You are on page 1of 172

Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ : www.physicskoake.

com
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ : www.physicskoake.com

คานา

หนังสือ ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 (หลักสูตรใหม่ 2560) เล่มนี้ โกเอกได้จัดเรียงเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ของคอร์ส


ฟิสิกส์ ม.4 ให้ตรงตามหลักสูตรใหม่ 2560 เพื่อให้ตรงกับบทเรียนในห้องเรียนของนักเรียน แต่เนื้อหาและ
วีดีโอการสอนยังเป็นเนื้อหาและวีดีโอการสอนเดิม เนื่องจากเนื้อหาตามหลักสูตรใหม่ 2560 ไม่ได้
เปลี่ยนแปลงมาก (หลักสูตรใหม่ 2560 เปลี่ยนเฉพาะการจัดเรียงของบทเรียนเป็นหลัก)
หนังสือเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนในห้องเรียนวิชาฟิสิกส์ของครูโกเอก (เอกนันท์
ตั้งธีระสุนันท์) ครูโกเอกได้จัดเรียงเนื้อหาและโจทย์ปัญหาเป็นลาดับขั้นจากง่ายไปยาก ซึ่งนักเรียนจะเข้าใจ
วิชาฟิสิกส์และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการทาข้อสอบได้
ครูโกเอกได้จดั ทาสารบัญเพื่อให้นักเรียนสามารถจัดเวลาในการเรียนได้สะดวกขึน้ โดยระบุว่าแต่ละ
คอร์สมีวีดีโอกี่ครั้ง และแต่ละครั้งมีจานวนชั่วโมงเรียนเท่าใด ซึ่งได้ระบุหน้าของเอกสารการเรียนต่อท้ายไว้
ด้วย นักเรียนควรทาแบบฝึกหัดท้ายเรื่องทีเ่ รียน เพื่อเป็นการเสริมประสบการณ์ในการทาโจทย์และทาให้
เข้าใจมากขึ้น หากมีปัญหาหรือข้อสงสัยในเนื้อหาวิชา สามารถถามได้ที่ facebook/ฟิสิกส์โกเอก

ครูโกเอกหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคอร์สเรียนและเอกสารการเรียนทีจ่ ัดทาขึน้ นี้จะให้ประโยชน์กับนักเรียน


และขอให้นักเรียนทุกคนประสบความสาเร็จในการเรียนและการสอบเข้าทุกระดับ

ครูโกเอก
(นายเอกนันท์ ตั้งธีระสุนนั ท์)
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ : www.physicskoake.com

ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1


บทที่ 1
ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์
(บทนา)
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ : www.physicskoake.com

สารบัญ บทที่ 1. ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์


(บทนา)

VDO ครั้งที่ เวลา (ชั่วโมง) เรื่องที่สอน หน้า


VDO ครั้งที่ 1 2:07 1. ฟิสิกส์ 1–9
2. ระบบหน่วยระหว่างชาติ
3. คาอุปสรรคและการเปลี่ยนหน่วย
VDO ครั้งที่ 2 2:24 3. คาอุปสรรคและการเปลี่ยนหน่วย 8-21
4. ความคลาดเคลื่อนของการวัด
5. การบันทึกตัวเลขจากการวัด
6. เลขนัยสาคัญ
VDO ครั้งที่ 3 1:53 7. ความไม่แน่นอนในการวัด 22-27
VDO ครั้งที่ 4 2:03 8. การวิเคราะห์ผลการทดลอง 28-45
9. เวกเตอร์
VDO ครั้งที่ 5 2:06 9. เวกเตอร์ 46-51
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 1

บทที่ 1. ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์
1. ฟิสิกส์ (Physics)
ฟิสิกส์ (Physics) มาจากภาษากรีก “ฟิสิกอส” (physikos) ซึ่งหมายถึง ธรรมชาติ
ฟิสิกส์ ศึกษาเกี่ยวกับ สสาร (matter), พลังงาน (energy), การเคลื่อนที่ (motion), อันตรกิริยา
(interaction), ระหว่างสสารกับพลังงาน ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดขึ้นในสเปช (space) และในเวลา (time)
ความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ และจากการทดลองใน
ห้องปฏิบัติการ แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ แปลความหมายและสรุปผล นาไปสู่การตั้งเป็นทฤษฎีและ
กฎต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่ออธิบายและทานายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่จะเกิดในอนาคต

การสังเกต
ความรู้ รวบรวม สรุ ปผล ทฤษฎี
การทดสอบ
แบบจาลอง ( Model ) กฏ

เนื้อหาฟิสกิ ส์ตามหลักสูตรฯ พ.ศ. 2551 ระดับชั้น ม.ปลาย ประกอบด้วย


1. กลุ่มกลศาสตร์
เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง, แรงและกฎการเคลื่อนที่, การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ, งานและพลังงาน,
โมเมนตัมและการชน, การเคลื่อนที่แบบหมุน, สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุน่
2. กลุ่มคลื่น เสียง แสง
เรื่อง คลื่นกล, เสียง, แสงและทัศนอุปกรณ์ และ แสงเชิงฟิสิกส์
3. กลุม่ ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต, ไฟฟ้ากระแส, ไฟฟ้าและแม่เหล็ก และ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4. กลุ่มสมบัติของสาร
เรื่อง ของไหล, ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
5. กลุ่มฟิสิกส์แผนใหม่
เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม, ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 2

2. ระบบหน่วยระหว่างชาติ (S.I. Units)


หน่วย เป็นสิ่งที่บอกให้รู้ว่าเมื่อทาการวัดค่าของปริมาณทางฟิสิกส์นั้น ค่าที่ได้จะนาเสนอในมาตราใด
ระบบหน่วยระหว่างชาติ (S.I. Units) (The International System of Units) ระบบหน่วยระหว่างชาติเกิด
จากการประชุมครั้งที่ 11 (คศ.1960) ของ CGPM (General Conference on Weights and Measures)

1. หน่วยฐาน (Base units) เป็นหน่วยหลักของเอสไอ มีทั้งหมด 7 หน่วย ดังนี้

ปริมาณฐาน (Base quantities) ชื่อหน่วย (Units) สัญลักษณ์ (Symbols)


1. ความยาว เมตร
2. มวล กิโลกรัม
3. เวลา วินาที
4. กระแสไฟฟ้า แอมแปร์
5. อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน
6. ปริมาณของสาร โมล
7. ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา

2. หน่วยอนุพันธ์ (Derived units) คือ หน่วยซึ่งมีหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกีย่ วเนื่องกัน (รวมกัน)


ปริมาณอนุพันธ์ หน่วยอนุพันธ์
ชื่อหน่วย ศัพท์บัญญัติ สัญลักษณ์ ในเทอมของ ในเทอมของ
เอสไออื่น หน่วยฐาน
ความถี่ เฮิรตซ์ hertz Hz - s-1
แรง นิวตัน newton N - m kg s-2
ความดัน พาสคัล pascal Pa N/m2 m-1 kg s-2
พลังงาน งาน ปริมาณความร้อน จูล joule J Nm m2 kg s-2
กาลัง ฟลักซ์การแผ่รังสี วัตต์ watt W J/s m2 kg s-3
ประจุไฟฟ้า ปริมาณไฟฟ้า คูลอมบ์ column C - sA
ศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์ โวลต์ volt V W/A m2 kg s-3 A-1
ความสว่าง ลักซ์ lux lx lm/m2 m-2 Cd
กัมมันตภาพ เบ็กเคอเรล becquerel Bq - s-1
มุมระนาบ เรเดียน radian rad - m/m
มุมตัน สตีเรเดียน steradian sr - m2/m2

ตารางแสดงชื่อและสัญลักษณ์ของหน่วยอนุพนั ธ์
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 3

3. การวิเคราะห์หน่วย
สามารถวิเคราะห์หน่วยได้จากสมการแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร

Ex1 หน่วย SI ในข้อใดเป็นหน่วยมูลฐานทั้งหมด


1. แอมแปร์ เคลวิน เคนเดลา โมล 2. เมตร องศาเซลเซียส เรเดียน คูลอมบ์
3. กิโลกรัม โอห์ม ลูเมน พาสคาล 4. วินาที โวลต์ เวเบอร์ ลักซ์

Ex2 ปริมาณใดต่อไปนีเ้ ป็นหน่วยฐานทั้งหมด


1. มวล, ความยาว, แรง 2. ระยะทาง, พื้นที่, ปริมาตร
3. มวล, กระแสไฟฟ้า, ปริมาณของสาร 4. อุณหภูมิ, มุม, พลังงาน

Ex3 หน่วยในข้อใดเป็นหน่วยเสริม
1. เรเดียน 2. เมตร/วินาที 3. เฮิรตซ์ 4. เคลวิน

Ex4 หน่วยใดเป็นหน่วยเดียวกับ นิวตัน (N)


1. kg  m  s 1 2. kg  m  s 3. kg  m  s 2 4. kg  m  s 2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 4

Ex5 จากสมการ Q = mc(t) เมื่อ Q มีหน่วยเป็น J, m มีหน่วยเป็น kg และ t มีหน่วยเป็น K


หน่วยของ c จะเป็นตามข้อใด
1. J kg / K 2. kg K / J 3. J / kg  K 4. kg / J  K

Ex6 จากสมการ PV = nRT เมื่อ P มีหน่วยเป็น N/m2, V มีหน่วยเป็น m3, n มีหน่วยเป็น mol และ
T มีหน่วยเป็น K หน่วยของ R จะเป็นตามข้อใด
1. J /(mol  K) 2. N m /(mol  K)
3. kg  m2 /(mol  K  s 2 ) 4. ถูกทุกข้อ

Ex7 จากสมการ E = mc2 เมื่อ m มีหน่วยเป็น kg, c มีหน่วยเป็น m/s หน่วยของ E จะเป็นตามข้อ
ใด
1. kg  m2  s 1 2. kg  m2  s 2 3. N m  s 4. N m

Ex8 กาหนดให้ T เป็นแรงดึงในเส้นเชือกมีหน่วยเป็นนิวตัน หรือ กิโลกรัมเมตรต่อวินาทียกกาลังสอง


และ  เป็นมวลเชือกต่อหน่วยความยาว มีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อเมตร ปริมาณ T  มีหน่วยเดียวกับ
ปริมาณใด (PAT2 ต.ค.52)
1. ความเร็ว 2. พลังงาน
3. ความเร่ง 4. รากทีส่ องของความเร่ง
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 5

4. หน่วยเสริม มี 2 หน่วย คือ เรเดียน และ สตีเรเดียน


4.1 เรเดียน (radian, rad) เป็นหน่วยของมุมระนาบ โดยที่
1 เรเดียน (1 rad) = มุมระนาบระหว่างรัศมีที่ถูกรองรับด้วยส่วนโค้งที่มีความยาวเท่ากับรัศมีนั้น

Ex1 มุม 30O, 72O เป็นกี่เรเดียน


Ex2 มุม rad, 1.5 rad เป็นกี่องศา
4

4.2 สตีเรเดียน (steradian, sr) เป็นหน่วยของมุมตัน โดยที่


1 สตีเรเดียน (1 sr) = มุมตันที่มีจุดยอด ณ ศูนย์กลางของทรงกลมที่ถูกรองรับด้วยผิวทรงกลมที่
มีพื้นที่เท่ากับรัศมีทรงกลมนั้นยกกาลังสอง
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 6

Ex1 มุมตันที่รองรับครึ่งทรงกลมรัศมี r มีค่ากี่สตีเรเดียน

Ex2 ไฟฉายส่องไปในอากาศได้ระยะทาง 5 เมตร และมีพื้นที่แสงเป็นส่วนของทรงกลมที่มีพื้นที่ 75


ตารางเมตร มุมตันที่แสงจากไฟฉายส่องออกไปเป็นกี่สตีเรเดียน

Ex3 แสงจากหลอดไฟสปอร์ตไลท์หน้ารถยนต์ส่องออกไปด้วยมุมตัน 1.5 สตีเรเดียน ที่ระยะทางเท่าใด


จากหลอดไฟ แสงจึงส่องเป็นพื้นที่ 600 ตารางเมตร
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 7

3. คาอุปสรรคและการเปลี่ยนหน่วย
1. คาอุปสรรค คือ สัญลักษณ์ทใี่ ช้แทนตัวเลขยกกาลังมาก ๆ /น้อย ๆ (ตัวพหุคูณ)
คาอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ คาอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
ตัวพหุคูณ ชื่อ สัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ ชื่อ สัญลักษณ์
1024 ยอตตะ (yotta) Y 10-1 เดซิ (deci) d
1021 เซตตะ (zetta) Z 10-2 เซนติ (centi) c
1018 เอกซะ (exa) E 10-3 มิลลิ (milli) m
1015 เพตะ (peta) P 10-6 ไมโคร (micro) 
1012 เทระ (tera) T 10-9 นาโน (nano) n
109 จิกะ (giga) G 10-12 ฟิโก (pico) p
106 เมกะ (mega) M 10-15 เฟมโต (femto) f
103 กิโล (kilo) k 10-18 อัตโต (atto) a
102 เฮกโต (hecto) h 10-21 เซฟโต (zepto) z
101 เดคา (deka) da 10-24 ยอดโต (yocto) y

2. การเปลีย่ นหน่วย
1. เปลี่ยนจากมีคาอุปสรรคเป็นไม่มีคาอุปสรรค
ให้เปลี่ยนสัญลักษณ์ของคาอุปสรรคเป็นเลขยกกาลัง เช่น

546 nm = ……………………………………………………………………………………………...

800 MW = ……………………………………………………………………………………………...

20 mg = ………………………………………………………………………………………………...
2. เปลี่ยนจากไม่มีคาอุปสรรคเป็นมีคาอุปสรรค
ให้เติมสัญลักษณ์ของคาอุปสรรคนั้นแล้วคูณด้วยเลขยกกาลังที่ตรงข้ามกับคาอุปสรรคนั้น

300 g (เป็น mg) …..…………………………………………………………………………………...

300 g (เป็น kg) ………………………………………………………………………………………..

500,000 W (เป็น MW) ……………………………………………………………………………..…


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 8

3. เปลี่ยนจากมีคาอุปสรรคเป็นมีคาอุปสรรคอื่น

200 nm (เป็น cm) ……..……….…………………………………………………………………...

5.0 C (เป็น pC) ...………………………………………………………………………………….

4.5 MJ (เป็น mJ) …………………………………………………………………………………..

4. เปลี่ยนหน่วยพื้นที่ / ปริมาตร
ทาตามข้อ 1, 2 หรือ 3 แต่ใส่กาลัง 2 สาหรับหน่วยพืน้ ที่ / กาลัง 3 สาหรับหน่วยปริมาตร

2.0 cm2 (เป็น m2) …………………………………………………………………………………..

5.1 km2 (เป็น m2) …………………………………………………………………………………..

2.0 m3 (เป็น cm3) …………………………………………………………………………………..

1.5 m3 (เป็น mm3) …………………………………………………………………………………..

5.1x106 cm3 (เป็น km3) …………………………………………………………………………..

5. หน่วยที่หารกัน
ให้เปลี่ยนหน่วยทั้ง บน / ล่าง ตามข้อ 1, 2, 3, 4
เปลี่ยน 36 km/hr เป็น m/s
km
36
hr

เปลี่ยน 1000 kg/m3 เป็น g/cm3


kg
1000
m3
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 9

Ex1 จงแปลงให้เป็นหน่วยที่กาหนดให้
1. 350 ไมโครเมตร = ……………………… เมตร

2. 3.0x10-4 กรัม = ………….……….…… มิลลิกรัม

3. 300 ตารางกิโลเมตร = ……………………… ตารางเมตร

4. 2x1015 ลูกบาศก์มิลลิเมตร = …………………………… ลูกบาศก์เมตร

5. 13.6x103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร = ………………………… กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร

6. 3000 เซนติเมตรต่อวินาที = ……………………………… กิโลเมตรต่อชั่วโมง

7. 20 ลิตร = ………………………..… ลูกบาศก์เมตร


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 10

Ex2 ปริมาตรของน้า 1,000,000 ลูกบาศก์เมตร เท่ากับกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร


1. 1.0x1010
2. 1.0x1011
3. 1.0x1012
4. 1.0x1013

Ex3 รถวิ่งด้วยความเร็ว 108 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นกี่เมตร/วินาที


1. 25
2. 30
3. 35
4. 40

Ex4 ทองคามีความหนาแน่น 19.0 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นกีก่ ิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร


1. 1,900
2. 19,000
3. 3,800
4. 38,000

Ex5 ความยาวคลื่นแสงสีแดงเป็น 630 นาโนเมตร เท่ากับข้อใด


1. 6.30x10-3 มิลลิเมตร
2. 6.30x10-5 เซนติเมตร
3. 6.30x10-8 เมตร
4. 6.30x10-12 กิโลเมตร

Ex6 ถังน้าสี่เหลีย่ มก้นถังมีพื้นที่ 1.5 ตารางเมตร สูง 1.2 เมตร จะบรรจุน้าได้มากที่สุดกี่ลิตร


1. 180
2. 600
3. 1800
4. 18000
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 11

การบ้าน 1 หน่วยและการเปลี่ยนหน่วย
1. ข้อใดเป็นหน่วยมูลฐานทั้งหมด
1. เมตร, กิโลกรัม, โวลต์ 2. แอมแปร์, กิโลกรัม, โมล
3. วินาที, กรัม, เมตร 4. เคลวิน, นิวตัน, แอมแปร์

2. ข้อใดเป็นหน่วยอนุพนั ธ์
1. mol (โมล) 2. kg (กิโลกรัม) 3. OC (องศาเซลเซียส) 4. A (แอมแปร์)

3. รูปสามเหลีย่ มมีผลบวกของมุมภายในเป็น 180 องศา คิดเป็นกี่เรเดียน


1. 2
2. 

3.
2
3
4.
2

 
4.  เป็นกี่เรเดียนและกี่องศา (กาหนดให้  = 3.14)
2 5
1. 21.98 rad และ 128 องศา
2. 20.98 rad และ 126 องศา
3. 2.198 rad และ 126 องศา
4. 2.098 rad และ 128 องศา

5. ครึ่งทรงกลม มีมุมตันเท่าใดในหน่วยสตีเรเดียน (sr)



1.
4

2.
2
3. 
4. 2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 12

6. ปริมาณใดไม่เท่ากับ 3.5 km
1. 3.5x10-9 Tm
2. 3.5x1012 nm
3. 3.5x103 Gm
4. 3.5x105 cm

7. รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 54 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถยนต์คนั นีจ้ ะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่าใดใน


หน่วย เซนติเมตรต่อมิลลิวินาที
1. 0.15 cm/ms
2. 1.5 cm/ms
3. 15 cm/ms
4. 150 cm/ms

8. จงเปลี่ยนหน่วยมวลของโปรตอน 1.6x10-27 กิโลกรัม เป็นนาโนกรัม


1. 1.6x10-39
2. 1.6x10-36
3. 1.6x10-15
4. 1.6x10-12

9. วัตถุหนึ่งมีความหนาแน่น 0.004 kg/m3 วัตถุนี้จะมีความหนาแน่นเท่าใดในหน่วย mg/cm3


1. 4x10-4
2. 4x10-3
3. 4x103
4. 4x109
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 13

10. ข้อความใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
1. ความยาวคลื่นแสง 7x10-7 m จะมีค่า 7x10-2 nm
2. เวลา 0.0002 s จะมีค่า 2x10-7 ms
3. อัตราเร็วของรถยนต์ในระบบ SI คือ = 30 km/hr
4. หินก้อนหนึง่ มีมวล 30 kg มีค่า = 3x105 cg

11. ความเร่ง 10 m/s2 จะมีค่าเท่าใดในหน่วย km/hr2 (กิโลเมตรต่อชั่วโมง2)


1. 32 400 km/hr2
2. 64 800 km/hr2
3. 324 000 km/hr2
4. 648 000 km/hr2

12. ความหนาแน่น 1.36 kg/m3 มีค่าเป็นกี่ g/mm3


1. 1.36x106
2. 1.36x1012
3. 1.36x10-6
4. 1.36x10-12

13. ความถี่ 88 MHz คิดเป็นเท่าใดในหน่วย Hz


1. 88x103
2. 88x106
3. 88x109
4. 88x1012
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 14

4. ความคลาดเคลื่อนของการวัด (Errors of Measurements)


1. ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากความสะเพร่า (gross errors) เกิดจากความสะเพร่า, ความ
ผิดพลาด, การอ่านผิด, การบันทึกผิดของเราเอง ความคลาดเคลื่อนประเภทนีป้ ้องกันได้โดยความ
ระมัดระวัง และรอบคอบให้มาก
2. ความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือ (systematic errors) เป็นความคลาดเคลื่อนจากความผิดของ
เครื่องมือ หรือวิธีการใช้เครื่องมือ แก้ไขโดยตรงทีเ่ ครื่องมือและคน
3. ความคลาดเคลื่อนที่ไม่รสู้ าเหตุ (random errors) เป็นความคลาดเคลื่อนจากสาเหตุภายนอก ที่มี
ผลต่อเครื่องมือวัด และคนทีท่ าการวัด เราจัดการกับความคลาดเคลื่อนแบบนี้ โดยใช้วิธที างสถิติ

