในเดื อ นธั น วาคม แสดงไว ใ นรู ป ที่ 4.4 จากรู ป จะเห็ น ว า รั ง สี
นอกบรรยากาศที่กรุงเทพฯ มีคาสูงกวาที่เมืองทรอนไฮมมาก ทั้งนี้เพราะกรุงเทพฯ ตั้งอยูใกล
เสนศูนยสูตร ขณะที่เมืองทรอนไฮมอยูใกลขั้วโลกเหนือ

167
168

5.0
4.5
เมืองทรอนไฮม
I0 (เมกะจูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)

4.0
กรุงเทพฯ
3.5

3.0

2.5

2.0
1.5

1.0

0.5

0.0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
เวลา (ชั่วโมง)

รูปที่ 4.4 การแปรคาของรังสีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน ( Io ) นอกบรรยากาศโลกของเดือน


ธันวาคมที่กรุงเทพฯ (13.75 N, 100.51 E) และที่เมืองทรอนไฮม (63.42 N, 10.39 E)
ประเทศนอรเวย

ตัวอยาง 4.1 จงคํานวณคารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมง ณ สถานีอตุ ุนิยมวิทยา


สุรินทร ซึ่งอยูที่พิกัด 14.88 N, 103.50 E ในวันที่ 16 ตุลาคม ระหวางชวงเวลา 11.00-12.00
นาฬิกา ตามเวลาดวงอาทิตย

วิธีทํา
วันที่ 16 ตุลาคม d n = 289
จาก E o  1  0.033 cos[360d n / 365]
 1  0.033 cos[360  289 / 365]
 1.0085638
 360(d n  284) 
จาก   23.45 sin  
 365
 360(289  284) 
 23.45 sin  
 365

168
169

 9.96626 องศา
ชวงเวลาระหวาง 11.00-12.00 นาฬิกา ตามเวลาดวงอาทิตย จะไดวา i = (15+0)/2 = 7.5 องศา
จาก I o  Isc E o (sin  sin   cos  cos  cos i )
 4917.96  103 x1.0085638 [sin(-9.96626) sin(14.88)
 cos(-9.96626) cos(14.88) cos(7.5)]
 4.46  106 จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง

4.3.2 รังสีอาทิตยรายวัน
คารังสีอาทิตยรายวันจะไดจากการอินทิเกรตสมการ (4.4) ตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึง
ดวงอาทิตยตก หรือ
t ss
H o   I o dt (4.15)
t sr

เมื่อ Ho คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตาราง


เมตรตอวัน)
Io คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอ
ตารางเมตรตอชั่วโมง)
t คือ เวลา (ชั่วโมง)
t sr คือ เวลาที่ดวงอาทิตยขึ้น (นาฬิกา)
t ss คือ เวลาที่ดวงอาทิตยตก (นาฬิกา)

ถาเราตั้งสมมติฐานวา Eo ในชวงเวลา 1 วันคงที่ และเปลีย่ นตัวแปร dt ใหเปน d


เราจะไดผลการอินทิเกรต ดังนี้
24 
Ho  Isc E o [ ss (sin  sin   cos  cos  sin ss )] (4.16)
 180

เมื่อ ss คือ มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตก (องศา)


I sc คือ คาคงตัวรังสีอาทิตยกรณีรายชัว่ โมง (4,917.96 x 103 จูลตอตารางเมตร)

169
170

อาศัยสมการ (2.35) และแทน sr ดวย ss เราสามารถเขียนสมการ (4.16) ไดอีกรูป


หนึ่ง ดังนี้

24 
Ho  Isc E o cos  cos (sin ss  ss cos ss ) (4.17)
 180

กรณีที่ศูนยสูตร (   0, ss  90 องศา) จากสมการ (4.17) เราจะไดวา


24
Ho  Isc E o cos  (4.18)

ในงานดานพลังงานรังสีอาทิตยบางอยาง เราตองการคารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
รายวันเฉลี่ยตอเดือน ( Ho ) ซึ่งสามารถหาไดจากสมการ
1 N
Ho   H o ,i
N i 1
(4.19)

เมื่อ H o ,i คือ รังสีรายวันของวันที่ i


N คือ จํานวนวันในเดือนที่ตองการคํานวณคา H o

ทํานองเดียวกับกรณีของรังสีรายชั่วโมง คา Ho สามารถหาไดจากคารังสีรายวัน Ho


โดยใชคาเดคลิเนชันของวันที่เปนตัวแทนของเดือน ตามตารางที่ 4.1
ค า Ho ที่ ละติ จู ดต างๆ แสดงไว ในตารางที่ 4.2 และ 4.3 สํ าหรั บกรณี ประเทศไทย
การแปรคาของ Ho ที่ตําแหนงศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม (18.78 N, 98.98 E)
ศู น ย อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี (15.25 N, 104.87 E)
ศู น ย อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาภาคใต ฝ ง ตะวั น ออก จั ง หวั ด สงขลา (7.20 N, 100.60 E) และที่
กรมอุตุนิยมวิทยา กรุงเทพฯ (13.70 N, 100.57 E) แสดงไวในกราฟรูปที่ 4.5

170
171

ตารางที่ 4.2 คารังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( Ho ) นอกบรรยากาศโลกที่ละติจูดตางๆ ใน


ซีกโลกเหนือ

ละติจูด Ho (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
(องศา) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
0 36.32 37.53 37.90 36.75 34.78 33.50 33.89 35.56 37.07 37.34 36.47 35.74
5 34.31 36.22 37.58 37.47 36.28 35.35 35.59 36.62 37.19 36.43 34.69 33.55
10 32.09 34.65 36.98 37.92 37.54 36.97 37.05 37.43 37.03 35.24 32.68 31.16
15 29.66 32.83 36.10 38.08 38.54 38.37 38.27 37.96 36.60 33.80 30.46 28.58
20 27.05 30.77 34.94 37.97 39.29 39.53 39.24 38.23 35.88 32.10 28.03 25.84
25 24.28 28.51 33.53 37.58 39.77 40.44 39.97 38.22 34.90 30.17 25.44 22.96
30 21.39 26.04 31.85 36.92 40.00 41.11 40.44 37.95 33.65 28.02 22.69 19.97
35 18.40 23.41 29.94 35.98 39.97 41.54 40.67 37.41 32.15 25.67 19.81 16.92
40 15.34 20.62 27.80 34.80 39.70 41.74 40.66 36.63 30.40 23.14 16.85 13.82
45 12.26 17.71 25.46 33.36 39.19 41.73 40.44 35.60 28.43 20.45 13.83 10.74
50 9.21 14.72 22.92 31.70 38.48 41.56 40.03 34.35 26.25 17.63 10.79 7.73
55 6.27 11.68 20.22 29.84 37.61 41.28 39.48 32.91 23.87 14.70 7.81 4.88
60 3.54 8.64 17.37 27.80 36.65 41.00 38.90 31.31 21.33 11.70 4.96 2.34
65 1.24 5.68 14.39 25.62 35.74 41.00 38.47 29.64 18.63 8.68 2.39 0.40
70 0.08 2.94 11.33 23.39 35.32 42.15 38.90 28.04 15.82 5.71 0.54 0.0
75 0.0 0.87 8.23 21.29 35.90 43.33 39.96 27.00 12.93 2.95 0.0 0.0
80 0.0 0.05 5.16 19.96 36.60 44.18 40.74 26.92 10.08 0.94 0.0 0.0
85 0.0 0.0 2.55 19.61 37.02 44.69 41.21 27.22 7.75 0.07 0.0 0.0
90 0.0 0.0 1.49 19.68 37.17 44.86 41.37 27.32 6.74 0.0 0.0 0.0

171
172

ตารางที่ 4.3 คารังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( Ho ) นอกบรรยากาศโลก ( Ho ) ที่ละติจูด


ตางๆ ในซีกโลกใต

ละติจูด Ho (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
(องศา) ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
0 36.32 37.53 37.90 36.75 34.78 33.50 33.89 35.56 37.07 37.34 36.47 35.74
5 38.09 38.58 37.93 35.76 33.04 31.44 31.98 34.24 36.66 37.98 38.00 37.71
10 39.61 39.34 37.68 34.50 31.08 29.19 29.87 32.68 35.98 38.34 39.27 39.43
15 40.87 39.83 37.14 32.99 28.92 26.76 27.57 30.89 35.03 38.42 40.28 40.91
20 41.86 40.03 36.31 31.24 26.58 24.18 25.10 28.88 33.81 38.21 41.01 42.14
25 42.59 39.94 35.22 29.27 24.07 21.48 22.49 26.68 32.34 37.72 41.47 43.10
30 43.04 39.57 33.85 27.08 21.42 18.68 19.76 24.29 30.62 36.95 41.66 43.80
35 43.24 38.92 32.23 24.70 18.66 15.81 16.94 21.75 28.68 35.91 41.58 44.25
40 43.18 38.01 30.37 22.15 15.81 12.91 14.07 19.07 26.52 34.62 41.24 44.45
45 42.89 36.84 28.28 19.45 12.91 10.02 11.19 16.28 24.16 33.07 40.66 44.44
50 42.39 35.45 25.98 16.63 10.02 7.20 8.34 13.42 21.62 31.03 39.87 44.24
55 41.75 33.84 23.49 13.72 7.17 4.53 5.60 10.53 18.92 29.32 38.90 43.92
60 41.05 32.07 20.83 10.75 4.47 2.15 3.07 7.66 16.09 27.16 37.83 43.61
65 40.50 30.20 18.02 7.79 2.06 0.35 0.98 4.88 13.15 24.86 36.79 43.59
70 40.78 28.36 15.09 4.90 0.40 0.0 0.03 2.37 10.14 22.49 36.21 44.79
75 41.84 27.00 12.09 2.29 0.0 0.0 0.0 0.61 7.09 20.19 36.67 46.04
80 42.66 26.69 9.10 0.58 0.0 0.0 0.0 0.02 4.12 18.53 37.38 46.94
85 43.15 26.95 6.53 0.01 0.0 0.0 0.0 0.0 1.72 17.86 37.81 47.48
90 43.32 27.06 5.49 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.69 17.86 37.96 47.66

172
173

50

45
H0 (เมกะจูล ตอ ตารางเมตรตอ วัน)
40

35

30

25
20 กรุงเทพฯ
เชียงใหม
15
สงขลา
10
อุบลราชธานี
5
0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือ น

รูปที่ 4.5 การแปรคาตามเวลาในรอบปของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน


ที่ ศู น ย อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาภาคเหนื อ จั ง หวั ด เชี ย งใหม ศู น ย อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคใตฝงตะวันออก
จังหวัดสงขลา และที่กรมอุตุนิยมวิทยากรุงเทพฯ (เสริม จันทรฉาย และคณะ, 2544)

4.4 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต
4.4.1 รังสีอาทิตยรายชั่วโมง
ในการหาสูตรสําหรับคํานวณคารังสีอาทิตยรายชั่วโมง เราจะเริ่มจากการคํานวณรังสี
อาทิตยที่ขณะเวลาหนึ่งที่ตกกระทบระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต ซึ่งทํามุม  กับระนาบใน
แนวระดับ (รูปที่ 4.6) โดยใชสมการ
I  I E cos 
o sc o (4.20)

เมื่อ  คือ มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบเอียง (องศา)

173
174

I
o

I E 
sc o

รูปที่ 4.6 รังสีอาทิตยบนระนาบเอียงทีห่ ันไปทางทิศใต

จากสมการ (4.20) เราสามารถเขียนสมการดังกลาวในรูปของปริมาณรังสีอาทิตยที่


ระนาบเอียงไดรับ dI o ในชวงเวลา dt ไดดังนี้

dIo  Isc E o cos dt


12
 Isc E o cos d (4.21)

จากนั้นทําการอินทิเกรตในชวงเวลา 1 ชั่วโมง ตั้งแตมุมชั่วโมงของดวงอาทิตย 1
จนถึง 2 จะไดรังสีรายชั่วโมง ( Io ) ตามสมการ

12 2

I o  I sc E o  cos d (4.22)


 1

แทน cos  จากสมการ (2.22) ในบทที่ 2 และทําการอินทิเกรตจะได

 24    
I o  I sc E o [sin  sin(  )    sin   cos  cos(  ) cos i ] (4.23)
    24 

เมื่อ i เปนมุมชั่วโมงของดวงอาทิตยที่กึ่งกลางชั่วโมงระหวาง 1 และ 2


เนื่องจาก  24  sin 
 สามารถประมาณคาเปน 1 ได ดังนั้นสมการ (4.23) จึง
   24 
เขียนไดดังนี้
Io  Isc E o [sin  sin(  )  cos  cos(  ) cos i ] (4.24)

174
175

4.4.2 รังสีอาทิตยรายวัน
สูตรสําหรับคํานวณรังสีอาทิตยรายวันบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต ( H o ) จะได
จากการอินทิเกรตสมการ (4.21) ตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึงดวงอาทิตยตก ซึ่งจะได
24 
H o  ( )Isc E o [( )sr sin  sin(  )  cos  cos(  ) sin sr ], sr  sr
 180
(4.25)
และ
24 
H o  ( )Isc E o [( )sr sin  sin(  )  cos  cos(  ) sin sr ], sr  sr
 180
(4.26)

เมื่อ sr คือ มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบในแนวระดับ (องศา)


sr คือ มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบเอียง (องศา)

เพื่อความสะดวกในการใชงานเราสามารถเขียนรวมสมการ (4.25) และ (4.26) ในรูป


สมการทั่วไปที่ใชไดทั้ง 2 กรณี ดังนี้
24 
H o  ( )I sc E o [( )sr sin  sin(  )  cos  cos(  ) sin sr ] (4.27)
 180

เมื่อ sr  min {sr , cos 1[ tan  tan(  )]} (4.28)
โดย min หมายถึงเลือกคาต่ําสุด เมื่อเปรียบเทียบระหวางคาของ 2 พจน ในวงเล็บมาเปนคาของ
sr

4.5 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ
4.5.1 รังสีอาทิตยรายชั่วโมง
ในการหาสูตรสําหรับคํานวณคารังสีอาทิตยรายชั่วโมงนอกบรรยากาศโลกบนระนาบ
เอียงที่หันไปทางทิศใดๆ ( Io ) จะดําเนินการเชนเดียวกับกรณีพื้นเอียงที่หันไปทางทิศใต
กลาวคือจะเริ่มจากสมการของรังสีที่ตกกระทบระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ dIo ในชวง
เวลา dt ซึ่งสามารถเขียนไดดังนี้

175
176

dIo  Isc E o cos dt


12
 Isc E o cos d (4.29)

เมื่ อ  เป น มุ ม ตกกระทบของรั ง สี อ าทิ ต ย บ นระนาบดั ง กล า ว จากนั้ น ทํ า การอิ น ทิ เ กรตใน


ชวงเวลา 1 ชั่วโมง จะได
2
12
I o  Isc E o  cos d (4.30)
 1

เมื่อแทน cos  จากสมการ (2.32) ในบทที่ 2 ในสมการ (4.30) และทําการอินทิเกรต จะได


I o  Isc E o [(sin  cos   cos  sin  cos  ) sin 
(4.31)
 (cos  cos   sin  sin  cos  ) cos  cos i  cos  sin  sin  sin i ]

เมื่อ i คือ มุมชั่วโมงของดวงอาทิตยที่กึ่งกลางชั่วโมงระหวาง 1 และ 2 (องศา)


 คือ มุมเอียงของระนาบ (องศา)
 คือ มุมอาซิมุธของระนาบเอียง (องศา)

4.5.2 รังสีอาทิตยรายวัน
รังสีอาทิตยรายวันนอกบรรยากาศโลกบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ ( H o ) จะ
หาไดจากการอินทิเกรตสมการ (4.29) จากมุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้น ( sr ) จนถึงมุมชั่วโมงที่
ดวงอาทิตยตก ( ss ) บนระนาบดังกลาว หรือ
ss
12
H o  Isc E o  cos d (4.32)
 sr

เมื่อแทน cos  จากสมการ (2.32) ในบทที่ 2 ในสมการ (4.32) แลวทําการอินทิเกรต จะได

176
177

12 
H o  Isc E o [cos  sin  sin  ss  sr 
 180

 sin  cos  sin  cos  ss  sr 
180
 cos  cos  cos  sin ss  sin sr (4.33)
 cos  cos  sin  sin  sin ss  sin sr
 cos  sin  sin  cos ss  cos sr ]

คาที่อยูในเครื่องหมาย จะเปนคาสัมบูรณ (absolute value)

4.6 แฟคเตอรสําหรับแปลงคารังสีนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับให
เปนคาบนระนาบเอียง
รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกที่ตกกระทบบนระนาบในแนวระดับ ( I o ) และรังสี
อาทิตยที่ตกกระทบบนระนาบเอียงที่หันไปในทิศใดๆ ( Io ) สามารถแสดงไดดังรูปที่ 4.7

I
on
I
o

z

ระนาบในแนวระดับ
ก)
I
on

 I
o
 ระนาบเอียง

ข)
รูปที่ 4.7 ก) รังสีอาทิตยที่ตกกระทบบนระนาบในแนวระดับ ( I o ) และ ข) รังสีอาทิตยที่ตก
กระทบบนระนาบเอียง ( Io )

177
178

จากรูปที่ 4.7 เราสามารถเขียนสมการสําหรับคํานวณคารังสีอาทิตยที่ตกกระทบบน


ระนาบในแนวระดับ ( I o ) และรังสีอาทิตยที่ตกกระทบบนระนาบเอียง ( Io ) จากคารังสี
อาทิตยที่อยูบนระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของรังสี ( I on ) ไดดังนี้

I  I cos 
o on z (4.34)

และ I  I cos 
o on (4.35)

เมื่อ z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)


 คือ มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบเอียง (องศา)

ถาหารสมการ (4.35) ดวยสมการ (4.34) จะได


I cos 
o
I
 (4.36)
o cos z

ถาให rb  Ior I


o เราจะเขียนสมการ (4.36) ใหมไดดังนี้
cos 
rb  (4.37)
cos z
จากสมการ (4.36) และ (4.37) เราสามารถเขียนความสัมพันธระหวางรังสีอาทิตยบน
ระนาบเอียงกับรังสีอาทิตยบนระนาบในแนวระดับไดดังนี้
I  r I
o b o (4.38)

จากสมการ (4.38) จะเห็นวาผลคูณระหวาง rb กับ Io จะเปนคา Io ดังนั้นจึงเรียก


rb วา เปนแฟคเตอรสําหรับแปลงคารังสีอาทิตยบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบเอียง
โดยสมการ (4.38) จะเปนกรณีของรังสีที่ขณะเวลาหนึ่ง (วัตตตอตารางเมตร) สําหรับกรณีของ
รังสีรายชั่วโมงเราจะใชสัญลักษณ rb แทน หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้
Io
rb  (4.39)
Io

เมื่อ Io คือ รังสีรายชั่วโมงบนระนาบเอียง (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)

178
179

Io คือ รังสีรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอ


ชั่วโมง)

ในทํานองเดียวกับ rb เราสามารถหาคา rb ไดจากสมการ


cos 
rb  (4.40)
cos  z

โดยใชคา  และ  z ที่เวลากึ่งกลางชั่วโมงที่ตองการคํานวณ เราสามารถนําแฟคเตอร rb ไปใช


ในการแปลงรังสีตรงที่พื้นผิวโลกได ซึ่งจะอธิบายในหัวขอ 10.2 ของบทที่ 10

4.7 สรุป
บทนี้กลาวถึงรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก โดยเริ่มจากการอธิบายความเปนมาของ
การหาสเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก โดยสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่ยอมรับกันใน
ปจ จุ บั น คื อ สเปกตรั ม ASTM E-490 ของสมาคมการทดสอบและวั ส ดุ ข องสหรั ฐ อเมริ ก า
จากนั้นไดอธิบายเรื่องราวเกี่ยวกับคาคงตัวรังสีอาทิตย ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมาหลายครั้งใน
อดีต โดยคาที่ยอมรับกันในปจจุบัน คือ 1,366.1 วัตตตอตารางเมตร หลังจากนั้นไดอธิบาย
วิธีการคํานวณรังสีรายชั่วโมงและรายวันบนระนาบในแนวระดับ บนระนาบเอียงที่หันไปทาง
ทิศใต และระนาบเอียงที่หันไปทิศทางใดๆ คารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกนี้จะใชเปนคา
อางอิงสําหรับการคํานวณรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก

179
180

แบบฝกหัด

1. ดาวเทียมดวงหนึ่งติดตั้งเซลลสุริยะ ซึ่งมีพื้นที่รับรังสีอาทิตย 10 ตารางเมตร โดยวางหันไป


ทางทิศใต และทํามุมเอียง 15 องศากับระนาบในแนวระดับ จงคํานวณปริมาณพลังงานของ
รังสีอาทิตยที่ดาวเทียมดวงนี้ไดรับในชวงเวลา 10 ถึง 11 นาฬิกา วันที่ 15 กันยายน ตาม
เวลามาตรฐานประเทศไทย ถาระหวางนั้นดาวเทียมอยูเหนือกรุงเทพฯ ที่พิกัด 13.70 N,
100.57 E
คําตอบ 44.8 เมกะจูล

2. จงคํานวณคารังสีอาทิตยรายวันบนระนาบในแนวระดับนอกบรรยากาศโลกซึ่งอยูเหนือ
มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร จั ง หวั ด นครปฐม ซึ่ ง อยู ที่ พิ กั ด 13.82 N, 100.04 E ในวั น ที่
15 กุมภาพันธ
คําตอบ 33.3 เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

3. จงคํานวณเปอรเซ็นตความแตกตางของคารังสีรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับที่กรุงเทพฯ
(13.70 N, 100.57 E) ในวันที่ 21 มิถุนายน ที่คํานวณ โดยใชคาคงตัวรังสีอาทิตยคาเกา
(1367 วัตตตอตารางเมตร) กับคาที่ยอมรับในปจจุบัน (1,366.1 วัตตตอตารางเมตร)
คําตอบ 0.077%

4. จงเขียนกราฟเปรียบเทียบการแปรคาตามเวลาในรอบปของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
รายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ นบนระนาบในแนวระดั บ ที่ ก รุ ง เทพฯ (13.70 N, 100.57 E) และ
เมืองสตอกโฮม (59.17 N, 18.30 E)

5. จงใหเหตุผลวาทําไมเซลลสุริยะที่ติดตั้งใชงานที่กรุงเทพฯ จึงควรวางทํามุมประมาณ 14 องศา


กับระนาบในแนวระดับและหันไปทางทิศใต

180
181

รายการสัญลักษณ

Eo แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย (-)
Ho รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H o รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต (จูลตอตาราง
เมตรตอวัน)
H o รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ (จูลตอ
ตารางเมตรตอวัน)
H0 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอ
ตารางเมตรตอวัน)
I
on รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกที่ขณะเวลาหนึ่งบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี
(วัตตตอตารางเมตร)
I on รั ง สี อ าทิ ต ย น อกบรรยากาศโลกรายชั่ ว โมงบนระนาบตั้ ง ฉากกั บ ทิ ศ ทางของรั ง สี
(จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I
o รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกที่ขณะเวลาหนึ่งบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต
(วัตตตอตารางเมตร)
I o รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต (จูลตอ
ตารางเมตรตอชั่วโมง)
I
o รังสี อาทิตยที่ขณะเวลาหนึ่งนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดั บ (วัต ตต อ
ตารางเมตร)
Io รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตร
ตอชั่วโมง)
I o รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใดๆ (จูลตอ
ตารางเมตรตอชั่วโมง)
I
SC คาคงตัวรังสีอาทิตยกรณีที่พิจารณาคาที่ขณะเวลาหนึ่ง (วัตตตอตารางเมตร)
I SC คาคงตัวรังสีอาทิตยกรณีที่พิจารณาคารายชั่วโมง (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)

181
182

Io รังสี อาทิตย นอกบรรยากาศโลกรายชั่ว โมงเฉลี่ย ต อ เดือ นบนระนาบในแนวระดั บ


(จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
ro ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย (เมตร)
r ระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตยในขณะเวลาใดๆ (เมตร)
S ตัวเลขจุดมืด (-)
TSI รังสีอาทิตยทั้งหมด (วัตตตอตารางเมตร)
 เดคลิเนชันของดวงอาทิตย (องศา)
 มุมชั่วโมง (องศา)
sr มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบในแนวระดับ (องศา)
' sr มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้นบนระนาบเอียง (องศา)
ss มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบในแนวระดับ (องศา)
' ss มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบเอียง (องศา)
i มุมชั่วโมงที่กึ่งกลางชั่วโมงที่ i (องศา)

182
183

เอกสารอางอิง

เสริม จันทรฉาย, ปยะศักดิ์ ประดิษฐวงศ, จินดา แกวเขียว, 2544. การศึกษาแบบจําลองทาง


คณิตศาสตรและลักษณะทางสถิติของรังสีกระจายและรังสีรวมของดวงอาทิตยใน
ประเทศไทย, รายงานวิจัย, สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ.
ASTM, 2000. Standard solar constant and zero air mass solar spectral tables. Standard E-490.
American Society for Testing and Materials, West Conshohocken, PA, USA.
Fröhlich, C., Brusa, R.W., 1981. Solar radiation and its variation in time. Solar Physics 74,
209-215.
Gueymard, C.A., 2004. The sun’s total and spectral irradiance for solar energy applications
and solar radiation models. Solar Energy 76, 423-453.
Iqbal, M.,1983. Introduction to Solar Radiation, Academic Press, New York.
Lang K.R., 2006. Sun, Earth and Sky, Springer, New York.
Neckel, H., Labs, D., 1981. Improved data of solar spectral irradiance from 0.33 to 1.25 m.
Solar Physics 74, 231-249.
Neckel, H., Labs, D., 1984. The solar radiation between 3300 and 12,500 Å. Solar Physics
90, 205-258.
Ricchiazzi, P., Yang, S., Gautier, C., Sole, D., 1998. SBDART: A research and teaching
software tool for plane-parallel radiative transfer in the Earth’s atmospheric. Bulletin
of the American Meteorological Society 79, 2101-2114.
Robinson, N., 1966. Solar Radiation. Elsevier, London.
Thekaekara, M.P., 1973. Solar energy outside the earth’s atmosphere. Solar Energy 14, 109-127.
Wehrli, C., 1985. Extraterrestrial solar spectrum. Publication. No. 615, World Radiation
Center, Davos, Switzerland.

183
184
บทที่ 5
รังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ

หลังจากที่เราเรียนรูวิธีคํานวณรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกในบทที่ 4 แลว ในบทนี้


จะกลาวถึงรังสีอาทิตยที่เดินทางมาถึงพื้นผิวโลก เนื่องจากรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกขึ้นกับสภาพ
ทองฟา ซึ่งโดยทั่วไปแบงไดเปน 2 แบบ ไดแก ทองฟาปราศจากเมฆและทองฟามีเมฆ โดยใน
บทนี้จะอธิบายการหาคารังสีอาทิตยในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
เนื่ อ งจากในขณะที่ ท อ งฟ า ปราศจากเมฆ รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ต กกระทบพื้ น ผิ ว โลกจะมี
คาสู งสุด ดั ง นั้ น จึง นิ ย มใชเ ป น ค า อ า งอิ ง สํ าหรั บคํ านวณรั ง สี อ าทิต ยใ นสภาพท อ งฟามี เ มฆ
นอกจากนี้รังสีอาทิตยในสภาพทองฟาปราศจากเมฆในบริเวณหนึ่งยังเปนตัวบงชี้ศักยภาพ
สูงสุดของพลังงานรังสีอาทิตยของบริเวณนั้น ในบทนี้จะกลาวถึงแบบจําลองสําหรับคํานวณ
สเปกตรัมรังสีอาทิตยและรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ

5.1 สเปกตรัมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
ขอมูลการแปรคาความเขมรังสีอาทิตยตามความยาวคลื่นหรือขอมูลสเปกตรัมรังสี
อาทิตยเปนขอมูลพื้นฐานของการศึกษาวิจัยวัสดุที่ใชงานดานพลังงานรังสีอาทิตย เชน วัสดุกึ่ง
ตัวนําที่ใชทําเซลลสุริยะ เนื่องจากเครื่องมือสําหรับวัดสเปกตรัมรังสีอาทิตยมีราคาแพง ดังนั้น
นัก วิจั ย ดา นรั ง สี อ าทิ ต ย จึ ง ได พั ฒ นาแบบจํ า ลองสํ าหรับ คํ า นวณสเปกตรั มรั ง สีอ าทิ ต ยโ ดย
แบบจําลองประเภทตางๆ มีดังนี้

5.1.1 แบบจําลองการถายเทรังสี
แบบจํ า ลองการถ า ยเทรั ง สี เ ป น แบบจํ า ลองทางฟ สิ ก ส อ ย า งละเอี ย ด ซึ่ ง ได รั บ การ
พัฒนาขึ้นครั้งแรก เพื่อใชอธิบายการถายเทรังสีในบรรยากาศของดาวฤกษ (Chandrasekhar,
1950) ตอมานักวิจัยดานฟสิกสบรรยากาศไดนําแบบจําลองดังกลาวมาประยุกตใชกับการถายเท
รังสีในบรรยากาศของโลก (Liou, 2002; Andrews, 2010) ในการใชแบบจําลองการถายเทรังสี
เพื่อคํานวณสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก เราจะตองพิจารณาการดูดกลืนและการกระเจิง

185
186

รั ง สี อ าทิ ต ย ข ององค ป ระกอบต า งๆ ของบรรยากาศทุ ก ความยาวคลื่ น อย า งละเอี ย ด โดย


แบบจําลองดังกลาวจะแยกพิจารณารังสีตรงและรังสีกระจาย ดังนี้

ก) รังสีตรง
เราจะพิจารณาฟลักซของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบสวนบนสุดของบรรยากาศ I on ซึ่ง
โดยทั่วไปจะพิจารณาวาอยูที่ระดับความสูงประมาณ 100 กิโลเมตร จากนั้นรังสีอาทิตยจะผาน
บรรยากาศและถูกองคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ ทําใหมีความเขมลดลงโดยกระบวนการ
ดูดกลืนและการกระเจิงจนถึงพื้นผิวโลก ( I n ) การลดลงดังกลาวเปนไปตามกฎของบูเกอร
(สมการ (3.8)) ในการคํานวณรังสีตรงที่ตกกระทบพื้นผิวโลก เราตองหาคาความลึกเชิงแสง
ขององคประกอบทั้งหมดของบรรยากาศที่แตละความยาวคลื่น คารังสีตรงที่ไดจะเปนคาบน
ระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีตรง ถาจะแปลงใหอยูบนระนาบในแนวระดับจะตองคูณ
ดวยโคซายน (cosine) ของมุมเซนิธของดวงอาทิตยหรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้
I  I cos 
b n z (5.1)

เมื่อ I
n คือ รังสีตรงที่ความยาวคลื่น  บนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี
(วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
b คือ รังสีตรงที่ความยาวคลื่น  บนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร
ตอไมครอน)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

ข) รังสีกระจาย
เนื่องจากรังสีกระจายในสภาพทองฟาปราศจากเมฆเกิดจากการกระเจิงของรังสีอาทิตย
โดยโมเลกุลอากาศและฝุนละออง ดังนั้นในการคํานวณรังสีกระจายเราจะพิจารณาทั้งขนาดและ
ทิศทางของรังสีอาทิตยในรูปของความเขมรังสีอาทิตยในมุมตัน (solid angle) d (รูปที่ 5.1)
หรือเรเดียนรังสีอาทิตย (solar radiance) ซึ่งมีหนวยเปนวัตตตอตารางเมตรตอสเตอเรเดียน

186
187

S
z ตะวันออก
dA
เหนือ
d Y
 ใต
X
ตะวันตก

รูปที่ 5.1 รังสีอาทิตยที่ถูกกระเจิงออกไปจากพื้นที่ dA หรือรังสีอาทิตยที่ตกกระทบบนพื้นที่ dA


ในกรวยแคบๆ ซึ่งมีมุมตัน d

โดยทั่วไปเราสามารถบอกทิศทางของรังสีที่กระเจิงออกไปหรือเขามาในกรวยแคบๆ
ดวยมุมเซนิธ  z และมุมอาซิมุธ  (ดูรูปที่ 5.1) แตเนื่องจาก z มักเขียนอยูในรูปของ cosz
ดังนั้นเราจะให   cosz และใช  กับ  เปนตัวบอกทิศทางของรังสี โดยใหเรเดียนรังสี
อาทิตยที่พุงออกจากจุดที่พิจารณาแทนดวยสัญลักษณ L  (, ) และเรเดียนรังสีอาทิตยที่พุงเขา
มาเปน L (, )
ในการหาเรเดียนรังสีกระจายตามแบบจําลองการถายเทรังสี เราสามารถหาไดที่ทุก
ระดับความสูงของบรรยากาศ ดังนั้นคาเรเดียนรังสีกระจายจึงเปนฟงกชันของความสูง (z) ดวย
หรื อ L (z, , ) รัง สีกระจายที่จุด ๆ หนึ่งในบรรยากาศจะมีทั้ง รัง สีที่กระเจิงจากจุ ดอื่ น ๆ
มายังจุดที่พิจารณา และรังสีที่กระเจิงจากจุดที่พิจารณาออกไปยังจุดอื่นๆ ในที่นี้เราจะพิจารณา
เรเดียนรังสีอาทิตยที่ผานมวลอากาศที่มีความหนา z จากดานบนเปนระยะทาง s มายัง
จุด O ที่พิจารณาและพุงไปทางทิศ ( ,  ) (รูปที่ 5.2) เรเดียนรังสี L  จะมีการเปลี่ยนแปลงไป
เป น L   L  ด ว ยกระบวนการต า งๆได แ ก (1) การลดลงเนื่ อ งจากการดู ด กลื น และ
การกระเจิงของมวลอากาศในเสนทาง s (2) การเพิ่มขึ้นเนื่องจากรังสีที่เกิดจากการกระเจิง
ของรังสีตรงจากดวงอาทิตยที่มาจากทางทิศ (o , o ) และถูกกระเจิงไปทางทิศ (, ) และ

187
188

(3) การเพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากรั ง สี ที่ ก ระเจิ ง กลั บ ไปมาในบรรยากาศ (multiple scattering)
โดยโมเลกุลอากาศและฝุนละอองที่มาจากทิศ ( ,  ) ไปยังทิศ (, )
L เซนิธ

2 (0 , 0 )
1 s
z
3  
( ,  ) o
(, )
มวลอากาศหนา z
L  L

รูปที่ 5.2 แผนภูมิแสดงการถายเทรังสีกระจายในบรรยากาศจากกระบวนการตางๆ ไดแก


1. การลดลงเนื่องจากการดูดกลืนและการกระเจิงของมวลอากาศที่มีความหนา z
ในทิศ (, ) 2. การเพิ่มขึ้นเนื่องจากการกระเจิงของรังสีตรงจากดวงอาทิตยที่มาจาก
ทางทิศ ( 0 , 0 ) และกระเจิงไปทางทิศ (, ) และ 3. การเพิ่มขึ้นจากการกระเจิง
กลับไปมาในบรรยากาศเนื่องจากโมเลกุลอากาศและฝุนละอองที่มาจากทิศ ( ,  )
ไปยังทิศทาง (, )

สมดุลของพลังงานจากการถายเทรังสีดังกลาวในกรณีที่ไมคิดการแผรังสีของบรรยากาศ
สามารถเขียนไดดังสมการ (Liou, 2002)

L (z, , )
  e L (z, , )  s I n e    . P (, ; o , o ) 4
s
2 1
(5.2)
 [s   L  (z, , ) .P (, ; , )dd] / 4
0 1

เมื่อ L (z, , ) คือ เรเดียนรังสีกระจายในทิศทาง (, ) ที่ระดับความสูง z จากพื้นผิวโลก


(วัตตตอตารางเมตรตอไมครอนตอสเตอเรเดียน)
L  (z, , ) คือ เรเดียนรังสีกระจาย L  ที่เปลี่ยนแปลงไปหลังจากเดินทางผานมวล
อากาศเปนระยะทาง s (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอนตอสเตอเรเดียน)

188
189

P คือ เฟสฟงกชนั (phase function) (-)


s คือ ระยะทางที่รังสีกระจายเดินทางผานซึ่งเทากับ z /  (เมตร)
 คือ โคซายนของมุมเซนิธของทิศทางของ L  (-)
 คือ มุมอาซิมุธของทิศทางของ L  (องศา)
 คือ มุมอาซิมุธของทิศทางที่รังสีที่มาจากการกระเจิงกลับไปมาในบรรยากาศโดย
โมเลกุลอากาศและฝุนละออง (องศา)
0 คือ มุมอาซิมุธของทิศทางของรังสีตรง (องศา)
o คือ โคซายนของมุมเซนิธของรังสีตรง (-)
 คือ โคซายนของมุมเซนิธของรังสีที่มาจากการกระเจิงกลับไปมาในบรรยากาศโดย
โมเลกุลอากาศและฝุนละออง (-)
e คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนของรังสีกระจายเนื่องจากการดูดกลืนและการกระเจิง
ของมวลอากาศในชั้นความหนา z (เมตร-1)
s คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีตรงของมวลอากาศในชัน้ ความหนา z (เมตร-1)

จากสมการ (5.2) พจนดานซายมือจะเปนเรเดียนรังสีกระจายที่เปลี่ยนแปลง เมื่อรังสี


เดินทางผานมวลอากาศเปนระยะทาง  s สําหรับทางดานขวามือ พจนที่ 1 จะเปนการลดลง
ของรังสีดังกลาว ซึ่งเกิดจากการดูดกลืนและการกระเจิงของมวลอากาศในชั้นความหนา z
พจนที่ 2 จะเปนรังสีกระจายที่เกิดจากรังสีตรงของดวงอาทิตยจากทิศทาง (0 , 0 ) ที่ถูกกระเจิง
โดยมวลอากาศไปทางทิศทาง (, ) ซึ่งจะทําให L  (z, , ) มีคาเพิ่มขึ้น และพจนที่ 3 จะเปน
รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงกลับไปมาในบรรยากาศที่มาจากทิศทาง (, ) ไปทาง
ทิศทาง (, ) ซึ่งจะทําให L  (z, , ) มีคาเพิ่มขึ้น
เฟสฟงกชันในพจนที่ 2 และ 3 เปนพารามิเตอรที่บอกสมบัติการกระเจิงของตัวกลาง
(โมเลกุลอากาศและฝุนละออง) วามีการกระเจิงไปในทิศทางตางๆ มากนอยเพียงใด สําหรับ
4  ซึ่งเปนตัวหารในพจนที่ 2 และพจนที่ 3 เพื่อเปลี่ยนแปลงปริมาณรังสีในเทอมดังกลาวให
เปนเรเดียนรังสีกระจาย

189
190

สมการ (5.2) สามารถหาผลเฉลยไดโดยวิธีเชิงตัวเลข (numerical method) โดยผลที่ได


จะเปนเรเดียนรังสีกระจายที่ความยาวคลื่น  ในทิศทาง ( ,  ) และสามารถนํามาคํานวณ
ความเขมรังสีกระจายที่ตกกระทบพื้นผิวโลกไดจากสมการ

I   L(z, , )d
d (5.3)
2

เมื่อ I
d คือ ความเขมรังสีกระจายที่พื้นผิวโลก (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
L (z, , ) คือ เรเดียนรังสีกระจายในทิศทาง (, ) (ที่พื้นผิวโลกจะให z = 0)
(วัตตตอตารางเมตรตอไมครอนตอสเตอเรเดียน)
 คือ มุมตัน (สเตอเรเดียน)

ค) รังสีรวม
สําหรับคารังสีรวม I จะหาไดจากผลรวมของรังสีตรง สมการ (5.1) และรังสีกระจาย
สมการ (5.3) ดังนี้
I  I  I
 b d (5.4)

ถาตองการคํ า นวณความเข มรัง สี ร วมทุกความยาวคลื่น รวมกั น ( I ) จะตองทําการ


อินทิเกรตคาความเขมรังสีรวมแตละความยาวคลื่น ( I ) ดังนี้
2
I   I d
 (5.5)
1

ในทางทฤษฎีจะตองทําการอินทิเกรตในชวงตั้งแตความยาวคลื่น 1 เทากับศูนย จนถึง


 2 ซึ่งมีคาเปนอนันต (infinity) แตในทางปฏิบัตินั้น เราสามารถใชคา 1 = 0.3 ไมครอน และ
 2 = 3.0 ไมครอนไดเพราะพลังงานของรังสีอาทิตยสวนใหญจะอยูในชวงความยาวคลื่นนี้
เราจะเรียก I วาความเขมรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นกวาง
เนื่องจากการหาคารังสีอาทิตยทั้งรังสีตรงและรังสีกระจายโดยใชแบบจําลองการถายเท
รังสีมีหลายขั้นตอน ดังนั้น นักวิจัยตางๆ จึงไดทําการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อชวยใน
การคํานวณเชนโปรแกรม LOWTRAN, MODTRAN, 6S และ LIBRADTRAN เปนตน แตละ
โปรแกรมจะใช วิ ธี เ ชิ ง ตั ว เลขในการหาผลเฉลยของสมการการถ า ยเทรั ง สี ที่ แ ตกต า งกั น

190
191

ในปจจุบันโปรแกรมที่นิยมใชกันมากคือ โปรแกรม LIBRADTRAN ซึ่งสามารถจัดหาไดทาง


อินเตอรเน็ตที่ http://www.libradtran.org

5.1.2 แบบจําลองทางฟสิกสซึ่งดัดแปลงใหงาย (simplified physical model) ของ


สเปกตรัมรังสีอาทิตย
เนื่องจากการคํานวณสเปกตรัมรังสีอาทิตยโดยใชแบบจําลองการถายเทรังสีมีความ
ซับซอนมาก ถึงแมจะมีโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยในการคํานวณก็ตาม แตการใชโปรแกรม
ดังกลาวคอนขางยุงยาก ดังนั้นนักวิจัยดานรังสีอาทิตยตางๆ จึงไดสรางแบบจําลองทางฟสิกสที่
ดัดแปลงใหงาย แบบจําลองดังกลาวจะแสดงความสัมพันธทางฟสิกสของพารามิเตอรของ
บรรยากาศกับคารังสีอาทิตยในรูปสมการพีชคณิต โดยพารามิเตอรที่นิยมใชกันคือ สัมประสิทธิ์
การสงผานรังสีอาทิตย (transmittance) ขององคประกอบบรรยากาศ
ในชวง 30 ปที่ผานมา นักวิจัยตางๆ ไดเสนอแบบจําลองทางฟสิกสที่ดัดแปลงใหงาย
สําหรับคํานวณสเปกตรัมรังสีอาทิตยหลายแบบจําลอง เชน แบบจําลองของอิคบาล (Iqbal,
1983) แบบจําลอง CPCR2 (Gueymard, 1989) แบบจําลอง ESRA (Rigollier et al., 2000) และ
แบบจําลอง SOLIS (Ineichen, 2008) เปนตน
ในตํ า รานี้ จ ะเสนอรายละเอี ย ดแบบจํ า ลองของอิ ค บาล (Iqbal, 1983) ซึ่ ง เป น
แบบจําลองแสดงขั้นตอนการคํานวณโดยใชหลักการทางฟสิกสที่เขาใจงาย และใหผลที่มีความ
ละเอียดถูกตองอยูในเกณฑที่ดี (Brine and Iqbal, 1983) แบบจําลองดังกลาวประกอบดวย 3 สวน
ไดแก แบบจําลองรังสีตรง แบบจําลองรังสีกระจาย และแบบจําลองรังสีรวม ตามรายละเอียด
ดังนี้
ก) รังสีตรง
แบบจํ าลองของอิค บาลจะพิจ ารณาองค ประกอบตางๆ ของบรรยากาศ ได แ ก
โมเลกุลอากาศ ฝุนละออง โอโซน ไอน้ํา และกาซตางๆ ซึ่งอยูในบรรยากาศเปนชั้นๆโดยแตละ
ชั้ น จะมี ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารส ง ผ า นรั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ขึ้ น กั บ ปริ ม าณและสมบั ติ เ ชิ ง แสงของ
องคประกอบในชั้นนั้นๆ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของบรรยากาศจะเทากับผลคูณ
ของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของทุกชั้นหรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้

191
192

    R  aer ,  w  o  g (5.6)

เมื่อ  คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของบรรยากาศ


(-)
 R คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ซึ่งเกิดจาก
การกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ (-)
 aer , คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของฝุนละออง
(-)
 w คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา (-)
 o คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของโอโซน (-)
 g คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของกาซตางๆ
(-)

สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุล
อากาศ ( R ) จะหาได จ ากสู ต รของเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ 3.11) กรณี ข อง
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละออง (aer , ) จะคํานวณโดยใชคาความลึกเชิงแสง
ของฝุนละอองที่เสนอโดยอังสตรอม (Angstrom, 1929) (สมการ 3.14)
ในการคํานวณคาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ํา ( w ) จะใชสมการ
ของเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ 3.25) สําหรับคาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตย
ของโอโซน ( o ) จะคํานวณจากปริมาณโอโซนโดยใชสมการที่เสนอโดยวิกรูส (Vigroux,
1953) (สมการ 3.38) ในดานของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ( g )
สามารถคํานวณไดจากสูตรของเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ 3.48)
หลังจากที่คํานวณสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของบรรยากาศ (  )ไดแลว
เราสามารถคํานวณคารังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี โดยใชสมการ
I  I  (5.7)
n on 

เมื่อ I
on คื อ รั ง สีอ าทิ ต ย น อกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้ง ฉากกั บทิ ศ ทางของรั ง สี
(วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)

192
193

I
n คือ รังสีตรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีที่พื้นผิวโลก (วัตตตอตาราง
เมตรตอไมครอน)

สําหรับคารังสีตรงบนระนาบในแนวระดับที่พื้นผิวโลกจะหาไดจากสมการ
I  I cos 
b n z (5.8)

เมื่อ I
b คือรังสีตรงบนระนาบในแนวระดับที่พื้นผิวโลก (วัตตตอตารางเมตรตอ
ไมครอน)
z คือมุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

ข) รังสีกระจาย
ในการคํานวณรังสีกระจายที่พื้นผิวโลกจะแบงรังสีกระจายออกเปน 3 สวน ไดแก
รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยโดยโมเลกุลอากาศ รังสีกระจายที่เกิดจากการ
กระเจิงรังสีอาทิตยโดยฝุนละอองและรังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยกลับไปมา
ระหวางบรรยากาศและพื้นผิวโลก
กรณีของรังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยโดยโมเลกุลอากาศจะเริ่มจาก
การหารังสีตรงที่เหลือจากการถูกดูดกลืนของไอน้ํา โอโซน กาซตางๆ และการกระเจิงและ
ดูดกลืนของฝุนละอองหรือ I b1 ซึ่งหาไดจากสมการ
I  I    
b1 on  w o g aer ,  cos  z (5.9)

รั ง สี สว นนี้ ( I b1 ) จะถู กโมเลกุ ลของอากาศกระเจิง ออกไปรอบด านด ว ยแฟคเตอร


(1   R ) ถาเราคิดวาครึ่งหนึ่งของรังสีนี้มาตกกระทบพื้นผิวโลก เราจะสามารถหารังสีกระจาย
ที่พื้นผิวโลกไดจากสมการ
I 
dR  0.5I b1 (1   R ) (5.10)

สําหรับการกระเจิ งโดยฝุนละอองสามารถคิดไดคลายกับกรณีของโมเลกุลอากาศ
กลาวคือ เริ่มตนเราจะหารังสีอาทิตยที่เหลือจากการดูดกลืนของไอน้ํา โอโซน กาซตางๆ และ
การกระเจิงโดยโมเลกุลอากาศ โดยกําหนดใหเทากับ I b 2 ซึ่งหาไดจากสมการ

193
194

I  I     cos 
b2 on w o g R z (5.11)

รั ง สี I b 2 จะถู ก ฝุ น ละอองลดทอนด ว ยแฟคเตอร (1  aer , ) แต ก ารลดทอนนี้ จ ะ


ประกอบดวยกระบวนการดูดกลืนและกระบวนการกระเจิง ในการหาสัดสวนที่ถูกกระเจิงเรา
จะตองคูณคาของ (1  aer , ) ดวยสัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรก (single scattering albedo,
SSA) ซึ่ ง จะได เ ท า กั บ SSA (1  aer , ) เนื่ อ งจากรั ง สี ที่ ถู ก กระเจิ ง นี้ มี ทั้ ง กระเจิ ง มายั ง
พื้นผิวโลกและกระเจิงออกไปยังทองฟา ในการหาสวนที่กระเจิงลงมายังพื้นผิวโลกเราตองคูณ
SSA (1  aer ,  ) ดวยสัดสวนของรังสีที่กระเจิงไปขางหนาตอรังสีที่ถูกกระเจิงทั้งหมด ( Fc )
ซึ่งจะไดรังสีที่กระเจิงไปขางหนาเปน FcSSA (1  aer ,  ) ดังนั้นรังสีกระจายซึ่งเกิดจากการ
กระเจิงของฝุนละอองมายังพื้นผิวโลก (I d ,aer , ) จึงเขียนในรูปสมการไดดังนี้
I 
d , aer ,   I b 2 FcSSA (1   aer ,  ) (5.12)

กรณี ข องรั ง สี ก ระจายที่ เ กิ ด จากการกระเจิ ง กลั บ ไปมาระหว า งบรรยากาศและ


พื้นผิวโลก เราจะพิจารณาการกระเจิงดังรูปที่ 5.3

(I n cos z  I dR  Id ,aer , )G

(I n cos  z  I dR  I d ,aer , )G2  a

การดูดกลืนโดยบรรยากาศ a

1 2 3
I cos   I  I
n z dR d ,aer ,

(I n cos  z  I dR  I d ,aer , )G2  a2


(I n cos  z  I dR  Id ,aer , )G a

รูปที่ 5.3 แผนภูมิแสดงรังสีอาทิตยที่กระเจิงกลับไปมาระหวางพื้นผิวโลกและบรรยากาศ

194
195

จากรูปที่ 5.3 แบบจําลองนี้ จะพิจารณาวารังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลกครั้งแรก


จะประกอบดวยรังสีตรง รังสีกระจายจากการกระเจิงของโมเลกุลอากาศ และรังสีกระจายจาก
การกระเจิ ง ของฝุ น ละออง ซึ่ ง รวมกั น ได เ ท า กั บ I n cos  z  I dR  I d ,aer , รั ง สี นี้ จ ะถู ก
พื้นผิวโลกกระเจิงขึ้นไปเทากับ (I n cos  z  I dR  I d ,aer , ) G  เมื่อ  G  เปนสัมประสิทธิ์
การกระเจิงของพื้นผิวโลก รังสีดังกลาวจะถูกบรรยากาศกระเจิงกลับลงมาสูพื้นผิวโลกเทากับ
(I n cos  z  I dR  I d ,aer , ) G   a เมื่อ  a เปนสัมประสิท ธิ์การกระเจิงของบรรยากาศ
จากนั้นการกระเจิงกลับไปมาจะเปนเชนนี้จนกระทั่งรังสีถูกพื้นผิวโลกและบรรยากาศดูดกลืน
หมด โดยรังสีกระจายที่พื้นผิวโลกซึ่งเกิดจากการกระเจิงกลับไปมา (I dm ) คือผลรวมของพจน
ที่ 1 + 2 + .......ในรูปที่ 5.3 หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้

I  (I cos   I  I   
d ,aer , ) G  a  ( I n cos  z  I dR  I d ,aer ,  ) G  a  ......
2 2
dm n z dR

 (I n cos  z  I dR  I d ,aer , ) G  a (1   G  a   G2   a2  ......) (5.13)

พจนในวงเล็บที่ 2 ทางดานขวามือของสมการ (5.13) เปนอนุกรมเรขาคณิตซึ่งจะได


เทากับ 1 (1   G  a ) ดังนั้นรังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงกลับไปมา จึงสามารถเขียนใน
รูปสมการไดดังนี้
1
I   
dm  ( I dR  I d , aer ,   I n cos z )G a ( ) (5.14)
1  Ga

เมื่อรวมรังสีกระจายทั้ง 3 สวนจะได
I  I  I 
d dR d ,aer ,  I dm

1
 IdR  Id , aer,   {(IdR  Id , aer,   I n cos z )Ga ( )} (5.15)
1  Ga
หลังจากจัดเทอมใหมจะไดสมการสําหรับคํานวณรังสีกระจายดังนี้
 
I  IdR  Id , aer ,   I cos  ( Ga ) (5.16)
d n z
1  Ga 1  Ga
อิคบาล (Iqbal, 1983) ไดพัฒนาสมการสําหรับคํานวณสัมประสิทธิ์การกระเจิงของ
บรรยากาศในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ ซึ่งเขียนในรูปสมการดังนี้

195
196

a   w o g [0.5(1  R )aer ,   (1  Fc )SSA (1  aer ,  ) R ] (5.17)

สําหรับคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงของพื้นผิวโลกจะขึ้นกับพื้นที่ ซึ่งสามารถหาไดจาก
การวัดหรือจากขอมูลดาวเทียม

ค) รังสีรวม
รังสีรวม (I ) จะเทากับผลรวมของรังสีตรงซึ่งหาไดจากสมการ (5.8) และรังสีกระจาย
จากสมการ (5.16) หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้
I  I cos   I
 n z d (5.18)
หรือ
1
I  (I cos   I
 n z

d , aer ,   I dR ) (5.19)
1   G   a

จากสมการ (5.19) ถาไมคิดการกระเจิงกลับไปมาระหวางพื้นผิวโลกและบรรยากาศ


รังสีรวมจะเปนผลบวกของรังสีตรงและรังสีกระจาย 3 เทอมในวงเล็บเทานั้น การคูณดวยแฟคเตอร
1 (1   G  a ) เปนการคิดผลจากการกระเจิงกลับไปมา ซึ่งทําใหรังสีรวม ( I  )มีคาเพิ่มขึ้น
ถ า ต อ งการหาความเข ม รั ง สี ร วมในช ว งความยาวคลื่ น กว า ง เราต อ งทํ า การอิ น ทิ เ กรต I 
ในสมการ (5.19) ในชวงความยาวคลื่น 0.3-3.0 ไมครอน

5.1.3 แบบจําลองสเปกตรัมรังสีอาทิตยแบบกึ่งเอมไพริคัล
เนื่ อ งจากการคํ า นวณสเปกตรั ม รั ง สี อ าทิ ต ย โ ดยใช แ บบจํ า ลองการแผ รั ง สี แ ละ
แบบจําลองทางฟสิกสที่ดัดแปลงใหงาย มีขั้นตอนการคํานวณคอนขางซับซอนหลายขั้นตอน
ดังนั้น เสริม จันทรฉาย และคณะ (2560) จึงไดพัฒนาแบบจําลองแบบกึ่งเอมไพริคัล ซึ่งแสดง
ความสัมพันธระหวางความเขมรังสีอาทิตยแตละความยาวคลื่นกับตัวอปรทางบรรยากาศตางๆ
ดังนี้

I  I exp{[a k w  a k   a k  a AOD  a ]m  a }
g 0 0 w 1 o 2 g 3 4 a 5 (5.20)

196
197

เมื่อ I
g คือความเขมรังสีรวมที่ความยาวคลื่น  ที่พื้นผิวโลก (วัตตตอตารางเมตรตอ
นาโนเมตร
I 0 คือความเขมรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  นอกบรรยากาศโลก (วัตตตอ
ตารางเมตรตอนาโนเมตร
k w คือสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตย (extinction coefficient) ของไอน้ํา
(เซนติเมตร-1)
-1
k o คือสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของโอโซน (เซนติเมตร )
k g คือสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของกาซ (-)
AOD คือความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)
ma คือมวลอากาศ (-)
 คือปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
w คือปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
a 0 , a1, a 2 , a 3 , a 4 และ a 5 คือสัมประสิทธิ์ของแบบจําลอง

คาสัมประสิทธิ์ a 0 , a1, a 2 , a 3 , a 4 และ a 5 จะขึ้นกับความยาวคลื่น ซึ่งมีคาแสดงไวใน


ตารางที่ 5.1

197
198

ตารางที่ 5.1 คาสัมประสิทธิ์ a 0 , a1, a 2 , a 3 , a 4 และ a 5 ของแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล

198
199

5.2 แบบจําลองรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง (broadband solar radiation model)


5.2.1 แบบจําลองทางฟสิกส
ขอมูลรังสีอาทิตยที่ใชงานสวนใหญจะเปนขอมูลของผลรวมของพลังงานจากรังสี
อาทิตยทุกความยาวคลื่นหรือขอมูลรังสีอาทิตยชวงความยาวคลื่นกวางซึ่งตกกระทบพื้นผิวโลก
ถึงแมเราจะสามารถหาปริมาณรังสีดังกลาวโดยการอินทิเกรตสเปกตรัมรังสีอาทิตยในชวง
ความยาวคลื่นกวาง (0.3-3.0 ไมครอน) แตวิธีดังกลาวคอนขางซับซอน ดังนั้นนักวิจัยตางๆ จึง
ไดเสนอแบบจําลองทางฟสิกสที่สามารถคํานวณคารังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางได
โดยตรง ในที่นี้จะนําเสนอแบบจําลอง C ของอิคบาล (Iqbal, 1983) ที่สามารถใชคํานวณความ
เขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางไดโดยตรง ทั้งนี้เพราะแบบจําลองดังกลาวสามารถใช
งานไดสะดวกและมีความละเอียดถูกตองคอนขางดี (Louche et al., 1988) แบบจําลองนี้แบง
การคํานวณรังสีอาทิตยเปน 3 สวนดังนี้
ก. รังสีตรง
แบบจําลองนี้จะหาคารังสีตรงคลายกับกรณีแบบจําลองสเปกตรัมในหัวขอ 5.1.2
กลาวคือ จะคํานวณรังสีตรงที่พื้นผิวโลกจากคารังสีนอกบรรยากาศและสัมประสิทธิ์การสงผาน
รังสีอาทิตยขององคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ ดังนี้*
I  I     
n on R aer w o g (5.21)

เมื่อ I
on คือ รังสีตรงนอกบรรยากาศโลกในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบ
ที่ตั้งฉากกับทิศของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
n คือ รังสีตรงที่พื้นผิวโลกในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบที่ตั้งฉาก
กับทิศของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)

* ผูเขียนไดปรับปรุงสมการของรังสีตรงและรังสีกระจายโดยจะใชรังสีนอกบรรยากาศโลก I on แทนการใช
คาคงตัวรังสีอาทิตยคูณกับคาคงตัวในแบบจําลองดั้งเดิมของอิคบาล ทั้งนี้เพราะ คาคงตัวที่ใชจะแปรไปตาม
คาคงตัวรังสีอาทิตยซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต นอกจากนี้ I n จะคิดปริมาณรังสีในชวงความยาว
คลื่นกวาง (0.3-3.0 ไมครอน)

199
200

R คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตย
ของโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
 aer คื อ สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารส ง ผ า นรั ง สี อ าทิ ต ย ซึ่ ง เกิ ด จากการกระเจิ ง และ
การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
w คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่น
กวาง (-)
o คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่น
กวาง (-)
g คื อ สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารส ง ผ า นรั ง สี อ าทิ ต ย ซึ่ ง เกิ ด จากการดู ด กลื น รั ง สี
อาทิตยของกาซตางๆในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)

สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารส ง ผ า นรั ง สี อ าทิ ต ย อั น เนื่ อ งมาจากการกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข อง


โมเลกุลอากาศ  R จะคํานวณจากสมการ (3.12)
ในดานของสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการดูดกลืนและการกระเจิง
รังสีอาทิตยของฝุนละอองจะคํานวณจากสมการ

 aer  exp[  k 0a.873 (1.0  k a  k 0a.7088 ) m 0a.9108 ] (5.22)


เมื่อ
k a  0.2758aer,0.38m  0.35aer,0.5m (5.23)

โดยที่ aer ,0.38m คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 0.38 ไมครอน (-)


aer,0.5m คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 0.5 ไมครอน (-)

กรณี ข องสัม ประสิ ทธิ์ ก ารส ง ผ า นรัง สี อ าทิ ต ยข องไอน้ํ า ( w ) จะคํ า นวณโดยใช
สมการ (3.26) ในดานของคาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซน ( o ) จะใชสมการ
(3.39) สําหรับสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ( g ) สามารถคํานวณไดจาก
สมการ (3.49)

200
201

ตัวอยางที่ 5.1 จงใชแบบจําลอง C ของอิคบาลคํานวณความเขมรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับ


ทิศทางของรังสีในสภาพทองฟาปราศจากเมฆที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร
จังหวัดนครปฐม ซึ่งอยูที่พิกัด 13.82 N, 100.04 E ในวันที่ 21 มกราคม เวลา 12:00 น.ตาม
เวลาดวงอาทิตย ถาบรรยากาศที่สถานที่ดังกลาวมีคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น
0.38 ไมครอน เทากับ 0.087 และที่ความยาวคลื่น 0.5 ไมครอน เทากับ 0.069 และมีปริมาณ
ไอน้ําเทากับ 1 เซนติเมตร ปริมาณโอโซนเทากับ 0.30 เซนติเมตร และความดันบรรยากาศ
เทากับ 990 มิลลิบาร
วิธีทํา
วันที่ 21 มกราคม d n  21
จาก   2(d n  1) / 365
 2(21  1) / 365
 0.3443 เรเดียน
จาก E 0  1.000110  0.034221cos   0.00128 sin 
 0.000719 cos 2  0.000077 sin 2

 1.000110  0.034221cos(0.3443)  0.00128 sin(0.3443)


 0.000719 cos(2  0.3443)  0.000077 sin(2  0.3443)
 1.0334
จาก   (0.006918  0.399912 cos   0.070257 sin 
 0.006758 cos 2  0.000907 sin 2
 0.002697 cos 3  0.00148 sin 3)(180 / )
 (0.006918  0.399912 cos(0.3443)  0.070257 sin(0.3443)
 0.006758 cos(2  0.3443)  0.000907 sin( 2  0.3443)
 0.002697 cos(3  0.3443)  0.00148 sin(3  0.3443))(180 / )
 20.05 องศา
  13.82 องศา
เวลา 12: 00 น.   0

จาก cos  z  sin  sin   cos  cos  cos 

201
202

 sin(20.05) sin(13.82)  cos(20.05) cos(13.82) cos(0)


 z  0.5918 เรเดียน หรือ 33.9 องศา
จาก m r  [cos  z  0.15(93.885   z ) 1.253 ]1
 [cos(33.9)  0.15(93.885  33.9) 1.253 ]1
= 1.2035
จาก m a  m r (p 1013.25)
 1.2035(990 1013.25)
= 1.1759
จาก u 1  wm r
= 1  1.2035
= 1.2035
จาก u 3  m r
= 0.3  1.2035
= 0.3610
จาก  R  exp[ 0.0903m 0a.84 (1.0  m a  m1a.01 )]
 exp[0.0903(1.1759) 0.84 (1.0  1.1759  1.17591.01 )]
= 0.9019
จาก o  1   o
 1  [0.1611 u 3 (1.0  139.48 u 3 )0.3035 ]
 1  [0.1611 0.3610(1.0  139.48  0.3610) 0.3035 ]
= 0.9834

จาก  g  exp(0.0127m 0a.26 )


 exp[ 0.0127(1.1759)0.26 ]
= 0.9868
จาก w  1   w
 1  2.4959u1[(1.0  79.034u1 ) 0.6828  6.385u1 ]1

202
203

 1  2.4959  1.2035[(1.0  79.034  1.2035) 0.6828  6.385  1.2035]1


= 0.9008
จาก k a  0.2758aer ,0.38m  0.35aer ,0.5m
= 0.2758  0.087 + 0.35  0.069
= 0.0481
จาก  aer  exp[  k 0a.873 (1.0  k a  k 0a.7088 )m 0a.9108 ]
 exp[(0.0481) 0.873 (1.0  0.0481  (0.0481)0.7088 )(1.1759)0.9108 ]
= 0.9265
จาก I  E I
0n 0 sc

 1.0334  1366.1
 1411.72774
I  I     
n 0 n R o g w aer

= 1411.72774  0.9019  0.9834  0.9868  0.9008  0.9265


= 1031.20 วัตตตอตารางเมตร

ข) รังสีกระจาย
การคํานวณรังสีกระจายของแบบจําลองนี้จะคลายกับกรณีของแบบจําลองสเปกตรัม
กลาวคือจะแยกพิจารณารังสีกระจายเปน 3 สวน ไดแก รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงของ
โมเลกุลอากาศ (I dR ) รังสีกระจายจากการกระเจิงของฝุนละออง (I d ,aer ) และรังสีกระจายจาก
การกระเจิงกลับไปมาระหวางบรรยากาศและพื้นผิวโลก (I dm )
กรณี ข องรั ง สี ก ระจายที่ เ กิ ด จากการกระเจิ ง ของโมเลกุ ล อากาศ (I dR ) จะหาจาก
สมการ

I  I cos      [0.5(1   ) (1  m  m1.02 )]


dR on z o g w aer ,a R a a (5.24)

เมื่อ  aer ,a คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองกรณีที่คิดเฉพาะ


การดูดกลืนเทานั้น (-)

203
204

 aer ,a หาไดจากสมการ

aer,a  1  (1  SSA)(1  ma  m1a.06 )(1  aer ) (5.25)

เมื่อ aer คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองโดยคิดทั้งการ


ดูดกลืนและการกระเจิง (-)
SSA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง (single scattering
albedo) (-)

สําหรับรังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละออง (I d ,aer ) จะคํานวณ


จากสมการ
I  1.02
d , aer  I on cos z o g  w aer ,s Fc (1  aer , s ) (1  m a  m a ) (5.26)

เมื่อ  aer ,s คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองกรณีที่คิดเฉพาะ


การกระเจิงเทานั้น (-)
Fc คื อ สั ด ส ว นของรั ง สี ก ระจายที่ ถู ก กระเจิ ง ไปข า งหน า ต อ รั ง สี ที่ ถู ก
กระเจิงทั้งหมด (-)

ในด า นของรั ง สี ก ระจายที่ เ กิ ด จากการกระเจิ ง กลั บ ไปมาของรั ง สี อ าทิ ต ย ร ะหว า ง


บรรยากาศและพื้นผิวโลก (I dm ) จะหาจากสมการ
I  (I cos   I  I
dm on z dR d , aer )G a /(1  G a ) (5.27)

โดยที่ a คือสัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศซึ่งจะคํานวณจากสมการตอไปนี้

a  0.0685  (1  Fc )(1  aer,s ) (5.28)

รังสีกระจายทั้งหมด (I d ) จะหาจากผลรวมของรังสีกระจายทั้งสามสวน ซึ่งเขียนในรูป


สมการไดดังนี้

204
205

I  I  I
d dR

d , aer  I dm (5.29)

ค) รังสีรวม
รังสีรวมบนระนาบในแนวระดับ (I ) จะเป น ผลรวมของรั ง สี ต รงและรั ง สี ก ระจาย
ดังสมการ
I  I cos   I
n z d
1
 (I n cos z  IdR  Id ,aer )( ) (5.30)
1  G a

5.2.2 แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล (semi-empirical model)


ถึง แม ว า แบบจํ า ลองรัง สี อ าทิต ย แ บบพารามิ เ ตอไรเซซั น จะสามารถคํ า นวณรั ง สี
อาทิตยจากสมบัติของบรรยากาศไดอยางละเอียด แตการคํานวณประกอบดวยหลายขั้นตอน ซึ่ง
บางครั้งไมสะดวกในการนําไปใชงาน ดังนั้น จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2011) และ
ภัทรพานิชชัยและจันทรฉาย (Pattarapanitchai and Janjai, 2012) จึงไดเสนอแบบจําลองรังสี
อาทิตยแบบกึ่งเอมไพริคัลขึ้น กลาวคือเปนแบบจําลองที่ใชตัวแปรตางๆ ที่มีผลตอการดูดกลืน
และการกระเจิงรังสีอาทิตย โดยแทนที่จะสรางความสัมพันธระหวางรังสีดวงอาทิตยกับตัวแปร
เหลานั้นโดยใชหลักการทางฟสิกส แตจะสรางความสัมพันธแบบเอมไพริคัลแทน ซึ่งทําใหการ
คํานวณไมยุงยากซับซอน แบบจําลองดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้
1) แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีรวม
จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2011) ไดทําการวิเคราะหขอมูลรังสีรวม ซึ่งวัดที่
สถานีวัดของมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งตั้งอยูที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ (18.78 N, 98.98 E)
จังหวัดเชียงใหม ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (15.25 N, 104.87 E)
จังหวัดอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยศิลปากร (13.82 N, 100.04 E) จังหวัดนครปฐม และ
ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคใตฝงตะวันออก (7.2 N, 100.6 E) จังหวัดสงขลา โดยทําการวิเคราะห
ความเขมรังสีรวมที่วัดไดรวมกับขอมูลปริมาณไอน้ํา ขอมูลปริมาณโอโซนและสมบัติเชิงแสง
ของฝุนละออง โดยขอมูลปริมาณโอโซนจะไดจากดาวเทียม OMI/Aura สวนขอมูลไอน้ําและ
ฝุนละอองจะไดจากเครื่องซันโฟโตมิเตอรซึ่งอยูในเครือขายการวัดฝุนละออง AERONET ของ

205
206

นาซา จากนั้นไดหาความสัมพันธระหวางรังสีรวมกับสมบัติตางๆ ของบรรยากาศและไดเสนอ


แบบจําลองแบบกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณรังสีรวมตามสมการ
I  A exp(  B m )
1 1 a (5.31)

เมื่อ A 1  0.778227 E 0 I sc (cos  z )1.198932 (5.32)


B1  0.106634  0.337373   0.009181 
(5.33)
 0.009852w  0.482012 

โดยที่ I คือ ความเขมรังสีรวมบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร)


E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกไขผลจากการแปรคาของระยะทางระหวาง
โลกกับดวงอาทิตย (-)
I
sc คือ คาคงตัวรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตร)
ma คือ มวลอากาศ (-)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
 คือ สัมประสิทธิ์ความขุนมัวของบรรยากาศของอังสตรอม (-)
 คือ ตัวเลขยกกําลังของอังสตรอม (-)
w คือ ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
 คือ ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)

2) แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีตรง
ในทํานองเดียวกัน จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2011) ไดเสนอแบบจําลอง
กึ่งเอมไพริคัลของรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (direct normal irradiance) ซึ่ง
เขียนไดดังนี้
I  A exp(B m )
n 2 2 a (5.34)
เมื่อ A 2  0.71640 E 0 Isc (cos  z ) 0.35320 (5.35)
B2  0.10126  0.841372  0.017649 
(5.36)
 0.004851w  0.48286 

206
207

เมื่อ I คือความเขมรังสีตรงที่พื้นผิวโลกบนระนาบที่ตั้งฉากกับทิศของรังสี (วัตตตอตาราง


n

เมตร)

3) แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีกระจาย
กรณีรังสีกระจาย ภัทรพานิชชัยและจันทรฉาย (Pattarapanitchai and Janjai, 2012) ได
ทําการวิเคราะหขอมูลรังสีกระจายและขอมูลสมบัติตางๆ ขององคประกอบบรรยากาศ ซึ่งวัดที่
สถานีทั้ง 4 แหงของมหาวิทยาลัยศิลปากร จากนั้นไดเสนอแบบจําลองแบบกึ่งเอมไพริคัล ซึ่ง
เขียนในรูปสมการไดดังนี้

I  0.30I E (cos  )0.734 (0.347038AOD  0.034209 w  1.144026 ) (5.37)


d sc 0 z

เมื่อ I
d คือ รังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร)
I
sc คือ คาคงตัวรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตร)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)
w คือ ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (เซนติเมตร)
 คือ ปริมาณโอโซนในบรรยากาศ (เซนติเมตร)

จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2011) ไดทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองรังสีรวม


และรังสีตรงกับขอมูลที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐมและสงขลา พบวามีคาแตกตาง
จากการวัดในรูปของ RMSD (ดูภาคผนวกที่ 1) เทากับ 7.5% ทั้งกรณีรังสีรวมและรังสีตรง
สํ า หรั บ รั ง สี ก ระจาย ภั ท รพานิ ช ชั ย และจั น ทร ฉ าย (Pattarapanitchai and Janjai, 2012)
ไดทดสอบทํานองเดียวกันพบวา RMSD มีคาเทากับ 18.0 %
แบบจําลองแบบกึ่งเอมไพริคัลของรังสีรวม รังสีตรงและรังสีกระจายที่กลาวมาแลวนั้น
เปนแบบจําลองที่คํานึงถึงผลกระทบของไอน้ํา ฝุนละอองและโอโซนตอรังสีดังกลาว ถึงแมวา
จะสรางจากขอมูลในประเทศไทยซึ่งอยูในเขตรอน แตคาดวาจะสามารถใชงานในเขตรอนอื่นๆ
ได ถานําไปใชในภูมิอากาศเขตอื่นๆ ควรทําการปรับสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองใหเหมาะสม
กับเขตนั้นๆ

207
208

5.2.3 แบบจําลองเอมไพริคัล (empirical model)


แบบจําลองประเภทนี้สวนใหญจะแสดงความสัมพันธระหวางความเขมรังสีอาทิตยกับ
มุมเซนิธของดวงอาทิตย ในอดีตที่ผานมานักวิจัยตางๆ ไดเสนอแบบจําลองเอมไพริคัลสําหรับ
คํานวณรังสีรวมหลายแบบจําลองโดยใชขอมูลจากบริเวณตางๆ ของโลก (Haurwitz, 1945;
Daneshyar and Proctor, 1976; Paltridge and Proctor, 1976; Berger, 1979; Adnot et al., 1979;
Kasten and Czeplak, 1980; Kondratyev, 1969; Robledo and Soler, 2000) จันทรฉายและคณะ
(Janjai et al., 2011) ไดทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองดังกลาว โดยเปรียบเทียบกับขอมูล
จากการวัดที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา พบวา แบบจําลองของเฮารวิทซ
(Haurwitz, 1945) ใหผลการคํานวณรังสีรวมคอนขางดี โดยมีคาความแตกตางจากคาจากการวัด
(RMSD) เทากับ 10 % แบบจําลองนี้เขียนในรูปสมการไดดังนี้
I  1,098 cos  exp(0.057 / cos  )
z z (5.38)

เมื่อ I คือ รังสีรวมบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร)


z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

กรณีของรังสีตรงและรังสีกระจาย มีแบบจําลองเอมไพริคัลคอนขางนอย ในที่นี้จะ


นําเสนอแบบจําลองของแบคนารและคณะ (Bernard et al., 1980) โดยกรณีของรังสีตรงเขียน
ในรูปสมการไดดังนี้

I  749.08 exp  1 
(5.39)
n  
 3.8 sin( s  1.6) 

เมื่อ I
n คือ รังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (วัตตตอ ตารางเมตร)
s คือ มุมอัลติจูดของดวงอาทิตย (  s  90   z ) (องศา)

ในดานของรังสีกระจาย แบคนารและคณะไดเสนอแบบจําลองดังนี้

I  194.703(sin  )0.7975
d s (5.40)

208
209

เมื่อ I
d คือ รังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร)

จากการทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองรังสีตรง (สมการ (5.38)) และแบบจําลอง


รังสีกระจาย (สมการ (5.39)) ที่สถานีนครปฐม พบวา แบบจําลองรังสีตรงและแบบจําลองรังสี
กระจายใหผลการคํานวณ ซึ่งมีความคลาดเคลื่อน (RMSD) เทากับ 31% และ 34% ตามลําดับ

5.3 สรุป
บทนี้กลาวถึงการคํานวณรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ โดย
เริ่มจากการคํานวณสเปกตรัมรังสีอาทิตย โดยอาศัยแบบจําลองการถายเทรังสี แบบจําลองทาง
ฟสิกสที่ดั ดแปลงใหงาย และแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล จากนั้นไดอธิ บายการคํานวณรัง สี
อาทิ ตยใ นช ว งความยาวคลื่น กว า ง ซึ่ ง ประกอบดว ยแบบจํา ลองทางฟ สิก ส แบบจํ าลองกึ่ ง
เอมไพริคัล และแบบจําลองเอมไพริคัล การจะเลือกใชแบบจําลองแบบใดจะขึ้นกับขอมูลที่มี
และความละเอียดถูกตองที่ตองการ

209
210

แบบฝกหัด

1. จงดาวนโหลด (download) โปรแกรมสําหรับคํานวณความเขมรังสีอาทิตย 6S ซึ่งใชทฤษฎี


การถายเทรังสีจากเว็บไซต http://6s.ltdri.org/ แลวทําการหาสเปกตรัมรังสีตรงบนระนาบ
ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีในสภาพทองฟาปราศจากเมฆที่ความยาวคลื่น 0.5 ไมครอน ที่
พื้นผิวโลก ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร (13.82 N , 100.04 E) จังหวัดนครปฐม ในวันที่ 21
มิถุนายน เวลา 12:00 น. ตามเวลามาตรฐานประเทศไทยโดยขณะนั้นปริมาณไอน้ําใน
บรรยากาศเทากับ 2 เซนติเมตร ปริมาณโอโซนเทากับ 300 ดอบสัน และความลึกเชิงแสง
ของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร มีคาเทากับ 0.5
คําตอบ 819.46 วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน

2. จงใชขอมูลในขอ 1 คํานวณสเปกตรัมรังสีตรงในสภาพทองฟาปราศจากเมฆที่ความยาวคลื่น
0.5 ไมครอน ณ สถานที่เดียวกัน โดยใชแบบจําลองของอิคบาล ในหัวขอ 5.2.1 พรอมทั้ง
วิจารณผลที่ไดเมื่อเปรียบเทียบกับผลในขอ 1
คําตอบ 937.24 วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน

3. จงคํ า นวณรั ง สี ต รงในช ว งความยาวคลื่ น กว า ง โดยใช แ บบจํ า ลอง C ของอิ ค บาล ที่
ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ (18.78 N, 98.98 E) จังหวัดเชียงใหม ในวันที่ 21 ธันวาคม
เวลา 10:00 น. ตามเวลามาตรฐานประเทศไทย ถาขณะเวลาดังกลาวบรรยากาศมีไอน้ํา
2 เซนติเมตร ปริมาณโอโซน 280 ดอบสัน ความดันบรรยากาศ 990 มิลลิบาร และความลึก
เชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 0.38 ไมครอนและ 0.5 ไมครอน เทากับ 0.15 และ
0.18 ตามลําดับ
คําตอบ 622.06 วัตตตอตารางเมตร

4. จากขอมูลในขอ 3 จงใชแบบจําลองแบบกึ่งเอมไพริคัลคํานวณหาความเขมรังสีรวมใน
สภาพท อ งฟ า ปราศจากเมฆที่ เ วลาและสถานที่ เ ดี ย วกั น พร อ มทั้ ง วิ จ ารณ ผ ลที่ ไ ด เ มื่ อ
เปรียบเทียบกับผลในขอ 3
คําตอบ 579 วัตตตอตารางเมตร

210
211

5. จงคํานวณความเขมรังสีรวมในสภาพทองฟาปราศจากเมฆโดยใชแบบจําลองของเฮารวิทซ
(สมการ (5.37)) ที่กรมอุตุนิยมวิทยากรุงเทพฯ (13.75 N, 100.52 E) และที่ศูนยอุตุนิยมวิทยา
ภาคเหนือ (18.78 N, 98.98 E) ในวันที่ 21 มิถุนายน และวันที่ 21 ธันวาคม ที่ตนชั่วโมง
ของทุกชั่วโมงและนําผลที่ไดมาเขียนกราฟเพื่อเปรียบเทียบกันพรอมทั้งวิจารณผล

211
212

รายการสัญลักษณ

AOD ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)


E0 แฟคเตอรสําหรับแกไขผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวง-
อาทิตย (-)
Fc สัดสวนของรังสีกระจายที่ถกู กระเจิงไปขางหนาตอรังสีที่ถูกกระเจิงทัง้ หมด (-)
I
b รังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร
ตอไมครอน)
I
b1 รังสีตรงที่เหลือจากการดูดกลืนของไอน้ํา โอโซน และกาซตางๆ และการ
กระเจิงและดูดกลืนโดยฝุน ละออง (วัตตตอ ตารางเมตรตอไมครอน)
I
b2 รังสีตรงที่เหลือจากการดูดกลืนของไอน้ํา โอโซน และกาซตางๆ และการ
กระเจิงโดยโมเลกุลอากาศ (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
b รังสีตรงที่ความยาวคลื่น  บนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตรตอ
ไมครอน)
I
d รังสีกระจายในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตาราง
เมตร)
I
d รังสีกระจายทีค่ วามยาวคลื่น  บนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตรตอ
ไมครอน)
I
d , aer รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยโดยฝุนละอองในชวงความยาว
คลื่นกวาง (วัตตตอตารางเมตร)
I
d , aer ,  รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยโดยฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 
(วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
dm รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงกลับไปมาระหวางบรรยากาศและพื้นผิวโลก
ในชวงความยาวคลื่นกวาง (วัตตตอตารางเมตร)
I
dm  รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงกลับไปมาระหวางบรรยากาศและพื้นผิวโลกที่
ความยาวคลื่น  (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)

212
213

I
dR รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยโดยโมเลกุลอากาศในชวงความยาว
คลื่นกวาง (วัตตตอตารางเมตร)
I
dR  รังสีกระจายที่เกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยโดยโมเลกุลอากาศที่ความยาวคลื่น
 (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I รังสีรวมในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตาราง
เมตร)
I
n รังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวางทีพ่ ื้นผิวโลกบนระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทาง
ของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
n รังสีตรงที่ความยาวคลื่น  บนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (วัตตตอ ตาราง
เมตรตอไมครอน)
I
on รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบทีต่ ั้งฉาก
กับทิศของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
on รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกที่ความยาวคลื่น  บนระนาบตั้งฉากกับทิศของ
รังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
sc คาคงตัวรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตร)
k g สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ (-)
k w สัมประสิทธิ์การลดทอน (extinction) รังสีอาทิตยของไอน้ํา (เซนติเมตร -1)
k o สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของโอโซน (เซนติเมตร-1)
ma มวลอากาศ (-)
L เรเดียนรังสีกระจาย (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอนตอสเตอเรเดียน)
 ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (%)
SSA สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรก (single scattering albedo) ของฝุนละออง (-)
w ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (เซนติเมตร)
s ระยะทางที่รังสีกระจายเดินทางผาน (เมตร)
 ตัวเลขยกกําลังของอังสตรอม (-)
o สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซน (-)

213
214

w สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา (-)
s มุมอัลติจูดของดวงอาทิตย (องศา)
 สัมประสิทธิ์ความขุนมัวของบรรยากาศของอังสตรอม (-)
e สัมประสิทธิ์การลดลงของรังสีอาทิตย เนื่องจากการดูดกลืนและการกระเจิงของ
มวลอากาศในชั้นความหนา z (เมตร-1)
s สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีดวงอาทิตยของมวลอากาศในชั้นความหนาของ
บรรยากาศ z (เมตร-1)
z มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
 ความยาวคลื่น (ไมครอน)
 โคซายนของมุมเซนิธของทิศทางของ L  (-)
o โคซายนของมุมเซนิธของรังสีตรง (-)
 โคซายนของมุมเซนิธของรังสีที่มาจากการกระเจิงกลับไปมาในบรรยากาศโดย
โมเลกุลอากาศและฝุนละออง (-)
a สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีดวงอาทิตยของบรรยากาศในชวงความยาวคลื่น
กวาง (-)
a สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีดวงอาทิตยของบรรยากาศทีค่ วามยาวคลื่น  (-)
G สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีดวงอาทิตยของพื้นผิวโลกในชวงความยาวคลื่น
กวาง (-)
G สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีดวงอาทิตยของพื้นผิวโลกทีค่ วามยาวคลื่น  (-)
 aer , สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ซึ่งเกิดจากการดูดกลืน
และการกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละออง (-)
 aer สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองซึ่งเกิดจากการกระเจิงและการ
ดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
 aer ,a สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นกวางซึ่ง
คิดเฉพาะการดูดกลืนเทานัน้ (-)
 aer ,s สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นกวางซึ่ง
คิดเฉพาะการกระเจิงเทานั้น (-)

214
215

aer ,0.38m ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 0.38 ไมครอน (-)


aer,0.5m ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 0.5 ไมครอน (-)
g สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยซึ่งเกิดจากการดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซ
ตางๆ ในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
 g สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ซึ่งเกิดจากการดูดกลืน
ของกาซตางๆในบรรยากาศ (-)
o สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
 o สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซนที่ความยาวคลื่น  (-)
R สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยเนื่องจากการกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุล
อากาศในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
 R สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ซึ่งเกิดจากการกระเจิง
รังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ (-)
w สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
 w สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา (-)
 สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของบรรยากาศที่ความยาวคลื่น  (-)
 มุมอาซิมุธของทิศทางของ L  (องศา)
o มุมอาซิมุธของทิศทางของรังสีตรง (องศา)
 มุมอาซิมุธของทิศทางที่รังสีจากการกระเจิงกลับไปมาในบรรยากาศโดยโมเลกุล
อากาศและฝุนละออง (องศา)
 มุมตัน (สเตอเรเดียน)

215
216

เอกสารอางอิง

เสริม จันทรฉาย, พิมพปพัฒน กฤติธนาเดช, อิสระ มะศิริ, 2560. การพัฒนาแบบจําลองกึ่ง


เอมไพริคัลเพื่อคํานวณคาสเปกตรัมรังสีรวมภายใตทองฟาปราศจากเมฆ. เอกสารการ
ประชุมวิ ชาการเครือข ายพลั งงานแหงประเทศไทย ครั้งที่ 13 โรงแรมดิเ อ็ มเพลส
เชียงใหม
Andrews, D.G., 2010. An Introduction to Atmospheric Physics. Cambridge University Press,
Cambridge, UK.
Angstrom, A., 1929. On the atmospheric transmission of sun radiation. Geografis Annal 2,
130-159.
Adnot, J., Bourges, B., Campana, D., Gicqel, R.,1979. Utilisation des courbes de frequence
cumuless pour le calcul des installation solaire. In R. Lestienne (Ed) Analise
Statistiquce des Processus Meteorologiques Appliquée à l’Energie Solaire: CNRS,
pp. 9-40.
Berger, X., 1979. Étude du Climat en Region Nicoise en Vue Application à l’Habitat Solaire
CNRS Report, Paris.
Bernard, R., Menguy, G., Schwartz, M., 1980. Le Rayonnement Solaire: Conversion
Thermique et Applications. Technique of Documentation, Paris.
Brine, D.T., Iqbal, M., 1983. Diffuse and global solar spectrum irradiance under cloudless
skies. Solar Energy 30(5), 447-453.
Chandrasekhar, S., 1950. Radiative Transfer. Oxford University Press, Oxford, UK.
Daneshyar, M., Proctor D., 1976. Monthly mean solar radiation statistics for Australia, Solar
Energy 18, 234-243.
Gueymard, C.A., 1989. A two-band model for the calculation of clear sky solar irradiance,
illuminance and photosynthetically active radiation at the earth surface. Solar Energy
43, 252-265.

216
217

Haurwitz, B., 1945. Insolation in relation to cloudiness and cloud density. Journal of
Meteorology 2, 154-166.
Ineichen, P., 2008. A broadband simplified version of SOLIS clear sky model. Solar Energy
82,758-762.
Iqbal, M., 1983. An Introduction of Solar Radiation. Academic Press, New York.
Janjai, S., Sricharoen, K., Pattarapanitchai, S., 2011. Semi-empirical models for the
estimation of clear sky solar global and direct normal irradiances in the tropics.
Applied Energy 88, 4749-4755.
Kasten, F., Czeplak, G., 1980. Solar and terrestrial radiation dependent on the amount and
type of clouds. Solar Energy 24, 177-189.
Kondratyev, KY. 1969. Radiation in the Atmosphere. Academic Press, New York.
Leckner, B., 1978. The spectral distribution of solar radiation at the earth’s surface-element
of a model. Solar Energy 20 (2), 143-150.
Liou, K.N., 2002. An Introduction to Atmospheric Radiation, Academic Press, New York.
Louche, A, Simonnuta, A.G., Iqbal, M., Mermier, M., 1988. Experimental verification of
some clear sky insolation models. Solar Energy 41 (3), 273-279.
Paltridge, G.W., D. Proctor, 1976. Monthly solar radiation statistics for Australia. Solar
Energy 18, 235–243.
Pattarapanitchai, S., Janjai, S., 2012. A semi-empirical model for estimating diffuse solar
irradiance under a clear sky condition for a tropical environment. Procedia
Engineering 32, 421-426 .
Robledo, L., Soler, A., 2000. Luminous efficacy of global solar radiation for clear skies.
Energy Conversion and Management 41, 1769-1779.
Rigollier, C., Bauer, O., Wald, L., 2000. On the clear sky model of the ESRA-European solar
radiation atlas-with respect to the Heliosat method. Solar Energy 68, 33-48.
Vigroux, E., 1953. Contribution à d’étude expérimentale de l’absorption de l’ozone, Annale
Physiques 8, 709-762.

217
218
บทที่ 6
การคํานวณรังสีอาทิตยในสภาพทองฟาทั่วไปโดยใชขอมูลภาพถาย
ดาวเทียม
ขอมูลรังสีอาทิตยที่ใชในงานดานพลังงานรังสีอาทิตยและงานอื่นๆ สวนใหญจะเปน
ขอมูลในสภาพทองฟาทั่วไป ซึ่งเปนทองฟาที่พบเห็นทุกวัน กลาวคือบางเวลาแจมใสไมมีเมฆ
ปกคลุมและบางเวลาอาจมีเมฆปกคลุมบางสวนหรือทั้งหมด ถึงแมวาในชวงทองฟาปราศจาก
เมฆเราสามารถคํานวณรังสีอาทิตยโดยอาศัยวิธีการในบทที่ 5 และในชวงทองฟามีเมฆ เรา
สามารถคํานวณรังสีอาทิตยโดยใชทฤษฎีการถายเทรังสีในบรรยากาศโดยใชขอมูลเกี่ยวกับ
ขนาด รูปทรง ตําแหนง และสมบัติเชิงแสงของเมฆ แตขอมูลเหลานี้ไมมีอยูทั่วไป ดังนั้นในทาง
ปฏิบัติการคํานวณรังสีอาทิตยในสภาพทองฟาทั่วไปจึงไมแยกคํานวณ แตจะคํานวณรวมทั้งใน
สภาพทองฟาปราศจากเมฆและมีเมฆ ซึ่งสามารถคํานวณไดโดยอาศัยขอมูลภาพถายดาวเทียม
โดยผลที่จะเสมือนกับขอมูลรังสีอาทิตยจากสถานีวัดซึ่งเปนขอมูลจากทุกสภาพทองฟา ในบท
นี้จะกลาวถึง ดาวเทียม ขอมูลภาพถายดาวเทียม และการคํานวณรังสีอาทิตยในสภาพทองฟา
ทั่วไปจากขอมูลภาพถายดาวเทียมดวยแบบจําลองตางๆ

6.1 ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ดาวเที ย มที่ ใ ช กั น ในป จ จุ บั น มี ห ลายชนิ ด เช น ดาวเที ย มสื่ อ สาร ดาวเที ย มสํ า รวจ
ทรัพยากรและดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เปนตน ขอมูลดาวเทียมที่เหมาะสมกับการใชในการ
คํานวณคารังสีอาทิตยคือขอมูลจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ทั้งนี้เพราะดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาจะ
บันทึกภาพของโลกและเมฆที่ปกคลุมบริเวณตางๆ ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงตอคารังสีอาทิตยที่
ตกกระทบพื้นผิวโลก โดยทั่วไปดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาสามารถแบงได 2 ประเภท ดังนี้
1) ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบโคจรผานขั้วโลก (polar orbiting satellite) ดาวเทียม
ประเภทนี้เปนดาวเทียมที่มีวงโคจรอยูในแนวขั้วโลก (รูปที่ 6.1) เนื่องจากขณะที่ดาวเทียมโคจร
จากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต โลกจะหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก
ดั ง นั้ น ใน 1 วั น ดาวเที ย มจึ ง สามารถบั น ทึ ก ภาพครอบคลุ ม พื้ น ที่ ส ว นใหญ ข องพื้ น ผิ ว โลก
ดาวเที ย มอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาประเภทนี้ ที่ สํ า คั ญ ได แ ก ดาวเที ย ม NOAA ของสหรั ฐ อเมริ ก าและ

219
220

ดาวเทียม FY1 ของจีน ดาวเทียมดังกลาวมีวงโคจรสูงจากพื้นผิวโลกเพียง 850 กิโลเมตร ทําให


ขอมูลที่ไดมีความละเอียดเชิงพื้นที่สูง (รูปที่ 6.2) แตดาวเทียมเหลานี้จะโคจรผานพื้นที่หนึ่งๆ
1-2 ครั้งตอวันเทานั้น ขอมูลที่ไดจึงไมเหมาะสมตอการนํามาใชหาคารังสีอาทิตยที่ตองการ
ความตอเนื่อง

ดาวเทียม

N 850 กิโลเมตร

รูปที่ 6.1 วงโคจรของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบโคจรผานขั้วโลก เมื่อ N และ S เปนขั้วโลก


เหนือและใต ตามลําดับ

220
221

รูปที่ 6.2 ลักษณะของขอมูลภาพถายดาวเทียมจากดาวเทียม NOAA ซึ่งเปนดาวเทียมแบบโคจร


ผานขั้วโลก

2) ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบอยูตําแหนงเดิมเมื่อเทียบกับพื้นผิวโลก (geostationary
satellite) ดาวเทียมประเภทนี้จะอยูเหนือเสนศูนยสูตรของโลกประมาณ 36,000 กิโลเมตร
(รูปที่ 6.3) และโคจรในทิศเดียวกับการหมุนรอบตัวเองของโลกดวยความเร็วเชิงมุมเทากับโลก
ทําใหดาวเทียมเสมือนอยูกับที่เมื่อเทียบกับพื้นผิวโลก ดาวเทียมจึงสามารถบันทึกภาพสภาวะ
ของบรรยากาศของโลก ณ ตําแหนงเดิมไดทุกชั่วโมงตลอดวัน เนื่องจากสัญญาณภาพที่ไดจะ
เป น ภาพของสภาวะของบรรยากาศครอบคลุ มพื้ น ที่ เ พีย งซีก หนึ่ ง ของโลก ดั ง นั้ น องคก าร
อุตุนิยมวิทยาโลกจึงไดประสานงานกับประเทศตางๆ ใหมีดาวเทียมประเภทนี้กระจายกันอยู
รอบโลก เพื่อใหสามารถสังเกตการณสภาวะทางอุตุนิยมวิทยาครอบคลุมพื้นที่ทั่วโลก ดาวเทียม
ดังกลาวในปจจุบัน ไดแก GOES-13, GOES-15, METEOSAT-10, MTSAT-1R และ FY-2D
โดยดาวเทียมที่ใหขอมูลครอบคลุมพื้นที่เอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต รวมถึงพื้นที่
ประเทศไทย คือดาวเทียมชุด MTSAT ของประเทศญี่ปุน และดาวเทียมชุด FY-2 ของประเทศจีน
เนื่องจากดาวเทียมจะบันทึกภาพโลกได 1-4 ภาพตอชัว่ โมง ซึ่งสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลง

221
222

ของเมฆได ดังนั้นขอมูลดาวเทียมเหลานี้จึงเหมาะสมในการนํามาใชคํานวณคารังสีอาทิตยที่
พื้นผิวโลก

36,000 กิโลเมตร ดาวเทียม

รูปที่ 6.3 วงโคจรของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบอยูตําแหนงเดิมเมื่อเทียบกับพื้นผิวโลก

6.2 ขอมูลภาพถายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบอยูตําแหนงเดิมเมื่อเทียบกับ
พื้นผิวโลก
ดาวเที ย มอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาแบบอยู ตํ า แหน ง เดิ ม เมื่ อ เที ย บกั บ พื้ น ผิ ว โลกจะมี อุ ป กรณ
บันทึกภาพ (imager) เพื่ อบั นทึก ภาพสภาวะของบรรยากาศโลกที่ ความยาวคลื่ นตางๆ โดย
ดาวเทียมในยุคแรกๆ จะบันทึกภาพในชวงความยาวคลื่นแสงสวางและชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรดเทานั้น ทั้งนี้เพราะสัญญาณในชวงความยาวคลื่นแสงสวางจะสามารถบันทึกภาพ
เมฆและสภาวะของบรรยากาศในชวงเวลากลางวันได สวนสัญญาณในชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรดจะบันทึกภาพไดทั้งกลางวันและกลางคืน ดาวเทียมในปจจุบันจะมีชองสัญญาณ
ไอน้ํ า (6.5-7.0 ไมครอน) เพื่ อ ตรวจวั ด ปริ ม าณไอน้ํ า และช อ งสั ญ ญาณอิ น ฟราเรดใกล
(near infrared, 3.5-4.0 ไมครอน) สําหรับใชหาสมบัติทางฟสิกสของเมฆและการแผรังสีของโลก
อุปกรณบันทึกภาพของดาวเทียมจะประกอบดวยเลนสหรือกระจกเวาสําหรับรวมแสง
และสรางภาพและตัวรับสัญญาณซึ่งทําหนาที่เปลี่ยนสัญญาณรังสีที่รับไดใหเปนสัญญาณไฟฟา
อุปกรณบันทึกภาพดังกลาวจะกวาดพื้นที่โลกเปนแนวขนานกับศูนยสูตรของโลกจากขั้วโลก
หนึ่ ง ไปยั ง อี ก ขั้ ว หนึ่ ง โดยใช เ วลา 15-30 นาที เนื่ อ งจากข อ มู ล ที่ ไ ด มี จํ า นวนมากต อ งใช
คอมพิ ว เตอรข นาดใหญ ใ นการประมวลผล ดัง นั้น ดาวเที ย มจะส ง ข อมู ลดิ บที่ ไ ด ม าทํ า การ

222
223

ประมวลผลที่สถานีรับสัญญาณภาคพื้นดิน จากนั้นจะสงสัญญาณที่ประมวลผลแลวกลับไปยัง
ดาวเทียมอีกครั้งหนึ่งเพื่อแพรสัญญาณลงมายังสถานีรับภาคพื้นดินในประเทศตางๆ

6.3 การจัดเตรียมขอมูลภาพถายดาวเทียมเพื่อใชในการคํานวณความเขมรังสีอาทิตย
ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะขอมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบอยูตําแหนงเดิมเมื่อเทียบกับ
พื้นผิวโลก ทั้งนี้เพราะเปนขอมูลดาวเทียมที่เหมาะสมตอการใชคํานวณรังสีอาทิตย โดยทั่วไป
ขอมูลที่ใชจะเปนขอมูลในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง โดยดาวเทียมแตละดวงจะมีชวงความ
ยาวคลื่นแตกตางกัน ดังที่แสดงไวในตารางที่ 6.1

ตารางที่ 6.1 ชวงกวางของความยาวคลื่นของสัญญาณแสงสวางของดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยาตางๆ

ดาวเทียม ความยาวคลื่น (ไมครอน)


1. MTSAT-1R 0.55 - 0.90
2. FY - 2D 0.55 - 0.90
3. METEOSAT-10 0.74 - 0.88
4. GOES-13 0.55 - 0.99
5. GOES-15 0.55 - 0.99

เนื่องจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบอยูตําแหนงเดิมจะอยูสูงจากพื้นผิวโลกประมาณ
36,000 กิโลเมตร ดังนั้นภาพถายดาวเทียมที่ไดจะครอบคลุมซีกหนึ่งของโลก ดังตัวอยางขอมูล
จากดาวเที ย ม MTSAT-1R (รู ป ที่ 6.5) โดยทั่ ว ไปดาวเที ย มแบบอยู ตํ า แหน ง เดิ ม จะทํ า การ
บันทึกภาพของโลกชั่วโมงละ 1 ภาพ แตดาวเทียมรุนใหมสามารถบันทึกภาพไดหลายภาพตอ
ชั่วโมง เชน ดาวเทียม METOSAT รุนใหม สามารถบันทึกภาพไดทุกๆ 15 นาที

223
224

รูปที่ 6.5 ขอมูลภาพถายดาวเทียม MTSAT-1R

ภาพถายดาวเทียมแตละภาพจะประกอบดวยหนวยเล็กๆ ที่เรียกวา พิกเซล (pixel) โดย


แตละพิกเซลจะมีขนาดซึ่งสอดคลองกับพื้นที่บนพื้นผิวโลก เชน พิกเซลของภาพจากดาวเทียม
MTSAT-1R จะมีขนาดที่สอดคลองกับพื้นที่ 1 x 1 ตารางกิโลเมตร บนพื้นผิวโลก ณ ตําแหนงที่
ตรงกั บ ดาวเที ย ม (sub-satellite point) เราจะเรี ย กค า ดั ง กล า วว า เป น ความละเอี ย ดเชิ ง พื้ น ที่
(spatial resolution) ของภาพถายดาวเทียม นอกจากความละเอียดเชิงพื้นที่จะขึ้นกับดาวเทียม
แลว ยังขึ้นกับตําแหนงของพิกเซลบนภาพถายดาวเทียมดวย โดยพิกเซลบริเวณกลางภาพจะมี
ความละเอียดเชิงพื้นที่สูงกวาบริเวณขอบภาพ เนื่องจากภาพถายดาวเทียมจะครอบคลุมพื้นที่
ซีกหนึ่งของโลก ซึ่งเปนขอมูลดิจิตอลที่มีขนาดใหญ ดังนั้นในการนําขอมูลดังกลาวมาใชงานเรา
จะทําการตัดเฉพาะสวนที่สนใจ เชน ถาตองการใชหาความเขมรังสีอาทิตยบริเวณประเทศไทย
เราก็จะตัดภาพที่เปนพื้นที่ประเทศไทย ตามตัวอยางในรูปที่ 6.6

224
225

รูปที่ 6.6 ภาพถายดาวเทียมครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทย

เนื่องจากภาพถายที่ไดจะเห็นสวนโคงของโลก ทําใหระยะทางบนภาพไมแปรโดยตรง
กับระยะบนพื้นผิวโลก ซึ่งไมสะดวกตอการนํามาใชงาน ดังนั้นเราจะตองแปลงภาพดังกลาวให
อยูในภาพฉายแบบผิวทรงกระบอก (cylindrical projection) ซึ่งจะไดภาพที่ระยะทางในแนวตั้ง
แปรโดยตรงกับละติจูดและระยะทางในแนวนอนแปรโดยตรงกับลองจิจูด ในการแปลงภาพ
ดังกลาวจะใชวิธีนําพิกเซลมาจัดเรียงใหม โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ตัวอยางภาพถาย
ดาวเทียมที่อยูในภาพฉายแบบผิวทรงกระบอก แสดงไวในรูปที่ 6.7

225
226

รูปที่ 6.7 ภาพถายดาวเทียมในภาพฉายแบบผิวทรงกระบอก

เนื่องจากการหาคาความเขมรังสีอาทิตยจากขอมูลภาพถายดาวเทียม เราจะคํานวณที่ทุก
พิกเซลโดยเราตองรูพิกัดของพิกเซลนั้นๆ ดังนั้นเราจึงตองหาพิกัดของทุกพิกเซลในภาพถาย
ดาวเทียม ในการหาพิกัดของพิกเซลของภาพถายดาวเทียมเราจะนําแผนที่ทางภูมิศาสตรที่มี
ภาพฉายแบบผิวทรงกระบอกไปซอนทับกับภาพถายดาวเทียมแลวใชแนวเสนชายฝง หรือ
สภาพภูมิศาสตรอื่น เชน ทะเลสาบ เปนตําแหนงอางอิง เนื่องจากภาพถายดาวเทียมที่มีภาพฉาย
แบบผิวทรงกระบอกมีระยะในแนวแกนตั้งแปรโดยตรงกับละติจูดและระยะในแนวแกนนอน
แปรตามลองจิจูด ดังนั้นจากพิกัดของแผนที่ที่นํามาซอนทับ จํานวนและขนาดของพิกเซล
เราจะสามารถคํานวณละติจูดและลองจิจูดของทุกพิกเซลได ตัวอยางของภาพถายดาวเทียม
ของประเทศไทยที่หาพิกัดแลว แสดงไวในรูปที่ 6.8

226
227

รูปที่ 6.8 ภาพถายดาวเทียมที่หาพิกดั แลว

ขอมูลที่อยูในแตละพิกเซลของภาพถายดาวเทียมที่หาพิกัดแลวจะเปนคาระดับความเทา
(gray level) ซึ่งแปรตามความเขมของรังสีอาทิตยที่กระเจิงจากบรรยากาศและพื้นผิวโลก
โดยจํานวนระดับความเทาจะขึ้นอยูกับดาวเทียม ตัวอยางเชน ดาวเทียม MTSAT-1R จะมี
จํานวน 256 ระดับ เรียงลําดับตั้งแต 0 ถึง 255 ทั้งนี้เพราะขอมูลดังกลาวเปนขอมูลดิจิตอล 8 บิต
ซึ่งมีไดทั้งหมด 256 คาที่ไมซ้ํากัน โดยระดับความเทาเทากับ 0 หมายถึงรังสีที่กระเจิงจาก
บรรยากาศและพื้นผิวโลกมีคาต่ําสุดและที่ระดับความเทาเทากับ 255 เปนคาสูงสุด
เนื่องจากคาระดับความเทาไมสามารถนํามาใชในการคํานวณรังสีอาทิตยไดโดยตรง
เราจะต อ งแปลงให อ ยู ใ นรู ป ของสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข องบรรยากาศและ
พื้นผิวโลก (earth-atmospheric albedo) โดยอาศัยตารางสอบเทียบซึ่งผูผลิตดาวเทียมไดทําการ
สอบเทียบไวกอนสงดาวเทียม ในการสอบเทียบตัวรับสัญญาณของดาวเทียม โดยทั่วไปจะเปน
การสอบเทียบกรณีที่แสงจากแหลงกําเนิดตกกระทบตั้งฉากกับตัวรับสัญญาณ ดังนั้นผลการ
สอบเทียบที่ไดจึงเปนความสัมพันธระหวางคาระดับความเทากับสัมประสิทธิ์การกระเจิงซึ่ง
แสงตกตั้งฉากกับตัวรับสัญญาณ สัมประสิทธิ์ที่ไดนี้จะเรียกวาสัมประสิทธิ์การกระเจิงที่ไดจาก

227
228

การสอบเทียบ ตัวอยางกราฟของความสัมพันธของระดับความเทากับสัมประสิทธิ์การกระเจิงที่
ไดจากการสอบเทียบของดาวเทียม MTSAT-1R แสดงดังรูปที่ 6.9

1.0
0.8
0.6
ρSAT
0.4
0.2
0.0
0 25 50 75 100 125 150 175 200 225 250
GL

รูปที่ 6.9 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์การกระเจิงทีไ่ ดจากการสอบเทียบ


(ρ SAT ) กับระดับความเทา (GL) ของดาวเทียม MTSAT-1R (กราฟเขียนจากขอมูลที่
ไดจากสํานักงานอุตุนิยมวิทยา ประเทศญีป่ ุน (JMA, 2012))

เนื่องจากรังสีอาทิตยที่ตกกระทบแตละพิกเซลมิไดทํามุมตั้งฉากกับพิกเซลนั้นๆ ดังนั้น
เราตองทําการแกไขผลของมุมตกกระทบโดยการหารคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงที่ไดจากการ
สอบเที ย บด ว ยโคซายน ข องมุ ม ตกกระทบและจะเรี ย กว า สั ม ประสิ ท ธิ์ ที่ แ ก ไ ขแล ว นี้ ว า
สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลก ( ρEA ) หรือ
ρSAT
EA  (6.1)
cosθ Z

เมื่อ ρEA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลก (-)


ρ SAT คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงที่ไดจากตารางสอบเทียบ (-)
θ Z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย ณ ตําแหนงของพิกเซลที่พิจารณา (องศา)

228
229

สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลกที่ไดนี้จะมีคาอยู
ระหวาง 0 ถึง 1 และจะนําไปใชในแบบจําลองสําหรับคํานวณความเขมรังสีอาทิตยที่ตกกระทบ
พื้นผิวโลก