5. การบันทึกตัวเลขจากการวัด
1. การบันทึกตัวเลขของเครื่องมือวัดแบบขีดสเกล
ให้บนั ทึกตามขีดสเกล พร้อมค่าประมาณอีก 1 ตาแหน่ง เช่น

0 1 2 3 4 5 6

0 1 2 3 4 5 6

2. การบันทึกตัวเลขของเครื่องมือวัดแบบแสดงผลด้วยตัวเลข ให้บันทึกตามที่อ่านค่าได้เลย
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 15

Ex1 การแสดงผลของเครื่องมือวัดแบบใด ที่ผใู้ ช้ต้องมีความชานาญในการใช้


1. แบบขีดสเกล 2. แบบตัวเลข 3. แบบประมาณค่า 4. แบบมีเข็ม

Ex2 การอ่านค่าจากเครื่องวัดแบบขีดสเกลที่ถกู ต้องควรทาอย่างไร


1. ประมาณค่าให้ละเอียดที่สุด 2. มองตั้งฉากกับเครื่องวัด
3. วางเครื่องวัดให้นอนราบ 4. ถูกทุกข้อ

Ex3 การอ่านค่าจากเครื่องวัดแบบแสดงผลด้วยตัวเลขมีหลักการคือ
1. ประมาณความคลาดเคลื่อนทุกครั้ง 2. อ่านตามที่เห็นจริง ๆ จากจอภาพ
3. ต้องประมาณตัวเลขตัวสุดท้าย 1 ตัว 4. ต้องวัดหลายครั้งแล้วหาค่าเฉลี่ย

Ex4 จากรูป ปริมาณของเหลวในหลอดฉีดยาควรอ่านค่าได้เท่าใด


1. 2.7 mL mL
2. 2.75 mL 3.0
3. 2.8 mL
4. 2.80 mL 2.5

Ex5 ถ้าต้องการวัดความต่างศักย์ของถ่านไฟฉายก้อนหนึง่ ด้วยโวลต์มิเตอร์แบบเข็ม ซึ่งสามารถอ่านค่าได้


เต็มสเกลเท่ากับ 5 โวลต์ และมีสเกลละเอียดสุดเท่ากับ 0.1 โวลต์ ข้อใดต่อไปนี้แสดงการอ่านค่าความ
ต่างศักย์ของถ่านไฟฉายทีเ่ หมาะสมที่สดุ (Ent 40)
1. 1.5 โวลต์ 2. 1.55 โวลต์ 3. 1.552 โวลต์ 4. 1.5520 โวลต์

Ex6 จากรูปที่กาหนดให้ ความยาวที่อ่านได้จากไม้บรรทัดโดยตรงและค่าทีต่ ้องประมาณ คือข้อใด


1. 2 cm และ 0.45 cm
2. 2.00 cm และ 0.45 cm
0 1 2 3 4 cm
3. 2.40 cm และ 0.05 cm
4. 2.45 cm และ 0.00 cm
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 16

6. เลขนัยสาคัญ
เลขนัยสาคัญ คือ ตัวเลขที่มีความหมาย ซึ่งได้จากการบันทึกข้อมูล
1. หลักการนับจานวนเลขนัยสาคัญ
1. เลขทุกตัวเป็นเลขนัยสาคัญ ยกเว้นเลข 0 ที่อยู่หน้าตัวเลขอื่น
เช่น 65.5 200.0
0.53 0.030
2.45 40.040

2. ถ้าเขียนตัวเลขในรูป A×10n ให้พจิ ารณาเฉพาะ A เหมือน ข้อ 1.


เช่น 4.50x103 7.050x102
6.275x10-15 9.2x109

3. ถ้าเป็นเลขจานวนเต็มที่มีศูนย์หลายตัว เช่น 4,500 จะมีเลขนัยสาคัญได้หลายแบบ


เช่น 4,500 g 200 kN

4. ตัวเลขทีเ่ ป็นค่าคงที่ เช่น 2, ,  ไม่นับเป็นเลขนัยสาคัญ

2. การบวกและการลบเลขนัยสาคัญ
1. บวก, ลบ เลขตามปกติ
2. ผลลัพธ์ที่ได้มีตาแหน่งทศนิยมเท่ากับตัวตัง้ ที่มีตาแหน่งทศนิยมน้อยสุด
1. 30.543 + 2.48 = 2. 30.54 – 15 =

3. 50 – 9.4 = 4. 725 – 42.8 =


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 17

3. การคูณและการหารเลขนัยสาคัญ
1. คูณ, หาร เลขตามปกติ
2. ผลลัพธ์ที่ได้มีจานวนเลขนัยสาคัญเท่ากับตัวตัง้ ที่มจี านวนเลขนัยสาคัญน้อยสุด
1. 28.0 x 2.5 = 2. 28.0  2.0 =

3. 13 x 25 = 4. 100  4.00 =

Ex1 เลขนัยสาคัญ คืออะไร


1. เลขที่วัดได้จริง ๆ จากเครื่องมือวัด
2. เลขที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดแบบขีดสเกล รวมกับตัวเลขที่ประมาณอีก 1 ตัว
3. เลขที่ประมาณขึ้นมาในการวัด
4. เลขที่บอกความละเอียดของเครื่องมือวัด

Ex2 ผลลัพธ์ของ 16.74 + 5.1 มีจานวนเลขนัยสาคัญเท่ากับตัวเลขในข้อใด (PAT2 ก.ค.52)


1. -3.14 2. 0.003 3. 99.99 4. 270.00
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 18

Ex3 นักเรียนคนหนึ่งวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมวงหนึ่งได้ 5.27 เซนติเมตร เขาควรจะบันทึกรัศมี


วงกลมวงนี้เป็นกี่เซนติเมตร (PAT2 มี.ค.52)
1. 3
2. 2.6
3. 2.64
4. 2.635

Ex4 ห้องเรียนกว้าง 5.20 เมตร ยาว 8.0 เมตร ห้องเรียนมีพื้นที่กี่ตารางเมตร


1. 41.6
2. 42.0
3. 41
4. 42

Ex5 ห้องหนึ่งกว้าง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร ห้องจะมีพื้นที่เท่าใด


1. 43.214 ตารางเมตร
2. 43.2 ตารางเมตร
3. 43.21 ตารางเมตร
4. 43.2140 ตารางเมตร

Ex6 เหล็กแท่งหนึ่งมีมวล 47.0 กรัม มีปริมาตร 6.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถามว่าตัวเลขทีเ่ หมาะสม


สาหรับค่าความหนาแน่นของเหล็กแท่งนีเ้ ป็นกี่กรัม / ลูกบาศก์เซนติเมตร (Ent 35)
1. 7.8
2. 7.83
3. 7.833
4. 7.8333
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 19

Ex7 วัตถุมวล 17.2 g มีปริมาตร 3.0 cm3 มีความหนาแน่นเท่าใด


1. 5.73333 g/cm3
2. 5.7333 g/cm3
3. 5.73 g/cm3
4. 5.7 g/cm3

Ex8 กล่องสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 140 cm × 2.80 cm × 2.3 cm มีปริมาตรเป็นเท่าใดตามหลักของเลข


นัยสาคัญ (Anet51)
1. 26 cm3
2. 26.4 cm3
3. 26.40 cm3
4. 26.404 cm3

การบ้าน 2 การบันทึกผลการทดลอง
1. จากรูป ควรบันทึกความยาวดินสออย่างไร
1. 1.75 cm
2. 1.80 cm 0 1 2 3 4 cm
3. 1.82 cm
4. 1.825 cm

2. แอมมิเตอร์วัดกระแสอ่านเต็มสเกลได้ 10 A แต่ละช่วงแอมแปร์แบ่งออกเป็น 5 ขีด ในการวัดกระแส


ครั้งหนึ่ง การเสนอผลการวัดข้อใดต่อไปนี้เหมาะสมที่สุด (ตุลา 41)
1. 2 A
2. 2.4 A
3. 2.406 A
4. 2.45 A
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 20

3. นางสาวแพนเค้กใช้ไม้บรรทัดวัดขนาดของกล่องใบหนึ่ง แสดงดังรูป

0 1 2 3 cm

นางสาวแพนเค้กควรบันทึกความยาวที่เห็นเป็นเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร (PAT2 ก.ค.53)


1. 2.5 2. 2.50 3. 25 4. 25.0

4. จงพิจารณาปริมาณต่อไปนี้ ข้อใดมีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว


1. 20
2. 0.2
3. 0.05
4. 0.020

5. พิจารณาปริมาณต่อไปนี้ 2006, 0.0035, 4.2x10-5 มีจานวนเลขนัยสาคัญกีต่ ัว


1. 4, 5 และ 5 ตัว
2. 2, 2 และ 4 ตัว
3. 4, 2 และ 2 ตัว
4. บอกไม่ได้, 2 และ 2 ตัว

6. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักของเลขนัยสาคัญ 4.36 + 2.1 - 0.0025


1. 6
2. 6.5
3. 6.46
4. 6.458
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 21

4.5
7. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักของเลขนัยสาคัญ  3.95  0.5
2.0
1. 5.7
2. 5.75
3. 5.8
4. 5.85

8. ถังเก็บน้าทรงกระบอกมีรศั มี 50.0 เซนติเมตร สูง 100.0 เซนติเมตร มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร


1. 785000
2. 7.850x105
3. 7.85x105
4. 7.9x105

9. จงพิจารณาโจทย์ต่อไปนี้
ก. 1.2 + 26.543 + 10.12 = ?
ข. 123.45 x 2.0 = ?
จากโจทย์ทปี่ รากฏข้างบนนี้ มีข้อความใดบ้างทีถ่ ูกต้อง (Ent 40)
1. ผลลัพธ์ของข้อ ก. มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว และผลลัพธ์ของข้อ ข. มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
2. ผลลัพธ์ของข้อ ก. มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว และผลลัพธ์ของข้อ ข. มีเลขนัยสาคัญ 5 ตัว
3. ทั้งผลลัพธ์ของข้อ ก. และผลลัพธ์ของข้อ ข. มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
4. คาตอบเป็นอย่างอื่น

10. นักเรียนคนหนึง่ ใช้เครื่องวัดวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรียญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อพิจารณา


เลขนัยสาคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพืน้ ที่หน้าตัดเท่าใด
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร
2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร
4. 5.27 ตารางเซนติเมตร
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 22

7. ความไม่แน่นอนในการวัด
ในการอ่านค่าที่ได้จากการวัดโดยใช้อุปกรณ์แบบขีดสเกล จะอ่านค่าตามขีดสเกลพร้อมการ
คาดคะเนอีก 1 ตาแหน่ง ซึง่ ตัวเลขตัวสุดท้ายจะมีโอกาสผิดพลาดหรือมีความไม่แน่นอน เพื่อจากัดการ
ผิดพลาดให้น้อยลง จะทาการบันทึกเป็น A  A เช่น ดินสอมีความยาว 3.45  0.01 เซนติเมตร โดยมี
ความเชื่อมั่นเกือบ 100% ว่าผลที่ถูกต้องอยู่ภายใน A  A (ดินสอมีความยาวระหว่าง 3.44 – 3.46
เซนติเมตร)
1. การบวกและการลบ ค่าที่มีความไม่แน่นอน
1. นาตัวเลขบวกลบกันตามหลักการบวกลบเลขนัยสาคัญ
2. ค่าความไม่แน่นอนบวกกันเสมอ ตามหลักการบวกลบเลขนัยสาคัญ
3. ใช้หลักการบวกลบเลขนัยสาคัญ

( A  A)  (B  B)  ( A  B)  (A  B)

Ex1 โกเอกวัดความยาวของปากกา ได้ค่าความยาวของปากการะหว่าง 12.23 ถึง 12.27 เซนติเมตร


โกเอกควรบันทึกความยาวของปากกาเป็นเท่าใด
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 23

Ex2 จงหาผลลัพธ์ของการบวกและลบ จานวนที่มีค่าความไม่แน่นอนต่อไปนี้

1. (21.50  0.05) + (3.40  0.03) = …………………………...………………………………..

….……………………………………….………………………..……………….

2. (18.5  0.2) + (6.34  0.01) = …...………………………………………………………….

….……………………………………………….………………..……………….

3. (21.50  0.05) – (3.40  0.03) = ……………………………………………………………..

….………………………………………………………………..……………….

4. (18.5  0.2) – (6.34  0.01) = ……………………….......…………………………….…….

….………………………………………………………………...……………….

Ex3 เชือก 2 เส้น เส้นที่หนึ่งยาว 25.5  0.2 ซม. เส้นที่สองยาว 31.2  0.1 ซม. จงหา
1. เชือกทั้งสองเส้นมีความยาวรวมกันมากสุดเท่าใด

2. เชือกทั้งสองเส้นมีความยาวรวมกันน้อยสุดเท่าใด

3. เชือกทั้งสองเส้นมีความยาวรวมกันเท่าใด

4. เชือกเส้นที่สองยาวกว่าเส้นแรกเท่าใด
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 24

2. การคูณและการหาร ค่าทีม่ ีความไม่แน่นอน


1. นาตัวเลขคูณหารตามปกติ
2. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนรวมหาจากเปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของทุกค่าบวกกัน
3. ความไม่แน่นอนหาจาก เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนคูณผลลัพธ์ที่ได้
4. ใช้หลักการคูณหารเลขนัยสาคัญ

A B
( A  A )  (B  B)  ( A  B)    ( A  B)
 A B 

A B
( A  A )  (B  B)  ( A  B)    ( A  B)
 A B 
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 25

Ex1 จานวนที่ได้จากการบันทึกผลการทดลองสองจานวนคือ A = 2.50  0.05 และ B = 1.50  0.06


จงหา
1. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A …………………………………………..

2. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ B …………………………………………..

3. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A x B …………………………………………..

4. A x B = …………………………………………..

5. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A  B …………………………………………..

6. A  B = …………………………………………..

8. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A2B …………………………………………..

10. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A B …………………………………………..


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 26

Ex2 สมมติ P และ Q เป็นปริมาณทีต่ ่างมีความไม่แน่นอนในการวัดเป็น P และ Q ตามลาดับ


ถ้า M = P – Q จะได้ความไม่แน่นอนในการวัดของ M ( M ) เป็นเท่าไร
1. M  P  Q 2. M  P  Q
P  Q
3. M  4. ไม่แน่นอน
PQ

Ex3 ไม้ท่อนหนึ่งยาว 15.25  0.01 ซม. อีกท่อนหนึ่งยาว 4.42  0.02 ซม. เมื่อนามาต่อกันจะยาว
เท่าใด
1. 19.76  0.03
2. 19.76  0.02
3. 19.67  0.02
4. 19.67  0.03

Ex4 ห้องเรียนมีความกว้าง 10.0  0.1 เมตร มีความยาว 10.0  0.1 เมตร เส้นรอบห้องเรียนยาวกี่เมตร
1. 40  0.4
2. 40.0  0.4
3. 40  0.1
4. 40.0  0.1

Ex5 นักเรียนคนหนึ่งบันทึกผลการทดลองได้ดังนี้ 4.0  0.2 โวลต์ ความคลาดเคลื่อนของการวัดมีค่ากี่


เปอร์เซ็นต์
1. 1 %
2. 3 %
3. 5 %
4. 7 %
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 27

Ex6 ห้องเรียนมีความกว้าง 10.0  0.1 เมตร มีความยาว 10.0  0.1 เมตร ห้องเรียนมีพื้นทีก่ ี่ตารางเมตร
1. 100  1
2. 100  2
3. 100.0  1.0
4. 100.0  2.0

Ex7 จงหาเปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนในการคูณ (2.50  0.01)(5.0  0.1)


1. 0.4 %
2. 2.0 %
3. 2.4 %
4. 4.0 %

1
Ex8 จากความสัมพันธ์ Ek  mv 2 จงหาเปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ Ek
2
เมื่อ m = 20  1 kg และ v = 5.0  0.1 m/s
1. 3%
2. 5%
3. 7%
4. 9%
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 28

8. การวิเคราะห์ผลการทดลอง
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ได้ตั้งสมมติฐาน และได้ข้อมูลจากการทาการทดลองมาแล้วนั้น
สามารถนาข้อมูลที่ได้มาหาความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยการเขียนเป็นกราฟ ซึ่งนิยมให้ตัวแปรต้นเป็นแกน
นอน (แกน x) และตัวแปรตามเป็นแกนตั้ง (แกน y) ความสัมพันธ์ทนี่ ักเรียนควรทราบมีดังนี้

1. ความสัมพันธ์แบบแปรผันตรง (ความสัมพันธ์แบบเส้นตรง)
y

c
0 x

y
-c เมื่อ m = ความชันของเส้นตรง =
x
c = จุดตัดแกน y
Ex1 จงหาความชัน จุดตัดแกน y และสมการของกราฟต่อไปนี้

10

x
0 5
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 29

10

x
0 5

ตัวอย่างความสัมพันธ์ของตัวแปรทีเ่ ป็นเส้นตรง
กฎของนิวตัน F = ma กฎของโอห์ม V = IR

F V

0
a
0
I

q
Ex2 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า (I) ประจุไฟฟ้า (q) และเวลา (t) เขียนเป็นสมการได้ว่า I =
t
และเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง q และ t ได้ดังรูป จงหาว่าความชันของกราฟเท่ากับเท่าใด
q

0 t
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 30

Ex3 กราฟระหว่างความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุ เป็นดังรูป ความเร่งของวัตถุซึ่งหาได้จาก


ความชันของกราฟมีค่าเท่าใด

v (m/s)
6

0 t (s)
2 4 6 8

Ex4 จากกราฟเป็นข้อมูลการทดลองเรื่องสัมประสิทธิ์ความเสียดทานโดยแกนนอนเป็นน้าหนักถุงทราย
(mg) แกนตั้งเป็นแรง F ที่ดึงแผ่นไม้ให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว สัมประสิทธิค์ วามเสียดทานจลน์ของ
การทดลอง ซึ่งหาได้จากความชันของกราฟมีค่าเท่าใด

F (N)
16

0 mg (N)
8 16 24 32
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 31

2. ความสัมพันธ์แบบแปรผันกับกาลังสองและแบบแปรผันกับรากที่สอง

y y

x x
0 0
1 
เช่น สมการพลังงานจลน์ E k  mv 2 เช่น คาบของลูกตุ้มนาฬิกา T = 2
2 g
Ek T

0
v
0

3. ความสัมพันธ์แบบแปรผกผัน

y P
เช่น กฎของบอย์ล PV = k

x V
0 0
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 32

Ex1 ในการทดลองเรื่องลูกตุ้มแบบง่ายให้ T เป็นคาบของการแกว่ง L เป็นความยาวของเชือก g เป็น



ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง กราฟระหว่างปริมาณในข้อใดจะเป็นเส้นตรง (เมื่อ T = 2 )
g
1. T กับ L
2. T กับ L
3. T กับ L2
4. T2 กับ L

Ex2 เมื่อออกแรง (F) คงที่กระทากับมวล (m) ขนาดต่าง ๆ กัน ซึ่งวางบนพื้นที่ไม่มีความฝืดทาให้มวล


เคลื่อนทีด่ ้วยความเร่ง (a) ขนาดต่าง ๆ กัน มีความสัมพันธ์ระหว่าง แรง มวล และความเร่งดังสมการ
F = ma กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง m และ a จะเป็นดังรูปใด
a a a a

m m m m
1. 2. 3. 4.

Ex3 เมือ่ ออกแรง (F) คงที่กระทากับมวล (m) ขนาดต่าง ๆ กัน ซึ่งวางบนพื้นที่ไม่มีความฝืดทาให้มวล


เคลื่อนทีด่ ้วยความเร่ง (a) ขนาดต่าง ๆ กัน มีความสัมพันธ์ระหว่าง แรง มวล และความเร่งดังสมการ
1
F = ma กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง m และ จะเป็นดังรูปใด
a
a a a a

1/m 1/m 1/m 1/m


1. 2. 3. 4.
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 33

การบ้าน 3 ความไม่แน่นอนในการวัดและการบันทึกผลการทดลอง
1. จานวนสองจานวนที่ได้จากการบันทึกผลการทดลองคือ A = 10.0  0.5 และ B = 8.0  0.4 จงหา
1. A + B = ………………………………………………………..

2. A x B = ………………………………………………………..

3. A  B = ………………………………………………………..

4. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A2B3 ………………………………………………………..

5. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A2/B ………………………………………………………..