6.4 แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกจากขอมูลภาพถายดาวเทียม
ในการคํานวณรังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลกโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม เรา
จะตองสรางแบบจําลองที่แสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรที่ไดจากขอมูลภาพถายดาวเทียม
กับปริมาณรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก ในชวง 30 ปที่ผานมา นักวิจัยในประเทศตางๆ ไดเสนอ
แบบจําลองสําหรับคํานวณความเขมรังสีอาทิตยจากภาพถายดาวเทียมหลายแบบจําลอง (Hay
and Hanson, 1978; Tarpley, 1979; Gautier et al., 1980; Möser and Raschke, 1984; Cano et al., 1986;
Sorapipatana and Exell, 1989; Nunez, 1993; Beyer et al., 1996; Hirunlabh et al., 1997;
Perez et al., 2002; Janjai et al., 2005; Martins et al., 2007; Zarzalejo et al., 2009; Janjai et al.,
2013a) แบบจําลองดังกลาวมีระดับของความซับซอนและความละเอียดถูกตองของผลที่ได
แตกต า งกั น แบบจํ า ลองเหล า นี้ ส ามารถแบ ง ได เ ป น 3 ประเภท คื อ แบบจํ า ลองเชิ ง สถิ ติ
(statistical model) แบบจํ า ลองเชิ ง ฟ สิ ก ส (physical model) และแบบจํ า ลองกึ่ ง เอมไพริ คั ล
(semi-empirical model) แบบจําลองแตละประเภทมีรายละเอียดดังนี้

6.4.1 แบบจําลองเชิงสถิติ
แบบจําลองประเภทนี้ไดจากการหาความสัมพันธทางสถิติระหวางขอมูลจากภาพถาย
ดาวเทียมกับขอมูลรังสีอาทิตยซึ่งไดจากการวัดตามสถานีตางๆ หลังจากนั้นจะนําความสัมพันธ
ที่ไดไปใชหาคารังสีอาทิตยที่ตําแหนงอื่นๆ ที่ไมมีการวัดโดยอาศัยขอมูลภาพถายดาวเทียมที่
ตําแหนงนั้นๆ ในอดีตที่ผานมา นักวิจัยตางๆ ไดเสนอแบบจําลองเชิงสถิติสําหรับคํานวณรังสี
อาทิตยจากขอมูลภาพถายดาวเทียมหลายแบบจําลอง (Hay and Hanson, 1978; Tarpley, 1979;
Zarzalejo et al., 2009) ในที่นี้จะนําเสนอรายละเอียดแบบจําลองของเฮยและแฮนสัน (Hay and
Hanson, 1978) ทั้งนี้เพราะเปนแบบจําลองที่ไมซับซอนเหมาะสมกับผูที่เริ่มศึกษาการหาคารังสี
อาทิตยจากขอมูลภาพถายดาวเทียม แบบจําลองดังกลาวจะพิจารณาการดูดกลืนและการกระเจิง
รังสีอาทิตยในบรรยากาศตามรูปที่ 6.10

229
230

ดาวเทียม
I0 I SAT อวกาศ
บรรยากาศ

I EA
การดูดกลืนโดยบรรยากาศ

I ρG I
I(1  ρG ) พื้นผิวโลก
การดูดกลืนโดยพื้นผิวโลก
รูปที่ 6.10 แผนภูมิแสดงการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลก
ตามแบบจําลองของเฮยและแฮนสัน

จากรูปที่ 6.10 เมื่อรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก ( I 0 ) ตกกระทบบรรยากาศ รังสี


ดังกลาวจะเคลื่อนที่ผานบรรยากาศและถูกองคประกอบตางๆ ของบรรยากาศดูดกลืน สวนที่
เหลื อ จะเดิ น ทางมาถึ ง พื้ น โลก ( I ) และถู ก พื้ น ผิ ว โลกดู ด กลื น I(1  ρG ) เมื่ อ ρ G เป น
สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง ของพื้ น ผิว โลก ส ว นที่ เ หลื อ จะถู ก กระเจิง ผ า นบรรยากาศและถู ก
บรรยากาศดูดกลืนบางสวนโดยสวนที่เหลือ ( I SAT ) จะเดินทางออกไปสูอวกาศภายนอกและ
ดาวเทียมสามารถตรวจวัดได เมื่อพิจารณาสมดุลของพลังงานที่สวนบนสุดของบรรยากาศ จะ
ไดวาผลตางของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบบรรยากาศโลกกับรังสีอาทิตยที่เดินทางออกไปสู
อวกาศภายนอกจะเทากับรังสีอาทิตยที่ถูกดูดกลืนโดยบรรยากาศและพื้นผิวโลกหรือเขียนใน
รูปสมการไดดังนี้

Io  ISAT  I EA  I(1  ρG ) (6.2)

เมื่อ I 0 คือ รังสีอาทิตยที่ตกกระทบบรรยากาศ (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)


I SAT คือ รังสีอาทิตยที่กระเจิงจากพื้นผิวโลกและบรรยากาศและดาวเทียมตรวจวัด
ได (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)

230
231

I EA คือ รังสีอาทิตยที่ถูกบรรยากาศดูดกลืน (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)


I คือ รังสีรวมที่ตกกระทบพืน้ ผิวโลก (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
ρG คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก (-)

เมื่อจัดสมการ (6.2) ใหมจะได

I 1  I EA I0 1 I
  ( SAT ) (6.3)
I0 1  ρG 1  ρG I0

เนื่องจากพจน I SAT I 0 คือสัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศและพื้นผิวโลกหรือ


ρ EA ซึ่งหาไดจากภาพถายดาวเทียม ดังนั้นสมการ (6.3) จึงเขียนเปนรูปใหมไดดังนี้

I 1  I EA I0 1
  ρ 'EA (6.4)
I0 1  ρG 1  ρG

ในขั้นตอนตอไปจะประยุกตใชสมการ (6.4) กับตําแหนงที่มีสถานีวัดรังสีอาทิตยซึ่ง


สามารถหาค า I I0 ไดจ ากการวั ดและหาคา ρ 'EA ณ ตําแหนงสถานีนั้น จากข อมูลภาพถาย
ดาวเทียม จากนั้นนําขอมูล I I0 มาเขียนกราฟกับ ρ 'EA จะไดกราฟเสนตรง (รูปที่ 6.11) ซึ่งมี
จุดตัดแกนตั้งเปน (1  I EA I 0 )/(1  ρ G ) และมีคาความชันเปน - 1/(1  ρ G )

231
232

1  I EA I 0
จุดตัดแกนตั้ง =
1  ρG

I 1
I0
ความชัน =
1  ρG

ρEA

รูปที่ 6.11 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบพืน้ ผิวโลก


( I ) ตอรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (I 0 ) กับสัมประสิทธิ์การกระเจิงของ
บรรยากาศและพื้นผิวโลก ( ρEA )

ถาให a เปนคาจุดตัดแกนตั้งและ b เปนคาความชัน เราจะเขียนสมการ (6.4) ไดใหม


ดังนี้
I
 a  bρ 'EA (6.5)
I0

เนื่องจากคา a และ b สามารถหาไดจากกราฟ ถาเราตั้งสมมติฐานวาคาดังกลาวคงที่ เรา


สามารถนําสมการ (6.5) ไปคํานวณคารังสีรวม ( I ) ที่ตําแหนงอื่นๆ ไดโดยใชคา ρ 'EA ซึ่งได
จากขอมูลภาพถายดาวเทียมและคารังสีนอกบรรยากาศโลก (I 0 ) ที่ตําแหนงนั้นๆ แบบจําลองนี้
จะใช ไ ด ดี กั บ บริ เ วณที่ มี ส ภาวะของบรรยากาศคล า ยคลึ ง กั บ สถานี ที่ นํ า ข อ มู ล มาใช ส ร า ง
แบบจําลอง ทั้งนี้เพราะคา a และ b จะเปลี่ยนแปลงไมมาก
เฮย แ ละแฮนสั น (Hay and Hanson, 1978) ได ใ ช แ บบจํ า ลองนี้ คํ า นวณรั ง สี ร วมราย
ชั่วโมงบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกและพบวาคาจากการคํานวณตางจากคาที่ไดจากการวัด
ประมาณ 15%

232
233

6.4.2 แบบจําลองเชิงฟสิกส
6.4.2.1 แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีรวมรายชั่วโมง
เนื่องจากสมรรถนะของแบบจําลองเชิงสถิติจะขึ้นกับพื้นที่ ดังนั้นนักวิจัยตางๆ จึงได
เสนอแบบจําลองเชิงฟสิกสซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางขอมูลดาวเทียมกับรังสีอาทิตยที่
พื้นผิวโลกในรูปของสมการที่มีพื้นฐานจากกฎการอนุรักษพลังงาน แบบจําลองประเภทนี้จึง
สามารถใชไดทั่วไป โดยไมขึ้นกับสถานที่ ในอดีตที่ผานมาไดมีนักวิจัยเสนอแบบจําลองทาง
ฟสิกสสําหรับคํานวณรังสีรวมรายชั่วโมงหลายแบบจําลอง (Gautier et al., 1980; Möser and
Raschke, 1984; Sorapipatana et al., 1988) ในที่นี้จะเสนอแบบจําลองเฮลิโอแซท (Heliosat) ซึ่ง
นิยมใชในยุโรปกับขอมูลจากดาวเทียม METOSAT และมีการพัฒนาอยางตอเนื่องมากวา 30 ป
(Cano et al., 1986; Beyer et al., 1996; Hammer et al., 2003) การใชแบบจําลองดังกลาวคํานวณ
รังสีรวมรายชั่วโมงจะประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ตามแผนภูมิในรูปที่ 6.12

233
234

ขอมูลภาพถายดาวเทียม

คํานวณสัมประสิทธิ์การกระเจิงของ คํานวณสัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศ
บรรยากาศและพื้นผิวโลก ( ρEA ) ในสภาพ และพื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
ทองฟาทั่วไปจากขอมูลภาพถายดาวเทียม ( ρmin ) และสัมประสิทธิ์การกระเจิงของเมฆ
( ρmax ) จากขอมูลภาพถายดาวเทียม

ขอมูลองคประกอบของบรรยากาศ คํานวณดัชนีเมฆ ( n ) จากสมการ


(ไอน้ํา, ฝุนละออง, ฯลฯ) ρEA  ρmin
n
ρmax  ρmin

คํานวณรังสีรวมในสภาพทองฟา
คํานวณดัชนีความแจมใสของทองฟา ( k c ) จาก
ปราศจากเมฆ ( Iclear ) จากขอมูล
ดัชนีเมฆ ( n ) โดยอาศัยสมการเอมไพริคัล
องคประกอบของบรรยากาศ
k c  f (n )

คํานวณรังสีรวม, I จาก
I  k c Iclear

รูปที่ 6.12 แผนภูมิแสดงขั้นตอนการคํานวณรังสีรวมจากขอมูลภาพถายดาวเทียมโดยใช


แบบจําลองเฮลิโอแซต (ดัดแปลงจาก Hammer et al., 2003)

ในการใชแบบจําลองเฮลิโอแซทคํานวณรังสีอาทิตยในขั้นตอนที่ 1 จะทําการเตรียม
ขอมูลภาพถายดาวเทียมจากชองสัญญาณแสงสวางแลวแปลงใหเปนสัมประสิทธิ์การกระเจิง
ของบรรยากาศและพื้นผิวโลก ( ρEA ) รายชั่วโมง ในขั้นตอนที่ 2 จะนําขอมูล ρEA ของทุก
ภาพใน 1 เดือนมาหาคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงของพื้นผิวโลก ( ρmin ) และสัมประสิทธิ์การ
กระเจิงของเมฆ ( ρmax ) ในขั้นตอนที่ 3 จะทําการคํานวณดัชนีเมฆ (cloud index, n) จาก ρEA ,
ρmin และ ρmax ของทุกชั่วโมงโดยใชสมการ

ρEA  ρmin
n (6.6)
ρmax  ρmin

234
235

โดยที่ n คือ ดัชนีเมฆ (-)


ρEA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลก (-)
ρmin คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก (-)
ρmax คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆ (-)

จากสมการ (6.6) จะเห็ น วา ถา พิกเซลที่พิจ ารณามีเมฆปกคลุมคา ρEA = ρmax จะได
n = 1 แตถาพิกเซลดังกลาวปราศจากเมฆปกคลุม คา ρEA = ρmin จะได n = 0 และถา ρmin <
ρEA < ρmax จะไดวา 0  n  1 ดังนั้นคาของดัชนีเมฆ n จึงเปนตัวบอกสภาพการปกคลุม
ของเมฆในพิกเซลที่พิจารณา
ในขั้นตอนที่ 4 จะทําการคํานวณดัชนีความแจมใสของทองฟา (clear sky index, k c )
จากคาดัชนีเมฆโดยอาศัยสมการ

k c  f (n ) (6.7)

คาดัชนีความแจมใสของทองฟา (clear sky index) มีนิยามวา เปนอัตราสวนระหวาง


รังสีรวมในสภาพทองฟาทั่วไปตอรังสีรวมในสภาพทองฟาปราศจากเมฆหรือ

I
kc  (6.8)
Iclear

เมื่อ I คือ รังสีรวมรายชั่วโมงในสภาพทองฟาทั่วไป (จูลตอตารางเมตรตอ


ชั่วโมง)
I clear คือ รังสีรวมรายชั่วโมงในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ (จูลตอตารางเมตร
ตอชั่วโมง)
k c คือ ดัชนีความแจมใสของทองฟา (-)

คาความเขมรังสีรวมในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ ( Iclear ) สามารถคํานวณไดโดย


อาศัยแบบจําลองใดแบบจําลองหนึ่งที่กลาวไปแลวในบทที่ 5 โดยแปลงใหเปนคารายชั่วโมง

235
236

ในการหาความสัมพันธระหวาง k c กับ n ในสมการ (6.7) จะเริ่มจากการหาคา k c ที่


สถานี วั ด รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ตั้ ง อยู ใ นบริ เ วณที่ ส นใจ โดยใช ค า I ซึ่ ง วั ด ได ที่ ส ถานี นั้ น ใน
ขณะเดียวกันจะทําการหาคาดัชนีเมฆ n จากขอมูลภาพถายดาวเทียม ณ ตําแหนงสถานีนั้น
จากนั้นจะทําการหาความสัมพันธทางสถิติระหวาง k c กับ n ก็จะไดสมการ (6.7) ตามตองการ
ในขั้นตอนสุดทายจะคํานวณรังสีรวมรายชั่วโมง ( I ) โดยใชสมการ

I  k c I clear (6.9)

ริ โ กลเลี ย ร แ ละคณะ (Rigollier et al., 2004) ได ท ดสอบสมรรถนะของแบบจํ า ลอง


เฮลิโอแซท และพบวาคารังสีรายชั่วโมงที่คํานวณโดยแบบจําลองดังกลาวมีความแตกตางจาก
คาที่ไดจากการวัด (RMSD) ประมาณ 20%

6.4.2.2 แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน
ในงานทางดานพลังงานรังสีอาทิตย เชน การออกแบบระบบทําน้ํารอนพลังงานรังสี
อาทิตยโดยอาศัยวิธีแผนภูมิเอฟ (f-chart method) (Klein, 1976; Beckman et al., 1977) หรือการ
ออกแบบระบบอบแหงพลังงานรังสีอาทิตยโดยอาศัยแผนภูมิการออกแบบ (Janjai et al., 1994)
ผูออกแบบจําเปนตองรูคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน นอกจากนี้เรายังตองการใชคารังสีรวม
รายวันเฉลี่ยตอเดือนเพื่อจัดทําแผนที่รังสีอาทิตย แมวาเราสามารถหาคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอ
เดือนไดจากการรวมคารังสีอาทิตยรายชั่วโมงซึ่งไดจากภาพถายดาวเทียม แตคาที่ไดจะมีความ
คลาดเคลื่อนสะสมจากความคลาดเคลื่ อนของค ารายชั่วโมง นอกจากนี้การคํานวณคารัง สี
รายชั่วโมงที่เวลากอน 9.00 น และหลัง 16.00 น จะมีความคลาดเคลื่อนสูง ทั้งนี้เพราะมุมตก
กระทบของรังสีอาทิตยบนเมฆและบรรยากาศของโลกมีคามาก ทําใหการกระเจิงของรังสี
อาทิ ต ย มิ ไ ด เ ป น การกระเจิ ง ของรั ง สี แ บบสมบู ร ณ (Lambertian reflection) เมื่ อ นํ า ข อ มู ล
ภาพถายดาวเทียมที่ไดไปใชคํานวณรังสีอาทิตยจะมีความคลาดเคลื่อนมาก ดังนั้น จันทรฉาย
และคณะ (Janjai et al., 2005) จึงไดเสนอแบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอ
เดือนจากขอมูลภาพถายดาวเทียมโดยตรงและนํามาคํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนใน
ประเทศไทย ตอมาไดทําการปรับปรุงสมรรถนะของแบบจําลองดังกลาวและนําไปใชคํานวณ

236
237

รังสีอาทิตยในประเทศลาว กัมพูชา และเมียนมาร และนํากลับมาใชในประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง


ในป ค.ศ. 2010 (Janjai, 2008; Janjai et al., 2011; Janjai et al., 2013a; Janjai et al., 2013b) ใน
ที่นี้จะนําเสนอแบบจําลองที่ปรับปรุงลาสุด (Janjai et al., 2013a) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ดาวเทียม
รังสีอาทิตยที่ดาวเทียมรับได

A  aer (1A aer)2 (1 W  o  g  aer)2 G (1A aer)2(1W o g aer)4G2

(1A aer)(1W o g aer)2G

1A  aer
(1A aer)(1W o g aer)2(A aer)G
(1A aer)(1W o g aer)4 (A aer)G2
W  o  g  aer W  o  g  aer W  o  g  aer
บรรยากาศ
W o g aer W o g aer

(1A aer)(1W o g aer)3(A aer)G


(1A aer)(1W o g aer)3(A aer)G2
(1A aer)(1W o g aer) (1 A  aer)(1 W  o  g  aer)G

รูปที่ 6.13 แผนภูมิแสดงการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยในบรรยากาศในชวงความยาว


คลื่นดาวเทียมตามแบบจําลองสวนที่ 1 ของจันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2013a)

แบบจําลองดังกลาวจะแบงเปน 2 สวน โดยสวนที่ 1 เปนแบบจําลองของรังสีอาทิตยที่


ดาวเทียมไดรับและสวนที่ 2 เปนแบบจําลองของรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกไดรับ ในการสราง
แบบจําลองสวนที่ 1 (รูปที่ 6.13) เราจะพิจารณาวามีรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 1 หนวย
เดินทางผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลกโดยระหวางทางจะถูกเมฆและโมเลกุลอากาศกระเจิง
ออกไปนอกบรรยากาศด ว ยสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง ρA และถู ก ฝุ น ละอองกระเจิ ง ด ว ย
สัมประสิทธิ์ ρaer สวนที่เหลือ (1  ρA  ρaer ) จะเดินทางตอมาและถูกดูดกลืนดวยไอน้ํา ฝุน-
ละออง โอโซนและกาซตางๆ (ออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด ฯลฯ) ดวยสัมประสิทธิ์การ
ดู ด กลื น αw , αaer , αo และ αg ตามลํ า ดั บ ส ว นที่ เ หลื อ จะเดิ น ทางมาถึ ง พื้ น ผิ ว โลก
((1  ρA  ρaer ) (1 - αw  αaer  αo  αg )) และถูกกระเจิงจากพื้นผิวโลกดวยสัมประสิทธิ์
การกระเจิ ง ρG ผานบรรยากาศออกไปยังอวกาศภายนอก โดยระหวางทางจะถูกเมฆและ

237
238

โมเลกุลอากาศกระเจิงและถูกไอน้ํา ฝุนละออง โอโซนและกาซตางๆ ดูดกลืนเชนเดียวกับตอน


เคลื่อนที่ลงมาซึ่งคิดเปนปริมาณเทากับ (1  ρA  ρaer )2 (1  αw  αaer  αo  αg )ρG รังสี
นี้จะมีการกระเจิงกลับขึ้นลงระหวางพื้นผิวโลกและบรรยากาศ โดยสวนของรังสีอาทิตยที่ออก
ไปสูบรรยากาศทั้งหมด ( ρEA ) ซึ่งดาวเทียมวัดไดสามารถเขียนในรูปสมการไดดังนี้

EA  A  aer  (1  A  aer ) 2 (1  w  o  g  aer ) 2 G
 (1  A  aer ) 2 (1  w  o  g  aer ) 4 (A  aer )G2
 (1  A  aer ) 2 (1  w  o  g  aer )6 (A  aer ) 2 G3  ...............

(1  A  aer ) 2 
 A  aer  2
 [(1  w  o  g  aer ) (A  aer )G ]
n
(6.10)
(A  aer ) n 1

(1  A  aer ) 2 (1  w  o  g  aer ) 2 G


หรือ EA  A  aer  (6.11)
1  (1  w  o  g  aer ) 2 (A  aer )G

เมื่อ ρEA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลกในชวงความ


ยาวคลื่นของดาวเทียม (0.55-0.90 ไมครอน ถาเปนกรณีของดาวเทียม MTSAT-1R
สําหรับดาวเทียมอืน่ โปรดดูตารางที่ 6.1) (-)
ρA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงของรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความ
ยาวคลื่นของดาวเทียม (-)
ρaer คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่น
ของดาวเทียม (-)
ρG คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกในชวงความยาวคลื่น
ของดาวเทียม (-)
αw คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม
(-)
αo คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่นของ
ดาวเทียม (-)

238
239

αg คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาวคลื่นของ


ดาวเทียม (-)
αaer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นของ
ดาวเทียม (-)

จัดรูปสมการ (6.11) ใหม เราสามารถหาสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆ


และโมเลกุลอากาศ ( ρA ) ไดดังนี้
A  AC  ABC  B2C
ρA  (6.12)
C  BC  AC  1

เมื่อ A  ρaer  ρEA


B  1  ρaer
C  (1  αw  αo  αaer  αg )ρG

คา สัมประสิทธิ์ ρEA จะหาไดจ ากภาพถายดาวเทียมตามวิธีที่อธิบ ายในหัว ขอ 6.3


สําหรับคา ρG , αw , αo , αaer และ αg สามารถคํานวณไดจากขอมูลอุตุนิยมวิทยาภาคพื้นดิน
และขอมูลดาวเทียมซึ่งจะอธิบายรายละเอียดในลําดับตอไป ดังนั้นเราจึงสามารถคํานวณคา ρA
จากสมการ (6.12) ได โดยคา ρA ที่ไดนี้เปนคาอยูในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม เราจะ
แปลงใหอยูในชวงความยาวคลื่นกวาง ( ρ A ) (0.3-3.0 ไมครอน) โดยอาศัยสมการ

 A  f (A ) (6.13)

เมื่อ f เปนฟงกชันที่ใชในการแปลง ซึ่งจะอธิบายวิธีหาในภายหลัง คา A ที่ไดจะนําไปใชใน


การคํานวณรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกไดรับในสวนที่ 2 ของแบบจําลอง
ในส ว นที่ 2 ของแบบจํ า ลอง (รู ป ที่ 6.14) ซึ่ ง เป น แบบจํ า ลองของรั ง สี อ าทิ ต ย ที่
พื้นผิวโลก ในการสรางแบบจําลองดังกลาว เราจะพิจารณาวารังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น
กวาง (0.3-3.0 ไมครอน) 1 หนวย ซึ่งตกกระทบที่สวนบนของบรรยากาศและเดินทางผาน
บรรยากาศโดยระหวางทางจะถูกดูดกลืนและกระเจิงโดยบรรยากาศและพื้นผิวโลก จนเดิน

239
240

ทางผานบรรยากาศออกไปสูอวกาศภายนอก เชนเดียวกับกรณีรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม โดยเราสามารถเขียนแผนภูมิแสดงการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยในชวง
ความยาวคลื่นกวางไดตามรูปที่ 6.14 และใชสัญลักษณเดียวกับแบบจําลองสวนที่ 1 แตไมมี
เครื่องหมาย “ ' ” เพื่อแสดงวาเปนปริมาณในชวงความยาวคลื่นกวาง (0.3-3.0 ไมครอน)

 A   aer (1A aer)2 (1W  o  g  aer)2G (1A aer)2(1W o g aer)4G2

(1A aer)(1W o g aer)2G

1A aer
(1A aer)(1W o g aer)2(A aer)G
(1A aer)(1W o g aer)4(A aer)G2 บรรยากาศ
W  o  g  aer W  o  g  aer W  o  g  aer

W o g aer W o g aer

(1A aer)(1W o g aer)3(A aer)G 2


(1A aer)(1W o g aer)5(A aer)G

(1A aer)(1W o g aer) (1 A  aer)(1 W  o  g  aer)G (1A aer)(1W o g aer)3(A aer)G
2

รังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลก
รูปที่ 6.14 แผนภูมิแสดงการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยในบรรยากาศในชวงความยาว
คลื่นกวางตามแบบจําลองสวนที่ 2

จากรูปที่ 6.14 จะเห็นวารังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลกประกอบดวย 2 สวน ไดแก


รังสีอาทิตยที่ตกกระทบครั้งแรกซึ่งเทากับ (1  ρA  ρaer )(1  α w  αaer  αo  αg ) และรังสี
อาทิตยที่เกิดจากการกระเจิงกลับไปมาระหวางพื้นผิวโลกและบรรยากาศ ซึ่งเทากับ
(1   A  aer )(1   w   o   aer   g )3 ( A  aer )G  (1  A  aer ) 
(1   w   o   aer   g )5 (A  aer ) 2 G2  ..................

รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ พื้ น ผิ ว โลกได รั บ ทั้ ง หมดจึ ง เป น ผลรวมของทั้ ง 2 ส ว น เนื่ อ งจากเรา
พิจารณารังสีอาทิตยที่ตกกระทบบรรยากาศของโลก 1 หนวย ดังนั้นรังสีอาทิตยที่ตกกระทบ

240
241

พื้นผิวโลกทั้งหมดจึงเปนคาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของบรรยากาศ (  ) หรือเขียน
ในรูปสมการไดดังนี้

  (1  A  aer )(1   w   o   aer   g )  (1  A  aer )(1   w   o   aer   g )3 (A  aer )G


 (1  A  aer )(1   w   o   aer   g )5 ( A  aer ) 2 G
2
 ..............
(1   A  aer ) 
  [(1   w   o   aer   g ) 2 ( A  aer )G ]n
(1   w   o   aer   g )( A   aer )G n 1
(6.14)
(1   A  aer )(1   w   o   aer   g )
หรือ  (6.15)
1  (1   w   o   aer   g ) 2 (A  aer )G

เมื่อ  คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของบรรยากาศในชวงความยาว


คลื่นกวาง (-)
ρ A คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวง
ความยาวคลื่นกวาง (-)
ρ aer คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาว
คลื่นกวาง (-)
ρ G คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกในชวงความยาว
คลื่นกวาง (-)
α w คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่น
กวาง (-)
α o คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่น
กวาง (-)
α aer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาว
คลื่นกวาง (-)
α g คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาว
คลื่นกวาง (-)

241
242

ค า ρ aer , α w , α o , α aer , α g และ ρ G สามารถคํ า นวณได จ ากข อ มู ล อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา


ภาคพื้นดินและขอมูลดาวเทียม สวนคา ρ A จะหาจาก ρA ที่ไดจากแบบจําลองในสวนที่ 1 ซึ่ง
จะกลาวในรายละเอียดภายหลัง ดังนั้นเราจึงสามารถคํานวณคา τ จากสมการ (6.15) ได ใน
ขั้นตอนสุดทายจะคํานวณคารังสีอาทิตย จากคา τ ดวยสมการ

H  τHo (6.16)

เมื่อ H คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)


H o คือ รังสีรวมรายวันเฉลีย่ ตอเดือนนอกบรรยากาศโลก (จูลตอตาราง
เมตรตอวัน)

เนื่องจากแบบจําลองนี้ใชสําหรับคํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน ดังนั้นคาตัวแปร
ทุ ก ตั ว ที่ ใ ช ใ นแบบจํ า ลองทั้ ง สองส ว นจะเป น ค า รายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ น สํ า หรั บ การหาค า
สัมประสิทธิ์ของแบบจําลองทั้งสวนที่ 1 และ 2 จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2013a) เสนอ
ใหใชวิธีการตอไปนี้

ก) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา จะคํานวณโดยอาศัยสมการ
λ2
 Ioλ τ wλ dλ
λ1
- ชวงความยาวคลื่นดาวเทียม αw  1  λ2
(6.17)
 Ioλ dλ
λ1
3.0
 Ioλ τ wλ dλ
- ชวงความยาวคลื่นกวาง α w  1  0.33.0 (6.18)
 Ioλ dλ
0.3

เมื่อ I คือ สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (วัตตตอตารางเมตรตอ


ไมครอน)
τ wλ คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ําที่ความยาวคลื่น  (-)
λ1 และ λ 2 คือคาเริ่มตนและคาสุดทายของชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม
(ไมครอน)

242
243

คา τ wλ จะหาไดจากสมการของเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ (3.25)) สําหรับคา


I oλ สามารถหาได จ ากสเปกตรั ม มาตรฐาน (ASTM, 2000) ค า k wλ หาได จ ากตารางใน
ภาคผนวกที่ 3 และคา w สามารถหาไดตามวิธีตางๆ ที่อธิบายในหัวขอ 3.8.4

ข) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซน จะหาจากสมการ
λ2
 Ioλ τ oλ dλ
- ชวงความยาวคลื่นดาวเทียม αo  1 
λ1
λ2
(6.19)
 Ioλ dλ
λ1

3.0
 Ioλ τ oλ dλ
- ชวงความยาวคลื่นกวาง α o  1  0.33.0 (6.20)
 Ioλ dλ
0.3

โดยที่ τ oλ คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซนที่ความยาวคลื่น  ซึ่งสามารถ


คํ า นวณได จ ากสมการของวิ ก รู (Vigroux, 1953) (สมการ (3.38)) โดยค า ปริ ม าณโอโซน
สามารถหาไดตามวิธีการตางๆ ที่กลาวไวในหัวขอ 3.9.4-3.9.6

ค) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนของกาซตางๆ ( α 'g ) สามารถหาไดจากสมการ


λ2

 I oλ τ gλ dλ
- ชวงความยาวคลื่นดาวเทียม αg  1 
λ1
λ2
(6.21)
 I oλ dλ
λ1
3.0

 I oλ τ gλ dλ
- ชวงความยาวคลื่นกวาง g  1  0.3
3.0
(6.22)
 Ioλ dλ
0.3

โดยที่ τ gλ คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ที่ความยาวคลื่น  ซึ่งจะ


คํานวณจากสมการของเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ (3.48))

243
244

ง) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนและสัมประสิทธิ์การกระเจิงของฝุนละออง จะหาจาก
สมการ
αaer  (1  SSA)Daer (6.23)

ρaer  SSA  Daer (6.24)

เมื่อ คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละออง (-)


Daer
SSA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรก (single scattering albedo) ของฝุนละออง (-)

คา SSA สามารถหาไดจากเครือขายการวัดสมบัติเชิงแสงของฝุนละออง AERONET


สําหรับคา Daer สามารถคํานวณจากคาทัศนวิสัย โดยอาศัยสมการ (Janjai et al., 2005) ดังนี้

D aer  0.3631  0.0222(VIS )  0.00012(VI S) 2 (6.25)

เมื่อ VIS คือ ทัศนวิสัย (กิโลเมตร) กรณีคาสัมประสิทธิ์การดูดกลืน ( α aer ) และการกระเจิง


( ρ aer ) รังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นกวาง สามารถใชคาในชวงความยาวคลื่น
ของดาวเที ย มได ทั้ ง นี้ เ พราะสั ม ประสิ ท ธิ์ ใ นช ว งความยาวคลื่ น ทั้ ง สองมี ค า ใกล เ คี ย งกั น
(Kondratyev, 1999)

จ) สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศ ในชวงความยาว
คลื่นกวาง ( A ) การหาคาสัมประสิทธิ์ดังกลาวจะเริ่มตนจากการจัดรูปสมการ (6.15) ใหม ดังนี้
(1  ρaer )(1  α w  α o  α aer  α g ) - τ(1  G ρaer )(1  α w  α o  α aer  α g ) 2
A 
1  α w  α o  α aer  α g  τG (1  α w  α o  α aer  α g ) 2
(6.26)
เราจะใชขอมูลรังสีรวม (H) ที่ไดจากสถานีวัดรังสีอาทิตยมาคํานวณคา  โดย
อาศัยสมการ (6.16) จากนั้นนําไปแทนคาในสมการ (6.26) พรอมทั้งแทนคาสัมประสิทธิ์ตางๆ
ที่สถานีวัดในสมการ (6.26) ซึ่งจะทําใหเราไดคา A ในขณะเดียวกันเราจะหาคา A ที่สถานีวัด

244
245

โดยใชสมการ (6.12) หลังจากนั้นจะนําคา A และคา A มาเขียนกราฟหาความสัมพันธกัน


ตัวอยางกรณีของดาวเทียม GMS 4, GMS 5, GOES 9 และ MTSAT-1R แสดงไวในรูปที่ 6.15

1.0
1.0

a) b)
0.8 A = 0.9404'A + 0.1735
0.8 GMS4  = 0.5963'A + 0.1882 GMS5 2
2 R = 0.73
R = 0.75
0.6
0.6

A
A


0.4 0.4

0.2 0.2

0.0 0.0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6
' A ' A

1.0 1.0

c) d)
0.8 0.8
GOES9 A = 0.8824'A + 0.1615 MTSAT-1R A = 0.8795'A+ 0.2380
2
R2 = 0.84 R = 0.66
0.6 0.6
A

A

0.4 0.4

0.2 0.2

0.0
0.0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6
' A ' A

รูปที่ 6.15 ความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์การกระเจิงของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวง


ความยาวคลื่นดาวเทีย ม ( 'A ) และชว งความยาวคลื่น กว าง ( A ) (Janjai et al.,
2013a)

ในขั้นตอนสุดทายจะฟตกราฟในรูปที่ 6.15 ซึ่งจะไดสมการ

- ดาวเทียม GMS4 A  0.5963A  0.1882 (6.27)


- ดาวเทียม GMS5 A  0.9404A  0.1735 (6.28)
- ดาวเทียม GOES9 A  0.8824A  0.1615 (6.29)
- ดาวเทียม MTSAT-1R A  0.8795A  0.2380 (6.30)

245
246

ฉ) สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสี
อาทิต ย ข องพื้ น ผิ ว โลกคื ออัต ราส ว นระหวา งคารัง สีอ าทิต ยที่ ต กกระทบพื้ น ผิ ว โลกต อรั ง สี
อาทิตยที่กระเจิงจากพื้นผิวโลก คาสัมประสิทธิ์ดังกลาวสามารถหาไดโดยการใชเครื่องวัดที่
ประกอบดวยเครื่องวัดรังสีรวม 2 เครื่อง โดยเครื่องที่หนึ่งรับรังสีอาทิตยที่ตกกระทบ และ
เครื่องที่ 2 รับรังสีอาทิตยที่กระเจิงจากพื้นผิวโลกตามรูปที่ 6.16 อัตราสวนของความเขมรังสีที่
ไดจากเครื่องวัดทั้งสองเครื่องจะเปนคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก

รูปที่ 6.16 เครื่องวัดสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกที่ผลิตโดยบริษัทคิปป-


แอนดโซเนนซ

ถึงแมวาการวัดสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกดวยเครื่องมือ
ดังกลาวจะมีความละเอียดถูกตองสูง แตการหาโดยวิธีนี้ทําไดเปนจุดๆ จึงไมเหมาะสมในการ
หาคาครอบคลุมบริเวณกวางๆ ดังนั้น จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2006) จึงเสนอวิธีหาคา
สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม

246
247

30 มกราคม

3 มกราคม
2 มกราคม

1 มกราคม

รูปที่ 6.17 แผนภูมิแสดงการสรางภาพถายดาวเทียมผสม (composite image)

วิธีดังกลาวจะใชภาพถายดาวเทียมที่เวลา 12:00 น หรือเวลาใกลเคียง ทั้งนี้เพราะที่เวลา


ดังกลาวรังสีอาทิตยจะตกกระทบตั้งฉากกับพื้นผิวโลก เนื่องจากการหาสัมประสิทธิ์การกระเจิง
ของพื้นผิวโลกโดยใชภาพถายดาวเทียม รังสีอาทิตยที่ดาวเทียมไดรับจะตองมาจากการกระเจิง
ของพื้นผิวโลกเพียงอยางเดียว ดังนั้นภาพถายดาวเทียมที่ใชตองเปนภาพที่ทองฟาปราศจากเมฆ
แตโดยทั่วไป ภาพถายดาวเทียมที่ครอบคลุมพื้นที่หนึ่งจะมีบางพิกเซลที่ปราศจากเมฆและบาง
พิกเซลที่มีเมฆปกคลุม เราจะแกปญหาดังกลาวโดยการนําภาพถายดาวเทียมของแตละเดือน ซึ่ง
ประกอบดวยภาพถายดาวเทียมประมาณ 30 ภาพ มาเปรียบเทียบกัน โดยพิจารณาที่ตําแหนง
พิกเซลเดียวกัน เพื่อคนหาพิกเซลที่ปราศจากเมฆแลวนําพิกเซลนั้นมาประกอบกันเปนภาพถาย
ดาวเที ย มใหม โ ดยแต ล ะเดื อ นจะได 1 ภาพ (ดู รู ป ที่ 6.17) ภาพถ า ยดาวเที ย มที่ ไ ด นี้ จ ะ
ประกอบดวยพิกเซลที่ปราศจากเมฆที่มาจากภาพถายดาวเทียมในวันตางๆ ของเดือนนั้น เราจะ
เรียกภาพถายดาวเทียมนี้วา ภาพถายดาวเทียมผสม (composite image) จากนั้น จะทําการแปลง
คาระดับความเทาของภาพถายดาวเทียมผสมใหเปนคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงของพื้นผิวโลก
โดยใชตารางสอบเทียบซึ่งไดจากผูผลิตดาวเทียม คาสัมประสิทธิ์การกระเจิงที่ไดนี้เปนของ
ระบบที่ ป ระกอบด ว ยพื้ น ผิ ว โลกและบรรยากาศ ( EA,clear ) เราต อ งทํ า การแก ค า ผลของ

247
248

บรรยากาศโดยใชสมการเอมไพริคัล ซึ่งพัฒนาโดยจันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2006)


ดังนี้
ρG  C0  C1ρEA,clear  C 2 VIS  C3 w  C 4 Zs (6.31)

เมื่อ ρG คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก (-)


ρEA,clear คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศและพื้นผิวโลกในสภาพ
ทองฟาปราศจากเมฆ (-)
VIS คือ ทัศนวิสัย (กิโลเมตร)
W คือ ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
Zs คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
C 0 , C1 , C 2 , C3 , C 4 คือ คาคงที่ซึ่งขึ้นกับเดือนตางๆ

คา C0 , C1 , C 2 , C3 , C 4 ของเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม แสดงไว


ในตารางที่ 6.2 สําหรับคาของเดือนอื่นๆ สามารถหาไดจากการประมาณคาจากเดือนขางเคียง
(interpolation)
หลังจากที่คํานวณแกผลของบรรยากาศแลว เราจะไดคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสี
อาทิตยของพื้นผิวโลกที่ทุกตําแหนงของพิกเซลของภาพถายดาวเทียม ถึงแมวาคาสัมประสิทธิ์ที่
ไดจะอยูในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม แตคาดังกลาวจะใกลเคียงกับคาสัมประสิทธิ์ในชวง
ความยาวคลื่นกวาง ( ρ G ) (Janjai et al., 2006)

248
249

ตารางที่ 6.2 คาสัมประสิทธิ์ของสมการสําหรับคํานวณแกผลของบรรยากาศ (Janjai et al.,


2006)

เดือน C0 C1 C2 C3 C4
มกราคม -0.064209 1.743128 0.002325 -0.000132 -0.000321
เมษายน -0.056316 1.603282 0.000630 -0.000488 0.000330
กรกฎาคม -0.049643 1.529811 0.001134 -0.000296 0.000064
ตุลาคม -0.055334 1.622538 0.001224 -0.000218 -0.000143

จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2013a) ไดทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองสําหรับ


คํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่กลาวไปแลวขางตน โดยเปรียบเทียบคารังสีอาทิตย
รายวันเฉลี่ยตอเดือนที่คํานวณจากแบบจําลองและคาจากการวัดที่สถานีวัดรังสีอาทิตย 36 แหง
ในประเทศไทย พบวามีความแตกตาง (RMSD) เทากับ 5.3%

6.4.3 แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล (semi-empirical model)


แบบจําลองเชิงสถิติเปนแบบจําลองที่ใชไดงายแต สามารถใชไดเฉพาะพื้นที่ กรณี
แบบจําลองเชิงฟสิกสจะเปนแบบจําลองที่ใชงานไดทั่วไปแตคอนขางซับซอนและตองการ
ขอมูลอินพุทคอนขางมาก จะเห็นวาแตละวิธีมีทั้งขอดีและขอดอยแตกตางกัน ดังนั้น จันทรฉาย
และคณะ (Janjai et al., 2012) จึงไดเสนอแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลซึ่งนําขอดีของแบบจําลอง
ทั้งสองแบบมาใชงาน
แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลจะประกอบดวยตัวแปรทางฟสิกสที่มีผลตอรังสีอาทิตยที่
พื้นผิวโลก ไดแก เมฆ ไอน้ํา ฝุนละออง และมวลอากาศ โดยแทนที่จะแสดงความสัมพันธของ
ตัวแปรเหลานี้ดวยสมการทางฟสิกส แตจะใชสมการเอมไพริคัลแทน
จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2012) ใชขอมูลตัวแปรทางฟสิกสตางๆ และคารังสี
รวมของดวงอาทิ ต ย ที่ ส ถานี วั ด รั ง สี อ าทิ ต ย ข องมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา เพื่อสรางแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณรังสีรวม
ในประเทศไทย ซึ่งเขียนไดดังสมการ

249
250

I  0.871577I E cos  exp[(0.510474  0.092008 AOD - 0.011896 w) m ](1 - n)


SC 0 z a

(6.32)
เมื่อ I คือ ความเขมรังสีรวม (วัตตตอ ตารางเมตร)
I
SC คือ คาคงตัวรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตร)
E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลก
กับดวงอาทิตย (-)
n คือ ดัชนีเมฆ คํานวณโดยใชสมการ (6.6) (-)
w คือ ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
 คือ ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)
ma คือ มวลอากาศ (-)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

สมการ (6.32) สามารถใชไดดีกับพื้นที่บริเวณประเทศไทยเทานั้น สําหรับในกรณีของ


พื้นที่อื่นๆ จะตองทําการฟตกับขอมูลวัดในบริเวณนั้น เพื่อหาสัมประสิทธิ์ชุดใหม แบบจําลอง
นี้จะมีความคลาดเคลื่อนลดลงถาใชคํานวณความเขมรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน
จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2012) ไดทดสอบสมรรถนะของแบบจําลอง โดยใช
แบบจําลองดังกลาวคํานวณรังสีรวมที่สถานีวัดรังสีอาทิตย 4 แหง ในประเทศไทยซึ่งไมไดใช
ในการสรางแบบจําลองและพบวากรณีขอมูลรายชั่วโมงคาที่ไดจากการคํานวณกับคาที่ไดจาก
การวั ด มีความแตกต า งกั น (RMSD) เท ากับ 25.5-29.4% และค าความแตกตาง ลดลงเหลือ
10.6-17.0% ในกรณีของขอมูลรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน

6.5 สรุป
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบบอยูตําแหนงเดิมเมื่อเทียบกับพื้นผิวโลกจะรับรังสีอาทิตยที่
กระเจิงจากบรรยากาศและพื้นผิวโลก และบันทึกไวในรูปของขอมูลภาพถายดาวเทียม 1-4 ภาพ
ต อ ชั่ ว โมง ข อ มู ล ที่ ไ ด ส ามารถนํ า มาใช ใ นการคํ า นวณรั ง สี อ าทิ ต ย ที่ พื้ น ผิ ว โลกได โดย
กระบวนการคํ า นวณจะเริ่ ม จากการจั ด เตรี ย มข อ มู ล ดาวเที ย มให อ ยู ใ นภาพฉายแบบ

250
251

ผิวทรงกระบอกและนําแผนที่ทางภูมิศาสตรมาซอนทับเพื่อหาพิกัดของภาพซึ่งจะทําใหเรารู
พิกัดของทุกพิกเซลที่ประกอบกันเปนภาพถายดาวเทียมดังกลาว หลังจากนั้นจะแปลงคาระดับ
ความเทาของแตละพิกเซลใหเปนคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและ
พื้นผิวโลก ในขั้นตอนตอไปจะสรางแบบจําลองแสดงความสัมพันธระหวางรังสีอาทิตยที่ตก
กระทบพื้นผิวโลกกับสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลกที่ได
จากขอมูลภาพถายดาวเทียมและขอมูลตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศ โดยแบบจําลองดังกลาวมี
3 ประเภทไดแก แบบจําลองเชิงสถิติ แบบจําลองเชิงฟสิกส และแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล
แบบจําลองเชิงสถิติจะแสดงความสัมพันธระหวางรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกกับสัมประสิทธิ์การ
สะทอนของบรรยากาศและพื้น ผิวโลกในรูปของสมการเอมไพริคัลที่ ไดจากการวิเ คราะห
ความสัมพันธระหวางตัวแปรทั้งสอง กรณีของแบบจําลองเชิงฟสิกสจะแสดงความสัมพันธ
ระหวางรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกกับสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและ
พื้นผิวโลกและตัวแปรอื่นๆ ของบรรยากาศในรูปของสมการทางฟสิกส สวนแบบจําลองกึ่ง-
เอมไพริ คั ล จะแสดงความสั ม พั น ธ ร ะหว า งรั ง สี อ าทิ ต ย ที่ พื้ น ผิ ว โลกกั บ ตั ว แปรต า งๆ ของ
บรรยากาศที่มีผลตอรังสีอาทิตย ไดแก ปริมาณไอน้ํา โอโซน ความลึกเชิงแสงของฝุนละออง
แบบจําลองทั้ง 3 ประเภท มีขอดี ขอดอย แตกตางกัน โดยแบบจําลองเชิงสถิติใชไดงาย แต
ใหผลการคํานวณที่ละเอียดถูกตองสูงในกรณีที่สภาพแวดลอมของบริเวณที่ตองการคํานวณ
คลายกับสภาพแวดลอมของสถานีวัดที่นํามาสรางแบบจําลอง สําหรับแบบจําลองเชิงฟสิกส
ใชไดทั่วไป แตมีขั้นตอนการคํานวณซับซอนและใชขอมูลอินพุทหลายตัวแปร อยางไรก็ตามถา
มีขอมูลอินพุทที่ถูกตองจะใหผลการคํานวณที่มีความละเอียดถูกตองสูง กรณีของแบบจําลอง
กึ่งเอมไพริคัล มีขั้นตอนการคํานวณไมซับซอน แตตองการขอมูลอินพุทหลายตัวแปร และ
ใหผลการคํานวณที่มีความละเอียดถูกตองนอยกวาแบบจําลองเชิงสถิติและแบบจําลองเชิง
ฟสิกส อยางไรก็ตามแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลสามารถใชไดกวางขวางกวาแบบจําลองเชิงสถิติ
เพราะมีการนําตัวแปรของบรรยากาศมาใชในแบบจําลอง ในการเลือกแบบจําลองผูใชจะตอง
คํานึงถึงขอมูลอินพุทที่สามารถหามาได และระดับของความละเอียดถูกตองของผลลัพธที่
ตองการ

251
252

แบบฝกหัด

1. จงคํานวณสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลก ( ρEA ) จาก


ขอมูลดาวเทียม MTSAT-1R ที่ตําแหนงสถานีนครปฐม (13.82 N, 100.04 E) ในวันที่ 21
มิถุนายน เวลา 12:00 น. ตามเวลามาตรฐานประเทศไทย ถาสัมประสิทธิ์การกระเจิงของ
บรรยากาศที่ไดจากตารางสอบเทียบมีคาเทากับ 0.0973
คําตอบ 0.10

2. จงคํานวณสัมประสิทธิ์การดูดกลืนของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม MTSAT-1R
ถาบรรยากาศมีปริมาณไอน้าํ 4 เซนติเมตร ที่มวลอากาศเทากับ 0.5
คําตอบ 0.0142

3. ถาทานมีขอมูลภาพถายดาวเทียมจากดาวเทียม NOAA วันละ 1 ภาพเปนเวลาตอเนื่องกัน 10 ป


ท า นจะสามารถนํ า ข อ มู ล ดั ง กล า วมาคํ า นวณรั ง สี ร วมรายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ นได ห รื อ ไม
จงใหเหตุผล

4. จงคํานวณความเขมรังสีรวมโดยใชแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลที่สถานีสงขลา (7.20 N,


100.60 E) ในวันที่ 30 เมษายน เวลา 11:00 นาฬิกา ตามเวลาดวงอาทิตย ถาในขณะนั้น
บรรยากาศมีปริมาณไอน้ําเทากับ 4 เซนติเมตร ปริมาณโอโซนเทากับ 0.3 เซนติเมตร
ดัชนีเมฆเทากับ 0.2 และความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร
เทากับ 0.2
ตอบ 1,023.25 วัตตตอตารางเมตร

5. ในการใช แ บบจํ า ลองเชิ ง สถิ ติ ข องเฮย แ ละแฮนสั น ซึ่ ง สร า งโดยใช ข อ มู ล ที่ ส ถานี
อุตุนิยมวิทยาหนึ่งไปคํานวณรังสีอาทิตยอีกบริเวณหนึ่ง ความละเอียดถูกตองของผลที่ได
ขึ้นกับตัวแปรทางฟสิกสตัวแปรใดบาง จงใหเหตุผล

252
253

รายการสัญลักษณ

Daer สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละออง (-)


H รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
Ho รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
I0 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมง (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I SAT รังสีอาทิตยที่กระเจิงจากพื้นผิวโลกและดาวเทียมตรวจวัดได (จูลตอตารางเมตร
ตอชั่วโมง)
I EA รังสีอาทิตยที่ถูกบรรยากาศโลกดูดกลืน (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I รังสีรวมที่ตกกระทบพื้นผิวโลก (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I clear รังสีรวมรายชั่วโมงในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I
oλ สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
kc ดัชนีความแจมใสของทองฟา (-)
 ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
n ดัชนีเมฆ (-)
R สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (-)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (%)
SSA สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง (-)
W ปริมาณไอน้ําในอากาศ (เซนติเมตร)
α aer สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
αw สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
αo สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
αg สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
αw สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม (-)
αo สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม (-)
αg สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม
(-)

253
254

αaer สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม (-)


ρEA สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพืน ้ ผิวโลกในชวงความยาว
คลื่นดาวเทียม (-)
ρA สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)
ρA สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่น
กวาง (-)
ρ SAT สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพืน ้ ผิวโลกที่ไดจากตารางสอบ
เทียบ (-)
ρG สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพืน้ ผิวโลกในชวงความยาวคลื่นกวาง (-)
ρmin สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพืน ้ ผิวโลก (-)
ρmax สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆ (-)
ρEA,clear สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพืน ้ ผิวโลกในสภาพทองฟา
ปราศจากเมฆ (-)
ρaer สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม
(-)
ρG สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพืน้ โลกในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม (-)
θZ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
τo สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซนที่ความยาวคลื่น  (-)
τ gλ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ที่ความยาวคลื่น  (-)
τ wλ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของไอน้ําที่ความยาวคลื่น  (-)

254
255

เอกสารอางอิง

ASTM, 2000. Standard solar constant and zero air mass solar spectral tables. Standard E-490.
American Society for Testing and Materials, West Conshohocken, PA , USA.
Beckman, W.A., Klein, S.A., Duffie, J.A., 1977. Solar Heating Design by the f-chart Method.
Wiley-Interscience, New York.
Beyer, H.G., Constanzo, C., Heinemann, D., 1996. Modifications of the Heliosat procedure
for irradiance estimates from satellite images. Solar Energy 56(3), 207-212.
Cano, D., Monget, J.M., Albuission, M., Guillard, H., Regas, N., Wald, L., 1986. A method
for the determination of the global solar radiation from meteorological satellite data.
Solar Energy 37, 31-39.
Gautier, C., Diak, G., Masse, S., 1980. A simple physical model to estimate incident solar
radiation at the earth surface from GOES satellite data. Journal of Applied
Meteorology 36, 1005-1012.
Hay, J.E, Hanson, K.J., 1978. A satellite-based methodology for determining solar irradiance
at the ocean surface during GATE. Bulletin of the American Meteorological Society
59, 1549.
Hammer, A, Heinemann, P., Hoyer, D., Kuhlenmann, R., Lorenz, E., Muller, R., Beyer,
H.G., 2003. Solar energy assessment using remote sensing technology. Remote
Sensing of Environment 86, 423-432.
Hirunlabh, J., Sarachitti, R., Namprakai, P., 1997. Estimating solar radiation at the earth’s
surface from satellite data. Thammasat International Journal of Science and
Technology 3(2), 69-73.
Janjai, S., 2008. Generation of solar radiation maps from long-term satellite data. in V.
Badescu (Ed.) Modeling Solar Radiation on Earth Surface, Springer, Berlin.
Janjai, S., Esper, A., Muhlbauer, W., 1994. A procedure for determining the optimum
collector area for a solar paddy drying systems. Renewable Energy 4 (4), 409-416.

255
256

Janjai, S., Laksanaboonsong, J., Nunez, M., Thongsathitya, A., 2005. Development of a
method for generating operational solar radiation maps from satellite data for a
tropical environment. Solar Energy 78, 739-751.
Janjai, S., Pankaew, P., Laksanaboonsong, J., Kitichantaropas, P., 2011. Estimation of solar
radiation over Cambodian from long-term satellite data. Renewable Energy 36,
1214-1220
Janjai, S., Masiri, I., Laksanaboonsong, J., 2013b. Satellite-derived solar resource maps for
Myanmar. Renewable Energy 53, 132-140.
Janjai, S., Masiri, I., Pattarapanitchai, S., Laksanaboonsong, J., 2013a. Mapping global solar
radiation from long-term satellite data in tropics using an improved model.
International Journal of Photoenergy 2013, 1-11.
Janjai, S., Pattarapanitchai, S., Wattan, R., Masiri, I., Buntoung, S., Promsen, W., Tohsing,
K., 2012. A semi- empirical model for estimating surface solar radiation from
satellite data. Proceedings of the International Radiation Symposium, 6-10 August
2012, Berlin, Germany.
Janjai, S., Wanwong, W., Laksanaboonsong, J., 2006. The determination of surface albedo of
Thailand using satellite data. Proceedings of the 2nd Joint International Conference
on Sustainable Energy and Environment (SEE 2006), Bangkok, Thailand, pp.156-
161.
JMA, 2012. Calibration of MTSAT. Japanese Meteorological Agency, Japan.
Klein, J.A., 1976. A design procedure for solar heating systems. Ph.D. Thesis, University
Wisconsin-Madison.
Kondratyev, KY. 1999. Climatic Effects of Aerosols and Clouds. Springer, Berlin.
Leckner, B., 1978. The spectral distribution of solar radiation at earth’s surface - Elements of
a model. Solar Energy 20, 143-150.
Martins, F.R., Pereira, E.B., Abreu, S.L., 2007. Satellite-derived solar resource maps for
Brazil under SWERA project. Solar Energy 81, 517-528.

256
257

Möser, W., Raschke, E., 1984. Incident solar radiation over Europe from METEOSAT data.
Journal of Climate and Applied Meteorology 23, 166-170.
Nunez, M., 1993. The development of a satellite-based insulation model for the tropical
western Pacific Ocean. International Journal of Climatology 13, 607 – 627.
Perez, R., Ineichen, P., Moore, K., Kmiecik, M., Chain, C., George, R., Vignola, F., 2002. A
new operational model for satellite-derived irradiance: Description and validation.
Solar Energy 73(5), 367-312.
Rigollier, C., Lefevre, M., Wald, L., 2004. The method Heliosat-2 for deriving shortwave
solar radiation from satellite images. Solar Energy 77, 159-169.
Sorapipatana, C., Exell, R.H.B., Borel, D., 1988. A bispectral method for determining global
solar radiation from meteorological satellite data. Solar and Wind Technology 5(3),
321-327.
Sorapipatana, C., Exell, R.H.B., 1989. Mesoscale mapping of daily insulation over Southeast
Asia from satellite data. Wind Technology 6(1), 59-69.
Tarpley, J.D., 1979. Estimating incident solar radiation at the surface from geostationary
satellite data. Journal of Applied Meteorology 18, 1172-1181.
Vigroux, E., 1953. Contribution à l’étude expérimentale de l’absorption de l’ozone. Annale
de Physiques 8, 709-762.
Zarzalejo, L.F., Polo, J., Martin, L., Ramirez, L., Espinar, B., 2009. A new statistical
approach for deriving global solar radiation from satellite image. Solar Energy 83,
480-484.

257
258
บทที่ 7
การคํานวณรังสีอาทิตยจากขอมูลอุตุนิยมวิทยา

ทางเลือกอีกทางหนึ่งในการหาคารังสีอาทิตยในสภาพทองฟาทั่วไปคือการคํานวณจาก
ข อ มู ล อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา โดยข อ มู ล ที่ ส ามารถนํ า มาใช ห าค า รั ง สี อ าทิ ต ย ได แ ก ความยาวนาน
แสงแดด ปริมาณเมฆ และอุณหภูมิอากาศ ทั้งนี้เพราะขอมูลเหลานี้มีความสัมพันธทางสถิติกับ
คารังสีอาทิตย และขอมูลดังกลาวสามารถหาไดจากสถานีอุตุนิยมวิทยาทั่วไป ในบทนี้จะเสนอ
แบบจําลองสําหรับหาคารังสีอาทิตยจากขอมูลความยาวนานแสงแดด ปริมาณเมฆ และอุณหภูมิ
อากาศแวดลอม โดยจะเนนกรณีของประเทศไทย

7.1 การคํานวณคารังสีอาทิตยจากความยาวนานแสงแดด
ในแตละวันรังสีอาทิตยจะแปรคาจากเชาจนถึงเย็น ถาเปนวันที่ทองฟาแจมใสและ
ปราศจากเมฆ รังสีอาทิตยจะคอยๆ เพิ่มขึ้นตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึงคาสูงสุดที่เวลาประมาณ
เที่ยงวันแลวคอยๆ ลดลงจนถึงคาต่ําสุดเมื่อดวงอาทิตยตก สําหรับวันทั่วไป อาจมีเมฆมาบดบัง
ดวงอาทิ ต ย เ ป น ครั้ ง คราวหรื อ บางครั้ ง อาจมี เ มฆปกคลุ ม ทั่ ว ทั้ ง ท อ งฟ า ทํา ให รั ง สี อ าทิ ต ย ที่
พื้นผิวโลกมีคาต่ํา ถารังสีอาทิตยที่ไดรับมีความเขมสูงคนทั่วไปจะเรียกวา มีแดด สําหรับในทาง
วิทยาศาสตรองคการอุตุนิยมวิทยาโลกกําหนดการมีแดดวาเกิดขึ้นเมื่อความเขมรังสีตรงบน
ระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีมีคามากกวา 120 วัตตตอตารางเมตร (Gueymard, 1993)
เนื่องจากนักวิทยาศาสตรไดพัฒนาเครื่องวัดความยาวนานแสงแดด (sunshine duration
meter) ซึ่งเปนเครื่องมือที่ไมซับซอน และมีการใชงานมาเปนเวลากวา 100 ปแลว ดังนั้นสถานี
วั ด ความยาวนานแสงแดดจึ ง มีม ากกว า สถานี วั ด ความเขม รั ง สี อ าทิ ต ย โดยเครื่ อ งวั ด ความ
ยาวนานแสงแดดที่ นิย มใช กันตั้ง แตอดีต จนถึง ป จ จุบัน คื อ เครื่องวัดแบบแคมเบลล-สโตก
(Campbell - Stokes) (รูปที่ 7.1)

259
260

รูปที่ 7.1 เครื่องวัดความยาวนานแสงแดดแบบแคมเบลล – สโตก ที่สถานีอุตุนิยมวิทยา


นครสวรรค

เครื่องวัดความยาวนานแสงแดดแบบแคมเบลล – สโตก ประกอบดวยลูกแกวและแผน


โลหะโคงอยูดานลางของลูกแกว โดยระหวางลูกแกวและแผนโลหะโคงจะมีแผนกระดาษฉาบ
ดวยสารเคมีไวแสง เมื่อรังสีอาทิตยตกกระทบลูกแกว รังสีตรงจะถูกลูกแกวซึ่งทําหนาที่เหมือน
เลนสนูนรวมแสงไปตกกระทบบนกระดาษไวแสง ถารังสีตรงมีความเขมสูงกวา 120 วัตตตอ
ตารางเมตร กระดาษไวแสงก็จะไหมเปนทางตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย เมื่อรวมระยะทาง
ที่กระดาษไวแสงไหม เราจะสามารถหาชวงเวลาที่มีแดดหรือความยาวนานแสงแดดได
นอกจากเครื่องวัดความยาวนานแสงแดดแบบแคมเบลล – สโตกแลว ปจจุบันยังมี
เครื่องวัดความยาวนานแสงแดดแบบใชเซนเซอร (sensor) เปนสารกึ่งตัวนําซึ่งรับรังสีตรงและ
ใหสัญญาณไฟฟาออกมา โดยสัญญาณดังกลาวจะถูกประเมินผลดวยไมโครโปรเซสเซอร
(microprocessor) ซึ่งสามารถหาความยาวนานแสงแดดได ตัวอยางของอุปกรณดังกลาวแสดง
ดังรูปที่ 7.2

260
261

รูปที่ 7.2 เครื่องวัดความยาวนานแสงแดดแบบใชเซนเซอรเปนสารกึ่งตัวนําที่ผลิตโดยบริษัท


เอคโก (EKO) ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง ใช ง านที่ ส ถานี วั ด รั ง สี อ าทิ ต ย ข องมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร
จังหวัดนครปฐม

คิมบอลล (Kimball, 1919) เปนนักวิจัยคนแรกที่แสดงใหเห็นวาความยาวนานแสงแดด


มีความสัมพันธอยางเปนระบบกับคาเขมรังสีอาทิตย ตอมาอังสตรอม (Angstrom, 1924) ไดทํา
การวัดคารังสีอาทิตยและความยาวนานแสงแดดที่เมืองสตอกโฮม ประเทศสวีเดน แลวนํา
ขอมูลที่ไดมาวิเคราะหเพื่อหาความสัมพันธระหวางปริมาณทั้งสองและไดผลดังสมการ
S
H  H c (0.25  0.75 ) (7.1)
S0

เมื่อ H คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)


Hc คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ (จูลตอ
ตารางเมตรตอวัน)
S คือ ความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยตอเดือน (ชั่วโมง)
S0 คือ ความยาวนานของวันเฉลี่ยตอเดือน (ชั่วโมง)

261
262

ตอมาอังสตรอม (Angstrom, 1956) ไดปรับปรุงสมการ (7.1) ใหเขียนในรูปทั่วไปดังนี้


S
H  H c [  (1  ) ] (7.2)
S0

เมื่อ  คือ คาคงที่เอมไพริคัล

จากสมการ (7.2) จะเห็นวาถา S  S0 หรือทองฟาปราศจากเมฆ จะไดวา H  Hc


และถา S  0 หรือทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด จะไดวา H  Hc ดังนั้น  จึงเสมือนเปน
คาสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตย (attenuation coefficient) ของเมฆ
เนื่องจากการคํานวณรังสีอาทิตยโดยใชแบบจําลองของอังสตรอมจําเปนตองรูคารังสี
อาทิตยรายวันเฉลี่ยตอเดือนในวันที่ทองฟาปราศจากเมฆ ( Hc ) ซึ่งตองทําการคํานวณหาหรือ
หาจากการคัดเลือกขอมูลที่ไดจากการวัดซึ่งมีความยุงยาก ดังนั้นพรีสกอตต (Prescott, 1940)
จึงไดเสนอแบบจําลองของความสัมพันธระหวางรังสีรวมกับความยาวนานแสงแดดขึ้นใหม
โดยใชขอมูลจากการวัดในประเทศออสเตรเลีย โดยแทนที่จะใชรังสีรวมเทียบกับรังสีในวันที่
ทองฟา ปราศจากเมฆ เขาใช รัง สีอ าทิ ตยน อกบรรยากาศโลกเปน ตั วเปรี ย บเที ย บ ซึ่ ง ไดผ ล
ดังสมการ
H S
 0.25  0.54 (7.3)
H0 S0

เมื่อ H0 คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)

เนื่องจากสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองในสมการ (7.3) จะแปรคาไปตามแหลงที่มาของ


ขอมูลที่ใชสรางแบบจําลอง ดังนั้นจึงนิยมเขียนสมการดังกลาวใหอยูในรูปทั่วไปดังนี้
H S
 a1  b1 (7.4)
H0 S0

262
263

โดยที่ a1 และ b1 เป น สั ม ประสิ ท ธิ์ เ อมไพริ คั ล ของแบบจํ า ลองซึ่ ง นิ ย มเรี ย กว า
สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องอั ง ตรอม (Angstrom coefficient) และเรี ย กสมการ (7.4) ว า แบบจํ า ลอง
อังสตรอม – พรีสกอตต (Angstrom – Prescott model)
ทํานองเดียวกับสมการ (7.2) เราสามารถหาความหมายของสัมประสิทธิ์ของสมการ
(7.4) โดยการพิจารณาคาสูงสุดและต่ําสุดของ S S0 กลาวคือ กรณีที่ S S0  1 ซึ่งเปนกรณีที่
ทองฟาปราศจากเมฆจะไดวา H H0  a1  b1 นั่นคือ a1  b1 เปนคาสัมประสิทธิ์การสงผาน
รังสีอาทิตยของบรรยากาศที่ปราศจากเมฆ สําหรับกรณีของ S S0  0 หรือกรณีที่ทองฟา
ปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด จะไดวา H H0  a1 นั่นคือ a1 เปนคาของสัมประสิทธิ์การสงผาน
รังสีอาทิตยของบรรยากาศที่ทองฟามีเมฆปกคลุมทั้งหมด หลังจากนั้นนักวิจัยอีกหลายคนได
ทําการวิเคราะหความสัมพันธระหวางรังสีรวมกับความยาวนานแสงแดดโดยใชขอมูลจาก
บริเวณตางๆ ของโลก อาคิโนกูล (Akinoglu, 1991) ไดรวบรวมแบบจําลองของความสัมพันธ
ระหวาง H H0 กับ S S0 จากงานวิจัยที่ใชขอมูลจากการวัดในบริเวณตางๆ ของโลก 100 แหง
และพบวา a1 มีคาอยูระหวาง 0.089 ถึง 0.460 และ b1 มีคาอยูระหวาง 0.208 ถึง 0.851 การแปร
คานี้มีผลมาจากความแตกตางของสภาวะของบรรยากาศของสถานีตางๆ ทั้งนี้เพราะ a1 และ b1
มีค วามสั ม พั น ธ กั บสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารสง ผ า นรั ง สี ข องบรรยากาศตามที่ ก ล า วไปแล ว ข า งต น
นอกจากนี้ความแตกตางดังกลาวยังขึ้นกับชนิดของเครื่องมือวัด ความละเอียดถูกตองของขอมูล
วิธีการเฉลี่ยขอมูล สูตรและขอมูลที่ใชในการคํานวณรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
สําหรับกรณีประเทศไทย เอกซเซล (Exell, 1976) เปนนักวิจัยคนแรกที่ทําการศึกษา
ความสั มพั น ธระหว างค า รัง สีอาทิ ตย กับความยาวนานแสงแดด โดยใชขอมูลจากการวั ด ที่
กรุงเทพฯ และจังหวัดเชียงใหม ตอมา กฤษณพงค กีรติกรและคณะ (2524) และกีรติกรและ
ศิริประยุกต (Kirtikara and Siriprayuk, 1980) ไดวิเคราะหความสัมพันธระหวางคารังสีอาทิตย
กับความยาวนานแสงแดดจากขอมูลวัดของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีและสถานี
วั ด ของกรมพัฒ นาและส ง เสริ ม พลั ง งาน และได เ สนอสมการแสดงความสัมพั น ธ ระหว า ง
ปริมาณทั้งสองของสถานีตางๆ หลังจากนั้น หิรัญลาภและคณะ (Hirunlabh et al., 1994) ไดนํา
ขอมูลรังสีอาทิตยและความยาวนานแสงแดดจากกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงานมาทําการ
วิเคราะหเพิ่มเติม พรอมทั้งไดเสนอแบบจําลองของความสัมพันธระหวางคารังสีอาทิตยกับ
ความยาวนานแสงแดดอีกครั้งหนึ่ง

263
264

เนื่องจากขอมูลรังสีอาทิตยที่นักวิจัยดังกลาวขางตนใช เปนขอมูลเกากวา 30 ปแลว


และตลอดเวลาที่ผานมาสภาพแวดลอมของประเทศเปลี่ยนแปลงไปมาก ดังนั้นจันทรฉายและ
โตะสิงห (Janjai and Tohsing, 2004) จึงไดนําขอมูลรังสีอาทิตยชุดใหมจากเครือขายสถานีวัด
รังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากรมาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางคารังสีอาทิตยและ
ความยาวนานแสงแดด เนื่องจากเปนขอมูลชุดใหมและวัดดวยเครื่องมือที่มีสมรรถนะสูง ดังนั้น
ผูเขียนจึงนําเสนอรายละเอียดวิธีการและผลดังนี้
ในลําดับแรก จันทรฉายและโตะสิงห (Janjai and Tohsing, 2004) ไดทําการรวบรวม
ขอมูลรังสีอาทิตยจากเครือขายสถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร 3 แหง ไดแก
สถานีเ ชีย งใหม อุ บลราชธานี และสงขลา และขอมูลรัง สีอาทิ ต ย ซึ่ง วั ด ที่กรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา
กรุงเทพฯ พรอมทั้งไดรวบรวมขอมูลความยาวนานแสงแดดซึ่งวัดที่สถานีเดียวกันจํานวน 9 ป
(ค.ศ. 1995 - 2003) จากนั้นไดทําการคํานวณอัตราสวนระหวางคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน
( H ) ตอรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( Ho ) และคาอัตราสวนความ
ยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( S ) ตอความยาวนานของวันเฉลี่ยตอเดือน ( So ) แลวนํา
คา H Ho ไปเขียนกราฟกับคา S So ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 7.3
จากรู ป ที่ 7.3 จะเห็ น ว า กราฟระหว า ง H H 0 กั บ S S0 มี ลั ก ษณะเป น เส น ตรงซึ่ ง
สามารถแทนไดดวยสมการ (7.4) ตามแบบจําลองอังสตรอม – พรีสกอตต โดยมีคา a1 และ b1
แสดงไวในตารางที่ 7.1
จากขอมูลในตารางที่ 7.1 เมื่อนําคา a1 และ b1 มาเขียนกราฟกับละติจูดจะไดกราฟ
ตามรูปที่ 7.4 และ 7.5 ตามลําดับ

264
265

1 1
เชียงใหม อุบลราชธานี
0.8 0.8

0.6 0.6
H/H0

H/H0
0.4 0.4

H H 0  0 . 3169  0 . 3465 S S 0 H H 0  0 . 3129  0 . 3846 S S 0


0.2 0.2 2
2 R =0.94
R =0.87

0 0
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1
S/S0 S/S0

ก) ข)
1 1
กรุงเทพมหานคร สงขลา
0.8 0.8

0.6 0.6
H/H0

H/H0

0.4 0.4

H H 0  0 . 2905  0 . 3783 S S 0 H H 0  0 . 2638  0 . 4912 S S 0


0.2 0.2 2
R =0.94
2
R =0.95

0 0
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1
S/S0 S/S0

ค) ง)
รูปที่ 7.3 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนตอรังสี
นอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H H 0 ) กับอัตราสวนของความยาวนาน
แสงแดดรายวันเฉลี่ยตอเดือนตอความยาวนานของวันเฉลี่ยตอเดือน ( S S0 ) จาก
ขอมูลสถานีตางๆไดแก ก) เชียงใหม ข) อุบลราชธานี ค) กรุงเทพฯ และ ง) สงขลา
(Janjai and Tohsing, 2004)

265
266

ตารางที่ 7.1 ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ a1 และ b1 ของสมการ (7.4) จากข อ มู ล ที่ ส ถานี เ ชี ย งใหม
อุบลราชธานี กรุงเทพฯ และสงขลา คาละติจูดของแตละสถานี () และคากําลัง
สองของสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (R 2 ) (Janjai and Tohsing, 2004)

สถานี จุดตัดแกน ( a1 ) ความชัน ( b1 ) R2 ละติจูด (  )


เชียงใหม 0.3169 0.3465 0.87 18.78N
อุบลราชธานี 0.3129 0.3846 0.94 15.25N
กรุงเทพฯ 0.2905 0.3783 0.95 13.73N
สงขลา 0.2638 0.4912 0.94 7.20N

0.6
จุดตัดแกนตั้ง, a1

0.4
จุดตัดแกน ,a

0.2
a1=0.2296+0.00494 2
R = 0.93

R2 = 0.93
0
0 5 10 15 20

ละติจูด,  (องศา)
ละติจูด , (องศา)

รูปที่ 7.4 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาจุดตัดแกนตั้ง (a1) และละติจูด () (Janjai and


Tohsing, 2004)

266
267

0.6

ความชัน, b1
0.4

0.2
b1 =0.5709+0.01254 2
R = 0.93

R2 = 0.93
0
0 5 10 15 20
ละติจูด,  (องศา)

รูปที่ 7.5 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาความชัน (b1) และละติจดู () (Janjai and


Tohsing, 2004)

จากกราฟในรู ป ที่ 7.4 และ 7.5 จะเห็ น ว า a1 และ b1 แปรค า อย า งเป น ระบบกั บ
ละติจูด () ซึ่งสามารถแทนดวยสมการเชิงเสนดังนี้
a1  0.2296  0.00494 (7.5)
b1  0.5709  0.01254 (7.6)
เมื่อ  เปนละติจูด (องศา)

ในขั้ น ตอนสุ ด ท า ย จั น ทร ฉ ายและโต ะ สิ ง ห (Janjai and Tohsing, 2004) ได ทํ า การ
ทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองโดยนําแบบจําลองดังกลาวไปคํานวณคารังสีรวมที่สถานีวัด
รังสีอาทิตยของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 10 แหง ซึ่งตั้งอยูที่จังหวัด
เชียงใหม เชียงราย พิษณุโลก เพชรบูรณ นครสวรรค นครพนม ขอนแกน อุบลราชธานี จันทบุรี
และภูเก็ต จากนั้นไดนําคาที่ไดจากการคํานวณไปเปรียบเทียบกับคาจากการวัด ผลที่ไดแสดงไว
ในรูปที่ 7.6

267
268

รูปที่ 7.6 การเปรียบเทียบคาเขมรังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่คํานวณไดจากแบบจําลอง


( H mod el ) และจากการวัด ( H meas ) (Janjai and Tohsing, 2004)

จากกราฟในรูปที่ 7.6 จะเห็นวาจุดของกราฟมีแนวโนมเปนเสนตรง โดยความแตกตาง


ระหวางคาจากการคํานวณและคาจากการวัด (RMSD) มีคาเทากับ 6.1% จะเห็นวาคาจากการ
คํานวณสวนใหญมีความสอดคลองกับคาจากการวัด ดังนั้นแบบจําลองนี้จึงสามารถนําไปใช
ในการประมาณคารังสีรวมจากความยาวนานแสงแดดในประเทศไทยไดคอนขางแมนยํา

7.2 การคํานวณคารังสีอาทิตยจากปริมาณเมฆ
เมฆเปนองคประกอบที่สําคัญของบรรยากาศซึ่งมีผลกระทบตอความเขมรังสีอาทิตย
มาก โดยเมฆชั้นสูงสามารถลดทอนรังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศไดเล็กนอยแตเมฆชั้นกลาง
หรือชั้นต่ําที่หนาทึบอาจลดทอนรังสีอาทิตยไดมากกวา 90 % (Houze, 1993) โดยทั่วไปการ
ลดทอนรังสีอาทิตยของเมฆจะขึ้นกับปริมาณ ชนิด และความหนาของเมฆ ตามหลักการแลว
เราสามารถคํานวณความเขมรังสีอาทิตยในสภาพทองฟามีเมฆไดโดยอาศัยทฤษฎีการถายเท
รังสี (radiative transfer theory) ถาเรารูตําแหนง ขนาด และสมบัติทางฟสิกสตางๆ ของเมฆ แต
ในทางปฏิบัติทําไดยากเพราะเราไมมีขอมูลดังกลาว อยางไรก็ตามสถานีอุตุนิยมวิทยาสวนใหญ
ในประเทศตางๆ มีการสังเกตการณปริมาณเมฆทุกๆ 3 ชั่วโมง ตัวอยางเชนในประเทศไทย มี

268
269

สถานีที่มีการสังเกตการณปริมาณเมฆอยูประมาณ 80 แหง ขอมูลที่ไดสามารถนํามาใชคํานวณ


คารังสีอาทิตยได
ในชวงตนศตวรรษที่ 20 คิมบอลล (Kimball, 1919) ไดแสดงใหเห็นวาคารังสีอาทิตยมี
ความสัมพั นธกับปริ มาณเมฆ ตอมาแบลค (Black, 1956) ไดทําการวิเคราะหความสัมพัน ธ
ระหว า งคา รั ง สี อ าทิ ตย แ ละปริ ม าณเมฆโดยใช ขอ มู ล จากส ว นต า งๆ ของโลกและได เ สนอ
แบบจําลองดังสมการ

H
 0.803  0.340 C1  0.458C12 (7.7)
H0

เมื่อ H คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)


H0 คือ รังสีนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตร
ตอวัน)
C1 คือ ปริมาณเมฆในชวงเวลากลางวันเฉลี่ยตอเดือนเมื่อแบงทองฟาเปน
10 สวน โดยใหมีคาอยูระหวาง 0-1 (-)

อาศั ย แบบจํ า ลองนี้ แบลคได ทํ า การคํ า นวณความเข ม รั ง สี อ าทิ ต ย ต ามสถานี


อุตุนิยมวิทยาที่มีการสังเกตการณปริมาณเมฆทั่วโลก แลวนําผลที่ไดมาสรางคอนทัวร (contour)
ซึ่งแสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ยตอเดือนทั่วโลก หลังจากนั้นนักวิจัย
อีกหลายคนไดทําการสรางแบบจําลองซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางความเขมรังสีอาทิตยกับ
ปริมาณเมฆโดยใชขอมูลที่ไดจากสถานีอุตุนิยมวิทยาในประเทศตางๆ (Iqbal, 1983)
สําหรับกรณีประเทศไทย นักวิจัยหลายคนไดสรางแบบจําลองของความสัมพันธใน
ลักษณะดังกลาว (Exell and Salicali, 1976; Kirtikara et al., 1981, Janjai and Tohsing, 2000)
เนื่องจากงานวิจัยเหลานี้ดําเนินการมานานแลว ประกอบกับสภาพแวดลอมของประเทศไทย
ในชวง 30 ป ที่ผานมาเปลี่ยนแปลงไปมาก ดังนั้น นิ่มนวลและจันทรฉาย (Nimnuan and Janjai,
2012) จึงไดทําการสรางแบบจําลองของความสัมพันธระหวางคารังสีอาทิตยกับปริมาณเมฆขึ้น
ใหม โดยใช ขอ มู ลรั ง สี ร วมที่ไ ดจ ากเครือ ขา ยสถานี วัด รั ง สี อาทิ ต ย ข องกรมพั ฒ นาพลั ง งาน
ทดแทนและอนุรักษพลังงานจํานวน 24 สถานี และปริมาณเมฆซึ่งสังเกตการณที่สถานีเดียวกัน
จํานวน 4-8 ป (ตารางที่ 7.2)

269
270

ตารางที่ 7.2 รายชื่อและตําแหนงของสถานีวัดรังสีอาทิตยและชวงเวลาของขอมูลที่นํามาใช


สรางแบบจําลอง ( + ) และทดสอบแบบจําลอง ( * ) (Nimnuan and Janjai, 2012)

ลําดับ สถานี ชวงขอมูล ละติจูด (องศา) ลองจิจูด (องศา)


1 นครสวรรค+ มกราคม, 2006-ธันวาคม, 2009 15.8 100.17
2 กรุงเทพฯ+ มกราคม, 2003-ธันวาคม, 2009 13.67 100.62
3 ทองผาภูมิ+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 14.75 98.63
4 ประจวบคีรีขันธ+ มกราคม 2002- ธันวาคม, 2009 11.83 99.83
5 ตาก+ มกราคม, 2006-มกราคม, 2008 16.77 98.93
6 เพชรบูรณ+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 16.43 101.15
7 ขอนแกน+ มีนาคม, 2006- ธันวาคม, 2009 16.19 102.83
8 นครพนม+ มิถุนายน, 2006-ธันวาคม, 2009 17.42 104.78
9 สุรินทร+ มกราคม, 2006-ธันวาคม, 2009 14.88 103.5
10 อุบลราชธานี+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 15.25 104.87
11 นครราชสีมา+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 14.97 102.08
12 ระนอง+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 9.98 98.62
13 เกาะสมุย+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 9.47 100.03
14 ภูเก็ต+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 8.13 98.3
15 นราธิวาส+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 6.42 101.82
16 กาญจนบุรี+ มกราคม, 2005-ธันวาคม, 2009 14.02 99.53
17 เชียงใหม+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 18.78 98.98
18 แพร+ มกราคม, 2005-ธันวาคม, 2009 18.16 100.17
19 ชุมพร+ กุมภาพันธ,2005-ธันวาคม,2009 10.48 99.18
20 เลย+ กุมภาพันธ,2006-ธันวาคม,2009 17.4 101.73
21 สงขลา+ มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 7.2 100.6
22 สุราษฎรธานี+ มกราคม, 2006-ธันวาคม, 2009 9.13 99.35
23 ชลบุรี+ มีนาคม, 2005-ธันวาคม, 2009 13.37 100.98
24 ตราด+ มีนาคม, 2006-ธันวาคม, 2009 11.77 102.88
25 แมสะเรียง* มกราคม, 2005-ธันวาคม, 2009 18.17 97.93
26 ลพบุรี* มกราคม, 2002-ธันวาคม, 2009 14.83 100.67

270
271

ลําดับ สถานี ชวงขอมูล ละติจูด (องศา) ลองจิจูด (องศา)


27 อุบลราชธานี มกราคม, 2009-ธันวาคม, 2009 15.23 105.03
(อุตุเกษตร)*
28 ตรัง* มีนาคม, 2005-ธันวาคม, 2009 7.52 99.53

ในลําดับแรก นิ่มนวล และจันทรฉาย (Nimnuan and Janjai, 2012) ไดทําการคํานวณ


ค า รั ง สี ร วมรายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ น ( H) ต อ รั ง สี อ าทิ ต ย น อกบรรยากาศโลกรายวั น เฉลี่ ย ต อ
เดือน ( H0 ) และคาปริมาณเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( C ) จากสถานีวัด 24 แหงจากนั้น นําคา
H H 0 มาเขียนกราฟกับคาของ C ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 7.7

271
272

0.8 0.8 0.8


0.7 นครสวรรค 0.7 กรุงเทพ 0.7 ทองผาภูมิ
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5
H/H0

H/H0

H/H0
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0152C + 0.6042 H/H0 = -0.0523C + 0.8849 H/H0= -0.0271C + 0.6448
0.1 0.1 0.1
R2 = 0.76 2
R = 0.95 R2 = 0.89
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

0.8 0.8 0.8


0.7 ประจวบคีรีขันธ 0.7 ตาก 0.7 เพชรบูรณ
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5
H/H0

H/H0
H/H0

0.4 0.4 0.4


0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0392C + 0.7839 H/H0 = -0.0418C + 0.7497 H/H0 = -0.0269C + 0.6608
0.1 0.1 0.1
2
R = 0.96 R2 = 0.95 2
R = 0.92
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

0.8 0.8 0.8


0.7 ขอนแกน 0.7 นครพนม 0.7 สุ รินทร
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5
H/H0

H/H0

H/H0
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0269C + 0.6664 H/H0 = -0.0400C + 0.725 H/H0 = -0.0174C + 0.6351
0.1 0.1 0.1
R2 = 0.93 2
R = 0.96 R2 = 0.78
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

0.8 0.8 0.8


0.7 อุบลราชธานี 0.7 นครราชสี มา 0.7 ระนอง
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5
H/H0

H/H0

H/H0

0.4 0.4 0.4


0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0518C + 0.8867 H/H0 = -0.0210C + 0.6484 H/H0 = -0.0578C + 0.8935
0.1 0.1 0.1
R2 = 0.93
2 2
R = 0.95 R = 0.86
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

0.8 0.8 0.8


0.7 เกาะสมุย 0.7 ภูเก็ต 0.7 นราธิวาส
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5
H/H0

H/H0

H/H0

0.4 0.4 0.4


0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0580C + 0.8859 H/H0 = -0.0660C + 0.9598 H/H0 = -0.0658C + 0.9620
0.1 0.1 0.1
R2 = 0.90 R2 = 0.92
2
R = 0.98
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

รูปที่ 7.7 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H )


ตอรังสีนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H o ) กับปริมาณเมฆรายวันเฉลี่ยตอ
เดือน ( C ) เมื่อแบงทองฟาเปน 10 สวน โดย C มีคาอยูระหวาง 0-10 (Nimnuan and
Janjai, 2012)

272
273

0.8 0.8 0.8


0.7 กาญจนบุรี 0.7 เชียงใหม 0.7 แพร
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5
H/H0

H/H0

H/H0
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0191C + 0.6246 H/H0 = -0.0231C + 0.6204 H/H0 = -0.0449C + 0.8477
0.1 0.1 0.1
2
R = 0.80 R2 = 0.87 R2 = 0.93
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

0.8 0.8 0.8


0.7 ชุมพร 0.7 เลย 0.7 สงขลา
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5

H/H0
H/H0

0.4
H/H0 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0425C + 0.751 H/H0 = -0.0238C + 0.6122 H/H0 = -0.0635C + 0.962
0.1 0.1 0.1
R2 = 0.91
2
R2 = 0.87 R = 0.93
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

0.8 0.8 0.8


0.7 สุ ราษฎรธานี 0.7 ชลบุรี 0.7 ตราด
0.6 0.6 0.6
0.5 0.5 0.5
H/H0

H/H0

H/H0
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 0.2
H/H0 = -0.0496C + 0.8139 H/H0 = -0.0166C + 0.5939 H/H0 = -0.0509C + 0.795
0.1 0.1 0.1
R2 = 0.89 R2 = 0.77 R2 = 0.97
0 0 0
0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10 0 2 4 6 8 10
C C C

รูปที่ 7.7 (ตอ)

จากกราฟจะเห็นวากราฟของทุกสถานีมีลักษณะเปนเสนตรงซึ่งสามารถแทนไดดวย
สมการ
H
 a 2  b2C (7.8)
H0

เมื่อ C คือปริมาณเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือน เมื่อแบงทองฟาเปน 10 สวน โดยให C มี


คาอยูระหวาง 0 ถึง 10 และ a 2 และ b 2 เปนตัวคงที่เอมไพริคัล โดยคาของแตละสถานีแสดงไว
ในตารางที่ 7.3

273
274

ตารางที่ 7.3 คาคงที่ a 2 และ b 2 ตามสมการ (7.8) ที่ไดจากสถานีตางๆ โดย R คือสัมประสิทธิ์


สหสัมพันธ (Nimnuan and Janjai, 2012)

ลําดับ สถานี a2 b2 R2
1 นครสวรรค 0.6042 -0.0152 0.76
2 กรุงเทพฯ 0.8849 -0.0523 0.95
3 ทองผาภูมิ 0.6448 -0.0271 0.89
4 ประจวบคีรีขันธ 0.7839 -0.0392 0.96
5 ตาก 0.7497 -0.0418 0.95
6 เพชรบูรณ 0.6608 -0.0269 0.92
7 ขอนแกน 0.6664 -0.0269 0.93
8 นครพนม 0.725 -0.04 0.96
9 สุรินทร 0.6351 -0.0174 0.78
10 อุบลราชธานี 0.8867 -0.0518 0.95
11 นครราชสีมา 0.6484 -0.021 0.86
12 ระนอง 0.8935 -0.0578 0.93
13 เกาะสมุย 0.8859 -0.058 0.90
14 ภูเก็ต 0.9598 -0.066 0.98
15 นราธิวาส 0.962 -0.0658 0.92
16 กาญจนบุรี 0.6242 -0.0191 0.80
17 เชียงใหม 0.6204 -0.0231 0.87
18 แพร 0.8477 -0.0449 0.93
19 ชุมพร 0.751 -0.0425 0.91
20 เลย 0.6122 -0.0238 0.87
21 สงขลา 0.9642 -0.0636 0.93
22 สุราษฎรธานี 0.8139 -0.0496 0.89
23 ชลบุรี 0.5939 -0.0166 0.77
24 ตราด 0.795 -0.0509 0.97

274
275

ในลํ า ดั บ ต อ ไป นิ่ ม นวลและจั น ทร ฉ าย (Nimnuan and Janjai, 2012) ได นํ า ค า a 2


และ b 2 มาจั ด แสดงในแผนที่ ป ระเทศไทยและใชก ระบวนการประมาณค า จากค าข า งเคีย ง
(interpolation) เพื่ อ ทํ า การหา a 2 และ b 2 ให ค รอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ซึ่ ง สามารถจั ด แสดงใน
รูปคอนทัวร ดังรูปที่ 7.8 และ 7.9

รูปที่ 7.8 แผนที่แสดงคอนทัวรของคา a 2 (Nimnuan and Janjai, 2012)

275
276

รูปที่ 7.9 แผนที่แสดงคอนทัวรของคา b 2 (Nimnuan and Janjai, 2012)

เมื่อตองการหาความเขมรังสีอาทิตย ณ ตําแหนงใดๆ ในแผนที่ที่ทราบคาปริมาณเมฆ


C เราจะหาคา a 2 และ b 2 จากแผนที่ แลวนําไปแทนในสมการ (7.8) ก็จะไดคารังสีอาทิตยตาม
ตองการ
ในการทดสอบสมรรถนะของวิธีการดังกลาว นิ่มนวลและจันทรฉาย (Nimnuan and
Janjai, 2012) ไดใชวิธีการนี้ไปคํานวณคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนจากขอมูลปริมาณเมฆ
รายวันเฉลี่ยตอเดือนที่สถานีอุตุนิยมวิทยาแมสะเรียง ลพบุรี ตรังและสถานีอุตุนิยมวิทยาเกษตร
อุบลราชธานี แลวนําผลที่ไดไปเปรียบเทียบกับคาความเขมรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนซึ่งได
จากขอมูลวัดที่สถานีดังกลาว โดยบอกความแตกตางในรูป RMSD และ MBD (ดูภาคผนวกที่ 1)
ผลที่ไดแสดงไวในกราฟรูปที่ 7.10
จากผลในกราฟรูปที่ 7.10 จะเห็นวา RMSD และ MBD มีคาเทากับ 7.5% และ 0.1%
ตามลําดับ ซึ่งมีคา คอนขางต่ําแสดงวาวิ ธีก ารนี้สามารถใชคํานวณความเขมรัง สีอาทิต ยใ น
ประเทศไทยไดคอนขางดี

276
277

30
แมสะเรีย ง

25 อุบลราชธานี(อุตุเกษตร )
ลพบุร ี

20 ตรัง
Hmodel

15

10

RMSD = 7.5%
5
MBD = 0.1%

0
0 5 10 15 20 25 30
Hm eas

รูปที่ 7.10 กราฟเปรียบเทียบคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ไดจากแบบจําลอง ( H mod el )


และคาที่ไดจากการวัด ( H meas ) (Nimnuan and Janjai, 2012)

7.3 การคํานวณคารังสีอาทิตยจากอุณหภูมิอากาศ
รังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศลงมายังพื้นโลกบางสวนจะถูกองคประกอบตางๆ ของ
บรรยากาศดูดกลืน สวนที่เหลือจะเดินทางมาถึงพื้นผิวโลกและถูกพื้นผิวโลกดูดกลืน จากนั้นจะ
กระเจิงผานบรรยากาศและถูกองคประกอบของบรรยากาศดูดกลืนอีกครั้งหนึ่ง กอนเดินทาง
ออกไปสูอวกาศภายนอก รังสีอาทิตยที่ถูกพื้นผิวโลกดูดกลืนจะทําใหพื้นผิวโลกมีอุณหภูมิ
สูงขึ้นและแผรังสีอินฟราเรดออกไปสูบรรยากาศและบางสวนถูกบรรยากาศดูดกลืนอีก การ
ดูดกลืนรังสีของบรรยากาศจะทําใหอุณหภูมิของบรรยากาศเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ความรอนที่
พื้นผิวโลกยังถายเทไปสูบรรยากาศโดยการพาความรอนดวย จากการถายเทพลังงานดังกลาวจะ
เห็นวาปริมาณของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลกจะมีความสัมพันธกับอุณหภูมิของอากาศ
แวดลอม เนื่องจากอุณหภูมิของอากาศแวดลอมมีการวัดที่สถานีอุตุนิยมวิทยาทุกแหง ดังนั้น
นักวิจัยตางๆ จึงไดพยายามใชประโยชนจากขอมูลอุณหภูมิอากาศรวมกับขอมูลของตัวแปรทาง

277
278

อุตุนิยมวิทยาอื่นๆ เพื่อคํานวณคารังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อใชในงานดาน


การเกษตรตางๆ เชน การจําลองแบบการเติบโตของพืช (Sirotenko, 2001) เปนตน
สุพิตและแวน คาพเพล (Supit and Van Kappel, 1988) ไดเสนอแบบจําลองสําหรับ
คํานวณคารังสีรวมรายวันจากคาสูงสุดและต่ําสุดของอุณหภูมิอากาศแวดลอมรายวันรวมกับคา
ปริมาณเมฆรายวันซึ่งสามารถเขียนในรูปสมการไดดังนี้
1 1
H  H 0 [a 3 (Tmax  Tmin ) 2
 b 3 (1  C) 2 ]  c 3 (7.9)

เมื่อ H คือ รังสีรวมรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)


H0 คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวัน (จูลตอตารางเมตร
ตอวัน)
Tmax คือ คาสูงสุดของอุณหภูมิอากาศแวดลอมรายวัน
(องศาเซลเซียส)
Tmin คือ คาต่ําสุดของอุณหภูมิอากาศแวดลอมรายวัน
(องศาเซลเซียส)
C คือ ปริมาณเมฆรายวันเมื่อแบงทองฟาเปน 10 สวน โดยใหคา
มีคาระหวาง 0 ถึง 1
a 3 , b 3 และ c 3 คือ สัมประสิทธิ์เอมไพริคัลของแบบจําลองซึ่งมีคาขึ้นกับ
สถานีอุตุนิยมวิทยาทีน่ ําขอมูลมาใชในการสรางแบบจําลอง

บริ สโทว แ ละแคมเบลล (Bristow and Cambell, 1984) ได เสนอแบบจํ าลองสํา หรั บ
คํานวณคารังสีรวมรายวันจากคาความแตกตางระหวางอุณหภูมิอากาศสูงสุดและต่ําสุดรายวัน
ตามสมการ

H  a 4 H 0 [1  exp(b 4 (T )c 4 )] (7.10)

โดยที่ T  Tmax  Tmin (7.11)

เมื่อ a 4 , b4 และ c 4 เปนสัมประสิทธิ์เอมไพริคัล

278
279

สํา หรับกรณีประเทศไทย เสริ ม จัน ทรฉายและเพ็ญพร นิ่มนวล (2556) ได ทําการ


พัฒนาแบบจําลองสําหรับประมาณคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H ) จากคาความแตกตาง
ระหวางอุณหภูมิอากาศแวดลอมสูงสุดและต่ําสุดรายวันเฉลี่ยตอเดือน (T ) โดยไดวิเคราะห
ขอมูลจากสถานีวัด 27 แหง (ตารางที่ 7.4) ตามรายละเอียดดังตอไปนี้

ตารางที่ 7.4 ตําแหนงและชวงเวลาของขอมูลรังสีรวมและอุณหภูมิอากาศแวดลอมที่สถานีตา งๆ


ซึ่งนําขอมูลมาใชในการสรางแบบจําลอง และทดสอบแบบจําลอง (เสริม จันทรฉาย
และเพ็ญพร นิ่มนวล, 2556)

ตําแหนง ชวงเวลาของขอมูลที่ ชวงเวลาของขอมูลที่ใช


สถานี ละติจูด ลองจิจูด ใชในการสราง ในการทดสอบ
(N) (E) แบบจําลอง แบบจําลอง
1. ลพบุรี 14.83 100.62 2002-2009 2010
2. กาญจนบุรี (ทองผาภูมิ) 14.75 98.63 2002-2009 2010
3. ประจวบคีรีขันธ 11.83 99.83 2002-2009 2010
4. ตาก 16.77 98.93 2006-2008 2010
5. เพชรบูรณ 16.43 101.15 2002-2009 2010
6. ขอนแกน 16.19 102.83 2006-2009 2010
7. นครพนม 17.42 104.78 2006-2009 2010
8. สุรินทร 14.88 103.50 2006-2009 2010
9. อุตุเกษตรอุบล 15.23 105.03 2009 2010
10.นครราชสีมา 14.97 102.08 2002-2009 2010
11.กาญจนบุรี 14.02 99.53 2005-2009 2010
12.แมสะเรียง 18.17 97.93 2005-2009 2010
13.แพร 18.16 100.17 2005-2009 2010
14.เลย 17.40 101.73 2006-2009 2010
15.นครสวรรค 15.80 100.17 2006-2009 2010
16.ระนอง 9.98 98.62 2002-2009 2010
17.เกาะสมุย 9.47 100.03 2002-2009 2010
18.ภูเก็ต 8.13 9.83 2002-2009 2010

279
280

ตําแหนง ชวงเวลาของขอมูลที่ ชวงเวลาของขอมูลที่ใช


สถานี ละติจูด ลองจิจูด ใชในการสราง ในการทดสอบ
(N) (E) แบบจําลอง แบบจําลอง
19.นราธิวาส 6.42 101.82 2002-2009 2010
20.ชุมพร 10.48 99.18 2005-2009 2010
21.ตรัง 7.52 99.53 2005-2009 2010
22.สุราษฎรธานี (พุนพิน) 9.13 99.35 2006-2009 2010
23.ชลบุรี 13.37 100.98 2005-2009 2010
24.ตราด 11.77 102.88 2006-2009 2010
25.เชียงใหม 18.78 98.98 2002-2009 2010
26.อุบลราชธานี 15.25 104.87 2002-2009 2010
27.สงขลา 7.20 100.60 2002-2009 2010

ในลําดับแรก เสริม จันทรฉาย และเพ็ญพร นิ่มนวล (2556) ทําการคํานวณคารังสีรวม


รายวันเฉลี่ยตอเดือน โดยเฉลี่ยขอมูลเดือนเดียวกันตลอดชวงเวลาของขอมูลทั้งหมด ( H )
ตัวอยางเชน ขอมูลของสถานีลพบุรี เดือนมกราคม จะนําขอมูลเดือนมกราคมของป ค.ศ. 2002
ถึง 2009 มาหาคาเฉลี่ย ไดเปนรังสีรวมรายวันเฉลี่ยระยะยาวของเดือนมกราคม จากนั้นจะหาร
ดวยคาเฉลี่ยของรังสีนอกบรรยากาศรายวัน ( H 0 ) ของเดือนมกราคม และดําเนินการเชนนี้กับ
ขอมูลเดือนกุมภาพันธจนถึงเดือนธันวาคม ในทํานองเดียวกันจะทําการคํานวณคาเฉลี่ยระยะ
ยาวของผลตางระหวางอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุด ( T ) จากนั้นจะนําคา H / H 0 มาเขียนกราฟ
กับคา T ผลที่ไดแสดงในรูปที่ 7.11

280
281

1 1 1
0.9 ลพบุรี 0.9 กาญจนบุรี 0.9 ประจวบคีรีขันธ
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7
(ทองผาภูมิ) 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0
H/H0
0.5 0.5 0.5
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 H/H0=(0.591)*(1-exp(-0.0417)*(T)^1.7)) 0.2 0.2 H/H0=(0.694)*(1-exp(-0.0355)*(T)^1.7))
H/H0=(0.585)*(1-exp(-0.0334)*(T)^1.7))
0.1 R2=0.66 0.1 0.1 R2=0.86
R2=0.95
0 0 0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T
1 1 1
0.9 ตาก 0.9 เพชรบูรณ 0.9 ขอนแกน
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0

H/H0
0.5 0.5 0.5
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 H/H0=(0.632)*(1-exp(-0.0389)*(T)^1.7)) 0.2 H/H0=(0.588)*(1-exp(-0.0410)*(T)^1.7)) 0.2 H/H0=(0.772)*(1-exp(-0.1118)*(T)^1.0))
0.1 R2=0.91 0.1 R2=0.84 0.1 R2=0.83
0 0 0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T
1 1 1
0.9 นครพนม 0.9 สุรินทร 0.9 อุบลราชธานี
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7 0.7 (อุตุเกษตร)
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0

H/H0
0.5 0.5 0.5
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 H/H0=(0.892)*(1-exp(-0.0878)*(T)^1.0)) 0.2 H/H0=(0.561)*(1-exp(-0.0548)*(T)^1.7)) 0.2 H/H0=(0.617)*(1-exp(-0.0350)*(T)^1.68))
0.1 R2=0.91 0.1 0.1 R2=0.87
R2=0.86
0 0 0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T

1 1 1
0.9 นครราชสีมา 0.9 กาญจนบุรี 0.9 แมสะเรียง
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0
H/H0
H/H0

0.5 0.5 0.5


0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 H/H0=(0.566)*(1-exp(-0.0521)*(T)^1.7)) 0.2 H/H0=(0.597)*(1-exp(-0.0409)*(T)^1.68)) 0.2 H/H =(0.565)*(1-exp(-0.0388)*(T)^1.7))
0
0.1 R2=0.60 0.1 R2=0.80 0.1 R2=0.93
0 0 0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T

รูปที่ 7.11 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนตอรังสี


อาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H / H 0 ) กับคาผลตางระหวาง
อุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุดรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( T ) (เสริม จันทรฉายและเพ็ญพร
นิ่มนวล, 2556)

281
282

1 1 1
0.9 แพร 0.9 เลย 0.9 นครสวรรค
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0

H/H0
0.5 0.5 0.5
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 H/H0=(0.551)*(1-exp(-0.0571)*(T)^1.7)) 0.2 H/H0=(0.575)*(1-exp(-0.0368)*(T)^1.7)) 0.2 H/H0=(0.569)*(1-exp(-0.0512)*(T)^1.7))
0.1 R2=0.78 0.1 R2=0.84 0.1 R2=0.68
0 0 0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T
1 1 1
0.9 ระนอง 0.9 เกาะสมุย 0.9 ภูเก็ต
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0

H/H0
0.5 0.5 0.5
0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 H/H0=(0.566)*(1-exp(-0.0481)*(T)^1.7)) 0.2 0.2 H/H0=(0.789)*(1-exp(-0.0624)*(T)^1.4))
0.1 R2=0.93 0.1 0.1 R2=0.88
0 0 0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T
1 1.0 1
0.9 นราธิวาส 0.9
ชุมพร 0.9 ตรัง
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0
H/H0

0.5 0.5 0.5


0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 H/H0=0.057*(T)+0.0016
0.2
0.1 0.1 0.1
R2=0.83
0 0.0 0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T
1 1.0 1.0
0.9 สุราษฎรธานี 0.9 ชลบุรี 0.9 ตราด
0.8 0.8 0.8
0.7 (พุนพิน) 0.7 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0

H/H0

0.5 0.5 0.5


0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 0.2 H/H0=0.024*(T)+0.310 0.2 H/H0=0.068*(T)-0.064
0.1 0.1 R2=0.67 0.1 R2=0.97
0 0.0 0.0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T
1.0 1.0 1.0
0.9 เชียงใหม 0.9 อุบลราชธานี 0.9 สงขลา
0.8 0.8 0.8
0.7 0.7 0.7
0.6 0.6 0.6
H/H0

H/H0
H/H0

0.5 0.5 0.5


0.4 0.4 0.4
0.3 0.3 0.3
0.2 H/H0=(0.571)*(1-exp(-0.0440)*(T)^1.7)) 0.2 H/H0= (0.628)*(1-exp(-0.0325)*(T)^1.7)) 0.2
0.1 R2=0.77 0.1 R2=0.90
0.1
0.0 0.0 0.0
0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24 0 4 8 12 16 20 24
T T T

รูปที่ 7.11 (ตอ)

282
283

จากกราฟในรูปที่ 7.11 จะเห็นวาลักษณะของกราฟแบงไดเปน 3 แบบ ไดแก เสนโคง


เส น ตรง และไม เ ป น ระบบ กรณี ก ราฟแบบเส น โค ง ส ว นใหญ จ ะเป น ของสถานี ที่ อ ยู ใ น
ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางที่ไมอยูใกลทะเล โดยจุดกราฟของแตละสถานีจะ
เรียงตอเปนแนวเสนโคงอยางเปนระบบ ซึ่งสามารถแทนไดดวยสมการตามตารางที่ 7.5 สําหรับ
กราฟแบบเสนตรงจะเปนของสถานีในภาคตะวันออกและภาคใตบางแหง (สถานีตราด ชุมพร
และชลบุ รี) ส ว นกราฟแบบไม เ ปน ระบบจะเปนของสถานีที่อยู ใ กลทะเล ลั ก ษณะกราฟที่
แตกตางกันนี้ มีสาเหตุมาจากลักษณะภูมิอากาศและสภาพแวดลอมของแตละสถานี ทั้งนี้เพราะ
รังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลกในบริเวณตางๆ จะสงผลตออุณหภูมิอากาศไมเหมือนกัน
โดยกรณีสถานีที่อยูใกลทะเล (สถานีเกาะสมุย ตรัง สุราษฎรธานี (พุนพิน) นราธิวาส และ
สงขลา) อิทธิพลของรังสีอาทิตยที่มีตอน้ําทะเลจะทําใหอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุดของอากาศ
แวดล อ มแตกต า งกั น ไม ม าก ทํ า ให สั ง เกตเห็ น ความสั ม พั น ธ ข อง H กั บ T ไม ชั ด เจน
นอกจากนี้ความแตกตางระหวางอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุดยังขึ้นกับกระแสลมและปริมาณฝน
ดวย ทําใหลักษณะของกราฟของแตละสถานีแตกตางกัน กรณีของสถานีสวนใหญในภาคเหนือ
และตะวันออกเฉียงเหนือจะสังเกตเห็นวา T แปรคาในชวงกวางกวาภาคอื่น ทั้งนี้เพราะ
อุณหภูมิในฤดูรอนและฤดูหนาวแตกตางกันมาก เนื่องจากลักษณะของกราฟที่แตกตางกันนี้ จึง
ไมสามารถหาสมการทั่วไปที่แทนความสัมพันธระหวาง H กับ T ได ดังนั้นจึงตองสราง
แบบจําลองของแตละสถานีแยกกัน และบางสถานีไมสามารถสรางแบบจําลองได กรณีสถานีที่
H กับ  T มีความสัมพันธเปนระบบจะไดแบบจําลอง ซึ่งแสดงไวในตารางที่ 7.5

283
284

ตารางที่ 7.5 แบบจําลองแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนตอ


ความเขมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H / H 0 ) กับคา
ผลตางระหวางอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุดรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( T ) ของสถานี
ตางๆ (เสริม จันทรฉาย และเพ็ญพร นิ่มนวล, 2556)

สถานี แบบจําลอง R2
1. ลพบุรี  0.5911  exp( 0.0418 T )  0.66
H 1.7
H 0

2. ทองผาภูมิ H
H0

 0.585 1  exp( 0.0334  T 1.7 )  0.95
3. ประจวบคีรีขันธ H
H0

 0.694 1  exp( 0.0355 T 1.7 )  0.86
4. ตาก H
H0

 0.632 1  exp( 0.0389 T 1.7 )  0.91
5. เพชรบูรณ H
H0

 0.588 1  exp( 0.0410  T 1.7 )  0.84
6. ขอนแกน H
H0

 0.772 1  exp( 0.1118 T 1.0 )  0.83
7. นครพนม H
H0

 0.892 1  exp( 0.0878 T 1.0 )  0.91
8. สุรินทร H
H0

 0.561 1  exp( 0.0548 T 1.7 )  0.86
9. อุตุเกษตรอุบล H
H0

 0.617 1  exp( 0.0350 T 1.68 )  0.87
10.นครราชสีมา H
H0

 0.566 1  exp( 0.0521T 1.7 )  0.60
11.กาญจนบุรี H
H0

 0.597 1  exp( 0.0409  T 1.68 )  0.80
12.แมสะเรียง H
H0

 0.565 1  exp( 0.0388 T 1.7 )  0.93
13.แพร H
H0

 0.551 1  exp( 0.0571T 1.7 )  0.78
14.เลย H
H0

 0.575 1  exp( 0.0368 T 1.7 )  0.84
15.นครสวรรค H
H0

 0.569 1  exp( 0.0512 T 1.7 )  0.68
16.ระนอง H
H0

 0.566 1  exp( 0.0481T 1.7 )  0.93
17.ภูเก็ต H
H0

 0.789 1  exp( 0.0624 T 1.4 )  0.88
18.ชุมพร H
H0
 0.057  T  0.0016 0.83
19.ชลบุรี H
H0
 0.024 T  0.310 0.67

284
285

ตารางที่ 7.5 (ตอ)

สถานี แบบจําลอง R2
20.ตราด H
H0
 0.068 T  0.064 0.97
21.เชียงใหม H
H0

 0.571 1  exp( 0.0440 T 1.7 )  0.77
22.อุบลราชธานี H
H0

 0.628 1  exp( 0.0325T 1.7 )  0.90

ตารางที่ 7.6 ความแตกตางระหวางคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนจากแบบจําลองกับคาจาก


การวัดในรูปของรากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (RMSD) และ
คาความเอนเอียงเฉลี่ย (MBD) (เสริม จันทรฉาย และเพ็ญพร นิ่มนวล, 2556)

สถานี RMSD (%) MBD (%)


1. ลพบุรี 5.4 1.1
2. ทองผาภูมิ 8.7 -7.5
3. ประจวบคีรีขันธ 6.5 -2.8
4. ตาก 7.9 -2.4
5. เพชรบูรณ 6.6 1.8
6. ขอนแกน 4.1 -0.9
7. นครพนม 6.9 -1.5
8. สุรินทร 4.1 2.5
9. อุตุเกษตรอุบล 6.8 2.6
10.นครราชสีมา 7.0 -2.4
11.กาญจนบุรี 9.4 0.8
12.แมสะเรียง 7.4 1.6
13.แพร 6.1 -2.5
14.เลย 8.4 -0.5
15.นครสวรรค 5.7 -1.0
16.ระนอง 7.0 1.8
17.ภูเก็ต 5.8 3.7
18.ชุมพร 11.7 -4.4

285
286

สถานี RMSD (%) MBD (%)


19.ชลบุรี 6.2 -0.7
20.ตราด 10.0 -6.8
21.เชียงใหม 7.6 -3.5
22.อุบลราชธานี 5.7 -0.8
รวมทุกสถานี 7.2 -0.9

หลังจากที่ไดแบบจําลองแลว เสริม จันทรฉาย และเพ็ญพร นิ่มนวล (2556) ไดทําการ


ทดสอบสมรรถนะของแบบจําลอง โดยนําแบบจําลองที่ไดไปคํานวณคารังสีรวมรายวันเฉลี่ย
ตอเดือนที่สถานีตางๆ โดยใชขอมูล ค.ศ. 2010 (ดูตารางที่ 7.4) จากนั้นจะคํานวณความแตกตาง
ระหวางคารั งสีรวมที่ไดจากการวั ดที่สถานีนั้นกับรัง สีรวมที่คํานวณจากแบบจําลองในรู ป
RMSD และ MBD โดยเทียบกับคาเฉลี่ยจากการวัด ผลที่ไดแสดงดังตารางที่ 7.6
จากตารางที่ 7.6 จะเห็นวา RMSD มีคาอยูระหวาง 4.1%-11.7% และ MBD อยูระหวาง
-7.5%-3.7% แสดงใหเห็นวาแบบจําลองสามารถทํานายคา H จากคา T ไดคอนขางดี

7.4 สรุป
ในสภาพทองฟาทั่วไป เราสามารถคํานวณคารังสีอาทิตยจากขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา
ได โดยข อ มู ล ที่ ส ามารถนํ า มาใช คํา นวณรั ง สี อ าทิ ต ย ไ ด คื อ ข อมู ล ความยาวนานแสงแดด
ปริมาณเมฆ และอุณหภูมิอากาศแวดลอม ทั้งนี้เพราะขอมูลรายวันเฉลี่ยตอเดือนของตัวแปร
เหล า นี้ มี ค วามสั ม พั น ธ ท างสถิ ติ กั บ ค า รั ง สี ร วมรายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ น ในบทนี้ ไ ด นํ า เสนอ
แบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนจากคารายวันเฉลี่ยตอเดือนของความ
ยาวนานแสงแดดและปริมาณเมฆ โดยไดอธิบายวิธีหาคาสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองดังกลาว
สําหรับพื้นที่ทั่วประเทศไทย สําหรั บกรณีของอุณหภูมิอากาศแวดล อมไดนํ าเสนอสมการ
สําหรับคํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนจากคาผลตางระหวางอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุด
รายวันเฉลี่ยตอเดือนสําหรับใชงานที่สถานีอุตุนิยมวิทยา 22 แหง ในประเทศไทย แบบจําลองที่
นําเสนอจะเปนทางเลือกอีกทางหนึ่งในการหาคารังสีอาทิตยในประเทศไทย ซึ่งใชงานงายและ
ใหผลลัพธที่มีความละเอียดถูกตองคอนขางดี

286
287

แบบฝกหัด

1. จงคํานวณคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม
(18.78 N, 98.98E) ในเดือนมิถุนายน ถาคาเฉลี่ยรายเดือนของความยาวนานแสงแดดของ
เดือนมิถุนายน ซึ่งวัดที่สถานีเดียวกันมีคาเทากับ 10 ชั่วโมง
คําตอบ 22.82 เมกะจูลตอตารางเมตร

2. จงคํานวณคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่สถานีอุตุนิยมวิทยานครสวรรค (15.80 N,


100.17 E) ในเดื อ นมี น าคม โดยใช ค า ปริ ม าณเมฆที่ สั ง เกตการณ ไ ด ที่ ส ถานี เ ดี ย วกั น
ถาคาเฉลี่ยของปริมาณเมฆของเดือนมีนาคมเทากับ 4 สวน เมื่อแบงทองฟาออกเปน 10 สวน
คําตอบ 19.50 เมกะจูลตอตารางเมตร

3. ถาความแตกตางของอุณหภูมิอากาศแวดลอมต่ําสุดและสูงสุดรายวันเฉลี่ยตอเดือนของ
เดือนตุลาคมที่ ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม (18.78 N, 98.98E) มีคา
เทากับ 8 องศาเซลเซียส จงคํานวณคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนของเดือนดังกลาว
คําตอบ 14.21 เมกะจูลตอตารางเมตร

4. จงอธิบายความหมายทางฟสิกสของคา a 2 ในสมการ (7.8)

5. ถาทานมีขอมูลรายวันเฉลี่ยตอเดือนของความยาวนานแสงแดด ปริมาณเมฆและความ
แตกตางของอุณหภูมิอากาศสูงสุดและต่ําสุด ซึ่งวัด ณ สถานที่แหงหนึ่ง ทานควรเลือก
ขอมูลใดเพื่อคํานวณรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่สถานที่นั้น จงใหเหตุผล

287
288

รายการสัญลักษณ

H รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H0 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
Hc รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
C ปริมาณเมฆรายวันเมื่อแบงทองฟาเปน 10 สวน โดยใหมีคาในชวง 0-1 (-)
C ปริมาณเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือนเมื่อแบงทองฟาเปน 10 สวน โดยใหมีคาในชวง 0-10
(-)
C1 ปริมาณเมฆรายวันเฉลี่ยตอเดือนเมื่อแบงทองฟาเปน 10 สวน โดยใหมีคาในชวง 0-1
(-)
MBD ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลี่ย (%)
R สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (-)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (%)
S ความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยตอเดือน (ชั่วโมง)
S0 ความยาวนานของวันเฉลี่ยตอเดือน (ชั่วโมง)
T ความแตกตางระหวางอุณหภูมิอากาศแวดลอมสูงสุดกับต่ําสุดรายวัน (องศาเซลเซียส)
T ความแตกตางระหวางอุณหภูมิอากาศแวดลอมสูงสุดกับต่ําสุดรายวันเฉลี่ยตอเดือน
(องศาเซลเซียส)
Tmax อุณหภูมิอากาศแวดลอมสูงสุด (องศาเซลเซียส)
Tmin อุณหภูมิอากาศแวดลอมต่ําสุด (องศาเซลเซียส)

288
289

เอกสารอางอิง

กฤษณพงศ กี ร ติ ก ร, พิ ชั ย นามประกาย, ธงชั ย ศิ ริ ป ระยุ ก ต , 2524. การใช ส มการถดถอย


ประมาณคารังสีรวมจากขอมูลอุตุนิยมวิทยา เอกสารการประชุมวิชาการครั้งที่ 3 เรื่อง
พลั งงานนอกแบบและการประยุกต สมาคมส งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ ปุน) 4-6
พฤศจิกายน 2524, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, กรุงเทพฯ.
เสริม จันทรฉาย, เพ็ญพร นิ่มนวล, 2556. แบบจําลองสําหรับประมาณคารังสีรวมของดวง-
อาทิตยจากอุณหภูมิอากาศแวดลอมสําหรับประเทศไทย วารสารวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 32 (5), 671-678.
Angstrom, A., 1924. Solar and terrestrial radiation. Quarterly Journal of the Royal
Meteorological Society 50, 121-126.
Angstrom, A., 1956. On the computation of global radiation from records of sunshine. Arkiv
for Geofysik, Band 2 nr 22, 471-479.
Akinoglu, B.G., 1991. A review of sunshine – based models used to estimate monthly
average global solar radiation. Renewable Energy 1, 479 – 497.
Bristow, K.L., Cambell, L.C., 1984. On the relationship between incoming solar radiation
and daily maximum and minimum temperature. Agricultural and Forestry
Meteorology 31, 159 – 166.
Black, J.N., 1956. The distribution of solar radiation over the earth’s surface. Archives für
Meteorology, Geophysik und Bioklimatology 7, 165 – 189.
Exell, R.H.B., 1976. The solar radiation climate of Thailand. Solar Energy 18, 349 -354.
Exell, R.H.B., Salicali K., 1976. The availability of solar energy in Thailand. Research report
No. 63, Asian Institute of Technology, Bangkok, Thailand.
Gueymard, C.A., 1993. Analysis of monthly average solar radiation and bright sunshine for
different thresholds at Cape Canaveral, Florida. Solar Energy 51, 139-145.
Hirunlabh, J., Santisirisomboon, J., Namprakai, P., 1994. Assessment of solar radiation for
Thailand. Proceedings of International Workshop: Calculation Methods for Solar
Energy Systems, 29-30 September, 1994, University of Perpignan, France.