6. เปอร์เซ็นต์ความไม่แน่นอนของ A B ………………………………………………………..
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 34

2. สี่เหลีย่ มผืนผ้ากว้าง 4.00  0.01 เมตร, ยาว 5.00  0.01 เมตร จงคานวณพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า
1. 20.00  0.02
2. 20.00  0.03
3. 20.0  0.09
4. 20.0  0.1

3. หินทรงกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.00  0.03 เมตร จะมีปริมาตรที่อาจคลาดเคลื่อนได้กเี่ ปอร์เซ็นต์

4. ในการวัดระยะทางสัน้ ๆ โดยใช้กระจกช่วย และสังเกตลาแสงที่สะท้อนจากกระจก คานวณหาระยะที่


1 D
ต้องการวัดได้จาก d  เมื่อ D คือ ระยะที่แสงสะท้อนเบีย่ งเบนไปจากแสงตกกระทบ;  คือ ความ
2 L
กว้างกระจก; L เป็นระยะทางจากกระจกถึงสเกล ถ้าในการวัดพบว่า D = 10  1 mm, L = 500  1 mm
และ  = 20  1 mm ความเชื่อถือได้ของค่า d จะเป็น  กี่เปอร์เซ็นต์ของค่า d
1. 10 %
2. 12 %
3. 15 %
4. 20 %
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 35

5. ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนและอุณหภูมิของวัตถุที่สูงขึ้นดังสมการ Q = mc T และเขียน
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Q และ T ได้ดังรูป จงหาว่าความชันของกราฟเท่ากับค่าใด
Q

Slope = ………………………………
0
T

T

Q Slope = ………………………………
0
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 36
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 37

9. เวกเตอร์

1. อัตราส่วนตรีโกณมิติ
1.1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ
เป็นอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
B
c a

A b C

อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่ต้องรู้
 0O 90O 30O 45O 60O 37O 53O
sin 
cos 
tan 

1.2 การบอกค่าของมุมเป็น arctan(A)


a a a
รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีค่า tan  =จะได้ว่า มุม  = arctan   (มุม  = tan-1   )
b b b
มีความหมายว่า มุม  ที่ทาให้ tan  = A

Ex จงหาขนาดของมุม A, มุม B และ มุม C

5
3 2.4
A B C
6 5 3.2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 38

2. ปริมาณสเกลาร์และเวกเตอร์
2.1 ปริมาณสเกลาร์ ( Scalar Quantity )
เป็นปริมาณที่มเี ฉพาะขนาดอย่างเดียว ก็ให้ความหมายสมบูรณ์ เช่น ระยะทาง, อัตราเร็ว, มวล,
ปริมาตร, เวลา, .....................................................................................
2.2 ปริมาณเวกเตอร์ ( Vector Quantity )
เป็นปริมาณที่ต้องมีทั้งขนาด และทิศทาง จึงจะให้ความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัด,
ความเร็ว, ความเร่ง, น้าหนัก, แรง, โมเมนตัม, ................................................................................
 
แสดงปริมาณเวกเตอร์โดยใช้ลกู ศรอยู่ด้านบนปริมาณนัน้ A ขนาดของเวกเตอร์ A แทนด้วย A
หรือ A

2.3 สมบัตบิ างประการของเวกเตอร์


1. การเท่ากันของเวกเตอร์
เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์จะเท่ากันเมื่อเวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางเดียวกัน
y

เวกเตอร์ทั้งสีเ่ ป็นเวกเตอร์ทเี่ ท่ากัน


0 x เนื่องจากมีขนาดเท่ากันและมีทิศเดียวกัน

2. เวกเตอร์ตรงข้าม
  
เวกเตอร์ที่ตรงข้ามกับ A คือเวกเตอร์ - A เป็นเวกเตอร์ที่รวมกับเวกเตอร์ A แล้วได้ศูนย์
   
A + (- A ) = 0 จะได้ว่า A และ - A มีขนาดเท่ากันแต่มีทศิ ตรงข้าม

A -A A + ( -A ) = 0
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 39

3. การบวกเวกเตอร์

การบวกเวกเตอร์สามารถอธิบายได้โดยใช้เลขาคณิต (การวาดภาพ) การบวกเวกเตอร์ B กับ
  
เวกเตอร์ A ทาโดยการต่อหางของเวกเตอร์ B เข้ากับหัวของเวกเตอร์ A

B D
=A+

D
C+
R
B C

B+
A+
A
  

R=
แสดงเวกเตอร์ลัพธ์ R = A + B B
A
    
แสดงเวกเตอร์ลัพธ์ R = A + B + C + D
A
B
R= B +A A
B
A
B
R= A+B
   B
แสดงเวกเตอร์ลัพธ์ R = B + A
A
แสดงการบวกเวกเตอร์แบบหางต่อหาง

   
การบวกเวกเตอร์มีสมบัติการสลับที่ A + B = B + A
     
การบวกเวกเตอร์มีสมบัติการจัดกลุม่ A + ( B + C ) = ( A + B ) + C

การบวกเวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ จึงทาได้ 2 วิธี


1. หางต่อหัว นาหางเวกเตอร์ตัวที่ 2 ต่อหัวเวกเตอร์แรก เวกเตอร์ลัพธ์จากหางตัวแรกไปยังหัวตัวที่สอง

2. หางต่อหาง นาหางเวกเตอร์ตัวที่ 1 และหางเวกเตอร์ตัวที่ 2 ต่อกัน สร้างสี่เหลีย่ มด้านขนานจาก


เวกเตอร์ทั้งสอง เวกเตอร์ลัพธ์จากจุดรวมของหาง ไปยังอีกมุมของสี่เหลีย่ มด้านขนาน

4. การคูณเวกเตอร์ด้วยปริมาณสเกลาร์
  
เวกเตอร์ m A จะมีขนาดเป็น m เท่าของเวกเตอร์ A และมีทิศเดียวกับ A
  
เวกเตอร์ -m A จะมีขนาดเป็น m เท่าของเวกเตอร์ A และมีทศิ ตรงข้ามกับ A
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 40

5. การลบเวกเตอร์
       
การลบเวกเตอร์ A - B จะทาการบวกเวกเตอร์ A กับเวกเตอร์ - B ซึ่ง A - B = A + (- B )

B B R =A - B
A

R =A - B -B A

    
แสดงการลบเวกเตอร์ R = A - B = A + (- B )

Ex1 จากเวกเตอร์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ จงหาเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีวาดภาพ


1 cm

A B C

D E
F

   
1.1 A + B = …………………………… 1.2 A - B = ……………………………

  
1.3 2 B = …………………………… 1.4 A + D = ……………………………

     
1.5 C + E + D = …………………………… 1.6 E - D - F = ……………………………
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 41
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 42

การบ้าน 1 การบวกเวกเตอร์โดยวิธีวาดภาพ
1. จากรูปที่แสดงจะสรุปได้ว่าข้อใดเป็นจริง

  
1. A  BC
   
2. B CA  B
   C
3. C  AB
  
4. B  A C 
A

     
2. จากรูป A , B , C , D , E และ F ต่างก็เป็นเวกเตอร์บอกตาแหน่ง อยากทราบว่าข้อใดให้
ความสัมพันธ์ที่ถกู ต้อง (Ent 31)

   
1. A DE C
    
2. ABF F B
   
3. F  AB E 
   D
4. F CE 
A

3. จากเวกเตอร์ที่กาหนดให้ ข้อความใดถูกต้อง

    C
1. A B CD  0
   
2. ABC D
    D B
3. A B D  C
   
4. A B  CD
A
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 43

4. จากรูป เวกเตอร์ลัพธ์ข้อใดกล่าวผิด
D C D C
1. 2.

A B A B
AB  AD  AC AD  CD  BD

D C D C
3. 4.

A B A B
DA  BA  CA BA  BC  DB

5. จากรูปจงหาเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ย่อยทัง้ หมดที่กาหนดให้

F

1. 0
2. 2 ED E D
3. 2 EF
4. 2 AB
A B C
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 44

3. การคานวณหาเวกเตอร์ลัพธ์
1. การหาเวกเตอร์ลพ ั ธ์ใน 1 มิติ เช่น การกระจัดลัพธ์ใน 1 มิติ, แรงลัพธ์ในแนวราบ
บอกเวกเตอร์โดยใช้ตัวเลขแทนขนาด และเครื่องหมายบวกหรือลบแทนทิศทาง
การใช้เครื่องหมาย บวก / ลบ แทนทิศ
บวก / ลบ แทนการบวกลบของเวกเตอร์

Ex2 จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ของการบวก / ลบ เวกเตอร์ต่อไปนี้ (ใช้เวกเตอร์ตามข้อ Ex1 หน้า 4)


 
2.1 A + B = ………………………………………………

 
2.2 A + C = ……………………………………………..

 
2.3 A - C = ………………………………………………

 
2.4 2 A - B = …………………………………………….

  
2.5 C - A - B = …………………………………………..
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 45

2. การหาเวกเตอร์ลพ ั ธ์ใน 2 มิติ


2.1 เมื่อสองเวกเตอร์ตั้งฉากกัน

+ B + B
= A B = A
R B R
 
A A

Ex3 จงหาขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์ที่เกิดจากการรวม 2 เวกเตอร์ ต่อไปนี้ พร้อมวาดรูป


ประกอบ

3.1

3.2

15

3.3

4 3

4
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 46

2.2 เมื่อสองเวกเตอร์ทามุม  กัน


1 cm

B
R
B
A

A

การหาเวกเตอร์องค์ประกอบในพิกัดฉาก (การแตกเวกเตอร์)
เราสามารถแยกเวกเตอร์หนึ่ง เป็น 2 เวกเตอร์ที่ตั้งฉากกันได้

Ay A

Ax
 
เมื่อ A x คือ เวกเตอร์องค์ประกอบของ A บนแกน x
 
A y คือ เวกเตอร์องค์ประกอบของ A บนแกน y
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 47

Ex4 จงหาขนาดและทิศของเวกเตอร์ลัพธ์ด้วยวิธีแตกเวกเตอร์

4.1
4 2
45O
8

4.2
5 143O
10
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 48

สรุปการบวก / ลบ เวกเตอร์ใน 2 มิติ


1. โดยการวาดรูป
ให้หางของเวกเตอร์ต่อหัวของเวกเตอร์ไปเรื่อย ๆ
เวกเตอร์ลัพธ์ จากจุดเริ่มต้นของเวกเตอร์ตัวแรก ไปยังจุดปลายของเวกเตอร์สุดท้าย
(การลบเวกเตอร์ ให้บวกด้วยเวกเตอร์ที่มที ิศตรงข้าม)

2. โดยใช้เวกเตอร์ย่อย
นาเวกเตอร์ย่อยบนแกน x รวมกัน เป็น Rx
นาเวกเตอร์ย่อยบนแกน y รวมกัน เป็น Ry
เวกเตอร์ลัพธ์หาจากผลรวมของเวกเตอร์ Rx และ Ry
1 cm

A
B
B A

3. โดยใช้สูตร (เฉพาะ 2 เวกเตอร์ ทามุม  กัน)

+ B + B
R =A B
B
R =A
   
A A
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 49

Ex5 จงหาขนาดและทิศของเวกเตอร์ลัพธ์
5.1

40 40 3
o
30
30 o

5.2
60 2

45o 120

45 o
100 2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 50

เพิ่มเติม สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์
1. ผลบวกของ 2 เวกเตอร์ ได้เวกเตอร์ลัพธ์ที่มีขนาดมากทีส่ ุดเมื่อเวกเตอร์ทั้งสองมีทิศเดียวกัน
2. ผลบวกของ 2 เวกเตอร์ ได้เวกเตอร์ลัพธ์ที่มีขนาดน้อยทีส่ ุดเมื่อเวกเตอร์ทั้งสองมีทิศตรงข้ามกัน
3. ผลบวกของ 3 เวกเตอร์ ได้เวกเตอร์ลัพธ์เป็นศูนย์เมื่อผลบวกของสองเวกเตอร์แรกมีขนาดเท่ากับ
เวกเตอร์ที่สาม แต่มีทิศตรงข้าม

A B

B
A

B
A

แสดงการบวกเวกเตอร์ 2 เวกเตอร์เมื่อทามุมต่าง ๆ กัน


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 51

 
Ex6 A มีขนาดเท่ากับ 8 หน่วย, B มีขนาดเท่ากับ 6 หน่วย อยากทราบว่าเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ทั้ง
สองมีขนาดมากที่สุดและน้อยที่สุดเท่าใด

Ex7 เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ที่มากที่สุด และน้อยที่สดุ เท่ากับ 35 และ 5 หน่วย จงหา


ขนาดของเวกเตอร์ทั้งสอง

Ex8 แรง 60 นิวตัน สามารถแยกเป็นองค์ประกอบ 2 แรงได้หลายรูปแบบ ยกเว้นข้อใด


1. 20, 50
2. 35, 45
3. 30, 80
4. 20, 35

Ex9 แรงชุดใดต่อไปนี้ ที่ไม่สามารถให้ผลบวกของเวกเตอร์เท่ากับศูนย์


1. 10, 10, 10
2. 10, 10, 20
3. 10, 20, 20
4. 10, 20, 40
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 52

การบ้าน 2 เวกเตอร์
1. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ มีขนาดเวกเตอร์ลัพธ์มากสุดเป็น 31 หน่วย มีขนาดเวกเตอร์ลัพธ์น้อยสุดเป็น 17
หน่วย จงหาขนาดของเวกเตอร์ทั้งสอง

2. เวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ทั้งสองในข้อที่ 1. เมื่อเวกเตอร์ตั้งฉากกัน

3. เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์มีขนาด 12 และ 15 หน่วย ขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ของ 2 เวกเตอร์นี้ ในข้อใดทีเ่ ป็นไป


ไม่ได้
ก. 0 หน่วย ข. 15 หน่วย ค. 22 หน่วย ง. 32 หน่วย

1. ก. 2. ง. 3. ข. และ ค. 4. ก. และ ง.

4. เวกเตอร์ชุดใดต่อไปนี้ ทีใ่ ห้ผลบวกของเวกเตอร์เท่ากับศูนย์ได้


1. 12, 13, 14
2. 10, 20, 40
3. 5, 15, 25
4. 3, 8, 12
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 53

   
5. A มีขนาด 5 หน่วย, B มีขนาด 4 หน่วย จงหาขนาดเวกเตอร์ลัพธ์ของ A และ B ที่เป็นไปไม่ได้
1. 0 หน่วย
2. 2 หน่วย
3. 5 หน่วย
4. 10 หน่วย

6. จงหาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ขนาด 10 หน่วยเท่ากัน 2 เวกเตอร์ ซึ่งทามุมกัน 1200


1. 5
2. 10
3. 15
4. 20

     
7. ตามรูปเวกเตอร์ A และ B มีขนาด 8 และ 6 หน่วยตามลาดับ ถ้า R  A  B ขนาดของเวกเตอร์ R
จะเป็นเท่าใด

B

30o

A
1. 9.54
2. 10.21
3. 12.83
4. 13.53
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 54

8. เครื่องบินบินจากเมือง A ไปเมือง B โดยทาการบิน 200 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันตก และบินไปอีก 300


กิโลเมตร โดยทามุม 37O กับแนวการบินเดิมก็ถึงเมือง B ระยะตามแนวตรงจากเมือง A ถึง เมือง B เป็นกี่
กิโลเมตร

9. แรง 7 N และ 2 N กระทาร่วมกันทีจ่ ุดจุดหนึ่ง มีขนาดของแรงลัพธ์ 6 N ถ้ากลับทิศทางของแรงที่กระทา


อันใดอันหนึ่งแล้ว จงหาแรงลัพธ์

10. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ของ 3 เวกเตอร์ต่อไปนี้

24 หน่วย

16 2 หน่วย

37O 45O
45O
16 หน่วย
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ (บทนา) 55
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 56
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ : www.physicskoake.com

ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1


บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ : www.physicskoake.com

สารบัญ บทที่ 2. การเคลื่อนที่แนวตรง

VDO ครั้งที่ เวลา (ชั่วโมง) เรื่องที่สอน หน้า


VDO ครั้งที่ 1 1:53 1. ปริมาณพืน้ ฐานของการเคลื่อนที่ 1–7
VDO ครั้งที่ 2 1:05 2. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา 12 – 16
VDO ครั้งที่ 3 2:13 3. กราฟของการเคลื่อนที่ 20 – 40
VDO ครั้งที่ 4 0:25 3. กราฟของการเคลื่อนที่ 41
VDO ครั้งที่ 5 2:09 4. สมการการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงที่ 42 – 45
VDO ครั้งที่ 6 1:13 4. สมการการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงที่ 46 – 47
ระยะทางในวินาทีที่ n 59
VDO ครั้งที่ 7 1:39 5. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง 50 – 55
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 1

บทที่ 2. การเคลื่อนที่แนวตรง

1. ปริมาณพื้นฐานของการเคลื่อนที่
1. ระยะทาง (distance, s)
คือ ความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด (m) (ปริมาณสเกลาร์)

2. การกระจัด (displacement, s , x )
คือ ตาแหน่งของวัตถุที่เปลี่ยนไป (m) (ปริมาณเวกเตอร์ ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง)

2.1 การกระจัดของการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ

C A B D
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
1. ระยะทางจาก A ไป D คือ..........................................

2. การกระจัดจาก A ไป D คือ..........................................

3. ระยะทางจาก A ไป B ไป C คือ..........................................

4. การกระจัดจาก A ไป B ไป C คือ..........................................

ตาแหน่งวัตถุ (m)

5
4 1. ระยะทางตามเส้นทาง A คือ.............................
3
2. การกระจัดตามเส้นทาง A คือ.............................
2
1 3. ระยะทางตามเส้นทาง B คือ.............................
0 เวลา (s)
-1
t1 t2 4. การกระจัดตามเส้นทาง B คือ.............................
-2
5. ระยะทางตามเส้นทาง C คือ.............................
-3
-4 6. การกระจัดตามเส้นทาง C คือ.............................
-5
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 2

2.2 การกระจัดของการเคลื่อนที่ใน 2 มิติ

ตาแหน่งวัตถุ แกน y (m)

5
4
3
2
1
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 ตาแหน่งวัตถุ แกน x (m)
-1
-2
-3
-4
-5

Ex1 คลองที่ตัดตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 65 กิโลเมตร ขณะที่ถนนจากเมือง A ไปเมือง B มีระยะทาง


79 กิโลเมตร ถ้าชายคนหนึ่งขนสินค้าจากเมือง A ไปเมือง B โดยทางรถยนต์ ถามว่าสินค้านั้นมีขนาดการกระจัดเท่าใด
1. 14 km
2. 65 km
3. 72 km
4. 79 km

Ex2 วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมที่มีรัศมี 14 เมตร ได้ครบหนึ่งรอบพอดี จงหาการกระจัดและระยะทางของวัตถุ


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 3

Ex3 กราฟแสดงตาแหน่งของนักเรียน 4 คน เป็นดังรูป ในช่วงเวลา 5 วินาที นักเรียนคนใดบ้างที่มีการกระจัดเท่ากัน


ตาแหน่งของนักเรียน, X (m)
4 คนที่ 1
3
2
1 คนที่ 2
คนที่ 4
0 เวลา, t (s)
1 2 3 4 5
-1
-2
-3 คนที่ 3

1. คนที่ 1 และ คนที่ 2 2. คนที่ 2 และ คนที่ 3


3. คนที่ 3 และ คนที่ 4 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก

Ex4 วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป B และไป C ดังรูป จงหาระยะทางและการกระจัดของวัตถุจาก A ไป C


C

8m

A 15 m B

Ex5 โกเอกเดินไปทางทิศเหนือ 100 เมตร แล้วเดินไปทางตะวันออก 80 เมตร แล้วเดินต่อไปทางทิศใต้อีก 40 เมตร


จงหาระยะทางที่โกเอกเคลื่อนที่และการกระจัดของโกเอก

Ex6 พิจารณาการเคลื่อนที่ใน 2 มิติ และตาแหน่งของวัตถุมีหน่วยเมตร ถ้าวัตถุเปลี่ยนตาแหน่งจากจุด (3, 5) ไปยังจุด


(8, 0) วัตถุมีขนาดของการกระจัดเท่าใด
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 4

3. อัตราเร็ว (speed, v) และ ความเร็ว (velocity, v )


3.1 อัตราเร็วเฉลี่ย (average speed, vav)
คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ทั้งหมดหารด้วยเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่นั้น (m/s) (ปริมาณสเกลาร์)

3.2 ความเร็วเฉลี่ย (average velocity, vav )


คือ การกระจัดของวัตถุ ( x ) หารด้วยเวลาที่เกิดการกระจัดนั้น (m/s) (ปริมาณเวกเตอร์)
ความเร็วเฉลี่ยมีทิศเดียวกับการกระจัด

4. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous velocity, vt )


คือ ความเร็วของวัตถุที่เวลาใดเวลาหนึ่งของการเคลื่อนที่ เมื่อพิจาณาเวลาที่เคลื่อนที่น้อย ๆ (หรือพิจารณาที่จุดใด
จุดหนึ่งของการเคลื่อนที่) (m/s)

อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous speed, v t ) คือ ขนาดของความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (m/s)

Ex1 ขนาดของความเร็วขณะใดขณะหนึ่งมากกว่าหรือน้อยกว่าขนาดของความเร็วเฉลี่ยได้หรือไม่

Ex2 ถ้าความเร็วเฉลี่ยของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่งเป็น 0 การกระจัดของวัตถุในช่วงเวลานั้นเป็นอย่างไร

Ex3 ความเร็วเฉลี่ยและความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง เท่ากันได้หรือไม่ (จงยกตัวอย่าง)


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 5

Ex4 วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป D ตามเส้นทาง ABCD ดังรูป ใช้เวลา 20 วินาที (ไม่คิดส่วนโค้ง) จงหา


1. ระยะทาง A B
…………………………………………………….. C D
2. การกระจัด
5m 10m 3m
…………………………………………………….
3. อัตราเร็วเฉลี่ย
…………………………………………………….
4. ความเร็วเฉลี่ย
.........................................................................