289
290

Houze, R.A., 1993. Cloud Dynamics. Academic Press, New York.


Iqbal, M., 1983. An Introduction to Solar Radiation. Academic Press, New York.
Janjai, S., Tohsing, K., 2004. A model for the estimation of global solar radiation from
sunshine duration for Thailand. Proceedings of the Joint International Conference on
Sustainable Energy and Environment (SEE) 1-3 December 2004, Hua Hin,
Thailand.
Janjai, S., Tohsing, K., 2000. A new model for calculating global radiation from cloud cover
data for Thailand. Proceedings of the First Regional Conference on Energy
Technology Towards a Clean Environment, 1-2 December, 2000, Chiang Mai,
Thailand.
Kimball, H.H., 1919. Variations in the total and luminous solar radiation with geographical
position in the United States. Monthly Weather Review 47, 769-793.
Kirtikara, K., Siriprayuk, T., 1980. Relationships between solar radiation and some
meteorological data of Thailand. Proceedings of the Symposium on Solar Science
and Technology, 25 November, 1980, United Nation, Bangkok.
Kirtikara, K., Siriprayuk, T., Namprakai, P., 1981. The use of regression equation for
estimating solar radiation from meteorological data. Proceedings of the Third
Conference on Renewable Energy and Applications, KMITT. 4- 6 November 1981,
Bangkok, Thailand.
Nimnuan, P., Janjai, S., 2012. An approach for estimating average daily global solar radiation
from cloud cover in Thailand. Procedia Engineering 32, 399 – 406.
Prescott, J.A., 1940. Evaporation from a water surface in relation to solar radiation.
Transactions of the Royal Society of South Australia 64, 114-118.
Sirotenko, O.D., 2001. Crop modeling: Advances and problem. Agronomy Journal 93, 650-
670.
Supit, I., Van Kapple R.R., 1988. A simple method to estimate global radiation. Solar Energy
3, 147-160.

290
บทที่ 8
การคํานวณรังสีอาทิตยโดยการใชโครงขายประสาทเทียม

โครงขายประสาทเทียม (Artificial Neural Network, ANN) เปนระบบทางคณิตศาสตร


ที่เขียนในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอรซึ่งสามารถจําลองการทํางานของระบบทางฟสิกสหรือ
วิศวกรรมต างๆ โดยเลียนแบบการทํางานของสมองมนุษยและสามารถนํามาใชหาคารัง สี
อาทิตยในสภาพทองฟาทั่วไปได โดยทั่วไปโครงขายประสาทเทียมจะแสดงความสัมพันธ
ระหวางคาตัวแปรอินพุทกับตัวแปรเอาทพุทผานหนวยยอยที่เรียกวา นิวรอน (neuron) โดย
ความสัมพันธดังกลาวจะไดจากการฝกสอนโครงขายประสาทเทียมดวยขอมูลอินพุทและขอมูล
เอาท พุทที่ทราบคา จากนั้ นจะนําโครงขายประสาทเทีย มที่ไ ดรับการฝกสอนแลวไปใชห า
เอาทพุทของระบบจากคาอินพุทใหมได ขอดีของการใชโครงขายประสาทเทียมในการจําลอง
แบบการทํางานของระบบคือไมมีความจําเปนตองสรางสมการในรูปฟงกชันตางๆ ที่แสดง
ความสัมพันธระหวางตัวแปรอินพุทและตัวแปรเอาทพุทของระบบ ดังนั้นการจําลองแบบ
ระบบโดยใชโครงขายประสาทเทียมจึงเหมาะสมกับระบบที่ตัวแปรอินพุทกับตัวแปรเอาทพุทมี
ความสัมพันธกันอยางซับซอนซึ่งการสรางความสัมพันธในรูปฟงกชันทางคณิตศาสตรโดยตรง
ทําไดยาก
ปจจุบันจึงมีการนําโครงขายประสาทเทียมไปใชในการทํางานทางวิทยาศาสตรและ
วิศวกรรมศาสตรอยางกวางขวาง เนื่องจากบรรยากาศโลกในสภาพทองฟาทั่วไปเปนระบบที่
ซับซอนและรังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศมาถึงพื้นผิวโลกขึ้นกับตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศ
หลายตัวแปร ดังนั้นในชวงเวลา 20 ป ที่ผานมานักวิจัยตางๆ จึงไดนําโครงขายประสาทเทียมมา
ใชในการหาคาความเขมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก (Tymvios et al., 2008) ในบทนี้จะกลาวถึง
หลักการของโครงขายประสาทเทียมและการนําโครงขายประสาทเทียมมาใชในการหาความ
เขมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาทั่วไป

8.1 นิวรอนทางชีววิทยา
นิวรอนเปนเซลลซึ่งเปนหนวยพื้นฐานของระบบสมองของมนุษย โดยนิวรอนแตละ
เซลล จ ะตอบสนองต อศั ก ย ไ ฟฟ า ที่ ผา นเขา มาในเซลล แ ละทํ า ให เ กิ ด การเปลี่ย นแปลงของ

291
292

ศักยไฟฟาของเซลลขางเคียง นิวรอนทั้งหมดจะประกอบกันเปนระบบที่ซับซอนซึ่งสามารถ
ประมวลผลและวิเคราะหขอมูลตลอดจนจดจําขอมูลตางๆ ได สมองของมนุษยประกอบดวย
นิวรอนมากกวาหนึ่งแสนลานนิวรอนและแตละนิวรอนจะรับขอมูลจากนิวรอนขางเคียงจํานวน
นับพันนิวรอน การเชื่อมตอของนิวรอนทําใหสมองของมนุษยสามารถคิดและสั่งงานตางๆ ได
อยางเปนระบบ โดยทั่วไปนิวรอนมีองคประกอบพื้นฐานคือ โซมา (soma) เดนไทรท (dentrite)
แอซอน (axon) และซิลแนปซ (synapse) ดังรูปที่ 8.1 และนิวรอนจะเชื่อมตอกันเปนโครงขาย
ดังรูปที่ 8.2

แอซอน

โซมา
นิวเคลียส

เดนไทรท

รูปที่ 8.1 ลักษณะของนิวรอนทางชีววิทยา (ดัดแปลงจาก Tymvios et al., 2008)

ในการทํางานโซมาจะรับสัญญาณไฟฟาจากนิวรอนขางเคียงโดยผานทางเดนไทรท
และทําการประมวลผลขอมูล จากนั้นจะใหสัญญาณเอาทพุทผานทางแอซอนไปยังนิวรอนอื่นๆ
โดยผานจุดเชื่อมตอที่เรียกวาซิลแนปซ (รูปที่ 8.2) ซึ่งจะใหน้ําหนักของขอมูลตามประสบการณ
เกาที่เก็บสะสมไว สวนโซมาจะรวบรวมสัญญาณที่รับมาจากนิวรอนอื่นและใหน้ําหนักกับ
สัญญาณนั้น ถ า น้ําหนัก สะสมเกิ น กวา คา ที่กํ า หนด ก็จ ะสง สัญญาณไปยัง แอซอนซึ่ง จะนํ า
สัญญาณนั้นสงไปนิวรอนอื่นๆ

292
293

ซิลแนปซ

รูปที่ 8.2 โครงขายของนิวรอน (ดัดแปลงจาก Tymvios et al., 2008)

8.2 ประสาทเทียม (artificial neuron)


ประสาทเทียมเปนกระบวนการทางคอมพิวเตอรซึ่งทําหนาที่เหมือนกับเซลลประสาท
ของสมองคน โดยประสาทเทียมจะมีแผนภูมิของการทํางานตามรูปที่ 8.3

ตัวถวงน้ําหนัก
อินพุท 1 ฟงกชันกระตุน
W1
อินพุท 2 W2
 เอาทพุท
Wn-1
อินพุท n-1
อินพุท n Wn
ความเอนเอียง

รูปที่ 8.3 แผนภูมิการทํางานของประสาทเทียม (ดัดแปลงจาก Tymvios et al., 2008)

293
294

จากรูปที่ 8.3 ประสาทเทียม 1 หนวยจะรับสงขอมูลอินพุทตางๆ เขามา จากนั้นจะคูณ


ดวยตัวถวงน้ําหนัก ( w i ) และทําการหาผลบวกของผลคูณของอินพุทกับตัวถวงน้ําหนักพรอม
กับบวกดวยตัวแปรบอกความเอนเอียง (bias parameter) หลังจากนั้นจะสงผลเขาไปเปนตัวแปร
อิสระของฟงกชันกระตุน (activate function) และใหเอาทพุทออกมา เพื่อสงไปใหประสาท
เทียมอื่นๆ โดยเอาทพุทที่ไดจากประสาทเทียมสามารถเขียนในรูปสมการไดดังนี้

y  f (b   w i x i ) (8.1)
i

เมื่อ y คือ เอาทพุทของประสาทเทียม


b คือ ตัวแปรบอกความเอนเอียง
x i คือ ตัวแปรอินพุทที่ i ( i=1,2,3, ……n)
w i คือ คาตัวถวงน้ําหนักสําหรับตัวแปรอินพุทที่ i

สําหรับฟงกชันกระตุนมีไดหลายรูปแบบทั้งแบบเชิงเสน (linear) และแบบไมเชิงเสน


(non-linear) ตัวอยางของฟงกชันกระตุนที่ใชในงานดานโครงขายประสาทเทียมแสดงไวใน
ตารางที่ 8.1 และกราฟของฟงกชันดังกลาวแสดงไวในรูปที่ 8.4

ตารางที่ 8.1 ตัวอยางของฟงกชันกระตุน (Patterson, 1996)

ฟงกชัน สมการ
1. ฟงกชันเชิงเสน f ( x )  x ; สําหรับทุกคาของ x (8.2)
2. ฟงกชันขีดจํากัด (threshold function) 1 ; x  
f (x)   (8.3)
0 ; x  
เมื่อ  เปนขีดจํากัด
1
3. ฟงกชันซิกมอยด (sigmoid function) f (x )  (8.4)
1  e x

294
295

f(x) f(x) f(x)

x x x

ก) ข) ค)
รูปที่ 8.4 กราฟของตัวอยางฟงกชันกระตุน ก) ฟงกชันเชิงเสน ข) ฟงกชันขีดจํากัด และ
ค) ฟงกชันซิกมอยด

8.3 โครงขายประสาทเทียม
การนํ า ประสาทเที ย มมาเชื่ อ มต อ กั น เป น โครงข า ยประสาทเที ย มมี ไ ด ห ลายแบบ
โดยแบบที่ นิ ย มใช ง านในด า นรั ง สี อ าทิ ต ย คื อ แบบเพอร เ ซปตรอนหลายชั้ น (multi-layer
perceptron) (Tymvios, 2008) โครงขายประสาทเทียมดังกลาวประกอบดวยประสาทเทียมที่
เชื่อมกันเปนระบบ ซึ่งแบงไดเปนชั้นๆ ไดแก ชั้นอินพุท (input layer) ชั้นซอน (hidden layer)
และชั้นเอาทพุท (output layer) โดยชั้นซอนอาจมีไดหลายชั้น ดังตัวอยางในรูปที่ 8.5
ชั้นอินพุท ชั้นซอนที่ 1 ชั้นซอนที่ 2 ชั้นเอาทพุท

อินพุท 1
อินพุท 2

อินพุท 3
อินพุท 4

รูปที่ 8.5 ตัวอยางโครงขายประสาทเทียมทีป่ ระกอบดวย ชั้นอินพุท ชั้นเอาทพุทและชัน้ ซอน


2 ชั้น

295
296

8.4 การฝกสอนโครงขายประสาทเทียม
ระบบประสาทของมนุษยมีการเรียนรูและปรับตัวเพื่อสนองตอสิ่งเราตางๆ โครงขาย
ประสาทเทียมก็เชนเดียวกัน กลาวคือตองมีการเรียนรูกอนการนําไปใชเพื่อหาคําตอบตางๆ
การเรี ย นรู ดั ง กล า วเกิ ด จากการฝ ก สอนโครงข า ยประสาทเที ย มด ว ยข อ มู ล อิ น พุ ท และ
ข อ มู ล เอาท พุ ท ที่ ท ราบค า โดยวิ ธี ก ารฝ ก สอนที่ นิ ย มใช กั น คื อ การฝ ก สอนแบบย อ นกลั บ
(back propagation algorithm) ซึ่งแสดงไดตามแผนภูมิในรูปที่ 8.6

เอาทพุท
โครงขาย เปรียบ ผลลัพธ
อินพุท
ประสาทเทียม เทียบผลลัพธ ทีถ่ ูกตอง

คาถวงน้ําหนัก
ความคลาดเคลื่อน
คํานวณ
ปรับคาถวงน้ําหนัก

รูปที่ 8.6 แผนภูมิแสดงการฝกสอนแบบยอนกลับ

ในการฝ ก สอนแบบย อ นกลั บ เราจะทํ า การป อ นข อ มู ล อิ น พุ ท เข า ไปในโครงข า ย


ประสาทเทียมและใหโครงขายประสาทเทียมคํานวณคาเอาทพุทที่เปนผลลัพธออกมา จากนั้น
จะทําการเปรียบเทียบผลลัพธที่คํานวณไดกับผลลัพธเปาหมายซึ่งเปนคาที่ถูกตอง หลังจากนั้น
จะนําคาความคลาดเคลื่อน (error) สงยอนกลับเขาไปในประสาทเทียมเพื่อปรับคาถวงน้ําหนัก
ของประสาทเที ย ม แล ว ทํ า การคํ า นวณผลลั พ ธ ใ หม และจะทํ า ซ้ํ า เช น นี้ จ นกระทั่ ง ความ
คลาดเคลื่อนมีคาอยูในเกณฑที่ยอมรับไดจึงหยุดการฝกสอน โดยโครงขายประสาทเทียมจะจํา
คาถวงน้ําหนักสุดทายที่ไดสําหรับนําไปใชในขั้นตอนของการประยุกตใชงาน กลาวคือขั้นตอน
การนําโครงขายประสาทเทียมที่ไดรับการฝกสอนแลวไปหาผลลัพธซึ่งไดจากอินพุทชุดใหม

296
297

8.5 การสรางโครงขายประสาทเทียม
โดยทั่วไปเราสามารถสรางโครงขายประสาทเทียมได 2 วิธี โดยวิธีที่ 1 คือ ออกแบบ
โครงขายประสาทเทียมและเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรขึ้นเอง เพื่อใหโครงขายประสาทเทียม
ทํางานตามที่ออกแบบไว สําหรับวิธีที่ 2 เปนการใชโปรแกรมสําเร็จรูปของโครงขายประสาท
เทียม เชน โปรแกรม Neurosolution เปนตน วิธีที่ 1 ผูใชจะตองมีความรูเกี่ยวกับกลไกการ
ทํางานของประสาทเทียมอยางดีและตองมีความรูดานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรดวย
สําหรับวิธีที่ 2 ผูใชไมจําเปนตองรูรายละเอียดการทํางานภายในของโครงขายประสาทเทียม
เพียงแตรูจักวิธีใชงานและการปอนขอมูลก็สามารถใชโครงขายประสาทเทียมในการแกปญหา
ตางๆ ได

8.6 การใชโครงขายประสาทเทียมเพื่อคํานวณรังสีอาทิตย
โดยทั่วไปความเขมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกจะขึ้นกับรังสีนอกบรรยากาศโลกและ
องคประกอบของบรรยากาศที่สําคัญไดแก เมฆ ปริมาณไอน้ํา และฝุนละออง องคประกอบ
เหลานี้จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีของเมฆจะมีปริมาณและ
โครงสร า งเปลี่ ย นแปลงอยู ต ลอดเวลาอย า งไม เ ป น ระบบ ทํ า ให ก ารสร า งฟ ง ก ชั น ที่ แ สดง
ความสัมพันธทางคณิตศาสตรระหวางตัวแปรเหลานี้กับรังสีอาทิตยมีความซับซอน เนื่องจาก
โครงขายประสาทเทียมสามารถจําลองแบบของความสัมพันธระหวางตัวแปรอินพุทกับตัวแปร
เอาทพุทของระบบที่ซับซอนไดดี ดังนั้นในชวงเวลา 20 ปที่ผานมา นักวิจัยในประเทศตางๆ ได
ทําการจําลองแบบรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกโดยใชโครงขายประสาทเทียมโดยใชขอมูลของตัว
แปรตางๆ ของบรรยากาศทั้งที่วัดไดจากอุปกรณภาคพื้นดินและจากขอมูลดาวเทียมเปนอินพุท
(Elizondo et al., 1994; Mohandes et al., 1998; Dorvlo et al., 2002; Elminir et al., 2005) ใน
หัวขอนี้จะยกตัวอยางวิธีการหาคารังสีรวมรายวันโดยอาศัยโครงขายประสาทเทียมในกรณีของ
ขอมูลในประเทศไทย ซึ่งดําเนินการโดย สมเจตน ภัทรพานิชชัย และเสริม จันทรฉาย (2555)
ตามรายละเอียดดังนี้
ขั้ น ตอนแรกจะเริ่ ม จากการพิ จ ารณาวา บรรยากาศของโลกเป น ระบบซึ่ง มีตั ว แปร
อินพุท ไดแก รังสีนอกบรรยากาศโลก (H 0 ) และตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศที่มีอิทธิพลตอ
รังสีอาทิตย ไดแก ปริมาณไอน้ํา ฝุนละออง โอโซน และเมฆ และตัวแปรเอาทพุทของระบบ

297
298

ไดแก รังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลก โดยจะแสดงผลของฝุนละอองดวยความลึกเชิงแสง


ของฝุ นละออง (AOD) แสดงผลของเมฆด ว ยดัชนีเ มฆ (n) กรณี ของไอน้ํ าจะแสดงผลด ว ย
ปริมาณไอน้ํา (w) และผลของโอโซนดวยปริมาณโอโซน (  ) ดังรูปที่ 8.7

H0 w  AOD n

บรรยากาศ

H
รูปที่ 8.7 แผนภูมิ แ สดงตั ว แปรอิ น พุ ท และตั ว แปรเอาทพุ ท ของบรรยากาศ เมื่อ H0 คือ รัง สี
รายวันนอกบรรยากาศโลก H คือรังสีรวมรายวันที่พื้นผิวโลก w คือ ปริมาณไอน้ํา
 คือ ปริมาณโอโซน AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละออง และ n คือ ดัชนีเมฆ

ขั้ น ตอนที่ 2 จะทํ า การสร า งโครงข า ยประสาทเที ย มโดยแทนระบบดั ง กล า วด ว ย


โครงข า ยประสาทเที ย มซึ่ ง ประกอบด ว ยชั้ น อิ น พุ ท ชั้ น ซ อ น และชั้ น เอาท พุ ท (รู ป ที่ 8.8)
โดยมี อิน พุ ทของโครงขา ยประสาทเที ย ม 5 ตัว แปรไดแ ก ความลึ ก เชิ ง แสงของฝุ น ละออง
(AOD) ปริมาณไอน้ํา (w) ปริมาณโอโซน (  ) และดัชนีเมฆ (n) (รูปที่ 8.8) สําหรับชั้นเอาทพุท
มี 1 ตัวแปร ไดแก รังสีรวมรายวัน (H) และมีชั้นซอน 2 ชั้น

ความลึกเชิงแสง
ของฝุนละออง (AOD)
ปริมาณโอโซน ()
รังสีรวมรายวัน (H)
ปริมาณไอน้ํา (w)
ดัชนีเมฆ (n)

อินพุท ชั้นซอน เอาทพุท

รูปที่ 8.8 โครงขายประสาทเทียมที่ใชจําลองแบบระบบบรรยากาศ

298
299

ในการใชงานโครงขายประสาทเทียมในรูปที่ 8.8 สมเจตน ภัทรพานิชชัย และเสริม


จันทรฉาย (2555) ไดทําการดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอรโครงขายประสาทเทียมที่พัฒนา
โดยบาลาและคณะ (Bala et al., 2005) เพื่ อ ใช ห าค า รั ง สี อ าทิ ต ย โดยโปรแกรมดั ง กล า วใช
ฟงกชันซิกมอยดเปนฟงกชันกระตุนและใชวิธีการฝกสอนแบบยอนกลับ
ขั้ น ตอนที่ 3 จะทํ า การฝ ก สอนโครงข า ยประสาทเที ย มโดยใช ข อ มู ล อิ น พุ ท ได แ ก
H 0 , w ,  , AOD และ n และขอมูลเอาทพุท ไดแก รังสีรวมรายวัน (H) ซึ่งไดจากการวัดที่สถานี

นครปฐม (13.82 N , 100.04 E) ระหวางป ค.ศ. 2003 – 2007 สําหรับขอมูลปริมาณไอน้ํา (w)
ไดจากฐานขอมูล NCEP/NCAR ประเทศสหรัฐอเมริกา ขอมูลโอโซน (  ) ไดจากดาวเทียม
TOMS/EP และ OMI/Aura กรณีขอมูลความลึกเชิงแสงของฝุนละอองจะใชขอมูลจากดาวเทียม
MODIS/Terra ในด า นของข อ มู ล ดั ช นี เ มฆ (n) จะหาจากข อ มู ล ภาพถ า ยดาวเที ย ม GMS5,
GOES9 และ MTSAT-1R โดยใชวิธีคํานวณตามที่อธิบายในหัวขอ 6.4.2.1 ของบทที่ 6 ในการ
ฝกสอนโครงขายประสาทเทียมจะทําการเปลี่ยนคาถวงน้ําหนักในโครงขายประสาทเทียมตาม
กระบวนการฝกสอนแบบยอนกลับจนกระทั่งประสาทเทียมสามารถใหคาเอาทพุท ซึ่งเปนคา
รังสีรวมรายวันที่ไดใกลเคียงกับคาจากการวัดและเก็บคาถวงน้ําหนักที่ไดไว
ในขั้นตอนสุดทาย ทําการทดสอบสมรรถนะของโครงขายประสาทเทียมที่ไดรับการ
สอนแลว โดยนําโครงขายประสาทเทียมดังกลาวไปหารังสีรวมรายวันจากขอมูลอินพุทชุดใหม
ซึ่งทําการวัดที่สถานีเชียงใหม (18.78 N, 98.98 E) อุบลราชธานี (15.25 N, 104.87 E) และ
สงขลา (7.2 N, 100.6 E) ในระหวาง ค.ศ. 2008 - 2010 รวมถึงขอมูลจากสถานีนครปฐม
ในชวง ค.ศ. 2008 -2010 ดวย จากนั้นนําคารังสีรวมรายวันที่ไดจากโครงขายประสาทเทียม
ไปเปรียบเทียบกับคาจากการวัด ผลที่ไดแสดงไวในกราฟรูปที่ 8.9 โดยแสดงความแตกตาง
ระหว า งค า จากโครงข า ยประสาทเที ย มและค า จากการวั ด ในรู ป ของ RMSD และ MBD
(ดูรายละเอียดในภาคผนวกที่ 1) ตามตารางที่ 8.2

299
300

30
วัน)
25
day)
(MJ/m2 อ
ลตอตารางเมตรต

20
(เมกะจูSimulate

15

นครปฐม
10
Radiation

สงขลา
อุบลราชธานี
5
HANN

เชียงใหม
1:1

0
0 5 10 15 20 25 30
Hmeas (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

รูปที่ 8.9 การเปรียบเทียบระหวางคารังสีรวมรายวันที่ไดจากโครงขายประสาทเทียม ( H ANN )


และคาจากการวัด ( H meas ) (สมเจตน ภัทรพานิชชัย และเสริม จันทรฉาย, 2555)

ตารางที่ 8.2 ความแตกตางระหวางคารังสีรวมรายวันที่ไดจากโครงขายประสาทเทียมและจาก


การวัดที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลาในรูปของ RMSD
และ MBD

สถานี MBD (%) RMSD (%)


เชียงใหม 5.1 13.9
อุบลราชธานี 4.9 14.0
นครปฐม -0.4 10.0
สงขลา 3.1 13.4
รวมขอมูลทุกสถานี 3.3 13.1

300
301

จากตารางที่ 8.2 พบวาคา RMSD ระหวางรังสีรวมรายวันที่ไดจากโครงขายประสาท


เทียมกับคาที่ไดจากการวัดที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา มีคาเทากับ
13.9 %, 14.0 %, 10.0 % และ 13.4% ตามลําดับ จะเห็นวาคา RMSD ของสถานีนครปฐมต่ํากวา
ของสถานีอื่น ทั้งนี้เพราะโครงขายประสาทเทียมถูกฝกสอนโดยใชขอมูลของสถานีนครปฐม
เมื่ อ นํ า มาใช กั บ สถานี อื่ น ๆ ซึ่ ง มี ส ภาพแวดล อ มแตกต า งจากสถานี น ครปฐมจึ ง เกิ ด ความ
คลาดเคลื่อนไดมากกวาสถานีนครปฐม อยางไรก็ตามเมื่อรวมขอมูลทุกสถานีจะไดคา MBD
เทากับ 3.3% และ RMSD เทากับ 13.1% ซึ่งแสดงใหเห็นวาโครงขายประสาทเทียมสามารถ
ทํานายคารังสีรวมรายวันไดคอนขางดี

8.7 สรุป
ในบทนี้กลาวถึงการคํานวณรังสีอาทิตยดวยโครงขายประสาทเทียม โดยเริ่มตนจาก
การอธิบ ายนิว รอนทางชี ว วิท ยาซึ่ ง เปน หนว ยพื้น ฐานของระบบประสาทของสมองมนุ ษ ย
จากนั้นไดกลาวถึงประสาทเทียม ซึ่งแตละหนวยจะรับอินพุทเขามาและคูณดวยตัวถวงน้ําหนัก
แลวสงตอใหฟงกชันกระตุนซึ่งจะใหเอาทพุทออกมา โดยเอาทพุทที่ไดจะสงใหประสาทเทียม
อื่นๆ ประสาทเทียมทั้งหมดที่ประกอบกันเปนระบบนี้จะเรียกวา โครงขายประสาทเทียม ซึ่ง
สามารถแบงไดเปนชั้นๆ ไดแก ชั้นอินพุท ชั้นซอน และชั้นเอาทพุท ในการใชงานเราตอง
ฝกสอนโครงขายประสาทเทียมดวยขอมูลอินพุทและขอมูลเอาทพุทที่ทราบคา โดยวิธีการ
ฝกสอนที่นิยมใชกัน คือ วิธีการฝกสอนแบบยอนกลับ หลังจากนั้นเราจะนําโครงขายประสาท
เทียมที่ฝกสอนแลวไปใชหาคาตัวแปรเอาทพุทจากคาตัวแปรอินพุทชุดใหม ในตอนสุดทายได
อธิบายตัวอยางการนําโครงขายประสาทเทียมไปใชหาคารังสีอาทิตยที่สถานีวัด 4 แหง ใน
ประเทศไทย

301
302

แบบฝกหัด

1. จงอภิปรายเปรียบเทียบขอดีและขอดอยของการใชโครงขายประสาทเทียมและการใช
ขอมูลภาพถายดาวเทียม เพื่อหาคารังสีอาทิตย
2. จงอภิปรายเปรียบเทียบขอดีและขอดอยของการใชโครงขายประสาทเทียมที่มีชั้นซอน
หลายชั้นกับการใชชั้นซอนเพียงชั้นเดียวสําหรับหาคารังสีอาทิตย
3. จงเสนอตัวแปรที่ควรใชเปนขอมูลอินพุทของโครงขายประสาทเทียมเพื่อคํานวณรังสีรวม
รายชั่วโมง พรอมทั้งใหเหตุผลในการเลือกใชตัวแปรดังกลาว
4. จงอภิปรายสาเหตุของความคลาดเคลื่อนของคารังสีอาทิตย ซึ่งไดจากการใชโครงขาย
ประสาทเทียมคํานวณ
5. จงอภิปรายความเปนไปไดในการใชโครงขายประสาทเทียม เพื่อจัดทําแผนที่รังสีอาทิตย
โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียมและขอมูลจากตัวแปรทางบรรยากาศตางๆ เปนขอมูลอินพุท

302
303

รายการสัญลักษณ

H รังสีรวมรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H0 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
w ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
 ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
AOD ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)
n ดัชนีเมฆ (-)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง ตามรายละเอียดในภาคผนวกที่ 1
(%)
MBD ความแตกตางในรูปของความเอนเอียงเฉลีย่ ตามรายละเอียดในภาคผนวกที่ 1 (%)
y เอาทพุทของประสาทเทียม
xi ตัวแปรอินพุทที่ i ( i=1,2,3, ……n)
wi คาตัวถวงน้ําหนักสําหรับตัวแปรอินพุทที่ i
b ตัวแปรบอกความเอนเอียง

303
304

เอกสารอางอิง

สมเจตน ภัทรพานิชชัย, เสริม จันทร ฉาย 2555. การหาคาความเขมรัง สีรวมรายวันโดยใช


โครงขายประสาทเทียมที่สถานีวัดรังสีดวงอาทิตยในประเทศไทย, เอกสารประชุม
วิชาการศิลปากรวิจัย ครั้งที่ 5 วันที่ 25-27 มกราคม พ.ศ.2555 มหาวิทยาลัยศิลปากร
จังหวัดนครปฐม.
Bala, B.K., Ashraf, M.A., Uddin, M.A., Janjai, S., 2005. Experimental and neural network
prediction of the performance of a solar tunnel drier for drying jackfruit bulbs
and leather. Journal of Food Process Engineering 28, 552-556.
Dorvlo, A.S.S., Jervase, J.A., Al-Lawati, A., 2002. Solar radiation estimation using artificial
neural network. Applied Energy 71, 307-319.
Elminir, H.K., Arecd, F.F., Elsayed, T.S., 2005. Estimation of solar radiation components
incident on Helwan site using neural network. Solar Energy 79, 207-279.
Elizondo, D., Hoogenboom, G., Meclendon, R. 1994. Development of a neural network to
predict daily solar radiaition. Agricultural and Forestry Meteorology 71, 115-132.
Mohandes, AM., Rehman, S., Halawani, T.O., 1998. Estimation of global radiation using
artificial neural networks. Renewable Energy 14, 179-184.
Patterson, D.W., 1996. Artificial Neural Networks: Theory and Applications. Prentice Hall,
New York.
Tymvios, S.F., Michaelides, S.C., Skouteli, C., 2008. Estimation of surface solar radiation
with artificial neural networks. In.V. Badescu (Ed.) Modeling Solar Radiation at the
Earth Surface, Springer, Berlin.

304
บทที่ 9
การวัดรังสีอาทิตย

ถึงแมวาเราจะสามารถคํานวณรังสีอาทิตยในสภาพทองฟาทั่วไปไดโดยใชขอมูล
ภาพถายดาวเทียมและขอมูลอุตุนิยมวิทยา แตในการสรางแบบจําลองสําหรับคํานวณความเขม
รังสีอาทิตยจากขอมูลดังกลาวก็จําเปนตองใชขอมูลรังสีอาทิตยที่ไดจากการวัด นอกจากนี้ขอมูล
จากการวัดยังจําเปนตองใชในการศึกษาสมรรถนะของระบบพลังงานรังสีอาทิตยตางๆ ดังนั้น
การวัดรังสีอาทิตยจึงเปนพื้นฐานสําคัญสําหรับการวิจัยและการประยุกตใชรังสีอาทิตย ในบทนี้
จะกลาวถึงการวัดรังสีอาทิตยและความรูตางๆ ที่เกี่ยวของ

9.1 ประเภทของการวัดรังสีอาทิตย
โดยทั่วไปเราสามารถแบงการวัดความเขมรังสีอาทิตยตามลักษณะของการใชขอมูลได
เปน 2 ประเภท ดังนี้
1) การวัดความเขมรังสีอาทิตยเฉพาะงาน การวัดรังสีอาทิตยดังกลาวจะใชประกอบ
ในการศึกษาสมรรถนะของระบบที่ใชรังสีอาทิตยเปนแหลงพลังงาน เชน เซลลสุริยะ เครื่องทํา
น้ํารอนพลังงานรังสีอาทิตย และระบบอบแหงพลังงานรังสีอาทิตย เปนตน การศึกษาดังกลาว
จําเปนตองรูคาความเขมของรังสีอาทิตยที่อุปกรณเหลานั้นไดรับ โดยจะติดตั้งอุปกรณวัดความ
เขมรังสีอาทิตยไวในบริเวณที่ตั้งของอุปกรณ (รูปที่ 9.1) และทําการวัดระยะสั้น เชน 1-30 วัน
ในบางกรณีอาจทําการวัดระยะยาวเปนป เพื่อติดตามผลการทํางานของระบบ เชน การวัดรังสี
อาทิตยในโรงไฟฟาพลังงานรังสีอาทิตยที่ปอนไฟฟาเขาเครือขายสายสง เปนตน

305
306

เครื่องวัดรังสีรวม

รูปที่ 9.1 การวัดรังสีอาทิตยเพื่อประเมินสมรรถนะของระบบอบแหงพลังงานรังสีอาทิตยที่


มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

2) การวัดรังสีอาทิตยระยะยาว โดยทั่วไปการวัดรังสีระยะยาวจะดําเนินการที่สถานี
อุตุนิยมวิทยาตางๆ โดยพิจารณาวารังสีอาทิตยเปนตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยาตัวหนึ่ง ซึ่งจะตอง
ทําการวัดอยางตอเนื่อง เชนเดียวกับอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธของอากาศ นอกจากการวัด
ตามสถานีอุตุนิยมวิทยาแลว ในบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา มีการจัดตั้งเครือขายสถานีวัด
รังสีอาทิตยแยกออกมาจากการวัดตามสถานีอุตุนิยมวิทยาทั่วไป ทั้งนี้เพื่อใชขอมูลในงานดาน
พลังงานและสิ่งแวดลอม สําหรับจํานวนและความหนาแนนของสถานีในแตละประเทศจะ
แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นกับความพรอมดานงบประมาณในการจัดหาอุปกรณวัดและการบํารุงรักษา
ตลอดจนการเห็นความสําคัญและความตองการขอมูลรังสีอาทิตยในประเทศนั้นๆ สําหรับกรณี
ประเทศไทย เครือข ายสถานีวัดความเขมรังสีอาทิต ย เพื่อ ใช งานดานพลั งงานทดแทน คือ
เครือขายของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ซึ่งจัดตั้งโดยความรวมมือ
ระหวาง พพ. กับภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยศิลปากร (เสริม จันทรฉายและคณะ, 2545)
ปจจุบันเครือขายดังกลาวมีสถานีวัดทั้งหมด 38 แหง (รูปที่ 9.2) โดยสถานีสวนใหญจะวัด
เฉพาะรังสีรวมและติดตั้งเครื่องวัดบนดาดฟาของอาคาร (รูปที่ 9.3)

306
307

รู ป ที่ 9.2 ตํ า แหน ง ของสถานี วั ด ในเครื อ ข า ยสถานี วั ด รั ง สี อ าทิ ต ย ข องกรมพั ฒ นาพลั ง งาน
ทดแทนและอนุรักษพลังงาน

307
308

รูปที่ 9.3 เครื่องวัดรังสีรวมที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ


พลังงาน ซึ่งตั้งอยูที่อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด

9.2 ชนิดของรังสีอาทิตยที่จะทําการวัด
ตามที่เคยไดกลาวไปแลวในบทกอนๆ วา รังสีอาทิตยที่เดินทางผานบรรยากาศโลกจะ
ถูกองคประกอบตางๆ ของบรรยากาศดูดกลืนและกระเจิง และสวนที่เหลือจะเดินทางตอมาถึง
พื้นผิวโลก และถูกพื้นผิวโลกดูดกลืนบางสวน โดยสวนที่เหลือจะกระเจิงผานบรรยากาศออก
ไปสูอวกาศ เราจะเรียกรังสีอาทิตยที่พุงตรงจากดวงอาทิตยมายังพื้นผิวโลกวารังสีตรงและเรียก
รังสีที่ถูกกระเจิงโดยโมเลกุลอากาศ ฝุนละอองและเมฆวารังสีกระจาย ผลรวมของรังสีตรงและ
รังสีกระจายจะเรียกวารังสีรวม โดยกรณีของระนาบในแนวระดับ (รูปที่ 9.4ก) เราสามารถเขียน
ผลรวมของรังสีที่ตกกระทบไดดังสมการ (9.1) สําหรับกรณีระนาบเอียงซึ่งจะมีสวนของรังสี
กระจายจากพื้นผิวโลกดวย (รูปที่ 9.4ข) จะเขียนไดดังสมการ (9.2) (Gueymard and Myers, 2008)

308
309

รังสีตรง รังสีกระจาย รังสีตรง


จากทองฟา รังสีกระจาย
รังสีกระจาย จากทองฟา
จากพื้นผิวโลก

ระนาบในแนวระดับ ระนาบเอียง

ก) ข)
รูปที่ 9.4 รังสีอาทิตยที่ตกกระทบบนระนาบตางๆ ก) ระนาบในแนวระดับและ ข) ระนาบเอียง

กรณีระนาบในแนวระดับ
I  I cos   I
n Z d ,sky (9.1)

กรณีระนาบเอียง
I  I cos   I
n Z

d ,sky  I d ,ground (9.2)

เมื่อ I คือ รังสีรวมบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร)


I
n คือ รังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
d ,sky คือ รังสีกระจายจากทองฟา (วัตตตอตารางเมตร)
d ,ground คือ รังสีกระจายจากพื้นผิวโลก (วัตตตอตารางเมตร)
I

ในงานแตละอยางจะใชขอมูลรังสีอาทิตยแตกตางกัน ตัวอยางเชน ในงานดานระบบ


พลังงานรังสีอาทิตยแบบรวมแสง (solar concentrating system) จะตองการขอมูลรังสีตรง ทั้งนี้
เพราะระบบดังกลาวจะใชประโยชนจากรังสีตรง สําหรับระบบที่ใชประโยชนจากรังสีรวม เชน
ระบบผลิ ต ไฟฟ า ดว ยเซลล สุ ริ ย ะ ระบบทํ าน้ํ า รอ นพลัง งานรัง สีอ าทิ ต ย และระบบอบแห ง
พลังงานรังสีอาทิตย ผูออกแบบระบบดังกลาวตองการขอมูลรังสีรวม นอกจากนี้การแปลง

309
310

ขอมูลรังสีรวมบนระนาบในแนวระดับใหเปนคารังสีรวมบนระนาบเอียง จําเปนตองใชขอมูล
รังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับ ดังนั้นการวัดรังสีอาทิตย จึงแบงไดเปนการวัดรังสีตรง
รังสีกระจาย และรังสีรวม โดยการวัดรังสีดังกลาวตองใชอุปกรณวัดที่แตกตางกัน

9.3 เครื่องมือสําหรับวัดรังสีอาทิตย
9.3.1 เครื่องวัดรังสีรวม (pyranometer)
เครื่องวัดรังสีรวมเปนอุปกรณพื้นฐานในงานดานพลังงานรังสีอาทิตย ในอดีตที่ผานมา
นักวิทยาศาสตรไดทําการพัฒนาเครื่องวัดรังสีรวมขึ้นมาหลายแบบ โดยแบบหลักๆ มีดังนี้
1) เครื่องวัดรังสีรวมแบบโรบิตซ (Robitzsch pyranometer) เครื่องวัดแบบนี้จะมีแผน
รับรังสีเปนโลหะ 2 แผน โดยแผนหนึ่งทาสีขาวและอีกแผนหนึ่งทาสีดํา เมื่อรังสีอาทิตยตก
กระทบแผนรับรังสีทั้งสอง แผนสีดําจะดูดกลืนรังสีอาทิตยไดมากกวาแผนสีขาว ทําใหแผน
สีดําขยายตัวมากกวาแผนสีขาว แรงที่เกิดจากการขยายตัวดังกลาวจะใชขับเคลื่อนปากกาให
บันทึกสัญญาณลงบนกระดาษซึ่งเคลื่อนที่ดวยระบบไขลาน สัญญาณที่บันทึกไดสามารถแปลง
กลับมาเปนคาความเขมรังสีอาทิตยไดโดยการสอบเทียบกับอุปกรณที่สามารถวัดคาความเขม
รังสีอาทิตยไดโดยตรง ลักษณะของเครื่องวัดรังสีรวมแบบโรบิตซแสดงไวในรูปที่ 9.5 ขอดีของ
เครื่องวัดรังสีรวมแบบนี้คือ ทํางานไดโดยไมใชไฟฟา จึงสามารถติดตั้งใชงานในสถานีซึ่งไมมี
แหลงจายกระแสไฟฟาได แตก็มีขอดอยคือ ผลการวัดมีความคลาดเคลื่อนสูง ทั้งนี้เพราะการ
ทํางานของเครื่อ งจะขึ้ นกั บอุ ณหภูมิแ วดลอมซึ่งโดยทั่ วไปเปลี่ยนแปลงตลอดวัน และการ
ขยายตัวของแผนรับรังสีไมสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของความเขมรังสี
อาทิ ต ย ไ ด นอกจากนี้ ข อ มู ล ที่ บั น ทึ ก ได แ ต ล ะวั น จะเป น กราฟช ว งสั้ น ซึ่ ง ไม เ ห็ น การ
เปลี่ยนแปลงขึ้นลงของรังสีอาทิตยชวงสั้นอันเกิดจากเมฆได คาที่ไดจากการวัดจะหาไดจากการ
รวมพื้ น ที่ใ ตก ราฟและแปลงกลั บมาเป น คา รัง สี รายวัน ซึ่ งจะมีความคลาดเคลื่อน 10-30 %
เครื่ อ งวั ด รั ง สี ร วมแบบโรบิ ต ซ นิ ย มใช วั ด รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นยุ ค แรก ก อ นที่ จ ะมี ก ารประดิ ษ ฐ
เครื่องวัดแบบใชหลักการทางไฟฟาในทศวรรษที่ 1960 อยางไรก็ตามในปจจุบันยังมีการใชงาน
เครื่องวัดแบบนี้ในสถานีอุตุนิยมวิทยาบางแหงในประเทศกําลังพัฒนา

310
311

รูปที่ 9.5 เครื่องวัดรังสีรวมแบบโรบิตซของกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน (เสริม จันทรฉาย


และจรุงแสง ลักษณบุญสง, 2542)

2) เครื่องวัดรังสีรวมแบบโฟโตโวลตาอิค (photovoltaic pyranometer)


เนื่องจากสารกึ่งตัวนําที่มีรอยตอแบบพีเอ็น (P-N junction) จะเกิดศักยไฟฟาเมื่อมีรังสี
อาทิตยตกกระทบ ดังนั้นจึงไดมีการนําสารดังกลาวมาใชเปนเซนเซอรของเครื่องวัดรังสีรวม
(รูปที่ 9.6) โดยเครื่องวัดจะประกอบดวยตัวรับรังสีที่เปนแผนกระจายรังสีดานบนและมีสาร
กึ่งตัวนําอยูดานลาง เมื่อรังสีอาทิตยตกกระทบแผนดังกลาว รังสีอาทิตยจะถูกกระจายผานลงมา
ตกลงบนสารกึ่งตัวนําและเกิดกระแสไฟฟาขึ้น คากระแสที่ไดนี้สามารถแปลงใหเปนคาความ
เขมรังสีอาทิตย โดยอาศัยการสอบเทียบกับเครื่องวัดรังสีอาทิตยมาตรฐาน เนื่องจากการเกิด
กระแสไฟฟาของสารกึ่งตัวนํานี้เปนไปตามหลักการโฟโตโวลตาอิค ดังนั้นเราจึงเรียกเครื่องวัด
รังสีรวมแบบนี้วา เปนแบบโฟโตโวลตาอิค

311
312

รูปที่ 9.6 เครื่องวัดรังสีรวมแบบโฟโตโวลตาอิค ที่ผลิตโดยบริษัทคิปปแอนดโซเนนซ


(Kipp&Zonen)

โดยทั่วไปเครื่องวัดรังสีรวมแบบโฟโตโวลตาอิคจะมีการตอบสนองตอรังสีอาทิตยที่
ความยาวคลื่นตางๆ ในชวงประมาณ 0.4-1.1 ไมครอน (รูปที่ 9.7) ซึ่งแคบกวาชวงความยาว
คลื่นของสเปกตรัมรังสีรวม ทําใหไมสามารถวัดรังสีอาทิตยไดครอบคลุมชวงความยาวคลื่น
กวาง (0.3-3.0 ไมครอน) นอกจากนี้การตอบสนองของเครื่องวัดตอรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น
ตางๆ มีคาไมเทากัน ทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการวัด อยางไรก็ตามเครื่องวัดนี้มีราคา
ไมแพง

1.0 1000
I(วัตตตอตารางเมตร
ตอไมครอน)
R

0.5 500

0 0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 2.0 3.0 4.0
 (ไมครอน)
รูปที่ 9.7 กราฟของการตอบสนองตอสเปกตรัมรังสีอาทิตยของเครื่องวัดรังสีรวมแบบโฟโต
โวลตาอิ ค ที่ ผ ลิ ต โดยบริ ษั ท คิ ป ป แ อนด โ ซเนนซ ( R  คื อ การตอบสนอง I คื อ
สเปกตรัมรังสีอาทิตยและ  เปนความยาวคลื่น)

312
313

3) เครื่องวัดรังสีรวมแบบเทอรโมไพล (thermopile pyranometer)


เครื่องวัดรังสีอาทิตยแบบนี้จะมีตัวรับรังสีที่ทําดวยเทอรโมคัปเปล (thermocouple)
จํานวนมากที่ตอกันแบบอนุกรมซึ่งเรียกวา เทอรโมไพล (thermopile)โดยมีแผนรับรังสีสีดํา
ปดดานบน เพื่อไมใหรังสีอาทิตยตกกระทบเทอรโมไพลโดยตรง และมีโดมแกวครอบดานบน
เพื่อปองกันตัวรับรังสีจากฝนหรือสิ่งสกปรก เครื่องวัดรังสีรวมแบบนี้โดยทั่วไปจะมีลักษณะ
ตามรูปที่ 9.8

รูปที่ 9.8 เครื่องวัดรังสีรวมแบบเทอรโมไพลที่ผลิตโดยบริษัทคิปปแอนดโซเนนซ

เมื่อรังสีอาทิตยตกกระทบแผนรับรังสี แผนดังกลาวจะถายเทความรอนที่เกิดขึ้นไปยัง
เทอรโมไพล ทําใหเทอรโมไพลมีอุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งจะทําใหเกิดศักยไฟฟาที่ขั้วของเทอรโมไพล
ค า ของศั ก ย ไ ฟฟ า ดั ง กล า วสามารถนํ า มาคํ า นวณเป น ค า ความเข ม รั ง สี อ าทิ ต ย ไ ด โ ดยการ
สอบเทียบกับเครื่องวัดรังสีอาทิตยมาตรฐาน ขอดีของเครื่องวัดรังสีรวมแบบเทอรโมไพล
คือ สามารถตอบสนองตอสเปกตรัมรังสีอาทิตยสวนใหญในชวง 0.3-3.0 ไมครอน ไดเทากัน
(รูปที่ 9.9) นอกจากนี้ยังสามารถทํางานโดยไมขึ้นกับสภาพแวดลอมมากนัก และมีความละเอียด
ถูกตองในการวัดคอนขางสูง อยางไรก็ตามเครื่องวัดแบบนี้มีราคาแพง

313
314

1.0 1000

I(วัตตตอตารางเมตร
ตอไมครอน)
R

0.5 500

0 0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 2.0 3.0 4.0
 (ไมครอน)
รูปที่ 9.9 กราฟแสดงการตอบสนองตอสเปกตรัมรังสีอาทิตยของเครื่องวัดรังสีรวมแบบเทอรโมไพล
ที่ผลิตโดยบริษัทคิปปแอนดโซเนนซ ( R  คือการตอบสนอง I คือ สเปกตรัมรังสี
อาทิตยและ  เปนความยาวคลื่น)

9.3.2 เครื่องวัดรังสีกระจาย
เครื่ อ งวั ด รั ง สี ก ระจายประกอบด ว ยเครื่ อ งวั ด รั ง สี ร วมที่ ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ บั ง รั ง สี ต รง
อุปกรณดังกลาวอาจเปนวงแหวนหรือลูกบอลก็ได กรณีที่เปนวงแหวน (รูปที่ 9.10) เราจะตอง
ปรับระนาบของวงแหวนใหอยูในระนาบของทางเดินของดวงอาทิตย ทุก 1-2 วัน เพื่อไมให
รังสีตรงตกกระทบแผนรับรังสีของเครื่องวัดตลอดทั้งวัน เนื่องจากวงแหวนจะบังรังสีกระจาย
จากท องฟาดว ย ดัง นั้น จึ ง ต องคํา นวณแก คา ที่วัด ได เพื่อชดเชยค ารั ง สีก ระจายที่ถูก บั ง โดย
วงแหวน โดยใชตารางแกคาที่บริษัทผูผลิตเครื่องวัดจัดเตรียมมาให

314
315

รูปที่ 9.10 เครื่องวัดรังสีกระจายแบบใชวงแหวนบังรังสีตรงซึ่งผลิตโดยบริษัทคิปปแอนด-


โซเนนซของมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งติดตั้งที่สถานีเชียงใหม

สําหรับกรณีเครื่องวัดรังสีกระจายที่ใชลูกบอลบังรังสีตรง (รูปที่ 9.11) จะตองติดตั้งลูก


บอลกับอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย (sun tracker) เพื่อใหลูกบอลบังรังสีตรง
ตลอดทั้งวัน เครื่องวัดรังสีกระจายแบบนี้จะวัดรังสีกระจายไดโดยตรงโดยไมตองคํานวณแก
คาที่วัดได แตจะตองใชอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยซึ่งมีราคาแพง และตองใช
ไฟฟาในการขับเคลื่อนดวย

315
316

รูปที่ 9.11 เครื่องวัดรังสีกระจายแบบใชลูกบอลบังรังสีตรงที่สถานีวัดรังสีดวงอาทิตยของ


มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

9.3.3 เครื่องวัดรังสีตรง (pyrheliometer)


ขอมูลความเขมรังสีตรงเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับงานทางดานพลังงานรังสีอาทิตย
แบบรวมแสง เนื่องจากรังสีตรงมีทิศทางพุงตรงจากดวงอาทิตยมายังพื้นผิวโลก และตําแหนง
ของดวงอาทิตยเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นเครื่องวัดรังสีตรงจึงตองติดตั้งบนอุปกรณติดตาม
การเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย โดยทั่วไปเครื่องวัดรังสีตรงมี 2 ประเภท ดังนี้

1) เครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณ (absolute pyrheliometer) เครื่องวัดแบบนี้จะเปน


เครื่องวัดที่สามารถใชบอกความเขมรังสีอาทิตยไดโดยตรงโดยมิตองอางอิงกับเครื่องวัดอื่นๆ
จึงใชเปนเครื่องวัดมาตรฐาน ในอดีตที่ผานมานักวิทยาศาสตรไดพัฒนาเครื่องวัดรังสีตรงแบบ
สัมบูรณขึ้นหลายแบบ โดยแบบที่นิยมใชงานในปจจุบัน คือ แบบแอคตีฟแควิตี (active cavity
pyrheliometer)

316
317

เครื่องวัดรังสีตรงแบบนี้จะมีกระบอกใหรังสีตรงสองผานเขาไปภายใน โดยที่ปลายสุด
จะมีตัวรับรังสีทรงกรวย ซึ่งมีลวดความตานทานไฟฟาเพื่อใหความรอนและมีเทอรโมคับเปล
ติดอยูเพื่อวัดอุณหภูมิของกรวย นอกจากนี้ยังมีกรวยที่ 2 ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับกรวยที่ 1 และ
วางอยูตรงดานหลังของกรวยที่ 1 (รูปที่ 9.12) ในการควบคุมใหรังสีสองเขาไปยังกรวยที่ 1 จะ
มีชัตเตอร (shutter) ที่ปากกระบอก ที่บรรจุกรวยทั้ง 2 อัน ซึ่งสามารถเปดปดใหรังสีสองไปตก
กระทบกรวยที่ 1 ตามชวงเวลาที่ตองการ

เซนเซอรวัดอุณหภูมิแบบฟลมบาง
กรวยที่ 2
กระบอก
เซนเซอรวัดอุณหภูมิ
แบบฟลมบาง
ชัตเตอร
กรวยที่ 1

รูปที่ 9.12 โครงสรางของเครื่องวัดรังสีตรงแบบแอคตีฟแควิตีที่ผลิตโดยบริษัทเอพพลีย


(Eppley) (ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)

ในการใชงานจะเริ่มจากปดชัตเตอรและปลอยกระแสไฟฟาเขาไปในลวดตานทาน
ไฟฟา เพื่อใหความรอนกับกรวยทั้ง 2 อัน ใหมีอุณหภูมิเทากัน จากนั้นจะเปดชัตเตอรใหรังสี
อาทิตยสองเขาไปตกกระทบกรวยที่ 1 และทําการเพิ่มกระแสไฟฟาที่ผานลวดตานทานไฟฟา
ของกรวยที่ 2 จนทํ า ให ก รวยอั น ที่ 2 มี อุ ณ หภู มิ เ ท า กั บ กรวยอั น ที่ 1 ค า ความแตกต า งของ
กําลังไฟฟาที่ใชใหความรอนกับกรวยที่ 2 ระหวางที่ไมมีรังสีตกกระทบกับเมื่อมีรังสีตกกระทบ
ของกรวยที่ 1 จะเปนคาพลังงานของรังสีอาทิตยที่กรวยอันที่ 1 ไดรับ เนื่องจากเครื่องวัดแบบนี้
มีความแมนยําสูง ปจจุบันจึงนิยมใชเปนเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานในประเทศตางๆ และมีการ
ผลิตในเชิงการคาดังตัวอยางในรูปที่ 9.13

317
318

รูปที่ 9.13 เครื่องวัดรังสีตรงแบบแอคตีฟแควิตี ที่ผลิตโดยบริษัทเอพพลียของศูนยสอบเทียบ


เครื่องวัดรังสีอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

2) เครื่องวัดรังสีตรงภาคสนาม (field pyrheliometer) เครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณ


เปนเครื่องวัดที่ละเอียดออนและใชในงานสอบเทียบมาตรฐานเครื่องวัดอื่นๆ เทานั้น จึงไม
เหมาะกับการใชงานภาคสนามเปนเวลานานๆ การวัดรังสีตรงที่สถานีวัดรังสีอาทิตยหรือใน
งานทดสอบสมรรถนะของระบบพลังงานรังสีอาทิตยแบบรวมแสง เราจะใชเครื่องวัดรังสีตรง
ภาคสนาม ซึ่งเปนเครื่องวัดที่ถูกออกแบบใหทนทานตอสภาพลมฟาอากาศ เพราะตองติดตั้ง
นอกอาคารและใชงานตอเนื่องกันเปนเวลานาน เครื่องวัดแบบนี้จะมีลักษณะเปนกระบอก
เพื่อใหรังสีตรงเทานั้นสองผานเขาไปภายในโดยที่ปลายกระบอกจะมีตัวรับรังสีแบบเทอรโมไพล
เมื่อไดรับรังสีอาทิตยเทอรโมไพลจะใหสัญญาณไฟฟาออกมา โดยสัญญาณไฟฟาที่ไดสามารถ
นํา มาแปลงให เ ป น คา ความเขมรัง สีต รงไดโ ดยอาศัย การสอบเทีย บกับ เครื่องวั ด มาตรฐาน
โดยทั่วไปเครื่องวัดรังสีตรงภาคสนามจะติดตั้งบนอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย
เพื่อใหเครื่องชี้ไปยังดวงอาทิตยตลอดเวลา
อุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยที่ใชงานในภาคสนามมี 2 แบบ ไดแก แบบ
ขับเคลื่อนอัตโนมัติแกนเดียวและแบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ 2 แกน โดยแบบแรกจะมีแกนหมุน
2 แกน โดยแกนที่ 1 จะมีทิศขนานกับแกนหมุนของทองฟา และมีมอเตอรขับเคลื่ อนแกน

318
319

ดังกลาวใหหมุนดวยอัตราเดียวกับการหมุนรอบตัวเองของโลก (24 ชั่วโมงตอรอบ) สวนแกนที่ 2


จะใชสําหรับหมุนเปลี่ยนมุมเดคลิเนชัน ตามการเปลี่ยนแปลงมุมเดคลิเนชันของดวงอาทิตย
ซึ่งตองปรับดวยมือ ทุก 1-2 วัน ตอครั้ง (รูปที่ 9.14) สําหรับอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของ
ดวงอาทิตยแบบที่ 2 (รูปที่ 9.15) จะประกอบดวยแกนหมุน 2 แกน โดยแกนที่ 1 จะเปนแกนที่
หมุนในแนวดิ่ง เพื่อหมุนเปลี่ยนมุมอาซิมุธ และแกนที่ 2 จะเปนแกนที่หมุนอยูในแนวนอน
สําหรับหมุนเปลี่ ยนมุมอัลติจูด ทั้ง นี้เพื่อใหเ ครื่องวัด รัง สีตรงชี้ไ ปที่ดวงอาทิต ย ตลอดเวลา
เนื่องจากมุมอาซิมุธและมุมอัลติจูดของดวงอาทิตยเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นอุปกรณ
ติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยแบบนี้จะตองมีคอมพิวเตอรควบคุมการทํางาน

รูปที่ 9.14 อุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยแบบขับเคลื่อนอัตโนมัติแกนเดียว ซึ่งใช


ขับเคลื่อนเครื่องวัดรังสีตรงที่มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

319
320

รูปที่ 9.15 อุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยแบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ 2 แกน ซึ่งใช


ขับเคลื่อนเครื่องวัดรังสีตรงของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่สถานีเชียงใหม

9.4 สมบัติของเครื่องวัดรังสีอาทิตย
ในการใชเครื่องวัดรังสีรวมและรังสีตรง ผูใชจําเปนตองรูสมบัติของเครื่องวัดดังกลาว
โดยสมบัติทั่วไปมีดังนี้
1) สภาพตอบสนอง (responsitivity) หรือสภาพไวรังสี (sensitivity) เครื่องวัดรังสีรวม
และเครื่องวัดรังสีตรงภาคสนามสวนใหญจะใหสัญญาณออกมาเปนศักยไฟฟา ในหนวยโวลต
เราตองทําการแปลงคาศักยไฟฟาที่ไดใหเปนคาความเขมรังสีอาทิตยในหนวยวัตตตอตารางเมตร
โดยการหารค า ศั ก ย ไ ฟฟ า ด ว ยค า สภาพตอบสนองในหน ว ยโวลต ต อ วั ต ต ต อ ตารางเมตร
ซึ่งไดจากการสอบเทียบเครื่องวัดดังกลาวกับเครื่องวัดมาตรฐาน โดยทั่วไปคาสภาพตอบสนอง
ของเครื่องวัดรังสีอาทิตยจะมีการเปลี่ยนแปลงหลังจากการใชงานไประยะเวลาหนึ่ง กรณีของ

320
321

การใชงานตามสถานีวัดรังสีอาทิตยซึ่งตองการทําการวัดรังสีอาทิตยอยางตอเนื่องเปนระยะเวลา
ยาวนานหลายป เราจะตองทําการสอบเทียบเครื่องวัดเพื่อหาคาสภาพตอบสนองที่เปลี่ยนแปลง
ไปอยางนอยปละ 1 ครั้ง โดยเครื่องวัดที่ดีสภาพตอบสนองตองเปลี่ยนแปลงตอปนอย
2) การตอบสนองตอสเปกตรัมรังสีอาทิตย (spectral response) โดยทั่วไปเครื่องวัด
รั ง สี ร วมและเครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงจะสามารถวั ด รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น หนึ่ ง โดย
เครื่องวัดที่ดีตองสามารถวัดความเขมรังสีอาทิตยครอบคลุมในชวงความยาวคลื่นกวาง (0.3-3.0
ไมครอน) ซึ่ ง เป น ช ว งความยาวคลื่ น ของพลั ง งานส ว นใหญ ข องรั ง สี อ าทิ ต ย แ ละจะต อ ง
ตอบสนองตอรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่นตางๆ ในชวงความยาวคลื่นดังกลาวไดเทากัน ดัง
ตัวอยางในรูปที่ 9.9
3) สภาพเชิงเส น (linearity) ตามที่ก ล าวไปแลววาในการวั ด รัง สีร วมและรัง สี ตรง
เครื่องวัดจะใหสัญญาณออกมาเปนคาศักยไฟฟา ซึ่งจะตองนํามาแปลงใหเปนคาความเขมรังสี
อาทิตย กรณีของเครื่องวัดรังสีอาทิตยที่ดี คาความเขมรังสีอาทิตยจะตองแปรตามศักยไฟฟา
แบบเชิงเสน ในชวงระหวางความเขมต่ําสุดถึงความเขมสูงสุดที่เครื่องวัดสามารถวัดได เราเรียก
กราฟการแปรคาระหวางความเขมรังสีอาทิตยและศักยไฟฟาวาสภาพเชิงเสนของเครื่องวัด โดย
เครื่องวัดที่ดี การแปรคาดังกลาวตองเปนเสนตรง (รูปที่ 9.16)

1200
ความเขมรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตร)

1000

800

600

400

200

0
0 1000 2000 3000 4000 5000 6000

ศักยไฟฟา (ไมโครโวลต)
รูปที่ 9.16 สภาพเชิงเสนของเครื่องวัดรังสีรวมของบริษัทคิปปแอนดโซเนนซ รุน CMP 11

321
322

4) การขึ้นต ออุณหภูมิ (temperature dependence) โดยทั่วไปเครื่องวั ดรังสี อาทิตย


จะตองใชงานกลางแจงซึ่งมีอุณหภูมิอากาศแวดลอมเปลี่ยนแปลงตลอดทั้งวัน การเปลี่ยนแปลง
ดังกลาวจะมีผลตอสมรรถนะของเครื่องวัด ทําใหคาที่วัดไดขึ้นกับอุณหภูมิดวย โดยการขึ้นกับ
อุณหภูมินี้จะบอกในรูปของเปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมิอากาศแวดลอม ตัวอยางเชน เครื่องวัดรังสีตรงของบริษัทเอพพลีย (รุน NIP) จะใหผล
การวัดซึ่งมีความคลาดเคลื่อน ±1 % ในชวงอุณหภูมิอากาศแวดลอม -20 ถึง 40 ºC
5) เวลาของการตอบสนอง (response time) เครื่องวัดรังสีอาทิตยโดยทั่วไป เมื่อเริ่มรับ
รังสีอาทิตยจะไมสามารถใหสัญญาณออกมาทันที แตสัญญาณที่ไดจะคอยๆ เพิ่มขึ้น โดยการ
เพิ่มขึ้นดังกลาวจะมีลักษณะเปนแบบเอกซโพเนนเชียล (exponential) โดยจะบอกความสามารถ
หรือความรวดเร็วในการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงความเขมรังสีอาทิตยในรูปของเวลาการ
ตอบสนอง ซึ่งใหเปนเวลาที่ใชในการเพิ่มขึ้นของสัญญาณจากคาที่ต่ําสุดจนถึงคา 95% ของ
สัญญาณสูงสุด ซึ่งมีหนวยเปนวินาที โดยเครือ่ งวัดรังสีอาทิตยที่ดีจะตองมีเวลาการตอบสนองสั้น
ตัวอยางเชน เครื่องวัดรังสีตรงของบริษัท เอพพลีย (รุน NIP) จะมีเวลาการตอบสนองเทากับ
1 วินาที
6) การตอบสนองตอมุมตกกระทบ (cosine response) สมบัติดานการตอบสนองตอมุม
ตกกระทบจะใชในกรณีเครื่องวัดรังสีรวม โดยไมใชกับกรณีของเครื่องวัดรังสีตรง ทั้งนี้เพราะ
เครื่องวัดรังสีตรงนั้นรังสีอาทิตยจะตกกระทบตั้งฉากกับตัวรับรังสีตลอดเวลา แตกรณีของ
เครื่องวัดรังสีรวมมุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนเครื่องวัดจะเปลี่ยนแปลงตลอดทั้งวัน เมื่อ
รังสีอาทิตยในสวนที่เปนรังสีตรงตกกระทบเปนมุมใดๆ เราสามารถแปลงคาที่วัดไดใหมาอยูใน
ระนาบในแนวระดับ โดยการคูณคารังสีใหตกกระทบบนระนาบตั้งฉากกับทิศของรังสีดวยคา
โคซายน (cosine) ของมุมตกกระทบบนระนาบของเครื่องวัด จะเห็นวาการแปลงคาดังกลาว
ขึ้นกับโคซายน ของมุมตกกระทบ แตเครื่ องวัด ทั่วไปจะไมตอบสนองแบบโคซายนทุกมุม
โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ที่ มุ ม ตกกระทบค า มากๆ ซึ่ ง จะทํ า ให ผ ลการวั ด ที่ มุ ม ดั ง กล า วมี ค วาม
คลาดเคลื่อน เครื่องวัดที่ดีจะตองมีการตอบสนองตอมุมตกกระทบแปรคาใกลเคียงกับการแปร
คาของโคซายนของมุมตกกระทบ ตัวอยางการตอบสนองตอคามุมตกกระทบของเครื่องวัดรังสี
รวมที่ผลิตโดยบริษัทคิปปแอนดโซเนนซ แสดงไวในรูปที่ 9.17

322
323

1.0

0.8

0.6 กราฟของโคซายน
R

0.4 กราฟการตอบสนอง
ของเครือ่ งวัด
0.2

0.0
0 20 40 60 80
มุมตกระทบ (องศา)

รูปที่ 9.17 กราฟการตอบสนองตอมุมตกกระทบ ( R  ) ของเครื่องวัดรังสีรวมที่ผลิตโดย


บริษัทคิปปแอนดโซเนนซ (รุน CM11)

9.5 การจําแนกลําดับชั้นของเครื่องวัดรังสีอาทิตย
เนื่องจากเครื่องวัดรังสีอาทิตยที่ผลิตโดยองคกรหรือบริษัทตางๆ มีสมรรถนะแตกตางกัน
ดังนั้นองคการมาตรฐานสากล (International Organization for Standardization) (ISO, 1990a)
จึงไดจําแนกระดับชั้นของเครื่องวัดรังสีอาทิตยตามสมรรถนะของเครื่องวัดทั้งของเครื่องวัดรังสีรวม
และเครื่องวัดรังสีตรง ตามรายละเอียด ดังนี้

9.5.1 เครื่องวัดรังสีรวม
องค ก ารมาตรฐานสากลได จํ า แนกเครื่อ งวั ด รั ง สี ร วมตามสมรรถนะของเครื่ อ งวั ด
ออกเปน 3 ลําดับชั้น (class) ไดแก เครื่องวัดรังสีรวมมาตรฐานทุติยภูมิ (secondary standard
pyranometer) เครื่ องวั ด รั ง สี ร วมชั้น 1 (first class pyranometer) และเครื่ องวั ด รัง สีร วมชั้น 2
(second class pyranometer) โดยเครื่องวัดรังสีรวมจะไมมีเครื่องวัดมาตรฐานปฐมภูมิ (primary
standard) ทั้ ง นี้ เ พราะการสอบเที ย บเครื่ อ งวั ด รั ง สี ร วมจะต อ งอ า งอิ ง ซึ่ ง สามารถสื บ สาว

323
324

(traceability) ขึ้ น ไปถึ ง เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงมาตรฐานปฐมภู มิ ที่ ใ ช เ ป น มาตรฐานของโลก


เครื่องวัดรังสีรวมแตละลําดับชั้นจะมีสมบัติตามตารางที่ 9.1

ตารางที่ 9.1 สมบัติของเครื่องวัดรังสีรวมลําดับชั้นตางๆ ตามการจําแนกขององคการมาตรฐาน


สากล (ISO, 1990a)

สมบัติ เครื่องวัดทุติยภูมิ เครื่องวัดชั้น 1 เครื่องวัดชั้น 2


1. เวลาของการตอบสนอง < 15 วินาที < 30 วินาที < 60 วินาที
2. ความคลาดเคลื่ อ นที่ เ กิ ด จาก  10 วัตตตอ  20 วัตตตอ  30 วัตตตอ
ค ว า ม ไ ม ส ม บู ร ณ ข อ ง ก า ร ตารางเมตร ตารางเมตร ตารางเมตร
ตอบสนองของเครื่องวัดตอรังสี
ที่ตกกระทบในมุมตางๆ
3. ความเบี่ยงเบนของคาสภาพตอบ  3%  5%  10%
สนองต อ ความยาวคลื่ น ต า งๆ
( R  ) จากคาเฉลี่ย ( R  ) ในชวง
ความยาวคลื่น 0.35-1.5 ไมครอน
4. ค ว า ม เ บี่ ย ง เ บ น ข อ ง ค า รั ง สี 2% 4% 8%
อาทิต ย ที่วั ด ได จ ากค า ที่ ถู ก ต อ ง
โดยอางอิงกับมาตรฐานโลก เมื่อ
อุณ หภู มิ แ วดล อ มเปลี่ ย นแปลง
ในชวง 50 เคลวิน
5. ความเบี่ ย งเบนของสภาพตอบ  0.5%  1%  3%
สนองในสภาพที่ใชงาน ซึ่งรังสี
อาทิตยมีคา 100-1,000 วัตตตอ
ตารางเมตร จากสภาพตอบสนอง
ที่ความเขมรังสีอาทิตย 500 วัตต
ตอตารางเมตร

324
325

สมบัติ เครื่องวัดทุติยภูมิ เครื่องวัดชั้น 1 เครื่องวัดชั้น 2


6. การเปลี่ยนแปลงของสภาพตอบ  0.8%  1.5%  3%
สนองตอป
7. ความเบี่ยงเบนของคาสภาพตอบ  0.5%  2%  5%
สนองเมื่ อ เครื่ อ งวั ด เอี ย งทํ า มุ ม
ต า งๆ ในช ว ง 0-90 องศา จาก
สภาพตอบสนอง เมื่อเครื่องวัด
อยูในระนาบในแนวระดับ
8. การเปลี่ ย นแปลงของขี ด ศู น ย  2 วัตตตอ  4 วัตตตอ   8 วัตตตอ
(zero off-set) เมื่ออุณหภูมิของ ตารางเมตร ตารางเมตร ตารางเมตร
อากาศแวดล อ มเปลี่ ย นแปลง
5 เคลวินตอชั่วโมง

9.5.2 เครื่องวัดรังสีตรง
องคการมาตรฐานสากลไดแบงเครื่องวัดรังสีตรงตามสมรรถนะของเครื่องวัดออกเปน
2 กลุม ไดแก เครื่องวัดมาตรฐานปฐมภูมิ (primary standard pyrheliometer) และเครื่องวัดที่มี
สมรรถนะต่ํากวาเครื่องวัดมาตรฐานปฐมภูมิ (pyrheliometer of lower category) โดยเครื่องวัด
มาตรฐานปฐมภู มิ จ ะเป น เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงแบบสมบู ร ณ ซึ่ ง ต อ งได รั บ การสอบเที ย บกั บ
มาตรฐานสากล
กรณีของเครื่องวัดที่มีมาตรฐานต่ํากวาเครื่องวัดมาตรฐานปฐมภูมิจะแบงเปนเครื่องวัด
มาตรฐานทุติยภูมิ (secondary standard) เครื่องวัดชั้น 1 และเครื่องวัดชั้น 2 โดยเครื่องวัด
ดังกลาวจะตองมีสมบัติตามตารางที่ 9.2

325
326

ตารางที่ 9.2 สมบัติของเครื่องวัดรังสีตรงลําดับชั้นตางๆ ตามการจําแนกขององคการมาตรฐาน


สากล (ISO, 1990a)

สมบัติ เครื่องวัดทุตยิ ภูมิ เครื่องวัดชั้น 1 เครื่องวัดชั้น 2


1. เวลาของการตอบสนอง < 15 วินาที < 20 วินาที < 30 วินาที
2. ความเบี่ ย งเบนของค า สภาพ  0.5%  1%  5%
ตอบสนองต อ ความยาวคลื่ น
ตางๆ ( R  ) จากคาเฉลี่ย ( R  )
ในชวงความยาวคลื่น 0.35-1.5
ไมครอน
3. ความเบี่ ย งเบนของค า รั ง สี  1%  2%  10%
อาทิตยที่วัดไดจากคาที่ถูกตอง
โดยอ า งอิ ง กั บ มาตรฐานโลก
เมื่ อ อุ ณ หภู มิ แ วดล อ มเปลี่ ย น-
แปลงในชวง 50 เคลวิน
4. ความเบี่ย งเบนของสภาพตอบ  0.2%  0.5%  2%
สนองในสภาพที่ใชงาน ซึ่งรังสี
อาทิตยมีคา 100-1,000 วัตตตอ
ตารางเมตร จากสภาพตอบ
สนองที่ ค วามเข ม รั ง สี อ าทิ ต ย
500 วัตตตอตารางเมตร
5. การเปลี่ยนแปลงของสภาพตอบ  0.5%  1%  2%
สนองตอป
6. การเปลี่ ย นแปลงของขี ด ศู น ย  1 วัตตตอ  3 วัตตตอ  6 วัตตตอ
(zero off-set) เมื่ออุณหภูมิของ ตารางเมตร ตารางเมตร ตารางเมตร
บรรยากาศแวดล อ มเปลี่ ย น-
แปลง 5 เคลวินตอชั่วโมง

326
327

สมบัติ เครื่องวัดทุตยิ ภูมิ เครื่องวัดชั้น 1 เครื่องวัดชั้น 2


7. การสอบเทียบ ตองสอบเทียบ ตองสอบเทียบ ตองสอบเทียบ
กับเครื่องวัด กับเครื่องวัด กับเครื่องวัดชัน้
มาตรฐานปฐม- มาตรฐานทุติย- 1 หรือระดับที่
ภูมิ ภูมิหรือระดับที่ สูงกวา
สูงกวา

9.6 สเกลของคาความเขมรังสีอาทิตย
สเกลของคาความเขมรังสีอาทิตยจะกําหนดจากคาความเขมรังสีตรง ทั้งนี้เพราะเปน
รังสีที่มีทิศทางแนนอนและสามารถวัดดวยเครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณ หลังจากที่มีการ
พัฒนาเครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณในชวงตนศตวรรษที่ 20 นักวิทยาศาสตรสามารถวัดคา
ความเขมรังสีตรงของดวงอาทิตยไดโดยตรง โดยอุปกรณที่ใชในชวงนั้นไดแก เครื่องวัดรังสี
ตรงแบบชดเชยพลังงานดวยกระแสไฟฟาของอังสตรอมซึ่งเปนเครื่องวัดแบบสัมบูรณ ดังนั้น
ในการประชุมวิชาการนานาชาติทางอุตุนิยมวิทยา (International Meteorological Conference)
ที่เมืองอินสบรูค (Innsbruck) ประเทศออสเตรีย ในป ค.ศ.1905 ที่ประชุมมีมติกําหนดให
เครื่องวัดรังสีตรงของอังสตรอมเปนเครื่องมือวัดรังสีตรงมาตรฐาน โดยใชคาความเขมรังสีตรง
ซึ่งวัด ดว ยเครื่ องวั ด รัง สีตรงของอั งสตรอมหมายเลข A70 ซึ่ง เก็ บรัก ษาไวที่สถาบัน ฟสิก ส
(Institute of Physics) เมืองอัฟซาลา (Uppsala) ประเทศสวีเดน เปนเครื่องวัดมาตรฐาน โดยคา
ความเขมรังสีอาทิตยที่วัดไดจากเครื่องมือชุดอื่นจะตองอางอิงกับคาจากเครื่องวัดดังกลาว สเกล
ของคาความเขมรังสีอาทิตยจากเครื่องวัดนี้มีชื่อวา AS1905
สําหรับประเทศสหรัฐอเมริกา สถาบันสมิทโซเนียน (Smithsonian) ไดศึกษาสเกลของ
ความเขมรังสีอาทิตยใหมโดยใชเครื่องมือวัดแบบสัมบูรณหลายแบบและไดกําหนดสเกลความ
เขมรังสีอาทิตยขึ้นใหมในป ค.ศ. 1913 ซึ่งเรียกชื่อยอวา SS1913
ในป ค.ศ. 1956 คณะกรรมการรังสีนานาชาติ (International Radiation Commission)
ซึ่ ง มี สํ า นั ก งานอยู ที่ เ มื อ งดาวอส (Davos) ประเทศสวิ ต เซอร แ ลนด ได ทํ า การตรวจสอบ
สเกลความเขมรังสีอาทิตย AS1905 และ SS1913 พบวาสเกลทั้งสองยังมีความคลาดเคลื่อน
จึงไดกําหนดสเกลความเขมรังสีอาทิตยขึ้นใหมซึ่งมีชื่อเรียกวาสเกลรังสีอาทิตยนานาชาติ 1956

327
328

(International Pyrheliometric Scale 1956) หรือมีชื่อยอวา IPS1956 โดยคาความเขมรังสีอาทิตย


ที่ใชสเกล AS1905 และ SS1913 ตองแปลงใหอยูในสเกล IPS1956 โดยใชสูตรตอไปนี้

IPS1956=1.015×AS1905 (9.3)
IPS1956=0.98×SS1913 (9.4)

ตอมาในชวงปลายทศวรรษที่ 1960 ไดมีการพัฒนาเครื่องวัดรังสีตรงสัมบูรณแบบ


แอคตีฟแควิตีที่สามารถวัดรังสีอาทิตยไดละเอียดถูกตองมากกวาเครื่องวัดในอดีต ศูนยรังสีโลก
(World Radiation Center, WRC) ซึ่งตั้งอยูที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอรแลนด จึงไดทําการ
เปรียบเทียบผลการวัดรังสีอาทิตยโดยใชสเกล IPS1956 กับผลการวัดจากเครื่องวัดแบบแอคตีฟ-
แควิตีที่พัฒนาขึ้ นมาใหม โดยพบวาผลการวั ดโดยใชสเกล IPS1956 มีคาต่ํากวาผลการวัดดว ย
เครื่องวัดแบบแอคตีฟแควิตี 2.2% ดังนั้นศูนยรังสีโลกจึงไดประกาศใหใชสเกลการวัดรังสี
อาทิตยที่พัฒนาขึ้นใหมเปนมาตรฐานการวัดรังสีของโลก (World Radiometric Reference, WRR)
โดยคารังสีอาทิตยที่วัดในสเกล IPS1956 จะตองแปลงใหเปนคาในสเกลมาตรฐานดวยสูตร

WRR=1.022×IPS1956 (9.5)

สเกลดั ง กล า วเริ่ ม ใช กั น มาตั้ ง แต ป ค.ศ. 1970 จนถึ ง ป จ จุ บั น โดยศู น ย รั ง สี โ ลก
ไดเ ก็ บรั ก ษาเครื่ องวั ด รั ง สี อ าทิตยม าตรฐานไวที่สํานักงานของศู น ย เมื อ งดาวอส ประเทศ
สวิตเซอรแลนด

9.7 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีอาทิตย
9.7.1 เครื่องวัดรังสีอาทิตยมาตรฐานโลก
เครื่องวัดดังกลาวเก็บไวที่ศูนยรังสีโลก เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอรแลนด โดย
ประกอบดวยเครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณจํานวน 6 เครื่อง (รูปที่ 9.18) ซึ่งสรางดวยเทคนิค
แตกตา งกั น และค า รั ง สี ม าตรฐานจะเปน ค า เฉลี่ ย ของความเขม รัง สี ต รงที่ ไ ด จ ากเครื่อ งวั ด
ดังกลาว ในการวัดรังสีอาทิตยที่ไดมาตรฐาน เครื่องวัดที่ใชตองผานการสอบเทียบกับเครื่องวัด

328
329

มาตรฐานในระดั บ ต า งๆ โดยค า สภาพตอบสนองของเครื่ อ งวั ด ต อ งสามารถสื บ สาว


(traceability) ขึ้นไปถึงเครื่องวัดรังสีอาทิตยมาตรฐานโลก

รูปที่ 9.18 เครื่องวัดรังสีมาตรฐานโลกของศูนยรังสีโลกที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอรแลนด

9.7.2 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิกับเครื่องวัดรังสีมาตรฐานโลก
ทุกๆ 5 ป ศูนยรังสีโลกจะจัดการสอบเทียบนานาชาติโดยเชิญชวนใหหนวยงานที่ทํา
หนาที่รักษามาตรฐานรังสีอาทิตยของประเทศตางๆ นําเครื่องวัดรังสีอาทิตยของตนไปทําการ
สอบเทียบที่ศูนยรังสีโลก โดยทั่วไปเครื่องวัดรังสีตรงที่นําไปสอบเทียบกับเครื่องวัดมาตรฐาน
ของศูนยรังสีโลกจะเปนเครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณ ซึ่งจะใชเปนเครื่องวัดมาตรฐานปฐมภูมิ
ถึงแมวาเครื่องวัดดังกลาวจะใหคาความเขมรังสีอาทิตยดวยตัวเองได แตก็จําเปนตองตรวจสอบ
คาที่วัดไดและปรับใหตรงกับคาจากเครื่องวัดมาตรฐานของโลก โดยในการสอบเทียบผูที่
ตองการสอบเทียบจะตองนําเครื่องวัดของตนไปทําการวัดรังสีตรงของดวงอาทิตยพรอมกับ
เครื่องวัดมาตรฐานโลกของศูนยรังสีโลก ตามกระบวนการที่ศูนยรังสีโลกกําหนด (รูปที่ 9.19
และ 9.20) จากนั้นศูนยรังสีโลกจะออกใบรับรองการสอบเทียบให

329
330

รู ป ที่ 9.19 เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงจากประเทศต า งๆ ที่ อ ยู ร ะหว า งการสอบเที ย บกั บ เครื่ อ งวั ด
มาตรฐานโลกที่ศูนยรังสีโลก ในการสอบเทียบนานาชาติ เมื่อป ค.ศ. 2010

รูปที่ 9.20 เครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณของศูนยสอบเทียบเครื่องวัดรังสีอาทิตย มหาวิทยาลัย


ศิลปากร ซึ่งนําไปสอบเทียบที่ศูนยรังสีโลก เมื่อป ค.ศ. 2010

330
331

9.7.3 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงกับเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิ
เครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิซึ่งไดรับการสอบเทียบกับเครื่องวัดรังสีมาตฐาน
โลกแลว โดยทั่วไปจะเก็บรักษาไวที่หนวยงานดานมาตรฐานของประเทศ จากนั้นจะทําการ
ถายทอดแฟคเตอรของการสอบเทียบไปสูเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง (reference pyrheliometer)
เพื่อนําไปใชเปนเครื่องวัดอางอิงสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดที่ใชงานในภาคสนาม โดยเครื่องวัด
อางอิงควรเปนเครื่องวัดในลําดับชั้น 1
ในการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงกับเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิ เราจะ
นําเครื่องวัดทั้งสองติดตั้งบนอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย (รูปที่ 9.21) และให
เครื่องวัดดังกลาววัดรังสีตรงของดวงอาทิตยพรอมกัน แลวทําการบันทึกคาศักยไฟฟาจาก
เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงอ า งอิ ง ( Vn , ref ) และทํ า การอ า นค า รั ง สี ต รงที่ ไ ด จ ากเครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รง
มาตรฐานปฐมภูมิ ( In ,ST ) จากนั้นจะคํานวณคาสภาพตอบสนอง (responsivity, R n ,ref ) ของ
เครื่องวัดรังสีตรงอางอิง โดยใชสมการ

Vn , ref
R n , ref 
I
(9.6)
n ,ST

เมื่อ Vn , ref คือ ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีตรงที่จะใชเปนเครื่องวัดอางอิง


(โวลต)
I
n ,ST คือ ความเขมรังสีตรงที่ไดจากเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิ
(วัตตตอตารางเมตร)
R n , ref คือ สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีตรงที่จะใชเปนเครื่องวัด
อางอิง (โวลตตอวัตตตอตารางเมตร)

331
332

เครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิที่ไดรับ
การสอบเทียบกับมาตรฐานโลกแลว
เครื่องวัดรังสีตรงอางอิง

รูปที่ 9.21 การติดตั้งอุปกรณสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงที่ศูนยสอบเทียบ


เครื่องวัดรังสีอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

9.7.4 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชงานภาคสนามกับเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง
(ISO, 1990b)
โดยทั่ ว ไป เราจะไม นํ า เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงมาตรฐานปฐมภู มิ ที่ ผ า นการสอบเที ย บ
มาตรฐานโลกแลวไปเปนมาตรฐานในการสอบเครื่องวัดรังสีตรงภาคสนาม ทั้งนี้เพราะอาจทํา
ใหเครื่องวัดรังสีอาทิตยมาตรฐานเสื่อมสภาพ ในทางปฏิบัติเราจะนําเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงที่
ผานการสอบเทียบกับเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิแลวไปใชอางอิงแทน โดยการสอบ
เทียบเราจะติดตั้งเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงและเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชงานภาคสนามบนอุปกรณ
ติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย (รูปที่ 9.22) จากนั้นจะใหเครื่องวัดทั้งสองรับรังสีอาทิตย
พรอมกัน และบันทึกคาศักยไฟฟาจากเครื่องวัดทั้งสอง แลวนําไปหาคาสภาพตอบสนองของ
เครื่องวัดรังสีตรงภาคสนามจากสมการ

332
333

Vn ,field
R n ,field 
I
(9.7)
n , ref

เมื่อ R n ,field คือ สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชงานภาคสนาม


(โวลตตอวัตตตอตารางเมตร)
I
n , ref คือ ความเขมรังสีตรงที่วัดไดจากเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง (วัตตตอ
ตารางเมตร)
Vn ,field คือ ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชงานภาคสนาม (โวลต)

เครื่องวัดรังสีตรงอางอิง เครื่องวัดรังสีตรงที่ใชงานภาคสนาม

รูปที่ 9.22 การติดตั้งอุปกรณสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรงภาคสนามที่ศูนยสอบเทียบ


เครื่องวัดรังสีอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

9.7.5 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมกับเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง
โดยทั่วไปการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมจะตองเทียบกับเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง โดย
องคการมาตรฐานสากล (ISO, 1993) ไดกําหนดวิธีการสอบเทียบไว 2 วิธีดังนี้

333
334

ก. การสอบเทียบแบบสลับกันบังและไมบังรังสีอาทิตยที่ตกกระทบเครื่องวัดรังสีรวม
(alternating sun-and-shade method) ในการสอบเที ย บแบบนี้ จ ะติ ด ตั้ ง เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รง
อ า งอิ ง และเครื่ อ งวั ด รั ง สี ร วมที่ ต อ งการสอบเที ย บบนอุ ป กรณ ติ ด ตามการเคลื่ อ นที่ ข อง
ดวงอาทิตยโดยใหเครื่องวัดรังสีรวมอยูบนระนาบในแนวระดับ และจะติดตั้งแผนหรือลูกบอล
บังรังสี เพื่อบังรังสีตรงที่จะตกกระทบเครื่องวัดรังสีรวมในชวงเวลาที่ตองการ (รูปที่ 9.23) โดย
เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงที่ ใ ช เ ป น มาตรฐานอ า งอิ ง ต อ งผ า นการสอบเที ย บกั บ เครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รง
มาตรฐานปฐมภูมิมาแลว ตามวิธีการในหัวขอ 9.7.3

เครื่องวัดรังสีตรงที่ใชเปน เครื่องวัดรังสีรวมที่ แผนบังรังสี อุปกรณติดตามการ


มาตรฐานอางอิง ตองการสอบเทียบ เคลื่อนที่ของดวงอาทิตย

รูปที่ 9.23 การติดตั้งอุปกรณสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมแบบสลับกันบังและไมบัง


รังสีอาทิตยโดยใชเครื่องวัดรังสีตรงเปนมาตรฐานอางอิงที่ศูนยสอบเทียบเครื่องวัด
รังสีอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ในการสอบเทียบดังกลาว เราจะใหเครื่องวัดรังสีตรงและเครื่องวัดรังสีรวมรับรังสี
อาทิตยพรอมกันและหมุนแผนบังรังสีตรงใหบังและไมบังเครื่องวัดรังสีรวมสลับไปมา โดย
ขณะที่เครื่องวัดรังสีรวมถูกบังเครื่องวัดรังสีรวมจะวัดเฉพาะรังสีกระจายซึ่งจะไดสัญญาณ
ศัก ยไฟฟ า Vd และขณะที่ ไ ม ถูก บัง เครื่ อ งจะวัด รัง สีรวมซึ่ ง จะได ศัก ยไ ฟฟ า Vg ผลตางของ

334
335

ศักยไฟฟา (Vg - Vd) จะเปนคาศักยไฟฟาที่เกิดจากรังสีตรงซึ่งไดจากเครื่องวัดรังสีรวมดังกลาว


ในขณะเดียวกันเราจะบันทึกศักยไฟฟาของเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชเปนมาตรฐานอางอิงและ
แปลงใหเปนคาความเขมรังสีตรง ( In ,ref ) โดยใชคาสภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีตรง
ดังกลาว เนื่องจากรังสีตรงที่ไดอยูในระนาบตั้งฉากกับรังสี ดังนั้นจึงตองแปลงใหอยูในระนาบ
ในแนวระดับโดยคูณดวยโคซายนของมุมเซนิธของดวงอาทิตย จากนั้นจะทําการคํานวณคา
สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีรวม (Rg) จากสมการ

Vg  Vd
Rg   (9.8)
I n , ref cos  z

เมื่อ Rg คือ สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบ (โวลตตอวัตต


ตอตารางเมตร)
Vg คือ ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบขณะที่ไมถูกบัง
(โวลต)
Vd คือ ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบขณะที่ถูกบัง
(โวลต)
I
n , ref คือ คาความเขมรังสีตรงที่ไดจากเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชเปนมาตรฐานอางอิง
(วัตตตอตารางเมตร)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

ข. การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมแบบตอเนื่อง ในการสอบเทียบแบบนี้จะติดตั้ง
เครื่องวัดรังสีรวม 2 เครื่องบนระนาบในแนวระดับ โดยเครื่องหนึ่งเปนเครื่องที่เราตองการสอบ
เทียบ สวนอีกเครื่องหนึ่งจะเปนเครื่องที่ไดรับการสอบเทียบกับเครื่องวัดรังสีตรงตามวิธีใน
ขอ ก มาแล ว และมีแ ผ นหรื อลูก บอลบั งรั งสีตรงบั งอยูตลอดเวลา นอกจากนี้ จะตองติ ด ตั้ ง
เครื่องวัดรังสีตรงที่จะใชเปนมาตรฐานอางอิงบนอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย
(รูปที่ 9.24) ในการสอบเทียบจะใหเครื่องวัดรังสีอาทิตยทั้ง 3 เครื่องวัดรังสีอาทิตยพรอมกัน
จากนั้ น จะบั น ทึ ก ค า ศั ก ย ไ ฟฟ า ที่ ไ ด จ ากเครื่ อ งวั ด ทั้ ง 3 เครื่ อ ง แล ว จะนํ า ค า ศั ก ย ไ ฟฟ า จาก

335
336

เครื่องวัดรังสีตรงไปคํานวณเปนคาความเขมรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี
( In,ref ) และแปลงใหเปนคาบนระนาบในแนวระดับโดยการคูณดวยโคซายนของมุมเซนิธของ
ดวงอาทิตย ซึ่งจะไดเทากับ I n ,ref cos z พรอมทั้งใชคาศักยไฟฟาของเครื่องวัดรังสีรวมที่มี
แผนหรือลูกบอลบังรังสีเพื่อแปลงเปนคาความเขมรังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับ Id
เครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบ
เครื่องวัดรังสีรวมที่ไดรับการสอบเทียบแลว เครื่องวัดรังสีตรงอางอิง
ซึ่งถูกลูกบอลบังรังสีตรง ลูกบอลที่ใชบังรังสีตรง

รูปที่ 9.24 การติดตั้งอุปกรณสําหรับสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมแบบตอเนื่องที่ศูนยสอบเทียบ


เครื่องวัดรังสีอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลบวกของรังสีตรงกับรังสีกระจาย ( I n ,ref cos z + I d ) จะเปนคารังสีรวมบนระนาบ


ในแนวระดับ ในขั้นตอนสุดทายจะหารคาศักยไฟฟาจากเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบ
( Vgh ) ดวยคารังสีรวม ( I n ,ref cos z + I d ) ผลที่ไดจะเปนคาสภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสี
รวมที่ตองการสอบเทียบหรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้

336
337

Vgh
Rg   (9.9)
I n , ref cos z  I d

เมื่อ Rg คือ สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบ (โวลตตอ


วัตตตอตารางเมตร)
Vgh คือ ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบซึ่งวางอยูบน
ระนาบในแนวระดับ (โวลต)
I
n , ref คือ คาความเขมรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีที่ไดจาก
เครื่องวัดรังสีตรงอางอิง (วัตตตอตารางเมตร)
I
d คือ คาความเขมรังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับที่ไดจากเครื่องวัดรังสี
รวมที่มีแผนบังรังสีตรง (วัตตตอตารางเมตร)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

9.7.6 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมที่ใชงานภาคสนาม ในการใชงานเครื่องวัดรังสีรวมที่


ติดตั้งในภาคสนามหรือตามสถานีวัดตางๆ เครื่องวัดจะมีการเสื่อมสภาพไปตามอายุการใชงาน
โดยคาสภาพตอบสนองจะมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจําเปนตองทําการสอบเทียบเพื่อใหทราบ
สภาพตอบสนองลาสุดอยางนอยปละ 1 ครั้ง เนื่องจากการนําเครื่องวัดรังสีรวมภาคสนามซึ่งติด
ตั้งอยูตามบริเวณตางๆ ของประเทศกลับมายังหนวยงานสอบเทียบเพื่อสอบเทียบกับเครื่องวัด
รังสีตรงอางอิง จะทําใหขอมูลขาดหายไปในชวงที่นําเครื่องวัดมาสอบเทียบ ดังนั้นองคการ
มาตรฐานสากลจึงไดกําหนดวิธีสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมภาคสนามขึ้นตามมาตรฐาน ISO
9847 (ISO, 1992)
ตามมาตรฐานดังกลาว เราจะนําเครื่องวัดรังสีรวมอางอิง (reference pyranometer) ที่มี
ลําดับชั้นเทากับหรือสูงกวาเครื่องวัดรังสีรวมภาคสนามและผานการสอบเทียบกับเครื่องวัดรังสี
ตรงมาตรฐานตามวิธีการในหัวขอ 9.7.5 มาแลว โดยจะติดตั้งเครื่องวัดอางอิงและเครื่องวัด
ภาคสนามใกลกันและใหอยูในระดับเดียวกัน แลวทําการวัดรังสีรวมพรอมกัน (รูปที่ 9.25)
จากนั้นบันทึกคาศักยไฟฟาจากเครื่องวัดทั้งสอง เพื่อนํามาคํานวณคาสภาพตอบสนองของ
เครื่องวัดรังสีรวมภาคสนาม ตามสมการ

337
338

Vg ,field
Rg 
I
(9.10)
g , ref

เมื่อ Rg คือ สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบ (โวลตตอ


วัตตตอตารางเมตร)
g , ref คือ ความเขมรังสีรวมซึ่งวัดไดจากเครื่องวัดรังสีรวมอางอิง (วัตตตอตาราง
I

เมตร)
Vg,field คือ ศักยไฟฟาจากเครื่องวัดรังสีรวมภาคสนามที่ตองการสอบเทียบ (โวลต)

เครื่องวัดรังสีรวม
เครื่องวัดรังสีรวม ที่ใชงานภาคสนาม
อางอิง

รูปที่ 9.25 การติดตั้งอุปกรณในการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมภาคสนามที่สถานีอุบลราชธานี

9.7.7 การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมในหองปฏิบัติการ
เนื่องจากการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมโดยใชรังสีอาทิตยจริงนอกอาคาร บางครั้ง
สภาพอากาศไมอํานวย เชน ทองฟามีเมฆปกคลุมมาก หรือฝนตก จึงไมสามารถดําเนินการ

338
339

สอบเทียบได ดังนั้นบริษัทคิปปแอนดโซเนนซจึงไดพัฒนาอุปกรณสําหรับสอบเทียบเครื่องวัด
รังสีรวมในอาคาร อุปกรณดังกลาวประกอบดวยแหลงกําเนิดรังสีอาทิตยเทียม (artificial solar
radiation source) แหลงจายไฟแบบเสถียร (stabilized power supply) และโตะสอบเทียบ (รูปที่
9.26) โดยแหลงกําเนิดรังสีอาทิตยเทียมจะใชกระแสไฟฟาจากแหลงจายไฟฟาแบบเสถียร และ
ใหกําเนิดรังสีอาทิตยเทียมซึ่งมีสเปกตรัมคลายกับรังสีอาทิตยจริง ในการสอบเทียบเราจะวาง
เครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบและเครื่องวัดรังสีรวมอางอิง ซึ่งมีลําดับชั้นเทากับหรือสูง
กวาเครื่องวัด รังสี รวมที่ ตองการสอบเทีย บ และผานการสอบเที ย บตามวิธีการในขอ 9.7.5
มาแล ว โดยวางเครื่ องวั ด ทั้ ง สองบนโต ะ สอบเทีย บ และปล อ ยให รับรั ง สี อ าทิ ต ย เ ทีย มจาก
แหลงกําเนิดรังสีอาทิตยเทียมพรอมกัน แลวบันทึกคาศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมทั้ง
สองเครื่อง จากนั้นนําคาที่ไดมาคํานวณหาสภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการ
สอบเทียบ โดยใชวิธีการเดียวกับการสอบเทียบนอกอาคารในหัวขอ 9.7.6

รูปที่ 9.26 อุปกรณสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมในอาคาร ซึ่งผลิตโดย บริษัทคิปปแอนดโซเนนซ


ของศูนยสอบเทียบเครื่องวัดรังสีอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