Ex5 โกเอกเดินทางจาก A ไป B เป็นเส้นโค้งครึ่งวงกลมดังรูป ใช้เวลาทั้งหมด 11 วินาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยและ


ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่จาก A ไป B

14m

A B 7m

Ex6 เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศเหนือได้ระยะทาง 300 เมตร จากนั้นเดินไปทางทิศตะวันออกได้ระยะทาง 400 เมตร ใช้


เวลาเดินทางทั้งหมด 500 วินาที เด็กคนนี้เดินด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตร/วินาที (Onet50)
1. 0.2 m/s
2. 1.0 m/s
3. 1.4 m/s
4. 2.0 m/s
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 6

Ex7 นาย ก. เดินจาก A ไป B ใช้เวลา 18 วินาที จากนั้นเดินต่อไปยัง C ดังรูป ใช้เวลา 12 วินาที จงหาขนาดของ
ความเร็วเฉลี่ยของนาย ก. ตลอดการเดินนี้ (Ent41)
20 m
A B

10 m

1. 0.67 m/s 2. 0.75 m/s 3. 0.97 m/s 4. 1.0 m/s

Ex8 มาตรวัดความเร็วบนหน้าปัดรถยนต์ชี้เลข 60 km/hr หมายความว่าอย่างไร (PAT2 ก.ค.52)


1. ขณะนั้นรถยนต์มีความเร็วเฉลี่ยเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
2. ขณะนั้นรถยนต์มีอัตราเร็วเฉลี่ยเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
3. ขณะนั้นรถยนต์มีความเร็วขณะใดขณะหนึ่งเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
4. ขณะนั้นรถยนต์มีอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

Ex9 รถยนต์แล่นได้ระยะทางทั้งหมด 60 km โดยในระยะทาง 20 km ช่วงแรกแล่นด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 30 km/hr และ


ในระยะทาง 40 km ต่อมา แล่นด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 20 km/hr จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ของรถยนต์
(km/hr)

Ex10 โกเอกเดินทางจากบ้านไปโลตัสใช้เวลาทั้งสิ้น 30 นาที โดยใน 10 นาทีแรก เดินด้วยอัตราเร็วคงที่ 4 km/hr แล้ว


หยุดพัก 10 นาที แล้วจึงเดินต่อไปด้วยอัตราเร็วคงที่ 2 km/hr อีก 10 นาที จนถึงโลตัส จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการ
เคลื่อนที่
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 7

5. ความเร่ง (acceleration, a ) เป็นปริมาณเวกเตอร์


คือ ความเร็วของวัตถุที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา (m/s2)
5.1 ความเร่งเฉลี่ย (average acceleration, aav )
คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปหารด้วยช่วงเวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนความเร็วนั้น (พิจารณาเวลาตลอดการเคลื่อนที่ หรือ
ตลอกช่วงเวลาที่กาหนด) (m/s2)

5.2 ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous acceleration, at )


คือ ความเร็วของวัตถุที่เปลี่ยนไปในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ

ความเร่งทิศเดียวกับความเร็วขณะนั้น จะทาให้ความเร็วเพิ่มขึ้น เรียกว่า “ความเร่ง”


ความเร่งทิศตรงข้ามกับความเร็วขณะนั้น จะทาให้ความเร็วลดลง เรียกว่า “ความหน่วง”

Ex1 ญาญ่าขับรถด้วยความเร็ว 18 กิโลเมตร/ชั่วโมง และเร่งจนมีความเร็ว 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในเวลา 20 วินาที จง


หาความเร่งเฉลี่ยของรถของญาญ่า

Ex2 โกเอกขับรถด้วยความเร็ว 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง พอดีมีสุนัขวิ่งตัดหน้าจึงเหยียบเบรค ให้รถลดความเร็วเหลือ


18 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในเวลา 4 วินาที จงหาความเร่งเฉลี่ยของรถช่วงที่เบรค

Ex3 รถยนต์เคลื่อนด้วยอัตราเร็วคงตัวในแนวเส้นตรง มีความเร่งอย่างไร


1. ความเร่งคงที่ 2. ความเร่งเป็นศูนย์ 3. ความเร่งเพิ่มขึ้น 4. ความเร่งลดลง
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 8

การบ้าน 1 ปริมาณพื้นฐานของการเคลื่อนที่
1. จากรูปด้านล่างจงตอบคาถามต่อไปนี้
B A O C D
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
1.1 จงบอกตาแหน่งของจุด A เทียบกับจุด B
1. 4 หน่วย ทางขวา 2. 3 หน่วย ทางซ้าย 3. 4 หน่วย ทางซ้าย 4. 3 หน่วย ทางขวา

1.2 วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป D มีการกระจัดเท่าใด


1. 0 หน่วย 2. 7 หน่วย ทางซ้าย 3. 7 หน่วย ทางขวา 4. 5 หน่วย ทางซ้าย

1.3 วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป B ไป C แล้วกลับมาที่ O วัตถุเคลื่อนได้ระยะทางเท่าใด


1. 8 หน่วย 2. 10 หน่วย 3. 12 หน่วย 4. 14 หน่วย

1.4 วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป B ไป C แล้วกลับมาที่ O วัตถุมีการกระจัดเท่าใด


1. 2 หน่วย ทางขวา 2. 2 หน่วย ทางซ้าย 3. 4 หน่วย ทางขวา 4. 4 หน่วย ทางซ้าย

2. พิจารณาการเคลื่อนที่ใน 2 มิติ ถ้าวัตถุเปลี่ยนตาแหน่งจากจุด A (-2, -2) ไปยังจุด B (-2, 7) และไปยังจุด C (10, 7)


วัตถุนี้มีระยะทางและขนาดของการกระจัดเท่าใด

3. วัตถุเคลื่อนที่จาก A ไป D ตามเส้นทาง ABCD ดังรูป ใช้เวลา 20 วินาที จงหา


3.1 ระยะทาง C
B 50m
.........................................................................
3.2 การกระจัด 40m 30m
…………………………………………………….
3.3 อัตราเร็วเฉลี่ย 100m
D
A
.........................................................................
3.4 ความเร็วเฉลี่ย
.........................................................................
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 9

4. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรต่อวินาที นานเท่าใดจึงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 200 เมตร (Onet49)


1. 10 s
2. 15 s
3. 20 s
4. 25 s

5. A กับ B วิ่งออกกาลังกายจากจุด ๆ หนึ่งด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ 4 เมตรต่อวินาที และ 6 เมตรต่อวินาทีตามลาดับ


เมื่อเวลาผ่านไป 60 วินาที A กับ B จะอยู่ห่างกันกี่เมตร (Onet49)

6. ชายคนหนึ่งเดินทางไปทางทิศเหนือ 100 เมตร ใช้เวลา 60 วินาที แล้วเดินต่อไปทางตะวันออกอีก 100 เมตร ใช้


เวลา 40 วินาที เขาเดินทางด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยเท่าใด (Onet51)
1. 1.0 m/s
2. 1.4 m/s
3. 2.0 m/s
4. 2.8 m/s

7. โกเอกเดินไปทางตะวันออก เป็นเวลา 20 นาที หลังจากนั้นเดินไปทางทิศใต้เป็นเวลา 10 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย


และความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ในหน่วยกิโลเมตรต่อชั่วโมง
จุดเริ่ม 12km

5km

จุดหมาย

8. นาย ก ขับรถด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นาย ข ขับรถด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 18 เมตรต่อวินาที ถ้านาย


ก และ นาย ข เริ่มเคลื่อนที่จากจุดเดียวกัน ใครขับรถได้เร็วกว่ ากัน และในเวลา 1 ชั่วโมงได้ระยะทางต่างกันเท่าใด
1. นาย ก ขับรถเร็วกว่า และได้ระยะทางมากกว่า 14.4 กิโลเมตร
2. นาย ข ขับรถเร็วกว่า และได้ระยะทางมากกว่า 7.2 กิโลเมตร
3. นาย ก ขับรถเร็วกว่า และได้ระยะทางมากกว่า 7.2 กิโลเมตร
4. นาย ข ขับรถเร็วกว่า และได้ระยะทางมากกว่า 14.4 กิโลเมตร
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 10

9. ชายคนหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว 6 เมตร/วินาที ได้ระยะทาง 120 เมตร แล้วจึงเดินต่อด้วยอัตราเร็วคงตัว 3


เมตร/วินาที อีก 60 เมตร ถ้าก่อนออกเดินในช่วงหลัง เขาหยุดพัก 10 วินาที อัตราเร็วเฉลี่ยจะเป็นกี่เมตร/วินาที
1. 2.4
2. 3.6
3. 40
4. 120

10. นักกรีฑาวิ่งรอบสนาม 1 รอบ ได้ระยะทาง 400 เมตร ใช้เวลา 80 วินาที จะได้ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย


ของนักกรีฑาเป็นเท่าใด ในหน่วยเมตร/วินาที ตามลาดับ
1. 0 และ 0
2. 0 และ 5
3. 5 และ 0
4. 5 และ 5

11. โกเอกวิ่งเป็นเส้นตรงด้วยความเร็ว 5 m/s ได้ระยะทาง 200 m แล้วจึงเดินต่อด้วยความเร็ว 2 m/s เป็นเวลา 1


นาที จงหาความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ของโกเอก

12. เด็กคนหนึ่งออกกาลังกายด้วยการวิ่งด้วยอัตราเร็ว 6 เมตรต่อวินาที เป็นเวลา 1 นาที วิ่งด้วยอัตราเร็ว 5 เมตรต่อ


วินาทีอีก 1 นาที แล้วเดินด้วยอัตราเร็ว 1 เมตรต่อวินาทีอีก 1 นาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 3 นาทีนี้
(Onet49)
1. 3.0 m/s
2. 3.5 m/s
3. 4.0 m/s
4. 4.5 m/s

13. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นทางตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตร/วินาที ถ้า


อัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งเท่าใด (Onet50)
1. 2 m/s2
2. 4 m/s2
3. 12 m/s2
4. 14 m/s2
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 11

14. รถยนต์ A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง โดยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น 2 เมตรต่อวินาที ทุก 1 วินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 5 รถจะมี


อัตราเร็วเท่าใด (Onet51)
1. 5 m/s
2. 10 m/s
3. 15 m/s
4. 20 m/s

15. วัตถุที่มีความเร็วไม่เป็นศูนย์ ถ้าความเร่งเป็นศูนย์ ความเร็วของวัตถุจะเป็นอย่างไร


1. เพิ่มขึ้นในอัตราคงที่
2. ลดลงในอัตราคงที่
3. เพิ่มขึ้นในอัตราไม่คงที่
4. คงที่

16. วัตถุที่มีความเร็วเป็นศูนย์ ถ้าความเร่งคงที่และไม่เป็นศูนย์ ความเร็วของวัตถุจะเป็นอย่างไร


1. เพิ่มขึ้นในอัตราคงที่
2. ลดลงในอัตราคงที่
3. เพิ่มขึ้นในอัตราไม่คงที่
4. คงที่

17. สาหรับการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ ข้อความใดต่อไปนี้เมื่อนามาเติมในประโยคแล้วให้ใจความที่ถูกต้อง


“สาหรับความเร่งที่ทิศเดียวกับความเร็ว ถ้าอัตราเร็วของวัตถุกาลังเพิ่มขึ้นแล้วขนาดของความเร่งจะ ..........
................................................” (PAT2 มี.ค.54)
1. เพิ่มขึ้นเท่านั้น
2. คงที่เท่านั้น
3. เพิ่มขึ้นหรือคงที่เท่านั้น
4. เพิ่มขึ้น คงที่ หรือลดลงก็ได้
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 12

2. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
1. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
คือ เครื่องมือที่ใช้หาปริมาณพื้นฐานของการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยเครื่องจะเคาะด้วยความถี่ 50 ครั้ง/วินาที ทาให้
เกิดจุดบนแถบกระดาษที่นาไปติดกับวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่

2. สิ่งที่รู้จากแถบกระดาษ
1. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ วัดโดย ไม้บรรทัด, ไม้เมตร
S1-2, S2 –3 บอกระยะของแต่ละช่วงจุด, Xt = ตาแหน่งของวัตถุที่เวลา t

S1-2 S2-3 S3-4 S4-5 S5-6 S6-7


บอกระยะแต่ละช่วง
บอกตาแหน่ง 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 cm

จุดที่ 1 2 3 4 5 6 7
0 1 2 3 4 5 6
เวลาของจุด
50 50 50 50 50 50 50

2. เวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่ วัดโดย การนับช่วงจุด (โดยที่ 1 ช่วงจุด คิดเป็นระยะเวลา 1/50 วินาที)

3. การคานวณ
1. ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่

2. ความเร็วที่จุดใดจุดหนึ่ง (เวลาใดเวลาหนึ่ง)

3. ความเร่งที่จุดใดจุดหนึ่ง (เวลาใดเวลาหนึ่ง)
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 13

Ex1 แถบกระดาษแสดงตาแหน่งของจุดที่ได้จากเคลื่องเคาะสัญญาณเวลาดังรูป จงหา


เซนติเมตร 0 2 6 12 20 30 42

จุดที่ 1 2 3 4 5 6 7
1. ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ ……………………………………..

2. ความเร็วที่จุด 4 และความเร็วที่จุด 6 …………………………………….

3. ความเร่งที่จุด 3 ………………………………………

4. ความเร่งเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ ……………………………………….

Ex2 แถบกระดาษที่ดึงผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะด้วยความถี่ 50 ครั้ง/วินาที เป็นดังรูป จงหา


A C D B

2 4 6 8 10 12 cm

1. ความเร่งเฉลี่ยจาก A ถึง B ……………………………………….

2. ความเร่งที่จุด C …………………………………………..
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 14

Ex3 เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ถ้านับจุดบนกระดาษได้ 11 จุด และระยะทางจากจุดแรกถึงจุดสุดท้ายเป็น 15 ซม.


จงหาอัตราเร็วเฉลี่ย

Ex4 วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่โดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์


เกิดจุดบนแถบกระดาษดังรูป
จุดที่ 0 2 4 6 8
ดึง

0 5 9 12 14 cm
1. อัตราเร็วเฉลี่ยระหว่างจุดที่ 4 – 6 มีค่ากี่เมตรต่อวินาที …..……………………….

2. ความเร็วที่จุดที่ 2 มีค่ากี่เมตรต่อวินาที ……………………………

3. ความเร็วเฉลี่ยระหว่างจุดที่ 0 – 8 มีค่ากี่เมตรต่อวินาที ……………………………

4. ความเร่งที่จุดที่ 4 มีค่ากี่เมตรต่อวินาที2 ……………………………

5. ความเร่งเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ ……………………………
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 15

Ex5 ตารางแสดงระยะทางระหว่างจุดแต่ละจุดที่ได้จากเคลื่องเคาะสัญญาณเวลา จากแถบกระดาษที่มี 10 จุด จงหา

จุดที่ ระยะระหว่างจุด (cm) 1. อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ ................................


1–2 2
2–3 3
3–4 4
4–5 5
5–6 6
6–7 7
7–8 8
8–9 9
9 – 10 10

2. อัตราเร็วที่จุดที่ 5 ………………………………………..

3. ความเร่งที่จุดที่ 4 ………………………………………..

Ex6 จากการวัดระยะทางใน 2 ช่วงจุด ณ เวลาตรงกึ่งกลางแต่ละช่วงบนแถบกระดาษที่ถูกดึงผ่านเครื่องเคาะ


สัญญาณเวลาได้ค่าดังตาราง จะใช้ค่าที่ได้หาค่าความเร่งเฉลี่ย ณ เวลา 4/50 วินาที ได้เท่าไหร่ (Ent37)

เวลาตรงกึ่งกลางแต่ละช่วง (s) ระยะทาง 2 ช่วงจุด (cm)


1/50 2.9
3/50 4.4
5/50 6.0
….. …..

1. 8.0 m/s2
2. 9.4 m/s2
3. 9.7 m/s2
4. 10.0 m/s2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 16

Ex7 จากแถบกระดาษที่กาหนดให้ ตรงกับเงื่อนไขการเคลื่อนที่ใด

ดึง รูป A

ดึง รูป B

ดึง
รูป C

1. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ ..............................

2. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น (มีความเร่ง) …………………….

3. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วลดลง (มีความหน่วง) .........................…..

4. วัตถุตกลงมาภายใต้แรงโน้มถ่วงโลก …………………..
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 17

การบ้าน 2 เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
1. ดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับความถี่ 50 Hz ปรากฏจุดบนแถบ
กระดาษ 21 จุด วัดระยะห่างจากจุดแรกถึงจุดสุดท้ายได้ 12 cm จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
1. 0.3 m/s
2. 0.4 m/s
3. 0.5 m/s
4. 0.6 m/s

2. แถบกระดาษที่ดึงผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะด้วยความถี่ 50 ครั้ง/วินาที เป็นดังรูป จงหาความเร่งที่เวลา


3 3
วินาที (เวลา วินาที คือ จุดที่ 4)
50 50
จุดที่ 1 2 3 4 5 6 7

3 cm 6 cm 9 cm

3. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่โดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์
เกิดจุดบนแถบกระดาษดังรูป
0 1.5 3.2 5.0 7.2 11.4 16.2 cm

1. อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่มีค่ากี่เมตรต่อวินาที …………………………………….

2. ความเร่งของวัตถุที่ 0.16 วินาที มีค่ากี่เมตรต่อวินาที2 ………………………………………


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 18

1
4. ในการทดลองปล่อยถุงทรายให้ตกแบบเสรีโดยลากแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่เคาะจุดทุก ๆ
50
วินาที จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถ้าระยะระหว่างจุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได้ 3.80 เซนติเมตร และระยะระหว่าง
จุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได้ 4.20 เซนติเมตร ความเร็วเฉลี่ยที่จุดที่ 10 จะเป็นกี่เมตรต่อวินาที (Onet49)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

5. จากรูปแสดงจุดห่างสม่าเสมอกันบนแถบกระดาษที่ผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้ง/วินาที ข้อความใดถูกต้อง


สาหรับการเคลื่อนที่นี้ (Onet51)

1. ความเร็วเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ 2. ความเร่งเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ
3. ความเร่งคงตัวและไม่เป็นศูนย์ 4. ระยะทางเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ

6. จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรงโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ได้จุดบนแถบกระดาษดังรูป โดยที่


ระยะห่างระหว่างจุดจะมีช่วงเวลาเท่ากัน

กราฟรูปใดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับเวลา (ตุลา 43)


a a
1. 2.

0 t 0 t

a a
3. 4.

0 t 0 t
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 19

7. เมื่อดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาชนิดเคาะ 50 ครั้ง/วินาที ได้จุดบนแถบกระดาษดังรูป จงหา


A B C D E F

0 0.8 2.2 4.8 8.2 12.4 cm

1. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง BD ……………………………………………

2. ความเร็วเฉลี่ยในช่วง DF ……………………………………………

3. ความเร็วที่จุด C และจุด E ……………………………………………

4. ความเร่งที่จุด D ……………………………………………
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 20

3. กราฟของการเคลื่อนที่
1. กราฟการกระจัดของวัตถุกับเวลา ( s  t ) (กราฟตาแหน่งของวัตถุกับเวลา (x – t))
1.1 วัตถุหยุดนิ่ง
x (m)

t (s)

1.2 วัตถุเคลื่อนที่ไปหน้า / ถอยหลัง


x (m) x (m)

t (s) t (s)

1.3 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเพิ่มขึ้น / ความเร็วลดลง


x (m) x (m)

t (s) t (s)
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 21

Ex1 กราฟตาแหน่งของวัตถุกับเวลาเป็นดังรูป จงหา


ตาแหน่งของวัตถุ (m)

10

0 เวลา (s)
2 4 6 8 10 12

-10

1. ระยะทางทั้งหมดของวัตถุ ………………………………………………

2. การกระจัดจากวินาทีที่ 2 ถึงวินาทีที่ 8 ………………………………………………

3. การกระจัดทั้งหมดของวัตถุ ………………………………………………

4. อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ ………………………………………………

5. ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ ………………………………………………

6. ความเร็วเฉลี่ยจากวินาทีที่ 2 ถึงวินาทีที่ 8 ………………………………………………

7. ความเร็วที่เวลา 1 วินาที, 5 วินาที ………………………………………………


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 22

Ex2 กราฟการกระจัดกับเวลารูปใดแสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
การกระจัด การกระจัด การกระจัด การกระจัด

เวลา เวลา เวลา เวลา


1. 2. 3. 4.

Ex3 จากกราฟการกระจัดกับเวลาดังรูป จงตอบคาถามต่อไปนี้


การกระจัด การกระจัด การกระจัด การกระจัด

เวลา เวลา เวลา เวลา


รูป ก รูป ข รูป ค รูป ง

1. กราฟรูปใดแสดงว่าวัตถุไม่เคลื่อนที่ …………………

2. กราฟรูปใดแสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ …………………

3. กราฟรูปใดแสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเพิ่มขึ้น …………………

4. กราฟรูปใดแสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วลดลง …………………

Ex4 กราฟรูปใด แสดงว่าวัตถุมีความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอ


การกระจัด การกระจัด การกระจัด การกระจัด

เวลา เวลา เวลา เวลา


1. 2. 3. 4.
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 23

Ex5 จากกราฟระหว่างระยะทางของการกระจัดในแนวเส้นตรงกับเวลาดังรูป จงหาความเร็วเฉลี่ยระหว่างเวลา 0 วินาที


ถึง 25 วินาที (มีนา 43)
ระยะทาง (เมตร)

100

0
วินาที

-100
10 20 30

1. 16 m/s 2. 5 m/s 3. –5 m/s 4. 0 m/s

Ex6 ถ้ากราฟการกระจัด x กับเวลา t ของรถยนต์ ก และ ข มีลักษณะดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ถูก (มีนา 43)


X
รถยนต์ ก 1. รถยนต์ ก และ ข จะมีความเร็วเท่ากันเมื่อเวลาผ่านไป 2 นาที
2. รถยนต์ ก มีความเร็วไม่คงที่ ส่วนรถยนต์ ข มีความเร็วคงที่
รถยนต์ ข 3. รถยนต์ ก มีความเร่งมากกว่าศูนย์ ส่วนรถยนต์ ข มีความเร็ว
เท่ากับศูนย์
4. ทั้งรถยนต์ ก และ ข ต่างมีความเร่งเป็นศูนย์
t (นาที)
0 1 2 3 4
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 24

2. กราฟความเร็วของวัตถุกับเวลา ( v  t )
2.1 วัตถุหยุดนิ่ง
v (m/s)

t (s)

2.2 วัตถุเคลื่อนที่ไปหน้าด้วยความเร็วคงที่ / ถอยหลังด้วยความเร็วคงที่


v (m/s) v (m/s)

t (s) t (s)

2.3 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเพิ่มขึ้น / ความเร็วลดลง (สม่าเสมอ)


v (m/s) v (m/s)

t (s) t (s)
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 25

Ex1 กราฟความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นดังรูป จงหา


ความเร็ว (เมตร/วินาที)
4

0 เวลา (วินาที)
2 4 6 8 10

-4

1. ระยะทางทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ …………………………………………….

2. การกระจัดของวัตถุตลอดการเคลื่อนที่ …………………………………………….

3. อัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ …………………………………………….

4. ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ …………………………………………….

5. ความเร่งที่เวลา 1 วินาที, 5 วินาที …………………………………………….

6. ความเร่งเฉลี่ยจาก 0 ถึง 4 วินาที …………………………………………….


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 26

Ex2 วัตถุเคลื่อนที่ใน 1 มิติ โดยมีความเร็วที่เวลาต่าง ๆ เป็นดังกราฟ ถามว่าเมื่อเวลา t = 6 วินาที วัตถุนี้อยู่ห่างจาก


ตาแหน่งเริ่มต้น (เมื่อเวลา t = 0) กี่เมตร (มีนา 47)
v (m/s)
3
2
1
0 t(s)
2 4 6
-1
-2

Ex3 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นเส้นตรง คากล่าวข้อใดถูกต้อง


ความเร็ว (เมตร/วินาที)
4

0 เวลา (วินาที)
2 4 6 8 10 12

-4

ก. เมื่อเวลาผ่านไป 8 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 16 เมตร


ข. จากวินาทีที่ 8 ถึงวินาทีที่ 12 วัตถุมีความเร่ง 1 เมตร/วินาที 2
ค. วัตถุจะเคลื่อนที่กลับทิศในวินาทีที่ 5

คาตอบที่ถูกต้อง คือ
1. ข้อ ก. และ ข. 2. ข้อ ข. และ ค.
3. ข้อ ก. และ ค. 4. ข้อ ก., ข. และ ค.
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 27

Ex4 จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่เป็นดังรูป พบว่าภายหลังการเดินทางไปได้


4 วินาที ระยะทางการเคลื่อนที่มีค่า 16 เมตร จงหาความเร่งที่เวลา 3 วินาที (ตุลา 41)

v(m / s )

t (s )
0 2 4 6

1. +2 m/s2 2. -2 m/s2 3. +3 m/s2 4. -4 m/s2

Ex5 รถยนต์ A แล่นด้วยความเร็วคงที่ 40 km/hr ผ่านรถยนต์ B ซึ่งกาลังออกแล่นด้วยความเร่ง จนมีความเร็วคงที่


60 km/hr ดังกราฟ ถ้าจะให้รถยนต์ B แล่นทันรถยนต์ A รถยนต์ B จะต้องแล่นได้ระยะทางเท่าใด
v(km / hr )
B
60

40 A

t(hr )
5

Ex6 ในการแข่งขันรถคันหนึ่ง ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาของรถ A และ B เขียนกราฟได้ดังรูป พิจารณา


ข้อความต่อไปนี้ (Ent39)
v(m / s)
40 A

30 B

20

10

t (s)
10 20
ก. ที่เวลา t = 20 รถ A วิ่งได้ระยะทางมากกว่ารถ B
ข. ที่เวลา t = 12 รถ A มีความเร่งมากกว่ารถ B
ค. ที่เวลา t = 0 ถึง t = 20 รถ A มีความเร่งเฉลี่ยมากกว่ารถ B
ข้อที่ถูกคือ
1. ก, ข และ ค 2. ข และ ค 3. ข เท่านั้น 4. คาตอบเป็นอย่างอื่น
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 28

3. กราฟความเร่งของวัตถุกับเวลา (a - t)
3.1 วัตถุหยุดนิ่ง
3.2 เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่

a (m/s2)

t (s)

3.3 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเพิ่มขึ้น / ความเร็วลดลง (สม่าเสมอ)


a (m/s2)

t (s)

v (m/s)

t (s)
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 29

Ex1 กราฟความเร่ง – เวลา ของวัตถุที่เคลื่อนที่แนวตรง เป็นดังรูป จงหา


ความเร่ง (เมตร/วินาที2)

0 เวลา (วินาที)
2 4 6 8 10

-4

1. ถ้าความเร็วต้นของวัตถุเป็น 3 เมตร/วินาที จงหาความเร็วของวัตถุที่ 6 วินาที และ 10 วินาที

2. ถ้าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง จงหาความเร็วของวัตถุที่ 6 วินาที และ 10 วินาที

3. ถ้าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง จงหาการกระจัดทั้ งหมดของวัตถุ

ความเร็ว (เมตร/วินาที)

เวลา (วินาที)
0 2 4 6 8 10

4. ความเร็วเฉลี่ยของวัตถุ
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 30

Ex2 วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งกับเวลาดังรูป จงหา



a (t )

4 7 12 t (s)
2

1. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง จงหาความเร็วที่เวลา 12 วินาที ..........................................................

2. ถ้าวัตถุมีความเร็วต้น 5 m/s จงหาความเร็วที่ 12 วินาที ..........................................................

Ex3 รถเริ่มแล่นจากจุดหยุดนิ่ง โดยมีความเร่งตามที่แสดงในกราฟ จงหาความเร็วของรถที่เวลา 30 วินาทีจากจุดเริ่มต้น


a (m / s 2 )

0 t (s )
10 20 30
2

1. 40 m/s 2. 20 m/s 3. 10 m/s 4. 0 m/s


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 31

การบ้าน 3 กราฟของการเคลื่อนที่
1. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง มีกราฟของการกระจัดกับเวลาดังรูป จงหา

S (m )
90
60
30
0 20 40 60 80 100 t ( s)
30
60

1. การกระจัดของวัตถุตลอดการเคลื่อนที่ ………………………………………………

2. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 100 วินาที ………………………………………………

3. ความเร็วเฉลี่ยของวัตถุตลอดการเคลื่อนที่ ………………………………………………

4. อัตราเร็วเฉลี่ยของวัตถุตลอดการเคลื่อนที่ ………………………………………………

5. ความเร็วที่เวลา 15, 30, 50, 70 วินาที ………………………………………………


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 32

2. ถ้าวัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาดังรูป จงหา



v (t )
40

2 8 10 13 14 t (s)

30

1. ระยะทางทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ …………………………………………….

2. การกระจัดทั้งหมดของวัตถุ …………………………………………….

3. อัตราเร็วเฉลี่ย, ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ของวัตถุ …………………………………………….

4. ความเร่งของวัตถุที่เวลา 1, 5, 7 และ 12 วินาที …………………………………………….

5. ความเร่งเฉลี่ยของวัตถุจาก 0 ถึง 8 วินาที …………………………………………….


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 33

3. ถ้ากราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุบนถนนตรงเป็นดังรูป ข้อสรุปต่อไปนี้ข้อใด
ถูกต้อง
ความเร็ว (เมตร/วินาที)
4

0 เวลา (วินาที)
2 4 6 8 10 12

-4

ก. วัตถุกลับทิศเมื่อวินาทีที่ 6
ข. การกระจัดทั้งหมดของการเคลื่อนที่เท่ากับศูนย์
ค. ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้เท่ากับ 16 เมตร

1. ก. 2. ข. 3. ก. และ ข. 4. ข. และ ค.

4. ให้กราฟระหว่างความเร็ว v และเวลา t ของการเคลื่อนที่เชิงเส้นของวัตถุเป็นดังรูป จงหาเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ 4.5


เมตร (Ent48)
v (m/s)
4
3
2
1

0 t(s)
1 2 3 4
1. 1.0 s 2. 2.0 s 3. 3.0 s 4. 4.0 s
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 34

5. วัตถุเคลื่อนที่แนวตรงโดยมีความเร็วแปรผันกับเวลาดังกราฟ ความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในช่วงเวลา 4 ถึง 9


วินาที มีค่าเท่ากับเท่าใด
ความเร็ว (เมตร/วินาที)
10

0 9 เวลา (วินาที)
2 4 6
-5

1. 4.75 เมตร/วินาที 2. 5.5 เมตร/วินาที 3. 6.25 เมตร/วินาที 4. 6.5 เมตร/วินาที

6. กราฟระหว่างความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวแกน x เป็นดังรูป จากกราฟจงหาค่าความเร่งที่เวลา t = 4 วินาที


(ตุลา 45)
v (m/s)
3

t (s)
2 4 6 8

-3

1. 1.0 m/s2 2. -1.0 m/s2 3. 1.5 m/s2 4. -1.5 m/s2

7. เมือ่ เขียนกราฟความสัมพันธ์ของความเร็วกับเวลาในการเคลื่อนที่ของรถยนต์ A และ B ปรากฎดังรูป จงหาว่าเมื่อ


เวลาผ่านไปกี่วินาที รถยนต์ A จึงแล่นทันรถยนต์ B (PSU 49)
50
ความเร็ว (km/hr)

40 รถยนต์ A
30 รถยนต์ B
20
10
เวลา (s)
0 10 20 30 40 50

1. 20 2. 30 3. 40 4. 50
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 35

8. วัตถุอันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง a ที่เวลา t ดังแสดงในรูป จงหาความเร็วของวัตถุที่เวลา 5 วินาที


(Ent31)
a(m / s 2 )

t (s)
2 5
1

1. 2 m/s 2. 1 m/s 3. 0 m/s 4. -1 m/s

9. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่ง a ณ เวลา t ใด ๆ ดังรูป โดยความเร่งที่มีทิศทางขวามีเครื่องหมายบวก


ถ้าวัตถุมีความเร็วต้น 3.0 เมตร/วินาที วัตถุจะมีความเร็วเท่าใดที่วินาทีที่ 20 (Ent40)

a( m / s 2 )

5 10 15 20
t (s)
-2

1. -12 m/s 2. +12 m/s 3. -15 m/s 4. +15 m/s

10. จากกราฟ จงหาความเร็วเฉลี่ยของวัตถุใน 6 วินาที กาหนดให้วัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง


a (m/s2)

0 t (s)
2 4 6
-4

1. 1.1 m/s 2. 2.4 m/s 3. 4.7 m/s 4. 5.6 m/s


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 36

4. การแปลงกราฟ การกระจัด – เวลา, ความเร็ว – เวลา, ความเร่ง – เวลา

s s s

t t t

v v v

t t t

a a a

t t t

1. วัตถุอยู่นิ่ง 2. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ 3. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่


v = 0, a = 0 v = + คงที่, a = 0 v = – คงที,่ a = 0
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 37

s s

t t

v v

t t

a a

t t

4. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ 5. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความหน่วงคงที่
v = เพิ่มขึ้นสม่าเสมอ, a = + คงที่ v = ลดลงสม่าเสมอ, a = – คงที่
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 38

Ex1 จงแปลงกราฟต่อไปนี้

s s

t t

v v

t t

a a

t t
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 39

Ex2 ในการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง กราฟข้อใดแสดงว่าวัตถุกาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (Onet50)


ความเร่ง ความเร่ง
1. 2.

0 เวลา 0 เวลา
ความเร่ง ความเร่ง
3. 0 4.
เวลา

0 เวลา

Ex3 พิจารณากราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะที่เคลื่อนที่กับเวลา และกราฟระหว่างความเร่งกับเวลา


ระยะทาง ความเร่ง
1 A
2
B
3
4 C

เวลา (s) D เวลา (s)

คาตอบข้อใดที่แสดงความสอดคล้องที่ถูกต้องของการเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่ง (Ent32)
1. 1 และ C 2. 2 และ B 3. 3 และ A 4. 4 และ D

Ex4 กราฟของตาแหน่งวัตถุบนแนวแกน X กับเวลา t เป็นดังรูป ช่วงเวลาใดหรือที่ตาแหน่งใดที่วัตถุไม่มีความเร่ง

X
B
A

O C t

1. ช่วง OA 2. ช่วง BC 3. ที่จุด B 4. ที่จุด C


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 40

Ex5 ถ้ากราฟระหว่างความเร็วของวัตถุ v ที่เวลา t ต่าง ๆ เป็นดังรูป กราฟของความเร่ง a กับเวลา t ต่าง ๆ จะเป็น


ตามรูปใด (มีนา 45) v

a t1 t a
1. 2.

t1 t t1 t

a a
3. 4.

t1 t t1 t

Ex6 วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงมีความเร็ว ณ เวลา ต่าง ๆ กันดังรูป จงหาว่ากราฟของการกระจัดเวลาในข้อที่


สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุนี้ (Ent41)
v

t
x x
1. 2.

t t

x x
3. 4.

t t
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 41

Ex7 จากกราฟของ a  t ของวัตถุ ซึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง จงวาดกราฟ v  t



a( m / s 2 )

t (s)
10 20 30 40 50

1

Ex8 วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งกับเวลาดังรูป จงหาความเร็วเฉลี่ยของ


วัตถุ กาหนด วัตถุเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง

a (t )

4 7 12 t (s)
2

Ex9 วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร่งตามกราฟ โดยเริ่มต้นเคลื่อนที่จากความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที ระยะทางที่


เคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา 4 วินาที เป็นกี่เมตร (PAT2 มี.ค.53)
ความเร่ง (เมตร/วินาที2)

2
t (วิ นาที)
1 2 3 4
-2

1. 47 2. 69 3. 92 4. 94
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 42

4. สมการการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงที่
1. สมการการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงที่
พิจารณากราฟความเร็วกับเวลาของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
u v
เมื่อ u คือ ความเร็วต้นของวัตถุ
v คือ ความเร็วปลายของวัตถุ
S
s คือ การกระจัดของวัตถุ
v (m/s) a คือ ความเร่งของวัตถุ
v t คือ เวลาที่พิจารณา

u
t

สรุป 5 สมการ แสดงความสัมพันธ์ของ u , v , s , a และ t สาหรับความเร่งคงที่ค่าหนึ่ง

2. หลักการใช้สูตร และการกาหนดเครื่องหมาย
1. กาหนดทิศโดยใช้เครื่องหมาย +, – โดยให้ทิศของความเร็วต้น u เป็นบวก (+)
2. เวกเตอร์ s , v , a ที่มีทิศเดียวกับ u เป็นบวก (+), ทิศตรงข้ามกับ u เป็นลบ (–)
3. เลือกใช้สมการตามตัวแปรที่โจทย์กาหนด และที่โจทย์ถาม
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 43

3. ลักษณะโจทย์
1. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ค่าเดียว
u v

2. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 2 ค่า (2 ช่วง)

u1 v1 u2 v2

S1 S2

Ex1 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ 15 เมตรต่อวินาที เป็นเวลา 12 วินาที การกระจัดของวัตถุเป็นเท่าใด

Ex2 1. กาหนดให้ u = 0 m/s, a = 2 m/s2, t = 3 s จงหา v และ s

2. กาหนดให้ u = 10 m/s, a = -2 m/s2, v = 0 m/s จงหา s และ t

3. กาหนดให้ u = 25 m/s, v = 10 m/s, s = 52.5 m จงหา t และ a


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 44

Ex3 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง โดยมีความเร็วต้น 10 เมตร/วินาที และมีความเร่ง 2 เมตร/วินาที2 จงหา


1. ความเร็วของรถยนต์เมื่อเคลื่อนที่ได้ 10 วินาที ………………………..
2. การกระจัดของรถยนต์เมื่อเคลื่อนที่ได้ 10 วินาที ………………………

Ex4 รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตรต่อวินาที ขณะที่อยู่ห่างสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับ


ตัดสินใจห้ามล้อรถโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนที่ห้ามล้อเล่นจะทางาน เมื่อห้ามล้อทางานแล้ว รถจะต้องลดความเร็วใน
อัตราเท่าใด จึงจะทาให้รถหยุดพอดีเมื่อถึงสิ่งกีดขวางนั้น (Ent38)
1. 1.0 m/s2
2. 1.5 m/s2
3. 2.0 m/s2
4. 3.0 m/s2

Ex5 รถยนต์คันหนึ่งเมื่อเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v0 แล้วเบรกโดยมีระยะเบรกเท่ากับ x0 ถ้ารถคันนี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว


เป็น 2 เท่าของความเร็วเดิม จะมีระยะเบรกเป็นเท่าใด (กาหนดให้เหยียบเบรกด้วยแรงเท่ากันทั้งสองครั้ง)
(PAT2 มี.ค.52)
x
1. 0
4
x0
2.
2
3. 2x0
4. 4x0
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 45

Ex6 รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็วคงที่ 36 km/hr เป็นเวลา 1 นาที แล้วเครื่องยนต์จึงดับ ทาให้รถวิ่งต่อไปด้วย


ความหน่วงคงที่ โดยระยะทางที่ใช้จากขณะที่เครื่องยนต์ดับถึงเวลาที่รถหยุดนิ่งคือ 30 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดที่
รถยนต์วิ่งได้

Ex7 ในการวิ่งแข่งระยะทาง 200 เมตร มีนักกีฬาคนหนึ่งวิ่งด้วยความเร่งสม่าเสมอ นับตั้งแต่เริ่มออก เป็นเวลา 5 วินาที


ได้ระยะทาง 40 เมตร แล้ววิ่งด้วยอัตราเร็วคงที่จนเข้าเส้นชัย จงหาว่านักกีฬาคนนี้ใช้เวลาในการวิ่ง 200 เมตร นานกี่
วินาที

Ex8 รถไฟขบวนหนึ่ง เริ่มวิ่งด้วยความเร่ง 2 m/s2 เป็นเวลานาน 20 วินาที จากนั้นจึงวิ่งด้วยความเร็วคงที่ช่วงเวลาหนึ่ง


แล้วจึงลดความเร็วลงในอัตรา 4 m/s2 ถ้าระยะทางที่เคลื่อนที่ทั้งหมดเป็น 1800 เมตร จงหาช่วงเวลาที่รถวิ่งด้วย
ความเร็วคงที่
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 46

3. วัตถุ 2 ชิ้น ออกจากจุดเริ่มไปเจอกัน


A SA A

B B
SB

Ex1 รถ A และ รถ B เริ่มเคลื่อนที่จากจุดเดียวกัน โดยรถ A เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง และมีความเร่งคงที่ 3 m/s2


ขณะที่รถ B เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ 20 m/s จงหา
1.1 เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที รถทั้งสองห่างกันเท่าใด ..................................