339
340

9.8 การบันทึกขอมูลรังสีอาทิตย
โดยทั่วไปเครื่องวัดรังสีอาทิตยจะใหสัญญาณออกมาในรูปศักยไฟฟา ซึ่งจําเปนตองมี
อุปกรณบันทึกสัญญาณไฟฟาที่ได โดยเครื่องบันทึกสัญญาณแบบตางๆ มีดังนี้
1) เครื่องอินทิเกรเตอร (integrater) เครื่องมือดังกลาว (รูปที่ 9.27) จะรับสัญญาณ
ศักยไฟฟาจากเครื่องวัดรังสีอาทิตยและแปลงใหเปนความเขมรังสีอาทิตยโดยการหารดวยคา
สภาพตอบสนองของเครื่องวัดซึ่งเราจะตองปอนคาใหกับเครื่องอินทิเกรเตอร จากนั้นเครื่อง
อินทิเกรเตอรจะทําการอินทิเกรตคาพลังงานของรังสีอาทิตยตามชวงเวลาที่ตองการ เชน ในชวง
เวลา 1 ชั่วโมง ซึ่งจะไดรังสีรายชั่วโมงในหนวยจูลตอตารางเมตร แลวจะทําการพิมพคาออกมา
หรือสงตอคาที่ไดเขาคอมพิวเตอรที่ตอพวงกับเครื่องอินทิเกรเตอร

รูปที่ 9.27 เครื่องอินทิเกรเตอรของบริษัทคิปปแอนดโซเนนซ (รุน CC14)

2) เครื่องบันทึกสัญญาณบนกระดาษกราฟ (chart recorder) เครื่องบันทึกสัญญาณ


แบบนี้ (รูปที่ 9.28) จะบัน ทึกคา ศักยไฟฟาจากเครื่องวั ดรังสีอาทิต ยลงบนกระดาษกราฟที่
เคลื่อนที่ซึ่งเราสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงตามเวลาของความเขมรังสีอาทิตยในรอบวันได
กราฟที่ ไ ด นี้ จ ะต อ งนํ า มาอ า นค า ศั ก ย ไ ฟฟ า ที่ ข ณะเวลาใดๆ แล ว นํ า มาหารด ว ยค า สภาพ
ตอบสนองของเครื่องวัด ซึ่งจะไดคาความเขมรังสีในขณะนั้นๆ ในหนวยวัตตตอตารางเมตร
นอกจากนี้ยังสามารถวัดพื้นที่ใตกราฟในชวงเวลา 1 ชั่วโมงโดยใชเครื่องหาพื้นที่แลวแปลงเปน
คาพลังงานของรังสีอาทิตยซึ่งจะทําใหไดคารังสีอาทิตยรายชั่วโมงในหนวยจูลตอตารางเมตร

340
341

ถานําคาดังกลาวมารวมกันทั้งวันก็จะไดคารังสีรายวัน ในปจจุบันมีบริษัทผลิตเครื่องบันทึก
สัญญาณลักษณะเดียวกันกับเครื่องบันทึกสัญญาณบนกระดาษกราฟ แตจะแสดงภาพของกราฟ
บนจอโดยไมตองใชกระดาษกราฟซึ่งจะชวยประหยัดคาใชจายในการจัดหากระดาษกราฟ และ
หมึกสําหรับบันทึกขอมูล

รูปที่ 9.28 เครื่องบันทึกสัญญาณบนกระดาษกราฟของบริษัทโยโกกาวา (Yokogawa)

3) เครื่องบันทึกขอมูลเชิงตัวเลข (data logger) เครื่องบันทึกขอมูลแบบนี้ (รูปที่ 9.29)


จะรับสัญญาณศักยไฟฟาจากเครื่องวัดรังสีอาทิตยซึ่งเปนสัญญาณอนาลอก (analog) แลวทําการ
แปลงใหเปนสัญญาณดิจิตอล (digital) จากนั้นจะบันทึกสัญญาณลงในหนวยความจําทันทีหรือ
ทําการเฉลี่ยสัญญาณกอนแลวจึงทําการบันทึกคาเฉลี่ย ผูใชสามารถตั้งโปรแกรมใหเครื่องรับ
สัญญาณในอัตราที่ตองการได เชน รับสัญญาณทุกๆ 1 วินาที เปนตน สัญญาณที่บันทึกใน
หนวยความจําของเครื่องสามารถถายโอนเขาไปยังแผนดิสก หรือเขาสูคอมพิวเตอรได

341
342

รูปที่ 9.29 เครื่องบันทึกขอมูลเชิงตัวเลขของบริษัทโยโกกาวา (รุน DC100)

4) การบันทึกขอมูลผานเครือขายอินเตอรเน็ต
ปจจุบันเครือขายอินเตอรเน็ตครอบคลุมพื้นที่ทางเศรษฐกิจสวนใหญของโลก
เครือขายดังกลาวสามารถสงผานขอมูลดิจิตอลจากคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปสูอีกเครื่องหนึ่งที่
อยูในเครือขายได ดังนั้นเราจึงสามารถสงขอมูลรังสีอาทิตยจากสถานีวัดไปยังศูนยขอมูลรังสี
อาทิตย โดยผานเครือขายอินเตอรเน็ต และทําการบันทึกขอมูลลงในฮารดดิส (harddisk) ของ
คอมพิวเตอรที่ศูนยฯ ได (รูปที่ 9.30)

เครือขายอินเตอรเน็ต
เครื่องวัดรังสีอาทิตย

คอมพิวเตอรทสี่ ถานีวัดที่ คอมพิวเตอรทศี่ ูนยขอมูล


มีโปรแกรมรับสงขอมูล รังสีอาทิตย ซึ่งมี
อุปกรณแปลงสัญญาณ
โปรแกรมรับสงขอมูล
รูปที่ 9.30 แผนภูมิแสดงการสงขอมูลรังสีอาทิตยจากสถานีวัดผานเครือขายอินเตอรเน็ตไปยัง
ศูนยขอมูลรังสีอาทิตย

342
343

9.9 การควบคุมคุณภาพขอมูล
ถึงแมวาในการวัดความเขมรังสีอาทิตยจะใชเครื่องมือวัดที่มีสมรรถนะสูง แตขอมูลที่
ได อ าจมี ค วามผิ ด ปกติ ห รื อ มี ค วามคลาดเคลื่ อ นทั้ ง จากการวั ด หรื อ จากการแปลงข อ มู ล
ตัวอยางเชน การวัดรังสีกระจายโดยใชวงแหวนบังรังสีตรง ผูดูแลเครื่องวัดอาจละเลยมิไดปรับ
วงแหวนเปนเวลาหลายวันทําใหมีรังสีตรงรอดวงแหวนไปตกกระทบตัวรับรังสีของเครื่องวัด
ซึ่งทําใหผลการวัดผิดพลาด หรือกรณีการวัดรังสีตรงที่อุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ของดวง
อาทิตยขัดของ ทําใหเครื่องวัดไมชี้ไปยังดวงอาทิตยซึ่งจะทําใหผลการวัดผิดพลาด เปนตน
ดังนั้นกอนนําขอมูลรังสีอาทิตยไปใชงาน จึงจําเปนตองทําการควบคุมคุณภาพของขอมูลดวย
วิธีการตางๆ ดังนี้
1) การเปรียบเทียบกับขอมูลความเขมรังสีอาทิตยสูงสุดที่เปนไปได ความเขมรังสี
อาทิตยจะมีคาสูงสุดที่เปนไปไดโดยเราสามารถใชคาดังกลาวมาเปนเกณฑในการตรวจสอบ
ขอมูลรังสีอาทิตย ตัวอยางเชน คาความเขมรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีตองมี
คานอยกวารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก หรือ
I  I
n 0n (9.12)
เมื่อ I
n คือ ความเขมรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I คือ ความเขมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศของรังสี
0n

(วัตตตอตารางเมตร)

ในกรณีที่มีการวัดรังสีรวมและรังสีกระจายพรอมกัน เราสามารถเปรียบเทียบคารังสีทั้ง
สองเพื่ อตรวจสอบความผิ ด ปกติของขอมูลได โดยขอมูลที่ยอมรับได คือ คาความเขมรัง สี
กระจายจะตองนอยกวาหรือเทากับรังสีรวม ทั้งนี้เพราะในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ รังสีรวม
จะมีคามากกวารังสีกระจาย และในขณะที่ทองฟามีเมฆปกคลุมทั้งหมด รังสีรวมจะเทากับรังสี
กระจาย เงื่อนไขดังกลาวสามารถเขียนในรูปทั่วไปไดดังนี้
I  I
d (9.13)
เมื่อ I
d คือ ความเขมรังสีกระจาย (วัตตตอตารางเมตร)
I คือ ความเขมรังสีรวม (วัตตตอตารางเมตร)

343
344

2) การเปรียบเทียบขอมูลความเขมรังสีอาทิตยที่ไดจากการวัดกับความเขมรังสีอาทิตย
ที่ไดจากการคํานวณในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ เนื่องจากในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ เรา
สามารถคํานวณความเขมรังสีรวม รังสีตรง และรังสีกระจายได ดังนั้นเราจึงสามารถใชคา
ดังกลาวเปนคาอางอิงในการตรวจสอบความละเอียดถูกตองของขอมูลรังสีรวม รังสีตรง และ
รังสีกระจายจากการวัดในชวงที่ทองฟาปราศจากเมฆได โดยขอมูลที่ไดจากการวัดที่ถูกตอง
ควรมีคาใกลเคียงกับคาจากการคํานวณโดยใชแบบจําลอง

3) การใชขอบเขตของความสัมพันธระหวางองคประกอบตางๆ ของรังสีอาทิตยเปน
กรอบอางอิง ตามที่กลาวไปแลววารังสีรวมประกอบดวยรังสีตรงและรังสีกระจาย รังสีเหลานี้มี
ความสัมพันธกันในทางสถิติ ตัวอยางเชน ถานําอัตราสวนระหวางรังสีรวมรายชั่วโมงตอรังสี
นอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมง ( I / I0 ) มาเขียนกราฟกับอัตราสวนของรังสีกระจายรายชั่วโมง
ตอรังสีรวมรายชั่วโมง ( Id / I ) จะไดกราฟตามตัวอยางในรูปที่ 9.31

รู ป ที่ 9.31 กราฟแสดงความสั ม พั น ธ ร ะหว า งอั ต ราส ว นรั ง สี ร วมรายชั่ ว โมงต อ รั ง สี น อก


บรรยากาศโลกรายชั่วโมง (I I0 ) กับอัตราสวนระหวางรังสีกระจายรายชั่วโมงตอ
รังสีรวมรายชั่วโมง (Id I) จากขอมูลที่ไดจากการวัดที่สถานีสงขลา

จากรู ป ที่ 9.31 จะเห็ น ว า ถึ ง แม จุ ด กราฟจะกระจายแต จ ะมองเห็ น แนวโน ม ของ


ความสัมพันธระหวาง (Id I) กับ (I I0 ) ถาเราแบงคา (I I0 ) ออกเปนชวงๆ ละ 0.05 และหา

344
345

คาเฉลี่ย ( I / I0 ) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation,  ) จากนั้นเขียนกราฟ


ระหวาง I / I0  2 กับ Id / I จะไดเปนกราฟแสดงขอบเขตบนและลางของขอมูล (รูปที่ 9.31)
ขอมูลที่อยูนอกขอบเขตดังกลาวถือวาเปนขอมูลที่ผิดปกติ ซึ่งอาจเปนผลมาจากการปรับวง
แหวนบังรังสีตรงผิดพลาด (Younes et al., 2005)

9.10 สรุป
การวัดรังสีอาทิตยแบงตามวัตถุประสงคของการวัดไดเปน 2 ประเภท ไดแก การวัด
เฉพาะงานและการวัดระยะยาว โดยการวัดแตละประเภทอาจเปนการวัดรังสีตรง รังสีกระจาย
หรือรังสีรวม ทั้งนี้ขึ้นกับความตองการขอมูลของผูใช การวัดรังสีแตละชนิดจะมีเครื่องมือวัด
หลายแบบ โดยเครื่องวัดรังสีรวมจะมีเครื่องวัดแบบโรบิตซ เครื่องวัดแบบโฟโตโวตาอิค และ
เครื่องวัดแบบเทอรโมไพล กรณีของเครื่องวัดรังสีกระจายจะแบงไดเปนเครื่องวัดที่ใชวงแหวน
บังรังสีตรง และเครื่องวัดที่ใชลูกบอลบังรังสีตรง ในดานของเครื่องวัดรังสีตรงจะแบงไดเปน
เครื่องวัดแบบสัมบูรณและเครื่องวัดภาคสนาม ในการใชงานเครื่องวัดรังสีอาทิตยเราจําเปนตอง
ทราบสมบัติตางๆ ที่สําคัญของเครื่องวัด ไดแก สภาพตอบสนอง การตอบสนองตอสเปกตรัม
รังสีอาทิตย สภาพเชิงเสน การขึ้นตออุณหภูมิ เวลาของการตอบสนอง และการตอบสนองตอ
มุ ม ตกกระทบ เนื่ อ งจากเครื่ อ งวั ด รั ง สี อ าทิ ต ย มี ห ลายประเภท แต ล ะประเภทมี ส มรรถนะ
แตกตางกัน ดังนั้นองคการมาตรฐานสากลจึงไดจําแนกระดับชั้นของเครื่องวัด โดยเครื่องวัด
รังสีตรงจะแบงเปนเครื่องวัดมาตรฐานปฐมภูมิ เครื่องวัดมาตรฐานทุติยภูมิ เครื่องวัดชั้น 1 และ
เครื่องวัดชั้น 2 สวนเครื่องวัดรังสีรวมจะแบงไดเปนเครื่องวัดมาตรฐานทุติยภูมิ เครื่องวัดชั้น 1
และเครื่องวัดชั้น 2 โดยจะไมมีเครื่องวัดปฐมภูมิ ทั้งนี้เพราะการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวม
จะตองถายทอดสภาพตอบสนองที่อางอิงมาจากเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิของโลก ซึ่ง
เก็ บ รั ก ษาไว ที่ ศู น ย รั ง สี โ ลก ประเทศสวิ ต เซอร แ ลนด และใช ส เกลของรั ง สี อ าทิ ต ย ต ามที่
ศูนยรังสีโลกกําหนด โดยทั่วไปแตละประเทศจะมีเครื่องวัดรังสีมาตรฐานปฐมภูมิ ซึ่งไดรับการ
สอบเทีย บกั บเครื่ องวั ด รั ง สี มาตรฐานโลกแลว จากนั้น จะถายทอดสภาพตอบสนองให กั บ
เครื่องวัดอางอิง เพื่อนําไปใชอางอิงสําหรับการสอบเทียบเครื่องวัดที่ใชงานภาคสนาม สุดทาย
ไดกลาวถึงการบันทึกขอมูลรังสีอาทิตยและการควบคุมคุณภาพขอมูลรังสีอาทิตยกอนการ
นําไปใชงาน

345
346

แบบฝกหัด

1. ในการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมกับเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงโดยวางเครื่องวัดรังสีรวมที่
ตองการสอบเทียบบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีตรง จากนั้นใชวิธีสลับกันบังรังสี
ตรงที่ ต กกระทบเครื่ อ งวั ด รั ง สี ร วม จงแสดงการหาสมการสํ า หรั บ คํ า นวณค า สภาพ
ตอบสนองของรังสีรวมดังกลาว
2. การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวม โดยใชเครื่องวัดรังสีตรงเปนมาตรฐานอางอิง โดยใชวิธีให
เครื่องวัดรังสีรวมอยูกับที่บนระนาบในแนวระดับกับวิธีติดตั้งเครื่องวัดรังสีรวมบนระนาบ
ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีตรง วิธีใดจะมีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนมากกวากัน จงให
เหตุผล
3. ถาทานทําการสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวมภาคสนามโดยใชเครื่องวัดรังสีรวมอางอิงที่ไดรบั
การสอบเทียบจากเครื่องวัดรังสีตรงอางอิงเปนมาตรฐาน โดยเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง
ดั ง กล า วได รั บ การสอบเที ย บมาจากเครื่ อ งวั ด รั ง สี ต รงมาตรฐานปฐมภู มิ ข องสถาบั น
มาตรฐานการวัดแหงชาติและสถาบันดังกลาวนําเครื่องวัดนี้ไปสอบเทียบกับเครื่องวัด
มาตรฐานโลกที่ศูนยรังสีโลกเปนประจําทุกๆ 5 ป จงเขียนแผนภูมิแสดงการสืบสาวที่มา
(traceability) ของมาตรฐานการสอบเทียบของเครื่องวัดรังสีรวมภาคสนามดังกลาว
4. ถาทานไดขอมูลรังสีรวมรายชั่วโมง (I) และขอมูลรังสีกระจายรายชั่วโมง (I d ) จากสถานี
วัดแหงหนึ่งเปนเวลา 1 ป และตองการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดยการเขียน
กราฟระหวาง (I I0 ) กับ (Id I) ( I 0 คือ ความเขมรังสีนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมง) จุด
ของกราฟที่เกิดจากผูดูแลเครื่องวัดซึ่งมิไดปรับวงแหวนหลายวันจะอยูบริเวณใดในกราฟ
ดังกลาว พรอมทั้งอธิบายเหตุผล
5. ถาทานมีขอมูลความเขมรังสีตรงซึ่งวัดเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1910 ซึ่งวัดตามสเกล
AS 1905 มีคาเทากับ 2.50 เมกะจูลตอตารางเมตร จงหาคาความเขมรังสีตรงดังกลาวตาม
สเกลมาตรฐานของศูนยรังสีโลกซึ่งใชในปจจุบัน
คําตอบ 2.59 เมกะจูลตอตารางเมตร

346
347

รายการสัญลักษณ

AS1905 คารังสีอาทิตยที่ใชสเกลรังสีอาทิตยที่กําหนดจากการประชุมวิชาการนานาชาติ
ทางอุตุนิยมวิทยา เมื่อ ป ค.ศ. 1905
I ความเขมรังสีรวมบนระนาบในแนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร)
I
d ความเขมรังสีกระจาย (วัตตตอตารางเมตร)
I
d ,sky รังสีกระจายจากทองฟา (วัตตตอตารางเมตร)
I
d ,ground รังสีกระจายจากพื้นผิวโลก (วัตตตอตารางเมตร)
I
g , ref ความเขมรังสีรวมซึ่งวัดไดจากเครื่องวัดรังสีรวมอางอิง (วัตตตอตารางเมตร)
I
n ความเขมรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
n ,ST ความเขมรังสีตรงที่ไดจากเครื่องวัดรังสีตรงมาตรฐานปฐมภูมิ (วัตตตอตาราง
เมตร)
I
n , ref ความเขมรังสีตรงจากเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง (วัตตตอตารางเมตร)
IPS1956 คารังสีอาทิตยที่ใชสเกลรังสีอาทิตยที่กําหนดโดยคณะกรรมการรังสีนานาชาติ
เมื่อ ป ค.ศ. 1956
I
0n ความเขมรังสีนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศของรังสี (วัตตตอ
ตารางเมตร)
R n , field สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชงานภาคสนาม (โวลตตอวัตตตอ
ตารางเมตร)
R n , ref สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีตรงอางอิง (โวลตตอวัตตตอตารางเมตร)
Rg สภาพตอบสนองของเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบ (โวลตตอวัตตตอ
ตารางเมตร)
SS1913 คารังสีอาทิตยที่ใชสเกลรังสีอาทิตยที่กําหนดโดยสถาบันสมิทโซเนียน เมื่อ ป
ค.ศ. 1913
Vd ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมขณะที่ถูกบัง (โวลต)
Vg ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมขณะที่ไมถูกบัง (โวลต)

347
348

Vgh ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมที่ตองการสอบเทียบซึ่งวางอยูบนระนาบ
ในแนวระดับโดยวิธีตอเนื่อง (โวลต)
Vg,field ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีรวมที่ใชงานภาคสนาม (โวลต)
Vn ,field ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีตรงที่ใชงานภาคสนาม (โวลต)
Vn , ref ศักยไฟฟาที่ไดจากเครื่องวัดรังสีตรงที่จะใชเปนเครื่องวัดอางอิง (โวลต)
WRR คารังสีอาทิตยที่ใชสเกลรังสีอาทิตยที่กําหนดโดยศูนยรังสีโลก ซึ่งใชงาน
ตั้งแตป ค.ศ. 1970 จนถึงปจจุบัน

348
349

เอกสารอางอิง

เสริม จันทรฉาย, จรุงแสง ลักษณบุญสง, กรทิพย โตะสิงห, สุมามาลย บรรเทิง, มนูญ ปางพรหม,
อภิชาต พรหมดนตรี, อิสระ มะศิริ, 2545. การพัฒนาเครือขายสถานีวัดความเขมรังสี
ดวงอาทิตยสําหรับประเทศไทย, รายงาน, กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน, กรุงเทพฯ.
เสริม จันทรฉาย จรุงแสง ลักษณบุญสง, 2542. การจัดทําแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย
จากขอมูลดาวเทียม, รายงาน, กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน, กรุงเทพฯ.
Iqbal M., 1983. Introduction to Solar Radiation. Academic Press, New York.
ISO, 1993. Solar Energy: Calibration of a pyranometer using a pyrheliometer (ISO 9486).
International Organization for Standardization. Geneva, Switzerland.
ISO, 1992. Solar Energy: Calibration of field pyranometers by comparison to a reference
pyranometer (ISO 9847). International Organization for Standardization. Geneva,
Switzerland.
ISO, 1990a. Solar Energy: Specification and classification of instruments for measuring
hemispherical solar and direct solar radiation (ISO 9060). International Organization
for Standardization. Geneva, Switzerland.
ISO, 1990b. Solar Energy: Calibration of field pyrheliometers by comparison to a reference
pyrheliometer (ISO 9059). International Organization for Standardization. Geneva,
Switzerland.
Younes, S., Claywell, R. Muneer, T. 2005. Quality control of solar radiation data: Present
states and proposed new approaches. Energy 30, 1533-1549.
Gueymard, C.A., Myers, D.R., 2008. Solar radiation measurement: Progress in radiometer
for improved modeling. In V. Badescu. (Ed.) Modeling Solar Radiation at the Earth
Surface, Springer, Berlin.

349
350
บทที่ 10
การแปลงขอมูลรังสีอาทิตย

ขอมูลรังสีอาทิตยเปนขอมูลที่สําคัญตองานดานพลังงานรังสีอาทิตย งานอุตุนิยมวิทยา
และการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของโลก โดยทั่วไปขอมูลรังสีอาทิตยจะได
จากการวั ด และการคํ า นวณจากแบบจํ า ลองต า งๆ โดยข อมู ลดั ง กล า วอาจเป น ข อ มู ล รั ง สี
ตรง รังสีกระจาย และรังสีรวม ขอมูลรังสีแตละชนิดอาจเปนคาที่ขณะเวลาหนึ่ง คารายชั่วโมง
หรือรายวัน นอกจากนี้ขอมูลรังสีอาทิตยที่ไดมาอาจไมสามารถใชงานไดโดยตรง แตตองทํา
การแปลงให อ ยู ใ นรู ป ที่ ต อ งการใช ง าน ในบทนี้ จ ะกล า วถึ ง แหล ง ข อ มู ล และการแปลง
ขอมูลรังสีอาทิตย

10.1 แหลงขอมูลรังสีอาทิตย
ขอมูลรังสีอาทิตยอาจไดจากการวัดหรือการคํานวณโดยใชแบบจําลอง โดยขอมูลจาก
การวัดจะไดจากสถานีวัดรังสีอาทิตยหรือจากผูที่ทําการวัดรังสีอาทิตยเพื่อใชงานเฉพาะกิจ
ขอมูลดังกลาวจะเปนคารังสีอาทิตย ณ จุดที่ทําการวัด สําหรับขอมูลจากแบบจําลอง ถาเปน
แบบจําลองสําหรับหาคารังสีอาทิตยจากขอมูลอุตุนิยมวิทยาก็จะเปนคารังสีอาทิตย ณ จุดที่วัด
คาตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยาที่นํามาใชในแบบจําลอง แตถาเปนแบบจําลองที่หาคารังสีอาทิตย
จากขอมูลภาพถายดาวเทียม ขอมูลที่ไดจะครอบคลุมพื้นที่ตามขนาดของภาพถายดาวเทียม
โดยทั่วไปจะถือวาขอมูลรังสีอาทิตยที่ไดจากการวัดเปนขอมูลปฐมภูมิ (primary data) และ
ขอมูลจากการคํานวณดวยแบบจําลองเปนขอมูลทุติยภูมิ (secondary data) (Gueymard and
Myers, 2008) เราสามารถแบงแหลงที่มาของขอมูลรังสีอาทิตยไดดังแผนภูมิในรูปที่ 10.1

351
352

ขอมูลรังสีอาทิตย
ขอมูลปฐมภูมิ ขอมูลทุติยภูมิ

ขอมูลรังสีอาทิตยจาก ขอมูลรังสีอาทิตยจากการ ขอมูลรังสีอาทิตยจาก


สถานีวัดตางๆ หรือจาก คํานวณโดยใชขอมูล การคํานวณโดยใช
การวัดเฉพาะกิจ ภาพถายดาวเทียม ขอมูลอุตุนิยมวิทยา

รูปที่ 10.1 แผนภูมิแสดงประเภทและแหลงที่มาของขอมูลรังสีอาทิตย

โดยทั่วไปเราจะพิจารณาเลือกใชขอมูลปฐมภูมิกอน ถาขอมูลนั้นมีความละเอียดถูกตอง
เชื่อถือได โดยพิจารณาจากที่มาของขอมูล เชน สมรรถนะของเครื่องวัด การบันทึกขอมูล และ
การสอบเทียบเครื่องวัด กรณีที่ไมสามารถหาขอมูลปฐมภูมิดังกลาวไดก็จะเลือกใชขอมูลทุติยภูมิ
ซึ่งไดจากแบบจําลองที่เชื่อถือไดและมีการทดสอบความละเอียดถูกตองของผลลัพธที่ไดตาม
หลักวิชาการ ในการใชขอมูลทั้งสองประเภทเราควรทราบความคลาดเคลื่อนของขอมูลกอนที่
จะนําไปใช

10.2 การแปลงคารังสีอาทิตยบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบเอียง
ขอมูลรังสีอาทิตยทั้งที่ไดจากแบบจําลองและจากการวัด สวนใหญจะเปนคาบนระนาบ
ในแนวระดั บ แต ใ นการใช ง านต า งๆ ผู ใ ช มั ก ต อ งการค า รั ง สี อ าทิ ต ย บ นระนาบเอี ย ง
ตัวอยางเชน ผูออกแบบติดตั้งเซลลสุริยะตองการทราบคารังสีอาทิตยที่ตกกระทบระนาบของ
เซลลสุริยะ ซึ่งโดยทั่วไปจะวางเอียงทํามุมกับระนาบในแนวระดับและหันหนาไปทางทิศใต
ดังนั้นผูออกแบบจะตองทําการแปลงคารังสีอาทิตยบนระนาบในแนวระดับใหเปนคารังสี
อาทิตยบนระนาบเอียง โดยการแปลงแบงไดเปน 2 กรณี ไดแก รังสีรายชั่วโมง และรังสี
รายวันเฉลี่ยตอเดือน แตละกรณีมีรายละเอียด ดังนี้

352
353

10.2.1 รังสีรายชั่วโมง
ถา มี ร ะนาบเอี ย งซึ่ง ทํา มุม  กั บ ระนาบในแนวระดับ (รูปที่ 10.2) รั ง สีอาทิตย ที่
ระนาบเอียงไดรับจะประกอบดวยรังสีตรง รังสีกระจายจากทองฟา และรังสีกระจายจาก
พื้นผิวโลก หรือเขียนความสัมพันธไดดังสมการ (10.1)

รังสีตรง
รังสีกระจายจากทองฟา

ระนาบเอียง


ระนาบในแนวระดับ
รังสีกระจายจากพื้นผิวโลก

รูปที่ 10.2 รังสีอาทิตยที่ระนาบเอียงไดรับ

I T  I b  IdT ,g  I dT ,s (10.1)

เมื่อ IT คือ รังสีรวมรายชั่วโมงบนระนาบเอียง (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)


I b คือ รังสีตรงรายชั่วโมงบนระนาบเอียง (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I dT , g คือ รังสีกระจายรายชั่วโมงที่กระเจิงมาจากพื้นผิวโลก (จูลตอตาราง
เมตรตอชั่วโมง)
IdT,s คือ รังสีกระจายรายชั่วโมงที่มาจากทองฟา (จูลตอตารางเมตรตอ
ชั่วโมง)

353
354

โดยทั่วไปขอมูลรังสีอาทิตยที่มีอยู คือ ขอมูลรังสีรวมบนระนาบในแนวระดับ ในการ


แปลงรังสีดังกลาวใหเปนคาบนระนาบเอียง เราจะเริ่มจากการแยกรังสีนี้ใหเปนคารังสีตรง
และรังสีกระจาย โดยวิธีการแยกจะอธิบายในหัวขอ 10.3 จากนั้นจะทําการแปลงรังสีตรงและ
รังสีกระจายที่ ไ ดใ ห อยูบนระนาบเอีย ง แลวนํารังสี ที่แปลงไดมารวมกั บรั ง สีกระจายจาก
พื้นผิวโลก กรณีที่มีการวัดรังสีรวมและรังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับ เราจะนําคารังสี
กระจายไปลบออกจากคารังสีรวม ซึ่งจะไดรังสีตรงบนระนาบในแนวระดับ จากนั้นจะทําการ
แปลงรังสีตรงและรังสีกระจายใหเปนคาบนระนาบเอียง โดยวิธีการแปลงรังสีแตละสวน
มีดังนี้

1) รังสีตรง
ในการหาสูตรสําหรับแปลงรังสีตรงบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบ
เอียงจะเริ่มจากการพิจารณารังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับ Io ที่เดิน
ทางผานบรรยากาศ ซึ่งมีสัมประสิทธิ์การสงผาน  b และตกกระทบบนระนาบในแนวระดับ
ที่พื้นผิวโลกเทากับ Ib เราจะหาคา Ib ไดจากสมการ

I b  b Io (10.2)

โดยที่ Ib คื อ รั ง สี ต รงรายชั่ ว โมงที่ ต กกระทบบนระนาบในแนวระดั บ ที่


พื้นผิวโลก (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
Io คือ รังสี อาทิ ตย นอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบในแนว
ระดับ (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
b คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีตรงของบรรยากาศโลก (-)

ในทํานองเดียวกัน เราจะพิจารณารังสีนอกบรรยากาศที่ผานบรรยากาศโลกมา
ตกกระทบบนระนาบเอียง ซึ่งสามารถหาไดจากสมการ

I b  b Io (10.3)

เมื่อ I b คือ รังสีตรงรายชั่วโมงที่ตกกระทบระนาบเอียงที่พื้นผิวโลก (จูลตอ


ตารางเมตรตอชั่วโมง)

354
355

Io คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบเอียง (จูลตอ


ตารางเมตรตอชั่วโมง)

เมื่อหารสมการ (10.3) ดวยสมการ (10.2) จะได


I b Io
 (10.4)
Ib Io

เนื่องจาก rb  Io Io (สมการ (4.39)) ดังนั้นสมการ (10.4) จึงเขียนไดใหมดังนี้

I b  rb I b (10.5)

เมื่อ rb คือ แฟคเตอรสําหรับแปลงรังสีตรงบนระนาบในแนวระดับใหเปน


คาบนระนาบเอียง

คาของ rb สามารถหาไดจากสมการ (4.40) (ดูรายละเอียดในบทที่ 4 หัวขอ 4.6)


ดังนั้น ถาเรารูคามุมตกกระทบของรัง สีตรงบนระนาบเอียง (  ) (คิด คาที่กึ่งกลางชั่ว โมง)
มุมเซนิธของดวงอาทิตย (  z ) และรังสีตรงบนระนาบในแนวระดับ เราสามารถคํานวณรังสี
ตรงบนระนาบเอียงได โดยอาศัยสมการ (10.5)

2) รังสีกระจายจากทองฟา
รังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับเปนรังสีจากทองฟา ซึ่งเกิดจากการกระเจิง
รังสีอาทิตยโดยโมเลกุลอากาศ ฝุนละออง และเมฆ เนื่องจากเมฆมีขนาด รูปทรง และตําแหนง
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นการแปลงรังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบน
ระนาบเอียงจึงมีความซับซอน
ในช ว ง 50 ป ที่ ผ า นมา นั ก วิ จั ย ต า งๆ ได เ สนอแบบจํ า ลองสํ า หรั บ แปลงรั ง สี
กระจายบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบเอียงหลายแบบจําลอง (Liu and Jordan,
1962; Bugler,1977; Temps and Coulson, 1977; Klucher, 1979; Hay, 1979; Willmott, 1982;
Ma and Iqbal, 1983; Skartveit and Olseth, 1986; Koronakis,1986; Gueymard, 1987; Perez et
al., 1987; Muneer, 1997; Badescu, 2002) แบบจําลองเหลานี้แบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก

355
356

แบบจําลองที่พิจารณาวารังสีกระจายจากทองฟามีความสม่ําเสมอทุกทิศทาง (isotropic model)


และแบบจํ า ลองที่ พิ จ ารณาว า รั ง สี ก ระจายจากท อ งฟ า ขึ้ น กั บ ทิ ศ ทาง (anisotropic model)
แบบจําลองดังกลาวเปนแบบจําลองเอมไพริคัลซึ่งพัฒนาจากขอมูลรังสีอาทิตยจากบริเวณ
ตางๆ ของโลก จึงมีสมรรถนะแตกตางกัน วัดตาลและจันทรฉาย (Wattan and Janjai, 2016)
ไดทําการทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองเหลานี้กับขอมูลที่วัดบนระนาบเอียงเปนมุมตางๆ
ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐมและที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ผลการทดสอบพบว า แบบจํ า ลองของมู เ นี ย ร (Muneer, 1997) และ
แบบจํ า ลองของกิ ว มาร ด (Gueymard, 1987) ให ผ ลลั พ ธ ที่ มี ค วามคลาดเคลื่ อ นน อ ยกว า
แบบจําลองอื่นๆ แตเนื่องจากแบบจําลองของมูเนียรมีความซับซอนนอยกวาแบบจําลองของ
กิวมารด ดังนั้นตํารานี้จะเสนอรายละเอียดแบบจําลองของมูเนียรดังนี้
แบบจําลองของมูเนียรจะแปลงรังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบน
ระนาบเอียง โดยคูณคารังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับดวยแฟคเตอรซึ่งแสดงผลของ
ความเอียง (tilt factor) ดังสมการ
IdT,s  TFId (10.6)

เมื่อ IdT ,s คือ รังสีกระจายจากทองฟาที่ตกกระทบระนาบเอียง (จูลตอตาราง


เมตรตอชั่วโมง)
Id คือ รังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
TF คือ แฟคเตอรที่แสดงผลของความเอียง (-)

มู เ นี ย ร (Muneer, 1997) ทํ า การหาแฟคเตอร ที่ แ สดงผลของความเอี ย งจาก


แบบจําลองของรังสีกระจายที่มาจากสวนตางๆ ของทองฟา (sky radiance) ซึ่งสามารถแบงได
เปน 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทางเดินของดวงอาทิตยไมผานหนาระนาบเอียงหรือผานหนาระนาบ
เอียงแตทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด ในกรณีนี้จะคํานวณคา TF จากสมการ
2b
TF  cos 2 ( / 2)  (sin    cos    sin 2 ( / 2)) (10.7)
(3  2b)

356
357

เมื่อ  คือ มุมเอียงของระนาบเอียง (เรเดียน)


b คือ ดัชนีการกระจายของรังสีอาทิตย (radiation distribution index)

คา b หาไดจากผลเฉลยของสมการ

2b 2
 0.04  0.82F  2.02F (10.8)
(3  2b)

Ib
โดยที่ F  (10.9)
Io
เมื่อ I b คือ รังสีตรงบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I o คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอ
ตารางเมตรตอชั่วโมง)

กรณีที่ 2 จะเปนกรณีทองฟาปราศจากเมฆหรือมีเมฆบางสวนและระนาบเอียง
ไดรับรังสีตรงจากดวงอาทิตย หรือดวงอาทิตยเดินทางผานหนาระนาบเอียง กรณีนี้จะคํานวณ
คา TF จากสมการ
2b cos  (10.10)
TF  [cos 2 ( / 2)  (sin    cos    sin 2 ( / 2))](1  F)  F
(3  2b) cos  z

เมื่อ  คือ มุมตกกระทบของรังสีตรงบนระนาบเอียง (องศา)


z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

วัดตาลและจันทรฉาย (Wattan and Janjai, 2016) ไดใชแบบจําลองดังกลาวคํานวณ


รังสีกระจายบนระนาบเอียงซึ่งมีมุมเอียง 30, 60 และ 90 องศาที่สถานีนครปฐม และสถานี
อุบลราชธานี และเปรียบเทียบกับคาที่ไดจากการวัด ผลที่ไดพบวาคาจากการวัดแตกตางจาก
คาจากแบบจําลอง (RMSD) ในชวง 10.1-26.1% ทั้งนี้ขึ้นกับมุมเอียงและลักษณะการวางตัว

357
358

ของระนาบเอี ย ง โดยระนาบเอี ย งที่ หั น ไปทางทิ ศ ใต แ ละมี มุ ม เอี ย งน อ ยๆ จะมี ค วาม
คลาดเคลื่อนนอย (กรณีสถานีนครปฐมประมาณ 10.4%)

3) รังสีกระจายจากพื้นผิวโลก
สําหรับรังสีกระจายจากพื้นผิวโลก ในกรณีที่พื้นผิวมีความสม่ําเสมอ เชน สนามหญา
หรื อ พื้ น ดิ น โล ง เตี ย น การกระเจิ ง จะเป น แบบไม ขึ้ น กั บ ทิ ศ ทาง (isotropic scattering)
เราสามารถคํานวณรังสีกระจายที่ตกกระทบระนาบเอียงไดจากสมการ (Iqbal, 1983)
1
IdT ,g  (1  cos )G I (10.11)
2

โดยที่ I dT ,g คื อ รั ง สี ก ระจายที่ ก ระเจิ ง จากพื้ น ผิ ว โลกและตกกระทบระนาบเอี ย ง


(จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
G คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก (-)
I คือ รังสีรวมที่ตกกระทบพื้นผิวโลกบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตาราง
เมตรตอชั่วโมง)
 คือ มุมระหวางระนาบเอียงกับระนาบในแนวระดับหรือมุมเอียง (องศา)
1
พจน (1  cos ) ในสมการ (10.11) เป น วิ ว แฟคเตอร (view factor) ซึ่ ง บอก
2
อัตราสวนของรังสีที่ระนาบเอียงไดรับตอรังสีที่กระเจิงออกมาจากพื้นผิวโลก (ดูรายละเอียด
ในบทที่ 1)
สําหรับกรณีของพื้นผิวโลกที่ไมสม่ําเสมอ การกระเจิงจะขึ้นกับทิศทาง (anisotropic
scattering) รังสีกระจายที่ตกกระทบระนาบเอียงจะหาไดจากสมการ (Iqbal, 1983)
1 
IdT ,g  (1  cos )G I(1  sin 2 z ) cos  (10.12)
2 2

เมื่อ  คือ ผลตางของมุมอาซิมุธของระนาบเอียงกับมุมอาซิมุธของดวงอาทิตย


(องศา)
พจน (1  sin 2  z ) cos  เปนแฟคเตอรที่แสดงผลของความไมสม่ําเสมอของรังสีที่
2
ตกกระทบระนาบเอียงจากทิศตางๆ

358
359

10.2.2 รังสีรายวันเฉลี่ยตอเดือน
ในการออกแบบระบบพลั ง งานรั ง สี อ าทิ ต ย โดยใช วิ ธี ก ารสํ า เร็ จ รู ป ต า งๆ เช น
วิธีการใชแผนภูมิเอฟ (f-chart method) เพื่อออกแบบระบบทําความรอนพลังงานรังสีอาทิตย
(Beckman et al., 1977) ผูออกแบบตองการขอมูลรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบของ
อุปกรณรับรังสีอาทิตย ( HT ) แตขอมูลที่มีอยูทั่วไปมักเปนขอมูลรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอ
เดื อ นบนระนาบในแนวระดั บ ( H ) ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งแปลงค า H ให เ ป น HT โดยกรณี ข อง
ระนาบเอียงที่หันไปทางทิศใต สามารถใชสมการของลิวยและจอรแดน (Liu and Jordan, 1962)
สําหรับแปลงคาดังกลาว ดังนี้

Hd 1  cos  1  cos 
HT  H (1  )R b  Hd ( )  HG ( ) (10.13)
H 2 2

เมื่อ HT คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบเอียง (จูลตอตารางเมตรตอวัน)


H คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตร
ตอวัน)
Hd คือ รังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตาราง
เมตรตอวัน)
Rb คือ แฟคเตอรสําหรับแปลงรังสีตรงรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบในแนว
ระดับใหเปนคาบนระนาบเอียง (-)
G คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก (-)
 คือ มุมเอียงของระนาบ (องศา)

พจนที่ 1, 2 และ 3 ทางดานขวามือของสมการ (10.13) คือรังสีตรง รังสีกระจายจาก


ทองฟา และรังสีกระจายจากพื้นผิวโลกบนระนาบเอียง ตามลําดับ สําหรับคา R b สามารถ
คํานวณไดจากสมการ

cos(  ) cos  sin ss  ( / 180)ss sin(  ) sin 


Rb  (10.14)
cos  cos  sin ss  ( / 180)ss sin  sin 

359
360

เมื่อ  คือ ละติจูดของระนาบเอียง (องศา)


 คือ เดคลิเนชันของดวงอาทิตย (องศา)
ss คือ มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบในแนวระดับ (องศา)
ss คือ มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบเอียง (องศา)

คา  , ss และ ss จะคํานวณโดยใชวันที่เปนตัวแทนของเดือนตามตารางที่ 4.1 ใน


บทที่ 4 สําหรับคา Hd สามารถคํานวณจากสมการซึ่งแสดงความสัมพันธระหวาง Hd / H
กับ K T เมื่อ K T คือดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ยตอเดือน โดยจะอธิบาย
รายละเอียดในหัวขอถัดไป

10.3 การหาอัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวม
ในการคํานวณรังสีรวมบนระนาบเอียงตามที่กลาวไปแลวในหัวขอ 10.2 จะเห็นวาเรา
จําเปนจะตองรูคารังสีตรงและรังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับ จากนั้นจึงแปลงรังสีทั้ง
สองใหอยูบนระนาบเอียง แตขอมูลสวนใหญที่ไดจากการวัดทั่วไปจะเปนคารังสีรวมบน
ระนาบในแนวระดับ และมักจะหาขอมูลรังสีกระจายและรังสีตรงบนระนาบในแนวระดับที่
ตําแหนงนั้นไมได ในการแกปญหาดังกลาวนักวิจัยตางๆ จึงไดพัฒนาแบบจําลองสําหรับ
คํานวณรังสีกระจายจากคารังสีรวม และเมื่อนําไปลบออกจากคารังสีรวมก็จะไดคารังสีตรง
ดวย
ลิวยและจอรแดน (Liu and Jordan, 1960) เปนนักวิจัยกลุมแรกที่พบวาอัตราสวนรังสี
กระจายตอรังสีรวมมีความสัมพันธเชิงสถิติกับดัชนีความแจมใสของบรรยากาศ (clearness
index) ทั้งกรณีขอมูลรายวันและรายวันเฉลี่ยตอเดือน โดยความสัมพันธดังกลาวสามารถ
นํามาใชหาคารังสีกระจายจากรังสีรวมได ตอมาโอรจิลลและฮอลแลนส (Orgill and Hollands,
1977) ก็ พ บความสั มพั น ธ ลัก ษณะคลา ยกัน ในกรณี ข องขอมู ลรายชั่ ว โมง หลัง จากนั้น ก็ มี
นักวิจัยอื่นๆ อีกจํานวนมากที่เสนอแบบจําลองความสัมพันธระหวางรังสีรวมกับรังสีกระจาย
ในลักษณะเดียวกันกับงานของลิวยและจอรแดน โดยใชขอมูลจากบริเวณตางๆ ของโลก
(Page, 1961; Collares-Pereira and Rabl, 1979; Erbs et al., 1982; Newland, 1989; Reindl et al.,
1990; Oliveira et al., 2002; Paliatsos et al., 2003; Rensheng et al., 2004; Jacovides et al.,

360
361

2006; Janjai, 2012) แบบจํ า ลองดั ง กล า วมั ก จะใช ง านได ดี ใ นบริ เ วณที่ มี ภู มิ อ ากาศและ
สภาพแวดลอมคลายกับของบริเวณสถานีวัดซึ่งนําขอมูลมาใชสรางแบบจําลอง โดยปจจุบันยัง
ไมมีแบบจําลองใดที่สามารถใชงานไดทั่วไป สําหรับกรณีประเทศไทยมีนักวิจัยตางๆ ไดสราง
แบบจํ า ลองของอั ต ราส ว นรั ง สี ก ระจายต อ รั ง สี ร วม และแบบจํ า ลองสํ า หรั บ คํ า นวณรั ง สี
กระจาย โดยใชขอมูลรังสีอาทิตยซึ่งวัดที่กรุงเทพฯ (พิชัย นามประกาย และคณะ, 2532; Janjai
et al., 1996; Chaiyapinunt and Mangkornsaksit, 2000) เนื่องจากงานวิจัยดังกลาวใชขอมูล
เฉพาะที่กรุงเทพฯ ดังนั้นจันทรฉาย (Janjai, 2012) จึงไดสรางแบบจําลองอัตราสวนระหวาง
รังสีกระจายตอรังสีรวมขึ้นใหม โดยใชขอมูลในช วงป ค.ศ. 1995 – 2006 ที่ทําการวัดใน
ภูมิภาคตางๆ ของประเทศไทย ไดแก ภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่
จังหวัดอุบลราชธานี ภาคกลางที่จังหวัดนครปฐม และภาคใตที่จังหวัดสงขลา ตามรายละเอียด
ดังนี้

1) กรณีขอมูลรายชั่วโมง
ในการสรางแบบจําลองจะเริ่มตนจากการคํานวณอัตราสวนระหวางรังสีกระจายตอ
รังสีรวม (Id I ) และคํานวณดัชนีความแจมใสของบรรยากาศ (clearness index , k T ) โดย
คาดัชนีดังกลาว จะคํานวณโดยใชสมการ
I
kT  (10.15)
Io
เมื่อ kT คือ ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายชั่วโมง (-)
I คือ รังสีรวมรายชั่วโมง (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
Io คือ รังสีนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมง (จูลตอตารางเมตรตอ
ชั่วโมง)

จากนั้นจะนําคา (Id I ) มาเขียนกราฟกับ k T ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 10.3

361
362

R2=0.76
R2=0.71
CHIANG MAI (1995 - 2006)
UBON RATCHATHANI (1995 - 2006)

R2=0.73 R2=0.79

NAKHON PATHOM (1995 - 2006) SONGKHLA (1995 - 2006)

รูปที่ 10.3 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายชั่วโมง


( I d I) และดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายชั่วโมง (kT) ซึ่งไดจากขอมูลที่
สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลาในชวงป ค.ศ. 1995 - 2006
(R คือสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ) (Janjai, 2012)

362
363

หลังจากนั้นทําการฟตกราฟดวยสมการโพลิโนเมียล (polynomial equation) ซึ่งไดผล


ดังนี้
- สถานีเชียงใหม
Id
 15.485k 5T  39.1626k T4  30.356k 3T  6.4927 k T2  0.3707 k T  0.9429
I
(10.16)
- สถานีอุบลราชธานี
Id
 30.637 k 6T  84.476 k 5T  85.804k T4  42.888k 3T
I (10.17)
 13.425k T2  1.841k T  0.846

- สถานีนครปฐม
Id
 5.3811k 3T  8.148k T2  2.3552k T  0.7699 (10.18)
I

- สถานีสงขลา
Id
 49.900 k 6T  129.643k 5T  133.679k T4  66.222 k 3T
I (10.19)
 13.501k T2  1.046 k T  0.949

2) กรณีขอมูลรายวัน
การสรางแบบจําลองสําหรับหาอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวันจะคลาย
กับกรณีของขอมูลรายชั่วโมงกลาวคือ ในขั้นตอนแรกจะทําการรวมคาของรายชั่วโมงใหเปน
คารังสีรายวัน จากนั้นทําการคํานวณอัตราสวนของรังสีกระจายรายวันตอรังสีรวมรายวัน
( H d H ) ในขณะเดียวกันจะทําการคํานวณดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวัน ( K T )
โดยอาศัยสมการ
H
KT  (10.20)
Ho

เมื่อ KT คือ ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวัน (-)


H คือ รังสีรวมรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
Ho คือ รังสีนอกบรรยากาศโลกรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)

363
364

ในขั้นตอนตอไปจะนําคา H d H มาเขียนกราฟกับ K T ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 10.4


จากนั้นจะฟตกราฟในรูปที่ 10.4 ดวยสมการโพลิโนเมียลซึ่งเขียนไดดังนี้

- สถานีเชียงใหม
Hd
 1.3323K T2  0.3895K T  1.0803 (10.21)
H
- สถานีอุบลราชธานี
Hd
 1.2323K T2  0.3932K T  1.068 (10.22)
H
- สถานีนครปฐม
Hd
 1.9843K T2  0.2154K T  0.9881 (10.23)
H
- สถานีสงขลา
Hd
 0.8389K T2  0.5542K T  1.0607 (10.24)
H

364
365

CHIANG MAI UBON RATCHATHANI

NAKHON PATHOM
SONGKHLA

รูปที่ 10.4 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนของรังสีกระจายรายวันตอรังสีรวม


รายวัน ( H d H ) กับดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวัน ( K T ) จากขอมูลที่
สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลาในชวงป ค.ศ. 1995 - 2006
(Janjai, 2012)

365
366

3) กรณีขอมูลรายวันเฉลี่ยตอเดือน
การหาแบบจําลองสําหรับคํานวณอัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวัน
เฉลี่ยตอเดือนจะคลายกับกรณีขอมูลรายชั่วโมงและขอมูลรายวัน กลาวคือ จะเริ่มจากการหา
อัตราสวนรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (Hd H) และหา
คาดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ยตอเดือน (K T ) โดยคาดัชนีดังกลาวจะหาจาก
สมการ
H
KT  (10.25)
Ho

เมื่อ KT คือ ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ยตอเดือน (-)


H คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
Ho คือ รังสีนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตร
ตอวัน)

366
367

CHIANG MAI UBON RATCHATHANI

NAKHON PATHOM
SONGKHLA

รูปที่ 10.5 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน


( H d H ) กับดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ย ตอเดือน ( K T ) จาก
ขอมูลที่ไดจากสถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลาในชวง ค.ศ.
1995 - 2006 (Janjai, 2012)

จากนั้นจะนําคา Hd H มาเขีย นกราฟกับ K T (รูปที่ 10.5) และฟตกราฟดวย


สมการโพลิโนเมียลไดดังนี้

367
368

- สถานีเชียงใหม
Hd
 1.961K T  1.5121 (10.26)
H
- สถานีอุบลราชธานี
Hd
 1.906K T  1.5204 (10.27)
H

- สถานีนครปฐม
Hd
 2.1474K T  1.6616 (10.28)
H
- สถานีสงขลา
Hd
 1.3287592K T  1.2129 (10.29)
H

เนื่องจากทั้งกรณีรายชั่วโมง รายวันและรายวันเฉลี่ยตอเดือน กราฟของความสัมพันธ


ระหวางอัตราสวนระหวางรังสีกระจายตอรังสีรวมกับดัชนีความแจมใสของบรรยากาศมีการ
กระจายที่แตกตางกัน โดยกรณีรายชั่วโมงมีการกระจายมากกวากรณีรายวัน ดังนั้นการใช
สมการที่ไดจากการฟตกราฟดังกลาวไปคํานวณรังสีกระจายยอมมีระดับความคลาดเคลื่อนที่
แตกต า งกั น โดยกรณี ข องข อ มู ล รายชั่ ว โมง รายวั น และรายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ นจะมี ค วาม
คลาดเคลื่ อ นในช ว ง 19.8-29.6%, 16.8-19.5% และ 5.4-10.6 % ตามลํ า ดั บ นอกจากนี้
แบบจําลองตามสมการทั้ง 3 กรณีจะสามารถใชงานไดดีกับบริเวณอื่นๆ ที่มีสภาพแวดลอม
คลายคลึงกับสถานีที่นําขอมูลมาสรางแบบจําลอง

10.4 การคํานวณรังสีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนจากคารังสีรายวันเฉลี่ยตอเดือน
ในงานดานพลังงานรังสีอาทิตย เชนการศึกษาสมรรถนะเฉลี่ยรายชั่วโมงของระบบ
ทําน้ํารอนพลังงานรังสีอาทิตย ผูศึกษาตองการขอมูลรังสีอาทิตยรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน แต
ในบางกรณีขอมู ลที่มีอยูคือคา รัง สีรายวันเฉลี่ยตอเดือน ดังนั้ นในหั วขอนี้ จ ะกลาวถึ งการ
คํานวณรังสีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนจากรังสีรายวันเฉลี่ยตอเดือน โดยจะแยกกลาวเปนกรณี
ของรังสีกระจายและรังสีรวม ตามรายละเอียดดังนี้

368
369

10.4.1 รังสีกระจาย
รั ง สี ก ระจายรายชั่ ว โมงในแต ล ะวั น จะมี ก ารแปรค า ขึ้ น ลงซึ่ ง เป น ผลมาจากการ
เปลี่ยนแปลงของเมฆ ดังตัวอยางในรูปที่ 10.6

2.5
(เมกะจูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)

2.0
รังสีกระจาย (Id)

1.5

1.0

0.5

0.0
1 10 20 30
วัน
รูปที่ 10.6 การแปรคาในรอบวันของรังสีกระจายรายชั่วโมงของเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2012
ซึ่งวัดที่สถานีนครปฐม

ถาเราทําการเฉลี่ยคารังสีกระจายที่ชั่วโมงเดียวกันจากขอมูลทั้งเดือน แลวนําคารังสี
กระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนที่ไดมาเขียนกราฟกับเวลาในรอบวันจะไดกราฟตามรูปที่
10.7

1.2

1.0
รังสีกระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน
(เมกะจูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)

0.8

0.6

0.4

0.2

0.0
5:00 7:00 9:00 11:00 13:00 15:00 17:00 19:00
เวลา

รูปที่ 10.7 การแปรคาตามเวลาในรอบวันของรังสีกระจายรายชัว่ โมงเฉลี่ยตอเดือนของเดือน


พฤษภาคม ค.ศ. 2012 ที่สถานีนครปฐม

369
370

จากกราฟรู ป ที่ 10.7 จะเห็ น ว า เส น กราฟมี ลั ก ษณะเป น เส น โค ง เรี ย บไม เ ห็ น การ
เปลี่ยนแปลงขึ้นลงอยางรวดเร็ว ดังเชนกรณีขอมูลรายชั่วโมง ทั้งนี้เปนผลมาจากการเฉลี่ยคา
ตลอดทั้งเดือน นอกจากนี้จะเห็นวากราฟมีลักษณะคอนขางสมมาตรรอบเวลาเที่ยงวัน โดยคา
พื้นที่ภายใตเสนกราฟจะเปนคารังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H d )
ลิวยและจอรแดน (Liu and Jordan, 1960) ไดเสนอวิธีการหาอัตราสวน I d H d โดย
การหาความสัมพันธระหวาง I d และ H d กับรังสีนอกบรรยากาศโลก ดังนี้

I d  d I 0 (10.30)

เมื่อ d คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีกระจายเฉลี่ยตอเดือนของบรรยากาศโลก


(-)
I0 คือ รังสีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนนอกบรรยากาศโลก (จูลตอตารางเมตร
ตอชั่วโมง)

สําหรับกรณีของรังสีรายวันจะเขียนไดดังสมการ

H d  d H 0 (10.31)

เมื่อ H0 คือ รังสีรายวันเฉลี่ยตอเดือนนอกบรรยากาศโลก (จูลตอตารางเมตรตอวัน)

ลําดับตอไปนําสมการ (10.31) ไปหารสมการ (10.30) จะได


Id I
 0 (10.32)
Hd H0

จากนั้ น จะแทน I 0 และ H 0 จากสมการ (4.11) และ (4.17) ตามลํ าดั บ ในสมการ
(10.32) โดยใชสมมติฐานวา I0  I0 และ H 0  H 0 ซึ่งจะได
Id  cos i  cos ss
 (10.33)
H d 24 
sin  ss  ss cos  ss
180

เมื่อ i คือ มุมชั่วโมงที่ตองการคํานวณคา I d (ใชคามุมชั่วโมงที่กึ่งกลางชั่วโมง)


(องศา)

370
371

ss คือ มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตก (ใชคาที่กลางเดือนที่พิจารณา) (องศา)

จากสมการ (10.33) จะเห็ น ว า I d H d ขึ้ น กั บ มุ ม ชั่ ว โมง ( i ) และมุ ม ชั่ ว โมงที่


ดวงอาทิตยตก ( ss ) เทานั้น ลิวยและจอรแดนจึงไดสรางกราฟทั่วไปซึ่งแสดงความสัมพันธ
ระหวาง I d H d กับ i และ ss ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 10.8
จากการทดสอบกราฟในรู ปที่ 10.8 โดยการเปรี ย บเที ย บกั บข อมูล จากการวัด ใน
บริเวณตางๆ ของโลกรวมถึงในประเทศไทย พบวากราฟดังกลาวมีความสอดคลองกับคาจาก
การวัด (Liu and Jordan, 1960; พิชัย นามประกายและจงจิตร หิรัญลาภ, 2532; เสริม จันทรฉาย
และซังเซ็ง เลียงจินดาถาวร, 2532)

ω i  7.5 

ω i  22.5 

Id ω i  37.5 
Hd

ω i  52.5 

ω i  67.5 

ω i  82.5 

ω i  97.5 

ω SS (องศา)

รูปที่ 10.8 กราฟทั่วไปซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนของรังสีกระจายรายชั่วโมง


เฉลี่ยตอเดือนกับรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( I d H d ) กับมุมชั่วโมง ( i )
และมุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตก ( ss ) (ดัดแปลงจาก Liu and Jordan, 1960)

371
372

ตัวอยาง 10.1 ถารังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนของเดือนสิงหาคมที่สถานีเชียงใหม ซึ่งอยูที่


พิกัด 18.78 N, 98.98 E มีคาเทากับ 8.0 เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน จงคํานวณคารังสี
กระจายรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนระหวางเวลา 11:00 –12:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตย

วิธีทํา ที่เวลา 11:00 –12:00 น. คา i =7.5


เดคลิเนชันของดวงอาทิตย (  ) ของเดือนสิงหาคมจะใชคาของวันที่ 15 สิงหาคม ซึ่ง
จะได  = 14.25 องศา (ภาคผนวกที่ 3)
คามุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตก ( ss ) จะหาจากสมการ
ss  cos 1 (tan  tan )

 cos 1 (tan 18.78 tan 14.25)


 94.95 องศา

จากนั้นจะคํานวณคา I d Hd จากสมการ
Id  cos i  cos ss

H d 24 
sin ss  ss cos ss
180
 cos(7.5)  cos(94.95)

24 sin(94.95)   (94.95) cos(94.95)
180
 0.1229
คา I d หาไดจาก
Id  0.1229 H d

เนื่องจากคา Hd = 8.0 เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน ดังนั้น

I d  0.1229  8.0
= 0.983 เมกะจูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง

372
373

10.4.2 รังสีรวม
ทํานองเดียวกับกรณีของรังสีกระจาย วิลเลียร (Whillier, 1956) ไดแสดงใหเห็นวา
อัตราสวนของรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (I H ) มี
ความสัมพันธกับอัตราสวนรังสีรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนนอกบรรยากาศโลกตอรังสีรายวัน
เฉลี่ยตอเดือนนอกบรรยากาศโลก ( I0 H 0 ) และไดเสนอกราฟทั่วไปที่แสดงความสัมพันธ
ระหว า ง I H กั บ I0 H 0 เนื่ อ งจาก I0 H 0 เป น ฟ ง ก ชั น ของ i และ ss ดั ง นั้ น I H จึ ง มี
ความสัมพันธกับ i และ ss จากนั้นไดเสนอความสัมพันธดังกลาวในรูปของกราฟ ตอมาลิวย
และจอร แ ดน (Liu and Jordan, 1960) ได ข ยายขอบเขตของกราฟให ก วา งขึ้ น และปรั บให
สอดคลองกับขอมูลจากการวัดโดยกราฟที่ไดแสดงไวในรูปที่ 10.9 ในกรณีของประเทศไทย
เสริม จันทรฉาย และซังเซ็ง เลียงจินดาถาวร (2532) และพิชัย นามประกาย และจงจิตร หิรัญลาภ
(2532 ) ไดทําการเปรียบเทียบกราฟดังกลาวกับขอมูลจากการวัดพบวากราฟนี้มีความสอดคลอง
กับขอมูลจากการวัด

373
374

ωi  7.5

ωi  22.5

I ω i  37.5 

H
ω i  52.5 

ω i  67.5 

ω i  82.5 
ω i  97.5 

ω SS (องศา)

รูปที่ 10.9 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราสวนของรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน


ตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (I H ) กับคามุมชั่วโมงของดวงอาทิตย i
และมุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตก ss (ดัดแปลงจาก Liu and Jordan, 1960)

เพื่อใหสะดวกตอการใชงาน คอลลาเรส-ปเรราและลาบล (Collares – Pereira and


Rabl, 1979) ไดฟตกราฟดังกลาวดวยสมการ
I  cos i  cos ss
 (a1  b1 cos i )

(10.34)
H 24 sin ss  ss cos ss
180

โดยที่ a1  0.409  0.5016 sin(ss  60) (10.35)


b1  0.6609  0.4767 sin(ss  60) (10.36)

374
375

สมการ (10.34) สามารถนําไปคํานวณคา I จากคา H ที่ชั่วโมงตางๆ ซึ่งบอกดวยคา


i และคา ss ของเดือนนั้นๆ โดยคา ss สามารถใชคาของวันที่ 15 ของเดือนเปนตัวแทน
ของเดือนนั้น

10.5 การสรางชุดขอมูลตัวแทน
โดยทั่วไปการประเมินสมรรถนะของระบบพลังงานรังสีอาทิตยและอาคารอนุรักษ
พลังงานอยางละเอียดจะใชวิธีการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร (computer
simulation) ซึ่งตองใชขอมูลรังสีอาทิตย อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธและความเร็วลมรายชั่วโมง
เนื่องจากรังสีอาทิตยและตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยาเหลานี้จะเปลี่ยนแปลงไปในแตละป ดังนั้น
จึงตองทําการคํานวณโดยใชขอมูลรังสีอาทิตยและตัวแปรอุตุนิยมวิทยาหลายๆ ป แลวนําผล
มาหาสมรรถนะเฉลี่ย แตวิธีการนี้มีความยุงยากเพราะตองดําเนินการหลายขั้นตอนและใชเวลา
ในการคํานวณมาก ในการแกปญหาดังกลาวนักวิจัยตางๆ (Klein, 1976; Duffie and Beckman,
1991; Chaiyapinunt and Mangkornsaksit, 2001&2002) จึงเสนอใหทําการจําลองการทํางาน
ของระบบดวยคอมพิวเตอรโดยใชขอมูลเพียง 1 ป โดยขอมูลดังกลาวจะเปนตัวแทนของ
ข อ มู ล ระยะยาวหลายป แ ละเรี ย กข อ มู ล นี้ ว า ชุ ด ข อ มู ล อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาตั ว แทน (Typical
Meteorological Data, TMD) ซึ่ ง เป น ข อ มู ล รายชั่ ว โมงของรั ง สี อ าทิ ต ย อุ ณ หภู มิ ความชื้ น
สัมพัทธและความเร็วลม จํานวน 1 ป ขอมูลดังกลาวจะเปนตัวแทนทางสถิติของขอมูลทั้งหมด
หลายๆ ป โดยขอมูลแตละเดือนในชุดขอมูลตัวแทนจะนํามาจากขอมูลจริงในปตางๆ ดัง
แผนภูมิในรูปที่ 10.10

375
376

2004
2003
2002 JAN-DEC
2001 JAN-DEC
2000 JAN-DEC
1999 JAN-DEC
1998 JAN-DEC
1997 JAN-DEC
1996 JAN-DEC
1995 JAN-DEC
I T rh W JAN-DEC
JAN-DEC

DEC 1997
NOV 1999 SEP 2003
OCT 1996 AUG 1998
JUL 1996
JUN 2004
I T rh W MAY 1995
APR 1998
MAR 2002
FEB 1999
JAN 2001

รูปที่ 10.10 แผนภูมิแสดงการสรางชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทน (I เปนรังสีรวม T เปน


อุณหภูมิ rh เปนความชื้นสัมพัทธและ w เปนความเร็วลม)

ตัวอยางในรูปที่ 10.10 เปนการสรางชุดขอมูลตัวแทนจากขอมูลจริง 10 ป (ค.ศ. 1995 -


2004) โดยขอมูลเดือนตางๆ ในชุดขอมูลตัวแทนไดมาจากขอมูลจริง เชน ขอมูลเดือนมกราคม
ในชุดขอมูลตัวแทนจะเอามาจากขอมูลเดือนมกราคมของป ค.ศ. 2001 และขอมูลเดือนมีนาคม
มาจากขอมูลเดือนมีนาคม ค.ศ. 2002 เปนตน ทั้งนี้เพราะขอมูลเดือนมกราคมของป ค.ศ. 2001
สามารถใชเปนตัวแทนขอมูลเดือนมกราคมตั้งแตป ค.ศ. 1995 ถึง 2004 ได และขอมูลเดือน
มีนาคม ค.ศ. 2002 สามารถใชเปนตัวแทนขอมูลเดือนมีนาคมตั้งแตป ค.ศ. 1995 ถึง 2004
ได การเลื อ กเอาข อ มู ล จากป ใ ดป ห นึ่ ง มาใช มี ไ ด ห ลายวิ ธี โดยวิ ธี ที่ นิ ย มใช กั น คื อ วิ ธี ข อง
หองปฏิบัติการแหงชาติแซนเดีย (Sandia National Laboratory) (Hall et al., 1978) วิธีของ
แอนเดอรเซนและคณะ (Andersen et al., 1977) และวิธีของเฟสตราและแรตโต (Festa and Ratto,
1993) จันทรฉายและดีใหญ (Janjai and Deeyai, 2009) ไดทําการเปรียบเทียบสมรรถนะของ

376
377

วิธีดังกลาว โดยใชขอมูลจาก 4 สถานีในประเทศไทยและพบวา ทั้ง 3 วิธีมีสมรรถนะใกลเคียง


กัน แตวิธีของหองปฏิบัติการแหงชาติแซนเดียใชงานไดงายกวาวิธีอื่น ดังนั้นในตํารานี้จะ
นําเสนอรายละเอียดของวิธีการสรางชุดขอมูลตัวแทนของหองปฏิบัติการแหงชาติแซนเดีย
โดยใชตัวอยางที่ปณกมล ดีใหญ (2548) ใชสรางชุดขอมูลตัวแทนของสถานีเชียงใหมเพื่อ
ประกอบการอธิบาย โดยขั้นตอนในการสรางชุดขอมูลตัวแทนของวิธีดังกลาวแสดงไดตาม
แผนภูมิในรูปที่ 10.11

377
378

ขอมูลรายวันของตัวแปร 9 ตัว
สําหรับใชหาตัวบงชี้เดือนตัวแทน

หาคาความถี่สะสมระยะยาว หาคาความถี่สะสมระยะสั้น
ของคาตัวแปรทั้ง 9 ตัวของทุกเดือน ของคาตัวแปรทั้ง 9 ตัวของทุกเดือนและทุกป

คํานวณคาตัวแปรทางสถิติของฟงเคลชไตน –
เชฟเฟอร (Finkelstein – Schafer, FS)
ของตัวแปรทั้ง 9 ตัว

คํานวณผลรวมถวงน้ําหนัก (WS) ของคา FS ของตัว


แปร 9 ตัว ซึ่งจะไดคา WS ของแตละเดือนทุกป

เลือกเดือนที่เขารับการคัดเลือกเปนเดือนตัวแทน
(candidate months) 3 เดือน
จากเดือนที่มีคา WS ต่ําสุดขึ้นมา

หาคา rmsd ของความแตกตางระหวางคารังสีรายชั่วโมง


เฉลี่ยตอเดือนของเดือนที่เขารับการคัดเลือกกับคาเฉลี่ยตอเดือน
ระยะยาวของเดือนนั้น จะไดคา rmsd ของ 3 เดือนที่เขารับการคัดเลือก

เลือกเดือนที่เขารับการคัดเลือกที่มีคา
rmsd ต่ําสุดมาเปนสมาชิกของปตัวแทน

รูปที่ 10.11 แผนภูมิแสดงลําดับขั้นตอนการหาชุดขอมูลตัวแทนตามวิธีของหองปฏิบัติการ


แหงชาติแซนเดีย

378
379

วิธีการของหองปฏิบัติการแหงชาติแซนเดียจะใชตัวแปรบงชี้ทั้งหมด 9 ตัว เพื่อใช


บอกวาจะนําขอมูลแตละเดือนของปใดมาประกอบเปนชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทน ตัวแปร
ดังกลาวไดแก คารังสีรวมรายวัน (H) อุณหภูมิสูงสุดรายวัน ( Tmax ) อุณหภูมิเฉลี่ยรายวัน
( Tmean ) อุ ณ หภูมิต่ํ า สุด รายวัน ( Tmin ) ความชื้น สั มพั ทธ เ ฉลี่ย รายวั น ( RH mean ) ความชื้ น
สัมพัทธสูงสุดรายวัน ( RH max ) ความชื้นสัมพัทธต่ําสุดรายวัน ( RH min ) ความเร็วลมเฉลี่ย
รายวัน ( Wmean ) ความเร็วลมสูงสุดรายวัน ( Wmax ) โดยดําเนินการวิเคราะหดังนี้
1) นําขอมูลของตัวแปร 9 ตัวดังกลาวมาแจกแจงหาคาความถี่สะสมของขอมูลระยะ
ยาว (cumulative distribution of long-term data, CDFm(xi)) โดยเป น ของข อ มู ล
เดือนเดียวกันของทุกป ตัวอยางกรณีของรังสีรวมรายวันแสดงไวในรูปที่ 10.12
2) นําขอมูลของตัวแปรทั้ง 9 ตัวมาแจกแจงหาความถี่สะสมของแตละเดือนในแต
ละป (cumulative distribution of short-term data, CDFy,m(xi)) ตัวอยางกรณีของ
รังสีรวมรายวันแสดงไวในรูปที่ 10.13
3) หาค า ตั ว แปรทางสถิ ติ ข องฟ ง เคลชไตน – เชฟเฟอร (Finkelstein – Schafer
statistic, FS) ซึ่งไดจากผลตางของ CDFm(xi) และ CDFy,m(xi)) ดังสมการ
1 N
FSx ( y, m)   CDFm (x i )  CDFy,m (x i )
N i1
(10.37)

โดยที่ FSx ( y, m) คือ ตัวแปรทางสถิติของฟงเคลชไตน – เชฟเฟอรของตัว


แปร x ของเดือน m และป y
CDFm ( x i ) คือ ความถี่สะสมของตัวแปร x จากขอมูลระยะยาวของ
เดือน m
CDFy ,m ( x i ) คือ ความถี่สะสมของตัวแปร x ของเดือน m และป y
N คือ จํานวนชวง (interval) ขอมูลแตละตัวแปรที่ทําการ
แจกแจง
xi คือ คาของตัวแปร x ในชวงขอมูลที่ i
ผลจากการคํานวณจะไดคา FS ของแตละเดือน ทุกป ของตัวแปรทั้ง 9 ตัว ซึ่งสามารถ
แสดงเปนตารางได 9 ตาราง ตัวอยาง เชน คา FS ของรัง สี รวมรายวั นที่ ห าไดจากสมการ
(10.37) แสดงไวในตารางที่ 10.1

379
380

4) คํานวณหาคาผลรวมถวงน้ําหนัก (weighted sum, WS) ของตัวแปรทางสถิติ FS


ในขั้นตอนนี้จะนําคาตัวแปรทางสถิติ FS ของแตละตัวแปรที่ไดจากขอ 3 มาคูณ
ดวยตัวถวงน้ําหนัก และนําผลที่ไดมารวมกันแลวหาคาเฉลี่ย ดังสมการ
1 M
WS( y, m )   WFx . FSx ( y, m) (10.38)
M x 1

เมื่อ WS คือ คาผลรวมถวงน้ําหนักของ FS ของเดือน m และป y


WFx คือ คาถวงน้ําหนัก (weighting factors) สําหรับขอมูลตัวแปร x
M คือ จํานวนตัวแปรของขอมูลอุตุนิยมวิทยารายวันที่นํามาใช
สําหรับหาตัวบงชี้เดือนตัวแทน ในที่นี้ M = 9

ตัวถวงน้ําหนักของ Tmax , Tmin , T , RH max , RH min , RH, Wmax , W และ H มีคาเทากับ


0.04, 0.04, 0.08, 0.04, 0.04, 0.08, 0.08, 0.08 และ 0.05 ตามลําดับ ผลการคํานวณจากสมการ
(10.38) จะไดคา WS ของแตละเดือนทุกป ซึ่งสามารถแสดงคาในตารางได 1 ตาราง (ตารางที่ 10.2)
จากนั้นเลือกเดือนที่เขารับการคัดเลือกใหเปนองคประกอบของชุดขอมูลตัวแทน
สถานีละ 3 เดือน ในการเลือกเดือนดังกลาวจะพิจารณาเลือกเดือนที่มีผลรวมถวงน้ําหนัก WS
จากต่ําสุดเรียงลําดับขึ้นมา

5) คํานวณคารากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (root mean square


difference, rmsd) ของคารังสีรวมรายชั่วโมงของเดือนที่เขารับการคัดเลือกกับคา
รังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน จากสมการ
12
1 n 
rmsd    (I h  I ) 2  (10.39)
 n h 1 

โดย Ih คือ รังสีรวมของแตละชั่วโมงในปที่มีเดือนเขารับการคัดเลือกชั่วโมงที่ h


I คือ รังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนระยะยาว
n คือ จํานวนชั่วโมงที่มีคารังสีรวมในปที่มีเดือนเขารับการคัดเลือก

380
381

ค า rmsd ที่ คํ า นวณได แ สดงไว ใ นตารางที่ 10.3 ในการคั ด เลื อ กข อ มู ล เพื่ อ นํ า มา
ประกอบเปนชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทนของแตละสถานีนั้น จะพิจารณาจากเดือนที่เขารับ
การคัดเลือกซึ่งมีคา rmsd ต่ําสุด ผลที่ไดแสดงไวในตารางที่ 10.4 และตัวอยางชุดขอมูล
อุตุนิยมวิทยาตัวแทนที่ไดแสดงไวในตารางที่ 10.5 สําหรับขอมูลชุดขอมูลตัวแทนสมบูรณของ
สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา บรรจุไวในแผนซีดีทายเลม
จันทรฉายและดีใหญ (Janjai and Deeyai, 2009) ไดทดสอบใชชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยา
ตัวแทนที่สรางจากวิธีการดังกลาว เพื่อประเมินสมรรถนะของระบบทําความรอนพลังงานรังสี
อาทิตย ผลที่ไดพบวาสมรรถนะที่ประเมินโดยใชชุดขอมูลตัวแทนมีความสอดคลองกับผล
จากการประเมินโดยใชขอมูลรายชั่วโมงทั้งหมดจากการวัด

381
382

100 100 100


90 JAN,95-04
JAN, 1995-2004 90 FEB,
FEB, 1995-2004
95-04 90 MAR,
MAR,1995-2004
95-04
80 80 80
70 70 70
60 60 60
CDF (%)

CDF (%)

(%)
CDF(%)
(%)

(%)
m

m
50 50 50

CDF
CDF

CDF
40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

100 100 100


90 APR,
APR, 1995-2004
95-04 90 MAY,
MAY, 1995-2004
95-04 90 JUN,
JUN,1995-2004
95-04
80 80 80
70 70 70
60 60 60

(%)
CDF (%)

(%)
CDF(%)

CDF(%)
(%)

m
m

50 50 50
CDF

CDF
CDF

40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

100 100 100


90 JUL,95-04
JUL, 1995-2004 90 AUG,
AUG, 1995-2004
95-04 90 SEP,
SEP,1995-2004
95-04
80 80 80
70 70 70
60 60 60
CDFm(%)

CDF (%)
CDF (%)
(%)

CDF (%)

m
(%)
m

50 50 50
CDF

CDF

40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

100 100
100
90 OCT,95-04
OCT, 1995-2004 90 NOV, 95-04
1995-2004 90 DEC,
DEC, 1995-2004
95-04
80 80 80
70 70 70
60 60 60
CDF (%)

CDF (%)
(%)

CDFm(%)
CDF (%)

CDFm(%)

50 50 50
CDFm

40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

รูปที่ 10.12 การแจกแจงความถี่สะสมของขอมูลรังสีรวมรายวันในแต ละเดือนของทุก ป


(ค.ศ. 1995-2004) ของสถานีเชียงใหม โดยที่ CDFm คือ ความถี่สะสมของขอมูล
รังสีรวมรายวัน (H) ระยะยาวของเดือนที่ m (m : 1,2,..,12) (ปณกมล ดีใหญ, 2548)

382
383

100 100 100


90 JAN,
JAN, 2004
04 90 FEB,04 2004
FEB, 90 MAR,
MAR,042004
80 80 80
70 70 70
60 60
(%)

(%)

CDFy,m(%)
60

CDFy,m(%)

CDF (%)
CDFy,m(%)

50 50 50
CDF

CDF
40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

100 100 100


90 APR, 2004
APR, 04 90 MAY,
MAY, 04 2004 90 JUN,
JUN, 042004
80 80 80
70 70 70
60 60 60
(%)

CDFy,m(%)
(%)

CDFy,m(%)
CDFy,m(%)

CDF (%)
50 50 50
CDF
CDF

40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

100 100 100


90 JUL, 2004
JUL, 04 90 AUG,04 2004
AUG, 90 SEP,042004
SEP,
80 80 80
70 70 70
(%)

CDFy,m(%)
(%)

60 60 60
CDF(%)

CDF(%)

(%)
y,m
y,m

50 50 50
CDF

CDF

CDF

40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

100 100 100


90 OCT,042004
OCT, 90 NOV,
NOV, 042004 90 DEC,04 2004
DEC,
80 80 80
70 70 70
(%)

(%)

CDFy,m(%)

60 60 60
CDF(%)

CDF(%)

(%)
y,m

y,m

50 50 50
CDF

CDF

CDF

40 40 40
30 30 30
20 20 20
10 10 10
0 0 0
5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28 5 8 10 13 15 18 20 23 25 28
H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day) H (MJ/m2-day)

รูปที่ 10.13 การแจกแจงความถี่สะสมของขอมูลรังสีรวมรายวันในแตละเดือนของป ค.ศ. 2004


ของสถานีเชียงใหม เมื่อ CDFy ,m คือ ความถี่สะสมของขอมูลรังสีรวมรายวัน (H)
ของขอมูลปที่ y และเดือนที่ m (ปณกมล ดีใหญ, 2548)

383
384

ตารางที่ 10.1 คา FS ของคารังสีรวมรายวันจากขอมูลสถานีเชียงใหมในชวงป ค.ศ. 1995 – 2004

ป ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1995 0.042 0.106 0.026 0.072 0.037 0.074 0.035 0.051 0.057 0.063 0.129 0.051
1996 0.083 0.046 0.034 0.089 0.079 0.058 0.033 0.044 0.051 0.051 0.071 0.043
1997 0.051 0.060 0.056 0.032 0.112 0.086 0.052 0.088 0.077 0.030 0.078 0.068
1998 0.059 0.119 0.035 0.045 0.031 0.048 0.035 0.081 0.049 0.033 0.036 0.037
1999 0.172 0.204 0.061 0.115 0.080 0.049 0.034 0.126 0.072 0.123 0.037 0.042
2000 0.063 0.048 0.024 0.046 0.095 0.025 0.025 0.114 0.075 0.100 0.139 0.207
2001 0.028 0.062 0.061 0.071 0.047 0.026 0.065 0.066 0.027 0.036 0.074 0.027
2002 0.033 0.023 0.038 0.059 0.035 0.028 0.065 0.050 0.040 0.029 0.067 0.031
2003 0.052 0.116 0.089 0.040 0.077 0.094 0.100 0.057 0.033 0.043 0.120 0.101
2004 0.039 0.066 0.051 0.024 0.046 0.071 0.038 0.022 0.053 0.030 0.035 0.041

ตารางที่ 10.2 คา WS ของขอมูลสถานีเชียงใหมในชวงป ค.ศ. 1995 – 2004 (คาที่พิมพตัวหนา


จะเปนเดือนที่เขารับการคัดเลือกเปนเดือนตัวแทน (candidate months))

ป ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1995 0.0042 0.0086 0.0048 0.0071 0.0033 0.0063 0.0032 0.0046 0.0047 0.0050 0.0095 0.0056
1996 0.0084 0.0062 0.0049 0.0075 0.0061 0.0049 0.0036 0.0042 0.0044 0.0044 0.0063 0.0047
1997 0.0062 0.0074 0.0058 0.0056 0.0099 0.0096 0.0053 0.0060 0.0056 0.0029 0.0062 0.0071
1998 0.0059 0.0094 0.0076 0.0053 0.0045 0.0072 0.0033 0.0064 0.0047 0.0048 0.0048 0.0071
1999 0.0124 0.0154 0.0063 0.0104 0.0071 0.0045 0.0037 0.0087 0.0059 0.0094 0.0039 0.0092
2000 0.0065 0.0048 0.0043 0.0063 0.0079 0.0031 0.0032 0.0075 0.0061 0.0069 0.0104 0.0141
2001 0.0040 0.0061 0.0084 0.0075 0.0050 0.0032 0.0053 0.0058 0.0036 0.0036 0.0076 0.0042
2002 0.0038 0.0042 0.0047 0.0071 0.0037 0.0033 0.0049 0.0040 0.0045 0.0029 0.0063 0.0062
2003 0.0082 0.0117 0.0084 0.0070 0.0063 0.0081 0.0074 0.0055 0.0032 0.0042 0.0098 0.0083
2004 0.0043 0.0056 0.0069 0.0049 0.0048 0.0064 0.0046 0.0023 0.0048 0.0031 0.0036 0.0065

384
385

ตารางที่ 10.3 คารากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (rmsd) ของขอมูลรังสีรวม


รายชั่วโมงของเดือนที่เขารับการคัดเลือกสถานีเชียงใหม (คาที่พิมพตัวหนาคือ
เดือนที่มีคา rmsd ต่ําสุด)
ป ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1995 0.263 - 0.382 - 0.531 - 0.627 - - - - 0.391
1996 - - - - - - - 0.573 0.592 - - 0.303
1997 - - - 0.523 - - - - - 0.579 - -
1998 - - - 0.319 0.507 - 0.605 - - - 0.435 -
1999 - - - - - - - - - - 0.432 -
2000 - 0.338 0.410 - - 0.546 0.653 - - - - -
2001 0.208 - - - - 0.521 - - 0.578 - - 0.355
2002 0.277 0.262 0.309 - 0.564 0.522 - 0.517 - 0.470 - -
2003 - - - - - - - - 0.542 - - -
2004 - 0.214 - 0.339 - - - 0.489 0.344 0.346 -

ตารางที่ 10.4 ผลของการเลือกเดือนตางๆ มาประกอบเปนชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทน


(TMD) สําหรับสถานีเชียงใหม

เดือน ป
มกราคม 2001
กุมภาพันธ 2004
มีนาคม 2002
เมษายน 1998
พฤษภาคม 1998
มิถุนายน 2001
กรกฎาคม 1998
สิงหาคม 2004
กันยายน 2003
ตุลาคม 2004
พฤศจิกายน 2004
ธันวาคม 1996

385
386

ตารางที่ 10.5 ขอมูลในชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทนบางสวนของสถานีเชียงใหมที่ไดจาก


การดําเนินการตามขั้นตอนตางๆ ตามวิธีของหองปฏิบัติการแหงชาติแซนเดีย
ลําดับที่ วันที่ / เดือน ชั่วโมง รังสีรวม อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ ความเร็วลม
กิโลจูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง (องศาเซลเซียส) (เปอรเซ็นต) (เมตร/วินาที)
1 1 มกราคม 01.00 น. 0.00 17.9 85.0 0.0
2 1 มกราคม 02.00 น. 0.00 17.7 86.3 0.0
3 1 มกราคม 03.00 น. 0.00 17.6 87.7 0.0
4 1 มกราคม 04.00 น. 0.00 17.4 89.0 0.0
5 1 มกราคม 05.00 น. 0.00 17.0 90.0 0.0
6 1 มกราคม 06.00 น. 1.50 16.7 91.0 0.0
7 1 มกราคม 07.00 น. 160.10 16.3 92.0 0.0
8 1 มกราคม 08.00 น. 797.01 18.4 83.7 0.0
9 1 มกราคม 09.00 น. 1242.89 20.6 75.3 0.0
10 1 มกราคม 10.00 น. 2054.86 22.7 67.0 0.0
11 1 มกราคม 11.00 น. 2415.96 24.2 62.0 0.5
12 1 มกราคม 12.00 น. 2500.75 25.8 57.0 1.0
13 1 มกราคม 13.00 น. 1863.34 27.3 52.0 1.5
14 1 มกราคม 14.00 น. 1975.06 27.7 49.0 1.4
15 1 มกราคม 15.00 น. 1495.26 28.2 46.0 1.2
16 1 มกราคม 16.00 น. 754.61 28.6 43.0 1.0
17 1 มกราคม 17.00 น. 135.66 26.8 51.3 1.0
18 1 มกราคม 18.00 น. 0.00 24.9 59.7 1.0
19 1 มกราคม 19.00 น. 0.00 23.1 68.0 1.0
20 1 มกราคม 20.00 น. 0.00 22.2 71.7 0.7
21 1 มกราคม 21.00 น. 0.00 21.3 75.3 0.3
22 1 มกราคม 22.00 น. 0.00 20.4 79.0 0.0
23 1 มกราคม 23.00 น. 0.00 19.6 82.7 0.0
24 1 มกราคม 24.00 น. 0.00 18.7 86.3 0.0

8737 31 ธันวาคม 01.00 น. 0.00 15.3 86.0 0.0


8738 31 ธันวาคม 02.00 น. 0.00 14.7 89.0 0.0
8739 31 ธันวาคม 03.00 น. 0.00 14.2 92.0 0.0
8740 31 ธันวาคม 04.00 น. 0.00 13.6 95.0 0.0
8741 31 ธันวาคม 05.00 น. 0.00 13.0 95.3 0.0
8742 31 ธันวาคม 06.00 น. 0.00 12.4 95.7 0.0
8743 31 ธันวาคม 07.00 น. 207.48 11.8 96.0 0.0
8744 31 ธันวาคม 08.00 น. 821.94 14.1 87.7 0.0
8745 31 ธันวาคม 09.00 น. 1460.34 16.5 79.3 0.0
8746 31 ธันวาคม 10.00 น. 2002.98 18.8 71.0 0.0
8747 31 ธันวาคม 11.00 น. 2473.80 20.7 63.7 0.5
8748 31 ธันวาคม 12.00 น. 2577.54 22.7 56.3 1.0
8749 31 ธันวาคม 13.00 น. 2417.94 24.6 49.0 1.5
8750 31 ธันวาคม 14.00 น. 2090.76 25.4 44.7 1.9
8751 31 ธันวาคม 15.00 น. 1444.38 26.1 40.3 2.2
8752 31 ธันวาคม 16.00 น. 734.16 26.9 36.0 2.6
8753 31 ธันวาคม 17.00 น. 183.54 24.3 48.0 2.6
8754 31 ธันวาคม 18.00 น. 0.00 21.8 60.0 2.6
8755 31 ธันวาคม 19.00 น. 0.00 19.2 72.0 2.6
8756 31 ธันวาคม 20.00 น. 0.00 18.4 75.0 2.7
8757 31 ธันวาคม 21.00 น. 0.00 17.6 78.0 2.9
8758 31 ธันวาคม 22.00 น. 0.00 16.8 81.0 3.1
8759 31 ธันวาคม 23.00 น. 0.00 18.4 84.7 2.1
8760 31 ธันวาคม 24.00 น. 0.00 20.1 88.3 1.0

386
387

10.6 การสังเคราะหขอมูลรังสีอาทิตยรายชั่วโมงจากขอมูลรังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ย
ตอเดือน
ในการประเมินสมรรถนะของระบบพลังงานรังสีอาทิตยโดยอาศัยการจําลองการ
ทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร โดยทั่วไปจําเปนตองใชขอมูลรังสีอาทิตยรายชั่วโมง แต
ในทางปฏิบัติเรามักจะจัดหาขอมูลดังกลาวไดยาก โดยขอมูลที่หาไดงายกวา คือ ขอมูลรังสี
รวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน ซึ่งสามารถคํานวณไดจากขอมูลภาพถายดาวเทียมหรือจากขอมูล
อุตุนิยมวิทยาตางๆ เชน ความยาวนานแสงแดด หรือปริมาณเมฆ ดังนั้นนักวิจัยตางๆ จึงได
พัฒนากระบวนการสังเคราะหขอมูลรังสีอาทิตยรายชั่วโมงจากขอมูลรังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ย
ตอเดือน ในอดีตที่ผานมามีนักวิจัยตางๆ ไดเสนอวิธีการสังเคราะหขอมูลรังสีอาทิตยหลายวิธี
(Exell, 1980; Janjai, 1985; Janjai and Doe, 1991; Bulut and Buyukalaca, 2007) ในที่ นี้ จ ะ
นําเสนอวิธีที่พัฒนาโดย จันทรฉายและโดอ (Janjai and Doe, 1991) ซึ่งใชงานไดดีกับระบบ
พลังงานรังสีอาทิตยหลายระบบในประเทศไทย (สถาพร เขียววิมล และคณะ, 2530; Janjai
and Doe, 1991) วิธีดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้
ในลําดับแรกจะพิจารณากราฟการแจกแจงความถี่สะสมของดัชนีความแจมใสของ
บรรยากาศรายวัน (K T ) ซึ่งเสนอโดยลิวยและจอรแดน (Liu and Jordan, 1960) ตามรูปที่
10.14

387
388

KT

รูปที่ 10.14 กราฟการแจกแจงความถี่สะสม (f) ของดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวัน


(K T ) เมื่ อ K T เป น ดั ช นี ค วามแจ ม ใสของบรรยากาศรายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ น
(Liu and Jordan, 1960)

จากรูปที่ 10.14 ลิวยและจอรแดนแสดงใหเห็นวากราฟการแจกแจงความถี่สะสม (f)


ของค า ดั ช นี ค วามแจ ม ใสของบรรยากาศรายวั น (daily clearness index, K T ) จะไม ขึ้ น กั บ
สถานที่ แต จ ะขึ้ น กั บ ค า ดั ช นี ค วามแจ ม ใสของบรรยากาศรายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ น (monthly
average daily clearness index, K T ) โดยกราฟดั ง กล า วสามารถนํ า ไปใช ใ นการคํ า นวณ
ศักยภาพการใชประโยชนจากรังสีอาทิตย (utilizability) ของอุปกรณเก็บรังสีอาทิตยแบบแผน
ราบตางๆ ได (Kiatsiriroat and Namprakai, 1992) เสริม จันทรฉายและซังเซ็ง เลียงจินดาถาวร
(2532) ไดยืนยันวากราฟดังกลาวสอดคลองกับขอมูลรังสีอาทิตยที่วัดในประเทศไทย

388
389

เพื่อความสะดวกในการใชงาน ฮิวเกต และฮอลแลนส (Huget and Hollands, 1981)


ไดฟตกราฟในรูปที่ 10.14 ดวยสมการ
c
f (K T , K T )  [exp(K T )(1   1 K T )  1] (10.40)
K tu  1

โดยที่
2 K tu [exp(K tu )  1  K tu ]
KT  { }[( 2   K tu )(1  exp(K tu )
2 K tu (10.41)
 2K tu exp(K tu ))]

c  2 K tu [exp(K tu )  1  K tu ] (10.42)
 1   (1  K tu ) (10.43)
KT  H Ho (10.44)
KT  H Ho (10.45)

เมื่อ K tu คือ คาสูงสุดของ K T ( K tu =0.864)


H คือ รังสีรวมรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H0 คือ รังสีนอกบรรยากาศโลกรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H คือ รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H0 คือ รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตาราง
เมตรตอวัน)

ลํา ดั บต อ ไปจะใช ส มการ (10.40) สังเคราะห ขอมู ลรั งสี ร วมรายชั่ ว โมง ( I ) ตาม
ขั้นตอนตอไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 กําหนดเดือนที่เราตองการสังเคราะหขอมูล และจัดหาขอมูลรังสีรวม
รายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H ) ของเดือนนั้นของตําแหนงที่เราตองการ จากนั้นจะแปลงคา H ให
เปนคา K T ( K T  H / H 0 )

389
390

ขั้นตอนที่ 2 เราจะแทนคา K T ในสมการ (10.41) เพื่ อคํานวณค า  โดยวิ ธีเ ชิง


ตัวเลขตางๆ เชน วิธีอิเทอเรชัน (iteration method) (Kahaner et al., 1989) จากนั้นแทนคา  ที่
ไดในสมการ (10.42) และ (10.43) เพื่อคํานวณคา c และ 1 ตามลําดับ
ขั้นตอนที่ 3 แทนคา 1 , c และ  ในสมการ (10.40) จะไดสมการของ f ซึ่งเปน
ฟงกชันของ K T และ K T
ขั้นตอนที่ 4 หาคาความนาจะเปน (probability) ที่จะได K T คาตางๆ โดยใชสมการ
(10.40) ซึ่งเราทราบคา 1 ,  และ c แลว โดยใหความนาจะเปนซึ่งวันตางๆ ในเดือนนั้นมีคา
ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันในชวง K T,i  K T ถึง K T,i  K T เปน Pi โดย
Pi หาไดจาก

Pi  f (K T,i  K T , K T )  f (K T,i  K T , KT ) (10.46)

ขั้นตอนที่ 5 ใชสมการ (10.46) คํานวณคาความนาจะเปนที่วันตางๆ ในเดือนนั้น


จ ะ มี ค า ดั ช นี ค ว า ม แ จ ม ใ ส ข อ ง บ ร ร ย า ก า ศ ร า ย วั น ใ น ช ว ง 0.05  K T  0.15,
0.15  K T  0.25, 0.25  K T  0.35, 0.35  K T  0.45, 0.45  K T  0.55,
0.55  K T  0.65, 0.65  K T  0.75 และ 0.75  K T  0.864 ( K T มีคาสูงสุดเทากับ
0.864) ซึ่งจะได P1 , P2 , P3 , P4 , P5 , P6 , P7 และ P8 ตามลําดับ
ขั้นตอนที่ 6 คํานวณจํานวนวันที่จะมีคาดัชนีความแจมใสของบรรยากาศคาตางๆ ใน
เดื อ นนั้ น ซึ่ ง จะได เ ป น N1 , N 2 , N3 , N 4 , N5 , N6 , N7 , และ N8 โดย N1  P1N total ,
N 2  P2 N total , N 3  P3 N total , N 4  P4 N total , N 5  P5 N total , N 6  P6 N total , N 7  P7 N total
และ N8  P8 N total เมื่อ N total คือจํานวนวันทั้งหมดของเดือนนั้น โดยเราจะใชคา K T ที่
กึ่งกลางชวงเปนตัวแทนของ K T ในชวงนั้น เชน จะใช K T = 0.1 เปนตัวแทนของคาดัชนี
ความแจมใสของบรรยากาศรายวันในชวง 0.05  K T  0.15 เปนตน (คา N1 , N 2 , ....., N8
ที่ไดจะปดเศษใหเปนจํานวนเต็ม) จากการดําเนินการดังกลาวเราจะไดจํานวนวันที่มี K T
คาตางๆ ในเดือนนั้น เชน K T = 0.1 มี 5 วัน K T = 0.2 มี 2 วัน เปนตน

390
391

ขั้นตอนที่ 7 เนื่องจากวันที่มีคา K T = 0.1 ซึ่งมีจํานวน 5 วัน เราไมรูวาเปนวันใดของ


เดือน ดังนั้นเราจะทําการกระจายคา K T = 0.1 แบบสุม (random) ลงในวันตางๆ ของเดือน
ซึ่งจะทําใหเราไดคา K T ของทุกวันในเดือนนั้น
ขั้นตอนที่ 8 แปลงคา K T ใหเปนคารังสีรวมรายวัน H ( H  K T H 0 ) ซึ่งจะไดคารังสี
รวมรายวันของทุกวันในเดือนนั้น
ขั้นตอนที่ 9 แปลงคารังสีรวมรายวัน H ใหเปนคารังสีรวมรายชั่วโมง I ดวยสมการ
(10.34) โดยใชสมมติฐานวา H  H และ I  I ทั้งนี้เพราะตนกําเนิดของ H มาจาก H ซึ่ง
เปนคาเฉลี่ยรายเดือน

ตัวอยาง 10.2 ถาดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( K T ) ของเดือน


เมษายนที่สถานีอุบลราชธานี (15.25 N, 104.87 E) มีคาเทากับ 0.5 จงคํานวณจํานวนวันใน
เดือนดังกลาวที่มีคาดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวัน ( K T ) เทากับ 0.4

วิธีทํา เริ่มตนจะคํานวณหาคา  จากสมการ

2 K tu [exp(K tu )  1  K tu ]
KT  { }[( 2   K tu )(1  exp(K tu )
2 K tu
 2K tu exp(K tu ))]

โดยแทนคา K T = 0.5, K tu = 0.864 ซึ่งจะได

2  0.864 [exp(  0.864)  1    0.864]


0. 5  { }[( 2   0.864)(1  exp(  0.864)
2  0.864
 2  0.864 exp(  0.864))]

อาศัยวิธีอิเทอเรชัน จะได
  4.589

391
392

จากนั้นจะหา c จากสมการ
c  2 K tu [exp(K tu )  1  K tu ]
 (4.589) 2  0.864 [exp(4.589  0.864)  1  4.589  0.864]
 0.381
และหาคา 1 จากสมการ
1   (1  K tu )
 4.589 (1  4.589  0.864)
 0.9243

ในลําดับตอไปจะหาความนาจะเปนที่เดือนเมษายนจะมีคา K T  0.4 จากสมการ

Pi  f (K T,i  K T , K T )  f (K T,i  K T , KT )

โดยแทนคา K T,i  0.4 และ K T  0.05

c
จาก f (K T , K T )  [exp(K T )(1  1K T )  1]
K tu 1
แทนคา K T  K T ,i  K  0.4  0.05  0.45

จะได
0.381
f (0.45,0.5)  [exp(4.589  0.45)(1  0.9243  0.45)  1]
0.864  4.589  0.9243
 0.375
และแทนคา K T  K T,i  K  0.4  0.05  0.35
0.381
f (0.35,0.5)  [exp(4.589  0.35)(1  0.9243  0.35)  1]
0.864  4.589  0.9243
 0.247
คํานวณคา Pi จาก
Pi  f (0.45,0.5)  f (0.35,0.5)
 0.375  0.247
 0.128

392
393

เนื่องจากเดือนเมษายนมี 30 วัน (N = 30) ดังนั้นความนาจะเปนที่เดือนเมษายนจะมีคา


K T = 0.4 จะเปนไปตามสมการ

N  Pi N total
 0.128  30
 3.84
วัน
4
จันทรฉาย และโดอ (Janjai and Doe, 1991) ไดทดสอบใชขอมูลรังสีรวมรายชั่วโมงที่
สังเคราะหไดจากวิธีดังกลาว เพื่อหาสมรรถนะของระบบอบแหงขาวเปลือกพลังงานรังสี
อาทิตย โดยการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร ผลที่ไดพบวาสมรรถนะของ
ระบบที่ไดจากขอมูลสังเคราะหมีความสอดคลองกับสมรรถนะที่ไดจากการคํานวณโดยใช
ขอมูลรังสีรวมจากการวัด

10.7 การแปลงขอมูลรังสีอาทิตยจากตําแหนงที่วัดไปยังตําแหนงที่ใชงาน
โดยทั่วไปตําแหนงที่รูคารังสีอาทิ ตยจะมิใชตํ าแหน งที่ ต องการใช งาน โดยความ
แตกตางระหวางคารังสีอาทิตยของ 2 ตําแหนง จะขึ้นกับระยะหางระหวางตําแหนงดังกลาว
และความแตกตางของสภาพแวดลอม ในการแปลงขอมูลรังสีอาทิตยจากตําแหนงของสถานี
วัดไปยังตําแหนงที่ตองการ เราสามารถทําไดโดยการวัดคาความเขมรังสีอาทิตย ณ ตําแหนงที่
ตองการรูคารังสีอาทิตยประมาณ 1 ป และหาความสัมพันธทางสถิติระหวางความเขมรังสี
อาทิ ต ย ที่ ส ถานี วั ด ใกล เ คี ย งกั บ ความเข ม รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ตํ า แหน ง ที่ ต อ งการ จากนั้ น ใช
ความสัมพันธที่ไดไปแปลงคารังสีอาทิตยที่สถานีวัดใหเปนคา ณ ตําแหนงที่ตองการ
ในกรณีของรังสีรายวันหรือรายวันเฉลี่ยตอเดือน นอกจากจะใชขอมูลวัดจํานวน 1 ป
มาสร า งความสั ม พั น ธ ท างสถิ ติ แ ล ว เราอาจใช วิ ธี ป ระมาณค า จากสถานี วั ด ใกล เ คี ย ง
(interpolation) ถาในบริเวณนั้นมีสถานีวัดอยูรอบๆ หลายสถานี

393
394

10.8 การใชขอมูลรังสีอาทิตยในการวิเคราะหสมรรถนะของระบบพลังงานรังสี
อาทิตย
ในการวิเคราะหสมรรถนะของระบบพลังงานรังสีอาทิตยอยางละเอียด โดยทั่วไปจะ
ใชขอมูลรังสีอาทิตยรายชั่วโมงหรือละเอียดกวารายชั่วโมง ซึ่งอาจเปนรังสีรวมหรือรังสีตรง
ทั้งนี้ขึ้นกับระบบที่จะศึกษา เชน เครื่องทําน้ํารอนพลังงานรังสีอาทิตย เครื่องกลั่นน้ําพลังงาน
รังสีอาทิตย และระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลสุริยะจะตองใชขอมูลรังสีรวม (Janjai et al., 2000;
Kiatsiriroat et al., 1987; Sukamongkol et al., 2002) สํ าหรั บกรณี ของระบบผลิ ตไฟฟ าพลั งงาน
รังสีอาทิตยแบบรวมแสง (concentrating solar power, CSP) จะใชขอมูลรังสีตรง (Janjai et al.,
2011) โดยข อมู ลที่นํ า มาใชอาจอยู ใ นรูปของข อมูลที่ ไดจ ากการวัด หลายป หรื อชุ ด ข อมูล
ตัวแทนก็ได

10.9 การใชขอมูลรังสีอาทิตยในวิธีการออกแบบสําเร็จรูป (design method)


โดยทั่วไปเราสามารถออกแบบระบบพลังงานรังสีอาทิตย โดยอาศัยการจําลองการ
ทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร โดยใชขอมูลรังสีอาทิตยรายชั่วโมงหลายๆ ป หรือใชชุด
ขอมูลตัวแทน 1 ป แตวิธีดังกลาวผูใชตองมีความชํานาญดานโปรแกรมคอมพิวเตอร ในการ
ทําใหการออกแบบมีความสะดวกขึ้น นักวิจัยตางๆ จึงไดพัฒนาวิธีการออกแบบสําเร็จรูปโดย
การจําลองการทํางานระบบดวยคอมพิวเตอรจํานวนมาก แลวนําผลมาสรางเปนแผนภูมิหรือ
สมการเอมไพริคัล เพื่อนํามาใชหาคาที่เหมาะสมของพารามิเตอรตางๆ ของระบบ ตัวอยางเชน
วิธีการใชแผนภูมิเอฟ (f-chart method) ซึ่งใชสําหรับออกแบบระบบทําความรอนพลังงาน
รั ง สี อ าทิ ต ย (Klein, 1976; Klein et al., 1976; Beckman et al., 1977) และวิธี ก ารหาขนาดที่
เหมาะสมของตัวรับรังสีอาทิตยของระบบอบแหงพลังงานรังสีอาทิตย (Janjai, 1990; Janjai et
al., 1994) วิธีการเหลานี้จะใชขอมูลรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบของอุปกรณที่รับ
รังสีอาทิตย ถาเรามีขอมูลรังสีรวมบนระนาบในแนวระดับจะตองแปลงใหเปนคาบนระนาบ
ของอุปกรณที่รับรังสีอาทิตยโดยใชวิธีการในขอ 10.2

394
395

10.10 การใชขอมูลรังสีอาทิตยเพื่อหาบริเวณที่เหมาะสมในการจัดตั้งระบบ
พลังงานรังสีอาทิตย
โดยทั่วไปรังสีอาทิตยมีการกระจายตามพื้นที่ โดยบางพื้นที่มีความเขมสูงและบางพื้นที่มี
ความเขมต่ํา ในการเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับจัดตั้งระบบพลังงานรังสีอาทิตยตางๆ เชน
โรงไฟฟาพลังงานรังสีอาทิตยระบบความรอนแบบรวมแสง หรือระบบผลิตไฟฟาดวยเซลล
สุ ริย ะ เราตอ งมีขอ มูล การกระจายตามพื้ น ที่ข องรัง สี อาทิ ต ย ใ นรู ป ของแผนที่ รัง สี อ าทิ ต ย
เนื่ อ งจากระบบพลั ง งานรั ง สี อ าทิ ต ย ต า งๆ จะต อ งใช ง านตลอดป แ ละรั ง สี อ าทิ ต ย มี ก าร
เปลี่ยนแปลงในปตางๆ ดังนั้นแผนที่รังสีอาทิตยที่จะนํามาใชงานจะตองเปนคาเฉลี่ยรังสี
อาทิตยตลอดทั้งปและเฉลี่ยจากขอมูลหลายป ถาระบบที่จะจัดตั้งใชขอมูลรังสีรวมเปนแหลง
พลังงาน เชน ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลสุริยะ แผนที่ที่ใชตองเปนแผนที่รังสีรวม กรณีที่
ระบบใชรังสีตรงเปนแหลงพลังงาน เชน โรงไฟฟาพลังงานรังสีอาทิตยระบบความรอนแบบ
รวมแสงตองใชแผนที่รังสีตรง โดยทั่วไปแผนที่รังสีรวมและรังสีตรงควรจัดทําจากขอมูล
ดาวเทียม (Janjai et al., 2005; Janjai, 2010) ทั้งนี้เพราะจะไดคาความเขมรังสีอาทิตยครอบคลุม
ทุกพื้นที่ที่ตองการ ตัวอยางตําแหนงของระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลสุริยะ ซึ่งจัดตั้งในประเทศไทย
โดยใชแผนที่รังสีอาทิตยจากภาพถายดาวเทียมเปนแนวทางในการเลือกที่ตั้ง แสดงไวในรูปที่
10.15
เนื่องจากการเลือกพื้นที่สําหรับติดตั้งระบบพลังงานรังสีอาทิตย จะตองคํานึงถึงปจจัย
อื่นๆ เชน ระยะหางจากเครือขายสายสงไฟฟาและพื้นที่หวงหามตางๆ ที่ไมสามารถใชงานได
เชน อุทยานธรรมชาติ และโบราณสถาน เปนตน ดังนั้นจึงควรใชระบบภูมิศาสตรสารสนเทศ
(Geographic Information System, GIS) ช วยในการคัดเลือกพื้น ที่ที่เหมาะสมโดยใชขอมู ล
แผนที่รังสีอาทิตยรวมกับขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

395
396

504 kW 5.558 MW
แมฮอ งสอน เลย
547 kW 1.563 MW
นครสวรรค อุดรธานี
2.225 MW 282 kW
ลพบุรี อุดรธานี

1.136 MW 1 MW
อางทอง อุบลราชธานี

30+8 MW 1.114 MW
อยุธยา นครราชสีมา

2.144 MW 73 MW
เพชรบุรี ลพบุรี
1.949 MW 1.495 MW
ประจวบคีรขี ันธ ฉะเชิงเทรา

MJ/m2-day

รูปที่ 10.15 แผนที่รังสีรวมที่พัฒนาโดยจันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2013) และจุดที่มี


การจัดตั้งระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลสุริยะ ซึ่งมีขนาดกําลังการผลิตตางๆ ตามที่
ระบุไวในรูป

396
397

10.11 สรุป
บทนี้ไดกลาวถึงชนิดของขอมูลรังสีอาทิตยซึ่งแบงไดเปนขอมูลปฐมภูมิซึ่งไดจากการ
วั ด และข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ ที่ ไ ด จ ากแบบจํ า ลอง โดยการใช ข อ มู ล ดั ง กล า วเราควรรู ค วาม
คลาดเคลื่อนของขอมูลกอนการใชงาน เนื่องจากรังสีอาทิตยที่วัดกันทั่วไปจะเปนรังสีรวมบน
ระนาบในแนวระดับ แตในการใชงานมักตองการคาบนระนาบเอียง ดังนั้นเราจึงตองทําการ
แปลงรังสีบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบเอียง โดยวิธีการแปลงจะเริ่มจากการ
คํานวณรังสีกระจายจากรังสีรวม โดยใชแบบจําลองของอัตราสวนระหวางรังสีกระจายตอรังสี
รวม แลวนําคารังสีกระจายที่ไดไปลบออกจากคารังสีรวมจะไดคารังสีตรง หลังจากนั้นจะทํา
การแปลงคารังสีกระจายและรังสีตรงใหเปนคาบนระนาบเอียง โดยการแปลงรังสีตรงจะใชวิธี
คูณคารังสีตรงบนระนาบในแนวระดับดวยแฟคเตอร rb ซึ่งขึ้นกับมุมตกกระทบของรังสีตรง
บนระนาบเอียง (  ) และมุมเซนิธของดวงอาทิตย ( z ) สําหรับการแปลงรังสีกระจายจะใชวิธี
คูณคารังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับดวยแฟคเตอร TF ซึ่งขึ้นกับสภาพทองฟาและ
ตําแหนงของทางเดินดวงอาทิตย
ในบางครั้งเรามีขอมูลรังสีรายวันเฉลี่ยตอเดือน แตในการใชงานเราตองการขอมูลราย
ชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน ในบทนี้จึงไดอธิบายวิธีการหาสูตรสําหรับคํานวณคารังสีรายชั่วโมง
เฉลี่ยตอเดือนจากรังสีรายวันเฉลี่ยตอเดือน ทั้งกรณีรังสีรวมและรังสีกระจาย ในลําดับตอมาได
อธิบายกระบวนการสรางชุดขอมูลตัวแทนและวิธีสังเคราะหขอมูลรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ย
ตอเดือนจากขอมูลรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน สุดทายไดอธิบายการประยุกตใชขอมูลรังสี
อาทิตยในงานดานพลังงานรังสีอาทิตยในลักษณะตางๆ

397
398

แบบฝกหัด

1. จงคํานวณรังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนที่ศาลากลางจังหวัดขอนแกน ซึ่งอยูที่พิกัด
18.19 N, 102.80 E ที่ระหวางเวลา 11:00 – 12:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตย ในวันที่ 21
มิถุนายน ถาคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนของเดือนมิถุนายนเทากับ 18.0 เมกะจูลตอ
ตารางเมตรตอวัน
คําตอบ 2.14 เมกะจูลตอตารางเมตร

2. จงคํ า นวณค า ความแตกต า งของรั ง สี ก ระจายรายวั น เฉลี่ ย ต อ เดื อ นที่ ส ถานี เ ชี ย งใหม
(18.78 N, 98.98 E) กับสถานีสงขลา (7.20 N, 100.60 E) ในเดือนเมษายน ถารังสีรวม
รายวันเฉลี่ยตอเดือนของเดือนเมษายนที่สถานีเชียงใหมและสถานีสงขลามีคาเทากับ 18
และ 22 เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน ตามลําดับ
คําตอบ 0.882 เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

3. ถาดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( K T ) ที่สถานีสงขลา (7.20N,


100.60 E) ของเดื อ นกั นยายน มี คา เทา กับ 0.4 จงคํานวณความนา จะเป น ที่ พบวั น ที่
คาสัมประสิทธิ์ความแจมใสรายวัน (K T ) ซึ่งมีคาเทากับ 0.3
คําตอบ 0.136

4. ถารังสีตรงซึ่งวัดไดจากเครื่องวัดรังสีตรง (pyrheliometer) ที่สถานีเชียงใหม (18.78 N,


98.98 E) ระหวางเวลา 10:00 – 11:00 นาฬิกา ตามเวลาดวงอาทิตย ในวันที่ 10 เมษายน
มีคาเทากับ 1.0 เมกะจูลต อตารางเมตรตอชั่ว โมง จงคํานวณรัง สีตรงบนระนาบเอี ย ง
30 องศา ซึ่งหันไปทางทิศใตที่เวลาและสถานที่ดังกลาว
คําตอบ 0.87 เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

5. จงใหเหตุผลวาทําไมชวงของขอมูล K T ในกราฟรูปที่ 10.5 จึงสั้นกวาชวงของขอมูล K T


ในกราฟรูปที่ 10.4

398
399

รายการสัญลักษณ

b ดัชนีการกระจายของรังสีอาทิตย (-)
CDFm ( x i ) ความถี่สะสมระยะยาวของตัวแปร x ของเดือน m
CDFy ,m ( x i ) ความถี่สะสมของตัวแปร x ของเดือน m และป y
FSx ( y, m) ตัวแปรทางสถิติฟงเคลชไตน – เชฟเฟอรของตัวแปร x ของเดือน m และป y
H0 รังสีนอกบรรยากาศโลกรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H0 รังสีนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
Hd รังสีกระจายรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H รังสีรวมรายวัน (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
H รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
Hd รังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
HT รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบเอียง (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
Ib รั ง สี ต รงรายชั่ ว โมงที่ ต กกระทบบนระนาบในแนวระดั บ (จู ล ต อ ตารางเมตรต อ
ชั่วโมง)
I b รังสีตรงรายชั่วโมงที่ตกกระทบระนาบเอียงบนพื้นผิวโลก (จูลตอตารางเมตรตอ
ชั่วโมง)
Id รังสีกระจายรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I dT ,g รังสีกระจายรายชั่วโมงบนระนาบเอียงที่สะทอนมาจากพื้นผิวโลก (จูลตอตารางเมตร
ตอชั่วโมง)
I dT ,s รังสีกระจายรายชั่วโมงบนระนาบเอียงที่มาจากทองฟา (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
Ih รังสีรวมรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับชั่วโมงที่ h (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
IT รังสีรวมรายชั่วโมงบนระนาบเอียง (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I คารังสีรวมรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
I0 รังสีนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับ (จูลตอตารางเมตรตอ
ชั่วโมง)
I 0 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงบนระนาบเอียง (จูลตอตารางเมตรตอ
ชั่วโมง)

399
400

KT ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวัน (-)
KT ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายวันเฉลี่ยตอเดือน (-)
kT ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศรายชั่วโมง (-)
M จํานวนตัวแปรของขอมูลอุตุนิยมวิทยา (-)
n จํานวนชั่วโมงที่มีคารังสีรวมในปที่มีเดือนเขารับการคัดเลือกเปนชุดขอมูลตัวแทน (-)
N จํานวนชวง (interval) ขอมูลแตละตัวแปรที่ทําการแจกแจง (-)
rb แฟคเตอรสําหรับแปลงรังสีตรงรายชั่วโมงบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบน
ระนาบเอียง (-)
rmsd รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสองของคารังสีรวมรายชั่วโมง (จูล
ตอตารางเมตรตอชั่วโมง)
Rb แฟคเตอรสําหรับแปลงรังสีตรงรายวันเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบในแนวระดับใหเปน
คาบนระนาบเอียง (-)
R สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (-)
TF แฟคเตอรแสดงผลของความเอียงของระนาบ (-)
WS คาผลรวมถวงน้ําหนักของ FS (-)
WFx คาถวงน้ําหนัก (weighting factors) สําหรับขอมูลตัวแปร x
xi คาของตัวแปร x ที่ชวงขอมูล i (-)
 มุมระหวางระนาบเอียงกับระนาบในแนวระดับหรือมุมเอียง (องศา)
 มุมตกกระทบของรังสีตรงบนระนาบเอียง (องศา)
z มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
G สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก (-)
b สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีตรงของบรรยากาศโลก (-)
i มุมชั่วโมงที่ตองการคํานวณคารังสีรายชั่วโมง (องศา)
ss มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบในแนวระดับ (องศา)
ss มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตกบนระนาบเอียง (องศา)

400
401

เอกสารอางอิง

ปณกมล ดี ใ หญ , 2548. การสร า งชุ ด ข อ มู ล อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาตั ว แทนสํ า หรั บ ประเทศไทย,
วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
จังหวัดนครปฐม.
พิชัย นามประกาย, จงจิตร หิรัญลาภ, 2532. การศึกษาอัตราสวนของคารายชั่ว โมงตอคา
รายวันของรังสีอาทิตยที่กรุงเทพฯ, วารสารสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
ปที่ 12 ฉบับที่ 1, 40-51.
พิชัย นามประกาย, ศิริชัย เทพา, จงจิตร หิรัญลาภ, 2532. การประมาณทางสถิติของคารังสี
อาทิตยสําหรับกรุงเทพฯ. วารสารสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ปที่ 12
ฉบับที่ 2, 42-61.
สถาพร เขียววิมล, เสริม จันทรฉาย, Daguenet M., 2530. การออกแบบระบบอบแหงขาวโพด
พลังงานแสงอาทิตยดวยคอมพิวเตอร, เอกสารการประชุมวิชาการเทคโนโลยีหลัง
การเก็บเกี่ยว จังหวัดเชียงใหม 28-30 ตุลาคม พ.ศ. 2530.
เสริม จันทรฉาย, ซังเซ็ง เลียงจินดาถาวร, 2532. ลักษณะทางสถิติของพลังงานแสงอาทิตยของ
กรุงเทพฯ, เอกสารประชุมวิชาการประจําป ครั้งที่ 27 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,
30 มกราคม-1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2532 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ.
Andersen, B., Eidorff, S., Lund, H., Pedersen, E., Rosenorn, S., Valbjorn, O., 1977.
Meteorological data for design of building and installation: a reference year
(extract). Report no. 66, Thermal Insulation Laboratory, Denmark.
Badescu, V., 2002. 3D isotropic approximation for solar diffuse irradiance on tilted
surfaces. Renewable Energy 26, 221–233.
Beckman, W.A., Klein, S.A., Duffie, J.A., 1977. Solar Heating Design by the f-chart
Method, Wiley-Interscience, New York.
Bugler, J.W., 1977. The determination of hourly insolation on an inclined plane using a
diffuse irradiance model based on hourly measured global horizontal insolation.
Solar Energy 19(6), 477-491.

401
402

Bulut, H., Buyukalaca, O., 2007. Simple model for the generation of daily global solar
radiation data in Turkey. Applied Energy 84, 477-491.
Chaiyapinunt, S., Mangkornsaksit, K., 2000. Mathematical models for hourly diffuse solar
radiation at Bangkok. Journal of Energy, Heat and Mass Transfer 22, 1-6.
Chaiyapinunt, S, Mangkornsaksit, K., 2001. Standard meteorological data for Bangkok.
Journal of Energy, Heat and Mass Transfer 23, 33-37.
Chaiyapinunt, S., Mangkornsaksit, K., 2002. The use of meteorological data in TRY format
in a DOE-2.1E simulation. Journal of Energy, Heat and Mass Transfer 24, 163-173.
Collares-Pereira M., Rabl., M., 1979. The average distribution of solar radiation -
correlations between diffuse and hemispherical and between daily and hourly
insolation values. Solar Energy 22, 155 – 164.
Duffie, J.A., Beckman, W.A., 1991. Solar Engineering of Thermal Processes. John Wiley &
Sons, New York.
Erbs, D.G., Klein, S.A., Duffie, J.A., 1982. Estimation of the diffuse radiation fraction for
hourly, daily and monthly average global radiation. Solar Energy 4(3), 293-302.
Exell, R.H.B., 1980. Simulation of solar radiation in a tropical climate with data for
Thailand. Research Report No. 115, Asian Institute of Technology, Prathumthani,
Thailand.
Festa, R., Ratto, C.F., 1993. Proposal of a numerical procedure to select reference years.
Solar Energy 17, 9 -17.
Gueymard, C.A., Myers, D.R., 2008. Solar radiation measurement: Progress in radiometry
for improved modeling. In V. Badescu (Ed) Modeling Solar Radiation at the Earth
Surface. Springer, Berlin.
Gueymard, C.A., 1987. An anisotropic solar irradiance model for tilted surface and its
comparison with selected engineering algorithms. Solar Energy 38(5), 367-386.

402
403

Hall, I.J., Prairie, R.R., Anderson, H.E., Boes, E.C., 1978. Generation of typical
meteorological year for 26 SOLMET stations. Sandia National Laboratory Report,
SAND 78 – 1601, Albuquerque, New Mexico.
Hay, J.E., 1979. Calculation of monthly mean solar radiation for horizontal and inclined
surface. Solar Energy 23, 301-307.
Huget, R.G., Hollands, K.G.J., 1981. A probability density function for KT with applications
to utilizability. Proceedings of ISES, Briton England, 2424 -2433.
Iqbal M., 1983. Introduction to Solar Radiation. Academic Press, New York.
Jacovides, C.P., Tymvios, F.S., Assimakopoulos, V.D., Kaltsounides, N.A., 2006.
Comparative study of various correlations in estimating hourly diffuse fraction of
global solar radiation. Renewable Energy 31, 2492-2504
Janjai, S., 1985. Faisabilité Technico – économique d’un Système de Séchage Solaire du
Tabac Virginie. Ph.D. Thesis, Université de Perpignan, France.
Janjai, S., 1990. A simple method for estimating a long – term performance of solar bulk
curing system for bright leaf tobacco. Proceedings of International Conference on
Energy and Environment, 27-30 November, 1990, Bangkok, Thailand.
Janjai, S., 2010. A method for estimating direct normal solar irradiation from satellite data
for a tropical environment. Solar Energy 84, 1685-1695.
Janjai, S., Deeyai, P., 2009. Comparison of models for generating typical meteorological
year using meteorological data from a tropical environment. Applied Energy 86,
528-537.
Janjai, S., 2012. Diffuse – global correlation models at four locations in Thailand.
International Journal of Renewable Energy 7(1), 11 – 12.
Janjai, S., Doe, P.E., 1991. A simple procedure for computing solar radiation for solar grain
dryer simulation, Proceedings of ISES Solar World Congress, Denver, Colorado,
19-23 August 1991, Pergamon Press, New York, Vol1, 1039-1043.
Janjai, S., Esper, A., Mühlbauer, W., 2000. Modeling the performance of a large area plastic
solar collector. Renewable Energy 21, 363 – 376.

403
404

Janjai, S., Esper, A., Mühlbauer, W., 1994. A procedure for determining the optimum
collector area for a solar paddy drying system. Renewable Energy 4(4), 409-416.
Janjai, S., Laksanaboonsong, J., Seesaard, T., 2011. Potential application of concentrating
solar power systems for the generation of electricity in Thailand. Applied Energy
88, 4960 -4967.
Janjai, S., Laksanaboonsong, J., Nunez, M., Thongsathitya, A., 2005. Development of a
method for generating operational solar radiation maps from satellite data for a
tropical environment, Solar Energy 78, 739-751.
Janjai, S., Masiri, I., Pattarapanitchai, S., Laksanaboonsong, J., 2013. Mapping solar
radiation from satellite data in a tropical environment using an improved model,
International Journal of Photoenergy 2013, 1-13.
Janjai, S., Praditwong, P., Moonin, C., 1996. A new model for computing monthly average
daily diffuse radiation. Renewable Energy 9, 1283-1286.
Kahaner, D., Moler C., Nash S., 1989. Numerical Methods and Software, Prentice Hall,
Englewood Cliffs, NJ, USA.
Kiatsiriroat, T., Bhattacharya, S.C., Wibulswas, P., 1987. Performance analysis of multiple
effect vertical still with a flat plate solar collector. Solar and Wind Technology 4,
451-457.
Kiatsiriroat, T., Namprakai, P., 1992. Utilizability functions for a flat plate solar collector
on a horizontal plane at Bangkok. Research and Development Journal of the
Engineering Institute of Thailand, 3(1), 20-28.
Klein, S.A., 1976. A design procedure for solar heating systems. Ph.D. Thesis, University of
Wisconsin-Madison.
Klein, S.A., Beckman, W.A., Duffie, J.A., 1976. A design procedure for solar heating
systems. Solar Energy 18, 113-127.
Klucher, T.M., 1979. Evaluation of models to predict insolation on tilted surfaces. Solar
Energy 23(2), 111-114.

404
405

Koronakis, P.S., 1986. On the choice of the angle of tilt for south facing solar collectors in
the Athens basin area. Solar Energy 36(3), 217-225.
Liu, B.Y.H., Jordan, RC., 1960. The interrelationship and characteristic distribution of
direct, diffuse and total solar radiation. Solar Energy 4, 1-19.
Liu, B.Y.H., Jordan, R.C., 1962. Daily insolation on surfaces tilted towards the equator.
Trans ASHRAE, 526–541.
Ma, C.C.Y., Iqbal, M., 1983. Statistical comparison of models for estimating solar radiation
on inclined surfaces. Solar Energy 31(3), 313–317.
Muneer, T., 1997. Solar Radiation and Daylight Models for the Energy Efficient Design of
Buildings. Architectural Press, Oxford, UK.
Newland, F.J., 1989. A study of solar radiation models for the coastal region of south China.
Solar Energy 43, 227-235.
Oliveira, A.P., Escobedo, J.F., Machado, A.J., Soares, J., 2002. Correlation models of
diffuse solar radiation applied to the city of Sao Paulo, Brazil. Applied Energy 71,
59-73.
Orgill, J.F., Hollands, K.G.T., 1977. Correlation equation for hourly diffuse radiation on a
horizontal surface. Solar Energy 19, 357 – 359.
Page, J.K., 1961. The estimation of the monthly mean values of daily total shortwave
radiation on vertical and inclined surfaces from sunshine records for latitudes
40N-40S. Proceedings of the United Nations Conference on New Sources of
Energy. Paper No. S98, 4, 378-390.
Paliatsos, A.G., Kambezidis, H.D., Antoniou, A., 2003. Diffuse solar irradiation at a
location in the Balkan Peninsula. Renewable Energy 28, 2147-2156.
Perez, R., Seals, R., Ineichen, P., Stewart, R., Menicucci, D., 1987. A new simplified
version of the Perez diffuse irradiance model for tilted surfaces. Solar Energy
39(3), 221-231.

405
406

Reindl, D.T., Beckman, W.A., Duffie, J.A. 1990. Evaluation of hourly tilted surface
radiation models. Solar Energy 45(1), 9–17.
Rensheng, C., Ersi, K., Jianping, Y., Shihua, L., Wenzhi, Z., Yongjian, D., 2004. Estimation
of horizontal diffuse solar radiation with measured daily data in China. Renewable
Energy 29, 717-726.
Skartveit, A., Olseth, J.A., 1986. Modeling slope irradiance at high latitudes. Solar Energy
36(4), 333–344.
Sukamongkol, Y., Chungpaibulpatana, S., Ongsakul, W., 2002. A simulation model for
predicting the performance of a solar photovoltaic system with alternating current
loads. Renewable Energy 27, 237-258.
Temps, R.C., Coulson, K.L., 1977. Solar radiation incident upon slopes of different
orientation. Solar Energy 19(2), 179–184.
Wattan, R., Janjai, S., 2016. An investigation of the performance of 14 models for
estimating hourly diffuse irradiation on inclined surfaces at tropical sites.
Renewable Energy 93, 667-674.
Whillier, A., 1956. The determination of hourly values of total radiation from daily
summation. Archives für Meteorology, Geophysik und Bioklimatology Ser. B7(2),
197 – 204.
Willmott, C.J., 1982. On the climate optimization of the tilt and azimuth of flat-plate solar
collectors. Solar Energy 28(3), 205-216.

406
สวนที่ 3
รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นตางๆ

รังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศมาถึงพื้นผิวโลกสามารถแบงตามชวงความยาวคลื่นได
เปนรังสีตางๆ ไดแก รังสีอัลตราไวโอเลต แสงสวาง และรังสีอินฟราเรด โดยรังสีแตละชวง
ความยาวคลื่นจะมีวิธีการวัดและวิธีการคํานวณตลอดจนการประยุกตใชที่แตกตางกัน ในสวน
ที่ 3 ของตํารานี้จะกลาวถึงรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นแสงสวางซึ่งจะแบงออกเปน 4 บท
ไดแก บทที่ 11 จะกลาวถึงแสงสวางธรรมชาติที่ใชประโยชนในงานดานการออกแบบอาคาร
อนุรักษพลังงานและบทที่ 12 จะอธิบายเรื่องราวเกี่ยวกับรังสีอาทิตยที่พืชใชสังเคราะหแสงซึ่ง
ใชในงานดานการเกษตรและปาไม จากนั้นในบทที่ 13 จะกลาวถึงรังสีอัลตราไวโอเลตจาก
ดวงอาทิตยซึ่งมีผลกระทบตอผิวหนังมนุษยและสิ่งแวดลอม สําหรับบทที่ 14 จะกลาวถึงรังสี
อินฟราเรดจากดวงอาทิตยซึ่งเปนรังสีความรอนที่มีความสําคัญตองานดานพลังงานรังสีอาทิตย
และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก

407
408
บทที่ 11
แสงสวางธรรมชาติ
ตามที่กลาวไปแลววา รังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศมาถึงพื้นผิวโลก ประกอบดวยความ
ยาวคลื่นตางๆ โดยพลังงานสวนใหญจะอยูในชวงความยาวคลื่น 0.3-3.0 ไมครอน แตตามนุษย
สามารถรับรูไดในชวงความยาวคลื่น 0.38-0.77 ไมครอนเทานั้น รังสีอาทิตยในชวงความยาว
คลื่นนี้เรียกกันทั่วไปวา แสงสวางธรรมชาติ (daylight) ความรูเกี่ยวกับแสงสวางธรรมชาติมี
ความสําคัญตองานดานการออกแบบอาคารอนุรักษพลังงาน ซึ่งใชแสงสวางธรรมชาติเพื่อลด
การใชไฟฟาสําหรับใหแสงสวางในอาคาร ในบทนี้จะกลาวถึงการตอบสนองตอแสงสวางของ
ตามนุ ษ ย ปริ ม าณแสงสว า งธรรมชาติ การวั ด และการคํ า นวณแสงสว า งธรรมชาติ ด ว ย
แบบจําลองตางๆ

11.1 การตอบสนองตอแสงสวางของตามนุษย
ตาของมนุ ษ ย ต อบสนองต อ แสงสว า งที่ ค วามยาวคลื่ น ต า งๆ ได ไ ม เ ท า กั น โดย
คณะกรรมการความสวางนานาชาติ (Commission Internationale d’ Eclairage, CIE) ไดกําหนด
มาตรฐานการตอบสนองตอแสงสวางของตามนุษย ตามรูปที่ 11.1
1 .2
1
0 .8
การตอบสนอง

0 .6
0 .4
0 .2
0
350 400 450 500 550 600 650 700 7 50 800
ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)
รู ป ที่ 11.1 กราฟแสดงการตอบสนองต อ แสงสว า งของตามนุ ษ ย ต ามมาตรฐานของ
คณะกรรมการความสวางนานาชาติ (ดัดแปลงจาก Murdoch, 1985)

409
410

จากกราฟในรูปที่ 11.1 จะเห็นวาตามนุษยตอบสนองไดสูงสุดที่ความยาวคลื่น  = 555


นาโนเมตร (Vartiainen, 2000) และการตอบสนองจะลดลงที่ความยาวคลื่นต่ํากวาและสูงกวาคา
ดังกลาว

11.2 ปริมาณแสงสวาง
ในงานดานแสงสวางธรรมชาติมีการกําหนดศัพทเทคนิคซึ่งใชในการบอกปริมาณ
ตางๆ ของแสงสวาง โดยปริมาณที่สําคัญมีดังนี้
1) ฟลักซของแสงสวา ง (luminous flux) โดยทั่ วไปฟลัก ซของคลื่นแม เหล็กไฟฟ า
(radiant flux) จะเปนอัตราการไหลของพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาตอหนึ่งหนวยเวลา ซึ่งมี
หน ว ยเป น จู ล ต อวิ น าที หรื อวั ตต เมื่ อ ฟลั ก ซ ข องคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ในช ว งความยาวคลื่ น
แสงสวางตกกระทบตามนุษย ประสาทตาจะรับรูในรูปของฟลักซของแสงสวาง ซึ่งมีหนวย
เป น ลู เ มน (lumen, lm) โดยฟลั ก ซ ข องแสงสว า งจะมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ฟลั ก ซ ข องคลื่ น
แมเหล็กไฟฟา ดังนี้

683 ลูเมน = 1 วัตต ที่ความยาวคลื่น 555 นาโนเมตร

2) ความสองสวาง (luminance) เปนฟลักซของแสงสวางที่พุงเขาหรือออกจากพื้นที่


เล็กๆ ซึ่งตั้งฉากกับทางเดินของแสงในกรวยแคบๆ ดังรูปที่ 11.2 หรือเขียนไดดังสมการ (11.1)

dE

L
 d

dA cos 

รูปที่ 11.2 ฟลักซของแสงสวางตามคําจํากัดความของความสองสวาง

410
411

d 2 E
L (11.1)
dA cos  d 

เมื่อ L คือ ความสองสวาง (แคนเดลาตอตารางเมตร)


E คือ ฟลักซของแสงสวาง (ลูเมน)
Ω คือ มุมตัน (สเตอเรเดียน)
A คือ พื้นที่ที่พิจารณา (ตารางเมตร)
 คือ มุมตกกระทบของแสงสวางบนพืน้ ที่ทพี่ ิจารณา (องศา)

จากสมการ (11.1) จะเห็นวา L มีหนวยเปนลูเมนตอสเตอเรเดียนตอตารางเมตร แต


เนื่องจากนักวิทยาศาสตรกําหนดใหลูเมนตอสเตอเรเดียน เปนหนวยใหมวา แคนเดลา (candela,
Cd) ดังนั้นความสองสวางจึงมีหนวยเปนแคนเดลาตอตารางเมตร

3) ความสวาง (illuminance) เปนปริมาณของฟลักซของแสงสวางจากทุกทิศทางที่ตก


กระทบพื้นที่หนึ่งหนวย มีหนวยเปนลูเมนตอตารางเมตร หรือลักซ (lux, lx) ดังแสดงในรูปที่
11.3 และสามารถเขียนไดดังสมการ (11.2)

dE A

E
dA

รูปที่ 11.3 ฟลักซของแสงสวาง dE ที่ตกกระทบพื้นที่ dA ตามคําจํากัดความของความสวาง


(E)
d E
E (11.2)
dA

เมื่อ E คือ ความสวาง (ลักซ)


E คือ ฟลักซของแสงสวาง (ลูเมน)
A คือ พื้นที่ (ตารางเมตร)

411
412

11.3 ความสวางจากแสงสวางธรรมชาติ
แสงสวางธรรมชาติคือรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง (0.38-0.77 m) ซึ่ง
พิจารณาผลการตอบสนองของตามนุษยและทําใหเกิดความสวาง โดยประกอบดวยความสวาง
จากแสงตรง (direct illuminance) และความสวางจากแสงกระจาย (diffuse illuminance) ผลรวม
ของปริมาณทั้งสองจะเรียกวา ความสวางจากแสงรวม (global illuminance) บางครั้งจะเรียก
ความสวางจากแสงตรงวาแสงจากดวงอาทิตย (sunlight) และความสวางจากแสงกระจายวาแสง
จากทองฟา (skylight) (ดูรูปที่ 11.4)

แสงตรงจากดวงอาทิตย
แสงกระจายจากทองฟา

รูปที่ 11.4 แสงตรงจากดวงอาทิตยและแสงกระจายจากทองฟา

สําหรับความสองสวางจากทองฟา (sky luminance) จะเปนฟลักซของแสงสวางซึ่งมา


จากทองฟาในกรวยแคบๆ ที่ตกกระทบพื้นที่ที่ตั้งฉากกับแกนของกรวยดังกลาว ดังรูปที่ 11.5

412
413

dE


d

dA cos 

รูปที่ 11.5 ความสองสวางจากทองฟา

11.4 การวัดปริมาณแสงสวางธรรมชาติ
เนื่องจากขอมูลปริมาณแสงสวางธรรมชาติทั้งในรูปความสวางและความสองสวางเปน
ขอมูลพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการออกแบบอาคารซึ่งใชประโยชนจากแสงสวางธรรมชาติ
ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของในประเทศตางๆ จึงทําการวัดความสวางและความสองสวางตาม
สถานีวัดตางๆ ในหัวขอนี้จะกลาวถึงอุปกรณและการวัดปริมาณแสงสวางธรรมชาติ

11.4.1 การวัดความสวาง
เครื่องวัดความสวาง จะเรียกวา ลักซมิเตอร (luxmeter) ซึ่งมีเซนเซอร (sensor) เปนสาร
กึ่งตัวนํา เมื่อไดรับแสงสวางจะใหสัญญาณไฟฟา ซึ่งสามารถแปลงเปนคาความสวางไดโดย
อาศัยการสอบเทียบมาตรฐาน ตัวอยางลักซมิเตอรที่ผลิตโดยบริษัทเอคโก (EKO) แสดงไวใน
รูปที่ 11.6

413
414

รูปที่ 11.6 ลักษณะของลักซมิเตอรที่ผลิตโดยบริษัทเอคโก (EKO) รุน MS020S-O ซึ่งติดตั้งใช


งานที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

ในการวัดความสวางจากแสงรวม เราจะติดตั้งลักซมิเตอรไวกลางแจงใหสามารถรับ
แสงจากทุกสวนของทองฟาและตอสายสัญญาณเขากับเครื่องบันทึกขอมูล ซึ่งโดยทั่วไปจะทํา
การวัดความสวางทุกๆ 1 วินาที และนํามาหาคาเฉลี่ยในชวงเวลาที่ตองการ เชน 1 นาที 10 นาที
หรือ 1 ชั่วโมง จากนั้นจะนําสัญญาณศักยไฟฟาที่ไดมาแปลงเปนคาความสวาง โดยการหารดวย
คาสภาพตอบสนอง (responsivity) ของเครื่องวัด ซึ่งไดจากการสอบเทียบมาตรฐาน
นอกจากนี้ ใ นงานด า นแสงสว า งธรรมชาติ ยั ง มี ก ารวั ด ความสว า งจากแสงรวมบน
ระนาบในแนวดิ่งที่หันไปทางทิศทางหลัก 4 ทิศ ไดแก ทิศเหนือ ใต ตะวันออก และตะวันตก
เพื่อนําขอมูลมาใชประโยชนในการหาปริมาณแสงสวางที่จะสองผานหนาตางเขาไปในอาคาร
โดยในการวัดจะตองติดตั้งลักซมิเตอรบนระนาบในแนวดิ่ง และบางครั้งจะมีแผนโลหะสีดําวาง
ในแนวราบดานหนาของลักซมิเตอร เพื่อบังรังสีกระจายจากพื้นดิน (รูปที่ 11.7) โดยปริมาณที่
วัดไดจะเปนคาความสวางจากแสงรวม ซึ่งประกอบดวยความสวางจากแสงตรงที่มาจากดวง
อาทิตย และความสวางจากแสงกระจายที่มาจากทองฟา

414
415

ลักซมิเตอรสําหรับวัดความสวาง ลักซมิเตอรสําหรับวัดความสวาง
บนระนาบในแนวดิ่ง บนระนาบในแนวระดับ

แผนกันรังสีกระจาย
จากพื้นดิน

รูปที่ 11.7 อุปกรณสําหรับวัดความสวางบนระนาบในแนวระดับและบนระนาบในแนวดิ่งที่


สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดอุบลราชธานี

สําหรับกรณีความสวางของแสงกระจายจากทองฟาจะวัดดวยลักซมิเตอรซึ่งติดตั้ง
วงแหวน หรือลูกบอลบังแสงตรงจากดวงอาทิตย (รูปที่ 11.8) กรณีที่ใชวงแหวนบังแสงตรง
จะตองปรับวงแหวน 1-2 วันตอครั้ง ตามการเปลี่ยนแปลงของมุมเดคลิเนชันของดวงอาทิตย
เพื่ อมิใ ห แสงตรงจากดวงอาทิตยล อดมาตกกระทบเครื่องวัด เนื่อ งจากวงแหวนจะบังแสง
กระจายบางส ว นจากท อ งฟ า ดว ย ดัง นั้ น คา ที่วั ด ไดจึ ง มี ค วามคลาดเคลื่อ น เราต อ งคํา นวณ
ปรับแกผลของวงแหวนกอนนําขอมูลไปใชงาน สําหรับกรณีที่ใชลูกบอลบังแสงตรง จะตองติด
ลูกบอลกับเครื่องติดตามการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย เพื่อใหลูกบอลบังแสงตรงตลอดเวลา

415
416

รูปที่ 11.8 ลักซมิเตอรซึ่งติดตั้งวงแหวนบังแสงตรง สําหรับใชวัดความสวางจากแสงกระจายที่


สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

กรณีของความสวางจากแสงตรง จะทําการวัด ดวยลัก ซมิเตอรที่ติด ตั้งในกระบอก


ปองกันแสงกระจาย (collimator tube) เพื่อใหลักซมิเตอรรับเฉพาะแสงตรงจากดวงอาทิตย
เนื่องจากตําแหนงของดวงอาทิตยเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนั้นอุปกรณวัดความสวางจาก
แสงตรง จึงตองติดตั้งบนอุปกรณติดตามดวงอาทิตย ดังรูปที่ 11.9

416
417

อุปกรณติดตามดวงอาทิตย เครื่องวัดความสวางจากแสงตรง

รูปที่ 11.9 เครื่องวัดความสวางจากแสงตรง ซึ่งติดตั้งใชงานที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของ


มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

11.4.2 การวัดความสองสวางของทองฟา
เมื่อรังสีอาทิตยเดินทางผานบรรยากาศมายังพื้นโลก บางสวนจะถูกกระเจิงดวยโมเลกุล
อากาศ ฝุนละออง และเมฆ กอใหเกิดแสงกระจายจากสวนตางๆ ของทองฟา โดยทั่วไปเราจะ
เรียกแสงสวางที่มาจากสวนตางๆ ของทองฟาวา ความสองสวางของทองฟา (sky luminance)
ซึ่งมีหนวยเปนแคนเดลาตอตารางเมตร ขอมูลความสองสวางของทองฟาเปนขอมูลพื้นฐานของ
งานดานแสงสวางธรรมชาติ ทั้งนี้เพราะจําเปนตองใชในการคํานวณปริมาณแสงสวางจาก
ทองฟาที่เขาไปในอาคาร ขอมูลความสองสวางของทองฟาสามารถหาไดจากการวัดโดยใช
เครื่องมือวัดที่เรียกวา เครื่องสแกนทองฟา (sky scanner) เครื่องมือดังกลาวจะประกอบดวย
หัววัดความสองสวาง ระบบควบคุม อุปกรณบันทึกขอมูล และอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่
ของดวงอาทิตย เครื่องสแกนทองฟาของบางบริษัทจะติดตั้งหัววัดเรเดียนของรังสีกระจาย
(sky radiance) จากสวนตางๆ ของทองฟาดวย

417
418

อุปกรณติดตามการเคลื่อนที่ หัววัดความสองสวาง
ของดวงอาทิตย

รูปที่ 11.10 เครื่องสแกนทองฟาที่ผลิตโดยบริษัทเอคโก ซึ่งติดตั้งใชงานที่สถานีวัดรังสีอาทิตย


ของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

กรณีของเครื่องสแกนทองฟาของบริษัทเอคโก หัววัดจะอยูในกระบอกเพื่อรับแสงจาก
ทองฟาในกรวยแคบๆ โดยภายในมีเซนเซอรที่เปนสารกึ่งตัวนํา สัญญาณไฟฟาที่ไดสามารถ
แปลงเปนคาความสองสวางไดโดยอาศัยการสอบเทียบมาตรฐาน ในสวนของอุปกรณติดตาม
การเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยจะกวาดทองฟาตามระบบอาซิมุธ-อัลติจูด โดยจะเปลี่ยนคามุม
อัลติจูดของหัววั ดได 8 ค า ตั้งแต 6 องศาถึง 90 องศา (รูปที่ 11.11) และที่แตละคาของมุ ม
อัลติจูด หัววัดจะกวาดทองฟาตามมุมอาซิมุธไปตามแนวขนานกับขอบฟาเปนคาๆ โดยจํานวน
คาที่กวาดจะแปรตามมุมอัลติจูดของหัววัด การกวาดดังกลาวทําใหหัววัดสามารถวัดคาความ
สองสวางจากบริเวณเล็กๆ ของทองฟา (sky element) ซึ่งรองรับมุมที่เครื่องวัด (viewing angle
11 องศา) จํานวน 145 บริเวณหรือ 145 เซลล (รูปที่ 11.12) และเมื่อฉายภาพเซลลดังกลาวลงบน
ระนาบในแนวระดับจะไดภาพดังรูปที่ 11.13

418
419

90 78
66
54

42

30

18

6

รูปที่ 11.11 มุมอัลติจูดของตําแหนงของทองฟาที่เครื่องสแกนทองฟาทําการวัดความสองสวาง

รูปที่ 11.12 บริเวณเล็กๆ ของทองฟาจํานวน 145 เซลล ตามการกวาดของเครื่องสแกนทองฟา

29
32
4 1 30
143 144 127 126 85 8 3
142 145 139138 109 108 61 60 1 ทิศใต
141 140 137 110 107
62 59 2

รูปที่ 11.13 ภาพฉาย (projection) ของเซลลตางๆ ในรูปที่ 11.12 บนระนาบในแนวระดับ

419
420

11.5 การหาคาความสวางจากแสงสวางธรรมชาติโดยใชแบบจําลอง
ถึงแมจะมีการวัดความสวางจากแสงธรรมชาติในประเทศตางๆ แตจํานวนสถานีวัด
ยังคงมีจํานวนนอย เชนกรณีของประเทศไทยมีสถานีอยูเพียง 4-5 แหงเทานั้น ขอมูลความสวาง
ที่ไดจึงไมเพียงพอตอการใชงาน ดังนั้นนักวิจัยตางๆ จึงไดสรางแบบจําลองสําหรับคํานวณ
ความสวางจากแสงธรรมชาติจากตัวแปรทางบรรยากาศตางๆ ในหัวขอนี้จะกลาวถึงแบบจําลอง
ดังกลาว

11.5.1 ความสวางจากแสงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
เนื่องจากเรารูสเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกตามที่กลาวไปแลวในบทที่ 4
และเรารูการตอบสนองของตามนุษยตามที่กลาวในหัวขอที่ 11.1 ดังนั้นเราจึงสามารถหาคา
ความสว า งนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้ ง ฉากกั บ ทิ ศ ทางของรั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ร ะยะเฉลี่ ย
ระหวางโลกกับดวงอาทิตยไดจากสมการ
0.77 m
ESC  k  I0Rd (11.3)
0.38 m

เมื่อ ESC คือ ความสวางนอกบรรยากาศโลกบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของ


รังสีอาทิตยที่ระยะเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย (ลักซ)
I
0 คือ สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (วัตตตอตารางเมตรตอ
ไมครอน)
R คือ ฟงกชันการตอบสนองของตามนุษย (-)
k คือ ประสิทธิศักยแสงสวางธรรมชาติ (daylight efficacy) (ลูเมนตอ
วัตต)
 คือ ความยาวคลื่น (ไมครอน)

เนื่องจาก ESC มีความหมายคลายกับคาคงตัวรังสีอาทิตย ดังนั้น ESC จึงนิยมเรียกวาคา


คงตัวแสงสวางธรรมชาติ (solar illuminance constant) คณะกรรมการความสวางนานาชาติได
กําหนดใหใช ESC = 128 klux และคา k = 94.2 ลูเมนตอวัตต (Chirarattananon, 2005)

420
421

สําหรับกรณีของความสวางนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับที่ขนานกับ
พื้นผิวโลก E oh จะหาไดจากสมการ

E oh  ESC E 0 cos z (11.4)

เมื่อ E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลก


กับดวงอาทิตย (-)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

จากสมการ (11.3) และ (11.4) จะเห็นวาความสวางจากแสงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก


จะขึ้นกับขอมูลสเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกและสมบัติทางเรขาคณิตของรังสี
อาทิ ต ย ซึ่ ง สามารถหาค า ได อ ย า งแม น ยํ า ดั ง นั้ น เราจึ ง สามารถคํ า นวณค า ความสว า งนอก
บรรยากาศโลกไดอยางแมนยําดวย โดยคาดังกลาวจะใชเปนขอมูลพื้นฐานในการคํานวณความ
สวางที่พื้นผิวโลก

11.5.2 ความสวางที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
ความสวางในสภาพทองฟาปราศจากเมฆจะเปนตัวบอกศักยภาพสูงสุดของแสงสวาง
ธรรมชาติ และใชเ ปนปริ มาณอางอิงในการคํานวณความสวางในสภาพท องฟามีเมฆ จาก
ความสําคัญของความสวางดังกลาว นักวิจัยตางๆ จึงไดเสนอแบบจําลองสําหรับคํานวณความ
สวางในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ (Robledo and Soler, 2000; Vazquez and Bernabeu, 1997)
แตแบบจําลองสวนใหญเปนแบบจําลองเอมไพริคัลที่ขึ้นกับมุมอัลติจูดของดวงอาทิตยเพียงตัว
แปรเดียว ทําใหสามารถใชงานไดดีเฉพาะกับบริเวณที่มีสภาพแวดลอมทางบรรยากาศคลายกับ
บริเวณที่นําขอมูลมาใชสรางแบบจําลอง จากปญหาดังกลาว จันทรฉายและคณะ (Janjai et al.,
2013) จึงได เสนอแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลที่คํานึงถึงผลของตัวแปรทางบรรยากาศที่มีต อ
ความสวาง โดยแบบจําลองดังกลาวเขียนไดดังนี้
- กรณีความสวางจากแสงตรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของแสง

E bn  E SC E 0 exp[(C0  C1  C 2 AOD)m a ] (11.5)

421
422

- กรณีความสวางจากแสงรวมบนระนาบในแนวระดับ

E gh  ESC E 0 cos z exp[(C3  C 4 AOD)m a ] (11.6)

เมื่อ E gh คือ ความสวางจากแสงรวมบนระนาบในแนวระดับ (ลักซ)


E bn คือ ความสวางจากแสงตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของแสง
(ลักซ)
 คือ ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ 500 นาโนเมตร (-)
E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลก
กับดวงอาทิตย (-)
ESC คือ คาคงตัวแสงสวางธรรมชาติ (ลักซ)
ma คือ มวลอากาศ (-)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
C0 , C1 , C 2 , C3 และ C 4 คือ คาสัมประสิทธิ์เอมไพริคัลของแบบจําลอง

จันทรฉายและคณะไดทําการหาสัมประสิทธิ์เอมไพริคัลของแบบจําลอง โดยการฟต
สมการ (11.5) และ (11.6) กับขอมูลความสวางที่วัดไดที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัย
ศิลปากร ที่จังหวัดเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา ซึ่งจะไดคา C 0  0.08867,
C1  0.7438, C 2  0.7865, C3  0.0316 และ C 4  0.1787
จากผลตางของคาความสวางจากแสงรวม ( E gh ) และความสวางจากแสงตรง ( E bh )
เราสามารถคํานวณคาความสวางจากแสงกระจาย ( E dh ) ไดดังสมการ

E dh  E gh  E bn cos z (11.7)

11.5.3 การคํานวณความสวางในสภาพทองฟาทั่วไป โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม


ในสภาพทองฟาทั่วไป หมายถึง ทองฟาที่พบเห็นทุกวัน ซึ่งบางเวลาแจมใสปราศจาก
เมฆ หรือบางเวลามีเมฆปกคลุมบางสวน หรือปกคลุมทั้งหมด ขอมูลความสวางจากแสงสวาง
ธรรมชาติ ใ นสภาพท อ งฟ า ทั่ ว ไป จะได จ ากการติ ด ตั้ ง ลั ก ซ มิ เ ตอร และทํ า การตรวจวั ด

422
423

ตอเนื่องกันตลอดทั้งวันติดตอกันหลายๆ ป ขอดีของการวัดดังกลาวคือจะไดขอมูลความสวาง
ในสภาพทองฟาทั่วไปที่มีความละเอียดเปนรายวินาที แตก็มีขอดอยคือ ไมสามารถทําการวัดได
ทุกพื้นที่ เพราะตองเสียคาใชจายดานเครื่องมือวัดและการบํารุงรักษามาก ถึงแมมีการเสนอ
แบบจําลองเอมไพริคัลสําหรับคํานวณความสวางจากแสงสวางธรรมชาติ (Chirarattananon et
al., 2002; Pattanasethanon et al., 2007) แตแบบจําลองดังกลาวจําเปนตองใชขอมูลความเขม
รังสีอาทิตยตางๆ ในการจําแนกสภาพทองฟา และขอมูลเหลานี้ไมสามารถหาไดทั่วไป จึงทําให
มีความจํากัดในการใชงาน เนื่องจากแสงสวางธรรมชาติขึ้นกับเมฆเปนสําคัญ และดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยาทําการบันทึกภาพเมฆทุกชั่วโมงครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของโลก ดังนั้นจึงมี
ความเปนไปไดที่จะคํานวณความสวางจากแสงอาทิตยโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม
การคํานวณความสวางจากแสงสวางธรรมชาติโดยใชภาพถายดาวเทียม ดําเนินการครั้งแรก
โดยคณะนักวิจัยของประชาคมยุโรปในโครงการ SATEL-LIGHT (Fontoynont et al., 1997)
ในการดําเนินการดังกลาวจะเริ่มตนจากการคํานวณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางจาก
ขอมูลภาพถายดาวเทียม จากนั้นใชแบบจําลองของอัตราสวนระหวางความสวางตอความเขม
รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง เพื่อแปลงความเขมรังสีอาทิตยที่ไดใหเปนคาความสวาง
เนื่องจากวิธีดังกลาวตองใช 2 ขั้นตอน ดังนั้นจันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2003) จึงได
เสนอแบบจําลองเชิงสถิติซึ่งสามารถใชคํานวณความสวางจากขอมูลภาพถ ายดาวเทียมได
โดยตรง จากขอจํากัดของแบบจําลองเชิงสถิติ เสริม จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2008a)
จึงไดเสนอแบบจําลองเชิงฟสิกสสําหรับคํานวณความสวางจากขอมูลดาวเทียมซึ่งสามารถ
ใชไดทั่วไป อยางไรก็ตามในการสรางแบบจําลองดังกลาวไดใชสมมติฐานหลายอยาง เชน ไม
คิดการดูดกลืนรังสีอาทิตยจากไอน้ํา ฝุนละออง และโอโซนที่เกิดขึ้นกับรังสีอาทิตยที่สะทอน
จากพื้นดินผานบรรยากาศออกไปสูอวกาศภายนอก ดังนั้นเสริม จันทรฉายและคณะ (2556) จึง
ได ป รั บ ปรุ ง แบบจํ า ลองดั ง กล า วให ส มบู ร ณ ขึ้ น เนื่ อ งจากข อ มู ล ความสว า งรายชั่ ว โมงจะ
เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพทองฟา โดยมีเมฆเปน ตัวแปรสําคัญและเมฆมีการเปลี่ยนแปลง
รวดเร็วทําใหการคํานวณความสวางรายชั่วโมงจากขอมูลดาวเทียมมีความคลาดเคลื่อนมาก
ดังนั้นในแบบจําลองของเสริม จันทรฉายและคณะ (2556) จึงมีวัตถุประสงคเพื่อคํานวณความ
สวางรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน แบบจําลองดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้

423
424

แบบจําลองนี้จ ะแบงเป น 2 สว น โดยสวนที่ 1 เปนแบบจําลองของรั ง สี อาทิต ยซึ่ง


ดาวเทียมไดรับ และสวนที่ 2 เปนแบบจําลองของความสวางที่พื้นผิวโลก แบบจําลองสวนที่ 1
จะเหมือนกับกรณีของการคํานวณรังสีรวมในหัวขอ 6.4.2.2 ซึ่งจะไดสัมประสิทธิ์การกระเจิง
รังสีของบรรยากาศและพื้นผิวโลก ( EA ) ตามสมการ (6.11) และสัมประสิทธิ์การกระเจิงของ
เมฆและโมเลกุลอากาศ ( A ) ตามสมการ (6.12) โดยคาของตัวแปรตางๆ ในแบบจําลองใน
สวนที่ 1 จะเปนคารายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน สําหรับแบบจําลองสวนที่ 2 จะเปนแบบจําลองของ
ความสวางที่พื้นผิวโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน ซึ่งแสดงไดตามรูปที่ 11.14
ดาวเทียม
รังสีอาทิตยที่ดาวเทียมไดรบั (EA
 )

A  aer (1A aer)2(1W o g aer)2G (1A aer)2(1W o g aer)4(A aer)G2
1 กระเจิงโดยโมเลกุลอากาศ (A )และฝุนละออง(aer )

(1A aer)(1W o g aer)2G

1A aer
(1A aer)(1W o g aer)2(A aer)G
(1A aer)(1W o g aer)4(A aer)G2
W  o  g  aer
บรรยากาศ
W  o  g  aer W  o  g  aer

ดูดกลืนโดยไอน้ํา W o g aer W  o  g  aer


โอโซนและกาซตางๆ (1  )(1    )3(  )
A aer W o g aer A aer G

(1A aer)(1W o g aer)3(A aer)G2


(1A aer)(1W o g aer) (1A aer)(1W o g aer)G
พื้นผิวโลก
ดูดกลืนโดยพื้นผิวโลก
รังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลก (  )
รูปที่ 11.14 แผนภูมิแสดงการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นแสง-
สวางตามแบบจําลองสวนที่ 2

จากรู ป ที่ 11.14 จะเห็ น ว า รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น แสงสว า ง 1 หน ว ย


ตกกระทบที่สวนบนสุดของบรรยากาศและเดินทางผานบรรยากาศมาถึงพื้นผิวโลกครั้งแรก คือ
(1  A  aer  ) เมื่อ A คือสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตย
 )(1  w  o  g  aer
ของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง aer  คือสัมประสิทธิ์การกระเจิง
รังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง และ w , o , aer  และ g คือ
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา โอโซน ฝุนละออง และกาซตางๆ ในชวงความ

424
425

ยาวคลื่นแสงสวาง ตามลําดับ หลังจากรังสีตกกระทบผิวโลกครั้งแรก รังสีดังกลาวจะถูกกระเจิง


กลับไปกลับมาระหวางพื้นผิวโลกและบรรยากาศ จากรูปที่ 11.14 จะเห็นวารังสีสวนที่ตก
กระทบพื้นผิวโลกจะเทากับรังสีที่ตกกระทบพื้นผิวโลกครั้งแรกรวมกับรังสีที่กระเจิงกลับไปมา
ระหวางพื้นผิวโลกกับบรรยากาศ
เนื่องจากรังสีอาทิตยที่ตกกระทบมีคา 1 หนวย ดังนั้นผลรวมของรังสีที่เกิดจากการ
ตกกระทบครั้งแรกกับรังสีที่ตกกระทบพื้นผิวโลกซึ่งเกิดจากการกระเจิงกลับไปมาระหวาง
พื้นผิวโลกกับบรรยากาศคือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของบรรยากาศในชวงความยาว
คลื่นแสงสวาง (  ) หรือเขียนในรูปสมการได ดังนี้

  (1  A  aer


 )(1  w  o  aer
  g )
 (1  A  aer   g )3 (A  aer
 )(1  w  o  aer  )G
 (1  A  aer   g )5 (A  aer
 )(1  w  o  aer  ) 2 G2  ........
(1  A  aer
 ) 
   g ) 2 (A  aer
 [(1  w  o  aer  )G ] n
(1  w  o  aer
  g )(A  aer
 )G n 1
(11.8)

(1  A  aer
 )(1  w  o  aer
  g )
หรือ   (11.9)
1  (A  aer   g ) 2 G
 )(1  w  o  aer

เนื่องจากคาตัวแปรทางดานขวามือของสมการ (11.9) สามารถคํานวณไดจากขอมูล


ภาคพื้นดิน และขอมูลดาวเทียมตามรายละเอียดซึ่งจะกลาวในภายหลัง ดังนั้นเราจึงสามารถ
คํานวณคา  ได
ในขั้นตอนสุดทาย เราจะคํานวณคาความสวางที่พื้นผิวโลก ( E gh ) จากคาสัมประสิทธิ์
การสงผาน (  ) และความสวางนอกบรรยากาศโลก ( E 0h ) โดยอาศัยสมการ

E gh  E 0 h (11.10)
คาตัวแปรตางๆ ของแบบจําลองทั้ง 2 สว น จะเปน คารายชั่ว โมงเฉลี่ย ตอเดือน ซึ่ง
สามารถหาไดดังนี้

425
426

ก. สัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศและพื้นผิวโลก ( EA ) คาสัมประสิทธิ์นี้จะหา


ไดจากขอมูลภาพถายดาวเทียม ตามรายละเอียดในบทที่ 6 โดยนําคาที่ไดของแตละชั่วโมงมาหา
คารายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนแลวจึงนําไปใชในแบบจําลอง
ข. สัมประสิทธิ์การดูดกลืนของไอน้ํา
- ในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม
2
 I0 τ wλ d
w  1 
1
2
(11.11)
 I0 d
1

- ในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
0.77

 I0 τ wλ R  d
w  1  0.38
0.77
(11.12)
 I0 R  d
0.38

เมื่อ w คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาว


คลื่นดาวเทียม (-)
w คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาว
คลื่นแสงสวาง (-)
 w คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา
(-)
R คือ ฟงกชันการตอบสนองของตามนุษย (-)
I
0 คือ สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (วัตตตอตารางเมตรตอ
ไมครอน)
 คือ ความยาวคลื่น (ไมครอน)
1 และ  2 คือ ชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม (ไมครอน)

คาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตย w สามารถคํานวณไดจากสมการของเลคเนอร


(Leckner, 1978) (สมการ (3.25))

426
427

คาปริมาณไอน้ําสามารถคํานวณจากขอมูลอุณหภูมิและความชื้นอากาศแวดลอม ซึ่งวัด
ตามสถานีอุตุนิยมวิทยาตางๆ หรือวิธีการอื่น ตามที่กลาวในหัวขอ 3.8.4 ในบทที่ 3

ค. สัมประสิทธิ์การดูดกลืนของโอโซน
- ในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม
2
 I0 τ oλ d
1
o  1  2
(11.13)
 I0 d
1

- ในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
0.77
 I0 τ oλ R  d
o  1  0.380.77 (11.14)
 I0 R  d
0.38

เมื่อ o คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาว


คลื่นดาวเทียม (-)
o คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาว
คลื่นแสงสวาง (-)
 o คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของ
โอโซน (-)

คา o จะคํานวณโดยใชสมการของวิกรูซ (Vigroux, 1953) (สมการ(3.38))


คาปริมาณโอโซนสามารถหาไดจากดาวเทียม TOMS/EP หรือดาวเทียม OMI/Aura
ทั้งนี้ขึ้นกับชวงเวลาของขอมูล หรือวิธีการอื่นที่กลาวไวในบทที่ 3 โดยเปนคารายชั่วโมงเฉลี่ย
ตอเดือน
ง. สัมประสิทธิ์การดูดกลืนของกาซ
- ในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม

427
428

2
 I0 τ gλ d
1
g  1  2
(11.15)
 I0 d
1

- ในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
0.77

 I0 τ gλ R  d
g  1  0.38
0.77
(11.16)
 I0 R  d
0.38

เมื่อ g คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซในชวงความยาวคลื่น


ดาวเทียม (-)
g คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซในชวงความยาวคลื่น
แสงสวาง (-)
 g คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของกาซที่ความยาวคลื่น  (-)
คาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตย g จะหาไดจากสมการของเลคเนอร (Leckner,
1978) (สมการ (3.48))

จ. สัมประสิทธิ์การดูดกลืนและการกระเจิงของฝุนละออง ในลําดับแรกจะคํานวณ
สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยเนื่องจากฝุนละออง โดยอาศัยสมการ
- ในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม
2
 I0 τ aer,λ d
Daer  1 
1
2
(11.17)
 I0 d
1

- ในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
0.77
 I 0 τ aer,λ R  d
Daer
  1  0.380.77 (11.18)
 I0 R  d
0.38

428
429

เมื่อ Daer คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความ


ยาวคลื่นดาวเทียม (-)
Daer
 คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความ
ยาวคลื่นแสงสวาง (-)
aer , คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละอองที่ความยาว
คลื่น  (-)

คาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของฝุนละออง aer, สามารถคํานวณได โดย


ใชสมการ (3.14) สําหรับคา  และ  สามารถหาจากขอมูลดาวเทียมหรือจากเครือขายการวัด
สมบัติเชิงแสงของฝุนละอองของนาซา (AERONET) ตามรายละเอียดในบทที่ 3
เนื่องจากสัมประสิทธิ์การลดทอนของรังสีดวงอาทิตยโดยฝุนละอองจะเกิดจากการ
ดูดกลืนและการกระเจิง ดังนั้นจะทําการแยกสัมประสิทธิ์ดังกลาวออกเปนสัมประสิทธิ์การ
ดูดกลืนและสัมประสิทธิ์การกระเจิงโดยใชขอมูลสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยครั้งแรก
ของฝุนละออง (single scattering albedo, SSA) ซึ่งหาไดจากเครือขายการวัดสมบัติเชิงแสงของ
ฝุนละออง (AERONET) ของนาซา ดังสมการ
- ในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม
aer  SSA Daer (11.19)
aer  (1  SSA )Daer (11.20)

- ในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
aer
  SSA Daer
 (11.21)
  (1  SSA )Daer
aer  (11.22)

เมื่อ aer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความ


ยาวคลื่นดาวเทียม (-)
aer
 คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความ
ยาวคลื่นแสงสวาง (-)
aer คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความ

429
430

ยาวคลื่นดาวเทียม (-)
aer
 คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความ
ยาวคลื่นแสงสวาง (-)
SSA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยครั้งแรกของฝุนละออง (-)

ฉ. สัมประสิทธิ์การกระเจิงของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
จากแบบจําลองในสวนที่ 1 เราสามารถหาคาของสัมประสิทธิ์การกระเจิงของเมฆและ
โมเลกุ ล อากาศในช ว งความยาวคลื่ น ของดาวเที ย ม ( A ) ได จากนั้ น เราจะทํ า การแปลง
สั ม ประสิ ท ธิ์ ดั ง กล า วให เ ป น ค า ในช ว งความยาวคลื่ น แสงสว า ง ( A ) โดยสร า งสู ต รของ
ความสัมพันธระหวาง A กับ A ตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เราจะจัดรูปสมการ (11.9)ใหม โดยยาย A ไปอยูทางดานซายมือของ
สมการ และแทนคา  ดวย E gh / E 0 h ซึ่งจะไดสมการใหม ดังนี้

(1 - aer
 )(1  αw  αo  αaer   αg ) 2
  αg ) - (E gh / E 0h )(1 - G )(1  αw  αo  αaer
A 
1  αw  αo  αaer   αg ) 2
  αg  (E gh / E 0 h )G (1  αw  αo  αaer
(11.23)
ขั้นตอนที่ 2 จะหาคาสัมประสิทธิ์และตัวแปรทุกตัวของสมการ (11.23) ซึ่งวัดไดที่
สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่จังหวัดเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และ
สงขลา และแทนคาสัมประสิทธิ์และตัวแปรที่ไดในสมการ (11.23) ทําใหเราไดคา A ใน
ขณะเดียวกันจะใชสมการ (6.12) คํานวณคา A ที่สถานีทั้ง 4 แหงดังกลาว
ขั้นตอนสุ ด ทายจะนํา ค า A มาเขีย นกราฟกับ A (รู ปที่ 11.15) และฟ ตกราฟด ว ย
สมการเอมไพริคัล ซึ่งจะไดสมการสําหรับแปลงคา A ใหเปน A ดังสมการ (11.24)

430
431

0.9 A  0.7692A  0.0974


0.8

0.7
Rr == 0.76
0.76

0.6

0.5
 //
A 0.4

0.3

0.2

0.1

0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8

 /
A

รูปที่ 11.15 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์การกระเจิงของเมฆและโมเลกุล


อากาศในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม ( A ) กับชวงความยาวคลื่นแสงสวาง ( A )
(R คือ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ)

A  0.0974  0.7692 A (11.24)

สมการ (11.24) ใชไดกับขอมูลจากดาวเทียม MTSAT-1R ถาเปนดาวเทียมดวงอื่น


จะตองหาสมการแสดงความสัมพันธระหวาง A กับ A ใหม โดยใชวิธีการเดียวกัน

ช. สัมประสิทธิ์การกระเจิงของพื้นผิวโลก จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2006)


เสนอใหคํานวณสัมประสิทธิ์การกระเจิงของพื้นผิวโลกเชนเดียวกับกรณีรังสีอาทิตยในชวง
ความยาวคลื่นกวาง (0.3-3.0 ไมครอน) ตามวิธีที่กลาวไปแลวในบทที่ 6 และใชคาในชวงความ
ยาวคลื่นดาวเทียม ( G ) และในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง ( G ) เปนคาเดียวกัน ทั้งนี้เพราะ
G และ G ในเขตศูนยสูตรมีคานอยและใกลเคียงกัน (Paltridge and Platt, 1976)
เสริม จันทรฉายและคณะ (2556) ไดทําการทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองสําหรับ
หาค า ความสว า งจากข อมู ล ภาพถ า ยดาวเที ย ม โดยการเปรีย บเที ย บค า ความสว า งที่ ไ ด จ าก

431
432

แบบจําลองกับคาที่ไดจากการวัด พบวาสวนใหญมีคาสอดคลองกัน โดยมีความแตกตางในรูป


RMSD เทากับ 8.1%

11.5.4 แบบจําลองประสิทธิศักยของแสงสวาง (luminous efficacy model)


โดยทั่วไปฟลักซของคลื่นแมเหล็กไฟฟา (radiant flux) 1 วัตต ที่เกิดจากแหลงกําเนิด
ตางๆ จะทําใหเกิดฟลักซของแสงสวาง (luminous flux) เปนลูเมนที่แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นกับ
แหลงกําเนิดของคลื่นแมเหล็กไฟฟานั้นๆ เราจะเรียกอัตราสวนของฟลักซของแสงสวางตอ
ฟลั ก ซ ข องคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ที่ ทํ า ให เ กิ ด แสงสว า งนั้ น ว า “ประสิ ท ธิ ศั ก ย (efficacy)”
ตั ว อย า งเช น ประสิ ท ธิ ศั ก ย ข องแสงจากหลอดฟลู อ อเรสเซนต (fluorescent light) จะมี
คาประมาณ 80 ลูเมนตอวัตต (Vartiainen, 2000) และประสิทธิศักยของแสงสวางธรรมชาติ
นอกบรรยากาศโลกจะมี ค า เท า กั บ 94.2 ลู เ มนต อ วั ต ต (Chirarattananon, 2005) กรณี ข อง
ประสิทธิศักยของรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกจะแบงไดเปนประสิทธิศักยของรังสีรวม รังสีตรง
และรังสีกระจาย ซึ่งเขียนในรูปสมการไดดังนี้
E gh
Kg 
I
(11.25)
gh
E bn
Kb 
I
(11.26)
bn
E dh
Kd 
I
(11.27)
dh

เมื่อ Kg คือ ประสิทธิศักยของรังสีรวม (ลูเมนตอวัตต)


Kb คือ ประสิทธิศักยของรังสีตรง (ลูเมนตอวัตต)
Kd คือ ประสิทธิศักยของรังสีกระจาย (ลูเมนตอวัตต)
E gh คือ ความสวางจากแสงรวมบนระนาบในแนวระดับ (ลักซ)
E bn คือ ความสวางจากแสงตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของแสง
(ลักซ)
E dh คือ ความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ (ลักซ)
I
gh คือ ความเขมรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบในแนว
ระดับ (วัตตตอตารางเมตร)

432
433

I
bn คือ ความเขมรังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบตั้งฉากกับ
ทิศทางของรังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
dh คือ ความเขมรังสีกระจายในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบใน
แนวระดับ (วัตตตอตารางเมตร)

เนื่อ งจากค า ความสว า งกับ ความเขมรั ง สีอาทิต ยใ นชวงความยาวคลื่ น กวา งอยู
ในชวงความยาวคลื่นที่แตกตางกัน ทําใหปริมาณทั้งสองไดรับผลจากบรรยากาศโลกตางกัน ซึ่ง
สงผลใหประสิทธิศักยมีคาไมคงที่ แตจะขึ้นกับองคประกอบของบรรยากาศที่สําคัญคือ ปริมาณ
ไอน้ํ า และฝุ น ละออง มุ ม อั ล ติ จู ด ของดวงอาทิ ต ย และสภาพท อ งฟ า (Vartiainen, 2000;
Chirarattananon, 2005) ในช ว ง 30 ป ที่ ผ า นมา นั ก วิ จั ย ต า งๆ ได พั ฒ นาแบบจํ า ลองสํ า หรั บ
คํานวณคาประสิทธิศักยจากขอมูลในบริเวณตางๆ ของโลก (Littlefair, 1988; Perez et al.,
1990; Skartviet and Olseth, 1994; Chung, 1992; Muneer and Kinghorn, 1998; Robledo and
Soler, 2001; Tsikaloudaki, 2005; Souza et al., 2006; Fakra et al., 2011; Chaiwiwatworakul
and Chirarattananon, 2013; Janjai et al., 2014) แบบจําลองดังกลาวเปนแบบจําลองเอมไพริคัล
ซึ่งสรางจากขอมูลจากบริเวณตางๆ ของโลก และมีสมรรถนะแตกตางกัน ในปจจุบันยังไมมี
แบบจําลองมาตรฐานที่ใชไดทั่วไป
ตํารานี้จะนําเสนอแบบจําลองประสิทธิศักยแบบกึ่งเอมไพริคัลของรังสีตรง ( K b )
และรังสีกระจาย ( K d ) ซึ่งพัฒนาโดยจันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2014) จากขอมูลความ
สวาง ขอมูลความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง และตัวแปรทางบรรยากาศตางๆ
ซึ่งทําการวัดที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา แบบจําลองดังกลาวเขียนใน
รูปสมการ ไดดังนี้

K b  115.854  38.899 cos z  3.038w  50.310AOD  10.872n  56.381k b


(11.28)

K d  211.902  19.265 cos z  4.301w  14.527AOD  23.581n  91.151k d


(11.29)
เมื่อ w คือ ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร

433
434

n คือ ดัชนีเมฆ
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
Kb คือ อัตราสวนของความเขมรังสีตรงที่พื้นผิวโลกตอความเขมรังสี
อาทิตยนอกบรรยากาศโลก (-)
Kd คือ อัตราสวนของความเขมรังสีกระจายที่พื้นผิวโลกตอความเขมรังสี
อาทิตยนอกบรรยากาศโลก (-)

สําหรับกรณีประสิทธิศักยของรังสีรวม วัดตาลและจันทรฉาย (Wattan and Janjai,


2015) ไดวิเคราะหขอมูลจาก 4 สถานีดังกลาว และเสนอแบบจําลองดังนี้

K g  127.097  5.093 cos z  1.100 w  2.226AOD  14.397n (11.30)

จากการทดสอบแบบจําลองดังกลาวกับขอมูลอิสระ พบวาแบบจําลองประสิทธิศักย
ของรังสีตรง และรังสีกระจายสามารถใชคํานวณความสวางจากแสงตรง และแสงกระจาย โดย
มีความคลาดเคลื่อน (RMSD) เทากับ 9.7% และ 6.8% ตามลําดับ และกรณีของรังสีรวมมีความ
คลาดเคลื่อนเทากับ 4.6%

11.5.5 แบบจําลองของความสวางบนระนาบในแนวดิ่ง
โดยทั่วไปขอมูลความสวางที่ไดจากการวัดและจากแบบจําลองจะเปนขอมูลบนระนาบ
ในแนวระดับ แตในการใชงาน ผูใชมักตองการขอมูลความสวางบนระนาบเอียงเปนมุมตางๆ
โดยเฉพาะอยางยิ่งบนระนาบเอียงเปนมุม 90 องศาหรือระนาบในแนวดิ่ง ซึ่งเปนระนาบของ
หนาตางและผนังของอาคารตางๆ ทั้งนี้เพื่อใชเปนขอมูลของปริมาณแสงสวางธรรมชาติที่จะ
เขาไปภายในอาคาร ดังนั้นนักวิจัยตางๆ จึงไดเสนอแบบจําลองสําหรับแปลงขอมูลความสวาง
บนระนาบในแนวระดับ ใหเ ปน คาบนระนาบเอียง เนื่ องจากความสวางบนระนาบเอียงจะ
ประกอบดวยความสวางของแสงตรงและความสวางจากแสงกระจาย ดังนั้นการแปลงจึงตองทํา
แยกกัน กลาวคือจะตองแปลงความสวางแตละสวน แลวนําผลที่ไดมารวมกัน จึงไดความสวาง
จากแสงรวมบนระนาบเอียง โดยการแปลงความสวางจากแสงตรงทําไดงายเพราะแสงตรงมี
ทิศทางที่แนนอน โดยเราสามารถทําการแปลงเชนเดียวกับการแปลงรังสีตรงตามวิธีที่กลาวไป

434
435

แลวในบทที่ 10 สวนการแปลงความสวางจากแสงกระจายจะมีความซับซอนกวา ทั้งนี้เพราะ


ปริมาณและทิศทางขึ้นกับตําแหนงของดวงอาทิตยและสภาพทองฟา ซึ่งขึ้นกับชนิด ตําแหนง
และปริมาณของเมฆ นักวิจัยตางๆ จึงไดเสนอแบบจําลองสําหรับแปลงรังสีกระจายหรือแสง
กระจายบนระนาบในแนวระดับใหเปนคาบนระนาบเอียง (Liu and Jordan, 1962; Bugler,
1977; Temps and Coulson, 1977; Klucher, 1979; Hay, 1979; Willmott, 1982; Ma and Iqbal,
1983; Skartviet and Olseth, 1986; Koronakis, 1986; Gueymard, 1987; Perez et al., 1987;
Muneer, 1997; Chirarattananon et al., 2007; Janjai et al., 2009) โดยทั่วไปแบบจําลองสําหรับ
แปลงรังสีกระจายจะสามารถใชในการแปลงความสวางได ทั้งนี้เพราะการสะทอนจากผิวทั่วไป
จะไมขึ้นกับความยาวคลื่น โดยแบบจําลองสวนใหญจะใชงานไดดีกับบริเวณที่มีภูมิอากาศและ
สภาพแวดล อ มคล า ยกั บ สภาพแวดล อ มของสถานีวั ด ที่ นั ก วิ จัย นํา ข อ มูล มาใชใ นการสร า ง
แบบจําลอง ปจจุบันยังไมมีแบบจําลองมาตรฐานสําหรับใชงานไดทั่วไป
ตํ า รานี้ จ ะนํ า เสนอรายละเอี ย ดของแบบจํ า ลองซึ่ ง พั ฒ นาโดย จั น ทร ฉ ายและคณะ
(Janjai et al., 2009) ซึ่งไดจากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความสวางจากแสงกระจาย
บนระนาบในแนวระดับกับความสวางจากแสงกระจายจากทองฟาบนระนาบในแนวดิ่งซึ่งหัน
หนา ไปทางทิ ศ เหนื อ ใต ตะวั น ออก และตะวั น ตก ที่ ทํา การวั ด ที่ สถานี วั ด รัง สีอ าทิ ต ย ข อง
มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา โดยแบงตามสภาพ
ทองฟาแบบตางๆ ดังนี้
1) ทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด จะไดความสัมพันธระหวางความสวางจากแสง
กระจายบนระนาบในแนวระดับ ( E dh ) กับความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ง
( E dv ) ตามรูปที่ 11.16 และสามารถแทนความสัมพันธดังกลาวดวยสมการ

E dv  0.455E dh (11.31)

435
436

60
Overcast sky
Chiang Mai
50
Ubon Ratchathani
Nakhon Pathom
40
Songkhla
Edv (klux)

30

20

10 Edv = 0.455Edh
R = 0.88
0
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90
Edh (klux)

รูปที่ 11.16 ความสัมพันธระหวางความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ ( E dh )


กับความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ง ( E dv ) กรณีทองฟาปกคลุมดวย
เมฆทั้งหมด (Janjai et al., 2009)

2) กรณีทองฟาปราศจากเมฆ สามารถแบงเปนกรณียอยตางๆ ดังนี้


ก. กรณีดวงอาทิตยอยูดานหลังระนาบในแนวดิ่ง จะไดความสัมพันธดังรูปที่
11.17 และสามารถแทนไดดวยสมการ

E dv  2.8129  0.2935E dh (11.32)

436
437

60
Clear sky
Chiang Mai
50 4 shaded surfaces
Ubon Ratchathani
Nakhon Pathom
40
Songkhla
Edv (klux)

30
Edv = 0.2935Edh + 2.8129
R = 0.87
20

10

0
0 10 20 30 40 50 60
Edh (klux)

รูปที่ 11.17 ความสัมพันธระหวางความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ ( E dh )


กับความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ง ( E dv ) กรณีทองฟาปราศจาก
เมฆและดวงอาทิตยอยูดานหลังระนาบในแนวดิ่ง (Janjai et al., 2009)

ข. กรณีดวงอาทิตยอยูดานหนาระนาบในแนวดิ่ง โดยกรณีนี้จะแบงเปนกรณี
ยอยๆ ได ดังนี้
- ระนาบในแนวดิ่งที่หันไปทางทิศเหนือจะไดความสัมพันธตามกราฟรูปที่
11.18 และสามารถเขียนแทนไดดวยสมการ

2
E dv  0.9582  0.9045E dh  0.0072E dh (11.33)

437
438

60
Clear sky
50 North-facing sunlit surfaces

Chiang Mai
40 Ubon Ratchathani
Edv (klux)

Nakhon Pathom
30
Songkhla

20

10 2
Edv = -0.0072Edh + 0.9045Edh -0.9582
R = 0.85
0
0 10 20 30 40 50 60
Edh (klux)

รูปที่ 11.18 ความสัมพันธระหวางความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ ( E dh )


กับความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ง ( E dv ) ที่หันไปทางทิศเหนือ
กรณีทองฟาปราศจากเมฆและดวงอาทิตยอยูดานหนาของระนาบ (Janjai et al.,
2009)

- ระนาบในแนวดิ่งที่หันไปทางทิศใตจะไดตามกราฟรูปที่ 11.19 และสามารถ


แทนดวยสมการ
2
E dv  1.9541  1.3762E dh  0.0152E dh (11.34)

438
439

60
Clear sky
50 South-facing sunlit surfaces
Chiang Mai
40 Ubon Ratchathani
Nakhon Pathom
Edv (klux)

30 Songkhla

20

10 2
Edv = -0.0152Edh + 1.3762Edh - 1.9541
R = 0.73
0
0 10 20 30 40 50 60
Edh (klux)

รูปที่ 11.19 ความสัมพันธระหวางความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ ( E dh )


กั บ ความสวา งจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ ง ( E dv ) ที่หัน ไปทางทิ ศ ใต
กรณีทองฟาปราศจากเมฆและดวงอาทิตยอยูดานหนาของระนาบ (Janjai et al., 2009)

- ระนาบในแนวดิ่งที่หันไปทางทิศตะวันออกจะไดตามกราฟรูปที่ 11.20 และ


สามารถแทนดวยสมการ
2
E dv  0.4205  1.5211E dh  0.0182E dh (11.35)

439
440

60
Clear sky
50 East-facing sunlit surfaces
Chiang Mai
Ubon Ratchathani
40
Nakhon Pathom
Edv (klux)

Songkhla
30

20

2
10 Edv = -0.0182Edh + 1.5211Edh + 0.4205
R = 0.71

0
0 10 20 30 40 50 60
Edh (klux)

รูปที่ 11.20 ความสัมพันธระหวางความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ ( E dh )


กั บ ความสว า งจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ ง ( E dv ) ที่ หั น ไปทางทิ ศ
ตะวั น ออก กรณี ท อ งฟ า ปราศจากเมฆและดวงอาทิ ต ย อ ยู ด า นหน า ของระนาบ
(Janjai et al., 2009)

- ระนาบในแนวดิ่งที่หันไปทางทิศตะวันตกจะไดตามกราฟรูปที่ 11.21 และ


สามารถแทนดวยสมการ
2
E dv  1.7995  0.9643E dh  0.0082E dh (11.36)

440
441

60
Clear sky
50 West-facing sunlit surfaces
Chiang Mai
40 Ubon Ratchathani
Nakhon Pathom
Edv (klux)

30 Songkhla

20

10 2
Edv = -0.0082Edh + 0.9643Edh - 1.7995
R = 0.84
0
0 10 20 30 40 50 60
Edh (klux)

รูปที่ 11.21 ความสัมพันธระหวางความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ ( E dh )


กั บ ความสว า งจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ ง ( E dv ) ที่ หั น ไปทางทิ ศ
ตะวันตก กรณีทองฟาปราศจากเมฆและดวงอาทิตยอยูดานหนาของระนาบ (Janjai
et al., 2009)

3) ทองฟามีเมฆบางสวน ในกรณีนี้ จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2009)


เสนอใหใชผลบวกของกรณีทองฟาปราศจากเมฆและทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด โดยใช
ปริมาณเมฆ (C) เปนตัวถวงน้ําหนัก โดย C มีคาจาก 0-1 ซึ่งจะไดแบบจําลองดังนี้
- กรณีระนาบในแนวดิ่งที่หนั หนาไปทางทิศเหนือ ใต ตะวันออก และ
ตะวันตก โดยขณะนัน้ ดวงอาทิตยอยูด านหลังระนาบดังกลาว
E dv  (1  C)(2.8129  0.2935E dh )  C(0.455E dh ) (11.37)

- กรณี ร ะนาบในแนวดิ่ ง ที่ หั น หน า ไปทางทิ ศ เหนื อ และดวงอาทิ ต ย อ ยู


ดานหนาของระนาบ
E dv  (1  C)(0.9582  0.9045E dh  0.0072E dh 2
)  C(0.455E dh ) (11.38)

441
442

- กรณีระนาบในแนวดิ่งที่หันหนาไปทางทิศใต และดวงอาทิตยอยูดานหนา
ของระนาบ
2
E dv  (1  C)(1.9541  1.3762E dh  0.0152E dh )  C(0.455E dh ) (11.39)
- กรณีระนาบในแนวดิ่งที่หันหนาไปทางทิศตะวันออก และดวงอาทิตยอยู
ดานหนาของระนาบ

2
E dv  (1  C)(0.4205  1.5211E dh  0.0182E dh )  C(0.455E dh ) (11.40)

- กรณีร ะนาบในแนวดิ่ง ที่หัน หนาไปทางทิศ ตะวัน ตก และดวงอาทิ ต ย อยู


ดานหนาของระนาบ

2
E dv  (1  C)(1.7995  0.9643E dh  0.0082E dh )  C(0.455E dh ) (11.41)

เมื่อทดสอบแบบจําลองดังกลาวขางตนทั้งหมดกับขอมูลอิสระ ซึ่งวัดที่สถานีเชียงใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา พบวาคาที่ไดจากแบบจําลองกับคาจากการวัด มีความ
แตกตางในรูปของ RMSD อยูในชวง 15.1% ถึง 22.4% ทั้งนี้ขึ้นกับสภาพทองฟาและระนาบที่
พิจารณา (Janjai et al., 2009)

11.6 แบบจําลองความสองสวางจากทองฟา (sky luminance models)


ถึงแมเราจะสามารถหาคาความสองสวางจากทองฟาได โดยอาศัยการวัดดวยเครื่อง
สแกนทองฟา แตเครื่องมือดังกลาวมีราคาแพง ทําใหการวัดความสองสวางในประเทศตางๆ มี
อยูนอยมาก สําหรับกรณีประเทศไทยมีการวัดอยูเพียง 2-3 แหง เทานั้น ทําใหขอมูลไมเพียงพอ
ตอการใชงาน ดังนั้นนักวิจัยตางๆ จึงแกปญหาดังกลาวโดยการสรางแบบจําลองความสองสวาง
จากทองฟา เพื่อใชคํานวณปริมาณดังกลาวในสภาพทองฟาตางๆ (Pokrowski, 1929; Moon and
Spencer, 1942; Kittler, 1967; Littlefair, 1981; Perraudeau, 1988; Harrison and Coombes,
1988; Matsuura and Iwata, 1990; Brunger and Hooper, 1993; Perez et al., 1993; Igawa and
Nakamura, 2001; CIE, 2003; Chirarattananon and Chaiwiwatworakul, 2007; Janjai et al.,

442
443

2008b; Janjai and Plaon, 2011; Janjai, 2013) ในหัวขอนี้จะนําเสนอแบบจําลองความสองสวาง


จากทองฟาของคณะกรรมการความสวางนานาชาติ (CIE, 2003) แบบจําลองความสองสวางจาก
ทองฟาที่ใชขอมูลภาพถายดาวเทียมแยกสภาพทองฟาซึ่งพัฒนาโดยจันทรฉาย (Janjai, 2013)
และแบบจําลองความสองสวางจากทองฟาที่ใชโครงขายประสาทเทียม (Janjai and Plaon, 2011)
ตามรายละเอียดดังนี้

11.6.1 แบบจําลองความสองสวางจากทองฟาของคณะกรรมการความสวางนานาชาติ (CIE)


คณะกรรมการความสวางนานาชาติ (CIE, 2003) ไดเสนอแบบจําลองสําหรับคํานวณ
ความสองสวางของทองฟา โดยเริ่มตนจะพิจารณาความสองสวางที่เกิดจากบริเวณเล็กๆ ของ
ทองฟ า (sky element) ซึ่ง กํา หนดดว ยมุ มเซนิ ธของบริ เวณดัง กล าว ( Z ) มุมเซนิธของดวง-
อาทิตย ( Zs ) และระยะเชิงมุมระหวางบริเวณดังกลาวกับดวงอาทิตย (  ) หรือมุมอินดิเคตริก
(indicatrix angle) ตามรูปที่ 11.22
จุดเซนิธของทองฟา
Lz Z
ดวงอาทิตย Zs
L ตําแหนงบริเวณเล็กๆ
ของทองฟาที่จะหาความ
χ สองสวาง

ตะวันตก

ใต Az
เหนือ

Azs
ตะวันออก
รูปที่ 11.22 ทองฟาและมุมตางๆ ที่กําหนดตามแบบจําลองความสองสวางของทองฟาของ
คณะกรรมการความสวางนานาชาติ

จากนั้นจะพิจารณาวาความสองสวางของบริเวณเล็กๆ ของทองฟา L เมื่อเทียบกับความ


สองสวางทองฟาที่จุดเซนิธ ( L z ) หรือความสองสวางสัมพัทธ ( L / L z ) จะขึ้นกับอิทธิพลของ
2 ฟงกชัน ไดแก ฟงกชันแกรเดชัน (gradation function,  ) และฟงกชันอินดิเคตริก (indicatrix
function, f) ซึ่งเขียนไดในรูปสมการดังนี้

443
444

L ( Z) f ()
  (11.42)
L Z (0) f ( Zs )

ฟงกชันแกรเดชัน (  ) และฟงกชันอินดิเคตริก (f) เขียนไดในรูปสมการเอมไพริคัล


ดังนี้
b
( Z)  1  a exp( ) (11.43)
cos Z


และ f ()  1  c[exp(d)  exp( d)]  e cos 2  (11.44)
2

เมื่อ a, b, c, d และ e เปนสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองซึ่งขึ้นกับสภาพทองฟา โดยคา


, Z และ Zs มีห นว ยเปนเรเดียน ถาเปนกรณีตําแหนงของทองฟาที่เราตองการหาคาความ
สองสวางอยูที่เซนิธของทองฟาหรืออยูกลางทองฟา เราจะไดวา Z  0 และ   Zs โดยเรา
สามารถเขียนสมการ (11.43) และ (11.44) สําหรับกรณีดังกลาวไดดังนี้
(0)  1  a exp ( b ) (11.45)

f ( Zs )  1  c[exp(dZs )  exp( d)]  e cos 2 Zs (11.46)
2
คา  สามารถคํานวณไดจากสมการ

cos   cos ZS cos Z  sin ZS sin Z cos A Z  A ZS (11.47)

เมื่อ AZ คือ มุมอาซิมุธของตําแหนงของทองฟาที่ตองการหาความสองสวาง


(องศา)
A ZS คือ มุมอาซิมุธของตําแหนงของดวงอาทิตย (องศา)
(มุมอาซิมุธในสมการ (11.47) คิดจากทิศเหนือในทิศตามเข็มนาฬิกา ตามรูปที่ 11.22)

เมื่อแทน ( Z) , f () , (0) และ f ( ZS ) ในสมการ (11.42) เราสามารถเขียนสมการ


ของแบบจําลองความสวางทองฟา ไดดังนี้

444
445

b   
[1  a exp( )]1  c[exp(d)  exp( d)]  e cos 2 
L cos Z  2 
 (11.48)
LZ   
(1  a exp b)1  c[exp(dZs )  exp( d)]  e cos 2 Zs 
 2 

แบบจําลองดังกลาวจะกําหนดสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองตามสภาพทองฟาตางๆ
ดังตารางที่ 11.1

ตารางที่ 11.1 คาสัมประสิทธิ์ a, b, c, d และ e ของสมการ (11.48) ที่สภาพทองฟาแบบตางๆ


(CIE, 2003)

แบบ
ของ a b c d e ลักษณะของทองฟา
ทองฟา
1 4.0 -0.70 0 -1.0 0.00 ทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด โดยมีความสองสวาง
เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจากขอบฟาไปยังเซนิธของทองฟา
และคาความสองสวางสม่ําเสมอในแนวอาซิมุธ
2 4.0 -0.70 2 -1.5 0.15 ทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด คลายกับแบบที่ 1 แต
คาความสองสวางเพิ่มขึ้นเมื่อเขาใกลตําแหนงของ
ดวงอาทิตย
3 1.1 -0.80 0 -1.0 0.00 ทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด โดยคาความสองสวาง
เปลี่ยนแปลงไมมากนักจากขอบฟาไปยังเซนิธและ
ความสองสวางมีคาสม่ําเสมอในแนวอาซิมุธ
4 1.1 -0.80 2 -1.5 0.15 ทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด คลายกับแบบที่ 3 แต
คาความสองสวางมีคามากขึ้น เมื่อเขาใกลตําแหนง
ดวงอาทิตย
5 0.0 -1.0 0 -1.0 0.00 ทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด โดยคาความสองสวาง
สม่ําเสมอทั้งทองฟา
6 0.0 -1.0 2 -1.5 0.15 ทองฟามีเมฆบางสวน โดยคาความสองสวางไม
เพิ่มขึ้น เมื่อเขาใกลจุดเซนิธ แตจะมีคาเพิ่มขึ้น เมื่อเขา
ใกลตําแหนงดวงอาทิตย

445
446

แบบ
ของ a b c d e ลักษณะของทองฟา
ทองฟา
7 0.0 -1.0 5 -2.5 0.30 ทองฟามีเมฆบางสวน โดยคาความสองสวางไม
เพิ่มขึ้น เมื่อเขาใกลจุดเซนิธ แตจะมีความสองสวางสูง
ในบริเวณรอบดวงอาทิตย
8 0.0 -1.0 10 -3.0 0.45 ทองฟามีเมฆบางสวน โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงความ
สองสวางไปทางทิศเขาสูจุดเซนิธของทองฟา และ
สังเกตเห็นแสงสวางจารอบดวงอาทิตยชัดเจน
9 -1.0 -0.55 2 -1.5 0.15 ทองฟามีเมฆบางสวน โดยดวงอาทิตยมีเมฆบัง
10 -1.0 -0.55 5 -2.5 0.30 ทองฟามีเมฆบางสวน โดยบริเวณรอบดวงอาทิตยมี
ความสองสวางสูง
11 -1.0 -0.55 10 -3.0 0.45 ทองฟาปราศจากเมฆ โดยเห็นทองฟาเปนสีน้ําเงินแกม
ขาว และเห็นแสงสวางจารอบดวงอาทิตยชัดเจน
12 -1.0 -0.32 10 -3.0 0.45 ทองฟาปราศจากเมฆ แตขุนมัวและมีความสองสวาง
นอย
13 -1.0 -0.32 16 -3.0 0.30 ทองฟาปราศจากเมฆ และบรรยากาศมีมลภาวะสูง
14 -1.0 -0.15 16 -3.0 0.30 ทองฟาปราศจากเมฆ โดยบรรยากาศขุนมัวและเห็น
ดวงอาทิตยมีแสงสวางแผกวาง
15 -1.0 -0.15 24 -2.8 0.15 ทองฟาปราศจากเมฆ และมีสีน้ําเงินแกมขาว โดยเห็น
แสงสวางแผกวางรอบดวงอาทิตย

446
447

ตัวอยา ง 11.1 จงใชแ บบจําลองความสวางของคณะกรรมการความสวางนานาชาติ ทําการ


คํานวณความสองสวางจากทองฟา ซึ่งอยูที่ตําแหนงมุมเซนิธ 80 องศา และมุมอาซิมุธ 130 องศา
(วัดจากทิศเหนื อตามเข็มนาฬิก า) และดวงอาทิตยอยูที่ตําแหน งมุมเซนิธ 51.98 องศา และ
มุมอาซิมุธ 147.67 องศา โดยที่ทองฟาเปนแบบที่ 11 ตามมาตรฐานของคณะกรรมการความ
สวางนานาชาติ และความสองสวางของทองฟาที่ตําแหนงเซนิธมีคาเทากับ 4,404 แคนเดลา
ตอตารางเมตร

วิธีทํา จากตารางที่ 11.1 ทองฟาแบบที่ 11 สัมประสิทธิ์ของแบบจําลองมีคา ดังนี้


a = -1.00, b = -0.55, c = 10.0, d = -3.0 และ e = 0.45
ขั้นที่ 1 จะคํานวณคามุม  จาก
cos   cos ZS cos Z  sin ZS sin Z cos A Z  A ZS
 cos 51.98 cos 80  sin 51.98 sin 80 cos 130  147.67
 0.8462
ได  = 32.20 องศา หรือ 0.5620 เรเดียน
Z = 80 องศา หรือ 1.3963 เรเดียน
ZS = 51.98 องศา หรือ 0.9072 เรเดียน

ขั้นที่ 2 จะคํานวณคาของฟงกชันแกรเดชัน  และฟงกชันอินดิเคตริก f ที่ตําแหนง


ของทองฟาที่พิจารณาและที่จุดเซนิธของทองฟา ดังนี้
b
( Z)  1  a exp( )
cos Z
 0.55
 1  ( 1 )  exp( )
cos(1.3963 )
 0.9579
(0)  1  a exp b
 1  ( 1 )  exp ( 0.55 )
 0.4231

f ()  1  c[exp(d)  exp( d)]  e cos 2 
2
3
1  10  [exp(3.0  0.5620)  exp( )]  0.45 cos 2 (05620)
2
 2.9335

447
448


f ( Zs )  1  c[exp(dZs )  exp( d )]  e cos 2 Zs
2
3
1  10  [exp(3  0.9072)  exp( )]  0.45 cos 2 (0.9072)
2
1.7386
ขั้นที่ 3 จะคํานวณความสองสวางสัมพัทธ ( L / L z )

L ( Z) f ()
 
L Z (0) f ( Zs )
0.9579 2.9335
 
0.4231 1.7386
 3.820
ขั้นที่ 4 คํานวณความสองสวางของทองฟา L
L
L  LZ 
LZ
 4,404  3.820
16,823 แคนเดลาตอตารางเมตร

11.6.2 แบบจําลองความสองสวางของทองฟาซึ่งใชขอมูลภาพถายดาวเทียมในการจําแนก
สภาพทองฟา
ในการใช แ บบจํ า ลองความส อ งสว า งของท อ งฟ า ของคณะกรรมการความสว า ง
นานาชาติ ผูใชจําเปนตองทราบสภาพทองฟา จากนั้นจึงเลือกคาสัมประสิทธิ์ของแบบจําลองให
ตรงกับสภาพทองฟา เนื่องจากการเลือกสภาพทองฟาใหตรงกับลักษณะของทองฟามาตรฐาน
ของคณะกรรมการความสว า งนานาชาติ จ ะต อ งอาศั ย การสั ง เกตสภาพท อ งฟ า ด ว ยสายตา
ซึ่งขึ้นกับประสบการณและความชํานาญของผูสังเกต ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงการสังเกตสภาพ
ทองฟาดวยสายตา จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2008b) จึงไดเสนอแบบจําลองความสองสวาง
ของท อ งฟ า ซึ่ ง ใช ข อ มู ล ภาพถ า ยดาวเที ย ม เพื่ อ จํ า แนกสภาพท อ งฟ า และต อ มาจั น ทร ฉ าย
(Janjai, 2013) ไดพัฒนาแบบจําลองและวิธีการจําแนกทองฟาใหละเอียดยิ่งขึ้น โดยแบบจําลอง
ดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้

448
449

ในการสรางแบบจําลอง จันทรฉายและคณะ ไดนําขอมูลความสองสวางทองฟา ซึ่งทํา


การวัดที่คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม มาทําการวิเคราะห และ
เสนอวาความสองสวางสัมพัทธของทองฟา ( L / Lz ) สามารถเขียนไดเปนผลคูณของ 2 ฟงกชัน
ดังนี้
L F1 ( Z) F2 ()
  (11.49)
L Z F1 (0) F2 ( Zs )

โดย F1 ขึ้นกับมุมเซนิธ (Z) ของบริเวณเล็กๆ บนทองฟา (sky element) ซึ่งเปลงแสง


สวางออกมา และมุมเซนิธของดวงอาทิตย ( Zs ) สวน F2 เปนฟงกชันของระยะเชิงมุมระหวาง
บริเวณเล็กๆ บนทองฟาดังกลาวและดวงอาทิตย (  ) ในการหาฟงกชันทั้งสอง จันทรฉาย
(Janjai, 2013) ไดทําการแบงขอมูลความสองสวางออกเปนกลุมตามสภาพทองฟา ซึ่งจําแนก
ดวยคาดัชนีเมฆ (n) ที่คํานวณจากขอมูลภาพถายดาวเทียม (รายละเอียดการคํานวณดัชนีเมฆ
กลาวไวในบทที่ 6) จากนั้นทําการหาคา F1 ( Z) / F1 (0) และ F2 () / F2 ( Zs ) แลวทําการฟตดวย
สมการโพลิโนเมียล ซึ่งไดผลดังนี้

F1 ( Z) a1
 1  a 0 Z exp( )  a 3 ZZ s exp( a 4 Z) (11.50)
F1 (0) cos a 2 Z

F2 () b  b exp(b 2)


 0 1 (11.51)
F2 ( Zs ) b 0  b1 exp(b 2 Zs )

เมื่อ a0, a1, a2, a3, a4, b0, b1 และ b2 คือ สัมประสิทธิ์ของแบบจําลองซึ่งมีคาขึ้นกับ
สภาพทองฟาที่บอกดวยดัชนีเมฆ ตามตารางที่ 11.2 และ 11.3

449
450

ตารางที่ 11.2 คาสัมประสิทธิ์ของสมการ (11.50)

ดัชนีเมฆ a0 a1 a2 a3 a4
(n)
0.0  n  0.1 0.10994 0.94684 0.00001 0.09794 1.88610
0.1  n  0.2 0.09695 0.82256 0.00001 0.20491 1.15237
0.2  n  0.3 0.07836 0.88284 0.00001 0.41524 0.49970
0.3  n  0.4 -1.11928 -4.39446 0.00001 0.35793 0.35518
0.4  n  0.5 0.07381 0.71343 0.00001 0.30185 0.10157
0.5  n  0.6 -0.07553 0.55181 0.00001 0.34422 -0.18030
0.6  n  0.7 -0.11489 0.80409 0.00001 0.55921 -0.33012
0.7  n  0.8 -0.12300 0.91970 0.00001 0.79808 -0.43399
0.8  n  0.9 -0.08916 0.49959 0.00001 0.57082 -1.11957
0.9  n  1.0 0.10000 -20.00000 1.00000 -0.13300 -3.31000

ตารางที่ 11.3 คาสัมประสิทธิ์ของสมการ (11.51)

n b0 b1 b2
0.0  n  0.1 0.42386 11.05000 -4.38272
0.1  n  0.2 0.40384 9.75000 -4.15170
0.2  n  0.3 0.38245 7.81250 -3.60560
0.3  n  0.4 0.39177 6.33125 -3.50673
0.4  n  0.5 0.40811 5.46250 -3.73423
0.5  n  0.6 0.41613 4.53726 -3.55273
0.6  n  0.7 0.41081 3.78125 -3.07215
0.7  n  0.8 0.43155 3.36875 -3.67036
0.8  n  0.9 0.41706 3.12500 -3.05999
0.9  n  1.0 0.40839 3.07234 -3.20299

ในขั้ น สุ ด ท า ยจะแทน F1 ( Z) / F1 (0) จากสมการ (11.50) และ F2 () / F2 ( Zs ) จาก


สมการ (11.51) ในสมการ (11.49) จะได

450
451

L a1 b  b1 exp( b 2  )
 [1  a 0 Z exp( )  a 3 ZZ s exp( a 4 Z)]  0 (11.52)
Lz cos a 2 Z b 0  b1 exp( b 2 Zs )

จากสมการ (11.52) ผูใชสามารถคํานวณความสองสวางจากทองฟาถารูตําแหนงของ


ทองฟาที่ตองการหาความสองสวางและตําแหนงของดวงอาทิตย โดยเลือกคาสัมประสิทธิ์ของ
สมการ (11.52) จากคา n ซึ่งไดจากภาพถายดาวเทียม (คา Z, Zs และ  ใชหนวยเปนเรเดียน)
จั น ทร ฉ าย (Janjai, 2013) ได ท ดสอบสมรรถนะของแบบจํ า ลองดั ง กล า ว โดยนํ า
แบบจําลองไปคํานวณคาความสองสวางสัมพัทธที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี และสงขลา
พบวาคาที่คํานวณมีความแตกตางจากคาที่ไดจากการวัด โดยมีคา RMSD อยูในชวง 15.1-
16.6%

11.6.3 การหาคาความสองสวางของทองฟาโดยใชโครงขายประสาทเทียม
ความสองสวางของทองฟาเปนฟงกชันแบบไมเชิงเสน (non-linear function) ของตัว
แปรซึ่งแสดงตําแหนงของบริเวณเล็กๆ บนทองฟาที่พิจารณาและตําแหนงของดวงอาทิตย
นอกจากนี้ความสองสวางของทองฟายังขึ้นกับสภาพทองฟา โดยมีปริมาณ ชนิด และตําแหนง
ของเมฆเปนตัวแปรสําคัญ ทําใหความสัมพันธระหวางความสองสวางและตัวแปรดังกลาวมี
ความซับซอน ดังนั้นจันทรฉายและปลาออน (Janjai and Plaon, 2011) จึงไดเสนอการหาคา
ความสองสวางของทองฟา โดยใชโครงขายประสาทเทียม
โครงขายประสาทเทียมที่ จันทรฉายและปลาออน (Janjai and Plaon, 2011) เสนอให
ใชเปนแบบมีเซลลประสาทเทียมหลายชั้น (multi-layer artificial neural network) โดยมีชั้น
อินพุทที่ประกอบดวย 3 ตัวแปร และชั้นเอาทพุท 1 ตัวแปร โดยชั้นอินพุท ไดแก มุมเซนิธของ
ดวงอาทิ ต ย ( ZS ) มุ ม เซนิ ธ ของบริ เ วณเล็ ก ๆ บนท อ งฟ า ที่ พิ จ ารณา ( Z ) และระยะเชิ ง มุ ม
ระหวางดวงอาทิตยกับบริเวณเล็กๆ ที่พิจารณา (  ) สําหรับชั้นเอาทพุท คือ ความสองสวาง
สัมพัทธ ( Lr ) ซึ่งเปนอัตราสวนของความสองสวางของบริเวณเล็กๆ บนทองฟาที่พิจารณา
( L ) ต อ ความส อ งสว า งของจุ ด กลางท อ งฟ า (zenith luminance, L z ) (รู ป ที่ 11.23)โดยใช
ฟงกชันซิกมอยดเปนฟงกชันกระตุน

451
452

ชัน้ อินพุท ชัน้ ซอนที่ 1 ชัน้ ซอนที่ 2


Zs

Output layer
. ชัน้ เอาทพุท
Z . Lr
.
.

รูปที่ 11.23 โครงขายประสาทเทียมที่ใชหาคาความสองสวางของทองฟา เมื่อ ZS คือมุมเซนิธ


ของดวงอาทิตย Z คือมุมเซนิธของบริเวณเล็กๆ บนทองฟา ซึ่งจะหาคาความสอง
สวาง  คือระยะเชิงมุมระหวางดวงอาทิตยกับบริเวณเล็กๆ บนทองฟา และ Lr คือ
ความสองสวางสัมพัทธของบริเวณเล็กๆ บนทองฟา

จันทรฉายและปลาออน (Janjai and Plaon, 2011) ใชขอมูลความสองสวางของทองฟา


ซึ่งทําการวัดที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐมในชวงเวลา 2 ป
(ค.ศ. 2007-2008) เพื่อทําการฝกสอนโครงขายประสาทเทียม โดยอาศัยวิธียอนกลับ (back
propagation algorithm) จากนั้นไดนําโครงขายประสาทเทียมที่ฝกสอนแลวไปทํานายคาความ
สองสวางของทองฟาที่สถานีนครปฐมในป ค.ศ. 2009 ผลที่ไดพบวาโครงขายประสาทเทียม
สามารถทํานายคาความสองสวางของทองฟาในสภาพทองฟาปราศจากเมฆและทองฟาปกคลุม
ดวยเมฆทั้งหมดไดละเอียดถูกตองกวาการคํานวณดวยแบบจําลองของคณะกรรมการความ
สวางนานาชาติ สําหรับกรณีทองฟามีเมฆบางสวนโครงขายประสาทเทียมสามารถทํานายความ
สองสวางไดละเอียดถูกตองกวาแบบจําลองของคณะกรรมการความสวางนานาชาติเฉพาะ
ทองฟาแบบ 8 และ 10 ตามการจําแนกสภาพทองฟาของคณะกรรมการฯ สําหรับทองฟามีเมฆ
บางสวนแบบอื่นๆ โครงขายประสาทเทียมและแบบจําลองของคณะกรรมการฯ มีสมรรถนะ
ใกลเคียงกัน นอกจากนี้ จันทรฉายและปลาออน (Janjai and Plaon, 2011) ยังไดใชโครงขาย

452
453

ประสาทเทียมซึ่งฝกสอนโดยใชขอมูลที่นครปฐมไปทํานายคาความสองสวางที่สถานีวัดรังสี
อาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดสงขลา โดยไดผลคลายกับกรณีของจังหวัดนครปฐม

11.7 สรุป
ในบทนี้กลาวถึงการตอบสนองของตามนุษยตามมาตรฐานของคณะกรรมการความสวาง
นานาชาติ และคําจํากัดความของปริมาณพื้นฐานดานแสงสวาง ไดแก ฟลักซของแสงสวาง
ความสองสวาง และความสวาง จากนั้นไดกลาวถึงแสงสวางธรรมชาติ ซึ่งเปนแสงจากดวง-
อาทิตย ที่ประกอบดวยแสงตรงและแสงกระจาย เมื่อแสงดังกลาวตกกระทบพื้นผิวโลกจะ
กอใหเ กิดความสวาง ซึ่ง มีทั้งความสวางจากแสงตรงและความสวางจากแสงกระจาย โดย
ผลรวมของความสองสวางทั้งสองจะเรียกวา ความสวางจากแสงรวม ความสวางเหลานี้สามารถ
วัดไดโดยใชลักซมิเตอร สําหรับความสองสวางจากทองฟาสามารถวัดไดโดยใชเครื่องสแกน
ทองฟา เนื่องจากขอมูลความสวางและความสองสวางจําเปนตองใชในการออกแบบอาคารที่ใช
แสงสวางธรรมชาติเพื่อลดการใชไฟฟาในอาคาร และขอมูลจากการวัดมักมีจํานวนจํากัด ดังนั้น
นักวิจัยตางๆ จึงไดสรางแบบจําลองสําหรับคํานวณปริมาณแสงสวางธรรมชาติทั้งในรูปความ
สวางและความสองสวาง โดยปริมาณของความสวางในสภาพทองฟาปราศจากเมฆสามารถ
คํานวณไดจากแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลซึ่งเปนฟงกชันของความลึกเชิงแสงของฝุนละออง
ปริมาณโอโซน และมุมเซนิธของดวงอาทิตย สําหรับกรณีทองฟาทั่วไป เราสามารถคํานวณ
ความสวางไดจากขอมูลภาพถายดาวเทียม หรือคํานวณโดยใชแบบจําลองประสิทธิศักย ซึ่งเปน
ฟงกชันของปริมาณไอน้ํา ความลึกเชิงแสงของฝุนละออง ดัชนีเมฆ ดัชนีความแจมใสของ
บรรยากาศ และมุมเซนิธของดวงอาทิตย นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงการแปลงคาความสวางจาก
แสงกระจายบนระนาบในแนวระดั บ ให เ ป น ค า บนระนาบในแนวดิ่ ง สุ ด ท า ยได อ ธิ บ าย
แบบจําลองตางๆ สําหรับคํานวณความสองสวางจากทองฟา

453
454

แบบฝกหัด

1. ที่เวลา 11.00 น. ตามเวลามาตรฐานของประเทศไทยของวันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 2011 คา


ความสวางของแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับซึ่งวัดไดที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ
จังหวัดเชียงใหม (18.78 N, 98.98 E) มีคาเทากับ 20 กิโลลักซ จงคํานวณหาคาความสวาง
ของแสงกระจายที่ตกกระทบบนระนาบแนวดิ่งที่หันไปทางทิศเหนือ ใต ตะวันออก และ
ตะวันตก ถาที่เวลาดังกลาวทองฟาปกคลุมดวยเมฆครึ่งหนึ่งของทองฟา
คําตอบ 9.40 กิโลลักซ (ทิศเหนือ) 14.33 กิโลลักซ (ทิศใต) 16.33 กิโลลักซ (ทิศตะวันออก)
และ 11.65 กิโลลักซ (ทิศตะวันตก)

2. จงหาคาของความสองสวางจากทองฟาที่ตําแหนงมุมเซนิธ 30 องศา และมุมอาซิมุธ 60


องศา เมื่ อ ท อ งฟ า เป น แบบที่ 1 ตามการจํ า แนกท อ งฟ า ของคณะกรรมการความสว า ง
นานาชาติ ที่สถานีนครปฐม (13.82 N, 100.04 E) เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน เวลา 9:00
นาฬิกาตามเวลามาตรฐานประเทศไทย โดยความสองสวางของทองฟาที่ตําแหนงเซนิธมีคา
4,404 แคนเดลาตอตารางเมตร
คําตอบ 4.1 กิโลแคนเดลาตอตารางเมตร

3. จงคํานวณเปอรเซ็นตความแตกตางระหวางความสวางจากแสงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
บนระนาบซึ่งขนานกับระนาบในแนวระดับที่สถานีนครปฐม (13.82 N, 100.04 E) กับ
ความสวางจากแสงรวมที่พื้นผิวโลก ณ สถานที่ดังกลาว ในสภาพทองฟาปราศจากเมฆใน
วันที่ 21 มิถุนายน เวลา 12:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตย ถาคาความลึกเชิงแสงของฝุนละออง
ที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตรมีคาเทากับ 0.2 (ใชความสวางนอกบรรยากาศโลกเปนคา
อางอิงในการเปรียบเทียบ)
คําตอบ 6.7%

4. จงคํานวณอัตราสวนความสวางจากแสงกระจายตอความสวางจากแสงรวมในสภาพทองฟา
ปราศจากเมฆที่สถานีอุบลราชธานี (15.25 N, 104.87 E) ที่เวลา 14:00 นาฬิกาตามเวลา
มาตรฐานประเทศไทยของวั น ที่ 20 สิ ง หาคม ถา ที่ เ วลาและสถานที่ ดัง กล า วมี ปริ ม าณ

454
455

โอโซนเทากับ 0.3 เซนติเมตร และความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500


นาโนเมตรเทากับ 0.2
คําตอบ 0.225

5. จงอภิปรายขอดีและขอดอยของการใชโครงขายประสาทเทียมในการหาคาความสองสวาง
ของทองฟา

455
456

รายการสัญลักษณ

A พื้นที่ที่พิจารณา (ตารางเมตร)
AZ มุมอาซิมุธของตําแหนงของบริเวณเล็กๆ บนทองฟาที่ตองการหาความสองสวาง
(องศา)
A ZS มุมอาซิมุธของตําแหนงของดวงอาทิตย (องศา)
AOD ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ 500 นาโนเมตร (-)
C ปริมาณเมฆซึ่งมีคาในชวง 0-1 (-)
Daer สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)
Daer
 สัม ประสิ ท ธิ์ ก ารลดทอนรั ง สี อ าทิ ต ย ข องฝุ น ละอองในช ว งความยาวคลื่ น
แสงสวาง (-)
E ความสวาง (ลักซ)
E bn ความสวางจากแสงตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของแสง (ลักซ)
E dh ความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวระดับ (ลักซ)
E dv ความสวางจากแสงกระจายบนระนาบในแนวดิ่ง (ลักซ)
E gh ความสวางจากแสงรวมบนระนาบในแนวระดับ (ลักซ)
E 0h ความสวางนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับ (ลักซ)
ESC คาคงตัวแสงสวางธรรมชาติ (ลักซ)
E0 แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย
(-)
I
0 สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
I
bn ความเขมรังสีตรงในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของ
รังสี (วัตตตอตารางเมตร)
I
dh ความเขมรังสีกระจายในชวงความยาวคลื่นกวางบนระนาบในแนวระดับ
(วัตตตอตารางเมตร)

456
457

I
gh ความเข ม รั ง สี ร วมในช ว งความยาวคลื่ น กว า งบนระนาบในแนวระดั บ
(วัตตตอตารางเมตร)
k ประสิทธิศักยแสงสวางธรรมชาติ (daylight efficacy) (ลูเมนตอวัตต)
Kg ประสิทธิศักยของรังสีรวม (ลูเมนตอวัตต)
Kb ประสิทธิศักยของรังสีตรง (ลูเมนตอวัตต)
Kd ประสิทธิศักยของรังสีกระจาย (ลูเมนตอวัตต)
 ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
L ความสองสวาง (แคนเดลาตอตารางเมตร)
Lr ความสองสวางสัมพัทธ (-)
Lz ความสองสวางจากทองฟาทีจ่ ุดเซนิธ (แคนเดลาตอตารางเมตร)
ma มวลอากาศซึ่งแกผลจากความดันบรรยากาศแลว (-)
mr มวลอากาศ (-)
R สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ
R ฟงกชันการตอบสนองของตามนุษย (-)
SSA สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยครั้งแรกของฝุนละออง (-)
w ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
Z มุมเซนิธของบริเวณเล็กๆ บนทองฟา (เรเดียน)
Zs มุมเซนิธของดวงอาทิตย (เรเดียน)
aer สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)
aer
 สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นแสง-
สวาง (-)
g สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม (-)
g สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
(-)
o สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)

457
458

o สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
(-)
w สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม (-)
w สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นแสงสวาง
(-)
 มุมตกกระทบของแสงสวางบนพื้นที่ที่พิจารณา (องศา)
z มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
 ความยาวคลื่น (ไมครอน)
aer สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)
aer
 สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข องฝุ น ละอองในช ว งความยาวคลื่ น
แสงสวาง (-)
A สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศและเมฆในชวงความ
ยาวคลื่นดาวเทียม (-)
A สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศและเมฆในชวงความ
ยาวคลื่นแสงสวาง (-)
G สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)
G สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข องพื้ น ผิ ว โลกในช ว งความยาวคลื่ น
แสงสวาง (-)
aer ,  สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของฝุนละออง (-)
 g สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของกาซ (-)
 o สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของโอโซน (-)
 w สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา (-)
E ฟลักซของแสงสวาง (ลูเมน)
Ω มุมตัน (สเตอเรเดียน)
 ระยะเชิงมุมระหวางดวงอาทิตยกับบริเวณเล็กๆ บนทองฟา (เรเดียน)

458
459

เอกสารอางอิง

เสริม จันทรฉาย, อิสระ มะศิริ, รุงรัตน วัดตาล, สมเจตน ภัทรพานิชชัย, สุมามาลย บรรเทิง.
2556. การพัฒนาปรับปรุงคูมือขอมูลมาตรฐานดานภูมิอากาศและแสงอาทิตยสําหรับ
ใชงานดานพลังงานทดแทน, รายงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ
พลังงาน กรุงเทพฯ.
Bugler, J.W., 1977. The determination of hourly insolation on an inclined plane using a
diffuse irradiance model based on hourly measured global horizontal insolation.
Solar Energy 19(6), 477-491.
Brunger, A.P., Hooper, F.C., 1993. Anisotropic sky radiance model based on narrow field of
view measurements of shortwave radiance. Solar Energy 51, 53-64.
Chaiwiwatworakul, P., Chirarattananon, S., 2013. Luminous efficacies of global and diffuse
horizontal irradiances in a tropical region. Renewable Energy 53, 148-158.
Chirarattananon, S., 2005. Building for Energy Efficiency. Asian Institute of Technology,
Bankgok, Thailand.
Chirarattananon, S., Chaiwiwatworakul, P., 2007. Distribution of sky luminance and radiance
of North Bangkok under standard distributions. Renewable Energy 32, 1328-1345.
Chirarattananon, S., Chaiwiwatworakul, P., Pattanasethanon, S., 2002. Daylight availability
and models for global and diffuse horizontal illuminance and irradiance for
Bangkok. Renewable Energy 26, 69-89.
Chirarattananon, S., Rukkwansuk, P., Chaiwiwatworakul, P., Pakdeepol, P., 2007. Evaluation
of vertical illuminance and irradiance models against data from north Bangkok.
Building and Environment 42, 3894-3904.
Chung, T.M., 1992. A study of luminous efficacy of daylight in Hong Kong. Energy and
Buildings 19, 45-50.
CIE, 2003. Spatial distribution of daylight- CIE standard general sky. Report No. CIE
S011/E:2003, Commission Internationale d’Eclairage, Vienna, Austria.