1.2 รถทั้งสองจะเจอกันที่เวลากี่วินาที ....................................

Ex2 รถ A กับ รถ B ออกจากจุดเริ่มต้นพร้อมกัน แต่จุดเริ่มต้นของ A อยู่ข้างหลัง B 30 เมตร ถ้ารถทั้ง 2 คัน เริ่ม


เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง 6 m/s2 และ 4 m/s2 ตามลาดับ รถทั้งสองจะทันกันเมื่อเวลาผ่านไปกี่วินาที และทัน
กันที่ระยะห่างจากจุดเริ่มต้นของ A กี่เมตร
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 47

Ex3 รถยนต์คันหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว 50 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง ต่อมารถยนต์คันนี้วิ่งผ่านรถยนต์อีกคัน


หนึ่งซึ่งวิ่งไปในทางเดียวกันด้วยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีอัตราเร่งคงตัว 20 กิโลเมตรต่อ (ชั่วโมง)2 อีกนาน
เท่าใดรถยนต์ทั้งสองคันจะมาพบกันอีกครั้ง (ตุลา 44)
1. ไม่มีทางเจอกันอีก
2. 1 ชั่วโมง
3. 2 ชั่วโมง
4. 3 ชั่วโมง

Ex4 วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่จากจุด A ด้วยความเร็วคงที่ 4 m/s ต่อมาอีก 2 วินาที วัตถุอีกชิ้นหนึ่งก็เคลื่อนที่ออกจากจุด


A ในแนวเดียวกัน ด้วยความเร็วต้น 5 m/s และความเร่ง 3 m/s2 จงหาว่าวัตถุทั้งสองจะทันกันที่ไหน และเวลาเท่าใด

Ex5 ชายคนหนึ่งขับรถด้วยความเร็วคงที่ 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมื่อผ่านด่านตรวจไปได้ 10 วินาที ตารวจจึงออกรถไล่


กวดและทันรถของชายดังกล่าวในเวลา 2 นาที ตารวจต้องเร่งเครื่องยนต์ด้วยความเร่งคงที่เท่าไรในหน่วยเมตรต่อวินาที 2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 48

การบ้าน 4 สมการการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงที่
1. วัตถุมวล 2 ก.ก. เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงจากหยุดนิ่ง ด้วยความเร่งคงที่ 3 เมตร/วินาที2 เมื่อมีความเร็วเป็น
24 เมตร/วินาที วัตถุอยู่ห่างจุดเริ่มต้นเท่าใด

2. รถยนต์คันหนึ่งกาลังแล่นด้วยความเร็ว 72 km/hr คนขับรถเห็นสิ่งกีดขวางข้างหน้าจึงเบรค โดยใช้เวลาเบรค 4.5


วินาที ด้วยความหน่วงคงที่ ปรากฏว่าเหลือความเร็ว 18 km/hr จงหาระยะทางที่ใช้ในการเบรก

3. เครื่องบินลาหนึ่งเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ง a เพื่อทะยานขึ้นฟ้าด้วยอัตราเร็ว v ถ้าเครื่องบินลานี้ต้องการ


ทะยานขึ้นฟ้าด้วยอัตราเร็ว 2v โดยใช้ระยะทางวิ่งเท่าเดิม จะต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด (PAT2 ก.ค.52)
1. 2v
2. 4v2
3. 2a
4. 4a

4. รถไฟ 2 ขบวนวิ่งเข้าหากันในรางเดียวกัน รถขบวนที่ 1 วิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ส่วนรถขบวนที่ 2 วิ่งด้วย


ความเร็ว 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างกัน 325 เมตร รถไฟทั้ง 2 ขบวนต่างเบรกและหยุดได้พอดีพร้อมกัน โดยอยู่
ห่างกัน 25 เมตร เวลาที่รถทั้งสองใช้เป็นเท่าใด (Ent32)
1. 10 วินาที
2. 15 วินาที
3. 20 วินาที
4. 25 วินาที
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 49

5. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ ในเวลา 3 วินาที เคลื่อนทีได้ระยะทาง 81 เมตร ต่อไปเคลื่อนที่โดยไม่มี


ความเร่ง พบว่าใน 3 วินาทีต่อไป เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 72 เมตร จงหาความเร็วต้นและความเร่งของวัตถุ

6. วัตถุก้อนหนึ่ง เริ่มเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B ด้วยความเร็ว 15 m/s โดยมีความเร่ง 4 m/s2 ในขณะเดียวกัน


กับที่วัตถุอีกก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่จากจุด B มาจุด A ด้วยความเร็วคงที่ 30 m/s ปรากฏว่าเมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที
วัตถุทั้ง 2 ก้อนยังอยู่ห่างกันอีก 52 เมตร จงคานวณหาระยะห่างระหว่างจุด A และจุด B

7. รถบัสกาลังเคลื่อนออกจากป้ายด้วยความเร่ง 1.0 เมตรต่อวินาที2 ชายผู้หนึ่งวิ่งไล่กวดรถบัสจากระยะห่าง 6.0 เมตร


ด้วยความเร็วคงที่ 3.5 เมตรต่อวินาที จะต้องไล่กวดนานกี่วินาทีจึงทันรถบัส (ตุลา 47)

3.5 m/s 1.0 m/s 2

6.0 m

1. 2.0 2. 3.0 3. 5.0 4. 6.0


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 50

5. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
1. สมการและลักษณะสาคัญของการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
การเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวเส้นตรงในแนวดิ่ง ภายใต้แรงโน้มถ่วงโลกกระทาต่อวัตถุนั้นตลอดการเคลื่อนที่
ลักษณะสาคัญของการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
1. ตลอดการเคลื่อนที่จะมีความเร่งเท่ากับ g (9.81 m/s2, ใช้ 10 m/s2) ทิศลงในแนวดิ่ง
2. ตาแหน่งสูงสุดของการเคลื่อนที่ ความเร็วที่ตาแหน่งนั้นเป็น 0
3. ตาแหน่งที่มีความสูงเท่ากัน ขนาดของความเร็วขาขึ้น เท่ากับ ขนาดของความเร็วขาลง
4. วัตถุที่ปล่อยจากจรวด/บอลลูน จะมีความเร็วต้น (u) เท่ากับความเร็วของจรวด/บอลลูน ขณะปล่อย

2. หลักการใช้สูตร และการกาหนดเครื่องหมาย

1. กาหนดทิศโดยใช้เครื่องหมาย +, – โดยให้ทิศของความเร็วต้น u เป็นบวก (+)


2. เวกเตอร์ s , v , g ที่มีทิศเดียวกับ u เป็นบวก (+), ทิศตรงข้ามกับ u เป็นลบ (–)
3. เลือกใช้สมการตามตัวแปรที่โจทย์กาหนด และที่โจทย์ถาม

3. ลักษณะโจทย์
1. โยนวัตถุขึ้น

g
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 51

2. ปล่อย/ปาวัตถุลง

Ex1 โยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่ง ด้วยความเร็ว 40 m/s ใช้เวลาเท่าใดจึงถึงจุดสูงสุด และก้อนหินขึ้นไปได้สูงสุดเท่าใด

Ex2 โยนวัตถุสองก้อน A และ B ให้เคลื่อนตามแนวดิ่ง ระยะทางสูงสุดที่วัตถุ A และ B เคลื่อนที่ขึ้นไปได้ คือ 50


และ 200 เมตร ตามลาดับ อัตราของความเร็วต้นของ A ต่อของ B มีค่าเท่าใด (Ent41)
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
4 2 2 2 2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 52

Ex3 จากกราฟความเร็ว - เวลา ของการโยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่ง จงหาระยะสูงสุดที่ก้อนหินเคลื่อนที่ขึ้นไปได้


v(m / s)

t (s)
0.8 1.6

8

Ex4 ถ้าเราปล่อยก้อนหิน A ให้ตกแบบเสรี ส่วนก้อนหิน B ถูกโยนขึ้นตามแนวดิ่ง ด้วยความเร็วต้นค่าหนึ่ง หลังจากที่


ก้อนหินทั้งสองเคลื่อนที่ออกจากมือไปแล้ว
จงเปรียบเทียบความเร่งของก้อนหินทั้งสองนี้ (ไม่ต้องคิดผลของแรงต้านอากาศ) (PAT2 ก.ค.53)
1. ก้อนหินทั้งสองมีความเร่งเท่ากัน
2. ก้อนหิน A มีขนาดของความเร่งมากกว่าก้อนหิน B
3. ก้อนหิน A มีขนาดของความเร่งน้อยกว่าก้อนหิน B
4. ก้อนหินทั้งสองมีขนาดของความเร่งเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงกันข้าม

Ex5 วัตถุ 2 ก้อน มีมวลไม่เท่ากัน โดยที่มวลก้อนที่ 1 มีขนาดเป็นสองเท่าของมวลก้อนที่ 2 ถ้าปล่อยวัตถุทั้งสองให้ตก


อย่างเสรีจากตึกสูง 50 เมตร ข้อใดกล่าวถูกต้อง (PAT2 มี.ค.53)
1. วัตถุทั้งสองก้อนมีความเร่งไม่เท่ากัน
2. วัตถุทั้งสองก้อนใช้เวลาตกถึงพื้นเท่ากัน
3. วัตถุก้อนที่ 1 กระทบพื้นด้วยขนาดความเร็วมากกว่าวัตถุก้อนที่ 2
4. มีคาตอบถูกมากกว่า 1 ข้อ

Ex6 โยนวัตถุก้อนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งโดยวัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ B ถ้า A และ C เป็นจุดที่อยู่ในระดับเดียวกันดังรูป เมื่อ


ไม่คิดผลของแรงต้านอากาศ ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูก (ตุลา 44) B
1. ที่จุด B วัตถุมีความเร็วและความเร่งเป็นศูนย์
2. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร็วเท่ากัน
3. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร่งขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม A C
4. ที่จุด A,B และ C วัตถุมีความเร่งเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 53

Ex7 ชายคนหนึ่งยืนบนอาคารสูง 25 เมตร แล้วโยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่ง ด้วยความเร็วต้น 20 m/s จงหาว่า


1. เวลาผ่านไปเท่าใด วัตถุถึงจุดสูงสุด …………………………
2. เวลาผ่านไปเท่าได วัตถุจึงจะอยู่สูงจากจุดโยน 15 เมตร …………………………
3. เวลาผ่านไปเท่าได วัตถุจึงจะตกกลับถึงระดับเดิม …………………………

Ex8 โยนก้อนหินขึ้นในแนวดิ่งจากพื้นดินด้วยความเร็วต้น 20.0 เมตรต่อวินาที หลังจากถึงจุดสูงสุดแล้ว ก้อนหินก็ตกลง


มาถึงจุดที่มีความเร็ว 10.0 เมตรต่อวินาที การกระจัดและระยะทางทั้งหมดที่ก้อนหินเคลื่อนที่ได้ถึงจุดนั้นเป็นเท่าใด
(ตอบตามลาดับ) (Ent38)
1. 20.0 m, 15.0 m
2. 15.0 m, 15.0 m
3. 25.0 m, 15.0 m
4. 15.0 m, 25.0 m

Ex9 โยนวัตถุขึ้นจากหน้าผาสูง H ด้วยความเร็ว v0 วัตถุจะตกถึงพื้นดินภายใน 6 วินาที แต่ถ้าขว้างลงตรง ๆ ด้วย


ความเร็วเท่าเดิม จะตกถึงพื้นดินใน 4 วินาที จงหา v0 และ H
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 54

Ex10 ลูกบอลลูนลอยขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็วคงที่ 5 m/s เมื่อขึ้นไปได้ 30 วินาที ก็ปล่อยลูกระเบิดลงมา นานกี่


วินาที ลูกระเบิดจึงจะตกถึงพื้น

Ex11 ขวดใบหนึ่งตกลงมาจากบอลลูนซึ่งกาลังลอยขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วคงที่ 2 m/s ถ้าขณะนั้นลูกบอลลูนอยู่สูง


จากพื้นดิน 100 เมตร หลังจากนั้น 4 วินาที ขวดจะอยู่สูงจากพื้นดินกี่เมตร

Ex12 นาย ก. ยืนอยู่บนดาดฟ้าตึกซึ่งสูงจากพื้นดิน 20 เมตร ปล่อยก้อนหินลงไปในแนวดิ่ง ในขณะเดียวกัน นาย ข.


ซึ่งอยู่บนพื้นดิน โยนก้อนหินขึ้นไปตรง ๆ ด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ก้อนหินทั้งสองจะพบกันที่สูงจากพื้นดินกี่เมตร
(Ent40)
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 55

Ex13 ลิฟต์สูง 3.2 เมตร เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็วคงที่ 3 เมตร/วินาที ขณะหนึ่งน๊อตหลุด จากเพดาน ถามว่านาน


เท่าใด น๊อตจะตกถึงพื้นลิฟต์

Ex14 จุดบั้งไฟขึ้นไปในอากาศด้วยความเร่งคงที่ 8 เมตร/วินาที2 ในแนวดิ่งขึ้นไปได้ 10 วินาที เชื้อเพลิงหมด บั้งไฟจะ


ขึ้นไปได้สูงจากพื้นกี่เมตร (Ent36)
1. 400 เมตร
2. 720 เมตร
3. 810 เมตร
4. 1710 เมตร

Ex15 จรวดลาหนึ่งถูกยิงจากฐานด้วยความเร่งสม่าเสมอ จนขณะที่มีความเร็ว 100 m/s เชื้อเพลิงจึงหมดปรากฏว่าจรวด


ขึ้นไปได้สูงสุด 700 เมตร จงหาความเร่งของจรวดเมื่อออกจากฐานยิง
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 56

การบ้าน 5 การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
1. กราฟในข้อใดที่แสดงการกระจัด (s) กับเวลา (t) สาหรับการดีดลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งและตกลงมาภายใต้แรงโน้มถ่วง
(Anet51)
1. s 2. s

t t

3. s 4. s

t t

2. กราฟของความเร็ว v กับเวลา t ข้อใดสอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่ง (Onet51)

1. v 2. v

t t
v v
3. 4.

t t

3. กราฟของอัตราเร็ว (v) กับเวลา (t) ข้อใดแทนการปล่อยวัตถุจากหยุดนิ่งให้ตกอย่างอิสระในสุญญากาศภายใต้แรงโน้ม


ถ่วง (Anet51)
1. v 2. v

t t

3. v 4. v

t t
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง 57

4. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 4.9 เมตรต่อวินาที นานเท่าใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด


(ใช้ g = 9.80 m/s2) (Onet49)
1. 0.5 s
2. 1.0 s
3. 1.5 s
4. 2.0 s

5. ชายคนหนึ่งโยนเหรียญขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 10 เมตร/วินาที เป็นเวลาเท่าใดเหรียญจึงจะตกลงมาถึงตาแหน่ง


เริ่มต้น (Ent40)
1. 1 s
2. 2 s
3. 3 s
4. 4 s

6. ถ้าปล่อยให้วัตถุตกลงในแนวดิ่งอย่างเสรี หากวัตถุนั้นตกกระทบพื้นดินในเวลา 5 วินาที ถามว่าวัตถุกระทบดินด้วย


ความเร็วเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที (ใช้ g = 9.80 m/s2) (Onet51)
1. 4.9 m/s
2. 9.8 m/s
3. 39 m/s
4. 49 m/s

7. ขว้างหินขึ้นไปในแนวดิ่งจากบนหน้าผา พบว่าหลังจากขว้างไปแล้วนาน 10 วินาที ก้อนหินจะอยู่ต่ากว่าจุดที่ยิงเป็น


ระยะ 40 เมตร จงหา
1. ความเร็วต้นของก้อนหิน ………………………………….
2. ก้อนหินถูกขว้างขึ้นไปสูงสุดจากบนหน้าผาเท่าใด …………………………………
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 58

8. โยนก้อนหินขึ้นไปจากหน้าผาแห่งหนึ่งตามแนวดิ่งในอากาศด้วยความเร็วต้น 60 m/s พบว่านานเป็นเวลา 20 วินาที


หินก้อนนั้นจึงจะตกลงถึงพื้นดิน จงหาความสูงของหน้าผา

9. เด็กชายคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง เมื่อลูกบอลขึ้นไปได้สูง 5 เมตร อัตราเร็วของลูกบอลเท่ากับ 10 เมตร


ต่อวินาทีในแนวขึ้น อัตราเร็วเริ่มต้นและระยะสูงสุดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้มีค่าเท่าใด (มีนา 42)
1. 10 m/s และ 10 m
2. 10 2 m/s และ 10 2 m
3. 10 m/s และ 10 2 m
4. 10 2 m/s และ 10 m

10. บอลลูนลูกหนึ่งกาลังลอยขึ้นตามแนวดิ่งด้วยความเร็วคงที่ เมื่อลอยขึ้นไปนาน 3 วินาที คนในบอลลูนทิ้งก้อนหินลง


มา พบว่าหินก้อนนั้นตกถึงพื้นดินในเวลา 6 วินาที จงหาความเร็วของบอลลูนที่ลอยขึ้น และความสูงของบอลลูนขณะ
ทิ้งหินนั้น

11. หินก้อนหนึ่งตกจากตึกสูง 100 เมตร ในขณะเดียวกันชายคนหนึ่งก็ขว้างก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 40


เมตร/วินาที นานเท่าใดก้อนหินทั้งสองจึงพบกันและพบกันที่ความสูงเท่าใด
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก ระยะทางในวินาทีที่ n 59

Ex1 รถคันหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความเร่งคงที่ ปรากฏว่าในวินาทีที่ 4 รถเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 56 เมตร จง


หาว่าในวินาทีที่ 10 จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไร

Ex2 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ วัดระยะทางในวินาที่ที่ 2 ได้ 8 เมตร วัดระยะทางในวินาทีที่ 3 ได้ 12 เมตร จง


หาระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จากวินาทีที่ 10 ถึง 11

Ex3 อนุภาคชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ปรากฏว่าในวินาทีที่ 12 เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 132 เมตร ปลายวินาทีที่


20 มีความเร็วเป็น 200 m/s จงหาระยะทางที่อนุภาคนี้เคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่ 16
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 60
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3. แรงและกฎการเคลื่อนที่

ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1


บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3. แรงและกฎการเคลื่อนที่

สารบัญ บทที่ 3. แรงและกฎการเคลื่อนที่

VDO ครั้งที่ เวลา (ชั่วโมง) เรื่องที่สอน หน้า


VDO ครั้งที่ 1 1:58 1. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 1–9
2. วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นราบ
VDO ครั้งที่ 2 1:56 3. วัตถุเคลื่อนทีใ่ นแนวดิง่ 10 – 14
4. วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นเอียง
VDO ครั้งที่ 3 2:02 4. วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นเอียง 14 – 22
5. แรงกระทาระหว่างวัตถุ
VDO ครั้งที่ 4 2:08 5. แรงกระทาระหว่างวัตถุ 22 – 29
VDO ครั้งที่ 5 1:44 6. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน 31 – 36
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 1

บทที่ 3. แรงและกฎการเคลื่อนที่

1. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฏข้อ 1 : กฎของความเฉื่อย (Law of Inertia)
วัตถุจะคงสภาวะหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ในแนวเส้นตรง หากไม่มีแรงมากระทาให้เปลี่ยนสภาวะนั้นไป

กฏข้อ 2 : กฎของแรง (Law of Force)


อัตราการเปลี่ยนแปลงของโมเมนตัมแปรผันโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ และเกิดขึ้นในทิศที่แรงกระทานั้น

กฏข้อ 3 : กฎของแรงกิริยา - ปฏิกิริยา (Law of Action - Reaction)


ทุก ๆ แรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาขนาดเท่ากันทิศตรงข้าม กระทาซึ่งกันและกันระหว่างวัตถุ 2 ก้อนเสมอ
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 2

Ex1 จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. ปริมาณในทางฟิสิกส์ที่บอกให้ทราบว่าวัตถุใดมีความเฉื่อยมากน้อยแค่ไหน คือ ...........................................

2. เมื่อพนักงานขับรถหยุดรถอย่างกะทันหัน คนที่นั่งอยู่ในรถจะเซถลาไปข้างหน้า การที่คนเซถลาไปข้างหน้านั้นเป็นไป


ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันข้อใด .................................................

3. ในขณะที่มวลมีความเร่งนั้น ความเร็วจะเป็นอย่างไร ................................................

4. การที่จรวดเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเนื่องจากกาลังขับของการเผาไหม้เชื้อเพลิงนั้น เป็นไปตามกฎข้อใดของนิวตัน ..............

5. ปริมาณที่ทาให้วัตถุมีความเร่ง คือ ........................................

6. แรงปฏิกิริยาตามกฎข้อที่ 3 ของนิวตันของแรงต่อไปนี้ คือ

6.1 น้าหนักของนักเรียนเอง แรงปฏิกิริยาคือ .............................................................

6.2 แรงที่มือนักเรียนกดโต๊ะ แรงปฏิกิริยาคือ .............................................................