459
460

Fakra, A.H., Boyer, H., Miranville, F., Bigot, D., 2011. A simple evaluation of global and
diffuse luminous efficacy for all sky conditions in tropical and humid climate.
Renewable Energy 36, 298-3069.
Fontoynont, M., Dumortier, D., Heineman, D., Hammer, A., Olseth, J.A, Skatveit, A.,
Ineichen, P., Reise, C., Page, J., Roche, L., Beyer, H.G., Wald, L., Santos, A., 1997.
SATELLIGHT: A European program dedicated to serving daylight data computed
for Meteosat images. Proceedings of the Eighth European Lighting Conference, 11–
14 May, 1997, Amsterdam.
Gueymard, C.A., 1987. An anisotropic solar irradiance model for tilted surface and its
comparison with selected engineering algorithms. Solar Energy 38(5), 367-386.
Harrison, A.W., Coombes, C.A., 1988. An opaque cloud cover model of sky short
wavelength radiance. Solar Energy 41, 387-392.
Hay, J.E., 1979. Calculation of monthly mean solar radiation for horizontal and inclined
surfaces. Solar Energy 23, 301-307.
Igawa, N., Nakamura H., 2001. All sky model as a standard sky for the simulation of daylit
environment. Building and Environment 36(6), 763-770.
Janjai, S., 2013. A satellite-based sky luminance model for the tropics. International Journal
of Photoenergy 2013, 1-11.
Janjai, S., Jantarach, T., Laksanaboonsong, J., 2003. A model for calculating global
illuminance from satellite data. Renewable Energy 28, 2355-2365.
Janjai, S., Masiri, I., Nunez, M., Laksanaboonsong, J., 2008b. Modeling sky luminance using
satellite data to classify sky conditions. Building and Environment 43(2), 2059-2073.
Janjai, S., Nunez, M., Prathumsit, J., Wattan, R., Sabooding, R., 2013. A semi-empirical
approach for the estimation of global, direct and diffuse illuminance under clear sky
condition in the tropics. Energy and Buildings 66, 177-182.
Janjai, S., Prathumsit, J., Buntoung, S., Wattan, R., Pattarapanitchai, S., Masiri, I., 2014.
Modeling the luminous efficacy of direct and diffuse solar radiation using

460
461

information on cloud, aerosol and water vapour in the tropics. Renewable Energy 66,
111-117.
Janjai, S., Plaon, P., 2011. Estimation of sky luminance in the tropics using artificial neural
networks: Modeling and performance comparison with the CIE model. Applied
Energy 88, 840–847.
Janjai, S., Tohsing, K., Nunez, M., Laksanaboonsong, J., 2008a. A technique for mapping
global illuminance from satellite data. Solar Energy 82, 543-555.
Janjai, S., Wattan, R., Nunez, M., 2009. A statistical approach for estimating diffuse
illuminance on vertical surfaces. Building and Environment 44, 2097-2105.
Janjai, S., Wanwong W., Laksanaboonsong J., 2006. The determination of surface albedo of
Thailand using satellite data. Proceedings of the 2nd Joint International Conference on
Sustainable Energy and Environment (SEE 2006), Bangkok, Thailand, P.156-161.
Kittler, R., 1967. Standardization of outdoor conditions for the calculation of daylight factor
with clear skies. Proceedings of the Conference on Sunlight in Buildings, Rotterdam,
Netherlands, pp. 273-280.
Klucher, T.M., 1979. Evaluation of models to predict insolation on tilted surfaces. Solar
Energy 23(2), 111-114.
Koronakis, P.S., 1986. On the choice of the angle of tilt for south facing solar collectors in
the Athens basin area. Solar Energy 36(3), 217-225.
Leckner, B., 1978. The spectral distribution of solar radiation at the earth’s surface-elements
of a model. Solar Energy 20(2), 143-150.
Littlefair, P.J., 1981. The luminance distribution of an average sky. Lighting Research and
Technology 13(4), 192-198.
Littlefair, P.J., 1988. Measurement of the luminous efficacy of daylight. Lighting Research &
Technology 20, 177-188.
Liu, B.Y.H., Jordan, R.C., 1962. Daily isolation on surfaces tilted toward the equator.
ASHRAE Transactions 1762, 526-541.

461
462

Ma, C.C.Y., Iqbal, M., 1983. Statistical comparison of models for estimating solar radiation
on inclined surfaces. Solar Energy 31(3), 313-317.
Matsuura, K., Iwata, T., 1990. A model of daylight source for the daylight illuminance
calculations on the all-weather conditions. Proceedings of the 3rd International
Daylighting Conference, edited by A. Spiridonov.
Moon, P., Spencer, D.E., 1942. Illumination from a non-uniform sky. Illumination
Engineering 37, 707-726.
Muneer, T., Kinghorn, D., 1998. Luminous efficacy model: evaluation against UK data.
Journal of the IES 27(1), 163-170.
Muneer, T., 1997. Solar Radiation and Daylight Models for the Energy Efficient Design of
Buildings. Architectural Press, Oxford, UK.
Murdoch, J.B., 1985. Illumination Engineering-From Edison’s Lamp to the Laser. London,
Macmillan Publishing Company, London.
Pattanasethanon, S., Lertsatitthanakorn, C., Atthajariyakul, S., Soponronnarit S., 2007. All
sky modeling daylight availability and illuminance/irradiance on horizontal plane for
Mahasarakham, Thailand. Energy Conversion and Management 48, 1601-1614.
Perez, R., Ineichen, P., Seals, R., Michalsky, J., Stewart, R., 1990. Modeling daylight
availability and irradiance components. Solar Energy 44, 271-289.
Perez, R. Seals, R. Ineichen, P. Stewart, R., Menicucci, D., 1987. A new simplified version of
the Perez diffuse irradiance model for tilted surfaces. Solar Energy, 39(3), 221-231.
Perez, R., Seals, R., Michalsky, J., 1993. All-weather model for sky luminance distribution-
preliminary configuration and validation. Solar Energy 50(3), 235-45.
Perraudeau, M., 1988. Luminance models. National Lighting Conference and Daylighting
Colloquium, Robinson College, Cambridge, England.
Paltridge, G.W., Platt, C.M.R., 1976. Radiative Processes in Meteorology and Climatology.
Elsevier Scientific Publishing Company, New York.

462
463

Pokrowski, G.L., 1929. Uber die Helligkeitsverteilung am Himmel. Phys. Zeitschr. 30 (20),
697.
Robledo, L., Soler, A., 2000. Estimation of global illuminance for clear skies at Madrid.
Energy and Buildings 31, 25-28.
Robledo, L., Soler, A., 2001. Luminous efficacy of direct radiation for all sky types. Energy
26, 669-677.
Skartveit, A., Olseth, J.A., 1986. Modeling slope irradiance at high latitudes. Solar Energy
36(4), 333-344.
Skartveit, A., Olseth, J.A., 1994. Luminous efficacy models and their applications for
calculation of photosynthetically active radiation. Solar Energy 52, 391-399.
Souza, R.G., Robledo, L., Pereira, F.O.R., Soler, A., 2006. Evaluation of global luminous
efficacy models for Florianopolis, Brazil. Building and Environment 41, 1364-1371.
Temps, R.C., Coulson, K.L., 1977. Solar radiation incident upon slopes of different
orientation. Solar Energy 19(2), 179-184.
Tsikaloudaki, K., 2005. A study on luminous efficacy of global radiation under clear sky
conditions in Athens, Greece. Renewable Energy 30 (4), 551-563.
Vartiainen, E., 2000. Daylight modeling with the simulation tool delight, Technical report no.
TKK-F-A799, Helsinki University of Technology, Helsinki, Finland.
Vazquez, D., Bernabeu, E., 1997. Quantitative estimation of clear sky light in Madrid.
Energy and Buildings 26, 331-336.
Vigroux, E., 1953. Contribution à l’étude expérimentale de l’absorption de l’ozone. Annale
de Physiques 8, 709 – 762.
Wattan, R., Janjai, S., 2015. Development of a luminance efficacy model using ground and
satellite-based data from the tropics. In A. Sayigh (ed), Renewable Energy in Service
of Mankind Vol. 1, Springer, Berlin.
Willmott, C.J., 1982. On the climate optimization of the tilt and azimuth of flat-plate solar
collectors. Solar Energy 28(3), 205-216.

463
464
บทที่ 12
รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง

รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ ต กกระทบพื้ น ผิ ว โลกมี ห ลายความยาวคลื่ น แต พื ช สามารถใช ใ น


กระบวนการสั งเคราะห แสงได เ ฉพาะในชว งความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตรเทานั้น
นักวิทยาศาสตรเรียกรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นดังกลาววา รังสีอาทิตยที่พืชใชสังเคราะห
แสง (Photosynthetically Active Radiation, PAR) เนื่องจากดวงอาทิตยเปนแหลงพลังงานที่
สําคัญที่สุดของพืช ดังนั้นขอมูลรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงจึงมี
ความสําคัญตองานทางดานการเกษตร ปาไม และพลังงานจากชีวมวล ในบทนี้จะกลาวถึงการ
บอกปริมาณ การวัดและการคํานวณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
และความรูอื่นที่เกี่ยวของ

12.1 การบอกปริมาณของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
ในกระบวนการสังเคราะหแสงตามธรรมชาติของพืช พืชใชพลังงานจากรังสีอาทิตย
ในชวงความยาวคลื่น 400-700 นาโนเมตร ในรูปของโฟตอน เพื่อทําใหเกิดปฏิกิริยาระหวางน้ํา
และคารบอนไดออกไซดทําใหเกิดแปงและออกซิเจน โดยจํานวนโมเลกุลของแปงที่เกิดจาก
กระบวนการดังกลาวจะขึ้นกับจํานวนโฟตอนที่พืชดูดกลืนไดในชวงความยาวคลื่น 400 -700
นาโนเมตร โดยไมขึ้นกับพลังงานของโฟตอนแตละตัว ดังนั้นปริมาณรังสีอาทิตยที่พืชใชใน
การสังเคราะหแสง จึงบอกในรูปของความหนาแนนฟลักซโฟตอนที่พืชใชในการสังเคราะห
แสง (Photosynthetic Photon Flux Density, PPFD) ซึ่งมีหนวยเปนโมลตอวินาทีตอตารางเมตร
โดย 1 โมล จะหมายถึงจํานวนโฟตอนในชวงความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตร จํานวน
6.022 x 1023 ตัว เนื่องจากนักวิทยาศาสตรเรียก 1 โมล วา 1 ไอสไตน (Einstein, E) ดังนั้นหนวย
ของความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีอาทิตยที่พืชใชสังเคราะหแสงจึงสามารถบอกใน
หนวยไอสไตนตอวินาทีตอตารางเมตร

465
466

12.2 เครื่องวัดรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
เครื่องวัดรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง จะเรียกวาควอนตัม
เซนเซอร (quantum sensor) (รูปที่ 12.1) เครื่องวัดรังสีดังกลาวประกอบดวยเซนเซอร (sensor)
และตัวกรองแสง (filter) โดยทั่วไปเซนเซอรจะเปนซิลิกอนไฟโตไดโอด (silicon photodiode)
สวนตัวกรองแสงจะเปนแกวเคลือบดวยฟลมบาง ซึ่งจะยอมใหแสงในชวงความยาวคลื่น 400 -
700 นาโนเมตร ผานลงไปยังเซนเซอร เนื่องจากควอนตัมเซนเซอรจะวัดความหนาแนนฟลักซ
โฟตอนเทานั้น โดยไมคํานึงถึงพลังงานของโฟตอนแตละตัว ดังนั้นเพื่อใหสัญญาณไฟฟาที่ได
จากเซนเซอรแปรตามจํานวนโฟตอนที่ตกกระทบเซนเซอร จึงตองออกแบบเซนเซอรใหมีการ
ตอบสนองตอแสงที่ความยาวคลื่นสั้นนอยกวาที่ความยาวคลื่นยาว ทั้งนี้เพราะโฟตอนของแสง
ที่ความยาวคลื่นสั้นมีพลังงานมากกวาโฟตอนของแสงที่มีความยาวคลื่นยาว ทําใหสัญญาณจาก
เซนเซอรแปรตามจํานวนโฟตอนที่ไดรับ ดังกราฟในรูปที่ 12.2 โดยลักษณะของการตอบสนอง
ดังกลาวจะคลายกับของใบไมทั่วไป

รูปที่ 12.1 ลักษณะของเครื่องควอนตัมเซนเซอรสําหรับวัดรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่


พืชใชสังเคราะหแสงที่ผลิตโดยบริษัทเอคโก (EKO) ประเทศญี่ปุน ซึ่งติดตั้งใชงานที่
สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดอุบลราชธานี

466
467

1,000
สปกตรัมรัSolar
งสีอาทิspectrum
ตย
(103 x วัตตตอตารางเมตรตอนาโนเมตร)
สเปกตรัมรังสีอาทิตย

การตอบสนองของเครื
PAR ่องวัด

การตอบสนอง
500

0.5

0 0

ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)

รูปที่ 12.2 กราฟแสดงการตอบสนองของเครื่องควอนตัมเซนเซอรสําหรับวัดรังสีอาทิตยในชวง


ความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงและสเปกตรัมรังสีอาทิตย (ดัดแปลงจาก Kirk
(1994))

12.3 การแปลงหนวยความหนาแนนฟลักซโฟตอนใหเปนความเขมรังสี
บางครั้งเราจะบอกปริมาณของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
ในรูปของความเขมรังสีในหนวยวัตตตอตารางเมตร โดยเราสามารถแปลงคาความหนาแนน
ฟลักซโฟตอนที่ไดจากเครื่องควอนตัมเซนเซอรใหเปนหนวยความเขมรังสีได ถาเรารูสเปกตรัม
ของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตร โดยดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้
เราจะเริ่มจากการคํานวณความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น 400 – 700 นาโน-
เมตร ( I ) โดยการอินทิเกรตสเปกตรัมของรังสีอาทิตย ( I λ ) ในชวงความยาวคลื่นดังกลาว ดังนี้

700 nm
I   I λ dλ (12.1)
400 nm

เมื่อ I
λ คือ สเปกตรัมรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตรตอเมตร)
 คือ ความยาวคลื่น (เมตร)

467
468

hc
เนื่องจากโฟตอนแตละตัวมีพลังงานเทากับ ดังนั้นจํานวนโฟตอนทั้งหมดของรังสี

อาทิตยในชวงความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตร ที่ตกกระทบพื้นที่ 1 ตารางเมตร ในเวลา
700 nm I
1 วินาที จะเทากับ 

dλ ถาเราหารปริมาณดังกลาวดวย 6.022 x 1017 เราจะไดจํานวน
400 nm hc λ

โฟตอนในหนวยไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตรซึ่งเปนความหนาแนนฟลักซโฟตอนที่
เครื่องควอนตัมเซนเซอรวัดได ( QPAR ) หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้

700 nm I

 dλ
hc λ
Q PAR 
400 nm
(12.2)
6.022  1017

เมื่อ Q PAR คือ ความหนาแนนฟลักซโฟตอน (ไมโครโมลตอวินาทีตอ ตาราง


เมตร)
h คือ คาคงตัวของพลังค (Planck constant) (6.63 x 10-34 จูลวินาที)
c คือ ความเร็วแสง (3.0 x 108 เมตรตอวินาที)
λ คือ ความยาวคลื่น (เมตร)

ถาเราหารสมการ (12.1) ดวยสมการ (12.2) และจัดพจนตางๆ ใหม จะไดวา

700 nm
 I λ dλ
I  6.022  1017 Q hc 400nm
PAR 700 nm
(12.3)
 λI λ dλ
400 nm

จากสมการ (12.3) ถาเรารูสเปกตรัมของแหลงกําเนิดรังสี ( Iλ ) เราจะสามารถแปลงคา


ความหนาแนนฟลักซโฟตอน ( QPAR ) ในหนวยไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตรใหเปนคา
ความเขมรังสีอาทิตย ( I ) ในหนวยวัตตตอตารางเมตรได

468
469

ถาเราตั้งสมมติฐานวาสเปกตรัมของแหลงกําเนิดรังสีมีลักษณะเปนเสนตรงขนานกับ
แกนความยาวคลื่น (flat spectrum) เราสามารถใชสมการ (12.3) หาความสัมพันธระหวางความ
เขมรังสี (วัตตตอตารางเมตร) กับความหนาแนนฟลักซโฟตอนไดดังนี้

1 วัตตตอตารางเมตร = 4.6 ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร (12.4)

แมคครี (McCree, 1972) เสนอวา กรณีของรังสีรวมจากดวงอาทิตย เราสามารถใช


ความสัมพันธ 1 วัตตตอตารางเมตร = 4.57 ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตรได โดยมีความ
คลาดเคลื่อนไมเกิน 10 %

12.4 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงนอกบรรยากาศโลก
ค า ความหนาแน น ฟลั ก ซ โ ฟตอนของรั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น ที่ พื ช ใช
สังเคราะหแสงนอกบรรยากาศโลกที่ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตย ( QSC, PAR )
มีคาเทากับ 2,776 ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร (Kirk, 1994) เราจะเรียกคาดังกลาววา
คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงและสามารถนําไปใชคํานวณ
ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีที่พืชใชสังเคราะหแสงนอกบรรยากาศโลกบนระนาบ
ในแนวระดับเมื่อโลกอยูที่ระยะทางใดๆ จากดวงอาทิตย โดยอาศัยสมการ

Q ext  QSC, PAR E 0 cosθ z (12.5)

เมื่อ Qext คือ ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีอาทิตยในชวงความยาว


คลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงนอกบรรยากาศโลก (ไมโครโมลตอวินาทีตอ
ตารางเมตร)
QSC, PAR คือ คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
(ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร)
E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวาง
โลกกับดวงอาทิตย (-)
θZ คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

469
470

12.5 รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงที่พื้นผิวโลกในสภาพ
ทองฟาปราศจากเมฆ
ในการหาความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใช
สังเคราะหแสงในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ เราสามารถหาไดจากขอมูลสเปกตรัมรังสีอาทิตย
ในสภาพทองฟาปราศจากเมฆที่พื้นผิวโลก ตามรายละเอียดในบทที่ 5 โดยเลือกใชเฉพาะที่
ความยาวคลื่นในชวง 400 – 700 นาโนเมตร แลวทําการแปลงใหเปนคาความหนาแนนฟลักซ
โฟตอนตามรายละเอียดในหัวขอ 12.3 แตวิธีการดังกลาวคอนขางยุงยาก ดังนั้น อรรถพล ศรี
ประดิษฐ และ เสริม จันทรฉาย (2555) จึงไดพัฒนาแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณ
ความหนาแนนฟลักซโฟตอนจากคาตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศ
ในการสรางแบบจําลอง อรรถพล ศรีประดิษฐ และเสริม จันทรฉาย (2555) ทําการวัด
ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
ที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งตั้งอยูที่จังหวัดเชียงใหม อุบลราชธานี
นครปฐม และสงขลา พรอมทั้งรวบรวมขอมูลปริมาณไอน้ําและความลึกเชิงแสงของฝุนละออง
ที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ที่ไดจากเครื่องซันโฟโตมิเตอรที่สถานีวัดดังกลาว จากนั้นทํา
การคัดเลือกขอมูลในชวงที่ทองฟาปราศจากเมฆโดยอาศัยภาพถายทองฟา ซึ่งบันทึกดวยกลอง
ถายภาพทองฟา (sky camera) จากการวิเคราะหขอมูลดังกลาวอรรถพล ศรีประดิษฐ และเสริม
จันทรฉาย (2555) ไดเสนอแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณความหนาแนนฟลักซ
โฟตอนของรังสีรวม ดังนี้

Q PAR  0.0684QSC, PAR E 0cosθ Zexp[(0.0726  0.00439AOD  0.032w)ma ] (12.6)

เมื่อ Q PAR คือ ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่พชื


ใชสังเคราะหแสง (ไมโครโมลตอวินาทีตอ ตารางเมตร)
QSC, PAR คือ คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะห
แสง (ไมโครโมลตอวินาทีตอ ตารางเมตร)
E0 คือ แฟคเตอรที่ใชแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวง
อาทิตย (-)

470
471

θZ คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)


w คือ ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (เซนติเมตร)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองในบรรยากาศที่ความยาวคลื่น
500 นาโนเมตร (-)
ma คือ มวลอากาศ (-)

อรรถพล ศรี ป ระดิ ษ ฐ และ เสริ ม จั น ทร ฉ าย (2555) ไดนํ า แบบจํ า ลองดั ง กล า วไป
คํานวณความหนาแนนฟลักซโฟตอนที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา และ
เปรีย บเที ย บผลที่ ไ ด กั บข อมู ล ที่ ไ ดจ ากการวั ด โดยเป น ขอ มูล คนละช ว งเวลากั บ ที่ใ ช สร า ง
แบบจําลอง พบวาคาจากการคํานวณมีความแตกตางกับคาจากการวัด (RMSD) เทากับ 5.7 %

12.6 อัตราสวนของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงตอรังสี
อาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง
เนื่องจากรังสีอาทิตยที่พืชใชสังเคราะหแสงเปนสวนหนึ่งของสเปกตรัมรังสีอาทิตย
โดยผลรวมของสเปกตรัมรังสีอาทิตยทั้งหมดสามารถวัดไดในรูปของรังสีในชวงความยาวคลื่น
กว า ง ดั ง นั้ น ความเข ม ของรั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น ที่ พื ช ใช สั ง เคราะห แ สงจึ ง มี
ความสัมพันธกับรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง โดยทั่วไปความสัมพันธดังกลาวจะ
เขียนในรูปของอัตราสวนระหวางความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะห
แสงซึ่งบอกเปนความหนาแนนฟลักซโฟตอนตอความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น
กวาง โดยความสัมพันธนี้จะขึ้นกับองคประกอบของบรรยากาศที่สําคัญคือ ไอน้ํา ฝุนละออง
โอโซน และเมฆ
จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2015) ไดทําการวิเคราะหขอมูลรังสีอาทิตยในชวง
ความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงและขอมูลรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นกวาง ซึ่งทําการ
วัดที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา ผลการวิเคราะหสามารถเขียนในรูป
สมการไดดังนี้

471
472

Q PAR
I
 1.7972  0.1447cosθ Z  0.0282w  0.0427AOD  0.3055  0.0630n (12.7)
เมื่อ I คือ ความเขมรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นกวาง (วัตตตอตารางเมตร)
Q PAR คือ ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่
พืชใชสังเคราะหแสง (ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร)
 คือ ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
w คือ ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร
(-)
n คือ คาดัชนีเมฆ (-)

จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2015) ไดทําการทดสอบสมรรถนะของแบบจําลอง


ดังกลาว โดยเปรียบเทียบผลการคํานวณความหนาแนนฟลักซโฟตอนที่สถานีวัดรังสีอาทิตย
ของมหาวิทยาลัยศิลปากร 4 แหง พบวามีความแตกตางจากคาที่ไดจากการวัด (RMSD) เทากับ
7.6%

12.7 การคํานวณปริมาณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงใน
สภาพทองฟาทั่วไปจากขอมูลภาพถายดาวเทียม โดยใชแบบจําลองเชิงฟสิกส
แบบจําลองเชิงฟสิกสสําหรับคํานวณคาความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่
พืชใชสังเคราะหแสงจากขอมูลภาพถายดาวเทียมในสภาพทองฟาทั่วไปมีหลายแบบจําลอง
(Eck and Dye, 1991; Van Laake and Sanchez-Azofeifa, 2004; Rubio et al., 2005; Janjai and
Wattan, 2011) ในที่นี้จะอธิบายแบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่
พืชใชสังเคราะหแสงรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนที่พัฒนาโดย จันทรฉายและวัดตาล (Janjai and
Wattan, 2011) ซึ่งใหผลการคํานวณที่มีความละเอียดถูกตองในเกณฑที่ดี และเหมาะสมกับการ
ใชงานในเขตรอน ซึ่งเปนที่ตั้งของประเทศไทย ตามรายละเอียดดังนี้
ก. แบบจําลอง
แบบจําลองนี้จะพิจารณาการดูดกลืนและการกระเจิงของรังสีในชวงความยาวคลื่น
ที่พืชใชสังเคราะหแสงตามรูปที่ 12.3

472
473

ดาวเทียม
ดวงอาทิตย

สวนบนสุดของบรรยากาศ
โอโซน

พื้นผิวโลก

รูปที่ 12.3 การดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง


โดยองคประกอบของบรรยากาศ ตามแบบจําลองของจันทรฉายและวัดตาล (Janjai
and Wattan, 2011)

จากรูปที่ 12.3 จะพิจารณาวามีรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง


( ITOA ) ตกกระทบสวนบนสุดของบรรยากาศ จากนั้นจะเดินทางผานบรรยากาศชั้นบนและ
ถูกโอโซนดูดกลืน ITOA (1  o ) เมื่อ τ o เปนสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซน
หลังจากนั้นจะเดินทางผานบรรยากาศชั้นลางและถูกดูดกลืนดวยไอน้ํา ฝุนละออง และกาซ
ตางๆ เปนปริมาณเทากับ τ o ITOA (α w  α aer  α g ) เมื่อ α w , α aer และ α g คือ สัมประสิทธิ์การ
ดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา ฝุนละออง และกาซตางๆ ตามลําดับ สําหรับปริมาณของรังสี
อาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงที่เดินทางมาถึงพื้นผิวโลกจะใหเปน ISUR
รังสีนี้จะถูกดูดกลืนโดยพื้นผิวโลกเปนปริมาณเทากับ I SUR (1  ρ G ) เมื่อ ρ G เปนสัมประสิทธิ์
การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก สวนที่เหลือจะถูกกระเจิงกลับขึ้นไปและถูกดูดกลืนโดย
ไอน้ํา ฝุนละออง กาซตางๆ และโอโซนโดยรังสีที่ผานบรรยากาศออกไปสูอวกาศภายนอก
สามารถเขี ย นแทนด ว ย ρ B I TOA เมื่ อ ρ B เป น สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข อง

473
474

บรรยากาศและพื้นผิวโลกซึ่งหาไดจากขอมูลภาพถายดาวเทียม จากหลักการอนุรักษพลังงาน
ผลตางของรังสีที่ตกกระทบบรรยากาศและที่ออกไปจากบรรยากาศของโลกจะเทากับผลรวม
ของรังสีที่ถูกดูดกลืนโดยองคประกอบตางๆ ในบรรยากาศและพื้นผิวโลกหรือเขียนในรูป
สมการไดดังนี้

I TOA  ρ B I TOA  I TOA (1  τ o )  τ o I TOA (α w  α aer  α g )


 ISUR (1  ρ G )  ρ G ISUR (α w  α aer  α g ) (12.8)
 ρ G ISUR [1  (α w  α aer  α g )](1  τ o )

เมื่อจัดพจนตางๆ ในสมการ (12.8) ใหม เราจะไดสมการสําหรับคํานวณความเขมรังสี


อาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงที่พื้นผิวโลก (I SUR ) ดังนี้

ITOA [1  ρ B  (1  τ o )  τ o (α w  α aer  α g )]
ISUR  (12.9)
(1  ρ G )  ρ G (α w  α aer  α g )  ρ G (1  α w  α aer  α g )(1  τ o )

ในการหาคา I SUR เราจําเปนตองรูคาสัมประสิทธิ์ตางๆ ทางดานขวามือของสมการ


(12.9) ไดแก τo , α w , α g , α aer , I TOA และ ρ G ซึ่งสามารถหาไดตามรายละเอียดในหัวขอ
ถัดไป

ข. การหาคาสัมประสิทธิ์ของแบบจําลอง
- สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลืน่ ที่พืชใชสงั เคราะหแสง
ของโอโซน ( τ 0 ) คาสัมประสิทธิ์ดังกลาว สามารถคํานวณไดจากสมการ

0.70 μm
 I0λ τ oλ dλ
τo 
0.40 m
0.70 μm
(12.10)
 I dλ

0.40 m

474
475

เมื่อ τ oλ คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น 


ของโอโซน (-)
I คือ สเปกตรัมของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (วัตตตอ  ตาราง
0

เมตรตอไมครอน)
λ คือ ความยาวคลื่น (ไมครอน)

คาสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของโอโซน ( τ oλ ) จะคํานวณ


โดยใชสมการของวิกรูซ (Vigroux, 1953) (สมการ (3.38))

- สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลืน่ ที่พืชใชสงั เคราะหแสง


ของไอน้าํ ( α w ) คาสัมประสิทธิ์นี้จะคํานวณโดยใชสมการ
0.70 μm

 I0λ τ wλ dλ
αw  1
0.40 μm
0.70 μm
(12.11)
I 0λ dλ
0.40 μm

โดยที่ τ wλ คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา ซึ่งสามารถ


คํานวณโดยใชสมการที่เสนอโดยเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ (3.25))

- สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
ของกาซ ( α g ) คาสัมประสิทธิ์ดังกลาวสามารถคํานวณจากสมการ
0.70 μm

 I0λ τ gλ dλ
αg  1 
0.40 μm
0.70 μm
(12.12)
 I0λ dλ
0.40 μm

โดยที่ τ gλ คื อสั มประสิทธิ์ ก ารส ง ผา นรังสีอาทิต ยที่ความยาวคลื่น  ของกาซ ซึ่งสามารถ


คํานวณไดจากสูตรที่เสนอโดยเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ (3.48))

475
476

- สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงของ
ฝุนละออง ( α aer ) ในการคํานวณสัมประสิทธิ์ดังกลาวจะเริ่มจากการคํานวณสัมประสิทธิ์การ
ลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละออง ( D aer ) โดยอาศัยสมการ
0.70 μm
 I0λ τ aer, λ dλ
Daer  1 
0.40 μm
0.70 μm
(12.13)
 I dλ

0.40 μm

โดยที่ τaer,λ คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของฝุนละออง ซึ่งจะ


คํานวณโดยใชสูตรของอังสตรอม (Angstrom, 1929) (สมการ (3.14))

เนื่องจากการลดลงของรังสีอาทิตยจากฝุนละอองเกิดจากกระบวนการดูดกลืนและการ
กระเจิง ดังนั้นจําเปนตองแยกคาของ D aer ออกเปนสัมประสิทธิ์การดูดกลืนและสัมประสิทธิ์
การกระเจิง โดยอาศัยสัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง (single scattering albedo,
SSA) เปนตัวแบง ซึ่งจะไดสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยโดยฝุนละออง ดังสมการ

α aer  (1  SSA)Daer (12.14)

- สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข องพื้ น ผิ ว โลก ( ρ G ) ในการหาค า


สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
เราสามารถใชคาสัมประสิทธิ์ดังกลาวในชวงความยาวคลื่นกวางซึ่งกลาวในบทที่ 6 แทนได
ทั้งนี้เพราะคาทั้งสองชวงความยาวคลื่นใกลเคียงกัน (Paltridge and Platt, 1976)

- สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข องบรรยากาศและพื้ น ผิ ว โลก ( ρ B ) ค า


สัมประสิทธิ์นี้มีความสําคัญมาก เพราะเปนตัวบอกผลของเมฆที่มีตอรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก
คาของสัมประสิทธิ์ดังกลาวจะหาจากขอมูลภาพถายดาวเทียม เนื่องจากคาสัมประสิทธิ์นี้ ( ρ B )
ตองเปนคาในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง (0.40 – 0.70 ไมครอน) แตคาที่ไดจาก
ขอมูลภาพถายดาวเทียมจะอยูในชวงความยาวคลื่นที่เครื่องวัดของดาวเทียมวัดได ( ρ EA ) เชน

476
477

กรณีของดาวเทียม MTSAT-1R จะอยูในชวง 0.55 – 0.90 ไมครอน ในการแปลงคา ρ EA ใหเปน


คา ρ B จันทรฉายและวัดตาล (Janjai and Wattan, 2011) เสนอใหดําเนินการดังนี้
ในขั้นตอนแรกจะนําสมการ (12.9) มาจัดรูปใหม ดังนี้

ISUR
ρ B  1  (1  τ o )  τo (α w  α aer  α g )  [(1  ρG )  ρG (α w  α aer  α g )
ITOA (12.15)
 ρ G (1  α w  α aer  α g )(1  τ o )]

จากนั้ นจะหาคา ρ B ที่สถานี วัด รังสี อาทิ ตย 4 แหงในประเทศไทย ไดแก สถานี
เชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา โดยใชขอมูลรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่
พืชใชสังเคราะหแสงที่วัดได ( ISUR ) และคาสัมประสิทธิ์ตางๆ ที่คํานวณไดที่สถานีเหลานี้ ใน
ขณะเดียวกันก็ทําการหาคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลก
ρ EA จากขอมูลภาพถายดาวเทียมที่ตําแหนงสถานีวัดทั้ง 4 แหง แลวนําคา ρ B และ ρ EA มาหา
ความสัมพันธกัน ผลที่ไดสามารถเขียนในรูปสมการไดดังนี้

ρ B  0.3010  0.6645ρ EA (12.16)

สมการที่ไดนี้จะนําไปใชในการแปลงคา ρ EA จากขอมูลภาพถายดาวเทียมใหเปนคา
ρ B สําหรับใชในแบบจําลอง
เมื่อแทนคาสัมประสิทธิ์ตางๆ ในสมการ (12.9) จะไดคาความเขมรังสีอาทิตยในชวง
ความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงในหนวยวัตตตอตารางเมตร จากนั้นจะแปลงใหเปนคา
ความหนาแนนฟลักซโฟตอน ตามวิธีในหัวขอ 12.3

ค. สมรรถนะของแบบจําลอง
จั น ทร ฉ ายและวั ด ตาล (Janjai and Wattan, 2011) ได ท ดสอบสมรรถนะของ
แบบจํ า ลองโดยนํ า แบบจํ า ลองดั ง กล า วมาคํ า นวณความหนาแน น ฟลั ก ซ โ ฟตอนที่ ส ถานี
เชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐมและสงขลา แลวนําผลที่ไดไปเปรียบเทียบกับขอมูลที่ไดจาก
การวัดที่สถานีทั้ง 4 แหง ผลการเปรียบเทียบพบวา คาจากการคํานวณมีความแตกตางจากคา
จากการวัด (RMSD) เทากับ 9.8 %

477
478

12.8 การคํานวณปริมาณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงใน
สภาพทองฟาทั่วไปจากขอมูลภาพถายดาวเทียม โดยใชแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล
การคํานวณรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงจากขอมูลภาพถาย
ดาวเทียม โดยใชแบบจําลองเชิงฟสิกสมีขอดีคือตัวแปรในแบบจําลองมีความสัมพันธกันเชิง
ฟสิก ส ซึ่งสามารถใช ไ ด ทั่ว ไป แตมี ขอดอ ยคือ กระบวนการคํ านวณค อ นขางซั บซ อน จาก
ขอดอยดังกลาว จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2013) จึงไดพัฒนาแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล
ขึ้น
ในการพัฒนาแบบจําลองดังกลาว จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2013) ไดทําการ
รวบรวมขอมูลความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใช
สังเคราะหแสงที่ทําการวัดที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐมและสงขลา จากนั้นไดทํา
การวิเ คราะหความสั มพั น ธเ ชิ งสถิติระหว างความหนาแนน ฟลัก ซ โฟตอนของรั งสีอาทิ ต ย
ในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงกับตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศ ซึ่งมีผลตอการ
ลดลงของรังสี ตัวแปรดังกลาวไดแก ความลึกเชิงแสงของฝุนละออง (AOD) ปริมาณโอโซน
(  ) และดัชนีเมฆ (n) ผลการวิเคราะหสามารถเขียนในรูปสมการไดดังนี้

Q PAR  0.854215QSC, PAR E 0cosθ Z {exp[(0.180214AOD  0.483134)m a ]}


(12.17)
 (1  0.214929n)

เมื่อ Q PAR คือ ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่


พืชใชสังเคราะหแสง (ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร)
QSC, PAR คือ คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
(ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร)
E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลก
กับดวงอาทิตย (-)
θZ คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
 คือ ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)
n คือ ดัชนีเมฆ (-)

478
479

จะเห็นวาแบบจําลองในสมการ (12.17) มีความซับซอนนอยกวาแบบจําลองเชิงฟสิกส


ที่อธิบายในหัวขอ 12.7 แตจําเปนตองปรับคาสัมประสิทธิ์ใหเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและ
สิ่งแวดลอม ถานําไปใชในสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดลอมที่แตกตางจากที่ใชสรางแบบจําลอง
ในดานของความละเอียดถูกตองของผลการคํานวณ จันทรฉายและคณะ (Janjai et al.,
2013) ไดทําการทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองโดยใชแบบจําลองดังกลาวคํานวณคาความ
หนาแนนฟลักซโฟตอนที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐมและสงขลา โดยเปนขอมูล
ในชวงที่ไมไดใชสรางแบบจําลอง และทําการเปรียบเทียบผลกับคาจากการวัด ผลที่ไดพบวาคา
จากการคํานวณตางจากการวัด (RMSD) เทากับ 14.3%

12.9 สรุป
ในบทนี้ไ ดก ล า วถึ งการบอกปริมาณของรัง สีอาทิ ตยใ นชว งความยาวคลื่ น ที่ พืช ใช
สังเคราะหแสง ซึ่งนิยมบอกในรูปของความหนาแนนฟลักซโฟตอนที่มีหนวยเปนโมลตอวินาที
ตอตารางเมตร พรอมทั้งไดอธิบายวิธีการแปลงหนวยของความหนาแนนฟลักซโฟตอนใหเปน
หนวยความเขมรังสีอาทิตย จากนั้นไดกลาวถึงวิธีการคํานวณความหนาแนนฟลักซโฟตอนของ
รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ และการ
คํานวณอัตราสวนระหวางรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น ที่พืชใชสังเคราะหแสงตอรัง สี
อาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง สุดทายไดอธิบายวิธีการคํานวณรังสีอาทิตยในชวงความยาว
คลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงในสภาพทองฟาทั่วไปโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม

479
480

แบบฝกหัด

1. ถายานอวกาศลําหนึ่ง กําลังเดินทางไปสํารวจดาวอังคาร และบนยานลํานี้ปลูกพืชสีเขียวซึ่ง


รับแสงสวางจากดวงอาทิตยเพื่อใชเปนอาหารโดยแปลงพืชมีขนาด 2 ตารางเมตร และหัน
ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีอาทิตย จงคํานวณฟลักซโฟตอนที่แปลงพืชไดรับ ในขณะที่ยาน
อยูหางจากดวงอาทิตย 150 ลานกิโลเมตร
ตอบ 5,552 ไมโครโมลตอวินาที

2. จงคํานวณความหนาแนนฟลักซโฟตอนที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร
จั ง หวั ด นครปฐม (13.82 ºN, 100.04 ºE) ในวั น ที่ 21 มี น าคม เวลา 10:00 น. ตามเวลา
มาตรฐานทองถิ่น ถาที่เวลาดังกลาวบรรยากาศมีปริมาณโอโซนเทากับ 0.3 เซนติเมตร
ปริมาณไอน้ําเทากับ 4 เซนติเมตร ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองเทากับ 0.2 ดัชนีเมฆ
เทากับ 0.1 และคารังสีรวมในชวงความยาวคลื่นกวางเทากับ 750 วัตตตอตารางเมตร
ตอบ 1,519.94 ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร

3. จงใชแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลคํานวณความหนาแนนฟลักซโฟตอนที่สถานีเชียงใหม
(18.78 ºN, 98.98 ºE) ในวันที่ 21 ธันวาคม เวลา 12:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตย ถาขณะเวลา
ดังกลาวบรรยากาศมีคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองเทากับ 0.5 ดัชนีเมฆเทากับ 0.5 และ
ปริมาณโอโซนเทากับ 0.3 เซนติเมตร
ตอบ 1,934.61 ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร

4. จงคํานวณความแตกตางระหวางพลังงานของโฟตอนของแสงที่ความยาวคลื่น 400 นาโน


เมตรกับที่ความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร
ตอบ 2.1 x 10-19 จูล

5. จงอภิปรายความสําคัญของขอมูลรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พชื ใชสังเคราะหแสง
ตอหวงโซอาหารและระบบนิเวศนทางทะเล

480
481

รายการสัญลักษณ

AOD ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองในบรรยากาศที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)


c ความเร็วแสง (3.0 x 108 เมตรตอวินาที)
Daer สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละออง (-)
E0 แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาตามระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย (-)
h คาคงตัวของพลังค (Planck constant) (6.63 x 10-34 จูลวินาที)
I ความเขมรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นกวาง (วัตตตอตารางเมตร)
ISUR รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงที่พื้นผิวโลก (วัตตตอตาราง
เมตร)
I
λ สเปกตรัมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก (วัตตตอตารางเมตรตอเมตร)
ITOA รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงที่สวนบนสุดของบรรยากาศ
(วัตตตอตารางเมตร)
 ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
ma มวลอากาศที่แกไขผลจากความดันอากาศแลว (-)
n ดัชนีเมฆ (-)
Q ext ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกในชวงความยาวคลื่น
ที่พืชใชสังเคราะหแสง (ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร)
Q PAR ฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง
(ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร)
QSC, PAR คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นทีพ ่ ืชใชสังเคราะหแสง (ไมโครโมลตอ
วินาทีตอตารางเมตร)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (%)
SSA สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง (-)
w ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (เซนติเมตร)
 aer สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นที่พืชใช
สังเคราะหแสง (-)

481
482

g สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาวคลื่นที่พืชใช
สังเคราะหแสง (-)
o สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซนในชวงความยาวคลื่นทีพ่ ืชใช
สังเคราะหแสง (-)
w สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นที่พชื ใชสังเคราะห
แสง (-)
B สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพืน้ ผิวโลกในชวงความยาว
คลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง (-)
EA สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพืน้ ผิวโลกในชวงความยาว
คลื่นดาวเทียม (-)
G สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพืน้ ผิวโลกในชวงความยาวคลื่นที่พืชใช
สังเคราะหแสง (-)
τo สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหของ
โอโซน (-)
τ oλ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น λ ของโอโซน (-)
τ wλ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น λ ของไอน้ํา (-)
τ gλ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น λ ของกาซ (-)
τ aer, λ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น λ ของฝุนละออง (-)
θZ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
λ ความยาวคลื่น (ไมครอน)

482
483

เอกสารอางอิง

อรรถพล ศรีประดิษฐ, เสริม จันทรฉาย, 2555. แบบจําลองแบบกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณ


PAR ในสภาพทองฟาปราศจากเมฆในประเทศไทย, เอกสารการประชุม (Proceedings)
ศิลปากรวิจัยและสรางสรรคครั้งที่ 5 วันที่ 25-27 มกราคม พ.ศ. 2555, มหาวิทยาลัย
ศิลปากร จังหวัดนครปฐม.
Angstrom, A., 1929. On the atmospheric transmission of sun radiation and on dust in the air.
Geografis. Annal. 2, 156 – 166.
Eck, T.E., Dye, D.G., 1991. Satellite estimation of incident photosynthetically active
radiation using ultraviolet reflectance. Remote Sensing of Environment 38, 135–146.
Janjai, S., Sripradit, A., Wattan, R., Buntoung, S., Pattarapanitchai, S., Masiri, I., 2013. A
simple semi-empirical model for the estimation of photosynthetically active radiation
from satellite data in the tropics. International Journal of Photoenergy 2013, 1-6.
Janjai, S., Wattan, R., 2011. Development of a model for the estimation of photosynthetically
active radiation from geostationary satellite data in a tropical environment. Remote
Sensing of Environment 115, 1680-1693.
Janjai, S., Wattan, R.,Sripradit, A., 2015. Modeling the ratio of photosynthetically active
radiation to broadband global solar radiation using ground and satellite-based data in
the tropics. Advances in Space Research 56, 2356-2364.
Kirk, J.T.O., 1994. Light and Photosynthesis in Aquatic Ecosystem. Cambridge University
Press, Cambridge, UK.
Leckner, B., 1978. The spectral distribution of solar radiation at the earth’s surface –
Elements of a model. Solar Energy 20, 143 – 150.
McCree, K.J., 1972. Test of current definitions on photosynthetically active radiation against
leaf photosynthesis data. Agricultural and Forest Meteorology 10, 443-453.
Paltridge, G.W., Platt, C.M.R., 1976. Radiative Processes in Meteorology and Climatology.
Elsevier Scientific Publishing Company, New York.

483
484

Rubio, M.A., Lopez, G., Tovar, J., Pozo, D., Batlles F.J., 2005. The use of satellite
measurements to estimate photosynthetically active radiation. Physics and chemistry
of the Earth 30, 159-164.
Van Laake, P.E., Sanchez-Azofeifa, G.A., 2004. Simplified atmospheric radiation transfer
modeling for estimating incident PAR using MODIS atmosphere products. Remote
Sensing of Environment 91, 98-113.
Vigroux, E., 1953. Contribution a d’étude experimental de l’absorption de l’ozone. Annale de
Physiques 8, 709-762.

484
บทที่ 13
รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย

รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยเปนสวนหนึ่งของสเปกตรัมรังสีอาทิตยซึ่งมี
ความสําคัญตอมนุษยและสิ่งมีชีวิตตางๆ ถึงแมจะเปนรังสีที่มีความเขมต่ําแตก็มีพลังงาน
โฟตอนสูง ถาไดรับในปริมาณมากเกินไปจะกอใหเกิดความเสียหายในระดับของหนวย
พันธุกรรมทั้งในมนุษย สัตว และพืช และเปนสาเหตุของโรคตางๆ เชน โรคมะเร็งผิวหนัง
และโรคตอกระจก เปนตน รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยที่พื้นผิวโลกจะประกอบดวย
รังสีอัลตราไวโอเลตเอและรังสีอัลตราไวโอเลตบี โดยรังสีอัลตราไวโอเลตบีจะถูกควบคุม
ดวยโอโซนในบรรยากาศของโลก
ในชวง 30 ปที่ผานมาบรรยากาศชั้นโอโซนของโลกบางสวนถูกทําลายจากสาร
คลอโรฟลูออโรคารบอน (chlorofluorocarbon, CFC) ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษยทําให
ปริมาณของรังสีอัลตราไวโอเลตบีเพิ่มขึ้น ซึ่งสงผลเสียตอสุขภาพของมนุษยและสิ่งแวดลอม
อยางไรก็ตามนอกจากผลเสียดังกลาวแลว รังสีอัลตราไวโอเลตบีจากดวงอาทิตยก็มีผลดีตอ
สุขภาพมนุษย ทั้งนี้เพราะรังสีนี้ชวยใหรางกายของมนุษยสังเคราะหวิตามินดีซึ่งจะทําให
กระดูกแข็งแรง ในบทนี้จะกลาวถึงแหลงกําเนิด สเปกตรัม การตอบสนองตอผิวหนังมนุษย
การวัดและแบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย รวมถึงความรู
อื่นๆ ที่เกี่ยวของ

13.1 แหลงกําเนิดและสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยมีแหลงกําเนิดในบรรยากาศชั้นโคโรนาของ
ดวงอาทิตยซึ่งมีอุณหภูมิสูงนับลานเคลวิน นอกจากนี้ยังเกิดจากปรากฏการณที่รุนแรงตางๆ
ในบรรยากาศของดวงอาทิตย เชน การลุกจา (flare) เปนตน รังสีอัลตราไวโอเลตที่แผออกมา
จากดาวฤกษ ต า งๆ โดยทั่ ว ไปมาถึ ง โลกน อ ยมากเมื่ อ เที ย บกั บ รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตจาก
ดวงอาทิตย

485
486

รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย มี ค วามยาวคลื่ น อยู ใ นช ว งประมาณตั้ ง แต


10-400 นาโนเมตร โดยสามารถแบงไดเปนชวงตางๆ ดังนี้ (Petty, 2004)
1) รังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นสั้นมาก (extreme ultraviolet, XUV) มี
ความยาวคลื่นระหวาง 10-100 นาโนเมตร
2) รังสีอัลตราไวโอเลตไกล (far ultraviolet, FUV) มีความยาวคลื่นระหวาง 100-
200 นาโนเมตร
3) รังสีอัลตราไวโอเลตซี (ultraviolet C, UVC) มีความยาวคลื่นระหวาง 200-280
นาโนเมตร
4) รังสีอัลตราไวโอเลตบี (ultraviolet B, UVB) มีความยาวคลื่นระหวาง 280-320
นาโนเมตร
5) รังสีอัลตราไวโอเลตเอ (ultraviolet A, UVA) มีความยาวคลื่นระหวาง 320-400
นาโนเมตร

รังสีอัลตราไวโอเลตที่มีความยาวคลื่นสั้นกวา 280 นาโนเมตร จะสามารถผานชั้น


บรรยากาศเขามายังพื้นผิวโลกไดนอยมาก เนื่องจากจะถูกดูดกลืนโดยออกซิเจนและโอโซน
ในบรรยากาศระดับสูง ถาพิจารณาในดานของพลังงาน รังสีอัลตราไวโอเลตที่สามารถผาน
ชั้นบรรยากาศมาถึงพื้นผิวโลกมีพลังงานเพียง 1.5% ของพลังงานจากรังสีอาทิตยทุกความ
ยาวคลื่นรวมกัน
สเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลกมีเสนดูดกลืน
(absorption line) และเส น เปล ง รั ง สี (emission line) เป น จํ า นวนมาก ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากการ
ดูดกลืนและการเปลงรังสีอัลตราไวโอเลตของธาตุตางๆ ในบรรยากาศชั้นโคโรนาของดวง-
อาทิตย โดยเฉพาะอยางยิ่งจากธาตุไฮโดรเจนซึ่งเปลงรังสีเปนเสนไลมานนอัลฟา (Lymann
) ที่ความยาวคลื่น 121.567 นาโนเมตร นอกจากนี้ยังประกอบดวยสเปกตรัมอีกหลายเสน
ซึ่ ง เกิ ด จากฮี เ ลี ย มที่ ค วามยาวคลื่ น 30.378 นาโนเมตร และเส น เปล ง รั ง สี จ ากธาตุ เ หล็ ก
ซิลิกอน ไนโตรเจน นีออนและคารบอน สเปกตรัมในชวงความยาวคลื่นสั้นมาก (XUV) จะ
เป น เส น สว า งซึ่ ง กํ า เนิ ด จากบริ เ วณที่ มี อุ ณ หภู มิ สู ง ของดวงอาทิ ต ย ส ว นสเปกตรั ม รั ง สี
อัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นยาวกวานี้จะปรากฏเสนมืด (dark line) อันเนื่องมาจากการ

486
487

ดูดกลืนของบรรยากาศของดวงอาทิตย โดยสเปกตรัมบางสวนของรังสีอัลตราไวโอเลตนอก
บรรยากาศโลก แสดงไวในรูปที่ 13.1

ความเขม (วัตตตอตารางแซนติมตรตอไมครอน)

ความยาวคลื่น (ไมครอน)
รูปที่ 13.1 สเปกตรัมของรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (ดัดแปลง
จาก WHO, 1979)

13.2 รังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นผิวโลก
เปนที่ทราบกันดีวา รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยมีผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตบน
โลก โดยรั ง สี อั ล ตราไวโอเลตในช ว งความยาวคลื่ น 280-400 นาโนเมตร สามารถผ า น
บรรยากาศเข า มายั ง พื้ น ผิ ว โลกได บ างส ว น และส ง ผลกระทบต อ สิ่ ง มี ชี วิ ต โดยรั ง สี
อัลตราไวโอเลตที่มีความยาวคลื่นนอยกวา 280 นาโนเมตร จะถูกบรรยากาศของโลกดูดกลืน
เกื อ บทั้ ง หมด โดยเฉพาะอยา งยิ่ ง ถูก ดูด กลื น โดยโอโซนในแถบความยาวคลื่ น ฮารท ลี ย
(Hartley band) ซึ่ ง มี ค วามยาวคลื่ น ระหว า ง 220-295 นาโนเมตร นอกจากนี้ รั ง สี
อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยยังถูกดูดกลืนโดยออกซิเจนในชวงสเปกตรัมตอเนื่องของ
ชู ม านน (Schumann continum) ซึ่ ง มี ค วามยาวคลื่ น ระหว า ง 145.0-175.9 นาโนเมตร
โดยทั่วไปโฟตอนของรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นสั้นกวา 250 นาโนเมตร จํานวน
เพียง 1 ใน 1040 ตัว เทานั้นที่สามารถผานบรรยากาศมาถึงพื้นดินไดซึ่งถือวานอยมาก ตัวอยาง
ของสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นผิวโลก แสดงไวในรูปที่ 13.2

487
488

0.12

ความเขม (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน) 0.10

0.08

0.06

0.04

0.02

0.00
0.30 0.35 0.40
ความยาวคลื่น ( ไมครอน)

รูปที่ 13.2 สเปกตรัมของรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟา


ปราศจากเมฆ ซึ่งวัดไดที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัด
นครปฐม เมื่อวันที่ 22 เดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 2012 เวลา 12:00 น.

13.3 การตอบสนองของผิวหนังมนุษยตอรังสีอัลตราไวโอเลต
สิ่งมีชีวิตตางๆ จะมีการตอบสนองหรือไดรับผลจากรังสีอัลตราไวโอเลตแตกตางกัน
โดยจะแปรคาตามความยาวคลื่น กรณีของผิวหนังมนุษยเมื่อไดรับรังสีอัลตราไวโอเลตใน
ปริมาณมาก ผิวหนังจะแดงและมีอาการแสบรอนหรือที่เรียกทั่วไปวา ถูกแดดเผา (sun burn)
โดยผลของรังสีอัลตราไวโอเลตตอผิวหนังจะรุนแรงที่ความยาวคลื่นสั้น และคอยๆ ลดลง
เมื่อ ความยาวคลื่ น เพิ่ มขึ้ น การตอบสนองดั ง กล า วจะเรีย กว า การตอบสนองแอริ ที ม อล
(erythemal response, R E ) หรือการตอบสนองของผิวหนังมนุษยตอรังสีอัลตราไวโอเลต
คณะกรรมการความสว า งนานาชาติ (Commission Internationale d’Eclairage, CIE) ได
กําหนดมาตรฐานของ R E ดังรูปที่ 13.3

488
489

1.00
0.90
การตอบสนองของผิวหนังมนุษย

0.80
0.70
0.60
0.50
0.40
0.30
0.20
0.10
0.00
280
285
290
295
300
305
310
315
320
325
330
335
340
345
350
355
360
365
370
375
380
385
390
395
400
ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)

รูปที่ 13.3 กราฟการตอบสนองของผิวหนังมนุษยตอรังสีอัลตราไวโอเลต (ดัดแปลงจาก


CIE, 1998)

กราฟในรูปที่ 13.3 สามารถเขียนแทนไดดว ยสมการ (CIE, 1998)


1.0 ; 250   298 นาโนเมตร
)]
R E = 10[0.094(298- ; 298   328 นาโนเมตร (13.1)

)]
10[0.015(140- ; 328   400 นาโนเมตร

เมื่อ R E คือ การตอบสนองของผิวหนังมนุษย (-)


 คือ ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)

ความเขมรั งสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย ที่มีผลกระทบตอผิวหนั งมนุษ ย


(solar erythemal ultraviolet radiation, EUV) สามารถหาได จ ากการอิ น ทิ เ กรตผลคู ณ ของ

489
490

สเปกตรัมรังสีอาทิตยกับฟงกชันการตอบสนองของผิวหนังมนุษยในชวงความยาวคลื่นของ
รังสีอัลตราไวโอเลตที่สามารถผานเขามายังพื้นผิวโลก หรือเขียนไดดังสมการ
400 nm
EUV   R EId (13.2)
250 nm

เมื่อ EUV คือ ความเขมของรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษย (วัตตตอ


ตารางเมตร)
I
 คือ สเปกตรัมรังสีอาทิตย (วัตตตอตารางเมตรตอนาโนเมตร)
R E คือ การตอบสนองของผิวหนังมนุษย (-)
λ คือ ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)

13.4 การวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย
เนื่ อ งจากรั ง สี อั ล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย มี ผ ลต อ สุ ข ภาพของมนุ ษ ย แ ละ
สิ่งแวดลอม ดัง นั้นหนวยงานที่เ กี่ย วของในประเทศตางๆ จึงไดทําการวั ดความเขมรัง สี
อั ลตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ตย สํ าหรั บกรณี ประเทศไทย กรมอุ ตุ นิ ยมวิ ทยาและภาควิ ชาฟ สิ กส
มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรได ทํ า การวั ด รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย ใ นภู มิ ภ าคหลั ก
ของประเทศ โดยใชเครื่องวัดชนิดตางๆ (Janjai et al., 2010a; Kift et al., 2006)
โดยทั่วไปเครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยแบงไดเปน 3 ประเภท ไดแก
เครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต (UV spectroradiometer) เครื่องวัดความเขมรังสี
อัลตราไวโอเลตในชวงความยาวคลื่นกวาง (broadband UV radiometer) และเครื่องวัดความ
เขมรังสีอัลตราไวโอเลตแบบใชแผนกรองรังสีหลายชองสัญญาณ (multi-channel filter UV
radiometer) โดยแตละประเภทมีรายละเอียดดังนี้

13.4.1 เครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต
เครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลตจะวัดคาความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตแตละ
ความยาวคลื่นในหนวยวัตตตอตารางเมตรตอนาโนเมตร ซึ่งจะไดขอมูลเกี่ยวกับการดูดกลืน
รังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นตางๆ ของบรรยากาศโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งคือ การ

490
491

ดูดกลืนของโอโซนซึ่งสามารถนําไปคํานวณหาปริมาณโอโซนได เครื่องวัดสเปกตรัมรังสี
อัลตราไวโอเลตจะมีสวนประกอบตางๆ ไดแก ตัวรับรังสี อุปกรณแยกรังสีออกเปนความ
เข ม รั ง สี ที่ ค วามยาวคลื่ น ต า งๆ (monochromator) ตั ว ตรวจวั ด ความเข ม รั ง สี แ ละอุ ป กรณ
ควบคุมและบันทึกขอมูล โดยสวนประกอบทั้งหมดแสดงไดตามแผนภูมิในรูปที่ 13.4
ตัวรับรังสี
อุปกรณแยกรังสี
ตัวตรวจวัดความเขมรังสี

อุปกรณควบคุมและบันทึกขอมูล

รูปที่ 13.4 แผนภูมิแสดงองคประกอบของเครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต

ตัวรับรังสีจะเปนแผนเทฟลอน (teflon) หรือ ควอตซ (quartz) โดยตัวรับรังสีที่ดีจะมี


การแปรคาของการตอบสนองตอรังสีที่ตกกระทบที่มุมตางๆ เชนเดียวกับการแปรคาของ
โคซายน (cosine) ของมุมตกกระทบ กลาวคือ เมื่อรังสีตกกระทบตั้งฉากกับหั ววัดจะได
สัญญาณมากที่สุด สวนรังสีที่ตกกระทบเปนมุมโตขึ้นหัววัดจะไดสัญญาณลดลงเชนเดียวกับ
การแปรคาของโคซายน ทั้งนี้เพราะจะทําใหสามารถแปลงคารังสีที่ตกกระทบตัวรับรังสีที่
มุมตางๆ ใหเปนคารังสีที่ตกกระทบตั้งฉากไดโดยการหารคารังสีดังกลาวดวยโคซายนของ
มุมตกกระทบ โดยทั่วไปตัวรับรังสีจะมีการตอบสนองไมสมบูรณ โดยการตอบสนองที่มุม
ตกกระทบคามากๆ จะไมเปนไปตามคาโคซายน เชนเดียวกับกรณีของเครื่องวัดรังสีรวมที่
อธิบายในบทที่ 9 (รูปที่ 9.17) ทําใหผลการวัดที่มุมตกกระทบดังกลาวมีความคลาดเคลื่อน
แตเนื่องจากความคลาดเคลื่อนนี้มีลักษณะเปนระบบ เราจึงสามารถคํานวณแกผลจากความ
คลาดเคลื่อนได
โดยทั่วไปรังสีจากตัวรับรังสีจะถูกสงไปยังอุปกรณแยกรังสีโดยใชกระจกสะทอน
หรือใชอุปกรณนําแสงตางๆ เชน ทอบรรจุของเหลว หรือใยแกวนําแสง เครื่องวัดสเปกตรัม

491
492

รังสีอัลตราไวโอเลตสวนใหญจะใชใยควอตซ (quartz fiber) เปนตัวนํารังสี เพราะสามารถ


นํารังสีไปยังอุปกรณแยกรังสีไดไกลหลายเมตรโดยไมถูกดูดกลืนมากนัก
สํ า หรั บ อุ ป กรณ แ ยกรั ง สี จ ะเป น อุ ป กรณ ห ลั ก ของเครื่ อ งวั ด สเปกตรั ม รั ง สี
อัลตราไวโอเลตโดยอาจเปนแบบเดี่ยวที่มีเกรตติง (grating) 1 ชุด หรือแบบคู ซึ่งมีเกรตติง
2 ชุด
กระจกสะทอนแสง

รังสีเขา รังสีออก

เกรตติง

รูปที่ 13.5 อุปกรณแยกรังสีแบบคู

สมบั ติ ที่ สํ า คั ญ ของอุ ป กรณ แ ยกรั ง สี คื อ ความสามารถในการแยกสเปกตรั ม


(spectral resolution) ซึ่งจะเปนตัวบอกความสามารถในการแยกรังสีออกเปนความเขมของ
แตละความยาวคลื่น โดยทั่วไปอุปกรณแยกรังสีไมสามารถแยกรังสีออกเปนความยาวคลื่น
เดี่ยวๆ ไดสมบูรณ แตจะมีความยาวคลื่นขางเคียงออกมาดวย เราจะเรียกกราฟระหวางความ
เข ม ของรั ง สี ที่ แ ยกได กั บ ความยาวคลื่ น ว า กราฟของฟ ง ก ชั น ของช อ งให รั ง สี ผ า น (slit
function)

492
493

1.0

I
R
0.5

0.0 
FWHM

รูปที่ 13.6 กราฟแสดงความสามารถในการแยกสเปกตรัมของอุปกรณแยกรังสี เมื่อ I R เปน


ความเขมรังสีที่แยกไดเมื่อเทียบกับคาสูงสุดและ  เปนความยาวคลื่น (Webb,
1998)

โดยทั่วไปนิยมบอกความสามารถในการแยกสเปกตรัมในรูปของชวงกวางของ
ความยาวคลื่นซึ่งตรงกับคาความเขมเทากับ 0.5 เมื่อใหคาความเขมสูงสุดเปน 1 (full width
half maximum, FWHM) เครื่ อ งวั ด สเปกตรั ม รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตที่ ดี ค วรมี ค า FWHM
เทากับหรือนอยกวา 1 นาโนเมตร (Webb, 1998)
รังสีที่ผา นการแยกเป น ความเขมของแตละความยาวคลื่น แลว จะตกกระทบตัว
ตรวจวัด (detector) ซึ่งจะแปลงพลังงานของรังสีใหเปนพลังงานไฟฟา โดยทั่วไปตัวตรวจวัด
จะเป น โฟโตไดโอด (photodiode) หรื อ อิ เ ล็ ก ตรอนมั ล ติ ไ พเออร (electron multiplier)
สําหรับโฟโตไดโอดจะประกอบดวยโฟโตคาโทด (photocathode) และอาโนด (anode) อยู
ภายในหลอดสุญญากาศ เมื่อรังสีตกกระทบโฟโตคาโทด จะทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกมา
และถูกสนามไฟฟาทําใหเคลื่อนที่ไปยังอาโนดและเกิดกระแสไหล ซึ่งสามารถนําไปหา
ความเขมรังสีที่ตกกระทบได กรณีของโฟโตมัลติไพเออร จะทํางานโดยอาศัยหลักการ
เดี ย วกัน กับ โฟโตไดโอด แต จ ะมี ไ ดโนด (dynode) เพื่อ เพิ่ ม จํา นวนอิ เ ล็ ก ตรอนทํา ให ไ ด
กระแสมากขึ้น
จะเห็นวาเครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลตมีสวนประกอบที่ละเอียดออน ซึ่ง
จําเปนตองใชอยางระมัดระวังและดูแลรักษาอยางถูกตอง เครื่องวัดดังกลาวมักมีราคาแพง

493
494

ตัวอยางลักษณะของเครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลตผลิตโดยบริษัทเบนแทม (Bentham)
ซึ่งติดตั้งอยูที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร แสดงไวในรูปที่ 13.7
ขอมูลที่ไดจากเครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต เราสามารถนํามาคํานวณ
ปริมาณรังสีที่มีผลกระทบตอผิวหนังมนุษยไดโดยใชสมการ (13.2)

ตัวรับรังสี

ใยแกว

กลองบรรจุอุปกรณแยกรังสี ตัวตรวจวัด และ


อุปกรณควบคุม

รูปที่ 13.7 เครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลตที่ผลิตโดยบริษัทเบนแทม ซึ่งติดตัง้ ใชงาน


ที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

13.4.2 เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในชวงความยาวคลื่นกวาง
เครื่องวัดแบบนี้สามารถใชวัดรังสีอัลตราไวโอเลตบี (280 – 320 นาโนเมตร) รังสี
อัลตราไวโอเลตเอ (320 – 400 นาโนเมตร) หรือรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลกระทบตอ
ผิวหนังมนุษย (EUV) ได เครื่องวัดดังกลาวจะวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตครอบคลุม
ชวงกวางของความยาวคลื่นโดยอาศัยตัวกรองรังสี
โดยทั่วไปเครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลตในชวงความยาวคลื่นกวาง จะประกอบดวย
โดมแกว ตัวรับรังสี ตัวกรองรังสี ตัวตรวจวัดและวงจรขยายสัญญาณ ดังแผนภูมิในรูปที่ 13.8

494
495

กรณีของเครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษย เครื่องวัดจะมีการตอบสนอง
ตอรังสีอัลตราไวโอเลตเชนเดียวกับการตอบสนองของผิวหนังมนุษย

รังสีอาทิตย
โดมแกว
ตัวรับรังสี
ตัวกรองรังสี

ตัวตรวจวัด

อุปกรณขยายสัญญาณ
สัญญาณที่ได

รูปที่ 13.8 แผนภูมิแสดงสวนประกอบของเครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลตในชวงความยาว


คลื่นกวาง

รูปที่ 13.9 เครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษยที่ผลิตโดยบริษัทโซลารไลท


(Solar Light) ซึ่งติดตั้งใชงานที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร
จังหวัดนครปฐม

495
496

13.4.3 เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตแบบใชแผนกรองรังสีหลายชองสัญญาณ
เครื่องวัดนี้จะวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นบางความยาวคลื่นที่
นาสนใจ เชน 305, 313, 320, 340, 380 และ 395 นาโนเมตร ทั้งนี้เพราะที่ความยาวคลื่น
ดังกลาวบางความยาวคลื่นจะไดรับผลจากการดูดกลืนของโอโซนในบรรยากาศโลก และ
บางความยาวคลื่นไมไดรับผลจากโอโซนและกาซตางๆ โดยเราสามารถนําขอมูลที่ไดไปใช
คํานวณปริมาณโอโซนในบรรยากาศของโลกได เครื่องวัดดังกลาวประกอบดวยแผนกรอง
รังสี ตัวตรวจวัดสัญญาณ (radiation detector) และระบบควบคุมและบันทึกขอมูล เมื่อรังสี
อัลตราไวโอเลตตกกระทบตัวรับรังสี รังสีดังกลาวจะถูกแบงเปนหลายสวน โดยแตละสวน
จะผานแผนกรองรังสีซึ่งจะกรองใหรังสีบางความยาวคลื่นผานได รังสีดังกลาวจะตกกระทบ
กับตัวตรวจวัดและไดสัญญาณไฟฟาออกมา สัญญาณเหลานี้จะถูกบันทึกดวยเครื่องบันทึก
ขอมูล เราสามารถแปลงคาสัญญาณไฟฟาที่บันทึกไดใหเปนคาความเขมรังสีอัลตราไวโอเลต
โดยใชคาสภาพตอบสนองของแตละชองสัญญาณซึ่งไดจากการสอบเทียบมาตรฐาน
คาความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่ไดจากเครื่องวัดแบบนี้สามารถนํามาแปลงใหเปน
คาความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลกระทบตอผิวหนังมนุษยไดโดยการสอบเทียบกับ
เครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต (Dahlback, 1996)

496
497

รูปที่ 13.10 เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตแบบใชแผนกรองรังสีหลายชองสัญญาณ


ที่ผลิตโดยบริษัทไบโอสเฟยริคัล อินสตรูเมนต (Biospherical Instruments) ซึ่ง
ติดตั้งใชงานที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

13.4.4 ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (UV index)


จากที่เคยกลาวไปแลววา รัง สีอัลตราไวโอเลตมี ผลกระทบตอผิวหนังมนุษย ถา
ไดรับในปริมาณมากจะทําใหเกิดอาการผิวหนังถูกแดดเผา (sun burn) กลาวคือ ผิวหนังแดง
และแสบร อ น การถู ก แดดเผาจะทํ า ให เ พิ่ ม ความเสี่ ย งของการเกิ ด โรคมะเร็ ง ผิ ว หนั ง
ผลกระทบของรั ง สี อั ล ตราไวโอเลตต อ ผิ ว หนั ง มนุ ษ ย จ ะขึ้ น กั บ ระดั บ ความเข ม รั ง สี
อัลตราไวโอเลต เนื่องจากการบอกปริมาณรังสีเปนวัตตตอตารางเมตรเขาใจไดยาก ดังนั้น
เพื่อใหประชาชนทั่วไปเขาใจระดับความรุนแรงของรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยได
งาย องคการอนามัยโลก (World Health Organization, WHO) (WHO, 2002) จึงไดกําหนด
ระดับความรุนแรงของรังสีอัลตราไวโอเลตดวยดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (UV index, UVI)
ซึ่งคํานวณไดจากสมการ
400 nm
UVI  k er I  R E d (13.3)
250 nm

เมื่อ UVI คือ ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (-)

497
498

I
 คือ สเปกตรัมรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลก (วัตตตอตารางเมตรตอ
นาโนเมตร)
k er คือ คาคงที่ (40 ตารางเมตรตอวัตต)
 คือ ความยาวคลื่น (เมตร)

คา I จะไดจากการวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยดวยเครื่องวัดสเปกตรัม


รั ง สี อั ล ตราไวโอเลต ส ว นค า R E จะหาได จ ากสมการ (13.1) เนื่ อ งจากค า ของ
400 nm
 I R d ในสมการ (13.3) คื อ ความเขม รั ง สี อัล ตราไวโอเลตที่มี ผ ลกระทบต อ
 E
250 nm

ผิวหนังมนุษย (EUV) ดังนั้นเราจึงสามารถแทนคาพจนดังกลาวดวยคาที่ไดจากเครื่องวัดรังสี


อั ล ตราไวโอเลตที่ มี ผ ลกระทบต อ ผิ ว หนั ง มนุ ษ ย ที่ วั ด ตามสถานี ต า งๆ หรื อ ค า ที่ ไ ด จ าก
แบบจําลองตางๆ
นอกจากเราจะหาค า UVI ได จ ากการคํ า นวณโดยใช ส มการ (13.3) แล ว เรายั ง
สามารถหาคา UVI ไดจากดาวเทียมบางดวง เชน TOMS/EP และ OMI/Aura โดยทั่วไปคาที่
ไดจากดาวเทียมจะมีความคลาดเคลื่อนมากกวาคาที่ไดจากการคํานวณโดยใชขอมูลจากการ
วัดภาคพื้นดิน จันทรฉาย และคณะ (Janjai et al., 2013) ไดเปรียบเทียบคาดัชนีเมฆที่ไดจาก
ดาวเที ย ม OMI/Aura กั บ ค า ที่ คํ า นวณจากข อ มู ล รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตที่ ไ ด จ ากการวั ด ใน
ประเทศไทย โดยพบวามีความแตกตางกัน (RMSD) 38.1-60.7%
องคการอนามัยโลกไดกําหนดระดับความรุนแรงของรังสีอัลตราไวโอเลตในรูปของ
ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต ตามตารางที่ 13.1

498
499

ตารางที่ 13.1 ระดับความรุนแรงของรังสีอัลตราไวโอเลตที่กําหนดโดยองคการอนามัยโลก


(WHO, 2002)

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต ระดับความรุนแรง
2 ต่ํา (low)
3-5 ปานกลาง (moderate)
6-7 สูง (high)
8-10 สูงมาก (very high)
 11 สูงสุดขีด (extreme)

เนื่องจากรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยตั้งแตระดับสูงขึ้นไป ผูที่ไดรับจะมี
ความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งผิวหนังมากขึ้น ดังนั้นจึงควรปกปองรางกายมิใหไดรับรังสี
อั ล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย โดยการใช ค รี ม กั น แดด หรื อ หลี ก เลี่ ย งการรั บ รั ง สี
อั ล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย โ ดยตรง ประเทศต า งๆ ในยุ โ รปและอเมริ ก าจะมี ก าร
พยากรณคาดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต เพื่อใหประชาชนปองกันตนเองจากอันตรายที่เกิดจาก
รังสีอัลตราไวโอเลต

13.5 การคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตโดยใชแบบจําลอง
ถึงแมวาเราจะสามารถหาคาความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตโดยอาศัยการวัดได แต
เครื่ อ งวั ด รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตมี ร าคาค อ นข า งแพง ดั ง นั้ น สถานี วั ด ความเข ม รั ง สี
อัลตราไวโอเลตจึงมีอยูนอยมาก นักวิจัยตางๆ จึงไดสรางแบบจําลองสําหรับคํานวณความ
เขมรังสีอัลตราไวโอเลตในสภาพทองฟาตางๆ ตามรายละเอียดตอไปนี้

499
500

13.5.1 การคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในสภาพทองฟาปราศจากเมฆโดยใช
แบบจําลองการถายเทรังสี (UV radiative transfer model)
ทํา นองเดี ย วกั บรั ง สีอ าทิตย ใ นช ว งความยาวคลื่น กว าง เราสามารถคํ านวณรั ง สี
อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ โดยใชแบบจําลองการถายเท-
รังสี แบบจําลองประเภทนี้จะคํานวณสเปกตรัมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นของรังสี
อั ล ตราไวโอเลต ซึ่ ง จะได ค า เช น เดี ย วกั บ ค า ที่ วั ด ได จ ากเครื่ อ งวั ด สเปกตรั ม รั ง สี
อัลตราไวโอเลต โดยหลักการคํานวณจะเหมือนกับแบบจําลองการถายเทรังสีซึ่งใชในการ
คํ า นวณสเปกตรั ม รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น กว า งซึ่ ง กล า วไปแล ว ในบทที่ 5
แบบจํ า ลองการถ า ยเทรั ง สี ที่ นิ ย มใช ใ นการคํ า นวณสเปกตรั ม รั ง สี อั ล ตราไวโอเลต คื อ
แบบจําลอง UVSPEC (Mayer et al., 1997)
เพื่อความสะดวกตอการใชงาน แบบจําลอง UVSPEC จะเขียนในรูปของโปรแกรม
คอมพิวเตอร โดยผูใชจะตองปอนขอมูลอินพุทของแบบจําลอง ที่สําคัญคือ ปริมาณโอโซน
ฝุนละออง และตําแหนงของดวงอาทิตย หลังจากที่ไดคาสเปกตรัมรังสีอาทิตยในชวงความ
ยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลตแลว ผูใชสามารถอินทิเกรตคาที่ไดในชวงความยาวคลื่นของ
รังสีอัลตราไวโอเลตเอ รังสีอัลตราไวโอเลตบี หรือรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนัง
มนุษยได

13.5.2 แบบจําลองเอมไพริคลั สําหรับคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในสภาพทองฟา


ปราศจากเมฆ
เนื่องจากการใชแบบจําลองการถายเทรังสี ผูใชตองมีความรูดานการใชโปรแกรมซึ่ง
ไมสะดวกตอการใชงานทั่วไป ดังนั้น นูเนส (Nunez et al., 2002) จึงไดใชแบบจําลองการ
ถายเทรังสีคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ โดยแปรคา
ปริมาณโอโซนและมุมเซนิธของดวงอาทิตยแลวนําผลที่ไดมาสรางแบบจําลองเอมไพริคัลที่
แสดงความสัมพันธระหวางความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลกับผิวหนังมนุษยกับปริมาณ
โอโซนและมุมเซนิธของดวงอาทิตย ดังนี้

500
501

EUV  1343.83  7798   24766.93l  2  44648.53  3  33496  4


 143.14Z s  1243.86Z s2  702.44Z 3s  101.91Z s4  380.50Zs
(13.4)
 7248.46  2 Zs2  12528.23 3 Z3s  6435.28 4 Zs4

เมื่อ EUV คือ ความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษย (มิลลิวัตตตอ


ตารางเมตร)
 คือ ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
Zs คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (เรเดียน)

แบบจําลองนี้สามารถใชงานไดสะดวก แตมีขอบเขตจํากัด กลาวคือสามารถใชได


กับกรณีทองฟาปราศจากเมฆซึ่งบรรยากาศมีฝุนละอองนอย ทั้งนี้เพราะไมมีตัวแปรแสดงผล
ของฝุนละอองในแบบจําลอง

13.5.3 แบบจําลองสําหรับคํานวณความเขมรังสีอลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยจากรังสี


รวมและตัวแปรตางๆ ของบรรยากาศในสภาพทองฟาทั่วไป
เนื่องจากการวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยมีอยูนอย ดังนั้นนักวิจัยตางๆ
จึงไดเสนอแบบจําลองสําหรับคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตจากรังสีรวมและตัวแปร
ตางๆ ของบรรยากาศ (Al-Aruri, 1990; Murillo et al., 2003; Canada et al., 2003; Kudish
and Evseev, 2011) กรณีประเทศไทย บรรเทิงและคณะ (Buntoung et al., 2014) ไดทําการ
วิเคราะหความสัมพันธของความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลกระทบตอผิวหนังมนุษยกับ
รังสีรวมและตัวแปรอื่นๆ ของบรรยากาศจากขอมูลที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม
และสงขลา และไดเสนอสมการของความสัมพันธ ดังนี้

EUV
 [0.054385  0.007077 exp(1.634016 cos z )  0.004161AOD1  0.000110 
I
 0.000896 w  0.094941k T  0.067131k T2 ] / 100
(13.5)

501
502

เมื่อ EUV คือ ความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษย


(วัตตตอตารางเมตร)
I คือ ความเขมรังสีรวม (วัตตตอตารางเมตร)
θZ คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
w คือ ปริมาณไอน้ํา (เซนติเมตร)
 คือ ปริมาณโอโซน (ดอบสัน)
AOD1 คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 340
นาโนเมตร (-)
kT คือ ดัชนีความแจมใสของบรรยากาศ (clearness index)
รายชั่วโมง (สมการ (10.15)) (-)

เมื่ อ นํ า แบบจํ า ลองตามสมการ (13.5) ไปทดสอบคํ า นวณความเข ม รั ง สี


อัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษยที่สถานีวัดทั้ง 4 แหง ในสภาพทองฟาทั่วไป โดยเปน
ขอมูลคนละชวงกับที่ใชสรางแบบจําลอง พบวา คาที่ไดจากแบบจําลองแตกตางจากคาที่ได
จากการวัด (RMSD) เทากับ 13.5%

13.5.4 การคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวเลตจากดวงอาทิตยโดยใชขอมูลภาพถาย
ดาวเทียมในสภาพทองฟาทัว่ ไป
เนื่องจากรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยที่เดินทางผานบรรยากาศมายังพื้น
โลก สวนหนึ่งจะถูกกระเจิงโดยเมฆและองคประกอบอื่นๆ ของบรรยากาศออกไปยังอวกาศ
ภายนอกซึ่งดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาสามารถตรวจวัดได ดังนั้นนักวิทยาศาสตรตางๆ จึงได
พัฒนาวิธีการหาความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่ตกกระทบพื้นผิวโลกโดยใชขอมูลภาพถาย
ดาวเทียม (Nunez et al., 1997; Wang et al., 2000; Verdebout, 2000; Ciren and Li, 2003;
Janjai et al., 2010b) ในหั ว ข อ นี้ จ ะกล า วถึ ง รายละเอี ย ดของวิ ธี ห าความเข ม รั ง สี
อัลตราไวโอเลตที่มีผลกระทบตอผิวหนังมนุษยรายวันเฉลี่ยตอเดือน (EUV) ที่พัฒนาโดย
จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2010b) ซึ่งเหมาะสมกับการใชงานในบริเวณเขตรอน ตาม
รายละเอียดดังนี้

502
503

1) แบบจําลอง
จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2010b) จะพิจารณาวาบรรยากาศแบงไดเปน 2 ชั้น
ได แ ก ชั้ น ที่ 1 อยู ร ะหว า งส ว นบนสุ ด ของบรรยากาศ (top of atmosphere, TOA) จนถึ ง
ดานบนของชั้นเมฆ และชั้นที่ 2 เปนบรรยากาศที่อยูถัดจากชั้นแรกลงมาจนถึงพื้นผิวโลก
(รูปที่ 13.11) โดยบรรยากาศชั้นที่ 1 จะประกอบดวยโอโซน สวนบรรยากาศชั้นที่ 2 จะ
ประกอบดวย เมฆ ไอน้ํา ฝุนละออง และโมเลกุลอากาศ แบบจําลองนี้จะคํานึงถึงการดูดกลืน
และการกระเจิงรังสีอัลตราไวโอเลตขององคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ ตั้งแตรังสี
อั ล ตราไวโอเลตที่ ต กกระทบบรรยากาศจนถึ ง พื้ น ผิ ว โลก และกระเจิ ง กลั บ ขึ้ น ไปใน
บรรยากาศอีกครั้งหนึ่ง ตามรายละเอียดดังนี้
รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย ที่ ต กกระทบส ว นบนสุ ด ของบรรยากาศ
( EUVTOA ) จะเดินทางผานบรรยากาศชั้นที่ 1 โดยจะถูกโอโซนในบรรยากาศชั้นที่ 1 ดูดกลืน
เมื่อเดินทางมาถึงสวนบนของบรรยากาศชั้นที่ 2 จะเหลือเทากับ EUVTOA o เมื่อ  เปน o

สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตของโอโซน จากนั้นจะเดินทางผานบรรยากาศ
ชั้นที่ 2 โดยระหวางทางจะถูกดูดกลืนโดยฝุนละอองเทากับ EUVTOA oaer เมื่อ aer เปน
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนของฝุนละออง สวนที่เหลือจะตกกระทบพื้นผิวโลกซึ่งจะใหมีคา
เท า กั บ EUVSUR รั ง สี ดั ง กล า วจะถู ก พื้ น ผิ ว โลกดู ด กลื น บางส ว นซึ่ ง มี ค า เท า กั บ
EUVSUR (1  G , EUV ) เมื่อ  G , EUV เปนคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอัลตราไวโอเลตของ

พื้นผิวโลก รังสีสวนที่เหลือจะถูกกระเจิงขึ้นไป โดยผานบรรยากาศชั้น 2 และถูกดูดกลืนโดย


ฝุ น ล ะ อ อ ง เ ท า กั บ ESUR G , EUV aer จ า ก นั้ น ถู ก ดู ด ก ลื น โ ด ย โ อ โ ซ น เ ท า กั บ
EUVSUR G , EUV (1   aer )(1  o ) ถาใหบรรยากาศและพื้นผิวโลกมีสัมประสิทธิ์การกระเจิง
เปน  EUV เราจะสามารถหาปริมาณรังสีที่กระเจิงออกไปสูอวกาศไดเทากับ EUVTOAEA
จากกฎการอนุรักษพลังงาน เราจะไดวาผลตางของรังสีที่ตกกระทบบรรยากาศโลกกับรังสีที่
กระเจิงออกไปสูอวกาศ (EUVTOA  EUVTOAEA ) จะเทากับผลรวมของรังสีที่ถูกดูดกลืน
โ ด ย โ อ โ ซ น ข า ล ง (EUVTOA (1  o )) รั ง สี ที่ ถู ก ดู ด ก ลื น โ ด ย ฝุ น ล ะ อ อ ง ข า ล ง
(EUVTOA o  aer ) รังสีที่ถูกดูดกลืนโดยพื้นผิวโลก (EUVSUR (1  G , EUV )) รังสีที่ถูกดูดกลืน
โดยฝุ น ละอองขาขึ้ น (EUVSUR G , EUVaer ) และรั ง สี ที่ ถู ก ดู ด กลื น โดยโอโซนขาขึ้ น
(EUVSUR G , EUV (1   aer )(1  o )) หรือเขียนเปนสมการไดดังนี้

503
504

ดาวเทียม

อวกาศ
EUV TOA EUVEUVTOA สวนบนสุดของบรรยากาศ
(Top of atmosphere ,TOA)

ดูดกลืนโดยโอโซนขาลง โอโซน ดูดกลืนโดยโอโซนขาขึน้


บรรยากาศชั้นที่ 1
 o EUVTOA
G ,EUV (1   aer )EUVSUR

ดูดกลืนโดยฝุนละอองขาลง เมฆ ดูดกลืนโดยฝุนละอองขาขึน้ บรรยากาศชั้นที่ 2

EUVSUR
EUVSUR G,EUVEUVSUR
พื้นผิวโลก

ดูดกลืนโดยพื้นผิวโลก (1   G ,EUV ) EUVSUR

รูปที่ 13.11 แสดงแผนภูมแิ สดงการกระเจิงและการดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตตาม


แบบจําลองของ จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2010b)

EUVTOA  EUVTOAρ EUV  EUVTOA (1  τ o )  EUVTOA τ oα aer  EUVSUR (1  ρG, EUV )


 EUVSUR ρ G,EUVα aer  EUVSUR ρ G,EUV (1  α aer )(1  τo )
(13.6)
โดยที่
EUVTOA คือ รังสีอัลตราไวโอเลตนอกบรรยากาศโลก (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
EUVSUR คือ รังสีอัลตราไวโอเลตที่ตกกระทบพื้นผิวโลก (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
ρ G,EUV คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอัลตราไวโอเลตของพื้นผิวโลก (-)
o คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตของโอโซน (-)
 aer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตของฝุนละออง (-)
EUV คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศและพืน้ ผิวโลกในชวงความ
ยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลต (-)

504
505

จากสมการ (13.6) เราสามารถจัดพจนตางๆ และเขียนในรูปใหมไดดังนี้


[1  ρ EUV  (1  τ o )  τ oα AER ]EUVTOA
EUVSUR  (13.7)
[(1  ρ G, EUV )  ρ G, EUV α AER  ρ G, EUV (1  α aer )(1  τ o )]

จากสมการ (13.7) คา  aer , τo , G ,EUV และตัวแปรอื่นๆ สามารถคํานวณไดจาก


ขอมูลภาคพื้นดิน สวนคา  EUV สามารถคํานวณไดจากขอมูลดาวเทียม โดยรายละเอียดของ
การคํ า นวณจะกล า วในหั ว ข อ ถั ด ไป ดั ง นั้ น เราจึ ง สามารถคํ า นวณค า ความเข ม รั ง สี
อัลตราไวโอเลตที่ตกกระทบพื้นผิวโลก (EUVSUR ) ได

2) การหาพารามิเตอรตางๆ ในแบบจําลอง
- สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลกในชวงความ
ยาวคลื่นของรังสีอัลตราไวโอเลต ( EUV )
ในขั้นตอนแรกจะทําการหาสัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศและพื้นผิวโลก
ในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม ( ρ EA ) ตามวิธีการที่กลาวไปแลวในบทที่ 6
เนื่องจากคา  EA เปนคาสัมประสิทธิ์ในชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม (0.55-0.90
ไมครอน) แตในการใชงานเราตองการคาสัมประสิทธิ์ในชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอ-
เลต  EUV จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2010b) จึงไดพัฒนาเทคนิคการแปลงคา  EA
ใหเปนคา  EUV ตามรายละเอียดดังนี้
เริ่ ม ต น จะจั ด พจน ต า งๆ ของสมการ (13.7) ใหม ใ ห อ ยู ใ นรู ป ของ  EUV ที่ เ ป น
ฟงกชันของตัวแปรอื่นๆ ดังนี้
ρ EUV  1 - (1 - τo ) - τ oαaer  [(1  ρG, EUV )  ρG, EUVαaer
EUVSUR (13.8)
 ρG, EUV (1  αaer )  (1  τo )] 
EUVTOA

จากนั้นจะใชสมการ (13.8) หาคา EUV ที่สถานีวัดภาคพื้นดิน 4 แหง ไดแก สถานี


เชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา โดยใชคา EUVSUR ที่วัดไดที่สถานีดังกลาว
และคาสัมประสิทธิ์อื่นๆ ตามรายละเอียดที่จะอธิบายในภายหลัง ในขณะเดียวกันจะหาคา

505
506

 EA จากขอมูลดาวเทียม แลวนําคา  EA ไปเขียนกราฟกับคา  EUV ผลที่ไดแสดงในรูปที่


13.12

รูปที่ 13.12 ความสัมพันธระหวางคาสัมประสิทธิ์การกระเจิงของบรรยากาศและพืน้ ผิวโลก


ในชวงความยาวคลื่นดาวเทียม (  EA ) และในชวงความยาวคลื่นรังสี
อัลตราไวโอเลต (  EUV )

ในขั้นตอนสุดทายจะแทนความสัมพันธระหวาง  EUV และ  EA ในกราฟรูปที่


13.13 ไดดวยสมการ

ρ EUV  0.024579  0.012723 ρ EA (13.9)

สมการที่ไดนี้จะนําไปใชในการคํานวณคา EUV จากคา  EA เพื่อใชในแบบจําลอง


สําหรับคํานวณรังสีอัลตราไวโอเลต (สมการ (13.7))

506
507

- สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตของโอโซน
โอโซนเปนพารามิเตอรสําคัญตอการคํานวณรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย
ทั้งนี้เพราะโอโซนดูดกลืนรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลต ในการหาคา
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตของโอโซนจะอาศัยสมการตอไปนี้

400 nm
 I τ R dλ
0λ oλ Eλ
τo 
250 nm
400 nm
(13.10)
 I R dλ
0λ Eλ
250 nm

เมื่อ o คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตของ


โอโซน (-)
τ oλ คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความ
ยาวคลื่น  ของโอโซน (-)
I
0 คือ สเปกตรัมของรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย
นอกบรรยากาศโลก (วัตตตอ ตารางเมตรตอนาโนเมตร)
R E คือ ฟงกชันของการตอบสนองของผิวหนังมนุษย (-)
 คือ ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)

ค า สั ม ประสิ ทธิ์ ก ารส ง ผ า นรั ง สี อั ล ตราไวโอเลตของโอโซนที่ค วามยาวคลื่น 


สามารถคํานวณไดโดยใชสมการของวิกรูซ (Vigroux, 1953) (สมการ (3.38)) และใชปริมาณ
โอโซนในบรรยากาศจากดาวเทียม TOMS/EP หรือ OMI/Aura

- สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตของฝุนละออง
ฝุนละอองในบรรยากาศมีผลทําใหรังสีอาทิตยลดลงทุกชวงความยาวคลื่น รวมถึง
ในชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลตดวย การลดลงของรังสีอาทิตยเนื่องจากฝุนละออง
เกิ ด จากกระบวนการดู ด กลื น และการกระเจิ ง โดยสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารดู ด กลื น รั ง สี
อัลตราไวโอเลตเนื่องจากฝุนละอองสามารถคํานวณไดโดยอาศัยสมการดังนี้

507
508

400 nm
 I α R dλ
0λ aer, λ Eλ
α aer 
250 nm
400 nm
(13.11)
 I R dλ
0λ Eλ
250 nm

เมื่อ  aer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตของฝุนละออง (-)


 aer ,  คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น
 ของฝุนละออง (-)

สําหรับคาของ aer, สามารถคํานวณโดยสมการที่เสนอโดยลีและคณะ (Li et al.,


2000) ดังนี้
α aer,λ  1  exp[ma (1  SSA)τaer, ] (13.12)

เมื่อ aer , คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น  (-)


ma คือ มวลอากาศ (-)
SSA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีครั้งแรกของฝุนละออง (-)

คาความลึกเชิงแสงของฝุนละออง ( aer, ) จะคํานวณโดยใชสูตรของอังสตรอม


(Angstrom, 1929) (สมการ (3.13)) สําหรับคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม (  ) จะ
ทําการคํานวณจากคาทัศนวิสัย (visibility) โดยอาศัยสมการที่เสนอโดยจันทรฉาย และคณะ
(Janjai et al., 2003) (สมการ (3.24))
ค า ทั ศ นวิ สั ย สามารถหาได จ ากสถานี อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาทั่ ว ไป ในกรณี ป ระเทศไทย
กรมอุตุ นิย มวิทยาทําการสังเกตการณทัศนวิสัย ที่สถานี อุตุ นิยมวิทยาจํานวน 85 แหง ซึ่ง
กระจายทั่วประเทศ สําหรับคาทัศนวิสัยในบริเวณพื้นที่ระหวางสถานีสามารถหาไดจากการ
ประมาณคาจากสถานีขางเคียง (interpolation)

- สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพืน้ ผิวโลกในชวงความยาวคลืน่ รังสี


อัลตราไวโอเลต (surface albedo,  G ,EUV )
ในลําดับแรกจะหาสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกในชวงความ
ยาวคลื่นกวาง ( ρ G ) โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม โดยอาศัยวิธีการที่กลาวไปแลวในบทที่

508
509

6 จากนั้นจะทําการแปลงใหเปนคาในชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลต (  G ,EUV ) โดย


อาศัยสมการเอมไพริคัลที่ไดจากการทดลองดังนี้

ρ G,EUV  0.05ρ G (13.13)

จั น ทร ฉ ายและคณะ (Janjai et al., 2010b) ทํ า การทดสอบความถู ก ต อ งของ


แบบจําลองที่พัฒนาขึ้น โดยการนําแบบจําลองดังกลาวไปคํานวณรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผล
ตอผิวหนังของมนุษยรายวันเฉลี่ยตอเดือน ณ ตําแหนงสถานีวัดภาคพื้นดิน 4 แหง ไดแก
สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา และเปรียบเทียบกับคาที่ไดจากการวัด
ผลที่ไดพบวาคาที่ไดจากการคํานวณมีความแตกตางจากคาที่ไดจากการวัด (RMSD) เทากับ
12.3%

13.6 สรุป
ในบทนี้ไดอธิบายเรื่องราวของรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย ซึ่งมีความยาว
คลื่นในชวง 10-400 นาโนเมตร เมื่อผานบรรยากาศสวนใหญจะถูกออกซิเจนและโอโซน
ดูดกลืน โดยสวนที่เดินทางมาถึงพื้นผิวโลกสวนใหญจะอยูในชวงความยาวคลื่น 280-400
นาโนเมตร ถึงแมรังสีดังกลาวจะมีความเขมต่ํา แตมีพลังงานโฟตอนสูง โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ในชวงความยาวคลื่นรังสีอัลตราไวโอเลตบี (280-320 นาโนเมตร) ถาไดรับเปนปริมาณมาก
จะสงผลเสียตอสุขภาพ เชน มีความเสี่ยงที่เกิดโรคมะเร็งผิวหนังมากขึ้น จากความสําคัญของ
รังสีอัลตราไวโอเลต หนวยงานดานสุขภาพและสิ่งแวดลอมของประเทศตางๆ จึงไดทําการ
วัดรังสีอัลตราไวโอเลต โดยใชเครื่องวัดชนิดตางๆ ที่สําคัญ ไดแก เครื่องวัดสเปกตรัมรังสี
อัลตราไวโอเลต เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในชวงความยาวคลื่นกวาง และ
เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตแบบใชแผนกรองรังสีหลายชองสัญญาณ นอกจากนี้
ยังไดมีการพัฒนาแบบจําลองตางๆ สําหรับคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตทั้งจาก
ขอมูลภาคพื้นดิน และขอมูลดาวเทียม

509
510

แบบฝกหัด

1. จงคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตในสภาพทองฟาปราศจากเมฆที่สถานีวัดรังสี
อาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม (13.82 N, 100.04 E) ที่เวลา 12:00
น. ตามเวลาดวงอาทิตย ในวันที่ 21 มิถุนายน ถาบรรยากาศเหนือสถานีดังกลาวมีปริมาณ
โอโซน 0.35 เซนติเมตร โดยกอนหนานี้มีฝนตกติดตอกันหลายวัน
คําตอบ 229.1 มิลลิวัตตตอตารางเมตร

2. จงคํานวณความเขมรังสีอัลตราไวโอเลต ที่ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม


(18.78 N, 98.98 E) ที่เวลา 12:00 นาฬิกาตามเวลาดวงอาทิตยของวันที่ 21 มิถุนายน ถา
ขณะนั้นรังสีรวมซึ่งวัดที่สถานีดังกลาวมีคาเทากับ 800 วัตตตอตารางเมตร ความลึกเชิง
แสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 340 นาโนเมตร เทากับ 0.4 ปริมาณโอโซนเทากับ
0.3 เซนติเมตร และปริมาณไอน้ําเทากับ 3 เซนติเมตร
คําตอบ 200.2 มิลลิวัตตตอตารางเมตร

3. ถาในวันที่ 22 มีนาคม เวลา 12:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตย เครื่องวัดรังสีรวมที่ศูน ย


อุตุนิยมวิทยาภาคใตฝงตะวันออก จังหวัดสงขลา (7.20 ºN, 100.60 ºE) วัดคาได 1,000
วัตตตอตารางเมตร จงคํานวณคาดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตที่สถานีดังกลาว พรอมทั้งระบุ
ระดับความรุนแรงของรังสีอัลตราไวโอเลต ถาขณะนั้นบรรยากาศมีความลึกเชิงแสงของ
ฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 340 นาโนเมตร เทากับ 0.5 ปริมาณไอน้ําเทากับ 4 เซนติเมตร
และปริมาณโอโซนเทากับ 0.3 เซนติเมตร
คําตอบ 10.0 (ระดับสูงมาก)

4. ถาเครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลตที่สถานีนครปฐม (13.82 ºN, 100.04 ºE) วัดคา


ความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตความยาวคลื่น 300 นาโนเมตรได 67 มิลลิวัตตตอตาราง
เมตรตอนาโนเมตร ในวันที่ 21 มิถุนายน ที่เวลา 16:30 นาฬิกาตามเวลาดวงอาทิตย โดย

510
511

เครื่ อ งวั ด ดั ง กล า วมี ก ารตอบสนองต อ มุ ม ตกกระทบตามรู ป ที่ 9.17 จงหาค า รั ง สี


อัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่นดังกลาว ซึ่งแกไขความคลาดเคลื่อนจากการตอบสนอง
ตอมุมตกกระทบแลว
คําตอบ 89.3 มิลลิวัตตตอตารางเมตรตอนาโนเมตร

5. ถาทําการวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยดวยเครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลตบีและ
เครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลกระทบตอผิวหนังมนุษยพรอมกัน โดยอานคาที่ได
เปนมิลลิวัตตตอตารางเมตร ถามวาคาจากเครื่องใดจะอานคาไดสูงกวา จงอธิบายและให
เหตุผล

511
512

รายการสัญลักษณ
AOD1 ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 340 นาโนเมตร (-)
EUVTOA รังสีอัลตราไวโอเลตนอกบรรยากาศโลก (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
EUV รังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษย (วัตตตอตารางเมตร)
EUVSUR รังสีอัลตราไวโอเลตที่ตกกระทบพื้นผิวโลก (จูลตอตารางเมตรตอวัน)
I รังสีรวม (วัตตตอตารางเมตร)
I
0 สเปกตรัมรังสีดวงอาทิตย (วัตตตอตารางเมตรตอนาโนเมตร)
k er คาคงที่สําหรับใชหาคาดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (ตารางเมตรตอวัตต)
 ปริมาณโอโซน (เซนติเมตร)
mr มวลอากาศ (-)
n ดัชนีเมฆ (-)
R สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (-)
R E ฟงกชันของการตอบสนองของผิวหนังมนุษย (-)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (%)
SSA สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง (-)
VIS ทัศนวิสัย (กิโลเมตร)
UVI ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (-)
Zs มุมเซนิธของดวงอาทิตย (เรเดียน)
 aer สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตของฝุนละออง (-)
 aer,  สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น λ ของฝุนละออง (-)
z มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
 G , EUV สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอัลตราไวโอเลตของพื้นผิวโลก (-)
o สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตของโอโซน (-)
τ oλ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น λ ของโอโซน (-)
aer , ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น λ (-)
λ ความยาวคลื่น (นาโนเมตร)

512
513

เอกสารอางอิง

Al-Aruri, S.D., 1990. The empirical relationship between global radiation and global
ultraviolet (0.290-0.385  m) solar radiation components. Solar Energy 45, 61-
64.
Angstrom, A., 1929. On the atmospheric transmission of sun radiation and on dust in the
air. Geografis Annal. 2, 156-166.
Buntoung, S., Janjai, S., Nunez, M., Choosri, P., Pratummasoot, N., Chiwpreecha, K.,
2014. Sensitivity of erythemal UV/global irradiance ratios to atmospheric
parameters: application for estimating erythemal radiation at four sites in
Thailand. Atmospheric Research 149, 24-34.
Canada, J., Pedros, G., Bosca, J.V., 2003. Relationships between UV (0.290-0.385  m)
and broadband solar radiation hourly values in Valencia and Cordoba, Spain.
Energy 28, 199-217.
CIE, 1998. Erythema reference action spectrum and standard erythema dose (CIE S 007/E-
1998). International Commission of Illumination, Vienna, Austria.
Ciren, P., Li, Z., 2003. Long-term global earth surface ultraviolet radiation exposure
derived from ISCCP and TOMS satellite measurements. Agricultural and
Forestry Meteorology 120, 51-68.
Dahlback, A., 1996. Measurements of biologically effective UV doses, total ozone
abundances, and cloud effects with multichannel, moderate bandwidth filter
instruments. Applied Optics 35, 6514-6521.
Janjai, S., Buntung, S., Wattan, R., Masiri, I. 2010b. Mapping solar ultraviolet radiation
from satellite data in a tropical environment. Remote Sensing of Environment
114, 682-691.
Janjai, S., Kumharn, W., Laksanaboonsong, J., 2003. Determination of Angstrom’s
turbidity coefficient over Thailand. Renewable Energy 28, 1685-1700.

513
514

Janjai, S. Kirdsiri, K., Masiri, I., Nunez, M., 2010a. An investigation of solar erythemal
ultraviolet radiation in the tropics: a case study at four stations in Thailand.
International Journal of Climatology 30, 1893-1903.
Janjai, S., Wisitsirikun, S., Buntoung, S., Pattarapanitchai, S., Wattan, R., Masiri, I.,
Bhattari, B.K., 2013. Comparison of UV index from Ozone Monitoring
Instrument (OMI) with multi-channel filter radiometers at four sites in the
tropics: Effects of aerosols and clouds. International Journal of Climatology 34,
453-461.
Kift, R., Webb, A.R., Page, J., Rimmer, J., Janjai, S., 2006. A web-based tool for UV
irradiance data: Predictions for European and Southeast Asian Sites.
Photochemistry and Photobiology 82, 579-586.
Kudish, A., Evseev, E.G., 2011. The analysis of solar UVB radiation as a function of solar
global radiation, ozone layer thickness and aerosol optical density. Renewable
Energy 36, 1854-1860.
Li, Z., Wang, P., Cihlar, J., 2000. A simple and efficient method for retrieving surface UV
radiation dose rate from satellite. Journal of Geophysical Research 105, 5027-
5036.
Mayer, B., Seckmeyer, G. and Kylling, A., 1997. Systematic long-term comparison of
spectral UV measurements and UVSPEC modeling results. Journal of
Geophysical Research 102, 8755-8767.
Murillo, W., Canada, J., Pedros, G., 2003. Correlation between global ultraviolet (290-385
nm) and global irradiation in Valencia and Cordoba (Spain). Renewable Energy
28, 409-418.
Nunez, M., Michael, K., Turner, D., Wall, M., Nilsson C., 1997. A satellite-based
climatology of UV-B irradiance for Antarctic coastal regions. International
Journal of Climatology 17, 1029-1054.

514
515

Nunez M., Kachunke C., Gies P., 2002. Using broadband erythymal UV instruments to
measure relative irradiance. Journal of Geophysical Research 107, 4789-4802.
Petty, G.W., 2004. A First Course in Atmospheric Radiation. Sundog Publishing,
Madison, Wisconsin.
Verdebout, J., 2000. A method to generate surface UV radiation maps over Europe using
GOME, Meteosat, and ancillary geophysical data. Journal of Geophysical
Research 105, 5049-5058.
Vigroux E., 1953. Contribution à l’étnde experimentale de l’absorption de l’ozone. Annale
de Physiques 8, 709 – 762.
Wang, P., Li, Z., Cihlar, J., Wardle, D.I., Kerr, J., 2000. Validation of an UV inversion
algorithm using satellite and surface measurements. Journal of Geophysical
Research 105, 5037-5048.
Webb, A. R., 1998. UVB Instrumentations and Applications. Gordon and Breach Science
Publishers, Amsterdam, Netherland.
WHO, 2002. Global Solar UV Index: A practical Guide. World Health Organization,
Report no. WHO/SDE/OEH/02.2, Geneva, Switzerland.
WHO, 1979. Ultraviolet Radiation. Environmental Health Criteria 14, World Health
Organization, Geneva.

515
516
บทที่ 14
รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย

รังสีอินฟราเรดจากดวงอาทิตยสามารถแบงไดเปน 3 ชวงความยาวคลื่น ไดแก รังสี


อิ น ฟราเรดใกล (near infrared radiation, NIR) ซึ่ ง มี ค วามยาวคลื่ น 0.78-3.0 ไมครอน รั ง สี
อิ น ฟราเรดกลาง (middle infrared radiation) มี ค วามยาวคลื่ น 3.0-50 ไมครอน และรั ง สี
อินฟราเรดไกล (far infrared radiation) มีความยาวคลื่น 50-1,000ไมครอน (ISO, 2007) โดย
รังสีอินฟราเรดใกลมีพลังงานประมาณ 52% ของพลังงานทั้งหมดที่แผออกมาจากดวงอาทิตย
และเมื่อเดินทางมาถึงพื้นผิวโลกจะมีพลังงานประมาณครึ่งหนึ่งของพลังงานจากรังสีอาทิตยทุก
ความยาวคลื่ น รวมกั น (Petty, 2004) เนื่ อ งจากรั ง สี อิ น ฟราเรดใกล มี ป ริ ม าณมากกว า รั ง สี
อินฟราเรดในชวงความยาวคลื่นอื่นๆ และมีความสําคัญตอสมรรถนะของระบบพลังงานรังสี
อาทิตยตางๆ ดังนั้นในตํารานี้จะกลาวถึงเฉพาะรังสีอินฟราเรดใกล

14.1 การวัดความเขมรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย
สเปกตรัมของรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลกและที่พื้นผิวโลก
สามารถแสดงไดดังรูปที่ 14.1

517
518

In (วัตตตอ ตารางเมตรตอไมครอน)

รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก

รังสีอินฟราเรดใกล
 (ไมครอน)
รูปที่ 14.1 สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกและรังสีตรงที่พื้นผิวโลกบนระนาบตั้งฉาก
กับทิศทางของรังสี ซึ่งแสดงสวนที่เปนรังสีอินฟราเรดใกล ( In คือ ความเขม และ 
คือ ความยาวคลื่น) แถบสีดําคือสวนของสเปกตรัมรังสีอาทิตยที่ถูกดูดกลืนโดยไอน้ํา
(H2O) คารบอนไดออกไซด (CO2) ออกซิเจน (O2) และโอโซน (O3) (ดัดแปลงจาก
Iqbal, 1983)

เครื่องวัดรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยคือไพราโนมิเตอรซึ่งครอบดวยตัวกรอง
รังสีที่ยอมใหรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น 0.78-3.0 ไมครอนผาน เนื่องจากรังสีอาทิตยที่
ความยาวคลื่นมากกวา 2.8 ไมครอนมีปริมาณนอยมาก ดังนั้นเครื่องวัดรังสีอินฟราเรดใกลจาก
ดวงอาทิตยจึงมักใชตัวกรองรังสีที่ยอมใหรังสีอินฟราเรดจากดวงอาทิตยผานไดถึงความยาว
คลื่น 2.8 ไมครอน ตัวอยางเชนเครื่องวัดรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยที่ผลิตโดยบริษัท
เอพพลีย (Eppley) (รูปที่ 14.2) จะใชตัวกรองรังสีซึ่งยอมใหรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น
0.695-2.8 ไมครอนผาน

518
519

รูปที่ 14.2 เครื่องวัดรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยที่ผลิตโดยบริษัทเอพพลีย ซึ่งติดตั้งใช


งานที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

กรณี ที่ ต อ งการวั ด รั ง สี ก ระจายในช ว งความยาวคลื่ น อิ น ฟราเรดใกล จ ะต อ งติ ด ตั้ ง


วงแหวนหรือลูกบอลบังรังสีตรง ดังแสดงในรูปที่ 14.3

519
520

เครื่องวัดรังสีอินฟราเรดใกล

รูปที่ 14.3 เครื่องวัดรังสีรังสีอินฟราเรดใกล ที่ติดตั้งลูกบอลบังรังสีตรง ซึ่งใชงานที่สถานีวัด


รังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม

14.2 รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
เราสามารถคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
บนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีที่ระยะทางเฉลี่ยระหวางโลกกับดวงอาทิตยได โดยการ
อินทิเกรตคาสเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกในชวงความยาวคลื่น 0.78-3.0 ไมครอน
ซึ่งจะไดคาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล ( ISC, NIR ) เทากับ 706
วั ต ต ต อ ตารางเมตร หรื อ 381.6 กิ โ ลจู ล ต อ ตารางเมตรต อ ชั่ ว โมง สํ า หรั บ ความเข ม รั ง สี
อินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับเมื่อโลกอยูหางจาก
ดวงอาทิตยเปนระยะทางตางๆ สามารถคํานวณไดจากสมการ

I 
0, NIR  E 0 ISC , NIR cos z (14.1)

520
521

เมื่อ I
0, NIR คือ ความเขมรังสีอินฟราเรดใกลนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับ
(วัตตตอตารางเมตร)
SC , NIR คือ คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (วัตตตอ

I

ตารางเมตร)
E 0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวง-
อาทิตย (-)
 z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

14.3 แบบจําลองสําหรับคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยที่
พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ
ในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ ปริมาณของรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยที่ไดรับ
จะมีค าสู ง สุ ด เมื่ อเทีย บกั บ สภาพทอ งฟ า แบบอื่ น ๆ ปริ ม าณดั ง กล าวจะขึ้ น กั บ ตํ าแหน ง ของ
ดวงอาทิตย สมบัติและปริมาณของฝุนละออง ปริมาณไอน้ํา และมวลอากาศ รุงนภา รสภิรมย
(2553) ไดนําขอมูลรังสีอินฟราเรดใกลที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐมและสงขลา
พรอมทั้งขอมูลปริมาณไอน้ําและฝุนละอองที่วัดที่สถานีเดียวกันมาทําการวิเคราะห และเสนอ
แบบจําลองแบบกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกลในสภาพทองฟา
ปราศจากเมฆดังนี้

I  a1
NIR  a 0 ISC , NIR E 0 (cos  z ) exp(a 2  a 3 w  a 4 AOD) m a (14.2)

เมื่อ I
NIR คื อ ความเข ม รั ง สี อิ น ฟราเรดใกล ใ นสภาพท อ งฟ า ปราศจากเมฆ (วั ต ต ต อ
ตารางเมตร)
SC , NIR คื อ ค า คงตั ว รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น รั ง สี อิ น ฟราเรดใกล (วั ต ต ต อ
I

ตารางเมตร)
E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวง-
อาทิตย (-)
z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)

521
522

AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)


w คือ ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (เซนติเมตร)
ma คือ มวลอากาศ
a 0 , a 1 , a 2 , a 3 และ a 4 คือ คาคงที่เอมไพริคัล

จากการฟตแบบจําลองในสมการ (14.2) ดวยขอมูล 4 สถานี จะได a 0  0.67,


a1  1.47 , a 2  0.23 , a 3  0.03 และ a 4  0.16

14.4 อัตราสวนของรังสีอินฟราเรดใกลตอรังสีรวมที่พื้นผิวโลก
รุงนภา รสภิรมย (2553) ไดทําการศึกษาอัตราสวนของรังสีอินฟราเรดใกลตอรังสีรวม
รายชั่วโมงโดยใชขอมูลความเขมรังสีอินฟราเรดใกลและรังสีรวมที่ทําการวัดที่สถานีเชียงใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา โดยแบงสภาพทองฟาเปน 3 แบบ ไดแก ทองฟาปราศจาก
เมฆ (clear sky) ทองฟามีเมฆบางสวน (partly cloudy sky) และทองฟาปกคลุมดวยเมฆทั้งหมด
(overcast sky) และกรณีที่รวมขอมูลของทองฟาทั้ง 3 แบบ ผลที่ไดแสดงไวในตารางที่ 14.1
จากตารางที่ 14.1 จะเห็ น ว า อัต ราส ว นของรัง สี อิน ฟราเรดใกล ต อรั ง สี รวมมีค า อยู
ในชวง 0.45-0.51 จากการศึกษาในลักษณะเดียวกันที่ประเทศบราซิลพบวาอัตราสวนดังกลาวมี
คาอยูระหวาง 0.41-0.47 (Escobedo et al., 2009; Escobedo et al., 2011)

522
523

ตารางที่ 14.1 อัตราสวนของรังสีอินฟราเรดใกลตอรังสีรวมจากสถานีวัดในประเทศไทย


(รุงนภา รสภิรมย, 2553)

อัตราสวนของรังสีอินฟราเรดใกลตอรังสีรวม
สภาพทองฟา
เชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม สงขลา
ทองฟาปราศจากเมฆ 0.485 0.456 0.459 0.444
ทองฟามีเมฆบางสวน 0.509 0.488 0.486 0.473
ทองฟาปกคลุมดวยเมฆ 0.494 0.485 0.494 0.473
ทั้งหมด
รวมทองฟาทุกแบบ 0.499 0.485 0.483 0.463

คาอัตราสวนที่แตกตางกันสืบเนื่องมาจากสเปกตรัมรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่น
ของรั ง สี ร วมและในช ว งความยาวคลื่ น รั ง สี อิ น ฟราเรดใกล ถู ก ดู ด กลื น และกระเจิ ง โดย
องคประกอบตางๆ ของบรรยากาศในสัดสวนที่แตกตางกัน และองคประกอบดังกลาวมีความ
แตกตางกันตามสถานที่และสภาพทองฟา

14.5 แบบจําลองเชิงฟสิกสสําหรับคํานวณรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยที่
พื้นผิวโลกจากขอมูลภาพถายดาวเทียม
ทํ า นองเดี ย วกั บ รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น กว า ง รั ง สี อิ น ฟราเรดใกล จ าก
ดวงอาทิ ต ย ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ลจากเมฆมากที่ สุ ด และเมฆสามารถบั น ทึ ก ได จ ากดาวเที ย ม
อุตุนิยมวิทยา ดังนั้นเสริม จันทรฉายและรุงรัตน วัดตาล (2556) จึงไดพัฒนาแบบจําลองสําหรับ
คํานวณรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม เนื่องจากเมฆมีการ
เปลี่ยนแปลงขนาด รูปราง และตําแหนงตลอดเวลา ทําใหการคํานวณรังสีอินฟราเรดใกลราย
ชั่วโมงจากขอมูลภาพถายดาวเทียมมีความคลาดเคลื่อนมาก ดังนั้นเสริม จันทรฉาย และรุงรัตน
วัดตาล (2556) จึงเสนอแบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีอินฟราเรดใกลรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน
ซึ่งจะมีความคลาดเคลื่อนนอยลง โดยตัวแปรทุกตัวเปนคารายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน และผลที่ได
จะเปนขอมูลเชิงภูมิอากาศของรังสีอินฟราเรดใกล ซึ่งสามารถใชในงานออกแบบอุปกรณตางๆ

523
524

ที่ ใช ประโยชน จากรั งสี อิ นฟราเรดใกล ได แบบจํ าลองดั งกล าวจะแบ งเป น 2 ส วน ได แก ส วนที่ 1
เปนแบบจําลองสําหรับหารังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่ดาวเทียมไดรับ และสวนที่ 2
สําหรับหารังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยที่ตกกระทบพื้นโลก โดยสวนที่ 1 จะเหมือนกับ
กรณีของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางในหัวขอ 6.4.2.2 สําหรับสวนที่ 2 จะพิจารณา
การดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอาทิตยขององคประกอบตางๆ ของบรรยากาศโลก ตามแผนภูมิ
ในรูปที่ 14.4

ดาวเทียม

 A  aer
1
1   A  aer

 cl  cl  cl

A  aer
บรรยากาศ
 w   g   aer
 w   g   aer  w   g   aer
 w   g   aer  w   g   aer

(1   A  aer )(1   w   g   aer   cl )3  (1   A  aer )(1   w   g   aer   cl )5 


(1   A  aer )(1   w   g   aer   cl )
2
 G ( A  aer ) G ( A  aer ) 2

G

รังสีอินฟราเรดใกลที่ตกกระทบพื้นผิวโลก ( NIR )

รูปที่ 14.4 แผนภูมิแสดงการดูดกลืนและการกระเจิงรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยใน


บรรยากาศและสวนที่ตกกระทบพื้นผิวโลก

จากรูปที่ 14.4 เราจะพิจารณาวารังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศ


1 หนวย เดินทางผานบรรยากาศมายังพื้นผิวโลก รังสีดังกลาวจะถูกกระเจิงโดยเมฆ โมเลกุล
อากาศและฝุนละออง ซึ่งเมฆและโมเลกุลอากาศจะใชสัมประสิทธิ์การกระเจิงรวมกันเปน  A
และสัม ประสิ ทธิ์ ก ารกระเจิ ง ของฝุนละอองเป น  aer สว นที่เ หลือ (1   A   aer ) จะถู ก
ดูดกลืนดวยไอน้ํา ฝุนละออง กาซตางๆ และเมฆ ดวยสัมประสิทธิ์การดูดกลืน  w ,  aer ,  g
และ  cl ตามลําดับ จะเห็นวาไมมีการดูดกลืนของโอโซน ทั้งนี้เพราะในชวงความยาวคลื่น

524
525

รังสีอินฟราเรดใกล ไมมีการดูดกลืนของโอโซน แตรังสีอินฟราเรดใกลจะถูกดูดกลืนโดยเมฆ


แทน รังสีที่เดินทางมาถึงพื้นผิวโลกจะเทากับ (1  A  aer )(1   w   aer   g   cl ) ที่
พื้นผิวโลกรังสีดังกลาวจะถูกกระเจิงกลับขึ้นไปดวยสัมประสิทธิ์การกระเจิง  G โดยระหวาง
ทางจะเกิดการกระเจิงและการดูดกลืนจากองคประกอบตางๆ ของบรรยากาศ เชนเดียวกับขาลง
โดยรังสีอินฟราเรดใกลที่ตกกระทบพื้นผิวโลกจะประกอบดวยรังสีอาทิตยที่ตกกระทบครั้งแรก
ซึ่งเทากับ (1  A  aer )(1   w   aer   g   cl ) และรังสีที่เกิดจากการกระเจิงกลับไปมา
ระหวางบรรยากาศและพื้นผิวโลก ซึ่งสามารถเขียนเปนผลรวมไดดังนี้

(1   A  aer )(1   w   aer   g   cl )3 ( A  aer )G  (1   A  aer ) 


(1   w  aer  g  cl )5 (A  aer ) 2 2G  ..........

เนื่องจากรังสี อินฟราเรดใกลที่ตกกระทบสวนบนสุดของบรรยากาศมีคา 1 หนว ย


ดังนั้นรังสีอินฟราเรดใกลที่มาถึงพื้นผิวโลกครั้งแรกรวมกับรังสีอินฟราเรดใกลที่เกิดจากการ
กระเจิงกลับไปมาระหวางบรรยากาศกับพื้นผิวโลก คือสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอินฟราเรด
ใกลของบรรยากาศ ( NIR ) หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้

 NIR  (1  A  aer )(1   w   aer   g   cl )


 (1  A  aer )(1   w   aer   g   cl )3 (A  aer )G
 (1  A  aer )(1   w   aer   g   cl )5 (A  aer ) 2 G2  ......

(1  A  aer ) 
  [(1   w  aer   g   cl )2 (A  aer )G ] n
(1   w   aer   cl )(A  aer )G n 1

(14.3)
(1  A  aer )(1   w   aer   g   cl )
หรือ  NIR  (14.4)
1  (A  aer )(1   w   aer   g   cl ) 2 G

เมื่อ  NIR คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล


(-)
A คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความ

525
526

ยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (-)
 aer คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรดใกล (-)
G คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลกในชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรดใกล (-)
w คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรดใกล (-)
 aer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรดใกล (-)
g คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาวคลื่นรังสี
อินฟราเรดใกล (-)

เราสามารถคํานวณคา aer ,  w ,  aer ,  g ,  cl และ  G จากขอมูลอุตุนิยมวิทยาและ


ขอมูลดาวเทียม และสามารถคํานวณคา  A จากค า A ซึ่ งหาไดจากแบบจําลองส วนที่ 1
เชนเดียวกับกรณีของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง โดยรายละเอียดของการคํานวณคา
สัมประสิทธิ์ทั้งหมดจะกลาวภายหลัง ดังนั้นเราจึงสามารถคํานวณคา NIR โดยอาศัยสมการ
(14.4) ได หลังจากนั้นเราจะคํานวณรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย (I NIR ) โดยใชคา NIR
และรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (I0, NIR ) โดยอาศัยสมการ

I NIR   NIR I 0, NIR (14.5)

เนื่องจากแบบจําลองนี้มีวัตถุประสงคเพื่อคํานวณคารังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย
รายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน ดังนั้นคาสัมประสิทธิ์และตัวแปรทุกตัวในแบบจําลองจึงเปนคาราย
ชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน โดยคาสัมประสิทธิ์ที่ใชในแบบจําลองสวนที่ 1 และสวนที่ 2 คํานวณได
ดังนี้

526
527

ก) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา
- ชวงความยาวคลื่นดาวเทียม
2
I 0  w d
w  1 
1
2
(14.6)
 I0 d
1

- ชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล
3.0 m
 I0  w d
w  1 
0.78 m
3.0 m
(14.7)
 I0 d
0.78 m

เมื่อ I
0 คือ สเปกตรัมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก (วัตตตอตารางเมตรตอไมครอน)
 w คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของไอน้ํา (-)
 1 และ  2 คาเริ่มตนและคาสุดทายของชวงความยาวคลื่นของดาวเทียม (ไมครอน)
คา  w สามารถคํานวณไดจากสมการของเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ (3.25))

ข) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ
- ชวงความยาวคลื่นดาวเทียม
2

I 0   g d 
g  1 
1
2
(14.8)
 I0 d
1

- ชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล

3.0 m
 I0 g d
g  1 
0.78 m
3.0 m
(14.9)
 I0 d
0.78 m

527
528

โดยที่  g คือ สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยที่ความยาวคลื่น  ของกาซตางๆ ซึ่งสามารถ


คํานวณไดจากสูตรของเลคเนอร (Leckner, 1978) (สมการ (3.48))

ค) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนและสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุน ละออง
- ชวงความยาวคลื่นดาวเทียม

aer  (1  SSA)Daer (14.10)


aer  SSA  Daer (14.11)

เมื่อ aer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่น


ดาวเทียม (-)
aer คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)
SSA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง (-)
D aer คือ สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละออง (-)

คา Daer สามารถคํานวณจากคาทัศนวิสัยโดยใชสมการ (6.25)

- ชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล
เนื่องจากคาสัมประสิทธิ์การดูดกลืนและสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยขึ้นกับ
ความยาวคลื่นคอนขางนอย (Liou, 2002) ดังนั้นจึงสามารถอนุโลมวา

 aer  aer (14.12)


และ aer  aer (14.13)

เมื่อ  aer คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด


ใกล (-)
aer คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด
ใกล (-)

528
529

ง) สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยของเมฆ
คาสัมประสิทธิ์นี้สามารถคํานวณโดยใชสมการที่เสนอโดย เวยเมาทและ เลอ-
มารแชล (Weymouth and Le Marshall, 2001) ดังนี้

 cl  0.0377EA (14.14)

เมื่อ  cl คือ สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยของเมฆ (-)


EA คือ สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศและพื้นผิวโลกซึ่งได
จากขอมูลภาพถายดาวเทียม (-)

จ) สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความยาว
คลื่นรังสีอินฟราเรดใกล ( A )
ในการหาสมการสําหรับคํานวณสัมประสิทธิ์นี้ จะเริ่มตนจากการจัดรูปสมการ (14.4)
ใหมดังนี้

(1  aer )(1   w   aer   g   cl )   NIR (1  G aer )(1   w   aer   g   cl ) 2


A 
1   w   aer   g   cl   NIR G (1   w   aer   g   cl ) 2

(14.15)

จากนั้นจะหาคา  A ที่สถานีที่มีการวัดรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย โดยหาคา


 NIR จากสมการ

I NIR
 NIR  (14.16)
I0, NIR

เมื่อ I NIR คือ รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยรายชัว่ โมงเฉลี่ยตอเดือน (จูลตอตารางเมตร


ตอชั่วโมง)

529
530

I0, NIR คือ รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายชั่วโมงเฉลี่ยตอ


เดือน (จูลตอตารางเมตรตอชั่วโมง)

ค า I NIR จะได จ ากข อ มู ล จากการวั ด โดยในกรณี นี้ จ ะใช ข อ มู ล ที่ ส ถานี เ ชี ย งใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา สําหรับคาสัมประสิทธิ์อื่นๆ ในสมการ (14.15) จะหาที่
สถานีดังกลาว หลังจากนั้นจะนําคา  A ที่ไดจากสมการ (14.15) ไปเขียนกราฟกับคา A ซึ่ง
เปนคาในชวงความยาวคลื่นดาวเทียมซึ่งหา ณ ตําแหนงสถานีวัดโดยใชสมการ (6.12) โดยใช
คาตัวแปรทุกตัวเปนคารายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือน กราฟที่ไดกรณีของดาวเทียม MTSAT-1R
แสดงดังรูป
1.0

0.9

0.8 A = 0.8331'A - 0.0183


R = 0.72
0.7

0.6

0.5
A

0.4

0.3

0.2

0.1

0.0
0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
'A

รูปที่ 14.5 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางสัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยในชวงความ


ยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (A ) กับชวงความยาวคลื่นดาวเทียม (A )

ในขั้นตอนสุดทายจะฟตกราฟในรูป 14.5 ซึ่งจะไดความสัมพันธระหวาง A กับ A


ดังสมการ
A  0.8331 A  0.0183 (14.17)

530
531

หลังจากไดคาสัมประสิทธิ์ทุกตัวแลว เราจะสามารถคํานวณคารังสีอินฟราเรดใกลจาก
ดวงอาทิตย โดยอาศัยสมการ (14.5) ได เสริม จันทรฉายและรุงรัตน วัดตาล (2556) ไดทดสอบ
สมรรถนะของแบบจําลอง พบวาผลการคํานวณที่ไดมีความแตกตางจากคาที่ไดจากการวัด
เทากับ 9.8 %

14.6 แบบจําลองกึง่ เอมไพริคัลสําหรับคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกลจากดวง


อาทิตยในสภาพทองฟาทั่วไป
เนื่ อ งจากแบบจํ า ลองเชิ ง ฟสิก สที่ ก ล าวไปแลว ในหัว ขอที่ 14.5 ถึง แมจ ะมี ขอ ดี คื อ
สามารถใชไดทั่วไปทุกพื้นที่ แตใชงานคอนขางยุงยาก ดังนั้น นพมาศ ประทุมสูตร (2556) จึง
ไดเสนอแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลสําหรับคํานวณรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย ในการ
พัฒนาแบบจําลองดังกลาวจะใชขอมูลความเขมรังสีอินฟราเรดใกลซึ่งวัดที่สถานีเชียงใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา พรอมทั้งขอมูลประกอบไดแก ปริมาณไอน้ํา คาความลึก
เชิงแสงของฝุนละออง และดัชนีเมฆ โดยขอมูลไอน้ําและคาความลึกเชิงแสงของฝุนละอองจะ
ไดจากการวัดดวยเครื่องซันโฟโตมิเตอรที่สถานีดังกลาว สําหรับขอมูลดัชนีเมฆจะหาจาก
ขอมูลดาวเทียม MTSAT-1R โดยแบบจําลองที่ไดสามารถเขียนในรูปสมการไดดังนี้

NIR  b 0 Isc, NIR E 0 cos  z exp ( b1w  b 2 AOD)  m a (1  b 3n ) (14.18)


I 

เมื่อ I
NIR คือ ความเขมรังสีอินฟราเรดใกลในสภาพทองฟาทั่วไป (วัตตตอตาราง
เมตร)
I
sc, NIR คือ คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (วัตตตอ
ตารางเมตร)
n คือ ดัชนีเมฆ (-)
E0 คือ แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับ
ดวงอาทิตย (-)
AOD คือ ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)
w คือ ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (เซนติเมตร)

531
532

z คือ มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)


b 0 , b1 , b 2 , b 3 คือ คาคงที่เอมไพริคัล

จากการฟ ต สมการ (14.18) ด ว ยข อ มู ล จากการวั ด ที่ ส ถานี ทั้ ง 4 แห ง จะได ค า
b0 = 0.811526, b1 = 0.028518, b2 = 0.126902 และ b3 = 0.197314
เมื่อทําการทดสอบสมรรถนะโดยนําแบบจําลองไปคํานวณคารังสีอินฟราเรดใกลที่
สถานีวัด 4 แหง โดยใชขอมูลคนละชวงกับที่ใชในการสรางแบบจําลอง พบวาผลการคํานวณ
แตกตางจากคาจากการวัด (RMSD) เทากับ 11.9%

14.7 สรุป
บทนี้กลาวถึงรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย ซึ่งมีความยาวคลื่นอยูในชวง 0.78-3.0
ไมครอน และมี พ ลั ง งานประมาณครึ่ ง หนึ่ง ของพลั ง งานจากรั ง สี อ าทิ ต ย ทุ ก ความยาวคลื่ น
รวมกัน โดยเราสามารถหาปริมาณของรังสีอินฟราเรดใกลโดยอาศัยการวัดดวยเครื่องวัดรังสี
รวมที่ติดตัวกรองรังสี ซึ่งยอมใหรังสีอินฟราเรดใกลผานเขาไปยังตัวรับรังสี สําหรับในดานการ
คํานวณเราสามารถหาความเขมรังสีอินฟราเรดใกลนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับ
จากคาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล แฟคเตอรสําหรับแกผลจาก
การแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย และมุมเซนิธของดวงอาทิตย กรณีของรังสี
อิ น ฟราเรดใกล ที่ พื้ น ผิ ว โลกในสภาพท อ งฟ า ปราศจากเมฆจะขึ้ น กั บ รั ง สี อิ น ฟราเรดนอก
บรรยากาศโลก ปริมาณไอน้ํา ความลึกเชิงแสงของฝุนละออง และมวลอากาศ สําหรับกรณีของ
ทองฟามีเมฆ เราสามารถคํานวณไดโดยอาศัยขอมูลภาพถายดาวเทียม

532
533

แบบฝกหัด

1. จงคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกลในสภาพทองฟาปราศจากเมฆที่สถานีเชียงใหม
(18.78 N, 98.98 E) ในวันที่ 10 กุมภาพันธ เวลา 14:00 น. ตามเวลามาตรฐานประเทศไทย
โดยใชแบบจําลองกึ่งเอมไพริคัล ถาขณะเวลานั้นบรรยากาศโลกมีปริมาณไอน้ําเทากับ 2.5
เซนติเมตร ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ 500 นาโนเมตร เทากับ 0.5 และคาดัชนีเมฆ
เทากับ 0.2
คําตอบ 330.9 วัตตตอตารางเมตร

2. จากโจทยในขอ 1 จงคํานวณสัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอินฟราเรดใกลของบรรยากาศใน
วันและเวลาดังกลาว
คําตอบ 0.59

3. จงคํานวณความเขมรังสีอินฟราเรดใกลที่สถานีนครปฐม (13.82N, 100.04E) โดยใช


แบบจําลองกึ่งเอมไพริคัลในวันที่ 21 มิถุนายน เวลา 12:00 น. ตามเวลาดวงอาทิตย ถา
ขณะนั้นทองฟามีคาดัชนีเมฆเทากับ 0.2 ปริมาณไอน้ําเทากับ 4 เซนติเมตร และความลึกเชิง
แสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร เทากับ 0.5
คําตอบ 438.2 วัตตตอตารางเมตร

4. อัตราสวนระหวางความเขมรังสีอินฟราเรดใกลตอความเขมรังสีอาทิตยในชวงความยาว
คลื่นกวางในประเทศไทยขึ้นกับฤดูกาลหรือไม จงอภิปราย

5. เมื่อใชเครื่องวัดรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยซึ่งใชแผนกรองรังสีที่ยอมใหรังสีอาทิตย
ในชวงความยาวคลื่น 0.78-3.0 ไมครอนผาน คาที่วัดไดจะมีความคลาดเคลื่อนซึ่งเปนผลมา
จากรังสีอินฟราเรดที่แผจากทองฟาหรือไม จงอภิปราย

533
534

รายการสัญลักษณ

I
NIR รังสีอินฟราเรดที่ขณะเวลาหนึ่งในสภาพทองฟาปราศจากเมฆ (วัตตตอตารางเมตร)
sc, NIR คาคงตัวรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (วัตตตอตารางเมตร)
I

E0 แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย (-)
z มุมเซนิธของดวงอาทิตย (องศา)
AOD ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร (-)
w ปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ (เซนติเมตร)
ma มวลอากาศ (-)
n ดัชนีเมฆ (-)
R สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (-)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (%)
 NIR สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (-)
 A สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่น
รังสีอินฟราเรดใกล (-)
A สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและโมเลกุลอากาศในชวงความยาวคลื่น
ดาวเทียม (-)
 aer สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด
ใกล (-)
 G สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพืน ้ ผิวโลกในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด
ใกล (-)
 aer สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละอองในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด
ใกล (-)
 cl สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของเมฆในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (-)
 g สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ ในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรด
ใกล (-)
 w สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ําในชวงความยาวคลื่นรังสีอินฟราเรดใกล (-)

534
535

เอกสารอางอิง

นพมาศ ประทุมสูตร, 2556. การศึกษาความเขมรังสีอินฟราเรดจากดวงอาทิตยในประเทศไทย


จากขอมูลภาคพื้นดินและขอมูลภาพถายดาวเทียม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รุงนภา รสภิรมย, 2553. การศึกษารังสีอินฟราเรดจากดวงอาทิตยในประเทศไทย. วิทยานิพนธ
ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เสริม จันทรฉาย, รุงรัตน วัดตาล, 2556. การศึกษารังสีอินฟราเรดจากดวงอาทิตยโดยใชขอมูล
ภาพถ า ยดาวเที ย ม. รายงานวิ จั ย , สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร
จังหวัดนครปฐม.
Escobedo, J.F., Gomes, E.N., Oliveire, A.P., Soares, J., 2009. Modeling hourly and daily of
UV, PAR and NIR to global solar radiation under variation sky conditions at
Botucatu, Brazil. Applied Energy 86, 299 – 309.
Escobedo, J.F., Gomes, E.N., Oliveire, A.P., Soares, J., 2011. Ratio of UV, PAR and NIR
components to global solar radiation measured at Botucatu site in Brazil.
Renewable Energy 36, 169-178.
Iqbal, M., 1983. An Introduction to Solar Radiation. Academic Press, New York.
ISO, 2007. Optics and photonics - Spectral bands (ISO 20473). International Organization
for Standardization. Geneva, Switzerland.
Leckner, B., 1978. The spectral distribution of solar radiation at the earth’s surface-element
of a model. Solar Energy 20 (2), 143-150.
Liou, K.N., 2002. An Introduction to Atmospheric Radiation. Academic Press, New York.
Petty, G.W., 2004. A First Course in Atmospheric Radiation. Sundog Publishing, Madison,
Wisconsin.
Weymouth, G.T., Le Marshall, J.F., 2001. Estimation of daily surface solar exposure using
GMS-5 stretched-VISSR observations: the system and basic results. Australian
Meteorological Magazine 50, 263-278.

535
536
สวนที่ 4
รังสีอาทิตยในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน

ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจคอนขางรวดเร็ว
โดยพลัง งานเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ของการพัฒ นาดั ง กล าว ประเทศเหล า นี้ พ ยายามหาพลั ง งาน
ทางเลือก เพื่อทดแทนพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งมีราคาแพงและกอใหเกิดมลพิษตอ
สิ่งแวดลอม โดยพลังงานรังสีอาทิตยนับเปนพลังงานทางเลือกที่สําคัญ ทั้งนี้เพราะประเทศ
เหล านี้ ตั้ ง อยู ใ นเขตศู น ย สูต รซึ่ ง ได รั บรั ง สีอ าทิ ต ย ค อนข า งสู ง เนื่ อ งจากในการพั ฒ นาและ
ประยุกตใชเทคโนโลยีพลังงานรังสีอาทิตยจําเปนตองมีองคความรูเกี่ยวกับรังสีอาทิตย ดังนั้น
ในสวนนี้จะกลาวถึงรังสีอาทิตยในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบาน ตามรายละเอียดดังนี้

537
538
บทที่ 15
รังสีอาทิตยในประเทศไทย

15.1 การกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวัน
ความรูเกี่ยวกับการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมจะเปนประโยชนตอการเลือกที่ตั้ง
ของระบบพลังงานรังสีอาทิตยที่ใชรังสีรวมเปนแหลงพลังงาน เชน โรงไฟฟาพลังงานรังสี
อาทิตยแบบใชเซลลสุริยะ (solar cell power plant) เนื่องจากรังสีอาทิตยมีการแปรคาตามเวลา
ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงตําแหนงของดวงอาทิตยบนทองฟา และสภาวะทางอุตุนิยมวิทยา
ดังนั้นโดยทั่วไปจะแสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีอาทิตยซึ่งเปนคารังสีรายวันเฉลี่ยตอ
เดือนหรือเฉลี่ยตอปในรูปของแผนที่รังสีอาทิตย
ในชวง 30 ปที่ผานมานักวิจัยตางๆ ไดจัดทําแผนที่รังสีรวมของประเทศไทยหลายครั้ง
(Exell and Saricali, 1976; Suwantragul et al., 1984; Janjai et al., 2005) เนื่ อ งจากงานวิ จั ย
ดังกลาวดําเนินการมานานแลว จึงเปนขอมูลคอนขางเกา ดังนั้นกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรักษพลังงาน (พพ.) จึงไดรวมกับมหาวิทยาลัยศิลปากรจัดทําแผนที่รังสีอาทิตยขึ้นใหม
โดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียมจํานวน 15 ป (ค.ศ. 1995-2009) และใชเทคนิคที่มีความละเอียด
ถูกตองกวาแผนที่ฉบับเกาๆ ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.1 และ 15.2 (Janjai et al., 2013a)

539
540

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม

กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน
รูปที่ 15.1 แผนที่รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2013a)

540
541

เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

รูปที่ 15.2 แผนที่รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอป (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2013a)

541
542

จากรูปที่ 15.1 จะเห็นวาในเดือนมกราคมรังสีรวมมีคาสูงในภาคใตและคอยๆ ลดลง


เมื่อละติจูดเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะในเดือนมกราคมการเดินทางของดวงอาทิตยอยูใตเสนศูนยสูตร
ทองฟา ทําใหพื้นที่ในบริเวณละติจูดต่ําไดรับรังสีอาทิตยมากกวาบริเวณละติจูดสูง นอกจากนี้
ในชวงเวลาดังกลาวทองฟาสวนใหญมีเมฆนอยเพราะเปนชวงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทํา
ใหเมฆมีบทบาทนอยตอรังสีอาทิตย
กรณีของเดือนกุมภาพันธ รังสีอาทิตยจะเพิ่มขึ้นจากภาคใตไปสูภาคเหนือโดยมีระดับ
ความเขมเพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม ทั้งนี้เพราะทางเดินของดวงอาทิตยจะเคลื่อนที่เขาใกล
ศู น ย สู ต รท อ งฟ า มากขึ้ น เนื่ อ งจากเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ เ ป น เวลาสิ้ น สุ ด ของลมมรสุ ม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหปริมาณเมฆและฝนในภาคใตลดลง ความเขมรังสีรวมในภาคใตจึง
เพิ่มขึ้น
รังสีรวมในพื้นที่สวนใหญของประเทศยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากเดือนกุมภาพันธ
ถึ งค าสู งสุ ดในเดื อนเมษายนตามการเคลื่ อนที่ ของทางเดิ นดวงอาทิ ตย ซึ่ งจะอยู ที่ ตํ าแหน งศู นย สูตร
ทองฟาในปลายเดือนมีนาคม จากนั้นเคลื่อนขึ้นไปเหนือเสนศูนยสูตรทองฟาในเดือนเมษายน
ทํ า ให รั ง สี อ าทิ ต ย ต อนเที่ ย งวั น ตกกระทบตั้ ง ฉากหรื อ เกื อ บตั้ ง ฉากกั บ พื้ น ที่ ส ว นใหญ ข อง
ประเทศ นอกจากนี้ชวงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนเปนชวงที่ประเทศไทยปลอดจากมรสุม
ทองฟาสวนใหญมีเมฆปกคลุมนอย รังสีอาทิตยที่ไดรับจึงไดรับผลกระทบจากเมฆนอย
โดยทั่วไปลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะเริ่มพัดจากทะเลอันดามันเขาสูประเทศไทย
ประมาณกลางเดื อ นพฤษภาคม ซึ่ ง ทํ า ให เ กิ ด เมฆและฝน โดยมรสุ ม ดั ง กล า วจะพั ด จนถึ ง
กลางเดือนตุลาคม ดังนั้นตั้งแตเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมรังสีรวมจะคอยๆ ลดลงใน
ทุกภาคของประเทศ ถึงแมรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกในชวงเวลานี้จะมีคาสูงในทุกภาค
ก็ตาม
ประมาณกลางเดือนตุลาคมลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะเริ่มพัดเขาสูประเทศไทย
ลมมรสุมดังกลาวจะนําอากาศเย็นและแหงเขามาปกคลุมภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคกลาง ทําใหทองฟาในภาคดังกลาวแจมใส แตระดับของรังสีอาทิตยทั้ง 3 ภาคยังคง
ลดลงตั้งแตเดือนตุลาคมจนถึงเดือนธันวาคม ทั้งนี้เนื่องจากทางเดินของดวงอาทิตย เคลื่อนที่
จากเสนศูนยสูตรทองฟาไปทางใต ทําใหรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนว
ระดับมีคาลดลง ซึ่งเปนผลใหรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกลดลงดวย

542
543

กรณีของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอป (รูปที่ 15.2) จะเห็นวาบริเวณที่มีคาสูง (18-19 เมกะจูล


ตอตารางเมตรตอวัน) จะอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางและตอนกลางของภาคกลาง
นอกจากนี้ยังพบพื้นที่ที่มีคารังสีรวมสูงเปนบริเวณแคบตามแนวชายฝงทะเล สําหรับบริเวณที่มี
คารังสีรวมคอนขางต่ําอยูบริเวณภูเขาในภาคเหนือ ดานตะวันตกและตะวันออกของภาคกลาง
บริเวณรอยตอระหวางภาคเหนือกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและพื้นที่บางสวนของ
ภาคใต

15.2 การกระจายตามพื้นที่ของรังสีตรง
ขอมูลรังสีตรงมีความสําคัญตองานดานระบบรวมแสง ทั้งนี้เพราะระบบดังกลาวใช
รัง สีตรงเปนแหล งพลังงาน เนื่องจากรังสีตรงเป นองค ประกอบหนึ่ งของรัง สีรวมซึ่ง มีการ
เปลี่ยนแปลงตามเวลาและสถานที่ ดังนั้นรังสีตรงจึงมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาและสถานที่ดวย
ในการติดตั้งระบบพลังงานรังสีอาทิตยแบบรวมแสง เชน ระบบผลิตไฟฟาพลังงานรังสีอาทิตย
เชิงความรอนแบบรวมแสง จําเปนตองเลือกติดตั้งในพื้นที่ซึ่งมีคาความเขมรังสีตรงสูง ในการ
เลือกพื้นที่ดังกลาวจําเปนตองใชแผนที่รังสีตรง
ถึงแมวาการกระจายตามพืน้ ที่ของรังสีตรงจะสามารถหาไดโดยการติดตั้งเครือขาย
เครื่ องวั ดรัง สีตรงในพื้นที่ ที่สนใจ แตวิธีก ารดังกล าวต องเสีย คาใชจายดานเครื่องมือวัดสูง
สําหรับกรณีประเทศไทยมีสถานีวัดรังสีตรงเพียง 9 แหง ซึ่งมีขอมูลไมเพียงพอตอการใชงาน
ดั ง นั้ น จั น ทร ฉ าย (Janjai, 2010) จึ ง ได พั ฒ นาแผนที่ รั ง สี ต รงจากข อ มู ล ภาพถ า ยดาวเที ย ม
MTSAT-1R โดยใชขอมูลในชวงตั้งแตเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2005 จนถึงธันวาคม ค.ศ. 2008
ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.3 - 15.5
จากแผนที่รังสีตรงรายชั่วโมง (รูปที่ 15.3 และ 15.4) จะสังเกตเห็นการแปรคาของรังสี
ตรงรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสีในพื้นที่ทั่วประเทศตั้งแตเชา
จนถึงเย็นในเดือนตางๆ โดยรังสีตรงจะมีคาคอนขางสูงทุกภาค ตั้งแตเวลา 10:00 ถึง 16:00 น.
ในชวงเดือนมกราคมจนถึงเดือนเมษายน ทั้งนี้เพราะชวงเวลาดังกลาวครอบคลุมชวงปลายของ
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (มกราคม - กุมภาพันธ) และชวงเวลาปลอดลมมรสุม (มีนาคม -
เมษายน) ซึ่งทองฟามีเมฆนอยทําใหรังสีตรงมีคาสูง หลังจากนั้นจะเปนชวงฤดูฝน (พฤษภาคม-
ตุลาคม) รังสีตรงจะมีคาลดลง ซึ่งมีสาเหตุมาจากเมฆและฝน สําหรับในชวงเดือนพฤศจิกายน

543
544

ถึงธันวาคม รังสีตรงจะมีคาสูงในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง ทั้งนี้เพราะ


เปนชวงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งทองฟาในบริเวณทั้ง 3 ภาค มีเมฆนอย สวนในภาคใต
รังสีตรงในชวงเวลาดังกลาวจะมีคาต่ําเพราะฤดูฝนในภาคใตยาวนานจนถึงธันวาคม
ถาพิจารณาปริมาณรังสีตรงทั่วประเทศรวมตลอดทั้งป (รูปที่ 15.5) จะเห็นวาบริเวณที่มี
คารังสีตรงสูงสุดจะอยูในบริเวณตอนลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและพื้นที่บางสวนของ
ภาคกลาง สวนภาคใตจะมีคารังสีตรงคอนขางต่ํา

544
545
มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

เมกะจูลตอตารางเมตร
รูปที่ 15.3 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีตรงรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบตั้งฉาก
กับทิศทางของรังสีของเดือนมกราคมถึงมิถุนายน (ดัดแปลงจาก Janjai, 2010)

545
546

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

เมกะจูลตอตารางเมตร
รูปที่ 15.4 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีตรงรายชั่วโมงเฉลี่ยตอเดือนบนระนาบตั้งฉาก
กับทิศทางของรังสีของเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม (ดัดแปลงจาก Janjai, 2010)

546
547

กิโลวัตต-ชั่วโมงตอตารางเมตร
รูปที่ 15.5 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีตรงบนระนาบตั้งฉากกับทิศทางของรังสี
รวมตลอดทั้งป (ดัดแปลงจาก Janjai, 2010)

547
548

15.3 การแปรคาตามเวลาในรอบปของรังสีรวมจากสถานีวัดในจังหวัดตางๆ
ถึงแมวาแผนที่รังสีรวมรายเดือนจะแสดงการแปรคาของรังสีรวมของเดือนตางๆ ใน
รอบป แตจะสังเกตลักษณะการเปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบปไดยาก ดังนั้นจันทรฉายและคณะ
(Janjai et al., 2013b) จึงนําขอมูลที่ไดจากสถานีวัดของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ
พลังงาน (พพ.) จํานวน 36 สถานี ซึ่งภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยศิลปากรไดรวมกับ พพ. จัดตั้งขึ้น
(เสริม จันทรฉาย และคณะ, 2545) มาทําการวิเคราะห โดยพิกัดและชวงเวลาของขอมูลแสดงใน
ตารางที่ 15.1 และผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.6
จากรูปที่ 15.6 จะเห็นวากราฟการแปรคาของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนของสถานี
สวนใหญในภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางจะมีลักษณะคลายกัน กลาวคือ รังสี
รวมจะคอยๆ เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมจนถึงคาสูงสุดในเดือนเมษายน จากนั้นจะคอยๆ ลดลง
จนถึงคาต่ําสุดในเดือนสิงหาคมหรือกันยายน หลังจากนั้นจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงเล็กนอยจนถึง
เดือนธันวาคม ทั้งนี้ยกเวนสถานีซึ่งตั้งอยูในระดับสูงหรือมีลักษณะภูมิอากาศเฉพาะถิ่นเชน
สถานีตาก (ดอยมูเซอ) สถานีแมฮอ งสอนและสถานีแมสะเรียง ซึ่งอยูในปาเขาและมีหมอกมาก
ในฤดูหนาว
สําหรับสถานีสวนใหญในภาคใต จะมีลักษณะการแปรคาของรังสีรวมคลายคลึงกัน
กลาวคือรังสีรวมจะเพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมและมีคาสูงในชวงเดือนกุมภาพันธถึงเมษายน
แลวจึงคอยๆ ลดลงจนถึงคาต่ําสุดในเดือนธันวาคม ถึงแมวารังสีรวมที่ไดจากการวัดและรังสี
รวมที่คํานวณจากขอมูลดาวเทียมจะเปนคาเฉลี่ยจากขอมูลในชวงเวลาที่ตางกัน แตคาสวนใหญ
สอดคลองกันและลักษณะการแปรคาคลายคลึงกัน โดยการแปรคาตามเวลาในรอบปเปนผลมา
จากอิทธิพลของลมมรสุมและการเปลี่ยนแปลงตําแหนงทางเดินดวงอาทิตย ตามที่กลาวไปแลว
ในหัวขอ 15.1

548
549

ตารางที่ 15.1 พิกัดของสถานีและชวงเวลาของขอมูลที่นํามาวิเคราะห

ละติจูด ลองจิจูด ความสูงจากระดับน้ําทะเล


ชื่อสถานี ชวงเวลาของขอมูล
(องศา) (องศา) (เมตร)
ภาคเหนือ
เชียงราย 20.08 99.88 390 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
แมฮอ งสอน 19.43 97.96 260 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
ดอยอินทนนท (แมกลาง) 18.40 98.67 564 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
นาน 18.72 100.75 200 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
เชียงใหม (สันทราย) 18.83 98.88 300 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
แมสะเรียง 18.17 97.93 212 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
แพร 18.06 100.06 161 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
ตาก (ดอยมูเซอ) 16.80 98.90 562 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เลย 17.40 101.00 253 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
หนองคาย 17.87 102.72 174 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
ขอนแกน 16.45 102.78 165 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
นครพนม 16.97 104.73 140 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
สุรินทร 14.88 103.50 146 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
อุบลราชธานี (อุตเุ กษตร) 15.28 105.14 123 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
นครราชสีมา 14.97 102.08 187 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
รอยเอ็ด 16.07 103.00 140 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
ภาคกลาง
พิษณุโลก 16.78 100.27 40 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
เพชรบูรณ 16.43 101.15 114 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
นครสวรรค 15.67 100.12 34 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
ลพบุรี 14.83 100.62 10 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
กรุงเทพฯ 13.75 100.52 2 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
กาญจนบุรี (เมือง) 14.02 99.53 28 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
กาญจนบุรี (ทองผาภูมิ) 14.73 98.63 97 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
สระแกว (อรัญประเทศ) 13.70 102.00 47 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
ตราด 11.77 102.88 2 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012

549
550

ตารางที่ 15.1 (ตอ)


ละติจูด ลองจิจูด ความสูงจากระดับน้ําทะเล
ชื่อสถานี ชวงเวลาของขอมูล
(องศา) (องศา) (เมตร)
ปราจีนบุรี 13.97 101.70 5 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
ชลบุรี 13.37 100.97 1 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
ประจวบคีรีขันธ 11.83 99.83 4 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
ภาคใต
ชุมพร 10.40 99.18 3 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
ระนอง 9.98 98.62 7 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
สุราษฎรธานี (เกาะสมุย) 9.47 100.05 5 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
สุราษฎรธานี (พุนพิน) 9.13 99.15 10 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
ภูเก็ต 8.13 98.30 2 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
ตรัง 7.52 99.62 14 มกราคม, 2005 – ธันวาคม, 2012
สงขลา (หาดใหญ) 6.92 100.43 4 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012
นราธิวาส 6.40 101.82 8 มกราคม, 2003 – ธันวาคม, 2012

550
551

30
30
เชียงราย แมฮองสอน
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25
25
20
20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
ดอยอินทนนท (แมกลาง) นาน
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
เชียงใหม (สันทราย) แมสะเรียง
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

รูปที่ 15.6 การแปรคาตามเวลาในรอบปของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( H ) ของขอมูลจาก


สถานีวัดของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (เสนแนวตั้งแสดง
การแปรคาของรังสีรวมจากคาเฉลี่ย  SD เมื่อ SD เปนคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน)
(ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2013b)

551
552

30 30
แพร ตาก (ดอยมูเซอร)
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
ขอนแกน หนองคาย
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
สุรินทร นครพนม
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
รอยเอ็ด เลย
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

รูปที่ 15.6 (ตอ)

552
553

30 30
นครราชสีมา
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25 อุบลราชธานี (อุตุเกษตร)
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
พิษณุโลก เพชรบูรณ
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
กรุงเทพฯ นครสวรรค
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
ลพบุรี กาญจนบุรี (เมือง)
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

รูปที่ 15.6 (ตอ)

553
554

30 30
กาญจนบุรี (ทองผาภูมิ) ตราด
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
สระแกว(อรัญประเทศ) ปราจีนบุรี
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
ชลบุรี ประจวบคีรีขันธ
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
ชุมพร ระนอง
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

รูปที่ 15.6 (ตอ)

554
555

30 30
สุราษฎรธานี (เกาะสมุย) สุราษฎรธานี (พุนพิน)
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0
0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
ภูเก็ต ตรัง
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
สงขลา (หาดใหญ) นราธิวาส
H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

H (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

รูปที่ 15.6 (ตอ)

555
556

15.4 รังสีกระจาย
รังสีกระจายเกิดจากการกระเจิงรังสีอาทิตยที่ผานบรรยากาศมายังพื้ นผิว โลก โดย
โมเลกุลอากาศ ฝุนละอองและเมฆ นอกจากนี้ยังเกิดจากการกระเจิงกลับไปมาของรังสีอาทิตย
ระหวางบรรยากาศและพื้นผิวโลก โดยทั่วไปปริมาณของรังสีอาทิตยที่ตกกระทบพื้นผิวโลกจะ
ขึ้นกับปริมาณของรั งสี รวมและอั ตราสวนระหวางรั งสีกระจายตอรังสีรวม โดยอัตราสว น
ดังกลาวจะขึ้นอยูกับความสามารถในการกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศซึ่งจะกลาวใน
หัวขอ 15.5 โดยทั่วไปรังสีกระจายสามารถนําไปใชประโยชนในงานดานการใชแสงสวาง
ธรรมชาติในอาคาร นอกจากนี้ขอมูลรังสีกระจายบนระนาบในแนวระดับยังใชในการแปลง
รังสีรวมบนระนาบในแนวระดับใหอยูบนระนาบเอียง โดยทั่วไปการวัดรังสีกระจายจะทําได
ยากกวาการวัดรังสีรวมเพราะจะตองปรับวงแหวนบังรังสีตรง 1-2 วันตอครั้ง สําหรับกรณีการ
วัดรังสีกระจายโดยใชลูกบอลบังรังสีตรงก็ตองติดตั้งลูกบอลกับอุปกรณติดตามการเคลื่อนที่
ของดวงอาทิตยซึ่งมีราคาแพง ดังนั้นการวัดรังสีกระจายจึงมีนอย กรณีของประเทศไทยการวัด
รังสีก ระจายระยะยาวมี ที่สถานีวัด รังสี อาทิต ยของมหาวิทยาลัย ศิล ปากร จั งหวั ด เชีย งใหม
อุบลราชธานี นครปฐมและสงขลา
จั น ทร ฉ ายและคณะ (Janjai et al., 2013b) ได นํ า ข อ มู ล รั ง สี ก ระจายจํ า นวน 10 ป
(ค.ศ. 2003 - 2012) จากสถานีวัดทั้ง 4 แหงของมหาวิทยาลัยศิลปากร มาทําการวิเคราะหการ
แปรคาตามเวลาในรอบป ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.7

556
557

30 30
เชียงใหม อุบลราชธานี
Hd (เมกะจูล ตอตารางเมตรตอวัน)

Hd (เมกะจูล ตอตารางเมตรตอวัน)
25 25

20 20

15 15

10 10

5 5

0 0

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

30 30
นครปฐม สงขลา
Hd (เมกะจูล ตอตารางเมตรตอวัน)

Hd (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
25 25

20 20

15 15

10 10

5 5

0 0

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

รูปที่ 15.7 การแปรคาตามเวลาในรอบปของรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือน ( Hd ) ที่สถานีวัด


ของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา
(ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2013b)

จากกราฟในรูปที่ 15.7 จะเห็นวาลักษณะของกราฟการแปรคารังสีกระจายตามเวลาใน


รอบปของสถานีเชียงใหม อุบลราชธานี และนครปฐม มีลักษณะคลายกันกลาวคือรังสีกระจาย
จะมีคาคอยๆ เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมจนถึงคาสูงสุดประมาณกลางปและคอยๆ ลดลงจนถึง
เดือนธันวาคม โดยรังสีกระจายมีคาสูงในชวงกลางป ทั้งนี้เพราะเปนชวงฤดูฝน ซึ่งมีเมฆมากทํา
ใหเกิดรังสีกระจายมากดวย สําหรับสถานีสงขลารังสีกระจายมีคาเกือบคงที่ตลอดทั้งป ทั้งนี้อาจ
เปนเพราะสถานีสงขลาตั้งอยูในภาคใตซึ่งมีเมฆคอนขางมากในชวงเวลาสวนใหญของทั้งป ซึ่ง
มีผลทําใหเกิดรังสีกระจายสม่ําเสมอเกือบตลอดทั้งป

15.5 อัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวม
รังสีกระจายเปนสวนหนึ่งของรังสีรวม โดยอัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวม
จะเป น ตัว บอกคุ ณ ภาพเชิงพลังงาน (energetic quality) ของรังสี อาทิตย ที่พื้น ที่ตางๆ ได รั บ

557
558

ตัวอยางเชน บริเวณที่อัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวมมีคาสูง บริเวณนั้นจะไมเหมาะสม


ตอการใชอุปกรณรวมแสง ทั้งนี้เพราะอุปกรณดังกลาวจะไดรับพลังงานในรูปรังสีตรงนอย
ถึงแมรังสีรวมจะมีคาสูง โดยทั่วไปอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมจะขึ้นกับปริมาณและ
สมบั ติ เ ชิ ง แสงของฝุ น ละอองและเมฆ นอกจากนี้ ยั ง ขึ้ น กั บ การกระเจิ ง รั ง สี อ าทิ ต ย ข อง
พื้นผิวโลกและตําแหนงดวงอาทิตยรวมถึงดัชนีความแจมใสของบรรยากาศ (clearness index)
ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและสถานที่
ในกรณีของประเทศไทย จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2013b) ไดทําการวิเคราะห
อัตราสวนของรังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือนตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนโดยใชขอมูล
10 ป (ค.ศ. 2003 - 2012) ซึ่งทําการวัดที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัด
เชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐมและสงขลา ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.8

1.0 1.0
เชียงใหม อุบลราชธานี
0.8 0.8

0.6 0.6
Hd/H

Hd/H

0.4 0.4

0.2 0.2

0.0 0.0

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

1.0 1.0
นครปฐม สงขลา
0.8 0.8

0.6 0.6
Hd/H

Hd/H

0.4 0.4

0.2 0.2

0.0 0.0

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เดือน เดือน

รูปที่ 15.8 การแปรคาตามเวลาในรอบปของอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอ


เดือน ( Hd / H ) ที่สถานีวัดรังสีอาทิตยของมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดเชียงใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2013b)

558
559

จากกราฟในรู ป ที่ 15.8 จะเห็ น ว า อั ต ราส ว นของรั ง สี ก ระจายต อ รั ง สี ร วมที่ ส ถานี


เชียงใหม อุบลราชธานี และนครปฐม จะมีคาต่ําในชวงตนปและปลายปและมีคาคอนขางสูง
ในชวงฤดูฝน (พฤษภาคม - ตุลาคม) สําหรับกรณีของสถานีสงขลา คาอัตราสวนรังสีกระจายตอ
รังสีรวมมีการเปลี่ยนแปลงนอยตลอดทั้งป โดยคาเฉลี่ยตอปของอัตราสวนรังสีกระจายตอรังสี
รวมที่สถานีเชียงใหม อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลามีคาเทากับ 0.44, 0.46, 0.45 และ 0.43
ตามลําดับ

15.6 แสงสวางธรรมชาติ
ป จ จุ บั น ประเทศไทยใช ไ ฟฟ า เพื่ อ ให แ สงสว า งในอาคารคิ ด เป น ร อ ยละ 15-20
เปอรเซ็นตของการใชไฟฟาทั้งหมด เนื่องจากประเทศไทยอยูในเขตศูนยสูตรจึงมีแสงสวาง
ธรรมชาติคอนขางมากตลอดทั้งป ดังนั้นจึงมีความเปนไปไดสูงที่จะนําแสงสวางธรรมชาติมา
ใช ใ ห ค วามสว า งภายในอาคารเพื่ อ ลดการใช ไ ฟฟ า เพื่ อให แ สงสว า ง อย า งไรก็ ต ามในการ
ออกแบบอาคารที่ใชแสงสวางธรรมชาติ สถาปนิกและวิศวกรผูออกแบบอาคารจําเปนตองมี
ขอมูลแสงสวางธรรมชาติในรูปแบบตางๆ โดยขอมูลพื้นฐานที่สําคัญคือ ขอมูลความสวาง
(illuminance)
โดยทั่ ว ไปข อ มู ล ความสว า งสามารถแบ ง ได เ ป น ความสว า งจากแสงรวม (global
illuminance) และความสวางจากแสงกระจาย (diffuse illuminance) โดยหลักการแลวความ
สวางทั้งสองอยางสามารถหาไดจากการวัดแตการจัดตั้งสถานีวัดใหครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณ
กวางตองเสียคาใชจายมาก ทําใหสถานีวัดแสงสวางธรรมชาติมีจํานวนจํากัด ดังนั้นจันทรฉาย
และคณะ (Janjai et al., 2008) จึงไดพัฒนาเทคนิคการหาคาความสวางจากแสงรวมจากขอมูล
ภาพถายดาวเทียม ตอมาเสริม จันทรฉาย และคณะ (2556) ไดปรับปรุงเทคนิคดังกลาวใหดีขึ้น
และนํามาใชคํานวณความสวางจากแสง-รวมทั่วประเทศไทย ผลที่ไดแสดงในรูปที่ 15.9 -15.10
จากรูปที่ 15.9-15.10 จะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงตามเวลาในรอบวันของความสวาง
จากแสงรวมโดยความสวางของทุกพื้นที่จะมีคาสูงสุดตอนเที่ยงวัน สําหรับการแปรคาของ
ความสวางตามเดือนตางๆ ในรอบปจะเห็นไดชัดเจนจากแผนที่ความสวางเวลา 12:30 น. โดย
บริเวณที่มีคาความเขมสูงจะคอยๆ แผขึ้นไปจากภาคใตไปยังภาคเหนือจากเดือนมกราคมจนถึง
พฤษภาคมซึ่งเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงตําแหนงของทางเดินดวงอาทิตยซึ่งเคลื่อนที่จาก

559
560

ทางใตของเสนศูนยสูตรทองฟาไปยังตอนเหนือของเสนศูนยสูตรทองฟาและชวงเวลาดังกลาว
เปนชวงที่ทองฟาสวนใหญแจมใส หลังจากเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมความสวางของ
แสงรวมจะคอยๆ ลดลงเนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตทําใหเกิดเมฆและฝน
ในทุกภาคของประเทศไทย หลังจากนั้นคาความสวางของแสงรวมจะคอยๆ เพิ่มขึ้นจากเดือน
ตุลาคมจนถึงธันวาคมซึ่งเปนชวงลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งทองฟาสวนใหญแจมใส
ยกเวนภาคใตที่ความสวางของแสงรวมยังคงมีคาต่ําเนื่องจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออก
เฉียง-เหนือที่พัดผานอาวไทยซึ่งจะทําใหเกิดเมฆและฝนในภาคใต
ในดานของความสวางจากแสงกระจาย จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2014) ไดใช
เทคนิคภาพถายดาวเทียมหาการกระจายตามพื้นที่ ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.11-15.12
โดยทั่วไปความสวางจากแสงกระจายจะขึ้นกับความสวางจากแสงรวมและอัตราสวน
ระหวางแสงกระจายตอแสงรวม จากแผนที่การกระจายตามพื้นที่ของแสงกระจายจะเห็นความ
แตกตางไดชัดเจนในชวงเวลา 10:30-14:30 น. ทั้งนี้เพราะเปนชวงที่ความสวางมีคาสูง โดยใน
ภาพรวมทั้งประเทศความสวางจากแสงกระจายในชวงเวลาดังกลาวจะเพิ่มขึ้นมากจากเดือน
มกราคมไปถึงคาสูงสุดในเดือนเมษายน และคอยๆ ลดลงไปจนถึงเดือนธันวาคม คลายกับกรณี
ของแสงรวม โดยการเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลมาจากการเปลี่ยนตําแหนงของทางเดินของดวง
อาทิตยบนทองฟา และอิทธิพลของมรสุม กลาวคือในชวงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธเปนชวง
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงแมทองฟาสวนใหญของประเทศจะแจมใส แตทางเดินของดวง
อาทิ ต ย อ ยู ใ ต เ ส น ศู น ย สู ต รท อ งฟ า ทํ า ให ค วามสว า งจากแสงรวมมี ค า น อ ย ประกอบกั บ
อัตราสวนของแสงกระจายตอแสงรวมมีคานอย เพราะทองฟาสวนใหญแจมใส ดังนั้นจึงทําให
ความสวางของแสงกระจายมีคานอย สําหรับในชวงเดือนมีนาคมถึงเมษายน ซึ่งเปนชวงปลอด
มรสุม ทางเดินของดวงอาทิตยเคลื่อนที่เขาหาศูนยสูตรทองฟาทําใหความสวางของแสงรวมมี
คาเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหความสวางของแสงกระจายเพิ่มขึ้นดวย หลังจากนั้นจะเปนชวงลม
มรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งทองฟามีเมฆมาก ถึงแมความสวางของแสงรวมจะลดลง แตเมฆ
หมอกของฤดูฝน ทําใหอัตราสวนของแสงกระจายตอแสงรวมมีคาสูง ซึ่งทําใหแสงกระจาย
ยังคงมีคาสูงดวย หลังจากนั้นความสวางของรังสีกระจายจะคอยๆ ลดลงจากชวงกลางปจนถึง
ปลายปตามการลดลงของแสงรวมซึ่งเปนผลมาจากทางเดินของดวงอาทิตยเคลื่อนที่กลับลงมา
ใตศูนยสูตรทองฟา

560
561

มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

8:00-9:00 9:00-10:00 10:00-11:00 11:00-12:00 12:00-13:00 13:00-14:00 14:00 -15:00 15:00 -16:00 16:00 -17:00

กิโลลักซ
รูปที่ 15.9 การกระจายตามพื้นที่ของความสวางจากแสงรวมในประเทศไทยเดือนมกราคม-
มิถุนายน (เสริม จันทรฉาย และคณะ, 2556)

561
562

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

8:00-9:00 9:00-10:00 10:00-11:00 11:00-12:00 12:00-13:00 13:00-14:00 14:00 -15:00 15:00 -16:00 16:00 -17:00

กิโลลักซ
รูปที่ 15.10 การกระจายตามพื้นที่ของความสวางจากแสงรวมในประเทศไทยเดือนกรกฎาคม-
ธันวาคม (เสริม จันทรฉายและคณะ, 2556)

562
563

มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

8:30 9:30 10:30 11:30 12:30 13:30 14:30 15:30 16:30

ิ กซ
กโลลั
klux
10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70

รูปที่ 15.11 การกระจายตามพื้นที่ของความสวางจากแสงกระจายในประเทศไทยในเดือน


มกราคม-มิถุนายน (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2014)

563
564

กรกฎาคม

สิ งหาคม


กนยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

8:30 9:30 10:30 11:30 12:30 13:30 14:30 15:30 16:30

ิ กซ
กโลลั
klux
10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70

รูปที่ 15.12 การกระจายตามพื้นที่ของความสวางจากแสงกระจายในประเทศไทยในเดือน


กรกฎาคม-ธันวาคม (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2014)

564
565

15.7 รั ง สี อาทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่น ที่พื ช ใช สั ง เคราะห แ สง (photosynthetically active


radiation, PAR)
ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมซึ่งมีการปลูกพืชทางเศรษฐกิจกระจายกันอยูทั่ว
ประเทศ โดยทั่วไปการเจริ ญเติบโตของพืช นอกจากจะขึ้ น อยู กับดิ น และน้ํ า แล วยั ง ขึ้ น กั บ
ปริมาณของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงดวย โดยปริมาณดังกลาว
จะบอกในรูปของความหนาแนนฟลักซโฟตอน ซึ่งจะแปรตามพื้นที่และเวลา เชนเดียวกับรังสี
อาทิตยในชวงความยาวคลื่นอื่นๆ เนื่องจากสถานีวัดรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใช
สังเคราะหแสงในประเทศไทยมีจํากัด ดังนั้นจันทรฉายและวัดตาล (Janjai and Wattan, 2011)
จึงไดจัดทําแผนที่แสดงการกระจายของฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่พืช
ใชสังเคราะหแสง ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.13 และ 15.14
จากกราฟในรูปที่ 15.13 และ 15.14 จะสังเกตเห็นการแปรคาตามเวลาในรอบวันของ
ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงทุกพื้นที่
ในประเทศไทย โดยคาความหนาแนนฟลักซโฟตอนจะคอยๆ เพิ่มขึ้นจากตอนเชาถึงคาสูงสุด
ตอนเที่ยงวันและคอยๆ ลดลงจนถึงคาต่ําสุดตอนเย็น
สํ า หรั บ การแปรค า ตามเดื อ นต า งๆ ในรอบป จ ะสั ง เกตเห็ น ชัด เจนจากแผนที่ ข อง
ชวงเวลา 10:00-14:00 น. โดยฟลักซโฟตอนคาสูงจะคอยๆ แผกวางจากภาคใตไปสูภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือจากเดือนมกราคมจนถึงคาสูงสุดในเดือนเมษายน
แลวคอยๆ ลดลงจนถึงคาต่ําสุดในเดือนธันวาคม ทั้งนี้เปนไปตามการเคลื่อนที่ของทางเดิน
ดวงอาทิตยบนทองฟาและอิทธิพลของลมมรสุมเชนเดียวกับความสวาง
ในด านของรั ง สีก ระจาย การกระจายของฟลั ก ซ โฟตอนตามพื้ น ที่ใ นประเทศไทย
จะแสดงไวในรูปที่ 15.15-15.16 จากรูปจะเห็นวาการกระจายตามพื้นที่จะคลายคลึงกับกรณี
ของความสวาง

565
566

มกราคม

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

พฤษภาคม

มิถุนายน

8:00-9:00 9:00-10:00 10:00-11:00 11:00-12:00 12:00-13:00 13:00-14:00 14:00 -15:00 15:00 -16:00 16:00 -17:00
150 450 750 1050 1350 1650 1950 >2250
µmol.m-2 s-1
0 300 600 900 1200 1500 1800 2100 ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร

รูปที่ 15.13 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสี


รวมในช ว งความยาวคลื่ น ที่ พืช ใช สั ง เคราะห แ สงในประเทศไทยของเดื อ น
มกราคม - มิถุนายน (ดัดแปลงจาก Janjai and Wattan, 2011)

566
567

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจิกายน

ธันวาคม

8:00-9:00 9:00-10:00 10:00-11:00 11:00-12:00 12:00-13:00 13:00-14:00 14:00 -15:00 15:00 -16:00 16:00 -17:00
150 450 750 1050 1350 1650 1950 >2250
µmol.m-2 s-1
0 300 600 900 1200 1500 1800 2100 ไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร

รูปที่ 15.14 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสี


รวมในช ว งความยาวคลื่น ที่พื ช ใช สัง เคราะห แ สงในประเทศไทยของเดื อ น
กรกฎาคม - ธันวาคม (ดัดแปลงจาก Janjai and Wattan, 2011)

567
568

มกราคม
JAN
8:30 9:30 10:30 11:30 12:30 13:30 14:30 15:30 16:30

กุFEB
มภาพันธ

มีนMAR
าคม

เมษายน
APR

พฤษภาคม
MAY

มิถุนJUN
ายน

<200 300 400 500 600 700 800

 นาทีตอตารางเมตร
ไมโครโมลตอวิ 
250 350 450 550 650 750 >850

รูปที่ 15.15 แผนที่ แ สดงการกระจายตามพื้น ที่ ข องความหนาแน น ฟลั ก ซ โ ฟตอนของรั ง สี


กระจายในชวงที่พืชใชสังเคราะหแสงในประเทศไทยของเดือนมกราคม-มิถุนายน
(ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2017)

568
569

กรกฎาคม
JUL
8:30 9:30 10:30 11:30 12:30 13:30 14:30 15:30 16:30

สิAUG
งหาคม

กันSEP
ยายน

ตุOCT
ลาคม

พฤศจิ
NOV กายน

ธันDEC
วาคม

<200 300 400 500 600 700 800

 นาทีตอตารางเมตร
ไมโครโมลตอวิ 
250 350 450 550 650 750 >850

รู ปที่ 15.16 แผนที่แ สดงการกระจายตามพื้น ที่ ข องความหนาแน นฟลั ก ซ โ ฟตอนของรัง สี


กระจายในช ว งที่ พื ช ใช สั ง เคราะห แ สงในประเทศไทยของเดื อ นกรกฎาคม-
ธันวาคม (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2017)

569
570

15.8 รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย
ปจจุบันประเทศไทยมีนักทองเที่ยวจากยุโรปและอเมริกาเขามาทองเที่ยวมากขึ้น โดย
กิจกรรมที่นักทองเที่ยวดังกลาวนิยมคือการอาบแดดหรือปลอยใหรางกายไดรับรังสีอาทิตย
โดยตรงเปนเวลานานๆ เนื่องจากสวนหนึ่งของสเปกตรัมรังสีอาทิตยมีความยาวคลื่นอยูในชวง
รังสีอัลตราไวโอเลตและรังสีสวนนี้ถาไดรับมากจะทําใหเกิดอาการแสบรอนที่ผิวหนังที่เรียกวา
ถูกแดดเผา ถาเกิดขึ้นบอยอาจเปนสาเหตุของโรคมะเร็งผิวหนังที่มีอันตรายถึงชีวิต ดังนั้นระดับ
ของรั งสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยจึงเปนขอมูลที่สําคัญซึ่ งนักท องเที่ยวจําเปน ตองรู
ถึงแมวาขอมูลความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยจะสามารถหาไดจากการวัดแต
อุปกรณวัดสวนใหญมีราคาแพงทําใหสถานีวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยมีจํานวน
จํากัด กรณีของประเทศไทยมีการวัดรังสีอัลตราไวโอเลตอยางเปนระบบที่สถานีเชียงใหม
อุบลราชธานี นครปฐม และสงขลา (Janjai et al., 2010) ขอมูลที่ไดจึงไมเพียงพอตอการใชงาน
ดังนั้น จันทรฉายและคณะ (Janjai et al., 2010) จึงไดทําการหาคารังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอ
ผิวหนังมนุษย (รังสีรวม) ในประเทศไทยโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม GMS5 จํานวน 8 ป
(ค.ศ. 1995 - 2002) ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 15.17 และ 15.18
จากแผนที่รายเดือน (รูปที่ 15.17) จะสังเกตเห็นวาตั้งแตเดือนมกราคมจนถึงเมษายน
พื้ นที่ ซึ่ งรั งสี อั ลตราไวโอเลตมี ค าสู งจะแผ จากภาคใต ไปสู ภาคกลางและภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อ
โดยรังสีอัลตราไวโอเลตในภาคใตจะมีคาสูงกวาในภาคอื่น ทั้งนี้เนื่องจากชวงเวลาดังกลาว
ทางเดินของดวงอาทิตยเคลื่อนที่เขาหาเสนศูนยสูตรทองฟาทําใหรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
มีคาเพิ่มขึ้น มีผลทําใหรังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นผิวโลกมีคาเพิ่มขึ้นดวย นอกจากนี้ชวงเวลา
ดั ง กล า วท อ งฟ า ส ว นใหญ มี ส ภาพแจ ม ใส สํ า หรั บ เดื อ นพฤษภาคมถึ ง สิ ง หาคมรั ง สี
อัลตราไวโอเลตยังคงมีคาระดับสูงและไมเปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งนี้เพราะชวงเวลาดังกลาวรังสี
อาทิ ต ย น อกบรรยากาศโลกมี ค า สู ง ถึ ง แม จ ะเป น ช ว งที่ มี เ มฆมาก แต เ มฆจะดู ด กลื น รั ง สี
อัลตราไวโอเลตนอยมาก รังสีอัลตราไวโอเลตสวนใหญถูกกระเจิงโดยเมฆและตกกระทบ
พื้นผิวโลก หลังจากนั้นจนถึงเดือนธันวาคมรังสีอัลตราไวโอเลตจะคอยๆ ลดลงทั่วประเทศ
เนื่องจากทางเดินของดวงอาทิตยเคลื่อนไปทางตอนใตของเสนศูนยสูตรทองฟา ทําใหรังสี
อาทิตยนอกบรรยากาศโลกมีคาลดลง ซึ่งมีผลทําใหรังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นผิวโลกลดลงดวย

570
571

จากแผนที่รายป (รูปที่ 15.18) จะพบวาบริเวณที่ไดรับรังสีอัลตราไวโอเลตสูงคือพื้นที่


สวนใหญของภาคใต โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณชายฝงทะเลทั้ง 2 ดาน สําหรับบริเวณที่ไดรับ
รั งสี อั ลตราไวโอเลตต่ํ าจะอยู บริ เวณภู เขาในภาคเหนื อ ส วนภาคกลางและภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อ
จะไดรับรังสีอัลตราไวโอเลตในระดับปานกลางเมื่อเทียบกับภาคใตและภาคเหนือ

571
572

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม

กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

กิโลจูลตอตารางเมตรตอวัน

รูปที่ 15.17 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีอัลตราไวโอเลต (รังสีรวม) จากดวงอาทิตย


รายวันเฉลี่ยตอเดือนในประเทศไทย (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2010)

572
573

กิโลจูลตอตารางเมตรตอวัน
รูปที่ 15.18 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีอัลตราไวโอเลต (รังสีรวม) จากดวงอาทิตย
รายวันเฉลี่ยตอปในประเทศไทย (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2010)

573
574

15.9 สรุป
บทนี้ไดกลาวถึงรังสีอาทิตยในประเทศไทย ทั้งรังสีในชวงความยาวคลื่นกวางและ
เฉพาะชวงความยาวคลื่น โดยรังสีในชวงความยาวคลื่นกวางไดแสดงการกระจายตามพื้นที่ทั้ง
รังสีรวมและรังสีตรง พรอมทั้งการแปรคาของรังสีรวมตามเวลาในรอบปที่ไดจากการวัด ณ
สถานีวัดตางๆ ซึ่งตั้งอยูในจังหวัดตางๆ ในดานของรังสีเฉพาะชวงความยาวคลื่นไดกลาวถึง
การกระจายตามพื้ น ที่ ข องแสงสว า งธรรมชาติ รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นช ว งความยาวคลื่ น ที่ พื ช ใช
สังเคราะหแสง และรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย โดยรังสีดังกลาวมีการเปลี่ยนแปลง
เนื่องจากไดรับอิทธิพลจากลมมรสุม และลักษณะภูมิประเทศ และการเปลี่ยนแปลงของทางเดิน
ปรากฏของดวงอาทิตยในรอบป

574
575

แบบฝกหัด

1. จงหาเปอรเซ็นตความแตกตางคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนของเดือนเมษายนที่ไดจาก
กราฟในรูปที่ 15.6 กับที่ไดจากการคํานวณดวยภาพถายดาวเทียม (รูปที่ 15.1) ที่สถานี
เชียงใหม พรอมทั้งอภิปรายสาเหตุของความแตกตาง (ใชคาจากสถานีวัดเปนคาอางอิงใน
การเปรียบเทียบ)
คําตอบ 4%

2. จงใชหลักการทางฟสิกสอธิบายวาเหตุใดรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวางรายวันเฉลีย่
ตอปในบริเวณภูเขาจึงมีคาต่ํากวาบริเวณอื่นๆ ของประเทศไทย

3. บริเ วณภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ ตอนล า งของประเทศไทย รูจั ก กั น ดี ใ นชื่ อ ว า ทุ ง กุล า
รองไห จงใชขอมูลแผนที่รังสีอาทิตยอธิบายวาเหตุใดบริเวณดังกลาวมีสภาพตามที่คน
ทั่วไปเรียก

4. จงอภิปรายถึงสาเหตุที่ทําใหบริเวณชายฝงในภาคใตทั้งสองดานของประเทศไทยมีคารังสี
อัลตราไวโอเลตสูง

5. จงอภิปรายถึงสาเหตุที่ทําใหรังสีอัลตราไวโอเลตในประเทศไทยยังมีระดับคอนขางสูงใน
ฤดูฝน

575
576

รายการสัญลักษณ

Hd รังสีกระจายรายวันเฉลี่ยตอเดือน (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
H รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือน (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)
H0 รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลกรายวันเฉลี่ยตอเดือน (เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน)

576
577

เอกสารอางอิง
เสริม จันทรฉาย, อิสระ มะศิริ, รุงรัตน วัดตาล, สมเจตน ภัทรพานิชชัย, สุมามาลย บรรเทิง.
2556. การพัฒนาปรับปรุงคูมือขอมูลมาตรฐานดานภูมิอากาศและแสงอาทิตยสําหรับ
ใชง านด านพลัง งานทดแทน. รายงาน, กรมพั ฒนาพลั ง งานทดแทนและอนุ รัก ษ
พลังงาน กรุงเทพฯ.
เสริม จันทรฉาย, จรุงแสง ลักษณบุญสง, กรทิพย โตะสิงห, สุมามาลย บรรเทิง, มนูญ ปาง
พรหม, อภิชาติ พรหมดนตรี, อิสระ มะศิริ, 2545. การพัฒนาเครือขายสถานีวัดความ
เขมรังสีอาทิตยสําหรับประเทศไทย. รายงาน, กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน,
กรุงเทพฯ.

Exell, R.H.B., Saricali, K., 1976. The Availability of solar Energy in Thailand. Research
Report No.63, Asian Institute of Technology, Pratumthani.
Janjai, S., Buntoung, S., Choosri, P., 2017. Improving understanding of aerosols, radiation
and their relationship to cloud physics and properties. Research Report, Thailand
Research Fund, Bangkok, Thailand.
Janjai, S., Laksanaboonsong, J., Nunez, M., Thongsathitya, A., 2005. Development of a
method for generating operational solar radiation maps from satellite data for a
tropical environment. Solar Energy 78, 739 – 751.
Janjai, S., 2010. A method for estimating direct normal solar irradiation from satellite data for
a tropical environment. Solar Energy 84, 1685 -1695.
Janjai, S., Masiri, I., Pattarapanitchai S., Laksanaboonsong J., 2013a. Mapping Global solar
radiation from long-term satellite data in the tropics using an improved model.
International Journal of Photoenergy 2013, 1-11.
Janjai, S., Pattarapanitchai S., Prathumsit, J., Buntung S., Wattan R., Masiri I., 2014. A
method for mapping monthly average hourly diffuse illuminance from satellite
data in Thailand. Solar Energy 102, 162-172.

577
578

Janjai, S., Tohsing, K., Nunez, M., Laksanaboonsong, J., 2008. A technique for mapping
global illuminance from satellite data. Solar Energy 82, 543-555.
Janjai, S., Buntung S., Wattan R., Masiri I., 2010. Mapping solar ultraviolet radiation from
satellite data in a tropical environment. Remote Sensing of Environment 114, 682-
691.
Janjai, S., Wattan, R., 2011. Development of a model for the estimation of photosynthetically
active radiation from geostationary satellite data in a tropical environment. Remote
Sensing of Environment 115, 1680-1693.
Janjai, S., Wattan, R., Pattarapanitchai, S., Masiri I., Buntoung S., Promsen W.,
Laksanaboonsong J., 2013b. Solar radiation over Thailand and some ASEAN
countries: ground-based measurement approach. Proceedings of Siam Physics
Congress 2013, 21-23 March, 2013, Chiang Mai.
Suwantragul, B., Watrabutr, W., Sitathani, K., Tia, V., Namprakai, P., 1984. Solar and Wind
Energy Potential Assessment of Thailand. Research Report, King Mongkut’s
Institute of Technology, Thonburi Campus, Bangkok, Thailand.

578
บทที่ 16
รังสีอาทิตยในประเทศเพื่อนบาน
บทนี้จะกลาวถึงรังสีอาทิตยในประเทศเพือ่ นบานของไทยไดแก ลาว กัมพูชา เมียนมาร
และเวียดนาม ตามรายละเอียดดังนี้

16.1 รังสีอาทิตยในประเทศลาว
ประเทศลาวมีพรมแดนดานทิศเหนือติดกับประเทศจีน ดานตะวันออกติดกับประเทศ
เวียดนาม ดานตะวันตกติดกับประเทศไทยและเมียนมาร และทิศใตติดกับประเทศกัมพูชา
ประเทศลาวมีพื้นที่รวม 236,800 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่สวนใหญยังเปนปาเขา เนื่องจาก
ประชากรสวนใหญอาศัยตามหมูบาน ในเขตปาซึ่งไมมีเครือขายสายสงไฟฟาไปถึง ดังนั้น
รัฐบาลลาวจึงมีโครงการติ ดตั้ง เซลล สุริยะเพื่ อใชงานในหมูบานตางๆ โดยการดําเนิน งาน
ดังกลาว จําเปนตองใชขอมูลความเขมรังสีอาทิตย แตเนื่องจากลาวยังไมมีเครือขายสถานีวัด
รังสีอาทิตย ดังนั้น กรมไฟฟาลาวจึงไดรวมกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
ของประเทศไทย และมหาวิทยาลัยศิลปากรทําการหาความเขมรังสีอาทิตยครอบคลุมพื้นที่
ประเทศลาวโดยใชขอมูลภาพถายดาวเทียม ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 16.1 (Janjai, 2008)
จากรู ป ที่ 16.1 จะเห็ น ว า รั ง สี อ าทิ ต ย ข องเดื อ นมกราคม บริ เ วณตอนเหนื อ และ
ตะวันออกของลาวมีคาคอนขางต่ํา ที่เปนเชนนี้เปนเพราะลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัด
จากทะเลจีนและอาวตังเกี๋ย ทําใหเกิดเมฆและฝนทางตอนเหนือและตะวันออกของประเทศ
นอกจากนี้ชวงเวลาดังกลาวทางเดินของดวงอาทิตยอยูทางใตของเสนศูนยสูตรทองฟา ทําให
รังสีนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับทางภาคเหนือมีคาต่ํากวาทางภาคใต ซึ่งเปนผล
ใหรังสีอาทิตยที่พื้นโลกในภาคเหนือมีคาต่ําดวย
จากเดือนกุมภาพันธถึงเมษายน ทางเดินของดวงอาทิตยจะเคลื่อนที่จากซีกฟาใตผาน
เส น ศู น ย สู ต รท อ งฟ า ไปยั ง ซี ก ฟ า เหนื อ ทํ า ให รั ง สี อ าทิ ต ย น อกบรรยากาศโลกมี ค า เพิ่ ม ขึ้ น
ประกอบกั บ ท อ งฟ า ส ว นใหญ ใ นช ว งเวลาดั ง กล า วมี ส ภาพแจ ม ใส จึ ง ทํ า ให รั ง สี อ าทิ ต ย ที่
พื้นผิวโลกมีคาเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก
จากเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน พื้นที่สวนใหญของประเทศลาวอยูใตอิทธิพลของลม
มรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งทําใหเกิดเมฆและกระจายไปทั่วประเทศ รังสีอาทิตยจึงมีคาลดลง ใน

579
580

เดือนตุลาคมลมมรสุมจะเปลี่ยนจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตเปนลมมรสุมตะวันออกเฉียง-
เหนือ ซึ่งจะทําใหพื้นที่ทางตะวันออกของประเทศที่เปนเขตภูเขาสูงมีเมฆและฝน ทําใหรังสี
อาทิตยมีคาคอนขางต่ํา
เมื่อพิจารณาแผนที่รังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอป (รูปที่ 16.2) จะเห็นวาบริเวณที่ไดรับรังสี
อาทิตยสูงสุดจะอยูทางตอนใตของประเทศลาวและบริเวณที่ไดรังสีอาทิตยนอยจะเปนบริเวณ
ภูเขาสูงตามแนวชายแดนติดกับเวียดนาม

580
581

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม

กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม


เมกะจูลตอตารางเมตร
ตอวัน
รูปที่ 16.1 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนในประเทศลาว
(ดัดแปลงจาก Janjai, 2008)

581
582

เมกะจูลตอตาราง
เมตรตอวัน

รูปที่ 16.2 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอป (ดัดแปลงจาก


Janjai, 2008)

582
583

16.2 รังสีอาทิตยในประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชามีพรมแดนดานทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ดานตะวันออกติดกับ
เวียดนาม ดานใตติดกับอาวไทยและดานตะวันตกติดกับประเทศไทย ประเทศกัมพูชามีพื้นที่
รวม 181,035 ตารางกิโลเมตร โดยสวนใหญเปนที่ราบ
ประเทศกัมพูชาเปนประเทศกําลังพัฒนาซึ่งตองการพลังงานจากแหลงตางๆ เพื่อการ
พัฒนาประเทศ ดังนั้นในโครงการความรวมมือระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน ดาน
พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานของ
ประเทศไทยและมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงไดรวมกับกระทรวงทรัพยากรเหมืองแรและพลังงาน
ของกัมพูชาดําเนินการศึกษาความเขมรังสีอาทิตยทั่วประเทศกัมพูชาโดยใชขอมูลภาพถาย
ดาวเทียม โดยผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 16.3 และ 16.4 (Janjai et al., 2011)
จากแผนที่ ร ายเดือ น (รู ป ที่ 16.3) จะสั ง เกตเห็ น วา รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นพื้ น ที่ ส ว นใหญ ข อง
กัมพูชาจะคอยๆ เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมจนถึงคาสูงสุดในเดือนเมษายน ซึ่งเปนผลจากการ
เคลื่อนที่ของทางเดินดวงอาทิตยที่เคลื่อนที่จากซีกฟาใตไปสูซีกฟาเหนือ เนื่องจากลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใตจะพัดเขาสูประเทศกัมพูชาตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงกลางเดือนตุลาคม
ทํ า ให เ กิ ด เมฆและฝนซึ่ ง มี ผ ลทํ า ให รั ง สี อ าทิ ต ย ล ดลง จากนั้ น จะเป น ช ว งของลมมรสุ ม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ถึงแมวาลมมรสุมดังกลาวจะนําอากาศเย็นและแหงมาสูประเทศทําให
ทองฟ ามีเมฆนอ ยแตเ ปน ช ว งที่ด วงอาทิต ยอยู ทางใตของเสน ศู น ยสูตรทองฟา ซึ่ ง รั ง สีด วง
อาทิตยนอกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดับมีคาลดลงทําใหรังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกมี
คาลดลงดวย
สําหรับรังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ยตอป (รูปที่ 16.4) จะสังเกตเห็นวา โดยภาพรวมปริมาณ
รังสีอาทิตยสวนใหญจะคอยๆ ลดหลั่นจากคาสูงทางดานตะวันออกไปสูคานอยกวาทางดาน
ตะวันตก

583
584

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม

เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน

กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน

ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

รูปที่ 16.3 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนในประเทศ


กัมพูชา (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2011)

584
585

เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

รูปที่ 16.4 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอปในประเทศกัมพูชา


(ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2011)

585
586

16.3 รังสีอาทิตยในประเทศเมียนมาร
ประเทศเมียนมารมีพรมแดนดานตะวันออกติดกับประเทศไทยและจีน ดานตะวันตก
ติดกับประเทศบังคลาเทศและอินเดีย ดานเหนือติดกับประเทศจีนและอินเดีย และดานใตเปน
อาวเบงกอล ประเทศเมียนมารมีพื้นที่รวม 676,578 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ในภาคเหนือ
ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกสวนใหญเปน ภูเขา และตอนกลางของประเทศเปนที่ราบ
ประเทศเมี ย นมาร อยู ร ะหว า งการพั ฒ นาทางเศรษฐกิจ ซึ่ง ต อ งการพลั ง งานจากแหล ง ตา งๆ
จํานวนมากโดยรัฐบาลใหความสํา คัญกับพลังงานหมุนเวียนตางๆ ซึ่งเปนพลังงานสะอาด
โดยเฉพาะอยางยิ่งพลังงานรังสีอาทิตย ดังนั้นกรมวางแผนพลังงาน และกรมอุตุนิยมวิทยาและ
อุ ทกวิ ทยาของเมี ยนมาร จึ งร วมกั บกรมพั ฒนาพลั งงานทดแทนและอนุ รั กษ พลั งงานของประเทศไทย
และมหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร เพื่ อศึ กษาปริ มาณรั งสี อาทิ ตย ในประเทศเมี ยนมาร ผลที่ ได แสดงไว ใน
รูปที่ 16.5 (Janjai et al., 2013b)
จากแผนที่ ร ายเดื อ น (รู ป ที่ 16.5) จะเห็ น ว า ค า รั ง สี อ าทิ ต ย ใ นพื้ น ที่ ส ว นใหญ ข อง
เมียนมารจะคอยๆ เพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมถึงเมษายน ทั้งนี้เพราะชวงเวลาดังกลาวทางเดิน
ของดวงอาทิตยเคลื่อนที่จากซีกฟาใตผานเสนศูนยสูตรทองฟาไปยังซีกฟาเหนือ ทําใหรังสี
อาทิ ต ย น อกบรรยากาศโลกบนระนาบในแนวระดั บ เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง มี ผ ลทํ า ให รั ง สี อ าทิ ต ย ที่
พื้นผิวโลกเพิ่มขึ้นดวย โดยเมฆจะมีผลตอรังสีอาทิตยนอยเนื่องจากชวงดังกลาวตรงกับฤดูแลง
ซึ่งทองฟาสวนใหญมีเมฆนอย ยกเวนบริเวณภูเขาสูงทางตอนเหนือซึ่งมีเมฆและหมอกปกคลุม
ตลอดทั้งป สงผลใหรังสีอาทิตยมีคาคอนขางต่ํา โดยทั่วไปลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะพัดเขาสู
ประเทศเมียนมารราวกลางเดือนพฤษภาคมทําใหเกิดเมฆและฝน รังสีอาทิตยจะมีคาลดลง ซึ่ง
จะเห็นไดชัดเจนในบริเวณพื้นที่ทางตอนใตของประเทศเมียนมาร
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต จะพัดตอเนื่องจนถึงประมาณกลางเดือนตุลาคมทําใหรังสี
อาทิตยลดลงในชวงเวลาดังกลาว หลังจากนั้นจะเปนชวงของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ซึ่งนําอากาศเย็นและแหงมาสูประเทศ ถึงแมวาทองฟาสวนใหญจะมีเมฆนอยแตเปนชวงเวลาที่
ทางเดินของดวงอาทิตยเคลื่อนที่ออกหางจากเสนศูนยสูตรทองฟาไปทางซีกฟาใตทําใหรังสี
อาทิตยในตอนใตของประเทศมีคาสูงกวาตอนเหนือของประเทศ

586
587

เมื่อพิจารณารังสีอาทิตยเฉลี่ยตอป (รูปที่ 16.6) จะเห็นวาบริเวณที่ไดรับรังสีสูงสุดจะอยู


บริเวณตอนกลางของประเทศ สวนบริเวณที่ไดรับรังสีอาทิตยต่ําสุดจะอยูบริเวณภูเขาสูงทาง
ตอนเหนือของประเทศ

587
588

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม

กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม


เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

รูปที่ 16.5 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนในประเทศ


เมียนมาร (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2013b)

588
589

เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

รูปที่ 16.6 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอปในประเทศ


เมียนมาร (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2013b)

589
590

16.4 รังสีอาทิตยในประเทศเวียดนาม
ประเทศเวียดนามเปนประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และพลังงาน
เปนปจจัยสําคัญของการพัฒนาดังกลาว เนื่องจากพลังงานรังสีอาทิตยเปนพลังงานหมุนเวียนที่
เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ดังนั้น รัฐบาลเวียดนามจึงมีนโยบายที่จะนําพลังงานรังสีอาทิตยมาใช
ประโยชน ในการดําเนินการใหบรรลุวัตถุนโยบายดังกลาว สถาบันฟสิกสธรณี (Geophysical
Institute) สภาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเวียดนาม (Vietnam Academy of Science and
Technology, VAST) จึงไดรวมกับมหาวิทยาลัยศิลปากรดําเนินการพัฒนาแผนที่รังสีอาทิตย
ของเวียดนาม โดยการสนับสนุนจากสํานักงานการวิจัยนานาชาติแหงราชนาวีสหรัฐอเมริกา
(Office of Naval Research Global of USA) โดยอาศัยเทคนิคคลายกับการพัฒนาแผนที่รังสี
อาทิตยของประเทศไทย (Janjai et al., 2013a) ผลที่ไดแสดงไวในรูปที่ 16.7 และ 16.8 (Janjai et
al, 2016)
จากแผนที่รังสีอาทิตยรายเดือน จะเห็นวาความเขมรังสีอาทิตยในเดือนมกราคมใน
ตอนเหนือของประเทศมีคาคอนขางต่ํา จากนั้นคอยๆ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจนถึงคาสูงสุดใน
บริเวณทางตอนใตของประเทศ ทั้งนี้เพราะบริเวณตอนเหนือของประเทศไดรับอิทธิพลจากลม
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งนําอากาศหนาวเย็นจากประเทศจีนลงมาประกอบกับเปนพื้นที่
ภูเขาและอยูยานละติจูดคอนขางสูงจึงทําใหเกิดเมฆและฝน ซึ่งสงผลใหความเขมรังสีอาทิตยมี
คาต่ํา สวนทางตอนใตของประเทศอิทธิพลดังกลาวมีนอยประกอบกับอยูใกลกับเสนศูนยสูตร
จึงทําใหรังสีอาทิตยมีคาสูง
จากเดือนกุมภาพันธถึงเดือนเมษายน รังสีอาทิตยจะคอย ๆ เพิ่มขึ้นทั่วประเทศ ทั้งนี้
เพราะทางเดินปรากฏของดวงอาทิตยจะคอยๆ เลื่อนลงมาทางใต ประกอบกับอิทธิพลจากลม
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลงในเดือนกุมภาพันธ
จากเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายนความเขมรังสีอาทิตยจะคอยๆ ลดลงโดยเริ่ม
จากดานตะวันตกเฉียงใต ทั้งนี้เพราะประเทศเวียดนามไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตก
เฉียงใตซึ่งพัดจากบริเวณอาวไทย ทําใหเกิดเมฆฝนซึ่งสงผลใหรังสีอาทิตยมีคาต่ํา
จากเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมประเทศเวียดนามจะไดรับอิทธิพลจากลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนืออีกครั้งหนึ่ง ทําใหบริเวณตอนเหนือของประเทศมีคาความเขมรังสีอาทิตยต่ํา

590
591

เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยตลอดทั้งป (รูปที่16.8) จะพบวาความเขมรังสีอาทิตยของประเทศ


เวียดนามจะคอยๆ เพิ่มขึ้นจากทางตอนเหนือมาสูบริเวณตอนใตของประเทศ โดยมีคาสูงสุด
เปนหยอมๆ กระจายอยูบริเวณตอนใตของประเทศ

591
592

มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน

พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม

กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม


เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน

รูปที่ 16.7 แผนที่แสดงการกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนในประเทศ


เวียดนาม (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2016)

592
593

รูปที่ 16.8 แผนที่ แ สดงการกระจายตามพื้ น ที่ ข องรั ง สี ร วมรายวั น เฉลี่ ย ต อ ป ใ นประเทศ


เวียดนาม (ดัดแปลงจาก Janjai et al., 2016)

593
594

16.5 สรุป
บทนี้ไดกลาวถึง รังสีอาทิตยในประเทศลาว กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม โดยได
แสดงแผนที่รังสีอาทิตยทั้งรายเดือนและรายปของทั้ง 4 ประเทศ จากแผนที่ดังกลาวแสดงให
เห็ น ว า ความเข ม รั ง สี อ าทิ ต ย ข องทั้ ง 4 ประเทศมี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามเวลาในรอบป และ
เปลี่ยนแปลงตามพื้นที่ โดยสาเหตุหลักมาจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในรอบปของทางเดินปรากฏของดวงอาทิตย

594
595

แบบฝกหัด

1. จงสืบคนจากเอกสารอางอิง Janjai (2008) Generation of solar radiation maps from long-


term satellite data. In V Badescu (Ed) Modeling Solar Radiation at the Earth Surface,
Springer, Berlin. และอธิบายวิธีการจัดทําแผนที่ความเขมรังสีอาทิตยในประเทศลาว
2. จงอภิปรายเปรียบเทียบปริมาณรังสีอาทิตยที่ประเทศลาว กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม
ไดรับ
3. จงอานคารังสีอาทิตยรายวันเฉลี่ยตอปที่ตําแหนงเมืองหลวงของประเทศลาว
คําตอบ 16.8 เมกะจูลตอตารางเมตรตอวัน
4. จงวาดทางเดินปรากฏของดวงอาทิตยบนทองฟาที่เมืองหลวงของประเทศเวียดนาม ใน
วันที่ 21 ธันวาคม พรอมทั้งอธิบายอิทธิพลของทางเดินดังกลาวกับความเขมรังสีอาทิตยใน
บริเวณนั้น
5. จงอภิ ป รายสาเหตุ ข องความแตกต า งระหว า งความเข ม รั ง สี อ าทิ ต ย ที่ เ มื อ งหลวงของ
เวียดนามและกัมพูชาในเดือนมกราคม

595
596

เอกสารอางอิง

Janjai, S., 2008. Generation of solar radiation maps from long-term satellite data. In V
Badescu (Ed) Modeling Solar Radiation at the Earth Surface, Springer, Berlin.
Janjai, S., Pankaew, P., Laksanaboonsong, J., Kitichantaropas, P., 2011. Estimation of Solar
radiation over Cambodia from long-term satellite data. Renewable Energy 36,
1214 – 1220.
Janjai, S., Masiri, I., Laksanaboonsong, J., 2013b. Satellite-derived solar resource maps for
Myanmar. Renewable Energy 53, 132-140.
Janjai, S., Masiri, I., Pattarapanitchai, S., Laksanaboonsong, J., 2013a. Mapping Global solar
radiation from long-term satellite data in the tropics using an improved model.
International Journal of Photoenergy 2013, 1-11.
Janjai, S., Masiri, I., Buntoung, S., 2016. Development of Solar Radiation Maps of Vietnam
from Long-term Satellite Data for Renewable Energy Application. Research
Report (Grant Number: N62909-13-1-N198), Office of Naval Research Global,
USA.

596
ภาคผนวก

597
598
599

ภาคผนวกที่ 1
วิธีทางสถิตสิ ําหรับทดสอบสมรรถนะของแบบจําลอง

ในการทดสอบสมรรถนะของแบบจําลองสําหรับคํานวณรังสีอาทิตย โดยทั่วไปจะ
เปรียบเทียบคาที่ไดจากแบบจําลองกับคาจากการวัด แตเนื่องจากการเปรียบเทียบขอมูลเพียงคา
ใดคาหนึ่งไมเพียงพอตอการบอกสมรรถนะของแบบจําลอง ดังนั้นนักวิจัยตางๆ (Iqbal, 1983)
จึงเปรียบเทียบขอมูลทั้งหมดโดยใชตัวชี้วัดทางสถิติ ที่สําคัญมีดังนี้

A 1.1 รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (root mean square


difference)
ตัวชี้วัดทางสถิตินี้บอกความเบี่ยงเบนเฉลี่ยของขอมูลที่ไดจากการคํานวณจากขอมูลซึ่ง
ไดจากการวัด โดยสามารถบอกในรูปของคาสัมบูรณไดดังสมการ (A1.1) หรือในรูปสัมพัทธ
ซึ่งเทียบกับคาเฉลี่ยของขอมูลจากการวัดดังสมการ (A1.2)

N
2
 (X model,i  X meas,i )
RMSD  i 1
(A1.1)
N

N
 (X model,i  X meas,i ) 2
i 1

และ RMSD  N  100% (A1.2)


N
 X meas,i
i 1
N

เมื่อ RMSD คือ รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (คาสัมบูรณ)


(มีหนวยตามตัวแปร X)
RMSD คือ รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (คาสัมพัทธ) (%)
X model,i คือ คาที่ไดจากการคํานวณโดยใชแบบจําลองของขอมูลที่ i

599
600

X meas,i คือ คาที่ไดจากการวัดของขอมูลที่ i


N คือ จํานวนขอมูลทั้งหมด

เนื่องจากมีการยกกําลังสองของความแตกตางระหวางคาจากการคํานวณกับคาจากการ
วัด ดังนั้น RMSD และ RMSD จึงมีคาเปนบวกเสมอ ในกรณีอุดมคติ กลาวคือ คาจากการ
คํานวณเทากับคาจากการวัดทั้งหมด RMSD และ RMSD จะมีคาเปนศูนย แบบจําลองที่ดี
จะตองไดคา RMSD หรือ RMSD ใกลศูนย

A 1.2 ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลี่ย (mean bias difference)


ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลี่ยเปนตัวชี้วัดทางสถิติที่บอกความแตกตางเฉลี่ย
ระหวางกลุมขอมูลที่ไดจากการคํานวณกับคาที่ไดจากการวัด ซึ่งสามารถบอกในรูปของคา
สัมบูรณไดดังสมการ (A1.3) หรือคาสัมพัทธเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยจากการวัดดังสมการ (A1.4)

N
 (X model,i  X meas,i )
MBD  i 1 (A1.3)
N

N
 (X model,i  X meas,i )
i 1

และ MBD  N  100% (A1.4)


N
 X meas,i
i 1
N

เมื่อ MBD คือ ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลีย่ (คาสัมบูรณ)


(มีหนวยตามตัวแปร X)
MBD คือ ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลีย่ (คาสัมพัทธ) (%)
X model,i คือ คาที่ไดจากการคํานวณโดยใชแบบจําลองของขอมูลที่ i
X meas,i คือ คาที่ไดจากการวัดของขอมูลที่ i
N คือ จํานวนขอมูลทั้งหมด

600
601

MBD และ MBD อาจมีคาเปนบวกหรือลบก็ได ถาคาเปนบวกแสดงวาขอมูลมีความ


เอนเอียงไปในดานที่คาจากการคํานวณมากกวาคาจากการวัด ในทางกลับกันถามีคาเปนลบ
แสดงวาขอมูลมีความเอนเอียงไปในดานที่คาจากการวัดมากกวาคาจากการคํานวณ แบบจําลอง
ที่ดี MBD หรือ MBD ตองมีคาเขาใกลศูนย ซึ่งหมายความวาผลจากการคํานวณไมมีความ
เอนเอียงไปทางดานใดดานหนึ่งมากนัก

601
602

เอกสารอางอิง

Iqbal M., 1983. Introduction to Solar Radiation. Academic Press, New York.