6.3 แรงที่โลกดูดดวงจันทร์ แรงปฏิกิริยาคือ .............................................................

Ex2 “แรงคู่กิริยา – ปฏิกิริยา” ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน ผลสรุปต่อไปนี้ข้อใดผิด


1. กระทาที่วัตถุคนละก้อนที่เกี่ยวข้องกัน
2. มีขนาดเท่ากันแต่มีทิศตรงกันข้าม
3. เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่โดยมีความเร่งก็ได้
4. เกิดขึ้นได้เมื่อวัตถุทั้งสองต้องสัมผัสกัน


Ex3 มวล A และ B วางอยู่บนพื้นราบเกลี้ยง ถ้ามีแรง F กระทาต่อมวล A ในแนวขนานกับพื้นทาให้มวลทั้งสอง
เคลื่อนที่ติดกันไปด้วยความเร่ง a ดังรูป จงเปรียบเทียบแรงที่ A กระทาต่อ B และแรงที่ B กระทาต่อ A

F A
B
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 3

Ex4 เด็กชายคนหนึ่งยืนอยู่ในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนที่ขึ้น ขนาดของแรงที่พื้นลิฟต์กระทาต่อเท้าของเด็กชายคนนี้มีค่าเป็น


อย่างไร (PAT2 ต.ค.53)
1. เท่ากับขนาดของน้าหนักของเด็กชาย
2. น้อยกว่าขนาดของน้าหนักของเด็กชาย
3. มากกว่าขนาดของน้าหนักของเด็กชาย
4. เท่ากับขนาดของแรงที่เท้าของเด็กชายคนนี้กระทาต่อพื้นลิฟต์

Ex5 วัตถุชิ้นหนึ่งมวล 40 kg เดิมอยู่นิ่ง ต่อมามีแรงมากระทากับวัตถุนี้ 4 วินาที เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 วัตถุมีความเร็ว


16 m/s จงหาขนาดของแรงลัพธ์ที่มากระทา

Ex6 แรงขนาดหนึ่งเมื่อกระทาต่อวัตถุ ซึ่งมีมวล m1 ทาให้วัตถุนี้มีความเร่ง 8.0 เมตร/วินาที2 เมื่อแรงขนาดเดียวกันนี้


กระทาต่อวัตถุมวล m2 ทาให้ m2 เคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งได้ 48 เมตร ในเวลา 2 วินาที อัตราส่วนระหว่าง m2 ต่อ
m1 คือ (PAT2 ต.ค.53)
1. 1 : 1
2. 1 : 2
3. 1 : 3
4. 1 : 4

Ex7 รถมวล 1,000 กิโลกรัม เพิ่มความเร็วจากหยุดนิ่งไปเป็น 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง ในเวลา 10 วินาที แรงเสียดทานที่


ส่งให้รถเร่งไปข้างหน้ามีค่าเท่าใด (Anet50)
1. 1,000 N
2. 2,000 N
3. 3,600 N
4. 7,200 N
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 4

แบบฝึหัด 3.1 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน


1. แขวนวัตถุด้วยเส้นเชือกจากเพดาน แรงปฏิกิริยาตามกฎข้อที่ 3 ของนิวตันของแรงซึ่งเป็นน้าหนักของวัตถุ คือแรงใด
(Ent32)
1. แรงที่เชือกกระทาต่อเพดาน
2. แรงที่เส้นเชือกกระทาต่อวัตถุ
3. แรงโน้มถ่วงที่วัตถุกระทาต่อโลก
4. แรงที่วัตถุกระทาต่อเส้นเชือก

2. แรงสองแรงใด เป็นแรงตามความหมายของกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน


1. เป็นแรงขนาดเท่ากัน แต่ทิศทางตรงกันข้าม
2. เป็นแรงที่กระทาต่อวัตถุเดียวกันในแนวเดียวกัน
3. แรงลัพธ์ของแรงทั้งสองมีค่าเป็นศูนย์
4. เป็นแรงที่เกิดจากวัตถุ 2 ก้อน กระทาต่อกันในเวลาเดียวกัน

3. นักเรียนคนหนึ่งออกแรงผลักรถเข็นให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ข้อใดสรุปเกี่ยวกับขนาดของแรงที่รถเข็นกระทากับนักเรียน
ถูกต้อง (PAT2 ก.ค.53)
1. มากกว่าขนาดของแรงที่นักเรียนกระทากับรถเข็นตลอดเวลา
2. เท่ากับขนาดของแรงที่นักเรียนกระทากับรถเข็นตลอดเวลา
3. น้อยกว่าขนาดของแรงที่นักเรียนกระทากับรถเข็นตลอดเวลา
4. มากกว่าขนาดของแรงที่นักเรียนกระทากับรถเข็นเมื่อยังไม่เคลื่อนที่ แต่น้อยกว่าขนาดของแรงที่นักเรียนกระทากับ
รถเข็นเมื่อเคลื่อนที่ไปแล้ว

4. นกเกาะอยู่บนสายไฟ แรงใดเป็นแรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยาของน้าหนักของนกตามกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน (PSU 49)


1. แรงที่สายไฟกระทาต่อนก
2. แรงที่นกกระทาต่อสายไฟ
3. แรงที่โลกดึงดูดนก
4. แรงที่นกดึงดูดโลก

 
5. มวล m วางบนโต๊ะ โดย N เป็นแรงที่โต๊ะกระทาต่อมวลนี้ ข้อใดบอกถึงแรงคู่ปฏิกริยาของ mg และ N

1. - mg กระทาต่อโต๊ะ และ - N กระทาต่อโลก

2. - mg กระทาต่อโต๊ะ และ - N กระทาต่อโต๊ะ

3. - mg กระทาต่อโลก และ - N กระทาต่อโลก

4. - mg กระทาต่อโลก และ - N กระทาต่อโต๊ะ
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 5

6. แรง 5 นิวตัน และ 12 นิวตัน ในระนาบระดับมีทิศตั้งฉากกันกระทาต่อมวล 10 กิโลกรัม บนพื้นระดับลื่น จงห


ขนาดของความเร่งของมวลนี้ (Anet50)
1. 0.7 m/s2 5 N

2. 1.2 m/s2
3. 1.3 m/s2 90o
12 N
4. 1.7 m/s2
10 kg

7. รถคันหนึ่งมวล 2000 kg วิ่งมาด้วยความเร็ว 40 m/s ถ้าต้องการให้รถคันนี้หยุดในระยะ 50 เมตร จะต้องใช้แรง


ต้านขนาดเท่าใดกระทาต่อรถคันนี้

8. รถบรรทุกมวล 5,000 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ถ้าต้องการให้รถนี้


หยุดสนิทใน 50 เมตร จะต้องใช้แรงต้านเท่าใด (มีนา 47)
1. 5,000 N
2. 10,000 N
3. 20,000 N
4. 40,000 N

9. กระสุนปืนมวล 50 กรัม เคลื่อนที่เข้ากระสอบทรายด้วยความเร็ว 100 m/s โดยทรายมีแรงต้าน 200 N คงที่ จงหา


ความหนาของกระสอบทรายที่จะต้านกระสุนให้หยุดได้
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 6

2. วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นราบ
แรงที่กระทากับวัตถุที่ให้เคลื่อนที่บนพื้นราบ คือ น้าหนักของวัตถุ, แรงปฏิกิริยาที่พื้น และแรงเสียดทาน

1. มวล (m) และ น้าหนัก (W)


มวล (mass, m) คือ ปริมาณที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ
น้าหนัก (Weight, W) คือ แรงโน้มถ่วงที่โลก (ดาวเคราะห์) กระทาต่อมวล

2. แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัส (N)
เกิดเมื่อวัตถุสัมผัสพื้น, ผนัง มีทิศพุ่งเข้าหาวัตถุ ตั้งฉากกับผิวสัมผัส
ค่าทีเ่ ครื่องชั่งน้าหนักอ่านได้ คือ ค่าแรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัสของตาชั่ง

2.1 แรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทาต่อวัตถุ เมื่อแรงอยู่ในแนวระดับ

F
10 kg

2.2 แรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทาต่อวัตถุ เมื่อแรงทามุม  กับแนวระดับ

F

10 kg
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 7

3. แรงเสียดทาน (Force of Friction)


เป็นแรงที่เกิดเมื่อวัตถุสัมผัสกับ พื้น, ผนัง, อากาศ, น้า กระทาต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ ในทิศตรงข้ามกับทิศการ
เคลื่อนที่ของวัตถุนั้น
3.1 แรงเสียดทานสถิต (Force of Static Friction, fs) กระทาต้านวัตถุเมื่อวัตถุหยุดนิ่งหรือกาลังจะเคลื่อนที่

fs,max = SN

3.2 แรงเสียดทานจลน์ (Force of Kinertic Friction, fk) กระทาต้านวัตถุเมื่อวัตถุเคลื่อนที่

fk = kN

S = สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต
k = สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต
N = แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัส
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 8

Ex1 วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นราบที่มี S = 0.5 และ k = 0.2 จงหา


1. ต้องมีแรง F กระทาในแนวระดับเท่าใด วัตถุจึงเริ่มเคลื่อนที่ ..............................................................
2. ถ้าออกแรง F = 40 N กระทากับวัตถุที่วางนิ่ง วัตถุจะเคลื่อนที่หรือไม่ .............................................
3. จากข้อที่ 2 ถ้าแรง F = 40 N แรงเสียดทานสถิตขณะนั้นเป็นเท่าใด ...............................................
4. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง แรงเสียดทานที่กระทากับวัตถุเป็นเท่าใด ..............................................

F
10 kg

Ex2 จงหาแรงเสียดทานที่พื้นกระทาต่อวัตถุ เมื่อแรง F = 100 N และมุม  = 30O (กาหนด S = 0.5, k = 0.2)

F

10 kg

Ex3 จงหาความเร่งของวัตถุเมื่อมีแรง P กระทาดังรูป

P  40 N
4 kg

  0.5
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 9

Ex4 จงหาความเร่งของวัตถุเมื่อมีแรง P กระทาดังรูป


P  40 N

4 kg 30o

  0.5

Ex5 กล่องใส่มวล 2 กิโลกรัม ถูกดึงจากหยุดนิ่งด้วยแรงคงที่ขนาด 22 นิวตันในทิศ 60 องศากับแนวราบให้เคลื่อนที่ไป


ตามพื้นราบจนมีความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที ในเวลา 0.8 วินาที ถ้าคิดว่าแรงเสียดทานคงที่ แรงเสียดทานจะมีขนาดกี่นิว
ตัน
1. 5 N P
2. 6 N
60o
3. 11 N
4. 14 N

Ex6 ชาย 2 คน ต้องการขนย้ายวัตถุขนาดใหญ่จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง โดยชายคนแรกออกแรงดึง 32 นิวตัน ทามุม


60º กับแนวระดับ ส่วนชายคนที่สองออกแรงผลัก 20 นิวตัน อีกด้านหนึ่งของวัตถุในแนวระดับโดยพื้นมีแรงเสียดทาน
กระทาต่อวัตถุขนาด 5 นิวตัน และวัตถุมีความเร่ง 0.5 เมตรต่อวินาที2 มวลของวัตถุก้อนนี้มีค่ากี่กิโลกรัม (PAT2 ก.ค.
53)
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 10

Ex7 จากรูปมวล M จะต้องแล่นด้วยความเร่งอย่างน้อยที่สุดเท่าใด จึงจะทาให้มวล m ไม่ตกลง กาหนด  = 0.5



a

M m

Ex8 จากรูป ภายในรถบรรทุกมีเชือกแขวนมวล m ติดกับเพดานรถ ถ้ารถบรรทุกเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 10 เมตร/วินาที2


จงหามุมที่เชือกทากับแนวดิ่ง 

Ex9 จากรูป รถมวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนไปทางขวาด้วยความเร่ง 5 เมตร/วินาที2 AB เป็นคานเบามีปลาย A ติดบาน


พับไว้กับรถ ส่วนปลาย B มีลูกตุ้มมวล 2 กิโลกรัม ติดไว้ จงหาค่ามุม 

 a
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 11

3. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
แรงที่กระทากับวัตถุที่ให้เคลื่อนที่ตามแนวดิ่ง คือ น้าหนักของวัตถุ และแรงดึงขึ้น (แรงดึงในเส้นเชือก)

1. ดึงวัตถุให้เคลื่อนขึ้น / ลง ด้วยความเร่ง

F F

a a

mg mg

2. การชั่งน้าหนักในลิฟต์ที่เคลื่อนที่ขึ้น / ลง ด้วยความเร่ง

N N

a a

mg mg
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 12

Ex1 เชือกเส้นหนึ่งทนแรงดึงได้ 60 นิวตัน ผูกไว้กับมวล 5 กิโลกรัม จะดึงมวลขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร่งมากที่สุดเท่าใด


เชือกจึงไม่ขาด

Ex2 ลิงต้องออกแรงกี่นิวตันดึงเชือก เพื่อไต่เชือกที่อยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปด้วยความเร่ง 4 เมตร/วินาที2 (ลิงมีมวล 25


กิโลกรัม)

Ex3 เชือกแขวนไว้กับเพดาน มีลิงมวล 20 กิโลกรัม โหนเชือกอยู่สูงจากพื้น 10 เมตร ได้รูดตัวลงมากับเชือกด้วย


ความเร่งที่ถึงพื้นใช้เวลา 2 วินาที ความตึงของเชือกเป็นเท่าใด ไม่คิดมวลของเชือก (Ent36)
1. 100 N
2. 150 N
3. 200 N
4. 250 N

Ex4 นักกระโดดร่มมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินด้วยการย่อตัว ขณะยึดตัวขึ้นจุดศูนย์กลางมวลของร่างกายมีขนาดของ


ความเร่ง 30 เมตรต่อ (วินาที)2 แรงที่พื้นกระทาต่อเท้าของนักกระโดดร่มคนนี้เป็นเท่าใด (ตุลา 42)
1. 650 N
2. 1300 N
3. 1950 N
4. 2600 N
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 13

Ex5 ลิฟต์และน้าหนักบรรทุกรวมกันมีมวล 800 kg เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็ว 6 m/s ถ้าทาให้ลิฟต์หยุดภายในระยะทาง


15 เมตร ด้วยความหน่วงคงที่ จงหาความตึงในสายเคเบิ้ล

Ex6 ลิฟต์เครื่องหนึ่งขณะเคลื่อนที่ขึ้นจะมีความเร่ง 3 m/s2 และลวดที่แขวนลิฟต์จะทนแรงดึงได้ไม่เกิน 8000 N ถ้าลิฟต์


มีมวล 200 kg และคนหนึ่งคนมีมวลเฉลี่ย 60 kg ลิฟต์จะบรรทุกคนได้กี่คน

Ex7 ขณะที่ลิฟต์กาลังเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 2 เมตร/วินาที 2 นักเรียนคนหนึ่งชั่งน้าหนักตัวเองได้ 700 นิวตัน


นักเรียนคนนี้มีมวลกี่กิโลกรัม (PAT2 มี.ค.53)

Ex8 ชายคนหนึ่งมวล 75 กิโลกรัม อยู่ในลิฟต์กดปุ่มให้ลิฟต์ลง ลิฟต์เริ่มลงด้วยความเร่งจนมีความเร็วคงที่แล้วเริ่มลด


อัตราเร็วลงด้วยขนาดของความเร่ง 1 เมตร/(วินาที)2 เพื่อจะหยุด แรงที่ลิฟต์กระทาต่อชายคนนี้ ขณะที่ลิฟต์กาลังจะหยุด
เป็นกี่นิวตัน (Ent36)
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 14

4. วัตถุเคลื่อนที่บนพื้นเอียง
แรงที่กระทากับวัตถุให้เคลื่อนที่บนพื้นเอียง คือ แรงดึงขึ้น (แรงตึงเชือก) , น้าหนักของวัตถุ แรงปฏิกิริยาที่พื้น
เอียงและแรงเสียดทาน

1. ดึงวัตถุขึ้นตามพื้นเอียงด้วยความเร่ง

f mg

2. ดึงวัตถุลงตามพื้นเอียงด้วยความเร่ง

 mg

3. ปล่อยวัตถุให้เคลื่อนลงพื้นเอียง

 mg
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 15

Ex1 จงหาแรงที่ใช้ในการดึงวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ขึ้นพื้นเอียงฝืดที่มี  = 0.2 ทามุม 37O กับแนวราบ ด้วยความเร่ง 2


เมตร/วินาที2
F

f mg

Ex2 จงหาความเร่งของวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ซึ่งถูกปล่อยลงตามพื้นเอียงฝืดที่มี  = 0.2 ทามุม 37O กับแนวราบ

 mg

Ex3 วัตถุชิ้นหนึ่งมีมวล 2.0 กิโลกรัม ถูกดึงให้ขึ้นไปตามพื้นเอียง 30º โดยใช้เส้นเชือกตามรูป ถ้าความตึงในเส้นเชือก


เป็น 40 นิวตัน และแรงเสียดทานมีขนาด 2.0 นิวตัน ความเร่งของวัตถุและแรงปฏิกิริยาตั้งฉากที่พื้นเอียงกระทากับวัตถุ
เป็นเท่าใด (Ent33)

1. 15 เมตร/วินาที2 และ 10 3 นิวตัน 40 N


2. 14 เมตร/วินาที2 และ 5 นิวตัน
3. 14 เมตร/วินาที2 และ 10 3 นิวตัน
4. 24 เมตร/วินาที2 และ 5 นิวตัน 
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 16

Ex4 ออกแรง 50 นิวตัน ดึงวัตถุมวล 4 กิโลกรัม ขึ้นพื้นเอียงที่ไม่มีความฝืดทามุม 37O กับแนวราบ จงหาความเร็ว


ปลายของวัตถุเมื่อดึงวัตถุเป็นเวลา 5 วินาที และวัตถุเคลื่อนที่ได้เป็นระยะเท่าใดตามแนวพื้นเอียง (วัตถุเริ่มเคลื่อนจาก
หยุดนิ่ง)

Ex5 วัตถุหนัก 1250 นิวตัน เลื่อนลงตามพื้นเอียงด้วยความเร็วสม่าเสมอ พื้นเอียงยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร จงหา
สัมประสิทธิ์จลน์ระหว่างวัตถุกับพื้นเอียง

 mg

Ex6 วัตถุหนัก 20 นิวตัน วางบนพื้นเอียงซึ่งเอียงทามุม 45O กับแนวระดับ ถ้าสัมประสิทธิ์ความสียดทานจลน์ระหว่าง


วัตถุกับพื้นเอียงเท่ากับ 0.3 มีแรง F กระทากับวัตถุขนานกับพื้นเอียงดังรูป จงหา
6.1 ขนาดแรงดึง F ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียงด้วยความเร็วคงตัว ......................................................
6.2 ขนาดแรงดึง F ที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ลงพื้นเอียงด้วยความเร็วคงตัว ......................................................


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 17

แบบฝึกหัด 3.2-3.4 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง


1. รถเข็นมวล 100 กิโลกรัมเดิมอยู่นิ่ง ถูกแรงในแนวระดับขนาด 50 นิวตัน ผลักให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบ ถ้าแรงเสียด
ทานที่กระทาต่อรถทั้งหมดเท่ากับ 30 นิวตัน ถามว่า ถ้าแรงกระทาเป็นเวลา 12 วินาที จะทาให้รถเข็นมีความเร็วเท่าใด
(Anet49)
1. 2.4 m/s
2. 7.2 m/s
3. 9.6 m/s
4. 14.4 m/s

2. ชายคนหนึ่งลากกระเป๋ามวล 5 กิโลกรัม ให้เคลื่อนไปตามพื้นราบที่ไม่มีความฝืดด้วยแรง 40 นิวตัน โดยแรงนี้ทามุม


30º กับแนวราบ กระเป๋าจะเลื่อนไปตามพื้นราบด้วยความเร่งเท่าใด (Ent31)
1. 0.50 m/s2
2. 0.84 m/s2
3. 4.00 m/s2
4. 6.93 m/s2

3. นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกเบาซึ่งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับแท่งวัตถุมวล 2.0 กิโลกรัม ให้หาแรงที่เชือกดึงมือ เมื่อดึงเชือก


ขึ้นด้วยความเร่ง 5.0 เมตร/วินาที2

4. ชายคนหนึ่งมีมวล 60 kg ยืนชั่งน้าหนักอยู่ในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ จงหาค่าน้าหนักที่ตาชั่งอ่านได้ใน


แต่ละกรณี
1. เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง = 4 m/s2 .......................................................
2. เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง = 4 m/s2 .......................................................
3. เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความหน่วง = 4 m/s2 .......................................................
4. เคลื่อนที่ลงด้วยความหน่วง = 4 m/s2 .......................................................
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 18

5. ออกแรง 112 นิวตัน ตามแนวพื้นเอียง ดึงวัตถุมวล 10 กิโลกรัม ขึ้นตามพื้นเอียงทามุม 37O กับแนวราบ ถ้าพื้น
เอียงมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ 0.4 จงหาความเร่งของวัตถุ

6. ปล่อยกล่องไม้สี่เหลี่ยมมวล 5 กิโลกรัม ลงตามพื้นเอียงทามุม 30O กับแนวราบ จงหาความเร่งของกล่องเมื่อ


1. พื้นเอียงไม่มีความฝืด
2. พื้นเอียงฝืด มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน 0.2

7. กล่องมวล m ไถลลงพื้นเอียงซึ่งทามุม  กับแนวระดับด้วยความเร่ง a ต่อมาเพิ่มมวลให้กล่องเป็น 2m คราวนี้


ความเร่งจะเป็นเท่าใด สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหว่างกล่องกับพื้นเอียงมีค่าคงที่ (ตุลา 47)
1. 0.5 a
2. a
3. 1.5 a
4. 2a
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 19

5. แรงกระทาระหว่างวัตถุ
1. วัตถุผูกติดกันเคลื่อนที่บนพื้นราบ
1. พิจารณาวัตถุทั้งก้อน

F
f2 m2 f1 m1

2. พิจารณาแยกวัตถุแต่ละก้อน

T T F
f2 m2 f1 m1

2. ผลักวัตถุติดกันให้เคลื่อนที่บนพื้นราบ
1. พิจารณาวัตถุทั้งก้อน

F m2
m1

2. พิจารณาแยกวัตถุแต่ละก้อน

F N21 N12 m2
f1 m1 f2
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 20

3. วัตถุผูกติดกันเคลื่อนที่ขึ้น/ลงในแนวดิ่ง
F
F

m1
m1
m1 g T
T

m2
m2
m2 g

4. วัตถุผูกติดกันบนโต๊ะและห้อยในแนวดิ่ง
a
T
m1 f m1
T

m2 m2 a

m2 g
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 21

Ex1 ออกแรง 140 นิวตัน ดึงมวล 20 กิโลกรัม ซึ่งผูกติดกับมวล 30 กิโลกรัม ด้วยเชือก ถ้าวัตถุทั้งสองอยู่บนพื้นลื่น
จงหาความเร่งของวัตถุและแรงดึงในเส้นเชือก

F = 140 N
30 kg 20 kg

Ex2 ออกแรง 140 นิวตัน ผลักมวล 20 กิโลกรัม ซึ่งวางติดกับมวล 30 กิโลกรัม ถ้าวัตถุทั้งสองอยู่บนพื้นลื่น จงหา
ความเร่งของวัตถุและแรงปฏิกิริยาที่มวล 20 กิโลกรัม กระทากับมวล 30 กิโลกรัม

F = 140 N
30 kg 20 kg

Ex3 จากรูป ถ้ามวล 1 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม อยู่บนพื้นราบผิวเกลี้ยงและไม่คิดมวลของเครื่องชั่งสปริงและเชือก


ค่าที่อ่านได้จากเครื่องชั่งสปริงเป็นเท่าไร (Ent37)

1. 0N
2. 5N F2  3N F1  9N
2kg 1kg
3. 6N
4. 10 N
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 22

Ex4 แรง 180 นิวตัน ดึงมวล 6 กิโลกรัม ซึ่งผูกติดกับมวล 4 กิโลกรัม ขึ้นในแนวดิ่ง จงหาความเร่งของวัตถุและดึงใน
เส้นเชือก
P  180N

6kg

4kg

Ex5 มวล 6 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ติดกันด้วยเชือกและคล้องผ่านรอกเบาดังรูป จงหาความเร่งของมวล 6 กิโลกรัม


และแรงดึงในเส้นเชือก

2kg 6kg

Ex6 จงหาว่ามวล 15 kg จะตกถึงพื้นในกี่วินาที

15kg

5kg
0.4m
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 23

Ex7 มวล 1 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม ติดกันด้วยเชือกและคล้องผ่านรอกเบาดังรูป จงหาความเร่งของระบบ และแรง


ดึงในเส้นเชือก

2kg

.   0.1

1kg

Ex8 m1 เป็นวัตถุวางบนโต๊ะราบที่ไม่มีความฝืด ห่างจากขอบโต๊ะ 1 เมตร m2 เป็นวัตถุอยู่สูงจากพื้น 0.5 เมตร ดังรูป


ถ้าปล่อยให้ m1 กับ m2 เคลื่อนที่แล้ว จะมีความเร็วสูงสุดเท่าใด (กาหนดให้ m1 = 2.0 kg, m2 = 0.5 kg)

m1

1m
m2

0.5 m
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 24

Ex9 วัตถุหนัก 20 นิวตัน แขวนไว้ด้วยเชือกคล้องผ่านรอก ปลายอีกข้างหนึ่งของเชือกผูกวัตถุหนัก 25 นิวตัน ซึ่งวางอยู่


บนพื้นเอียงดังรูป เมื่อปล่อยไว้อย่างอิสระ ปรากฏว่าวัตถุที่วางบนพื้นเอียงจะเริ่มเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียง จงหาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานสถิตระหว่างพื้นกับวัตถุ

25 N 20 N
30O

Ex10 วัตถุมวล 10.0 กิโลกรัม และ 0.5 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบา แล้วคล้องผ่านรอกลื่นและวางอยู่บนพื้นเอียง


ที่ไม่มีความเสียดทาน ดังรูป เมื่อปล่อยให้มวลทั้งสองเคลื่อนที่ จงหา
10.1 ความเร่งของมวลทั้งสอง ..........................................................
10.2 แรงดึงในเส้นเชือก ..........................................................

10 kg
5 kg

30o 53o
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 25

5. สูตรลัดวัตถุติดกัน (หาแรงภายใน T, N)

F
f2 m2 f1 m1

F m2
m1


Ex1 วัตถุ 3 ก้อน มวลเท่ากันผูกติดกับเชือกเบาวางบนพื้นที่ไม่มีความฝืด มีแรง F ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ไปทางขวาดังรูป
  
ขนาดของแรงดึงในเส้นเชือก T1 , T2 และ T3 สัมพันธ์กันอย่างไร

T1 T2 T3
F


Ex2 ใช้แรง P ดึงรถทดลอง 3 คัน มีมวล 1, 2 และ 3 กิโลกรัม รถทั้งสามต่อกันด้วยเส้นเชือก x และ y ดังรูป

โดยคิดว่าไม่มีแรงเสียดทานระหว่างรถกับพื้นเลย ถ้าเชือก x มีความตึง 20 นิวตัน แรงตึง P และความตึงของเส้น
เชือก y จะเป็นกี่นิวตันตามลาดับ (Ent33)
1. 12 และ 4
2. 16 และ 12 y x 
P
3. 24 และ 4
4. 24 และ 12
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 26

Ex3 จากรูป จงหาค่าความตึง T ในเชือกเส้นขวาสุด (มีนา 45)

1. F
F F T
2. M M M M
2
F
3.
3
F
4.
4

Ex4 แท่งไม้มวล 5 กิโลกรัม 3 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง ถ้าออกแรงผลัก 10 นิวตันดังรูป จง


หาขนาดของแรงที่แท่งไม้ 2 กิโลกรัม กระทาต่อแท่งไม้ 3 กิโลกรัม (ตุลา 41)
1. 2.0 N
2. 5.0 N
10 N
3. 8.0 N 5kg 3kg
2kg
4. 10.0 N

Ex5 m1 ,m2 ,m3 เป็นมวลของก้อน A, B, C ตามลาดับ จงหาขนาดของแรงกิริยา ปฏิกิริยาระหว่างก้อน B กับ C


m1  m3
1. F
m1  m 2  m3 m 1 m2
m 2  m3 F m3
2.
m1  m 2  m3
F A B C พืน้ ระดับราบและลืน่
m2
3. F
m1  m 2  m3
m3
4. F
m1  m 2  m3
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 27

แบบฝึหัด 3.5 แรงกระทาระหว่างวัตถุ


1. วัตถุมวล 5.0 และ 10.0 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชือกเบาดังรูป วัตถุทั้งสองวางอยู่บนพื้นราบที่ไม่มีความฝืด ให้แรง
F ซึ่งมีค่าคงที่กระทาต่อวัตถุทั้งสอง หลังจากดึงได้นาน 15 วินาที วัตถุทั้งสองก็มีความเร็ว 45.0 เมตรต่อวินาที แรงดึง
มวล 5 กิโลกรัมเป็นกี่นิวตัน (Ent38)
a
T F
5kg 10kg

2. จากรูป จงหาค่าความตึงเชือก T ที่ดึงมวล 30 กิโลกรัม

F = 140 N
30 kg 20 kg
 = 0.2


3. ออกแรง F ขนานกับพื้นราบลื่นกระทากับกล่อง A และ B ที่วางติดกัน ดังรูป

F
A B

ข้อใดถูกต้อง (PAT2 มี.ค.52)


1. ถ้า mA > mB แรงที่กล่อง A กระทากับกล่อง B มีขนาดมากกว่าแรงที่กล่อง B กระทาต่อกล่อง A
2. ถ้า mA > mB แรงที่กล่อง A กระทากับกล่อง B มีขนาดน้อยกว่าแรงที่กล่อง B กระทาต่อกล่อง A
3. แรงที่กล่อง A กระทากับกล่อง B มีขนาดเท่ากับแรงที่กล่อง B กระทาต่อกล่อง A โดยไม่ขึ้นกับมวลของกล่องทั้ง
สอง
4. แรงลัพธ์ที่กระทากล่อง A มีขนาดเท่ากับแรงลัพธ์ที่กระทากับกล่อง B
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 28

4. จงหาความเร่งของมวล 10 กิโลกรัม และความตึงในเส้นเชือกที่ดึงมวล 10 กิโลกรัม และ 6 กิโลกรัม

2 kg

10kg
6kg

5. จากรูป เมื่อปล่อยให้ระบบเคลื่อนที่ มวล 3 kg จะเคลื่อนที่ขึ้นไปสูงสุดจากพื้นดินเป็นระยะทางเท่าใด

5kg

1m
3kg

6. จงหาความเร่งของมวล 8 กิโลกรัม และความตึงในเส้นเชือกที่ดึงมวล 6 กิโลกรัม และ 1 กิโลกรัม

8kg

  0.2
6kg 1kg
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 29

7. จงหาค่าน้าหนักที่อ่านได้จากตาชั่ง

4kg 4kg 6kg 2kg

8. มวล m1 , m2 และ m3 ผูกติดกันด้วยเส้นเชือกเบาและคล้องผ่านรอกเบา มวล m1 เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง จงหา


แรงตึงในเส้นเชือก T ซึ่งอยู่ระหว่างมวล m2 กับ m3 บนโต๊ะลื่น (Ent48)

m1m3g
1. T
m1  m2  m3 m3 m2
m1m2g g
2.
m1  m2  m3
m (m  m )g
3. 2 1 3 m1
m1  m2  m3
m (m  m )g
4. 3 1 2
m1  m2  m3

9. จากรูปมีวัตถุมวล m วางอยู่บนโต๊ะที่ไม่มีความเสียดทาน ผูกเชือกเบากับวัตถุมวล m แล้วคล้องผ่านรอกที่ไม่มีความฝืด


แล้วนาวัตถุมวล M มาผูกติดกับปลายเชือกเบานี้ ถ้าปล่อยให้มวล m และ M เคลื่อนที่ จงหาว่าวัตถุมวล M จะต้องมีค่า
เป็นกี่เท่าของวัตถุมวล m วัตถุมวล M จึงเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 9 เมตร/วินาที2 (Ent34)

1. 3 เท่า
m
2. 8 เท่า
3. 9 เท่า
4. 10 เท่า M
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 30

10. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางอยู่บนโต๊ะที่ไม่มีความเสียดทาน ปลายทั้งสองข้างผูกเชือกเบาแล้วคล้องผ่านรอกที่ไม่มี


ความฝืด นาวัตถุมวล 3 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัมผูกติดกับปลายเชือกทั้งสองด้าน เมื่อปล่อยให้มวลทั้งหมดเคลื่อนที่
แรงที่เชือกดึงมวล 3 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม เป็นเท่าใด (Ent39)
5kg

1. 30 N และ 20 N
2. 27 N และ 22 N
3. 25 N และ 20 N 3kg 2kg

4. 20 N และ 15 N

11. มวลขนาดเท่ากัน 3 ก้อน ผูกกันดังรูป สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างพื้นกับมวลเป็น 1/4 มวลทั้งสาม


เคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด (Ent33)

g
1. M M
6
g
2.
4
g M
3.
3
g
4.
2
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 31

6. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
1. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน (Newtons law of gravitation)
ทุก ๆ อนุภาคในจักรวาล จะส่งแรงกระทากับอนุภาคอื่น ๆ โดยแรงนี้แปรผันตรงกับผลคูณของมวลอนุภาคทั้ง
สองและแปรผกผันกับกาลังสองของระยะห่างระหว่างอนุภาคทั้งสอง

 
m1 F21 F12 m2

r
เมื่อ G = ค่านิจโน้มถ่วงสากล = 6.67x10-11 N.m2/kg2

2. ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดวงดาว

2.1 ความเร่งที่ผิวดาว

h g'

R g
2.2 ความเร่งที่ความสูง h จากผิวดาว
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 32

3. การโคจรของดาวเทียม
GMm
แรงดึงดูดระหว่างมวล ( , mg’)เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง (FC)
r2

s
EE

อัตราเร็ววงโคจรของดาวเทียม

อัตราเร็วเชิงมุมของดาวเทียม

คาบของดาวเทียม (กฎของเคลปเลอร์)
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 33

Ex1 จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. มวล m1 และ m2 วางห่างกัน R เกิดแรงดึงดูดระหว่างมวล F จงหาว่ามวล 2m1 และ 4m2 วางห่างกัน R จะเกิด
แรงดึงดูดระหว่างมวลเท่าใด ......................................................

2. มวลสองก้อนห่างกัน 6 หน่วย มีแรงดึงดูดระหว่างกัน F ถ้ามวลสองก้อนห่างกัน 3 หน่วย แรงดึงดูดระหว่างมวลทั้ง


สองเป็นเท่าใด ......................................................

3. ถ้าโลกมีมวลเพิ่มเป็น 4 เท่า โดยที่รัศมีของโลกเท่าเดิม ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้นเป็นกี่เท่า


ของเดิม ......................................................

4. ถ้าโลกมีรัศมีเพิ่มเป็น 4 เท่า โดยที่มวลของโลกเท่าเดิม ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้นเป็นกี่เท่า


ของเดิม ......................................................

Ex2 มวล m, 3m และ 5m วางอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันด้วยระยะห่างดังรูป มวลทั้งสามออกแรงกระทาซึ่งกันและกัน


จงหาอัตราส่วนของแรงที่กระทาต่อมวล 3m ต่อแรงที่กระทาต่อมวล m

m 3m 5m

R R
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 34

Ex3 วัตถุอันหนึ่งมีมวล 3 กิโลกรัม บนโลก เมื่อนาวัตถุนี้ไปที่ดาวพฤหัสที่มีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงเป็น 10 เท่า


ของความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงบนโลก วัตถุนี้จะมีมวลเท่าใด
1. 3.0 กิโลกรัม
2. 9.8 กิโลกรัม
3. 30 กิโลกรัม
4. 98 กิโลกรัม


Ex4 ข้อความใดกล่าวถึงความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงโลก ( g ) ได้ถูกต้อง

1. ที่จุดศูนย์กลางของโลก ขนาดของ g มีค่าเป็นอนันต์

2. ภายใต้ผิวโลกขนาดของ g จะมีค่าเท่ากันทุกตาแหน่ง

3. ยิ่งลึกลงไปใต้ผิวโลกขนาดของ g จะยิ่งมีค่าเพิ่มขึ้น

4. ยิ่งลึกลงไปใต้ผิวโลกขนาดของ g จะยิ่งมีค่าลดลง

Ex5 พิจารณาข้อมูลของดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในตารางต่อไปนี้ ถ้าชั่งน้าหนักของวัตถุด้วยตาชั่งเดียวกันบนดาวเคราะห์


ต่าง ๆ ข้อใดเป็นลาดับดาวเคราะห์ที่น้าหนักของวัตถุเรียงจากน้อยไปมากได้ถูกต้อง (7วิชา55)

มวลเทียบกับโลก รัศมีเทียบกับโลก
โลก 1 1
ดาวพฤหัส 318 11.2
ดาวยูเรนัส 14.5 4.0

1. โลก < ดาวยูเรนัส < ดาวพฤหัส


2. ดาวพฤหัส < ดาวยูเรนัส < โลก
3. ดาวพฤหัส < โลก < ดาวยูเรนัส
4. ดาวยูเรนัส < ดาวพฤหัส < โลก
5. ดาวยูเรนัส < โลก < ดาวพฤหัส

Ex6 ที่ความสูงจากพื้น 2R จะมีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงเป็นกี่เท่าของ g เมือ่ R คือรัศมีโลก


Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 35

Ex7 จงหาอัตราส่วนของแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อยานอวกาศเมื่ออยู่บนผิวโลกต่อแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อยานอวกาศ เมื่อ


อยู่ที่ระดับเหนือผิวโลกเป็นระยะทางเท่ากับครึ่งหนึ่งของรัศมีโลก (Ent32)
1
1.
2
3
2.
2
3. 2
9
4.
4

1
Ex8 ดาวเทียมดวงหนึ่งจะต้องโคจรสูงจากผิวโลกเท่าใด จึงจะทาให้ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกเหลือเพียง g
4
(กาหนด รัศมีโลก = 6400 km)

Ex9 โกเอกหนัก 880 นิวตัน บนโลก เมื่อไปอยู่บนดาวเบจิต้าที่มีมวล 10 เท่าของโลก และมีรัศมี 2 เท่าของโลก โก


เอกจะหนักเท่าใด
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 36

Ex10 จงหาอัตราส่วนของความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ผิวดาว X ต่อความเร่งที่ผิวดาว Y เมื่อดาว Y มีมวลเป็น 8


เท่าของดาว X และมีรัศมีเป็น 4 เท่าของดาว X

Ex11 จงหาค่าความหนาแน่นของโลก เมื่อกาหนดให้รัศมีโลกเป็น R เมตร และค่านิจโน้มถ่วงสากลเป็น


G นิวตัน.เมตร2/กิโลกรัม2 โดยที่ g ที่ผิวโลกเป็น 10 เมตร/วินาที2 (Ent36)
40
1.
3GR
15
2.
2GR
5
3.
2GR
3
4.
2GR
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 37

แบบฝึหัด 3.6 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน


1. ดาว ก และ ดาว ข มีมวล 60x1035 กิโลกรัม และ 16x1030 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้าดาวทั้งสองอยู่ห่างกัน 4x1030
เมตร จงคานวณแรงดึงดูดระหว่างดาวทั้งสอง

2. มวลสองก้อนห่างกัน 1 หน่วย มีแรงดึงดูดระหว่างกัน F ถ้ามวลสองก้อนห่างกัน 3 หน่วย แรงดึงดูดระหว่างมวลทั้ง


สองเป็นเท่าใด

3. จงหาอัตราส่วนของความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ผิวโลก ต่อความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่ความสูงจากพื้นโลกเป็น
ระยะ 2 เท่าของรัศมีโลก

4. ดาวดวงหนึ่งมีมวลเป็น 3 เท่าของมวลโลก และมีรัศมีเป็น 2 เท่าของรัศมีโลก จงหาความเร่งที่พื้นผิวของดาวดวงนั้น


ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 38

5. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็นครึ่งหนึ่งของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก และมีมวลเป็น 1/8 ของมวลของ


โลก ชายคนหนึ่งหนัก 500 N บนผิวโลก จะหนักเท่าใด เมื่อขึ้นไปอยู่บนผิวดาวเคราะห์ดวงนี้

6. ถ้าความเร่งของมวลก้อนหนึ่งที่ผิวโลกเป็น 6 เท่าของความเร่งที่ผิวดวงจันทร์ จงหาว่าความเร่งของวัตถุที่ห่างจากผิว


โลกเป็น 2 เท่าของรัศมีโลก จะเป็นอัตราส่วนอย่างไรกับความเร่งที่ผิวดวงจันทร์

7. นักบินอวกาศจะมีน้าหนักกี่เท่าของน้าหนักที่ชั่งบนโลก ถ้าอยู่บนดาวเคราะห์ ที่มีรัศมีครึ่งหนึ่งของโลกและมีมวลเป็น


1/8 ของมวลโลก (มีนา 43)
1. 0.25
2. 0.50
3. 0.75
4. 1.25

1
8. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวล 9 เท่าของมวลโลก แต่มีความหนาแน่นเป็น ของความหนาแน่นโลก ค่าสนามความ
3
โน้มถ่วงที่ผิวของดาวเคราะห์มีค่าเป็นกี่เท่าของ g ของโลก (Ent33)
1
1.
9
1
2.
3
3. 1
4. 3
Facebook Page : ฟิสิกส์โกเอก บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่ 39
ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 40

You might also like