602
603

ภาคผนวกที่ 2
เรขาคณิตบนผิวทรงกลม

เรขาคณิตบนผิวทรงกลมเปนความรูเกี่ยวกับกฎเกณฑทางเรขาคณิตของรูปทรงตางๆ ที่
อยูบ นผิว โคงของทรงกลม โดยกฎเกณฑดั งกล า วจะแตกตา งจากกฎเกณฑ ที่ใ ช กับรูปทรง
เรขาคณิตบนพื้นราบ ตัวอยางเชน สามเหลี่ยมบนพื้นราบ มุมภายในรวมกันจะเทากับ 180 องศา
(รูปที่ A2.1 ก) แตกรณีสามเหลี่ยมบนผิวทรงกลม มุมภายในรวมกันจะมีคามากกวา 180 องศา
(รูปที่ A2.1 ข)
P
A

Q
R

B C

     
A  B C  180  P  Q  R  180
ก) ข)

รูปที่ A 2.1 ก) สามเหลี่ยมบนพื้นราบ ข) สามเหลี่ยมบนผิวทรงกลม

ตามที่กลาวไปแลวในบทที่ 2 วาดวงอาทิตยเคลื่อนที่อยูบนผิวของทรงกลมทองฟา ใน
การคํ านวณการเคลื่อนที่แ ละตําแหนงของดวงอาทิต ย จําเป น ตองมีความรูพื้ นฐานเกี่ยวกั บ
เรขาคณิตบนผิวทรงกลม โดยความรูที่สําคัญมีดังนี้

A 2.1 วงกลมและสามเหลี่ยมบนผิวทรงกลม (Smart, 1971)


วงกลมที่อยูบนผิวของทรงกลม สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท ไดแก วงกลมใหญ
(great circle) และวงกลมเล็ก (small circle) โดยวงกลมใหญคือ วงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่จุด
ศูนยกลางของทรงกลม สวนวงกลมเล็กจะมีจุดศูนยกลางอยูที่ตําแหนงอื่น หรือกลาวอีกอยาง

603
604

หนึ่ งว า วงกลมใหญ เกิ ดจากการตั ดกั นของระนาบที่ ผ านศู นย กลางของทรงกลมกั บผิ วของทรงกลม
และวงกลมเล็กเกิดจากการตัดกันของระนาบที่มิไดผานศูนยกลางของทรงกลมกับผิวทรงกลม
ตามตัวอยางในรูปที่ A 2.2

C R F
D
O C
A
B

รูปที่ A 2.2 วงกลมใหญ ABC และวงกลมเล็ก DEF

สามเหลี่ยมบนผิวทรงกลมที่เกิดจากการตัดกันของเสนรอบวงของวงกลมใหญ 3 วง
จะเรียกวา สามเหลี่ยมผิวทรงกลม (spherical triangle) ดังตัวอยางในรูปที่ A2.3 สามเหลี่ยม
PZX เปนสามเหลี่ยมผิวทรงกลม ทั้งนี้เพราะเปนสามเหลี่ยมที่เกิดจากการตัดกันของวงกลม
ใหญ ZXY, PXQ และ ZPY

604
605

Z
30°
90°
P

X O

Q
Y
รูปที่ A 2.3 การตัดกันของวงกลมใหญ ZXY, PXQ และ ZPY และสามเหลี่ยมผิวทรงกลม PZX

ทํานองเดียวกับกรณีสามเหลี่ยมบนพื้นราบ สามเหลี่ยมผิวทรงกลมจะประกอบดวย
ดาน 3 ดาน และมุม 3 มุม ในการบอกขนาดของดานทั้ง 3 ดานของสามเหลี่ยมผิวทรงกลมจะ
บอกเปนอารค (arc) หรือสวนโคงของวงกลมที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางของทรงกลมซึ่งมี
หนวยเปนองศาหรือเรเดียน โดยเราจะใชสัญลักษณ “ ” แทนสวนโคงของวงกลมและใช
สัญลักษณ “  ” แทนมุม ตัวอยางเชน สามเหลี่ยม PZX มีคา PZ = 30 องศา ทั้งนี้เพราะมุม
PÔZ = 30 องศา
เนื่องจากดานแตละดานของสามเหลี่ยมผิวทรงกลมจะอยูบนระนาบของวงกลมใหญ
3 วง มุมภายในของสามเหลี่ยมผิวทรงกลมจะบอกดวยมุมระหวางระนาบ 2 ระนาบที่มาตัดกัน

และทําใหเกิดมุมนั้น ตัวอยางเชน วงกลม ZPY ตัดกับวงกลม ZXY ทําใหเกิดมุม P Z X = 90
องศา

605
606

A 2.2 ความสัมพันธระหวางดานและมุมของสามเหลี่ยมผิวทรงกลม (Smart, 1971)


ถามี ส ามเหลี่ย มผิว ทรงกลม ABC ซึ่งประกอบดว ยดานที่เ ป น ส วนโคงของวงกลม
  
AB, BC และ CA และมีมุมภายในเปน C A B , A B C และ B C A ตามรูปที่ A2.4

C
A

รูปที่ A 2.4 สามเหลี่ยมผิวทรงกลม ABC

อาศั ย ทฤษฎี ท างเรขาคณิ ต เราสามารถหาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งด า นกั บ มุ ม ของ


สามเหลี่ยม ABC เปนสูตรตางๆ ดังนี้
1) สูตรโคซายน (cosine formula) ซึ่งจะเขียนไดดังสมการ

cos BC  cos AB cos AC sin AB sin AC cos B A C (A 2.1)

cos AC  cos AB cos BC sin AB sin BC cos A B C (A 2.2)

cos AB  cos BC cos AC sin BC sin AC cos B C A (A 2.3)
2) สูตรซายน (sine formula) เขียนไดดังสมการ
  
sin B A C sin A B C sin B C A
  (A 2.4)
sin BC sin AC sin AB

606
607

เอกสารอางอิง

Smart, W.M., 1971. Spherical Astronomy. Cambridge University Press, Cambridge, UK.

607
608
609

ภาคผนวกที่ 3
สัมประสิทธิ์ตางๆ สําหรับใชคํานวณรังสีอาทิตย

ในภาคผนวกนี้จะแสดงคาสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของไอน้ํา โอโซน และ


กาซตางๆ รวมถึงคาเดคลิเนชันของดวงอาทิตย และแฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของ
ระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย ตามตารางตอไปนี้

ตารางที่ A3.1 คาสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีของไอน้ํา ( k w ) ที่ความยาวคลื่นตางๆ (  )


(ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)
-1 -1 -1
(m) kw(cm ) (m) kw(cm ) (m) kw(cm )
-1 2 4
0.69 0.160x10 0.93 0 270x10 1.85 0.220x10
-1 2 4
0.70 0.240x10 0.94 0.380x10 1.90 0.140x10
-1 2 3
0.71 0.125x10 0.95 0.410x10 1.95 0.160x10
2
0.72 1.000 0.96 0.260x10 2.00 2.900
1
0.73 0.870 0.97 0.310x10 2.10 0.220
-1 1
0.74 0.610x10 0.98 0.148x10 2.20 0.330
-2
0.75 0.100x10 0.99 0.125 2.30 0.590
-4 -2 2
0.76 0.100x10 1.00 0.250x10 2.40 0.203x10
-4 -4 3
0.77 0.100x10 1.05 0.100x10 2.50 0.310x10
-3 5
0.78 0.600x10 1.10 3.200 2.60 0.150x10
-1 2 5
0.79 0.175x10 1.15 0.230x10 2.70 0.220x10
-1 -1 4
0.80 0.360x10 1.20 0.160x10 2.80 0.800x10
-3 3
0.81 0.330 1.25 0.180x10 2.90 0.650x10
3
0.82 1.530 1.30 2.900 3.00 0.240x10
0.83 0.660 1.35 0.200x103 3.10 0.230x103
4 3
0.84 0.155 1.40 0.110x10 3.20 0.100x10
-2 3 3
0.85 0.300x10 1.45 0.150x10 3.30 0.120x10
-4 2 2
0.86 0.100x10 1.50 0.150x10 3.40 0.195x10
-4 -2
0.87 0.100x10 1.55 0.170x10 3.50 3.600
-2 -1
0.88 0.260x10 1.60 0.100x10 3.60 3.100
-1 -1
0.89 0.630x10 1.65 0.100x10 3.70 2.500
0.90 2.100 1.70 0.510 3.80 1.400
0.91 1.600 1.75 4.000 3.90 0.170
3 -2
0.92 1.250 1.80 0.130x10 4.00 0.450x10

609
610

ตารางที่ A3.2 คาสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของโอโซน ( k o ) ที่ความยาวคลื่นตางๆ


(  ) (ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)

-1 -1 -1
(m) ko(cm ) (m) ko(cm ) (m) ko(cm )
0.290 38.000 0.485 0.017 0.595 0.120
0.295 20.000 0.490 0.021 0.600 0.125
0.300 10.000 0.495 0.025 0.605 0.130
0.305 4.800 0.500 0.030 0.610 0.120
0.310 2.700 0.505 0.035 0.620 0.105
0.315 1.350 0.510 0.040 0.630 0.090
0.320 0.800 0.515 0.045 0.640 0.079
0.325 0.380 0.520 0.048 0.650 0.067
0.330 0.160 0.525 0.057 0.660 0.057
0.335 0.075 0.530 0.063 0.670 0.048
0.340 0.040 0.535 0.070 0.680 0.036
0.345 0.019 0.540 0.075 0.690 0.028
0.350 0.007 0.545 0.080 0.700 0.023
0.355 0.000 0.550 0.085 0.710 0.018
0.445 0.003 0.555 0.095 0.720 0.014
0.450 0.003 0.560 0.103 0.730 0.011
0.455 0.004 0.565 0.110 0.740 0.010
0.460 0.006 0.570 0.120 0.750 0.009
0.465 0.008 0.575 0.122 0.760 0.007
0.470 0.009 0.580 0.120 0.770 0.004
0.475 0.012 0.585 0.118 0.780 0.000
0.480 0.014 0.590 0.115 0.790 0.000

610
611

ตารางที่ A3.3 สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของกาซ ( k g ) ที่ความยาวคลื่นตางๆ (  )


(ดัดแปลงจาก Iqbal, 1983)
-1 -1 -1
(m) kg(cm ) (m) kg(cm ) (m) kg(cm )
-2 -3
1.25 0.730x10 1.85 0.145x10 2.90 0.130
1.30 0.400x10-3 1.90 0.710x10-2 3.00 0.950x10-2
1.35 0.110x10-3 1.95 2.000 3.10 0.100x10-2
1.40 0.100x10-4 2.00 3.000 3.20 0.800
1.45 0.640x10-1 2.10 0.240 3.30 1.900
1.50 0.630x10-3 2.20 0.380x10-3 3.40 1.300
1.55 0.100x10-1 2.30 0.110x10-2 3.50 0.750x10-1
1.60 0.640x10-1 2.40 0.170x10-2 3.60 0.100x10-1
1.65 0.145x10-2 2.50 0.140x10-3 3.70 0.195x102
1.70 0.100x10-4 2.60 0.660x10-3 3.80 0.400x10-2
1.75 0.100x10-4 2.70 0.100x103 3.90 0.290
1.80 0.100x10-4 2.80 0.150x103 4.00 0.250x10-1

611
612

ตารางที่ A3.4 คาเดคลิเนชันของดวงอาทิตย (  ) คํานวณจากสมการ (2.1) ในบทที่ 2

เดคลิเนชันของดวงอาทิตย (องศา)
วันที่ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1 -23.07 -17.28 -7.78 4.36 14.93 22.02 23.20 18.20 8.51 -2.95 -14.26 -21.74
2 -22.99 -17.00 -7.40 4.75 15.24 22.15 23.13 17.94 8.14 -3.33 -14.58 -21.90
3 -22.90 -16.71 -7.02 5.13 15.54 22.29 23.06 17.69 7.78 -3.72 -14.90 -22.05
4 -22.80 -16.41 -6.63 5.51 15.83 22.41 22.98 17.42 7.41 -4.11 -15.22 -22.19
5 -22.70 -16.11 -6.25 5.89 16.12 22.53 22.89 17.16 7.04 -4.50 -15.53 -22.32
6 -22.59 -15.81 -5.86 6.27 16.41 22.64 22.80 16.89 6.67 -4.88 -15.83 -22.45
7 -22.47 -15.50 -5.47 6.65 16.69 22.74 22.70 16.61 6.30 -5.27 -16.13 -22.57
8 -22.34 -15.18 -5.08 7.03 16.96 22.84 22.59 16.33 5.93 -5.65 -16.43 -22.68
9 -22.21 -14.87 -4.69 7.40 17.24 22.93 22.48 16.05 5.55 -6.03 -16.72 -22.79
10 -22.07 -14.54 -4.30 7.77 17.50 23.01 22.36 15.76 5.17 -6.41 -17.01 -22.28
11 -21.92 -14.22 -3.90 8.14 17.77 23.09 22.23 15.46 4.80 -6.79 -17.29 -22.98
12 -21.76 -13.89 -3.51 8.51 18.02 23.16 22.10 15.17 4.42 -7.17 -17.57 -23.06
13 -21.60 -13.55 -3.12 8.87 18.28 23.23 21.96 14.87 4.03 -7.55 -17.84 -23.13
14 -21.43 -13.22 -2.72 9.24 18.52 23.28 21.81 14.56 3.56 -7.92 -18.11 -23.20
15 -21.25 -12.87 -2.33 9.60 18.77 23.33 21.66 14.25 3.27 -8.30 -18.37 -23.26
16 -21.07 -12.53 -1.93 9.95 19.00 23.38 21.50 13.94 2.88 -8.67 -18.62 -23.31
17 -20.88 -12.18 -1.54 10.31 19.23 23.41 21.34 13.62 2.50 -9.04 -18.87 -23.36
18 -20.68 -11.83 -1.14 10.66 19.46 23.44 21.17 13.30 2.11 -9.40 -19.12 -23.39
19 -20.48 -11.47 -0.74 11.01 19.68 23.47 20.99 12.98 1.72 -9.77 -19.36 -23.42
20 -20.27 -11.12 -0.35 11.35 19.90 23.48 20.81 12.66 1.34 -10.13 -19.59 -23.44
21 -20.05 -10.76 0.05 11.70 20.10 23.49 20.63 12.33 0.95 -10.49 -19.82 -23.46
22 -19.83 -10.39 0.44 12.04 20.31 23.49 20.43 11.99 0.56 -10.85 -20.04 -23.46
23 -19.60 -10.03 0.84 12.37 20.51 23.49 20.23 11.66 0.17 -11.21 -20.25 -23.46
24 -19.37 -9.66 1.23 12.71 20.70 23.47 20.03 11.32 -0.22 -11.56 -20.46 -23.45
25 -19.13 -9.29 1.63 13.04 20.88 23.46 19.82 10.98 -0.61 -11.91 -20.67 -23.43
26 -18.88 -8.91 2.02 13.36 21.07 23.43 19.60 10.63 -1.00 -12.25 -20.86 -23.40
27 -18.63 -8.54 2.41 13.68 21.24 23.40 19.38 10.28 -1.39 -12.60 -21.05 -23.37
28 -18.37 -8.16 2.80 14.00 21.41 23.36 19.32 9.93 -1.78 -12.94 -21.23 -23.33
29 -18.11 3.19 14.32 21.57 23.31 18.92 9.58 -2.17 -13.27 -21.41 -23.28
30 -17.84 3.58 14.63 21.73 23.26 18.68 9.22 -2.56 -13.61 -21.58 -23.22
31 -17.56 3.97 21.87 18.44 8.87 -13.94 -23.16

612
613

ตารางที่ A3.5 คาแฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับ


ดวงอาทิตย (E0) คํานวณจากสมการ (2.66) ในบทที่ 2

E0
วันที่ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
1 1.0350 1.0306 1.0190 1.0014 0.9845 0.9717 0.9666 0.9700 0.9814 0.9976 1.0155 1.0291
2 1.0351 1.0303 1.0185 1.0080 0.9840 0.9714 0.9666 0.9703 0.9819 0.9982 1.0161 1.0295
3 1.0351 1.0300 1.0180 1.0020 0.9835 0.9712 0.9666 0.9705 0.9823 0.9988 1.0166 1.0298
4 1.0351 1.0297 1.0174 0.9997 0.9830 0.9709 0.9666 0.9708 0.9828 0.9994 1.0171 1.0301
5 1.0351 1.0294 1.0169 0.9991 0.9825 0.9706 0.9666 0.9711 0.9833 0.9999 1.0177 1.0304
6 1.0350 1.0290 1.0164 0.9985 0.9821 0.9703 0.9666 0.9713 0.9838 1.0005 1.0182 1.0307
7 1.0350 1.0287 1.0158 0.9979 0.9816 0.9701 0.9666 0.9716 0.9843 1.0011 1.0187 1.0310
8 1.0350 1.0283 1.0153 0.9973 0.9811 0.9698 0.9666 0.9719 0.9848 1.0017 1.0192 1.0313
9 1.0349 1.0279 1.0147 0.9967 0.9806 0.9696 0.9967 0.9722 0.9854 1.0023 1.0197 1.0316
10 1.0348 1.0276 1.0142 0.9961 0.9802 0.9694 0.9967 0.9726 0.9859 1.0029 1.0202 1.0319
11 1.0347 1.0272 1.0136 0.9956 0.9797 0.9692 0.9668 0.9729 0.9864 1.0035 1.0207 1.0321
12 1.0347 1.0268 1.0131 0.9950 0.9793 0.9690 0.9668 0.9732 0.9869 1.0041 1.0212 1.0324
13 1.0346 1.0264 1.0125 0.9944 0.9788 0.9687 0.9969 0.9736 0.9875 1.0047 1.0217 1.0326
14 1.0344 1.0260 1.0119 0.9938 0.9784 0.9686 0.9670 0.9739 0.9880 1.0053 1.0222 1.0328
15 1.0343 1.0256 1.0114 0.9932 0.9780 0.9684 0.9671 0.9743 0.9885 1.0058 1.0226 1.0330
16 1.0342 1.0251 1.0108 0.9927 0.9775 0.9682 0.9672 0.9746 0.9891 1.0064 1.0231 1.0332
17 1.0340 1.0247 1.0102 0.9921 0.9771 0.9680 0.9673 0.9750 0.9896 1.0070 1.0235 1.0334
18 1.0339 1.0243 1.0097 0.9915 0.9767 0.9679 0.9674 0.9754 0.9902 1.0076 1.0240 1.0336
19 1.0337 1.0238 1.0091 0.9910 0.9763 0.9677 0.9675 0.9758 0.9907 1.0082 1.0244 1.0338
20 1.0335 1.0234 1.0085 0.9904 0.9759 0.9676 0.9677 0.9762 0.9913 1.0088 1.0249 1.0339
21 1.0334 1.0229 1.0079 0.9899 0.9755 0.9675 0.9678 0.9766 0.9918 1.0093 1.0253 1.0341
22 1.0332 1.0224 1.0073 0.9893 0.9751 0.9673 0.9678 0.9770 0.9924 1.0099 1.0257 1.0342
23 1.0330 1.0220 1.0067 0.9888 0.9748 0.9672 0.9681 0.9774 0.9930 1.0105 1.0261 1.0344
24 1.0327 1.0215 1.0062 0.9882 0.9744 0.9671 0.9683 0.9778 0.9935 1.0111 1.0265 1.0345
25 1.0325 1.0210 1.0056 0.9877 0.9740 0.9670 0.9685 0.9782 0.9941 1.0116 1.0269 1.0346
26 1.0323 1.0205 1.0050 0.9872 0.9737 0.9669 0.9687 0.9787 0.9947 1.0122 1.0273 1.0347
27 1.0320 1.0200 1.0044 0.9866 0.9733 0.9669 0.9689 0.9791 0.9953 1.0128 1.0277 1.0348
28 1.0318 1.0195 1.0038 0.9861 0.9730 0.9668 0.9691 0.9795 0.9959 1.0133 1.0281 1.0349
29 1.0315 1.0032 0.9856 0.9727 0.9667 0.9693 0.9800 0.9964 1.0139 1.0284 1.0349
30 1.0312 1.0026 0.9851 0.6724 0.9967 0.9695 0.9805 0.9970 1.0144 1.0288 1.0350
31 1.0309 1.0020 0.9720 0.9698 0.9809 1.0150 1.0350

613
614

เอกสารอางอิง

Iqbal M., 1983. Introduction to Solar Radiation. Academic Press, New York.

614
615

ภาคผนวกที่ 4
ขอมูลรังสีอาทิตยในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน

เนื่องจากขอมูลรังสีอาทิตยเปนขอมูลพื้นฐานของงานดานพลังงานรังสีอาทิตย ดังนั้น
ผู เ ขี ย นจึ ง ได จั ด ตั้ ง สถานี วั ด รั ง สี อ าทิ ต ย ขึ้ น ในภู มิ ภ าคต า งๆ 4 แห ง ได แ ก สถานี น ครปฐม
เชียงใหม อุบลราชธานี และสงขลา (รูปที่ A4.1-A4.4) โดยแตละสถานีทําการวัดรังสีรวม รังสี
อัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษย ความสวางจากรังสีอาทิตย และรังสีอาทิตยในชวง
ความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสง ผูเขียนไดรวบรวมขอมูลรายชั่วโมงของรังสีดังกลาว
จํานวน 5 ป และชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทนของทั้ง 4 สถานี (Janjai and Deeyai, 2009)
จัด เก็บ ในแผ น ซี ดีท า ยเล ม นอกจากนี้ ไ ด บ รรจุข อมู ลรายวัน เฉลี่ย ตอ เดื อ นของรั ง สี รวมใน
ประเทศไทย ลาว กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม ซึ่งคํานวณจากขอมูลภาพถายดาวเทียมไว
ดวย (Janjai, 2013; Janjai, 2008; Janjai et al., 2011; Janjai et al., 2013a&b) โดยขอมูลทั้งหมด
จัดเก็บในรูปแบบของไฟลของโปรแกรม Microsoft Excel
เนื่องจากขอมูลจากการวัดจะมีบางสวนขาดหายไป ผูเขียนจึงไดคํานวณซอมโดยใช
ขอมูลภาพถายดาวเทียมซึ่งพิมพเปนสีแดง โดยขอมูลจากการวัดจะมีความคลาดเคลื่อน (error)
ไมเกิน 5% และขอมูลที่คํานวณซอมจะมีความคลาดเคลื่อนประมาณ 20% สําหรับขอมูลรังสี
รวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนที่คํานวณจากขอมูลภาพถายดาวเทียมจะมีความคลาดเคลื่อนไมเกิน
10%
ตัวอยางของขอมูลที่บรรจุในแผนซีดีแสดงไวในตารางที่ A4.1-A4.5 สําหรับชุดขอมูล
อุตุนิยมวิทยาตัวแทนจะมีรูปแบบตามตารางที่ 10.5 ในบทที่ 10

615
616

รูปที่ A4.1 อุปกรณวดั ที่สถานีนครปฐม

รูปที่ A4.2 อุปกรณวดั ที่สถานีเชียงใหม

รูปที่ A4.3 อุปกรณวดั ที่สถานีอุบลราชธานี

รูปที่ A4.4 อุปกรณวดั ที่สถานีสงขลา

616
617

ตารางที่ A4.1 ตัวอยางขอมูลรังสีรวม โดยคอลัมนที่ 1-3 เปน ป เดือน วัน และคอลัมนที่ 4-17
เปนคารังสีรวมรายชั่วโมงในหนวยเมกะจูลตอตารางเมตรตอชั่วโมงตามเวลา
มาตรฐานประเทศไทย และคอลัมนที่ 18 เปนคารังสีรวมรายวันในหนวยเมกะจูล
ตอตารางเมตรตอวัน
-2 -1
Hourly global radiation (MJ m h ) Daily
-2 -1
Year Month Day 5-6 6-7 7-8 8-9 9-10 10-11 11-12 12-13 13-14 14-15 15-16 16-17 17-18 18-19 (MJ m day )
2006 1 1 0.000 0.000 0.182 0.835 1.543 2.254 2.643 2.790 2.667 2.306 1.727 0.963 0.277 0.000 18.187
2006 1 2 0.000 0.000 0.165 0.836 1.635 2.270 2.651 2.771 2.695 2.340 1.746 0.910 0.178 0.000 18.197
2006 1 3 0.000 0.000 0.192 0.974 1.674 2.285 2.671 2.765 2.653 2.278 1.686 0.956 0.243 0.000 18.377
2006 1 4 0.000 0.000 0.166 0.867 1.666 2.277 2.669 2.830 2.687 2.302 1.709 0.995 0.250 0.000 18.418
2006 1 5 0.000 0.000 0.171 0.847 1.664 2.287 2.683 2.844 2.740 2.376 1.751 1.021 0.253 0.000 18.637
2006 1 6 0.000 0.000 0.178 0.829 1.600 2.182 2.572 2.697 2.586 2.219 1.683 0.963 0.253 0.000 17.762
2006 1 7 0.000 0.000 0.117 0.627 1.421 1.352 1.547 2.479 2.448 2.142 1.486 0.838 0.223 0.000 14.680
2006 1 8 0.000 0.000 0.139 0.731 1.465 1.694 2.483 2.657 2.597 1.876 1.691 0.922 0.253 0.000 16.508
2006 1 9 0.000 0.000 0.100 0.385 0.843 1.893 2.267 2.459 1.884 1.760 1.129 0.922 0.266 0.000 13.908
2006 1 10 0.000 0.000 0.088 0.734 1.456 2.031 2.314 2.489 2.518 2.149 1.627 0.970 0.262 0.000 16.638
2006 1 11 0.000 0.000 0.139 0.686 1.469 2.079 2.480 2.691 2.610 2.260 1.705 0.993 0.283 0.000 17.395
2006 1 12 0.000 0.000 0.133 0.717 1.468 2.129 2.560 2.672 2.605 2.247 1.696 1.013 0.282 0.000 17.522
2006 1 13 0.000 0.000 0.157 0.844 1.598 2.194 2.608 2.757 2.630 2.303 1.774 1.047 0.316 0.000 18.228
2006 1 14 0.000 0.000 0.177 0.865 1.595 2.195 2.607 2.857 2.776 2.447 1.861 1.140 0.359 0.000 18.879
2006 1 15 0.000 0.000 0.165 0.856 1.609 2.218 2.676 2.849 2.760 2.443 1.847 1.119 0.342 0.000 18.884
2006 1 16 0.000 0.000 0.164 0.845 1.606 2.212 2.625 2.785 2.745 2.371 1.830 1.099 0.344 0.000 18.626
2006 1 17 0.000 0.000 0.157 0.827 1.533 2.158 2.581 2.757 2.664 2.359 1.820 1.117 0.359 0.000 18.332
2006 1 18 0.000 0.000 0.149 0.749 1.602 2.189 2.618 2.820 2.701 2.356 1.771 1.035 0.325 0.000 18.315
2006 1 19 0.000 0.000 0.151 0.785 1.531 2.158 2.583 2.776 2.713 2.364 1.800 1.081 0.339 0.000 18.281
2006 1 20 0.000 0.000 0.146 0.788 1.535 2.166 2.600 2.782 2.697 2.394 1.828 1.091 0.344 0.000 18.371
2006 1 21 0.000 0.000 0.152 0.821 1.524 2.146 2.552 2.780 2.693 2.356 1.785 1.095 0.345 0.000 18.249
2006 1 22 0.000 0.000 0.147 0.809 1.541 2.212 2.650 2.804 2.727 2.368 1.838 1.117 0.360 0.000 18.573
2006 1 23 0.000 0.000 0.121 0.655 1.341 1.894 2.265 2.442 2.387 2.088 1.601 0.939 0.279 0.000 16.012
2006 1 24 0.000 0.000 0.082 0.497 0.912 1.397 2.101 2.538 2.459 2.162 1.612 0.949 0.225 0.000 14.934
2006 1 25 0.000 0.000 0.066 0.374 0.980 1.796 2.269 2.553 2.509 2.072 1.370 0.872 0.271 0.000 15.132
2006 1 26 0.000 0.000 0.101 0.466 0.830 1.600 2.114 2.047 2.259 2.246 1.627 0.951 0.303 0.000 14.544
2006 1 27 0.000 0.000 0.108 0.601 1.379 2.002 2.404 2.660 2.609 2.292 1.731 1.001 0.325 0.000 17.112
2006 1 28 0.000 0.000 0.128 0.696 1.420 2.053 2.508 2.679 2.586 2.188 1.750 1.059 0.336 0.000 17.403
2006 1 29 0.000 0.000 0.124 0.573 1.316 2.035 2.496 2.696 2.440 2.398 1.796 1.107 0.365 0.000 17.346
2006 1 30 0.000 0.000 0.133 0.695 1.407 2.029 2.492 2.674 2.738 2.390 1.813 1.157 0.384 0.000 17.912
2006 1 31 0.000 0.000 0.120 0.633 1.284 1.942 2.410 2.644 2.634 2.299 1.695 1.021 0.333 0.000 17.015
2006 2 1 0.000 0.000 0.116 0.622 1.301 1.925 2.371 2.586 2.629 2.252 1.674 1.011 0.342 0.000 16.829
2006 2 2 0.000 0.000 0.133 0.756 1.480 2.124 2.547 2.752 2.771 2.398 1.760 1.123 0.401 0.000 18.245
2006 2 3 0.000 0.000 0.150 0.784 1.547 2.212 2.650 2.835 2.828 2.484 1.867 1.113 0.415 0.000 18.885
2006 2 4 0.000 0.000 0.137 0.578 1.184 1.285 2.221 2.420 2.413 2.087 1.501 0.854 0.273 0.000 14.953
2006 2 5 0.000 0.000 0.095 0.457 1.298 1.844 2.312 2.552 2.496 2.011 1.585 0.844 0.205 0.000 15.699
2006 2 6 0.000 0.000 0.088 0.460 1.156 1.787 2.339 2.198 1.425 1.848 1.539 0.701 0.374 0.000 13.915
2006 2 7 0.000 0.000 0.126 0.658 1.188 1.865 1.730 2.216 1.011 1.975 1.761 0.542 0.114 0.000 13.186
2006 2 8 0.000 0.000 0.142 0.694 1.170 1.716 2.198 2.592 2.569 1.675 1.076 0.690 0.337 0.000 14.859
2006 2 9 0.000 0.000 0.190 0.590 1.401 1.906 2.368 2.431 2.394 1.550 1.614 0.840 0.396 0.000 15.680
2006 2 10 0.000 0.000 0.205 0.626 1.379 1.663 2.378 2.555 2.613 1.975 1.292 0.908 0.302 0.000 15.896
2006 2 11 0.000 0.000 0.142 0.546 1.330 2.036 2.492 2.822 2.423 2.349 1.216 0.921 0.294 0.000 16.571
2006 2 12 0.000 0.000 0.160 0.793 1.568 2.164 2.598 2.821 2.816 2.521 1.944 1.290 0.472 0.000 19.147
2006 2 13 0.000 0.000 0.126 0.658 1.402 2.098 2.525 2.747 2.785 2.501 1.855 1.163 0.424 0.000 18.284
2006 2 14 0.000 0.000 0.179 0.860 1.604 2.214 2.638 2.881 2.879 2.573 1.948 1.221 0.485 0.000 19.482
2006 2 15 0.000 0.000 0.215 0.954 1.686 2.283 2.757 2.950 2.951 2.631 1.998 1.312 0.539 0.000 20.276
2006 2 16 0.000 0.000 0.207 0.914 1.630 2.213 2.741 2.953 2.981 2.683 1.964 1.301 0.533 0.000 20.120
2006 2 17 0.000 0.000 0.219 0.970 1.759 2.357 2.742 2.941 2.957 2.647 2.005 1.310 0.558 0.000 20.465
2006 2 18 0.000 0.000 0.223 0.955 1.722 2.316 2.717 2.882 2.844 2.659 1.996 1.266 0.567 0.000 20.147
2006 2 19 0.000 0.000 0.216 0.944 1.644 2.222 2.641 2.893 2.999 2.706 2.075 1.333 0.515 0.000 20.188
2006 2 20 0.000 0.000 0.197 0.930 1.663 2.209 2.654 2.859 2.952 2.675 1.984 1.248 0.376 0.000 19.747
2006 2 21 0.000 0.000 0.221 0.944 1.712 2.303 2.685 2.873 2.882 2.620 2.026 1.329 0.563 0.000 20.158
2006 2 22 0.000 0.000 0.226 1.349 2.134 2.779 3.155 3.242 3.126 2.742 2.015 1.141 0.154 0.000 22.063
2006 2 23 0.000 0.000 0.278 1.359 2.142 1.995 2.530 3.165 3.054 2.630 1.911 1.130 0.172 0.000 20.366
2006 2 24 0.000 0.000 0.257 1.364 2.145 2.787 3.161 3.247 3.113 2.638 2.024 1.151 0.160 0.000 22.047
2006 2 25 0.000 0.000 0.284 1.386 2.170 2.834 3.189 3.274 3.155 2.659 2.040 1.163 0.179 0.000 22.333

617
618

ตารางที่ A4.2 ตัวอยางขอมูลความสวางจากแสงรวม (global illuminance) โดยคอลัมนที่ 1-3


เปน ป เดือน วัน และคอลัมนที่ 4-17 เปนคาความสวางรายชั่วโมงในหนวยกิโลลักซ
ตามเวลามาตรฐานประเทศไทย
Hourly global illuminance (klux)
Year Month Day 5-6 6-7 7-8 8-9 9-10 10-11 11-12 12-13 13-14 14-15 15-16 16-17 17-18 18-19
2006 1 1 0.00 0.00 6.10 27.70 52.50 77.00 89.20 93.30 89.30 78.00 59.00 32.90 8.20 0.10
2006 1 2 0.00 0.00 5.40 28.20 56.70 77.40 89.20 92.50 90.20 79.20 59.40 31.10 6.50 0.10
2006 1 3 0.00 0.00 5.90 30.90 57.90 77.40 89.10 91.40 87.90 76.30 57.00 32.20 8.40 0.10
2006 1 4 0.00 0.00 5.70 28.60 58.00 77.70 89.60 94.30 90.00 77.60 58.10 33.70 8.70 0.20
2006 1 5 0.00 0.10 6.30 27.60 57.30 77.70 89.70 94.20 90.60 79.40 59.10 34.40 9.60 0.30
2006 1 6 0.00 0.10 6.10 28.40 55.90 75.20 87.30 91.00 87.10 75.50 57.80 33.10 9.40 0.40
2006 1 7 0.00 0.10 4.20 21.70 47.10 44.00 54.60 81.80 81.80 71.90 50.80 27.50 7.50 0.40
2006 1 8 0.00 0.10 5.20 24.70 48.80 59.20 82.30 88.40 86.50 64.40 57.00 30.80 9.10 0.40
2006 1 9 0.00 0.10 3.60 13.20 29.80 63.30 74.50 74.10 75.30 58.40 35.40 30.40 9.10 0.40
2006 1 10 0.00 0.10 4.30 23.60 48.90 67.60 76.20 80.90 83.00 71.40 54.20 31.70 9.30 0.50
2006 1 11 0.00 0.10 4.90 23.00 48.90 69.20 81.90 87.90 85.50 74.60 56.50 32.90 9.80 0.50
2006 1 12 0.00 0.10 4.60 21.40 49.30 70.50 84.10 87.30 84.70 73.50 56.00 33.20 10.00 0.50
2006 1 13 0.00 0.10 5.50 26.50 54.30 73.50 86.00 90.30 85.70 75.60 58.70 34.40 11.00 0.60
2006 1 14 0.00 0.10 6.30 29.10 53.70 73.10 85.10 92.60 90.10 80.50 61.50 37.60 12.40 0.70
2006 1 15 0.00 0.10 5.80 28.70 54.50 74.10 87.50 92.50 89.60 79.60 60.80 36.80 11.80 0.60
2006 1 16 0.00 0.10 5.60 27.90 54.20 73.10 85.40 89.80 89.40 77.40 59.60 35.90 12.00 0.40
2006 1 17 0.00 0.00 5.00 27.10 51.10 70.70 83.90 89.20 86.30 77.40 59.90 36.60 11.70 0.40
2006 1 18 0.00 0.00 4.60 23.80 54.20 72.60 85.70 91.50 87.30 77.30 58.50 33.70 10.70 0.40
2006 1 19 0.00 0.00 4.80 25.90 51.10 71.30 84.60 89.80 88.40 77.70 59.40 35.60 11.40 0.40
2006 1 20 0.00 0.00 4.60 25.00 50.80 71.20 84.60 89.70 87.20 78.60 60.20 36.20 11.50 0.50
2006 1 21 0.00 0.00 4.90 26.00 50.40 70.10 81.80 88.60 86.10 76.40 57.80 35.40 11.30 0.50
2006 1 22 0.00 0.00 4.70 26.00 50.80 72.60 85.80 90.30 87.90 77.20 59.50 36.00 11.70 0.50
2006 1 23 0.00 0.00 4.00 20.60 43.20 61.00 72.10 77.60 76.00 66.80 50.50 28.80 8.70 0.40
2006 1 24 0.00 0.00 2.70 15.60 29.70 45.30 67.50 81.20 78.90 69.70 51.10 29.50 8.00 0.40
2006 1 25 0.00 0.00 2.20 12.00 30.80 55.00 71.80 80.90 79.70 66.50 42.90 26.40 8.60 0.50
2006 1 26 0.00 0.00 3.00 14.60 26.90 51.00 66.10 65.80 72.20 71.60 50.20 29.10 9.60 0.60
2006 1 27 0.00 0.00 3.80 19.40 44.50 65.10 77.60 85.80 84.10 74.40 55.70 31.30 10.40 0.60
2006 1 28 0.00 0.00 4.10 21.70 46.00 66.70 80.90 85.80 82.50 70.80 56.10 33.40 10.50 0.60
2006 1 29 0.00 0.00 4.10 18.50 42.10 65.80 79.80 86.00 76.10 74.50 58.20 35.30 11.60 0.70
2006 1 30 0.00 0.00 4.20 21.90 45.80 65.30 79.00 84.20 83.60 73.70 58.10 36.70 12.10 0.70
2006 1 31 0.00 0.00 3.90 19.50 40.60 61.80 75.70 82.50 80.00 70.50 53.90 31.70 10.40 0.70
2006 2 1 0.00 0.00 3.70 19.00 41.40 61.10 74.50 80.90 80.30 69.20 53.20 31.50 10.80 0.70
2006 2 2 0.00 0.00 4.50 24.70 49.40 69.60 81.60 87.40 85.60 74.80 57.10 36.30 13.00 0.80
2006 2 3 0.00 0.00 5.20 26.10 52.20 73.00 85.40 90.60 87.50 77.40 60.70 35.20 13.10 0.90
2006 2 4 0.00 0.00 3.80 17.10 36.10 39.90 69.10 75.10 73.40 63.30 46.30 25.60 8.40 0.60
2006 2 5 0.00 0.00 3.20 14.00 40.30 58.70 73.10 80.10 76.70 62.30 49.60 25.90 6.80 0.50
2006 2 6 0.00 0.00 2.90 14.90 36.40 57.50 74.40 68.90 45.60 58.50 47.80 22.80 11.30 0.80
2006 2 7 0.00 0.00 4.20 20.60 38.70 59.60 56.40 70.60 34.30 62.20 56.20 17.90 4.10 0.50
2006 2 8 0.00 0.00 4.70 21.90 38.60 55.40 70.80 82.50 80.50 53.30 35.20 22.50 11.00 0.70
2006 2 9 0.00 0.00 5.90 19.30 46.00 62.10 76.90 78.30 76.00 50.30 52.50 27.80 13.20 0.80
2006 2 10 0.00 0.00 6.30 20.50 45.40 54.80 77.50 82.30 82.00 62.60 42.10 29.00 10.20 0.90
2006 2 11 0.00 0.00 4.90 17.70 43.10 66.50 80.30 89.50 76.10 73.60 39.70 29.80 10.00 1.10
2006 2 12 0.00 0.00 5.50 26.50 53.00 71.50 84.10 90.70 88.50 79.70 63.90 41.90 16.00 1.20
2006 2 13 0.00 0.00 3.10 19.70 44.00 68.20 81.30 87.90 86.90 78.20 59.70 36.70 13.80 1.20
2006 2 14 0.00 0.10 5.70 27.40 52.40 72.30 84.90 92.40 90.00 80.50 63.10 38.70 15.60 1.30
2006 2 15 0.00 0.10 6.90 31.10 55.50 74.60 88.80 94.40 91.20 81.60 64.50 42.20 17.40 1.40
2006 2 16 0.00 0.10 6.40 28.90 52.80 71.50 88.20 94.30 92.20 82.60 62.60 41.00 16.90 1.50
2006 2 17 0.00 0.10 7.20 32.10 59.00 78.30 89.50 95.90 93.80 83.60 65.90 42.90 19.00 1.60
2006 2 18 0.00 0.10 7.20 31.20 57.50 76.50 88.40 93.30 89.40 83.90 65.00 40.60 19.00 1.80
2006 2 19 0.00 0.10 7.00 30.30 53.60 72.60 85.10 93.10 94.30 84.60 67.10 42.40 16.50 1.40
2006 2 20 0.00 0.10 6.40 29.60 54.60 72.10 85.70 92.50 93.00 83.70 63.80 39.20 12.40 1.10
2006 2 21 0.00 0.10 7.20 30.30 56.60 75.80 87.00 93.10 91.40 82.60 66.10 43.00 18.00 1.80
2006 2 22 0.00 0.00 8.15 45.36 68.53 87.28 98.14 100.60 97.06 85.53 63.88 37.56 5.00 0.00

618
619

ตารางที่ A4.3 ตัวอยางขอมูลความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่


พืชใชสังเคราะหแสง (PAR) โดยคอลัมนที่ 1-3 เปน ป เดือน วัน และคอลัมนที่
4-17 เปนคาความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่พืช
ใชสังเคราะหแสงรายชั่วโมงในหนวยไมโครโมลตอวินาทีตอตารางเมตร ตามเวลา
มาตรฐานประเทศไทย สําหรับคอลัมนที่ 18 เปนคาความหนาแนนฟลักซโฟตอน
ของรังสีรวมในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะหแสงรายวันในหนวยโมลตอ
ตารางเมตรตอวัน
-2 -1
Global PAR (μmol m s ) Daily PAR
-2 -1
Year Month Day 5-6 6-7 7-8 8-9 9-10 10-11 11-12 12-13 13-14 14-15 15-16 16-17 17-18 18-19 (mol m day )
2006 1 1 0.0 0.0 0.0 674.5 990.8 1192.3 1379.4 1381.8 1303.6 1071.8 766.5 368.6 0.0 0.0 32.9
2006 1 2 0.0 0.0 43.8 601.8 990.3 1192.9 1329.4 1384.7 1254.5 1076.1 739.9 373.2 11.8 0.0 32.4
2006 1 3 0.0 0.0 43.4 600.4 990.4 1184.8 1331.9 1388.2 1258.9 1081.0 745.0 403.5 11.9 0.0 32.5
2006 1 4 0.0 0.0 44.2 670.0 990.2 1240.4 1377.6 1391.4 1262.8 1085.6 781.2 413.2 12.3 0.0 33.4
2006 1 5 0.0 0.0 45.9 678.3 990.4 1196.6 1380.1 1394.9 1267.0 1090.3 786.3 388.2 13.0 0.0 33.2
2006 1 6 0.0 0.0 46.3 596.4 990.6 1198.0 1339.0 1398.3 1271.2 1101.9 759.9 393.0 13.3 0.0 32.8
2006 1 7 0.0 0.0 46.4 537.3 991.3 1030.4 1295.1 1394.1 1275.9 1049.3 765.2 398.3 13.6 0.0 31.7
2006 1 8 0.0 0.0 45.5 618.5 695.7 1223.5 1357.1 1427.9 1301.2 1074.8 790.8 423.9 13.5 0.0 32.3
2006 1 9 0.0 0.0 47.1 535.5 747.3 1212.8 1250.6 1331.6 1285.0 1110.1 775.3 408.1 14.3 0.0 31.4
2006 1 10 0.0 0.0 46.5 666.2 994.2 1251.6 1395.4 1414.9 1290.5 1116.3 788.1 414.1 14.4 0.0 33.8
2006 1 11 0.0 0.0 51.0 667.0 996.4 1255.1 1400.0 1420.3 1296.5 1122.6 787.9 420.1 16.1 0.0 34.0
2006 1 12 0.0 0.0 52.1 668.0 998.6 1258.4 1404.3 1425.6 1294.2 1135.7 825.6 426.0 16.7 0.0 34.2
2006 1 13 0.0 0.0 53.5 667.8 999.6 1260.6 1407.6 1429.9 1307.2 1134.1 830.8 431.0 17.5 0.0 34.3
2006 1 14 0.0 0.0 54.7 669.1 1002.2 1264.3 1412.4 1435.4 1313.3 1140.5 837.2 437.1 18.3 0.0 34.5
2006 1 15 0.0 0.0 56.0 670.6 1005.0 1222.9 1417.4 1441.3 1319.7 1147.3 812.4 443.4 19.1 0.0 34.4
2006 1 16 0.0 0.0 56.9 671.7 1007.2 1226.2 1421.6 1446.2 1325.0 1153.0 849.7 448.9 19.8 0.0 34.7
2006 1 17 0.0 0.0 58.4 673.1 1009.9 1275.4 1434.8 1451.8 1323.1 1159.4 824.4 480.5 20.8 0.0 35.0
2006 1 18 0.0 0.0 60.1 674.6 1012.5 1279.1 1422.6 1457.3 1337.2 1172.4 830.4 460.5 21.8 0.0 35.0
2006 1 19 0.0 0.0 61.5 676.8 1015.9 1283.6 1436.6 1463.7 1343.9 1172.5 868.8 466.8 22.7 0.0 35.3
2006 1 20 0.0 0.0 63.3 678.7 1018.9 1287.6 1441.5 1469.2 1403.2 1178.7 843.2 472.5 23.9 0.0 35.6
2006 1 21 0.0 0.0 65.0 608.9 1022.2 1246.5 1402.9 1475.4 1364.4 1185.5 881.5 478.7 25.0 0.0 35.1
2006 1 22 0.0 0.0 65.5 611.8 1026.1 1251.4 1452.7 1481.8 1363.2 1192.4 856.5 484.8 25.7 0.0 35.3
2006 1 23 0.0 0.0 67.3 686.1 1029.5 1255.6 1413.8 1487.6 1369.4 1147.2 862.6 490.5 27.0 0.0 35.4
2006 1 24 0.0 0.0 68.9 557.7 974.1 1089.4 1255.5 1493.1 1375.3 1153.2 819.2 467.2 28.1 0.0 33.4
2006 1 25 0.0 0.0 66.3 619.0 988.0 1225.4 1424.2 1456.6 1381.6 1159.5 874.4 472.8 27.6 0.0 34.9
2006 1 26 0.0 0.0 70.8 563.5 725.5 1269.1 1382.6 1462.7 1301.4 1082.4 831.5 478.6 30.0 0.0 33.1
2006 1 27 0.0 0.0 68.6 705.9 1044.2 1274.5 1436.0 1512.1 1395.1 1224.6 887.5 513.4 29.6 0.0 36.3
2006 1 28 0.0 0.0 76.9 700.1 1048.6 1325.1 1477.3 1518.7 1401.9 1231.4 893.9 519.2 33.8 0.0 36.8
2006 1 29 0.0 0.0 79.6 632.6 1053.2 1330.6 1492.1 1525.4 1408.7 1238.1 931.8 524.8 35.6 0.0 36.9
2006 1 30 0.0 0.0 81.4 707.5 1057.8 1335.9 1498.0 1531.9 1415.3 1244.6 938.0 530.4 37.1 0.0 37.4
2006 1 31 0.0 0.0 84.2 711.2 1062.3 1341.2 1504.1 1538.5 1422.1 1251.3 912.6 536.2 39.0 0.0 37.4
2006 2 1 0.0 0.0 86.1 709.9 1058.7 1344.2 1502.3 1532.5 1436.2 1249.4 909.5 534.3 40.6 0.0 37.5
2006 2 2 0.0 0.0 87.9 714.8 1064.4 1350.7 1509.4 1539.9 1443.7 1256.7 948.2 540.4 42.1 0.0 37.8
2006 2 3 0.0 0.0 90.6 710.2 1069.8 1311.3 1516.0 1547.0 1450.9 1263.7 954.8 546.3 44.1 0.0 37.8
2006 2 4 0.0 0.0 92.5 724.4 1075.4 922.3 1478.8 1554.1 1458.1 1218.9 929.3 523.2 45.7 0.0 36.1
2006 2 5 0.0 0.0 90.0 659.3 1081.2 1369.4 1538.2 1561.4 1465.5 1225.9 886.2 529.1 45.1 0.0 37.6
2006 2 6 0.0 0.0 95.8 663.6 1085.9 1227.7 1491.5 1533.4 1479.6 1231.8 852.8 562.7 48.8 0.0 37.0
2006 2 7 0.0 0.0 96.0 739.1 1092.0 1336.2 1498.9 1575.1 930.3 1238.9 947.6 494.2 49.6 0.0 36.0
2006 2 8 0.0 0.0 95.3 745.0 1098.4 1294.3 1458.9 1493.7 1400.4 871.9 721.2 327.6 49.9 0.0 34.4
2006 2 9 0.0 0.0 92.8 705.6 1079.9 1322.8 1487.3 1568.5 1428.5 1014.6 938.4 525.1 49.3 0.0 36.8
2006 2 10 0.0 0.0 101.3 630.4 1010.9 1307.5 1472.8 1553.8 1458.9 1175.0 733.3 510.4 54.5 0.0 36.0
2006 2 11 0.0 0.0 101.1 692.0 1116.3 1362.8 1517.8 1514.8 1507.3 1265.5 883.4 560.5 55.0 0.0 38.1
2006 2 12 0.0 0.0 108.9 699.7 1076.4 1322.1 1488.2 1532.9 1474.5 1273.6 979.1 595.9 60.1 0.0 38.2
2006 2 13 0.0 0.0 111.2 588.3 975.3 1378.3 1543.0 1577.0 1523.3 1280.4 985.2 601.2 62.1 0.0 38.3
2006 2 14 0.0 0.0 113.4 712.4 1089.6 1384.9 1593.8 1626.9 1530.1 1338.5 990.8 606.0 64.1 0.0 39.8
2006 2 15 0.0 0.0 120.2 719.3 1096.8 1392.5 1557.7 1634.7 1537.7 1293.6 997.0 611.3 68.7 0.0 39.7
2006 2 16 0.0 0.0 122.0 725.4 1103.2 1399.1 1608.3 1641.2 1543.8 1343.9 1039.8 615.2 70.5 0.0 40.4
2006 2 17 0.0 0.0 126.3 732.4 1110.1 1406.1 1571.5 1605.4 1550.5 1357.2 1007.3 620.1 73.7 0.0 40.2
2006 2 18 0.0 0.0 127.9 738.7 1126.3 1412.9 1578.5 1655.1 1557.2 1311.4 962.9 624.3 75.4 0.0 40.2

619
620

ตารางที่ A4.4 ตัวอยางขอมูลรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษย (erythemal ultraviolet


radiation, EUV) (รังสีรวม) โดยคอลัมนที่ 1-3 เปน ป เดือน วัน และคอลัมนที่
4-17 เปนความเขมรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษยรายชั่วโมงใน
หนวยมิลลิวัตตตอตารางเมตรตามเวลามาตรฐานประเทศไทย สําหรับคอลัมน
ที่ 18 เปนคารังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอผิวหนังมนุษยรายวัน ในหนวยกิโลจูล
ตอตารางเมตรตอวัน
Hourly erythemal ultraviolet radiation (EUV) (mW m-2) Daily EUV
-2 -1
Year Month Day 5-6 6-7 7-8 8-9 9-10 10-11 11-12 12-13 13-14 14-15 15-16 16-17 17-18 18-19 (kJ m day )
2006 1 1 0.0 0.0 1.4 10.5 33.1 73.2 107.7 123.7 113.5 82.7 45.0 15.3 2.3 0.1 2.2
2006 1 2 0.0 0.0 1.4 11.0 37.1 75.8 109.8 123.2 115.4 86.2 45.3 15.5 2.2 0.1 2.2
2006 1 3 0.0 0.0 1.3 12.4 37.3 73.7 106.6 118.2 109.0 79.3 42.1 14.7 2.3 0.0 2.1
2006 1 4 0.0 0.0 1.4 11.4 38.2 77.3 113.6 131.5 121.0 86.8 46.8 16.4 2.5 0.1 2.3
2006 1 5 0.0 0.0 1.4 11.0 39.5 79.0 116.5 134.2 123.9 91.6 48.6 17.0 2.7 0.1 2.4
2006 1 6 0.0 0.0 1.3 11.2 38.2 75.7 111.9 126.5 117.4 86.1 48.4 17.1 2.7 0.1 2.3
2006 1 7 0.0 0.0 1.1 8.4 30.5 44.4 62.6 103.9 101.8 79.2 41.7 14.6 2.4 0.1 1.8
2006 1 8 0.0 0.0 1.2 10.2 32.6 59.2 99.0 118.7 112.0 76.4 46.8 16.5 2.7 0.1 2.1
2006 1 9 0.0 0.0 0.9 6.6 22.5 60.5 89.8 107.6 93.0 68.3 37.3 14.6 2.6 0.1 1.8
2006 1 10 0.0 0.0 1.1 9.7 32.0 62.6 83.5 98.4 100.6 75.3 44.7 16.7 2.8 0.1 1.9
2006 1 11 0.0 0.0 1.2 9.4 33.2 67.2 97.5 116.7 111.7 82.8 46.9 17.3 2.9 0.1 2.1
2006 1 12 0.0 0.0 1.1 9.3 32.3 68.2 104.1 118.1 110.4 81.7 46.1 17.7 3.2 0.1 2.1
2006 1 13 0.0 0.0 1.3 11.1 36.7 74.3 109.9 125.1 114.8 86.0 49.3 18.1 3.3 0.1 2.3
2006 1 14 0.0 0.0 1.3 11.1 35.9 69.3 101.8 128.9 125.8 98.3 54.9 20.3 3.7 0.1 2.3
2006 1 15 0.0 0.0 1.3 11.0 36.4 73.3 111.3 130.4 126.7 96.5 54.1 19.9 3.5 0.1 2.4
2006 1 16 0.0 0.0 1.2 10.7 35.8 71.5 103.0 119.9 122.1 87.6 50.1 19.1 3.5 0.1 2.2
2006 1 17 0.0 0.0 1.2 10.1 31.8 64.4 99.0 114.5 109.4 85.9 50.0 19.4 3.7 0.1 2.1
2006 1 18 0.0 0.0 1.2 9.3 35.5 71.0 105.8 126.8 117.1 87.9 49.1 18.3 3.5 0.1 2.3
2006 1 19 0.0 0.0 1.2 10.0 32.5 67.5 102.8 121.7 119.6 91.0 52.3 19.6 3.7 0.1 2.2
2006 1 20 0.0 0.0 1.2 10.0 33.4 70.9 106.4 124.7 118.3 93.7 53.7 20.6 3.9 0.1 2.3
2006 1 21 0.0 0.0 1.2 10.2 33.7 68.0 99.3 119.5 113.1 86.7 50.2 20.1 3.9 0.1 2.2
2006 1 22 0.0 0.0 1.2 10.2 34.0 73.0 110.4 128.7 123.3 91.9 54.0 20.7 3.9 0.1 2.3
2006 1 23 0.0 0.0 1.0 8.4 27.5 55.0 79.4 93.6 91.6 71.8 42.0 16.2 3.0 0.1 1.8
2006 1 24 0.0 0.0 0.8 6.2 21.5 42.5 73.9 99.6 99.8 74.2 42.9 17.3 3.4 0.1 1.7
2006 1 25 0.0 0.0 0.6 5.0 19.9 44.7 76.5 97.9 94.3 70.1 35.3 14.7 3.1 0.1 1.7
2006 1 26 0.0 0.0 0.9 6.3 18.5 43.6 66.5 81.2 87.7 74.6 40.7 16.5 3.4 0.1 1.6
2006 1 27 0.0 0.0 1.1 8.6 29.2 61.7 93.2 116.7 113.9 86.9 48.5 18.3 3.8 0.2 2.1
2006 1 28 0.0 0.0 1.1 8.8 29.9 63.3 97.8 113.4 108.1 80.3 47.4 18.4 3.7 0.2 2.1
2006 1 29 0.0 0.0 1.0 7.9 26.4 60.3 92.2 112.5 103.4 81.5 49.3 20.1 4.2 0.2 2.0
2006 1 30 0.0 0.0 1.1 8.4 27.9 58.2 89.8 106.0 107.2 82.6 49.1 21.2 4.3 0.2 2.0
2006 1 31 0.0 0.0 1.0 7.4 23.0 52.1 82.1 101.8 98.2 77.2 45.2 18.0 3.7 0.2 1.8
2006 2 1 0.0 0.0 0.9 7.1 24.2 50.9 77.8 96.5 97.5 72.8 43.3 18.1 3.9 0.2 1.8
2006 2 2 0.0 0.0 1.2 10.0 33.1 69.0 102.3 122.7 117.9 87.4 50.9 20.9 4.6 0.2 2.2
2006 2 3 0.0 0.0 1.3 10.5 35.6 74.4 109.0 128.6 123.2 94.6 56.2 20.8 4.4 0.2 2.4
2006 2 4 0.0 0.0 0.8 6.4 20.5 32.5 69.7 86.7 84.0 63.3 35.9 13.7 3.0 0.1 1.5
2006 2 5 0.0 0.0 0.9 5.8 24.0 51.6 79.7 98.0 91.0 65.5 40.3 14.7 2.6 0.1 1.7
2006 2 6 0.0 0.0 0.9 7.1 22.7 50.3 82.3 83.1 59.1 61.5 37.9 14.8 3.8 0.2 1.5
2006 2 7 0.0 0.0 1.2 8.8 26.4 54.0 67.9 85.6 44.8 65.4 47.3 13.9 1.8 0.1 1.5
2006 2 8 0.0 0.0 1.2 9.1 27.3 52.0 81.1 104.0 100.9 62.8 32.8 14.8 3.9 0.2 1.8
2006 2 9 0.0 0.0 1.2 8.7 29.5 58.1 92.8 107.6 101.6 61.6 50.1 19.4 4.7 0.2 1.9
2006 2 10 0.0 0.0 1.3 9.3 30.9 54.7 96.3 112.0 106.6 73.4 40.6 18.1 4.4 0.2 2.0
2006 2 11 0.0 0.0 1.2 7.9 27.8 62.2 94.3 115.0 100.7 84.6 41.6 19.2 4.3 0.2 2.0
2006 2 12 0.0 0.0 1.6 11.8 40.1 78.4 116.1 138.0 133.3 103.6 64.2 27.0 5.9 0.3 2.6
2006 2 13 0.0 0.0 0.8 8.0 27.8 66.7 101.2 119.6 118.7 93.5 55.6 22.6 5.2 0.3 2.2
2006 2 14 0.0 0.0 1.5 11.2 36.1 74.2 107.4 133.3 129.3 98.5 59.6 24.0 5.6 0.3 2.5
2006 2 15 0.0 0.0 1.7 12.6 39.5 77.9 118.1 139.6 131.5 99.8 60.0 25.8 5.9 0.3 2.6
2006 2 16 0.0 0.0 1.6 11.3 34.9 70.4 115.4 138.0 132.8 103.5 53.5 23.8 5.6 0.3 2.5
2006 2 17 0.0 0.0 1.7 13.2 43.0 84.9 121.0 145.5 143.1 110.1 65.5 27.6 6.4 0.4 2.7
2006 2 18 0.0 0.0 1.7 12.6 41.3 80.4 118.8 138.3 126.2 110.2 62.7 24.8 5.8 0.3 2.6
2006 2 19 0.0 0.0 1.6 11.8 36.0 71.9 107.7 134.3 143.9 109.5 65.0 25.9 5.6 0.3 2.6
2006 2 20 0.0 0.0 1.7 12.2 38.6 72.9 108.0 135.8 137.7 108.6 58.2 22.6 4.9 0.3 2.5

620
621

ตารางที่ A4.5 ตัวอยางขอมูลรังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนและเฉลี่ยตอปที่คํานวณจากขอมูล


ภาพถายดาวเทียม โดยคอลัมนที่ 1 เปนชื่อจังหวัดหรือเมือง คอลัมนที่ 2 เปนชื่อ
อําเภอ คอลัมนที่ 3 เปนชื่อตําบล คอลัมนที่ 4-5 เปนละติจูด และลองจิจูด และ
คอลัมนที่ 6-17 เปนคารังสีรวมรายวันเฉลี่ยตอเดือนในหนวยเมกะจูลตอตาราง
เมตรต อ วั น สํ า หรั บ คอลั ม น ที่ 18 เป น ค า รั ง สี ร วมรายวั น เฉลี่ ย ต อ ป ใ นหน ว ย
เดียวกัน
-2 -1
Province District Tumbol Lat Lon Monthly average daily global radiation (MJ m day )
January February March April May June July August September October November December Average
KRABI MUEANG KRABI PAK NAM 8.10 98.91 17.39 19.34 19.76 19.65 17.70 16.98 16.69 16.35 16.25 15.35 15.00 15.71 17.18
KRABI MUEANG KRABI KRABI YAI 8.08 98.91 17.41 19.30 19.90 19.69 17.79 17.11 16.77 16.48 16.39 15.44 15.07 15.75 17.26
KRABI MUEANG KRABI KRABI NOI 8.16 98.96 17.13 19.14 19.80 19.52 17.46 16.77 16.52 16.18 16.04 15.29 14.75 15.42 17.00
KRABI MUEANG KRABI KHAO KHRAM 8.22 98.73 17.55 19.28 19.78 19.55 17.53 16.90 16.52 16.21 16.18 15.26 15.10 15.74 17.13
KRABI MUEANG KRABI KHAO THONG 8.18 98.72 17.39 18.98 19.82 19.53 17.69 16.99 16.66 16.41 16.30 15.42 15.10 15.80 17.17
KRABI MUEANG KRABI THAP PRIK 8.20 98.89 16.98 18.88 19.38 19.12 17.11 16.41 15.91 15.65 15.40 14.83 14.69 15.31 16.64
KRABI MUEANG KRABI SAI THAI 8.03 98.91 17.67 19.56 20.26 19.84 18.13 17.32 17.21 16.67 16.84 15.69 15.28 15.89 17.53
KRABI MUEANG KRABI AO NANG 7.79 98.78 19.45 21.42 21.88 21.23 19.21 18.15 18.33 17.96 17.92 17.29 16.97 17.26 18.92
KRABI MUEANG KRABI NONG THALE 8.05 98.68 18.58 20.45 21.17 20.77 18.72 17.79 17.67 17.25 17.29 16.72 16.31 16.69 18.28
KRABI MUEANG KRABI KHLONG PRASONG 8.04 98.95 17.37 19.27 19.89 19.58 17.85 17.11 16.97 16.54 16.53 15.41 14.98 15.66 17.26
KRABI KHAO PHANOM KHAO PHANOM 8.23 99.02 17.08 19.15 19.92 19.75 17.39 16.66 16.54 16.29 15.90 15.21 14.61 15.25 16.98
KRABI KHAO PHANOM KHAO DIN 8.34 99.10 16.92 19.02 19.99 19.75 17.29 16.67 16.48 16.37 15.98 14.97 14.45 15.07 16.91
KRABI KHAO PHANOM SIN PUN 8.28 99.24 16.98 19.06 20.05 19.64 17.42 16.81 16.53 16.39 16.06 15.03 14.32 14.86 16.93
KRABI KHAO PHANOM PHRU TIAO 8.25 99.13 17.10 19.06 19.97 19.69 17.26 16.73 16.47 16.26 15.96 15.04 14.56 15.14 16.94
KRABI KHAO PHANOM NA KHAO 8.34 98.97 16.96 19.03 20.00 19.87 17.34 16.64 16.45 16.32 15.91 15.17 14.62 15.27 16.96
KRABI KHAO PHANOM KHOK HAN 8.19 99.25 16.93 19.10 19.97 19.64 17.41 16.67 16.58 16.43 16.06 15.06 14.23 14.86 16.91
KRABI KO LANTA KO LANTA YAI 7.49 99.11 19.28 21.23 21.63 20.97 18.92 17.89 17.85 17.60 17.70 17.04 16.66 16.89 18.64
KRABI KO LANTA KO LANTA NOI 7.61 99.15 18.64 20.69 21.23 20.65 18.80 17.78 17.64 17.43 17.52 16.54 16.06 16.23 18.27
KRABI KO LANTA KO KLANG 7.74 99.12 17.85 19.67 20.08 19.65 18.09 17.15 17.09 16.79 16.68 15.44 14.99 15.57 17.42
KRABI KO LANTA KHLONG YANG 7.85 99.07 17.52 19.43 19.70 19.41 17.93 17.02 16.96 16.68 16.57 15.29 14.95 15.57 17.25
KRABI KO LANTA SALA DAN 7.60 99.05 18.53 20.43 20.65 20.12 18.32 17.29 17.13 17.00 16.96 16.18 15.97 16.25 17.90
KRABI KHLONG THOM KHLONG THOM TAI 7.94 99.10 17.50 19.41 19.82 19.28 17.62 16.85 16.72 16.42 16.25 15.21 14.60 15.32 17.08
KRABI KHLONG THOM KHLONG THOM NUEA 7.93 99.26 17.18 19.12 19.77 19.21 17.32 16.66 16.51 16.27 16.14 14.98 14.36 14.83 16.86
KRABI KHLONG THOM KHLONG PHON 7.80 99.21 17.49 19.36 19.75 19.18 17.59 16.65 16.59 16.28 16.23 15.01 14.59 15.21 16.99
KRABI KHLONG THOM SAI KHAO 7.73 99.26 17.63 19.51 19.84 19.26 17.63 16.70 16.55 16.40 16.43 14.90 14.61 15.18 17.05
KRABI KHLONG THOM HUAI NAM KHAO 7.85 99.08 17.50 19.38 19.62 19.31 17.85 16.95 16.89 16.59 16.51 15.21 14.81 15.48 17.18
KRABI KHLONG THOM PHRU DIN NA 8.03 99.22 17.25 19.20 19.90 19.36 17.46 16.71 16.57 16.32 16.18 14.98 14.38 15.02 16.94
KRABI KHLONG THOM PHELA 8.07 99.14 17.19 19.14 19.74 19.52 17.49 16.74 16.63 16.33 16.14 15.06 14.53 15.17 16.97
KRABI AO LUEK AO LUEK TAI 8.38 98.72 17.65 19.57 20.00 19.74 17.23 16.59 16.15 16.05 15.96 15.25 15.12 15.75 17.09
KRABI AO LUEK LAEM SAK 8.24 98.61 18.17 20.12 20.69 20.31 18.15 17.50 17.18 16.95 16.85 16.19 15.91 16.44 17.87
KRABI AO LUEK NA NUEA 8.52 98.71 17.38 19.41 20.10 19.94 17.18 16.45 16.09 15.90 15.80 15.24 14.99 15.56 17.00
KRABI AO LUEK KHLONG HIN 8.31 98.84 17.36 19.23 19.78 19.69 17.21 16.38 16.11 15.89 15.63 14.96 14.82 15.45 16.88
KRABI AO LUEK AO LUEK NOI 8.23 98.70 17.70 19.32 19.96 19.65 17.66 17.05 16.66 16.36 16.35 15.49 15.24 15.83 17.27
KRABI AO LUEK AO LUEK NUEA 8.40 98.79 17.53 19.44 20.01 19.75 17.15 16.52 16.12 15.96 15.70 15.18 14.93 15.55 16.99
KRABI AO LUEK KHAO YAI 8.45 98.71 17.58 19.50 20.05 19.81 17.14 16.47 16.07 15.99 15.79 15.22 15.13 15.71 17.04
KRABI AO LUEK KHLONG YA 8.37 98.89 16.93 19.03 19.68 19.48 16.94 16.31 15.90 15.82 15.47 14.76 14.66 15.22 16.68
KRABI AO LUEK BAN KLANG 8.35 98.79 17.34 19.27 19.79 19.68 17.10 16.43 16.02 15.88 15.75 15.04 14.85 15.56 16.89
KRABI PLAI PHRAYA PLAI PHRAYA 8.54 98.88 17.16 19.20 20.11 19.98 17.34 16.44 16.13 16.03 15.78 14.91 14.58 15.15 16.90
KRABI PLAI PHRAYA KHAO KHEN 8.56 98.81 17.28 19.34 20.21 20.00 17.29 16.47 16.15 15.90 15.78 15.04 14.75 15.15 16.95
KRABI PLAI PHRAYA KHAO TO 8.61 98.75 17.13 19.23 20.11 19.91 17.23 16.38 16.17 15.87 15.73 15.00 14.71 15.18 16.89
KRABI PLAI PHRAYA KHIRI WONG 8.45 98.85 17.25 19.30 20.01 19.84 17.07 16.39 15.91 15.89 15.54 15.09 14.80 15.30 16.87
KRABI LAM THAP LAM THAP 8.07 99.32 16.82 18.98 19.76 19.41 17.36 16.70 16.56 16.39 16.08 15.03 14.11 14.71 16.83
KRABI LAM THAP DIN UDOM 8.11 99.35 16.96 18.96 19.74 19.39 17.32 16.73 16.45 16.34 16.00 14.88 14.01 14.70 16.79
KRABI LAM THAP THUNG SAI THONG 8.06 99.26 17.03 19.02 19.74 19.46 17.45 16.73 16.69 16.37 16.22 15.04 14.20 14.78 16.89
KRABI LAM THAP DIN DAENG 8.03 99.37 16.88 18.94 19.85 19.49 17.38 16.74 16.48 16.39 16.18 15.03 14.01 14.62 16.83
KRABI NUEA KHLONG NUEA KHLONG 8.07 98.99 17.32 19.24 19.87 19.56 17.64 16.88 16.75 16.35 16.26 15.33 14.84 15.51 17.13
KRABI NUEA KHLONG KO SI BOYA 7.85 98.98 17.83 19.88 20.24 19.78 18.30 17.45 17.37 17.15 17.16 15.88 15.39 15.84 17.69
KRABI NUEA KHLONG KHLONG KHANAN 7.97 99.03 17.51 19.40 19.88 19.55 17.87 17.09 17.05 16.64 16.60 15.45 14.90 15.56 17.29
KRABI NUEA KHLONG KHLONG KHAMAO 8.03 98.98 17.32 19.34 19.87 19.56 17.82 16.99 17.00 16.61 16.46 15.45 14.90 15.61 17.24
KRABI NUEA KHLONG KHOK YANG 8.12 99.09 17.28 19.24 19.85 19.52 17.47 16.68 16.55 16.32 16.05 15.19 14.57 15.25 17.00
KRABI NUEA KHLONG TALING CHAN 7.98 98.97 17.55 19.45 20.05 19.67 18.00 17.22 17.25 16.82 16.72 15.62 15.09 15.65 17.42
KRABI NUEA KHLONG PAKASAI 7.95 99.09 17.54 19.44 19.81 19.36 17.72 16.94 16.84 16.47 16.32 15.25 14.72 15.41 17.15
KRABI NUEA KHLONG HUAI YUNG 8.13 99.04 17.30 19.28 19.85 19.50 17.51 16.74 16.59 16.31 16.05 15.24 14.66 15.27 17.02
BANGKOK PHRA NAKHON PHRABOROM MAHAR 13.75 100.49 17.37 19.12 20.03 20.27 18.70 18.16 17.38 17.04 16.81 16.61 16.75 16.54 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON WANG BURAPHA PHIR 13.74 100.50 17.36 19.12 20.02 20.27 18.61 18.18 17.31 16.94 16.91 16.68 16.81 16.58 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON WAT RATCHABOPHIT 13.75 100.50 17.36 19.12 20.02 20.27 18.61 18.18 17.31 16.94 16.91 16.68 16.81 16.58 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON SAMRAN RAT 13.75 100.50 17.36 19.12 20.02 20.27 18.61 18.18 17.31 16.94 16.91 16.68 16.81 16.58 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON SAN CHAOPHO SUEA 13.75 100.50 17.37 19.12 20.03 20.27 18.70 18.16 17.38 17.04 16.81 16.61 16.75 16.54 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON SAO CHINGCHA 13.75 100.50 17.36 19.12 20.02 20.27 18.61 18.18 17.31 16.94 16.91 16.68 16.81 16.58 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON BOWON NIWET 13.76 100.50 17.36 19.12 20.02 20.27 18.61 18.18 17.31 16.94 16.91 16.68 16.81 16.58 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON TALAT YOT 13.76 100.50 17.37 19.12 20.03 20.27 18.70 18.16 17.38 17.04 16.81 16.61 16.75 16.54 17.90
BANGKOK PHRA NAKHON CHANA SONGKHRAM 13.76 100.50 17.33 19.07 19.90 20.30 18.58 18.09 17.33 16.98 16.81 16.65 16.74 16.59 17.86
BANGKOK PHRA NAKHON BAN PHAN THOM 13.76 100.50 17.32 19.02 19.85 20.23 18.49 18.02 17.24 16.88 16.82 16.71 16.86 16.62 17.84
BANGKOK PHRA NAKHON BANG KHUN PHROM 13.76 100.51 17.32 19.02 19.85 20.23 18.49 18.02 17.24 16.88 16.82 16.71 16.86 16.62 17.84
BANGKOK PHRA NAKHON WAT SAM PHRAYA 13.77 100.50 17.32 19.02 19.85 20.23 18.49 18.02 17.24 16.88 16.82 16.71 16.86 16.62 17.84
BANGKOK DUSIT DUSIT 13.77 100.51 17.32 19.02 19.85 20.23 18.49 18.02 17.24 16.88 16.82 16.71 16.86 16.62 17.84
BANGKOK DUSIT WACHIRA PHAYABAN 13.78 100.51 17.32 19.02 19.85 20.23 18.49 18.02 17.24 16.88 16.82 16.71 16.86 16.62 17.84
BANGKOK DUSIT SUAN CHITLADA 13.77 100.52 17.32 19.01 19.85 20.25 18.46 17.99 17.16 16.83 16.79 16.83 16.99 16.68 17.85
BANGKOK DUSIT SI YAEK MAHANAK 13.76 100.52 17.36 19.12 20.02 20.27 18.61 18.18 17.31 16.94 16.91 16.68 16.81 16.58 17.90
BANGKOK DUSIT THANON NAKHON CH 13.79 100.52 17.25 18.95 19.80 20.16 18.39 17.88 17.10 16.76 16.78 16.85 16.95 16.65 17.79
BANGKOK NONG CHOK KRATHUM RAI 13.82 100.90 17.37 19.00 19.60 20.32 18.63 17.98 16.77 16.87 17.30 17.97 17.55 16.83 18.01
BANGKOK NONG CHOK NONG CHOK 13.87 100.87 17.39 18.98 19.78 20.36 18.63 17.94 16.60 16.84 17.28 17.93 17.52 16.83 18.01
BANGKOK NONG CHOK KHLONG SIP 13.91 100.83 17.44 18.99 19.74 20.28 18.51 17.81 16.63 16.80 17.18 17.81 17.43 16.74 17.95
BANGKOK NONG CHOK KHLONG SIP SONG 13.92 100.89 17.42 18.99 19.75 20.33 18.66 17.90 16.56 16.83 17.18 17.88 17.43 16.78 17.98
BANGKOK NONG CHOK KHOK FAET 13.84 100.83 17.44 18.97 19.73 20.31 18.49 17.94 16.81 16.88 17.29 17.90 17.56 16.94 18.02
BANGKOK NONG CHOK KHU FUNG NUEA 13.87 100.81 17.46 18.96 19.78 20.30 18.55 17.83 16.68 16.79 17.26 17.85 17.47 16.87 17.98

621
622

รายการสัญลักษณ

E0 แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของระยะทางระหวางโลกกับดวง-
อาทิตย (-)
EUV รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยที่มีผลตอผิวหนังมนุษย (มิลลิวัตตตอ
ตารางเมตร)
k o สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของโอโซนที่ความยาวคลื่น 
(เซนติเมตร-1)
k w สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของไอน้ําที่ความยาวคลื่น 
(เซนติเมตร-1)
k g สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีอาทิตยของกาซที่ความยาวคลื่น  (เซนติเมตร-1)
MBD ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลี่ย (คาสัมพัทธ) (%)
MBD ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลี่ย (คาสัมบูรณ)
N จํานวนขอมูลทั้งหมด
PAR ความหนาแนนฟลักซโฟตอนของรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พชื ใช
สังเคราะหแสง (ไมโครโมลตอวินาที่ตอตารางเมตร)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (คาสัมพัทธ) (%)
RMSD รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง (คาสัมบูรณ)
X meas,i คาที่ไดจากการวัดของขอมูลที่ i
X model,i คาที่ไดจากการคํานวณโดยใชแบบจําลองของขอมูลที่ i
 คาเดคลิเนชันของดวงอาทิตย (องศา)

622
623

เอกสารอางอิง

Janjai, S., Deeyai, P., 2009. Comparison of models for generating typical meteorological year
using meteorological data from a tropical environment. Applied Energy 86, 528-537.
Janjai, S., 2008. Generation of solar radiation maps from long-term satellite data. In
V. Badescu (Ed.) Modeling Solar Radiation on Earth Surface, Springer, Berlin.
Janjai, S., Pankaew, P., Laksanaboonsong, J., Kitichantaropas, P., 2011. Estimation of solar
radiation over Cambodian from long-term satellite data. Renewable Energy 36,
1214-1220.
Janjai, S., Masiri, I., Laksanaboonsong, J., 2013b. Satellite-derived solar resource maps for
Myanmar. Renewable Energy 53, 132-140.
Janjai, S., Masiri, I., Pattarapanitchai, S., Laksanaboonsong, J., 2013a. Mapping global solar
radiation from long-term satellite data in tropics using an improved model.
International Journal of Photoenergy 2013, 1-11.

623
624
ดัชนีผูแตง

กฤษณพงศ กีรติกร 263 สุมามาลย บรรเทิง 142, 146, 147, 306,


กรทิพย โตะสิงห 306, 548 423, 431, 548, 559,
กุลนิษฐ ชิวปรีชา 137, 140, 141 561, 562
จงจิตร หิรัญลาภ 361, 371, 373 เสริม จันทรฉาย 9, 10, 13, 118, 127,
จรุงแสง ลักษณบุญสง 306, 311, 548 128, 137, 140, 141,
จินดา แกวเขียว 173 142, 146, 147, 173,
ซังเซ็ง เลียงจินดาถาวร 371, 373, 388 196, 279, 280, 281,
ตรีนุช จันทราช 118 284, 285, 286, 299,
ธงชัย ศิริประยุกต 263 300, 306, 311, 356,
นพมาศ ประทุมสูตร 531 371, 373, 387, 388,
ปณกมล ดีใหญ 377, 382, 383 423, 431, 471, 471,
ประเสริฐ ไกรสิงหเดชา 13 523, 531, 548, 559,
ปยะศักดิ์ ประดิษฐวงศ 173 561, 562
พิชัย นามประกาย 263, 361, 371, 373 ศิริชัย เทพา 361
พิมพประพัทธ กฤติธนาเดช 196 อภิชาต พรหมดนตรี 306, 548
เพ็ญพร นิ่มนวล 279, 280, 281, 284, อิสระ มะศิริ 118, 146, 147, 196,
285, 286 306, 423, 431, 548,
มนูญ ปางพรหม 306, 548 559, 561, 562
รุงนภา รสภิรมย 127, 128, 521, 522, อรรถพล ศรีประดิษฐ 470, 471
523 Abreu, S.L. 229
รุงรัตน วัดตาล 142, 356, 423, 431, Adnot, J. 208
523, 531, 559, 561, Akinoglu, B.G. 263
562 Al-Aruri, S.D. 501
สถาพร เขียววิมล 387 Albuission, M. 229, 233
สมเจตน ภัทรพานิชชัย 142, 146, 147, 299, Al-Lawati, A. 297
300, 423, 431, 559, Andersen, B. 376
561, 562 Anderson, H.E. 376
Andrews, D.G. 89, 185

625
626

Angstrom, A. 102, 103, 192, 261, 262, 476, Brusa, R.W. 160
508 Bugler, J.W. 355, 435
Antoniou, A. 360 Buis, J.P. 108
Arecd, F.F. 297 Bulut, H. 387
Ashraf, M.A. 299 Buntoung, S. 112, 113, 114, 115, 249, 250,
Assimakopoulos, V.D. 360 430, 478, 479, 498, 501, 502,
ASTM 161, 243 503, 504, 505, 509, 548, 551,
Atthajariyakul, S. 423 556, 557, 558, 560, 563, 564,
Badescu, V. 355 568, 569, 570, 572, 573, 590
Bala, B.K. 299 Buyukalaca, O. 387
Batlles F.J. 472 Byrne, D.M. 133, 135
Bauer, O. 191 Cambell, L.C. 278
Beckman, W.A. 60, 83, 236, 359, 360, 375, Campana, D. 208
394 Canada, J. 501
Berdahl 41 Cano, D. 299, 233
Berger, X. 208 Çengel, Y.A. 16, 17, 30, 32
Bernabeu, E. 421 Chain, C. 229
Bernard R. 59, 62, 63, 208 Chaiyapinunt, S. 361, 375
Beyer, H.G. 229, 233, 234, 423 Chaiwiwatworakul, P. 423, 433, 435, 442
Bhattacharya, S.C. 394 Chandrasekhar, S. 185
Bhattari, B.K. 498 Chirarattananon, S. 420, 423, 432, 433, 435, 442
Bigot, D. 433 Chiwpreecha, K. 142, 501
Black, J.N. 269 Choosri, P. 501, 568, 569
Boes, E.C. 376 Chung, T.M. 433
Borel, D. 233 Chungpaibulpatana, S. 394
Bosca, J.V. 501 CIE 442, 443, 445, 4589
Bourges, B. 208 Cihlar, J. 502, 508
Boyer, H. 433 Ciren, P. 502
Brine, D.T. 191 Claywell, R. 345
Bristow, K.L. 278 Cole, R. J. 124
Brunger, A.P. 442 Collares-Pereira M.360, 374

626
627

Constanzo, C. 229, 233 Fakra, A.H. 433


Coombes, C.A. 442 Festa, R. 376
Cooper, P.I. 60 Fontoynont, M. 423
Coulson, K.L. 355, 435 Frederick, J.E. 91, 129
Czeplak, G. 208 Fröhlich, C. 160
Dahlback, A. 496 Gautier, C. 161, 229, 232
Daneshyar, M. 208 George, R. 229
Deeyai, P. 376, 381 Ghajar, A.J. 16, 17, 30, 32
Diak, G. 229, 233 Gibson, E.G. 4, 7
Doe, P.E. 387, 393 Gicqel, R. 208
Dorvlo, A.S.S. 297 Gies P. 500
Dubovik, D. 118 Gomes, E.N. 502
Duffie, J.A. 41, 60, 83, 236, 359, 360, 375, Gueymard, C.A. 161, 191, 259,
394 308, 351, 355, 356, 435
Dumortier, D. 423 Guillard, H. 229, 233
Dye, D.G. 472 Halawani, T.O. 297
Eck, T.E. 472 Hall, I.J. 376
Eck, T.F. 108, 118 Hammer, A 233, 234, 423
Eidorff, S. 376 Hansen, J.E. 121, 132
Elizondo, D. 297 Hanson, K.J. 229, 232
Elminir, H.K. 297 Harrison, A.W. 442
Elsayed, T.S. 297 Haurwitz, B. 208
Erbs, D.G. 360 Hay, J.E. 229, 2032, 355, 425
Ersi, K. 360 Heinemann, D. 229, 203, 423
Escobedo, J.F. 360, 522 Heinemann, P. 233, 234
Esper, A. 236, 394 Hirunlabh, J. 229, 263
Espinar, B. 229 Hobbs, P.V. 96, 85, 123
Evans, D. 138 Holben, B.N. 108, 118
Evseev, E.G. 501 Hollands, K.G.T. 360
Exell, R.H.B. 229, 232, 233, 263, 269, 387, Hollands, K.G.J. 389
539 Hooper, F.C. 442

627
628

Hoogenboom, G. 297 568, 569, 570,572, 573, 579,


Houze, R.A. 268 581, 582, 583, 584, 585, 586,
Hoyer, D. 233, 234 588, 589, 590
Howell, J.R. 16, 32 Jantarach, T. 112, 114, 115, 423
Huget, R.G. 389 Jervase, J.A. 297
Igawa, N. 442 Jianping, Y. 360
Ineichen, P. 191, 229, 355, 423, 433, 435 JMA 228
Iqbal, M. 17, 23, 98, 100, 101, 110, 120, Jordan, R.C. 335, 359, 360, 370, 371, 373,
143, 144, 167, 191, 195, 199, 374, 387, 388, 435
269, 317, 355, 358, 435, 518 Kachunke C. 500
ISO 15, 323, 324, 326, 332, 333, Kahaner, D. 390
337, 517 Kaltsounides, N.A. 360
Iwata, T. 442 Kambezidis, H.D. 360
Jacovides, C.P. 360 Kasten, F. 93, 208
Janjai, S. 111, 112, 113, 114, 115, 116, Kaufman, Y.J. 118
117, 124, 142, 145, 205, 206, Kerr, J. 502
207, 208, 229, 236, 237, 242, Kiatsiriroat, T. 388, 394
244, 245, 246, 248, 249, 250, Kift, R. 490
264, 265, 266, 267, 268, 269, Kimball, H.H. 261, 269
270, 271, 272, 274, 275, 276, King, M.D. 118, 133, 135
277, 299, 356, 357, 361, 362, Kinghorn, D. 433
365, 367, 376, 381, 387, 393, Kirdsiri, K. 490
394, 395, 396, 421, 423, 431, Kirk, J.T.O. 467, 469
433, 434, 435, 436, 437, 438, Kirtikara, K. 263, 269
439, 440, 441, 442, 442, 448, Kitichantaropas, P. 237, 583, 584, 585
449, 451, 452, 471, 472, 473, Kittler, R. 442
477, 478, 479, 490, 498, 501, Klein, J.A. 236
502, 503, 504, 505, 508, 509, Klein, S.A. 236, 359, 360, 375, 394
539, 540, 541, 543, 545, 546, Klucher, T.M. 355, 435
547, 548, 551, 556, 558, 559, Kmiecik, M. 229
560, 563, 564, 565, 566, 567, Kondratyev, K.Y. 102, 208, 244

628
629

Koronakis, P.S. 355, 435 Machado, A.J. 360


Kudish, A. 501 Mächler, M. 104
Kuhlenmann, R. 233, 234 Mangkornsaksit, K.361, 375
Kumharn, W. 111, 116,117, 508 Matsuura, K. 442
Kylling, A. 500 Martins, F.R. 229
Labs, D. 160 Martin, L. 229
Lacis, A.A. 121, 132 Matin, M. 41
Lang, K.R. 3, 4, 7, 11, 14, 162 Masiri, I. 112, 113, 114, 115, 145, 229,
Laksanaboonsong, J.111, 116, 117, 124, 145, 229, 237, 242, 245, 249, 250, 396,
237, 242, 244, 245, 246, 248, 433, 442, 448, 478, 499, 490,
249, 394, 395, 396, 423, 431, 498, 505, 503, 504, 505, 509,
442, 448, 508, 539, 540, 541, 539, 540, 541, 548, 551, 556,
548, 551, 556, 557, 558, 559, 557, 558, 560, 563, 564, 570,
583, 584, 585, 586, 588, 589, 572, 573, 586, 588, 589, 590
590 Masse, S. 229, 233
Leckner, B. 99, 121, 143, 182, 192, 243, Maurel M. 118
426, 428, 475, 483, 527, 528, Mayer, B. 500
Lefevre, M. 236 McClatchey, R.A. 105, 111,
Le Marshall, J.F. 529 McCree, K.J. 469
Lertsatitthanakorn, C.3423 Meclendon, R. 297
Li, Z. 502, 508 Mengüç, M.P. 16, 32
Liou, K.N. 185, 528 Menguy, G. 59, 62, 63, 208
Littlefair, P.J. 433, 442 Menicucci, D. 355, 435
Liu, B.Y.H. 355, 359, 360, 370, 371, 373, Mermier, M. 199
374, 387, 388, 435 Michael, K. 502
Lorenz, E. 233, 234 Michaelides, S.C. 291, 292, 293, 295
Louche, A. 110, 199 Michalsky, J. 433, 442
Lopez, G. 472 Miranville, F. 433
Lund, H. 376 Mohandes, AM. 297
Lunde, P.J. 94 Moler C. 390
Ma, C.C.Y. 355, 435 Monget, J.M. 229, 233

629
630

Moon, P. 442 Page, J.K. 360


Moonin, C. 361 Pakdeepol, P. 435
Moore, K. 229 Paliatsos, A.G. 360
Möser, W. 122, 233 Paltridge, G.W. 145, 208, 431, 476
Mühlbauer, W. 236, 314 Pankaew, P. 237, 583, 584, 585
Muller, R. 233, 234 Pattanasethanon, S.423
Muneer, T. 345, 355, 356, 433, 435 Pattarapanitchai, S. 142, 145, 205, 206 ,207 ,208,
Munguc, M.P. 32 229, 237, 242, 245, 249,
250, ,396, 433, 478, 479, 498,
Murdoch, J.B. 409 539, 540, 541, 548, 551, 556,
Murillo, W. 501 557, 558, 560, 563, 564, 590
Myers, D.R. 308, 351 Patterson, D.W. 294
Nakamura H. 442 Pedersen, E. 376
Namprakai, P. 229, 263, 269, 388, 539 Pedros, G. 501
NASA 90,91 Pereira, E.B. 229
Nash, S. 390 Pereira, F.O.R. 433
Neckel, H. 160 Perez, R. 229, 55, 433, 435, 442
Newland, F.J. 360 Peri G. 110
Nilsson, C. 502 Perraudeau, M. 442
Nimnuan, P. 269, 270, 271, 272, 274, 275, Petty, G.W. 15, 145, 486, 517
276, 277 Pierrehumbert, C.L.112, 113
Nunez, M. 114, 115, 116, 124, 142, 145, Plaon, P. 443, 451, 452
229, 236, 244, 421, 423, 435, Platt, C.M.R. 145, 431, 476
436, 437, 438, 439, 440, 441, Pokrowski, G.L. 442
442, 448, 490, 500, 501, 505, Polo, J. 229
539, 559 Pozo, D. 472
Olseth, J.A. 355, 423, 433, 435 Praditwong, P. 361
Oliveira, A.P. 360, 522 Prairie, R.R. 376
Ongsakul, W. 394 Prathumsit, J. 421, 433, 434, 560, 563, 564
Orgill, J.F. 360 Pratummasoot, N. 501
Page, J. 423, 490 Prescott, J.A. 262

630
631

Proctor, D. 208 Seckmeyer, G. 500


Promsen, W. 114, 115, 249, 250, 548, 551, Seesaard, T. 394
556, 557, 558 Selby, J.E. 105, 111
Rabl, M. 360, 374 Setzer, A. 108
Rukkwansuk, P. 435 Shihua, L. 360
Ramirez, L. 229 Siegel, R. 16, 32
Raschke, E. 229, 233 Simonnot, G. 110
Ratto, C.F. 376 Simonnuta, A.G. 199
Regas, N. 229, 233 Siriprayuk, T. 263, 269
Rehman, S. 297 Sirotenko, O.D. 278
Reindl, D.T. 360 Sitathani, K. 539
Reise, C. 423 Skartveit, A. 355, 423, 433, 435
Rensheng, C. 360 Skouteli, C. 291, 295, 293, 295
Ricchiazzi, P. 161 Slutsker, I. 108, 118
Rigollier, C. 191, 236 Smart, W.M. 62
Rimmer, J. 490 Smirnov, A. 118
Robinson, N. 162 Smith, W. 124
Robledo, L. 208, 421, 433 Soares, J. 360, 522
Roche, L. 423 Sole, D. 161
Rosenorn, S. 376 Soler, A. 208, 421, 433
Rubio, M.A. 472 Soponronnarit S. 423
Sabooding, R. 421 Sorapipatana, C. 229, 263
Saha, K. 90 Souza, R.G. 433
Sanchez-Azofeifa, G.A. 472 Spencer, J.W. 82, 442
Santisirisomboon, J. 263 Sricharoen, K. 205, 206, 207, 208
Sarachitti, R. 229 Sripradit, A. 471, 472, 478, 479
Salicali K. 269 Stewart, R. 355, 433, 435
Santos, A. 423 Sukamongkol, Y. 394
Saricali, K. 539 Suntaropas, S. 116
Schwartz, M. 59, 62, 63, 208 Supit, I. 278
Seals, R. 355, 433, 435, 442 Suwantragul, B. 539

631
632

Tanré, D. 108 Wang, P. 502, 508


Tanskanen, A. 139 Wanwong, W. 246, 248, 249, 431
Tarpley, J.D. 229 Wardle, D.I. 502
Temps, R.C. 355, 435 Watrabutr, W. 539
Thekaekara, M.P. 159 Wattan, R. 112, 113, 114, 249, 250, 356,
Thongsathitya, A.124, 225, 236, 244, 395 357, 421, 433, 434, 435, 436,
Tia, V. 539 437, 438, 439, 440, 441, 442,
Tohsing, K. 249, 250, 264, 265, 266, 267, 471, 472, 473, 477, 478, 479,
268, 268, 423, 559 498, 502, 503, 504, 505, 509,
Tovar, J. 472 548, 551, 556, 557, 558, 560,
Tsikaloudaki, K. 433 563, 564, 565, 566, 567,
Turner, D. 202 570 ,572, 573
Tymvios, F. S. 291, 292, 293, 295, 360 Webb, A.R. 490, 493
Uddin, M.A. 299 Wehrli, C. 160
Valbjorn, O. 376 Wenzhi, Z. 360
Van Kapple R.R. 278 Weymouth, G.T. 529
Van Laake, P.E. 472 Whillier, A. 373
Vartiainen, E. 410, 432, 4033 Wibulswas, P. 394
Vazquez, D. 421 Willmott, C.J. 355, 435
Verdebout, J. 502 Wisitsirikun, S. 498
Vignola, F. 229 WHO 487, 497, 499
Vigroux, E. 131, 192, 243, 427, 475, 507 Yang, S. 161
Wald, L. 191, 229, 233, 236, 423 Yongjian, D. 360
Wall, M. 502 Younes, S. 345
Wallace, J.M. 96, 98, 123 Zarzalejo, L.F. 229

632
ดัชนีเนื้อเรื่อง

ก การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิวของ
กฎของเคียรฮอฟพ 28 วัตถุเทา 34
กฎของบูเกอร 95, 134 การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวาง 2 ผิว
การกระจายตามพื้นที่ของรังสีตรง 543 ที่ประกอบกันเปนโพรงปด 38
การกระจายตามพื้นที่ของรังสีรวมรายวัน 539 การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางพื้นผิว
การกระเจิงแบบเรยลีห 98 วัสดุกับทองฟา 41
การกระเจิงรังสีอาทิตยของโมเลกุลอากาศ 98 การบอกตําแหนงของดวงอาทิตย 57,58
การควบคุมคุณภาพขอมูลรังสีอาทิตย 343 การบอกปริมาณของแสง 18
การคํานวณความสวางในสภาพทองฟาทั่วไป 422 การบอกปริมาณโอโซน 130
การคํานวณคารังสีอาทิตยจากปริมาณเมฆ 268 การบอกปริมาณไอน้ําในบรรยากาศ 119
การคํานวณคารังสีอาทิตยจากอุณหภูมิอากาศ 277 การบันทึกขอมูลผานเครือขายอินเตอรเน็ต 342
การเคลื่อนที่ของเทหวัตถุบนทองฟา 49 การบันทึกขอมูลรังสีอาทิตย 340
การจําแนกลําดับชั้นของเครื่องวัดรังสีอาทิตย 323 การแปลงขอมูลรังสีอาทิตย 351
การใชขอมูลรังสีอาทิตยในวิธีการออกแบบ การแปรคาของปริมาณไอน้ํา 125
สําเร็จรูป 394 การแปรคาตามพื้นที่ของปริมาณโอโซน 140
การใชโครงขายประสาทเทียมเพื่อคํานวณรังสี การแปลงขอมูลรังสีอาทิตยจากตําแหนงที่วัดไปยัง
อาทิตย 297 ตําแหนงที่ใชงาน 393
การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโมเลกุลของกาซตางๆ การแปลงหนวยความหนาแนนฟลักซโฟตอน 467
143 การแผรังสีของวัตถุดํา 21
การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซน 130 การฝกสอนโครงขายประสาทเทียม 296
การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา 120 การฝกสอนแบบยอนกลับ 296
การตอบสนองของผิวหนังมนุษยตอรังสี การลดทอนรังสีอาทิตยของฝุนละอองใน
อัลตราไวโอเลต 488 บรรยากาศ 102
การตอบสนองตอมุมตกกระทบ 322 การลุกจา 13
การตอบสนองตอสเปกตรัมรังสีอาทิตย 321 การวัดความเขมรังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย
การตอบสนองตอแสงสวางของตามนุษย 409 517
การถายเทความรอนโดยการแผรังสีระหวางผิวของ การวัดความสวาง 413
วัตถุดํา 33 การวัดความสองสวางของทองฟา 417
การวัดปริมาณแสงสวางธรรมชาติ 413

633
634

การวัดปริมาณโอโซนดวยเครื่องสเปกโตรโฟโต ความสวาง 411


มิเตอร 137 ความสวางจากแสงกระจาย 412
การวัดรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย 490 ความสวางจากแสงตรง 412
การวัดรังสีกระจาย 315, 316 ความสวางจากแสงรวม 412
การวัดรังสีตรง 316, 318 ความสวางจากแสงสวางธรรมชาติ 412
การวัดรังสีรวม 310,311,313 ความสวางจากแสงอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 420
การสรางโครงขายประสาทเทียม 297 ความสวางที่พื้นผิวโลกในสภาพทองฟาปราศจาก
การสรางชุดขอมูลตัวแทน 375 เมฆ 421
การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีตรง 329, 331, 332 ความสองสวาง 410
การสอบเทียบเครื่องวัดรังสีรวม 333, 337, 338 ความสองสวางจากทองฟา 413
การสังเคราะหขอมูลรังสีอาทิตย 387 คาคงตัวรังสีอาทิตย 161
การหาคาความสองสวางของทองฟา 443, 448, 451 เครื่องบันทึกขอมูลเชิงตัวเลข 341
การหาคาสัมประสิทธิ์ความขุนมัวของอังสตรอม เครื่องบันทึกสัญญาณบนกระดาษกราฟ 340
110 เครื่องมือสําหรับวัดรังสีอาทิตย 310
การหาปริมาณไอน้ํา 121, 124,125 เครื่องวัดความเขมรังสีอัลตราไวโอเลต 494,496
การหาอัตราสวนของรังสีกระจายตอรังสีรวม 360 เครื่องวัดความยาวนานแสงแดด 260,261
กําเนิดของโอโซน 129 เครื่องวัดรังสีกระจาย 314
กําเนิดของรังสีอาทิตย 3 เครื่องวัดรังสีตรง 316,325
ข เครื่องวัดรังสีตรงแบบสัมบูรณ 316
ขอมูลความลึกเชิงแสงของฝุนละอองจากดาวเทียม เครื่องวัดรังสีตรงภาคสนาม 318
112 เครื่องวัดรังสีรวม 310, 311,313,323
ขอมูลปริมาณโอโซนจากดาวเทียม 139 เครื่องวัดรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใช
ขอมูลปริมาณไอน้ําจากดาวเทียม 125 สังเคราะหแสง 466
ขอมูลภาพถายดาวเทียม 222 เครื่องวัดรังสีอาทิตยมาตรฐานโลก 328
ขอมูลรังสีอาทิตยในประเทศไทย 615 เครื่องวัดสเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต 490
ค เครื่องสแกนทองฟา 417
ความแตกตางในรูปความเอนเอียงเฉลี่ย 600 เครื่องอินทิเกรเตอร 340
ความลึกเชิงแสง 95 โครงขายประสาทเทียม 291, 295
ความลึกเชิงแสงของฝุนละอองจากดาวเทียม 112 โครงสรางของดวงอาทิตย 3
ความยาวนานแสงแดด 259 โครงสรางของบรรยากาศโลก 89
ความยาวนานของวัน 77 โคโรนา 10, 11

634
635

จ แบบจําลองประสิทธิศักยของแสงสวาง 432
จุดเซนิธ 53 แบบจําลองรังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นกวาง
จุดมืด 11 199
ช แบบจําลองสเปกตรัมรังสีอาทิตย 196
ชนิดของรังสีอาทิตย 15,308 ป
ชวงกวางความยาวคลื่นของดาวเทียม 223 ปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร 4
ชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาตัวแทน 375 ประสาทเทียม 293
ด ปริมาณของรังสีอาทิตย 16
ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต 497 ปริมาณแสงสวาง 410
ดัชนีเมฆ 234 ผ
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา 219,221 ผลกระทบของฝุนละอองตอรังสีอาทิตย 100
เดคลิเนชัน 58 ผลกระทบของเมฆตอรังสีอาทิตย 144
ผิวกระจายรังสีสมบูรณ 24
ต แผนภูมิทางเดินของดวงอาทิตย 68
ตัวเลขจุดมืด 12,162 ฝ
ตัวเลขยกกําลังของความยาวคลื่น 102 ฝุนละออง 100, 104, 112
ท พ
โพรมิเนนซ 12
ทฤษฎีการถายเทความรอนโดยการแผรังสี 16 ฟ
ทฤษฎีของลอรดเรยลีห 98 ฟลักซของแสงสวาง 410
ทางเดินของดวงอาทิตย 54,68 แฟคเตอรสําหรับแกผลจากการแปรคาของ
เทอรโมสเฟยร 90 ระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย 81
โทรโปสเฟยร 89 ม
น มวลอากาศ 92
นิวรอนทางชีววิทยา 291 มวลอากาศสัมพัทธ 93
บ มุมชั่วโมง 58
บรรยากาศดวงอาทิตย 11 มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยขึ้น 76, 78, 79
บรรยากาศมาตรฐาน 90 มุมชั่วโมงที่ดวงอาทิตยตก 77
บรรยากาศโลก 89 มุมเซนิธ 57
แบบจําลองการถายเทรังสี 185 มุมตกกระทบของรังสีอาทิตยบนระนาบตางๆ 72
แบบจําลองความสองสวางจากทองฟา 442,443 มุมอัลติจูด 57

635
636

มุมอาซิมุธ 57 รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตย 517


เมฆ 144, 145, 268 รังสีอินฟราเรดใกลจากดวงอาทิตยนอกบรรยากาศ
เมโซสเฟยร 90 โลก 520
ร รากที่สองของคาเฉลี่ยความแตกตางยกกําลังสอง
ระนาบเอียง 72, 73, 74, 352 599
รังสีกระจาย 15, 186, 193, 203, ,369 เรขาคณิตบนผิวทรงกลม 603
รังสีกระจายจากทองฟา 355 ล
รังสีกระจายจากพื้นผิวโลก 358 ลมสุริยะ 11
รังสีความรอน 17 ลักซมิเตอร 413
รังสีตรง 15, 186, 191, 199, 354 ว
รังสีที่ขณะเวลาหนึ่ง 16 วัตถุเทา 28
รังสีที่ตกกระทบวัตถุ 20 วัฏจักรของจุดมืด 12
รังสีที่แผจากดวงอาทิตย 14 วิธีของคิงและไบรน 133
รังสีที่แผออกจากวัตถุ 18 วิวแฟคเตอร 29
รังสีในชวงเวลา 16 เวลากรีนิช 62
รังสีในมุมตัน 16 เวลาของการตอบสนอง 322
รังสีที่ออกจากวัตถุทั้งหมด 34 เวลาดวงอาทิตย 62,63
รังสีรวม 15, 190, 196, 205, 373 เวลามาตรฐานทองถิ่น 62
รังสีสุทธิของการถายเทความรอนโดยการแผรังสี ส
ระหวางวัตถุเทา 37 สเกลของคาความเขมรังสีอาทิตย 327
รังสีสุทธิที่วัตถุไดรับ 35 สตราโตสเฟยร 89
รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย 485, 570 สเปกตรัมของรังสีอัลตราไวโอเลต 485
รังสีอัลตราไวโอเลตที่พื้นผิวโลก 487 สเปกตรัมของรังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 159
รังสีอาทิตยนอกบรรยากาศโลก 163,173,175 สเปกตรัมรังสีอาทิตย 159
รังสีอาทิตยในชวงความยาวคลื่นที่พืชใชสังเคราะห สภาพดูดกลืนรังสี 27
แสง 465, 565 สภาพเชิงเสน 321
รังสีอาทิตยในประเทศกัมพูชา 583 สภาพตอบสนอง 320
รังสีอาทิตยในประเทศไทย 539 สภาพแผรังสี 27
รังสีอาทิตยในประเทศเมียนมาร 586 สภาพไวรังสี 320
รังสีอาทิตยในประเทศลาว 579 สภาพสะทอนรังสี 27
รังสีอาทิตยในประเทศเวียดนาม 590 สภาพสงผานรังสี 27

636
637

สมบัติของเครื่องวัดรังสีอาทิตย 320 ห
สมบัติเชิงรังสีของวัตถุ 24 แหลงกําเนิดรังสีอัลตราไวโอเลต 485
สมบัติเชิงแสงของเมฆ 145 แหลงขอมูลรังสีอาทิตย 351
สัมประสิทธิ์การกระเจิงครั้งแรกของฝุนละออง118 อ
สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของบรรยากาศ โอโซน 129, 130, 133
และพื้นผิวโลก 431,476,505 ไอน้ํา 119, 120
สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของพื้นผิวโลก
246, 476
สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของเมฆและ
โมเลกุลอากาศ 244, 529
สัมประสิทธิ์การกระเจิงรังสีอาทิตยของฝุนละออง
244
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตของ
ฝุนละออง 507
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของกาซตางๆ
243, 527
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของโอโซน
243
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของไอน้ํา
242, 527
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอินฟราเรดใกลของ
เมฆ 529
สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตยของฝุนละออง
244
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของกาซตางๆ
143
สัมประสิทธิ์การสงผานรังสีอาทิตยของโอโซน103
สัมประสิทธิ์ความขุนมัว 110, 111
สามเหลี่ยมผิวทรงกลม 65,603
แสงสวางธรรมชาติ 409, 412, 559

637
ประวัติผู้เขียน

ศาสตราจารย์ ดร. เสริ ม จันทร์ ฉาย สําเร็ จการศึ กษาระดับปริ ญญาตรี และโท สาขา
ฟิ สิ ก ส์ จากจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย และปริ ญญาเอก สาขาพลัง งานรั ง สี อ าทิ ต ย์ จาก
มหาวิทยาลัย Perpignan ประเทศฝรั่ งเศส ในปี ค.ศ. 1985 และได้รับทุ น Marie-Curie Post-
doctoral Fellowship จากสหภาพยุโรปให้ไปปฏิ บตั ิ การวิจยั หลังปริ ญญาเอก ที่ มหาวิทยาลัย
Hohenheim ประเทศเยอรมัน ในปี ค.ศ. 1995
ศาสตราจารย์ ดร. เสริ ม จันทร์ ฉาย ทํางานวิจยั ด้านรังสี อาทิตย์อยางตอเนื ่ ่ ่ องมาเป็ น
เวลากวา่ 30 ปี โดยผลงานวิจยั ที่สําคัญ คือ การจัดทําแผนที่ความเข้มรั งสี อาทิตย์จากข้อมูล

ภาพถายดาวเที ยม ซึ่ งใช้บอกศักยภาพพลังงานรังสี อาทิตย์ในบริ เวณตางๆ ่ ของประเทศไทย
และได้ร่ วมกบกรมพั
ั ฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) จัดตั้ งเครื อขายสถานี ่ วดั
รังสี อาทิตย์สาํ หรับประเทศ โดยข้อมูลที่ได้จากการวัดและแผนที่รังสี อาทิตย์เป็ นประโยชน์ต่อ
การวิจยั พัฒนาและการประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย นอกจากนี้ ยงั ได้ร่ วมกบั

พพ. และหนวยงานระหวางประเทศ ่ ดํา เนิ น การจัด ทํา แผนที่ ค วามเข้ม รั ง สี อ าทิ ต ย์สํา หรั บ
ประเทศลาว กมพู ั ชา เมียนมาร์ และเวียดนาม พร้อมทั้ งได้จดั ตั้ งศูนย์สอบเทียบเครื่ องวัดรังสี
อาทิ ตย์ที่ม หาวิ ท ยาลัย ศิ ลปากร เพื่อบริ ก ารสอบเที ย บให้กับภาครั ฐ และเอกชน นอกจากนี้
ศาสตราจารย์ ดร. เสริ ม จัน ทร์ ฉ าย ยัง ได้จ ัด ตั้ ง สถานี ว ัด รั ง สี อ าทิ ต ย์ที่ จ ัง หวัด เชี ย งใหม่
อุบลราชธานี สงขลา และที่มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม เพื่อทําการวัดรังสี อาทิตย์
เมฆ ฝุ่ นละออง และไอนํ้ า สําหรับนํามาใช้สร้าง แบบจําลองรังสี อาทิตย์ในประเทศไทย และ

ศึกษารังสี อาทิตย์ในชวงความยาวคลื ่ ได้แก่ แสงสวางธรรมชาติ
่นตางๆ ่ จากดวงอาทิตย์ รังสี ที่
พื ช ใช้สั ง เคราะห์ แ สง รั ง สี อิ น ฟราเรด และรั ง สี อ ัล ตราไวโอเลตจากดวงอาทิ ต ย์ ซึ่ งเป็ น
ประโยชน์ต่องานด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร การเกษตรและสิ่ งแวดล้อม โดยได้รับทุน
สนับสนุนจากหนวยงานตางๆ ่ ่ ทั้ งในและตางประเทศกวา
่ ่ 50 โครงการ ศาสตราจารย์ ดร. เสริ ม
จันทร์ ฉายมีผลงานตีพิมพ์ดา้ นรังสี อาทิตย์และงานอื่นๆ ที่เกยี่วข้องในวารสารระดับนานาชาติ
กวา่ 100 เรื่ อง โดยมี ผูน้ าํ ไปใช้อา้ งอิ งกวา่ 1,200 ครั้ งจากประสบการณ์ และผลงานดังกลาว ่
ศาสตราจารย์ ดร. เสริ ม จัน ทร์ ฉ าย จึ ง ได้รั บ เชิ ญ ให้เ ป็ นกรรมการด้า นการวัด รั ง สี
อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ตั้ งแตปี่ ค.ศ. 2003 จนถึงปั จจุบนั
และเป็ นอนุกรรมการประเมินสภาวะของโอโซนขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลกปี ค.ศ. 2010

You might also like